The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานหลักสูตรฐานสมรรถนะ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานหลักสูตรฐานสมรรถนะ

รายงานหลักสูตรฐานสมรรถนะ

Keywords: รายงาน

สัปดาหท์ ี่ หนว่ ยการเรยี นรู้ สาระส�ำคัญ

๓.๓ บอกต�ำแหน่งของสถานที่ต่าง ๆ ที่พบ ว่าอยู่ทางซ้ายหรือขวาของ
เพือ่ นหรอื ของตนเอง
๔. การอา่ น
๔.๑ อ่านชื่อชุมชน โดยการอ่านเป็นค�ำ
๔.๒ อา่ นชื่อสถานที่ส�ำคญั ในชุมชน โดยการอ่านเปน็ ค�ำ
๕. การเขยี น
๕.๑ ฝึกการเขียนพยัญชนะไทย ธ และตัวเลขอารบิก ๑ ตัวเลขไทย ๑
พร้อมทงั้ วาดภาพตอ่ เตมิ เปน็ เรือ่ งราว

๑๒ วันสำ� คญั (วนั สำ� คัญ ๑. ความเขา้ ใจเกย่ี วกับสงั คมรอบตวั ด้านชมุ ชนและสงั คม
ของชาติ และ ๑.๑ บอกบทบาทของตนเองและเพื่อนในกลุ่ม และเปลี่ยนกลุ่มได้
วนั ส�ำคญั ทางศาสนา ๑.๒ บอกวนั สำ� คญั ของชาติ และวันส�ำคัญทางศาสนาของตนอย่างนอ้ ย ๑
เช่น อาสาฬหบูชา วัน และอธบิ ายเก่ียวกบั วันสำ� คัญนัน้
วันเขา้ พรรษา) ๑.๓ บอกขอ้ ควรปฏบิ ตั ิในวนั ส�ำคัญของชาติและวนั สำ� คญั ทางศาสนา ของตน
๒. การคิดดา้ นคณติ ศาสตร์
๒.๑ การนับจ�ำนวนเพอ่ื นในกล่มุ ที่ท�ำกิจกรรมรว่ มกนั และบอกจ�ำนวนที่
นับได้
๒.๒ การนบั จ�ำนวนวันสำ� คัญของชาติและวันสำ� คญั ทางศาสนาของตน
๓. ความเขา้ ใจและการใช้ภาษาด้านคำ� ศัพท์
๓.๑ บอกช่ือของวันส�ำคัญของชาติและวันส�ำคัญทางศาสนาของตน และ
อธบิ ายเกีย่ วกบั วนั สำ� คญั น้นั
๓.๒ ถามค�ำถามเกี่ยวกับวันส�ำคัญของชาติ และวันส�ำคัญทางศาสนาของ
ตน ทีต่ นเองไม่รจู้ กั หรือไม่แน่ใจ
๔. การอ่าน
๔.๑ อ่านชื่อวันส�ำคัญของชาติ และวันส�ำคัญทางศาสนาของตน โดยการ
อา่ นเปน็ คำ�
๕. การเขียน
๕.๑ ฝกึ การเขียนพยญั ชนะไทย ก ถ ภ พร้อมท้ังอธบิ ายความแตกตา่ งของ
การเขียนพยญั ชนะชดุ น้ี และฝกึ เขียนตวั เลขอารบิก ๒ ตวั เลขไทย ๒ พรอ้ มทงั้
วาดภาพตอ่ เติมเป็นเรื่องราว

๑๓ เมอื่ เราจะเดนิ ทาง ๑. ความเขา้ ใจเกี่ยวกับสงั คมรอบตวั ดา้ นชมุ ชนและสงั คม
(การคมนาคม) ๑.๑ บอกบทบาทของตนเองและเพอ่ื นในกลุ่ม และเปล่ยี นกล่มุ ได้
๑.๒ บอกบทบาทและความส�ำคัญของการคมนาคม และบุคคลต่าง ๆ ที่
ประกอบอาชีพเกี่ยวกบั การคมนาคม
๑.๓ บอกข้อควรปฏิบัตใิ นในการเดินทางท่ีถกู ตอ้ งและปลอดภยั

92 รายงานเฉพาะเรื่องท่ี ๑๒ หลักสตู รและการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ

สัปดาห์ที่ หน่วยการเรยี นรู้ สาระส�ำคญั

๒. การคิดด้านคณิตศาสตร์
๒.๑ การนบั จำ� นวนเพอื่ นในกล่มุ ท่ีท�ำกจิ กรรมรว่ มกนั และบอกจ�ำนวนที่
นับได้
๒.๒ การนับจ�ำนวนวิธีการเดินทาง ยานพาหนะ และอาชีพต่าง ๆ ท่ี
เกีย่ วข้องกับการคมนาคม
๓. การสรา้ งหรอื พฒั นาการคดิ และความเขา้ ใจและการใชภ้ าษาดา้ นคำ� ศพั ท์
๓.๑ บอกชอื่ วิธกี ารคมนาคม ชอ่ื ยานพาหนะ อาชีพท่เี กย่ี วข้อง และอธิบาย
ลกั ษณะท่สี �ำคญั ของชื่อนนั้ ๆ ได้
๓.๒ ถามคำ� ถามเกย่ี วกับการคมนาคม ทต่ี นเองไม่รจู้ ักหรอื ไมแ่ น่ใจ
๓.๓ บอกต�ำแหน่งของสถานที่ต่าง ๆ ในการเดินทาง ว่าจุดหมายอยู่ทาง
ซ้ายหรือขวาของเพอ่ื นหรือของตนเอง
๓.๔ วาดแผนที่จากบ้านมาโรงเรียนหรือวาดแผนผัง พร้อมท้ังบอกวิธีการ
เดินทางมาโรงเรียน
๔. การอ่าน
๔.๑ อา่ นช่ือยานพาหนะ โดยการอา่ นเป็นคำ�
๔.๒ อ่านป้ายข้อควรปฏิบัตเิ มือ่ โดยสารยานพาหนะตา่ ง ๆ
๕. การเขยี น
๕.๑ ฝึกการเขียนพยญั ชนะไทย ง บ ป ษ พร้อมท้งั อธิบายความแตกตา่ งของ
การเขยี นพยัญชนะชุดน้ี และฝึกเขยี นตวั เลขอารบกิ ๓ ตวั เลขไทย ๓ พร้อมท้งั
วาดภาพตอ่ เติมเป็นเรอ่ื งราว

