The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นายวิจิตร พลเศษ, 2021-03-31 07:32:59

แผนวิชาหลักเศรษฐศาสตร์

วิชาหลักเศรษฐศาสตร์

Keywords: วิชาหลักเศรษฐศาสตร์

47

การวัดผลและการประเมินผล
วธิ ีวดั ผล
1. สงั เกตพฤตกิ รรมรำยบคุ คล
2. ประเมินพฤติกรรมกำรเข้ำร่วมกิจกรรมกลุ่ม
3 ตรวจใบงำน
4. ตรวจแบบประเมินผลกำรเรยี นรู้
5. กำรสังเกตและประเมนิ พฤติกรรมด้ำนคุณธรรม จรยิ ธรรม คำ่ นยิ ม และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์

เครือ่ งมือวดั ผล
1. แบบสงั เกตพฤติกรรมรำยบุคคล
2. แบบประเมินพฤตกิ รรมกำรเข้ำร่วมกิจกรรมกลมุ่
3. แบบใบงำน
4. แบบประเมินผลกำรเรยี นรู้
5. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม คำ่ นิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและผเู้ รียนรว่ มกัน

ประเมิน

เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
1. เกณฑผ์ ่ำนกำรสงั เกตพฤตกิ รรมรำยบุคคล ต้องไมม่ ีช่องปรบั ปรุง
2. เกณฑ์ผ่ำนกำรประเมนิ พฤติกรรมกำรเข้ำรว่ มกจิ กรรมกล่มุ คือ ปำนกลำง (50 % ข้นึ ไป)
3. เกณฑ์ผำ่ นกำรสังเกตพฤติกรรมกำรเขำ้ รว่ มกิจกรรมกลุ่ม คือ ปำนกลำง (50% ข้นึ ไป)
4. ใบงำน มีเกณฑ์ผำ่ น 50%
5. แบบประเมินผลกำรเรยี นรู้ มเี กณฑผ์ ่ำน 50%
6 แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม คำ่ นิยม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับกำร
ประเมนิ ตำมสภำพจริง

48

กิจกรรมเสนอแนะ
1.ทบทวนบทเรยี นทฤษฎีกำรผลิต
2.บันทกึ รำยรบั -รำยจำ่ ย

คาช้แี จง : ให้บนั ทึกบญั ชีรำยรบั -รำยจ่ำย ตำมควำมเปน็ จรงิ

1. จำกกำรลงบนั ทึกมเี งนิ เหลอื เกบ็ หรอื ไม่……………เพรำะเหตุใด………………..………….………
2. จะเกิดอะไรข้นึ ถำ้ มรี ำยจำ่ ยมำกกว่ำรำยรบั ………………………..…………….………………….…

49

บันทึกหลังการสอน

ขอ้ สรุปหลงั การสอน
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................9................................................................................
............................................................................................................................. ..................
........................................................................................................................................... ....
............................................................................................................................. ..................
ปัญหาที่พบ
............................................................................................................................. ..................
..................................................................................................... ..........................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
แนวทางแก้ปญั หา
......................................................................................................................... ......................
............................................................................................................................. ..................
......................................................................................... .....................................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
................................................................

50

แผนการจดั การเรยี นรแู้ บบบูรณาการท่ี 7 หนว่ ยท่ี 6
รหัส 30200-1001 วิชาหลกั เศรษฐศาสตร์ 3-0-3 สอนครัง้ ท่ี 7 (19-21)
ชือ่ หน่วย/เรอื่ ง ต้นทุน รายรับ และกาไร
จานวน 3 ช.ม.

สาระสาคัญ
จำกกำรศึกษำถึงพฤติกรรมของผู้ผลติ ในหนว่ ยที่ 5 ทำให้ทรำบแนวคิดในกำรจดั สรรต้นทุนทมี่ ีอยูอ่ ย่ำงจำกดั ใน

กำรเลือกซ้ือปัจจัยกำรผลิตเพ่ือให้ได้ผลผลติ มำกท่ีสดุ หรือเพ่ือให้ได้กำไรสงู สุดและเสยี ต้นทนุ กำรผลติ ตำ่ ทีส่ ดุ ผูผ้ ลิต
จำเปน็ ตอ้ งศึกษำถงึ หลกั กำรใช้ต้นทนุ กำรผลติ ท้งั ในระยะสั้นและระยะยำว เพ่ือจะได้วำงแผนกำรผลิตใหเ้ สียต้นทนุ ต่ำ
สุดและตอ้ งศกึ ษำถึงรำยรบั ท่ีไดจ้ ำกกำรผลติ ท่ีทำให้ได้รบั กำไรสงู สุดจำกกำรวำงแผนกำรผลติ ในช่วงเวลำต่ำงๆ กนั ได้
จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

1 อธิบำยควำมหมำยของต้นทนุ ประเภทต่ำงๆ ในทำงเศรษฐศำสตร์ได้
2 อธิบำยควำมหมำยของต้นทุนกำรผลิตแต่ละชนดิ ในระยะสัน้ ได้
3 อธบิ ำยควำมหมำยและลกั ษณะของตน้ ทุนกำรผลติ ในระยะยำวได้
4 อธบิ ำยควำมหมำยและรำยรับจำกกำรผลิตแต่ละชนิดได้
5 อธบิ ำยควำมหมำยของกำไรทำงเศรษฐศำสตร์ได้
6.มีกำรพัฒนำคุณธรรม จริยธรรม ค่ำนยิ ม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงคข์ องผสู้ ำเร็จกำรศกึ ษำ สำนักงำน
คณะกรรมกำรกำรอำชวี ศกึ ษำ ท่คี รูสำมำรถสังเกตได้ขณะทำกำรสอนในเรอื่ ง

6.1 ควำมมมี นุษยสมั พันธ์
6.2 