๑๔ วนั แม่แหง่ ชาติ ๑. ความเขา้ ใจเกีย่ วกับสังคมรอบตวั ดา้ นชมุ ชนและสังคม
(๑๒ สงิ หาคม) ๑.๑ บอกบทบาทของตนเองและเพอ่ื นในกลมุ่ และเปล่ียนกลุม่ ได้
๑.๒ บอกพระราชกรณียกิจของพระบรมราชินีนาถในรัชกาลท่ี ๙ และ
กิจกรรมในวนั แมแ่ หง่ ชาติ
๑.๓ บอกบทบาทและความส�ำคญั ของคุณแมต่ ่อตนเองและครอบครวั
๑.๔ บอกขอ้ ควรปฏบิ ตั ิตอ่ คณุ แม่
๒. การคดิ ดา้ นคณิตศาสตร์
๒.๑ การนบั จ�ำนวนเพ่อื นในกลุม่ ทท่ี ำ� กิจกรรมรว่ มกัน และบอกจ�ำนวนที่
นับได้
๓. การสรา้ งหรอื พฒั นาการคดิ และความเขา้ ใจและการใชภ้ าษาดา้ นคำ� ศพั ท์
๓.๑ อธบิ ายลักษณะท่ีส�ำคญั ของวันแม่แหง่ ชาติ
๓.๒ ถามคำ� ถามเกี่ยวกับวนั แม่แห่งชาติ ท่ีตนเองไม่รู้จกั หรอื ไม่แนใ่ จ
๓.๓ ออกแบบการด์ หรอื สิ่งของที่ระลกึ ทจ่ี ะมอบใหค้ ุณแม่
๔. การอา่ น
๔.๑ อา่ นช่อื วันแมแ่ หง่ ชาติ และดอกมะลิ สญั ลักษณว์ ันแม่แห่งชาติ โดย
การอา่ นเป็นค�ำ

รายงานเฉพาะเรื่องที่ ๑๒ หลกั สตู รและการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ 93

สัปดาหท์ ี่ หนว่ ยการเรียนรู้ สาระสำ� คญั

๕. การเขียน
๕.๑ ฝกึ การเขยี นพยญั ชนะไทย พ ฟ ผ ฝ พรอ้ มท้ังอธบิ ายความแตกต่าง
ของการเขียนพยญั ชนะชุดน้ี และฝึกเขียนตัวเลขอารบกิ ๔ ตัวเลขไทย ๔ พรอ้ ม
ท้ังวาดภาพต่อเตมิ เป็นเร่อื งราว
๕.๒ ฝึกเขียนช่ือคุณแม่และเขียนข้อความแสดงความรักและความ
ขอบคณุ แด่คุณแม่

๑๕ วิทยาศาสตร์ ๑. ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั สงั คมรอบตัวดา้ นชุมชนและสงั คม
สนกุ คดิ ๑.๑ บอกบทบาทของตนเองและเพ่ือนในกลมุ่ และเปลย่ี นกลุ่มได้
(วนั วทิ ยาศาสตร์) ๑.๒บอกบทบาทและความส�ำคัญของบคุ คลตา่ งๆทีป่ ระกอบอาชีพเก่ียวกบั
วทิ ยาศาสตร์
๒. การคิดดา้ นคณติ ศาสตร์
๒.๑ การนับจำ� นวนเพ่ือนในกลุ่มทท่ี ำ� กจิ กรรมรว่ มกนั และบอกจำ� นวนที่นับได้
๒.๒ การนบั จำ� นวนอปุ กรณ์ตา่ ง ๆ ในกจิ กรรมการทดลอง
๒.๓ รวมผลคะแนนจากการท�ำกจิ กรรม
๓. การสรา้ งหรอื พฒั นาการคดิ และความเขา้ ใจและการใชภ้ าษาดา้ นคำ� ศพั ท์
๓.๑ บอกชื่อวันวิทยาศาสตร์ อาชีพท่ีเกี่ยวข้อง และอธิบายความส�ำคัญ
ของวิทยาศาสตร์ได้
๓.๒ ถามคำ� ถามเกี่ยวกบั วทิ ยาศาสตร์ ท่ีตนเองไม่รู้จักหรือไม่แน่ใจ
๓.๓ ร่วมกิจกรรม แก้ปัญหาจากกิจกรรมและการทดลองและอธิบายวิธี
การแกป้ ัญหา
๔. การอ่าน
๔.๑ อ่านช่อื วันวทิ ยาศาสตร์ และอปุ กรณท์ ่ใี ช้ในการทดลอง โดยการอา่ น
เปน็ ค�ำ
๕. การเขยี น
๕.๑ ฝกึ การเขยี นพยัญชนะไทย ท น ม พร้อมทัง้ อธิบายความแตกต่างของ
การเขยี นพยัญชนะชุดน้ี และฝกึ เขียนตวั เลขอารบกิ ๕ ตัวเลขไทย ๕ พร้อมทงั้
วาดภาพตอ่ เตมิ เป็นเรื่องราว

๑๖ เมืองไทยของเรา ๑. ความเข้าใจเกีย่ วกบั สงั คมรอบตวั ดา้ นชุมชนและสังคม
๑.๑ บอกบทบาทของตนเองและเพอ่ื นในกล่มุ และเปลี่ยนกลมุ่ ได้
๑.๒ บอกเอกลกั ษณ์ท่ีแสดงถงึ ความเป็นไทย ได้แก่ ภาษา เครอื่ งแตง่ กาย
อาหาร
๑.๓ บอกบทบาทและความสำ� คญั ของบคุ คลสำ� คญั ในเมอื งไทยทน่ี กั เรยี นรจู้ กั
๒. การคดิ ด้านคณิตศาสตร์
๒.๑ การนบั จำ� นวนเพอ่ื นในกลมุ่ ท่ีท�ำกิจกรรมรว่ มกัน และบอกจ�ำนวนท่นี ับได้
๒.๒ การนับจ�ำนวนจังหวัดในประเทศไทย จังหวัดที่นักเรียนรู้จัก ภาษา
เคร่อื งแต่งกาย และอาหาร

94 รายงานเฉพาะเรอื่ งที่ ๑๒ หลกั สตู รและการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ

สปั ดาห์ที่ หน่วยการเรียนรู้ สาระส�ำคัญ

๓. การสรา้ งหรอื พฒั นาการคดิ และความเขา้ ใจและการใชภ้ าษาดา้ นคำ� ศพั ท์
๓.๑ อธิบายลกั ษณะทีส่ ำ� คญั ของเมอื งไทยของเรา
๓.๒ ถามค�ำถามเกีย่ วกับเมืองไทยของเรา ท่ตี นเองไม่รู้จักหรอื ไม่แน่ใจ
๓.๓ วาดภาพและบรรยายเกยี่ วกับเมืองไทยของเรา
๔. การอ่าน
๔.๑ อ่าน ประเทศไทย ภาษาไทย ชุดไทย อาหารไทย โดยการอา่ นเป็นคำ�
๔.๒ อา่ นข้อความส้นั ๆ เกยี่ วกบั เมอื งไทยของเราจากส่อื ต่าง ๆ
๕. การเขียน
๕.๑ ฝกึ การเขียนพยัญชนะไทย ข ช ซ ฆ ฑ พร้อมท้งั อธิบายความแตกต่าง
ของการเขียนพยญั ชนะชุดน้ี และฝกึ เขียนตัวเลขอารบกิ ๕ ตวั เลขไทย ๕ พร้อม
ทง้ั วาดภาพตอ่ เติมเปน็ เรอ่ื งราว

๑๗ อาชพี ตา่ ง ๆ ๑. ความเข้าใจเก่ยี วกับสงั คมรอบตวั ดา้ นชุมชนและสังคม
๑.๑ การบอกบทบาทของตนเองและเพื่อนในกลุ่ม และเปล่ียนกลุ่มได้
๑.๒ บทบาทและความส�ำคัญของอาชีพตา่ ง ๆ
๑.๓ ความสำ� คญั ของการประกอบอาชพี ทสี่ จุ รติ ถกู กฎหมาย และผลทเี่ กดิ ขน้ึ
๑.๔ ข้อควรปฏบิ ัตติ อ่ คนทีป่ ระกอบอาชพี ตา่ ง ๆ
๒. การคดิ ด้านคณิตศาสตร์
๒.๑ การนับจ�ำนวนเพื่อนในกลุ่มที่ท�ำกิจกรรมร่วมกัน และบอกจ�ำนวนที่
นบั ได้
๒.๒ การนับจำ� นวนอาชีพต่าง ๆ ทนี่ ักเรยี นรจู้ กั
๓. การสรา้ งหรอื พัฒนาการคิด และความเขา้ ใจและการใชภ้ าษาดา้ นค�ำศพั ท์
๓.๑ การอธิบายลักษณะของอาชพี ตา่ ง ๆ
๓.๒ การถามคำ� ถามเกยี่ วกับอาชีพตา่ ง ๆ ทตี่ นเองไมร่ จู้ กั หรอื ไมแ่ นใ่ จ
๓.๓ การแสดงบทบาทสมมตอิ าชีพต่าง ๆ ที่สนใจ
๔. การอ่าน
๔.๑ การอ่านชื่ออาชพี ตา่ ง ๆ โดยการอา่ นเปน็ ค�ำ
๕. การเขยี น
๕.๑ ฝึกการเขียนพยญั ชนะไทย ด ค ต ฒ ณ พร้อมทั้งอธิบายความแตก
ต่างของการเขียนพยัญชนะชุดนี้ และฝึกเขียนตัวเลขอารบิก ๖ ตัวเลขไทย ๖
พร้อมทงั้ วาดภาพตอ่ เติมเปน็ เร่ืองราว
๕.๒ เขียนชอื่ อาชพี ทน่ี กั เรียนสนใจ ๑ อาชีพ

๑๘ เปิดตลาดกันเถอะ ๑. ความเข้าใจเกย่ี วกบั สังคมรอบตวั ด้านชุมชนและสงั คม
๑.๑ บอกบทบาทของตนเองและเพื่อนในกล่มุ และเปลี่ยนกลุม่ ได้
๑.๒ บทบาทและความสำ� คญั ของตลาด และคนทป่ี ระกอบอาชพี ตา่ ง ๆ ใน
ตลาด
๑.๓ บอกขอ้ ควรปฏบิ ัตใิ นการไปตลาด และการประกอบอาชีพในตลาด

รายงานเฉพาะเรื่องท่ี ๑๒ หลกั สตู รและการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ 95

สปั ดาหท์ ่ี หนว่ ยการเรียนรู้ สาระสำ� คัญ

๒. การคดิ ด้านคณติ ศาสตร์
๒.๑ การนับจำ� นวนเพอ่ื นในกลุ่มท่ีท�ำกจิ กรรมรว่ มกัน และบอกจ�ำนวนท่ีนบั ได้
๒.๒ นับจ�ำนวนอาชีพที่ท�ำงานในตลาด จ�ำนวนร้านค้าในตลาด จ�ำนวน
สนิ คา้ ทน่ี �ำมาขาย อุปกรณท์ ตี่ อ้ งใช้
๓. การสรา้ งหรอื พฒั นาการคดิ และความเขา้ ใจและการใชภ้ าษาดา้ นคำ� ศพั ท์
๓.๑ อธบิ ายลกั ษณะทสี่ ำ� คัญของตลาด
๓.๒ ถามค�ำถามเกี่ยวกบั ตลาด ทตี่ นเองไม่รจู้ กั หรอื ไมแ่ น่ใจ
๓.๓ ออกแบบแผนผงั ตลาด และอธบิ ายแผนผงั ตลาดทอ่ี อกแบบไว้
๓.๔ แสดงบทบาทสมมตกิ ารซ้อื ขายในตลาด
๔. การอา่ น
๔.๑ อ่านชอ่ื ตลาด ช่อื สนิ ค้าต่าง ๆ โดยการอา่ นเปน็ คำ�
๔.๒ อ่านป้ายช่อื รา้ นคา้ และป้ายโฆษณาในตลาด
๕. การเขยี น
๕.๑ ฝกึ การเขยี นพยัญชนะไทย ญ ฐ ฎ ฏ พรอ้ มท้งั อธบิ ายความแตกต่าง
ของการเขียนพยญั ชนะชดุ น้ี และฝกึ เขยี นตัวเลขอารบิก ๗ ตัวเลขไทย ๗ พรอ้ ม
ทัง้ วาดภาพต่อเตมิ เป็นเรอ่ื งราว
๕.๒ ฝึกการเขียนป้ายช่อื รา้ นคา้ ของตนเองในตลาด

๑๙ หนังสือเพอ่ื นรัก ๑. ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั สังคมรอบตัวดา้ นชุมชนและสังคม
๑.๑ บอกบทบาทของตนเองและเพือ่ นในกลุ่ม และเปลีย่ นกล่มุ ได้
๑.๒ บทบาทและความส�ำคญั ของหนงั สอื และการอ่าน
๑.๓ บอกข้อควรปฏบิ ัตใิ นการอ่านหนังสือ การใช้หอ้ งสมดุ
๒. การคดิ ด้านคณติ ศาสตร์
๒.๑ การนบั จำ� นวนเพอ่ื นในกลมุ่ ทท่ี ำ� กจิ กรรมรว่ มกนั และบอกจำ� นวนทนี่ บั ได้
๒.๒ นับจ�ำนวนหนงั สือนิทานทีช่ อบอ่าน
๓. การสรา้ งหรอื พฒั นาการคดิ และความเขา้ ใจและการใชภ้ าษาดา้ นคำ� ศพั ท์
๓.๑ อธิบายลักษณะทส่ี �ำคัญของหนงั สอื
๓.๒ ถามค�ำถามเกย่ี วกับหนงั สอื ท่ีตนเองไมร่ ้จู ักหรือไม่แน่ใจ
๔. การอา่ น
๔.๑ อ่านชื่อหนงั สอื นิทาน โดยการอ่านเป็นคำ�
๔.๒ อา่ นนิทานประกอบภาพ แล้วเล่าเรอ่ื งจากการอ่าน
๕. การเขยี น
๕.๑ ฝึกการเขยี นพยญั ชนะไทย ส ศ ฉ ฮ ฬ พรอ้ มทัง้ อธบิ ายความแตกตา่ ง
ของการเขยี นพยัญชนะชดุ นี้ และฝกึ เขียนตัวเลขอารบิก ๘ ตวั เลขไทย ๘ พรอ้ ม
ท้งั วาดภาพต่อเติมเป็นเรือ่ งราว
๕.๒ เขียนชื่อหนังสือนิทานท่ีชอบอ่าน และเขียนประโยคส้ัน ๆ ว่าชอบ
อ่านเพราะอะไร

96 รายงานเฉพาะเรอื่ งที่ ๑๒ หลักสตู รและการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ

สปั ดาหท์ ี่ หน่วยการเรยี นรู้ สาระสำ� คญั

๒๐ หนูพร้อมเรียนเทอม ๑. ความเขา้ ใจเกยี่ วกับสังคมรอบตัวดา้ นชุมชนและสังคม
ตอ่ ไป ๑.๑ บอกบทบาทของตนเองและเพอ่ื นในกลมุ่ และเปลย่ี นกลุ่มได้
๑.๒ บทบาทและความส�ำคญั ของบุคคลต่าง ๆ ในครอบครัว โรงเรียน และ
ชุมชน
๑.๓ บอกข้อควรปฏบิ ัตใิ นการอยู่ร่วมกันกับผูอ้ ่ืน
๒. การคิดดา้ นคณิตศาสตร์
๒.๑ การนบั จำ� นวนเพ่อื นในกลุ่มที่ทำ� กิจกรรมรว่ มกนั และบอกจำ� นวนที่
นับได้
๒.๒ นบั จำ� นวนอาชพี ตา่ ง ๆ ในชุมชน
๒.๓ นับจ�ำนวนพยัญชนะท่ีฝึกเขียน นับและเขียนตัวเลขไทยและตัวเลข
อารบกิ
๒.๔ คณติ คิดเรว็ บวกและลบจ�ำนวนไมเ่ กนิ ๑๐
๓. การสรา้ งหรอื พฒั นาการคดิ และความเขา้ ใจและการใชภ้ าษาดา้ นคำ� ศพั ท์
๓.๑ อธบิ ายลักษณะทสี่ ำ� คญั ของสิ่งต่าง ๆ รอบตวั ท่ีนกั เรยี นสนใจ อาชพี ที่
สนใจ หนังสอื ที่ชอบอ่าน
๓.๒ ถามคำ� ถามเก่ียวกับสิ่งต่าง ๆ รอบตวั ทต่ี นเองไมร่ จู้ กั หรอื ไมแ่ น่ใจ
๔. การอา่ น
๔.๑ อา่ นชื่อโรงเรียน ชอ่ื ตนเอง ชอ่ื ครู ช่ือเพือ่ นที่น่ังข้าง ๆ กัน
๔.๒ อ่านปา้ ยชื่อมุมต่าง ๆ ในหอ้ งเรยี น ขอ้ ตกลงในห้องเรียน
๔.๓ อา่ นชื่อวนั ช่อื เดือน
๕. การเขยี น
๕.๑ ฝึกเขยี นตัวเลขอารบกิ ๙ ตวั เลขไทย ๙ พรอ้ มทงั้ วาดภาพต่อเติมเป็น
เรื่องราว
๕.๒ ฝกึ เขียนพยญั ชนะไทยตามคำ� บอก
๕.๓ เขียนชอื่ ตนเอง ชอ่ื วัน ชอ่ื เดือน ชื่อโรงเรยี น

รายงานเฉพาะเร่ืองท่ี ๑๒ หลักสูตรและการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ 97

98 รายงานเฉพาะเรอ่ื งท่ี ๑๒ หลกั สตู รและการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ

ภาคผนวก ค.
แนวคดิ เชิงเหตุผลของขอ้ เสนอการ “ปลดลอ็ ก” การวดั และประเมินผล ดา้ นคุณภาพผู้
เรยี นระดบั ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๑-๒ โดยใชข้ ้อสอบกลางของส�ำนกั งานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

แนวทางการการวัดผลประเมินผลเพื่อพฒั นาการเรียนรู้ (Formative Assessment) ของหลักสูตร
ฐานสมรรถนะ (Competency Based Curriculum : CBC) เป็นการวดั และประเมนิ คณุ ภาพผู้เรยี นท่ีเน้น
“การประเมินความสามารถมากกว่าการวัดความรู้” หลักการน้ีจึงเป็นเหตุผลส�ำคัญที่เป็นข้อเสนอว่า
ไม่ควรให้มีการทดสอบในลักษณะท่ีเป็นการตัดสินผู้เรียนในชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑-๒ ที่อาจส่งผลกระทบ
ด้านการพัฒนาผู้เรียนในช่วงรอยต่อระหว่างระดับปฐมวัยและระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานของนักเรียนทุกสังกัด
ทว่ั ประเทศท่มี คี วามแตกต่างกนั ในเชิงบรบิ ทและปจั จยั พ้ืนฐาน
ปัจจุบันมีการจัดการทดสอบในเชิงนโยบายของหน่วยงานต้นสังกัดในระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑-๒
ได้แก่
๑. การทดสอบ “ความสามารถในการอ่านและการเขียน” ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑-๒
ของสถาบันภาษาไทย ส�ำนกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา สพฐ.
ด�ำเนินการทดสอบและรายงานผล ๔ ครั้ง ภาคเรียนที่ ๑ เดือนมิถุนายนและเดือนสิงหาคม และ
ภาคเรียนที่ ๒ ประมาณเดือนพฤศจิกายนและมกราคม ทุกปีการศึกษา เพ่ือเปน็ ขอ้ มลู ในการวางแผนปรับปรุง
และพัฒนาการอา่ นการเขียนของนกั เรยี นซงึ่ มคี วามสามารถสงู ใหด้ ยี งิ่ ขน้ึ และแกไ้ ขปญั หาการอา่ นและการเขยี นของ
นกั เรยี นทม่ี ผี ลการประเมนิ ระดับตำ�่ ประกอบดว้ ย
๑.๑ การอา่ น หมายถึง ความสามารถในการอ่านของนกั เรียน ดังน้ี
๑) การอ่านออกเสียง หมายถงึ การอ่านค�ำ ประโยค หรือขอ้ ความสน้ั ๆ ทีเ่ ปน็ วงคำ� ศพั ท์ทกี่ �ำหนด
ในแต่ละระดบั ชน้ั ปี
๒) การอ่านตามหลักการใช้ภาษาไทย เปน็ การวัดความสามารถในการใช้คำ� ในประโยคได้ อย่างมี
ความหมายและถกู ต้อง และการใชภ้ าษาไทยไดอ้ ย่างถูกตอ้ งเหมาะสมตามหลกั การใชภ้ าษาไทย
๓) การอ่านรู้เร่ืองหมายถึง การอ่านค�ำ ประโยค ข้อความสั้น ๆ หรือเร่ืองราวที่เป็นวงค�ำศัพท์ท่ี
ก�ำหนดในแตล่ ะระดบั ชัน้ ปี
๑.๒ การเขยี น หมายถงึ ความสามารถในการเขยี นคำ� ประโยค หรอื เรอ่ื งของนกั เรยี นดงั นี้
๑) การเขียนค�ำ หมายถึง การเขียนค�ำท่ีเป็นวงค�ำศัพท์ท่ีก�ำหนดในแต่ละระดับชั้นปีโดยวิธี
การเขยี นคำ� ตามค�ำบอก
๒) การเขียนประโยค/เรื่อง หมายถึง การเขียนประโยคง่าย ๆ การเขียนสรุปใจความส�ำคัญ
การเขยี นเรอื่ งตามจนิ ตนาการ การเขยี นยอ่ ความ และการเขยี นเรยี งความ

รายงานเฉพาะเร่ืองที่ ๑๒ หลกั สูตรและการเรียนการสอนฐานสมรรถนะ 99

๒. การประเมิน “ความสามารถด้านการอ่าน” ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑ โดยส�ำนักทดสอบทาง
การศกึ ษา สพฐ.
ดำ� เนินการสอบในระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ ของโรงเรยี นจากทกุ สังกัด ในเดอื นกุมภาพันธ์ ของ
ทุกปี เพือ่ ช่วยใหค้ รผู ูส้ อนชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ ได้ทราบปัญหา จุดเด่น จุดท่คี วรพฒั นาของผเู้ รียนรายบุคคล
รวมถึงสามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหส้ อดคลอ้ งและเหมาะสมกับผเู้ รียน ดังน้ี
๒.๑ ดา้ นการอา่ นรูเ้ รอื่ ง หมายถึง การอ่านคำ� ประโยค หรือข้อความส้นั ๆ ทเ่ี ปน็ คำ� ในวงคำ� ศัพทใ์ น
ระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑
๒.๒ ด้านการอา่ นออกเสยี ง หมายถึง การอ่านคำ� ประโยค หรอื ข้อความสัน้ ๆ ท่เี ป็นค�ำในวงค�ำศพั ทใ์ น
ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๑

ผลกระทบท่เี กิดข้ึนจากการทดสอบโดยใชข้ อ้ ทดสอบกลางชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๑-๒
แนวทางการทดสอบและวัตถุประสงค์ของส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
กระทรวงศึกษาธิการท่ีเป็นหน่วยงานก�ำกับดูแล แม้ว่าในเชิงนโยบายได้ระบุไว้ชัดเจนว่าเป็นการทดสอบ
เพอื่ การน�ำมาผลใชใ้ นการพฒั นาความสามารถของผู้เรียนในระดับชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๑-๒ ก็ตาม แตใ่ นระดับ
การปฏบิ ตั กิ ลบั สง่ ผลกระทบตอ่ ผ้เู รยี น ครู ผู้ปกครอง และสถานศกึ ษา ดงั นี้
๑. ด้านนักเรยี น
๑.๑ นักเรียนถูกเร่งอ่านเขียนตั้งแต่ระดับปฐมวัย (ชั้นอนุบาลปีท่ี ๑-๓) ท�ำให้เด็กปฐมวัย
ขาดโอกาสของการได้รบั การพัฒนาส่งเสรมิ พัฒนาการ ๔ ด้านท่เี หมาะสมกบั วยั เดก็ รวมถึงในชว่ งรอยเชอ่ื มต่อ
ระหว่างชั้นอนุบาลปีที่ ๓ และชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ ตามหลักสูตรสถานศึกษาทั้ง ๒ ระดับการศึกษา ท้ังนี้
เพราะครูและผู้บริหารสถานศึกษามีความกังวลต่อผลการประเมินนักเรียนในระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑-๒
ที่ต้องรายงานผลการประเมินต่อผ้บู ังคบั บัญชาต้งั แตต่ น้ ปีการศึกษา และผลการประเมนิ นถี้ ูกนำ� มาเป็นส่วนหน่งึ
ของการพจิ ารณาผลผลิตท่ีสะทอ้ นประสทิ ธภิ าพของสถานศึกษาและเขตพน้ื ท่จี ากผลการทดสอบ
๑.๒ นักเรียนขาดโอกาสในการเรียนรู้อย่างมีความสุข เนื่องจากมีความวิตกกังวลกับการทดสอบ
ด้านการอ่านออกเขียนได้ตามเกณฑ์และข้อก�ำหนดจากแบบทดสอบกลางตามนโยบายของหน่วยงานต้นสังกัด
และอาจไม่ได้รับการจัดกิจกรรมท่ีส่งเสริมสมรรถนะส�ำคัญด้านอ่ืนๆ ที่จ�ำเป็นต้องได้รับการพัฒนาไปพร้อมกัน
เปน็ เพยี งการฝึกทกั ษะดา้ นการอา่ นการเขยี นทเี่ ข้มข้น นักเรยี นทีย่ งั ขาดความพร้อมจึงอาจอยู่ในภาวะเครียด
๑.๓ นักเรียนมีความแตกต่างกันในเชิงบริบทพ้ืนที่และวัฒนธรรมความเป็นอยู่ ได้แก่ กลุ่ม
นักเรียนตามแนวชายขอบท่ีไม่ใช้ภาษาไทยเป็นภาษาแม่และบุคคลในครอบครัวและชุมชนใช้ภาษาอื่นใน
การสื่อสาร ซ่ึงจ�ำเป็นต้องมีช่วงเวลาในการพัฒนาด้านภาษาไทยมากพอเพ่ือให้สามารถใช้ภาษาไทยเพื่อ
การส่ือสารในชีวิตประจ�ำวันได้ดีก่อน การให้นักเรียนเข้ารับทดสอบเพ่ือการอ่านและการเขียนได้ตามเกณฑ์
ท�ำให้ส่งผลต่อการเกิดความเหล่ือมล้�ำของผลการทดสอบท่ีไม่สามารถน�ำผลมาเทียบเคียงถึงคุณภาพของการ
จดั การศึกษาของสถานศึกษาในแต่ละพื้นท่ีและแต่ละสงั กดั ได้

100 รายงานเฉพาะเร่ืองท่ี ๑๒ หลักสูตรและการเรียนการสอนฐานสมรรถนะ

๑.๔ นักเรียนควรได้รับการส่งเสริมสมรรถนะที่เน้นความสามารถในการใช้ภาษาไทยเพื่อ
การสื่อสารและสมรรถนะด้านอื่นๆ ท่ีจ�ำเป็นต่อการน�ำไปใช้ในชีวิตประจ�ำวัน โดยปราศจากความวิตกกังวล
ที่ต้องถูกเร่งให้อ่านออกเขียนได้ในช่วงเวลาท่ียังขาดความพร้อมในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๒ และมี
ช่วงเวลาในการพฒั นาดา้ นการอา่ น การเขียน การคิดคำ� นวณ และความสามารถในด้านอื่น ๆ มากพอก่อนไดร้ บั
การทดสอบคุณภาพระดบั ชาติ (NT) ในระดับชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๓
๑.๕ นักเรียนได้รับการพัฒนาตามศักยภาพและสภาพปัญหาเป็นรายบุคคลและรายกรณีตาม
บริบทพื้นท่ี โดยการปรับแนวทางการทดสอบมาเป็นการน�ำข้อทดสอบกลางมาใช้เป็นเคร่ืองมือเพื่อการวัด
ผลประเมินผลนักเรียนตามเกณฑ์ข้ันต�่ำท่ีนักเรียนควรรู้และปฏิบัติได้ ของมาตรฐานและตัวช้ีวัดของหลักสูตร
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ในระดับประถมศึกษาตอนต้น ด้านการอ่าน การเขียน และการคิด
ค�ำนวณ เพื่อให้สถานศึกษาสามารถน�ำไปด�ำเนินการตรวจสอบ ส่งเสริม พัฒนา นักเรียนให้มีสมรรถนะ ๑๐
สมรรถนะที่จ�ำเป็นในองค์รวมตามที่หลักสูตรสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานได้ก�ำหนดไว้โดยปราศจากความกดดันถึง
การรายงานผลการทดสอบท่ีเป็นข้อเท็จจริงต่อหน่วยงานต้นสังกัดที่คาดหวังต่อผลการปฏิบัติงานจากเกณฑ์ท่ี
กำ� หนดไวใ้ ช้กบั สถานศึกษาทกุ แห่งท่มี ีความแตกต่างกนั
๑.๖ นักเรียนรู้สึกล้มเหลว ขาดความภาคภูมิใจในตนเองตั้งแต่เข้าเริ่มเรียนในระบบการศึกษา
ในกรณีท่ีการทดสอบยังไม่ผ่านเกณฑ์ ซ่ึงมีสาเหตุจากหลายปัจจัยและเหตุผลที่แตกต่างจากการคาดหวังของ
ผู้เกยี่ วข้อง
๒. ด้านครแู ละผู้บริหารสถานศึกษา
๒.๑ ความเหลื่อมล�้ำด้านความพร้อมในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ครูและผู้บริหารสถานศึกษา
ท�ำงานภายใต้ความแตกต่างด้านบริบทของนักเรียนในแต่ละพื้นท่ี เช่น กลุ่มเด็กสองภาษา เด็กด้อยโอกาส
เดก็ บนพ้นื ท่สี งู เดก็ ในพืน้ ทชี่ ายแดนใต้ ฯลฯ ปจั จยั ความพร้อมของเด็กที่แตกต่างกนั นี้ ย่อมส่งผลต่อการพัฒนา
คุณภาพผู้เรียนให้เกิดประสิทธิภาพท่ีแตกต่างกันท�ำให้ครูและผู้บริหารสถานศึกษาจ�ำเป็นต้องมีช่วงเวลาใน
การพัฒนานักเรียนให้มีความสามารถอย่างเร่งด่วน เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีผลการทดสอบผ่านเกณฑ์ท่ี
ก�ำหนดตามเปา้ หมายที่หน่วยงานการก�ำกับดูแลกำ� หนดให้เกิดประสิทธผิ ล
๒.๒ ความเหลื่อมล�้ำด้านการขาดแคลนอัตราก�ำลังของครูและผู้บริหารสถานศึกษา ปัจจัยด้านนี้
ส่งผลกระทบต่อการจัดการเรียนการสอนเพ่ือการอ่านออกเขียนได้ คิดเลขเป็นในสถานศึกษาต่าง ๆ ทุกภาค
ของประเทศ การทดสอบโดยใช้ข้อสอบกลางเพ่ือตรวจสอบความพร้อมของนักเรียนจึงเป็นสาเหตุที่ครูจะต้อง
ท�ำงานหนักเพียงล�ำพังกับภาระงานท่ีมีจ�ำนวนมากจากการขาดอัตราก�ำลังครูเฉพาะทางและอัตราผู้บริหาร
สถานศกึ ษาท่ยี งั คงมอี ยทู่ วั่ ประเทศ
๒.๓ การขาดแคลนปัจจัยพ้ืนฐานในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ครูและผู้บริหารสถานศึกษาที่
ท�ำงานในโรงเรียนที่ห่างไกลและขาดแคลนจ�ำนวนมากยังขาดแคลนส่ือ เทคโนโลยี และทรัพยากรในการจัด
กิจกรรมเพ่ือพัฒนาคุณภาพผู้เรียน การให้ช่วงเวลาในการท�ำงานท่ีเพียงพอในการพัฒนาสมรรถนะนักเรียน
ในระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑-๒ ในสถานศึกษาเหล่านี้จึงมีความจ�ำเป็น เพื่อลดความกดดันและให้เวลา
ผ่อนคลายแก่ครูและผู้บริหารสถานศึกษามีเวลาส่งเสริมพัฒนาเด็กได้ตรงกับสภาพปัญหาและความต้องการ
เพยี งพอ

รายงานเฉพาะเรอื่ งที่ ๑๒ หลกั สตู รและการเรียนการสอนฐานสมรรถนะ 101

๒.๔ การก�ำหนดเป้าหมายของนโยบายจากหน่วยงานต้นสังกัด ส่งผลกระทบต่อความกดดันให้ครู
และผู้บริหารสถานศึกษาต้องเร่งพัฒนานักเรียนด้านการอ่านออกเขียนได้อย่างเข้มข้น ซึ่งส่งผลต่อการเปิด
โอกาสให้นักเรยี นไดเ้ รยี นร้สู มรรถนะท่สี ำ� คญั ในดา้ นอืน่ ๆ ท่มี ีความจ�ำเป็นต่อชีวติ ประจำ� วันลดนอ้ ยลง
๓. ผู้ปกครอง
๓.๑ ผู้ปกครองเกิดค่านิยมการเร่งอ่านเขียนในระดับปฐมวัย ท�ำให้สถานศึกษาจ�ำนวนมาก
ตอบสนองความต้องการเหล่าน้ี รวมถึงการพิจารณาคุณภาพของสถานศึกษาจากผลการทดสอบข้อสอบกลาง
และผลการทดสอบระดับชาติ ท�ำให้เกิดความต้องการในการส่งบุตรหลานเข้าเรียนในโรงเรียนที่มีอัตรา
การแข่งขันสูงท่ีมีความพร้อมในด้านทรัพยากรและปัจจัยในการจัดการศึกษา มากกว่าการให้ความส�ำคัญกับ
การพัฒนาสมรรถนะของบุตรหลานอย่างค่อยเป็นค่อยไปตามศักยภาพในระดับปฐมวัยและระดับประถมศึกษา
ตอนตน้
๓.๒ ผู้ปกครองขาดความเช่ือถือศรัทธาในการส่งบุตรหลานเรียนโรงเรียนใกล้บ้าน เน่ืองจาก
ผู้ปกครองอาจพบว่า สถานศึกษาเหล่าน้ีมีนักเรียนท่ีมีผลการประเมินระดับชาติต�่ำโดยไม่ทราบสาเหตุที่แท้จริง
ในด้านความเหล่ือมล้�ำทางทรัพยากรและศักยภาพของผู้เรียนท่ีมีความแตกต่างกันในการจัดการศึกษาท�ำให้
สถานศึกษาหลายแหง่ ต้องท�ำความเข้าใจและหาแนวทางในการท�ำความเข้าใจกบั ผู้ปกครองมากขนึ้
จากนโยบายการทดสอบดว้ ยขอ้ สอบกลางเพอื่ ตรวจสอบติดตามการอ่านออกเขยี นได้ของกลุ่มนกั เรียน
ในระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑-๒ และให้สถานศึกษารายงานผลต่อหน่วยงานต้นสังกัดทราบ ท�ำให้เกิด
ความกดดันในทางปฏิบัติที่หน่วยงานภายใต้การก�ำกบั ดูแลต้องการแสดงผลการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพสงู
การก�ำหนดค่าเป้าหมายให้นักเรียนสามารถอ่านออกเขียนได้ ร้อยละ ๑๐๐ ตามนโยบายของส�ำนักงานคณะ
กรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน จึงอาจส่งผลกระทบให้เด็กปฐมวัยและนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑-๒
ได้รับการจัดกิจกรรมการอ่านออกเขียนได้อย่างเข้มข้นต้ังแต่ระดับช้ันอนุบาลปีท่ี ๑ (อายุ ๓ ปี) เพ่ือให้มี
ความสามารถในการอ่านออกเขียนได้เมื่อเข้าเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑ ตั้งแต่เดือนมิถุนายน ซึ่งเป็น
การทดสอบ ครัง้ ท่ี ๑ ตอ่ เนอ่ื งมาตลอดจนสิน้ ปีในแตล่ ะปกี ารศกึ ษา
การ “ปลดล็อก” เพ่ือปรับเป้าหมายการทดสอบโดยใช้ข้อสอบกลาง มาเป็นพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
โดยปราศจากความกดดนั ของหนว่ ยงานท่ีกำ� กบั ดแู ล เพ่ือช่วยผอ่ นคลายผลกระทบทอี่ าจเกดิ ข้นึ ต่อนักเรยี น ครู
ผู้บริหารสถานศึกษาที่มีข้อจ�ำกัดในการพัฒนาผู้เรียนท่ียังขาดความพร้อมด้วยสาเหตุของปัจจัยหลายด้าน
ไดม้ ีช่วงเวลาท่เี หมาะสมและยาวนานมากพอ เพ่ือพฒั นานักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑-๒ ทมี่ ศี ักยภาพแตกต่าง
กันได้พัฒนาสมรรถนะส�ำคัญ ๑๐ สมรรถนะจากกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีจัดขึ้นเพ่ือพัฒนานักเรียนเป็นองค์รวมได้
บรรลผุ ลตามความคาดหวังของการปฏริ ปู การศึกษาอย่างแทจ้ ริง

102 รายงานเฉพาะเรื่องท่ี ๑๒ หลักสตู รและการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ

ภาคผนวก ง
รายการเอกสารและผลผลิต

ของคณะท�ำงานจัดทำ� กรอบสมรรถนะหลักผ้เู รยี นระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน
ในคณะอนุกรรมการจัดการเรยี นการสอน คณะกรรมการอสิ ระเพอื่ การปฏิรปู การศกึ ษา

รายการเอกสารและผลผลิต QR code
เล่มที่ ๑ รายงานผลการวจิ ยั และพฒั นากรอบสมรรถนะผเู้ รยี นระดับประถมศึกษา
ตอนตน้ สำ�หรับหลักสตู รการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน

เลม่ ที่ ๒ ประมวลความคดิ เหน็ เก่ยี วกบั หลกั สูตร และการจดั การเรียนการสอน
จากกลุ่มผเู้ กีย่ วข้องผา่ นทางไลน์ กอปศ. และการประชมุ รับฟงั ความคิดเหน็

เลม่ ท่ี ๓ การกำ�หนดสมรรถนะหลกั ของผเู้ รยี นระดบั การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน และ
ระดบั ประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.๑-๓) : กระบวนการกำ�หนดสมรรถนะ และวรรณคดี
ท่ีเกยี่ วข้องกบั สมรรถนะ
เลม่ ที่ ๔ การวเิ คราะห์ความสอดคลอ้ งของสมรรถนะหลกั ผเู้ รียนระดบั การศกึ ษา
ขั้นพน้ื ฐาน กับหลกั การสำ�คญั ๖ ประการ

เล่มท่ี ๕ กรอบสมรรถนะผู้เรยี นระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน และระดบั ประถมศกึ ษา
ตอนตน้ (ป.๑-ป.๓)

เลม่ ที่ ๖ แนวทางการพฒั นาสมรรถนะผเู้ รียนระดบั การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน

เลม่ ท่ี ๗ คมู่ ือ การนำ�กรอบสมรรถนะหลักของผเู้ รียนระดับประถมศกึ ษาตอนตน้
(ป.๑-ป.๓) ไปใชใ้ นการพัฒนาผู้เรยี น

รายงานเฉพาะเรอ่ื งที่ ๑๒ หลักสตู รและการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ 103

รายการเอกสารและผลผลิต QR code
เลม่ ที่ ๘ ทรพั ยากรการเรียนร้เู พอ่ื พัฒนาสมรรถนะของผู้เรยี นยุคใหม่

เล่มท่ี ๙ รายการผลงาน สื่อ สงิ่ พมิ พ์ ประชาสัมพันธ์ และเผยแพร่กรอบสมรรถนะ
ผู้เรยี นระดับการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน

เลม่ ที่ ๑๐ รายงานพนั ธกจิ ด้านการปฏริ ูปการศกึ ษา ผ่านหลักสตู รและการเรยี น
การสอนฐานสมรรถนะ (A Commission Report on Education Reform
through Competency-Based Curriculum & Instruction)
เล่มท่ี ๑๑ บทสรปุ รายงานพนั ธกจิ ด้านการปฏริ ปู การศกึ ษา ผ่านหลกั สตู รและก
ารเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ (A Commission Report on Education Reform
through Competency-Based Curriculum & Instruction)
เล่มท่ี ๑๒ เขา้ ใจสมรรถนะอย่างงา่ ยๆ

104 รายงานเฉพาะเร่ืองท่ี ๑๒ หลักสตู รและการเรียนการสอนฐานสมรรถนะ

บนั ทึก

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

รายงานเฉพาะเรอื่ งที่ ๑๒ หลักสูตรและการเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ 105

บนั ทึก

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

106 รายงานเฉพาะเร่อื งท่ี ๑๒ หลักสตู รและการเรียนการสอนฐานสมรรถนะ


Click to View FlipBook Version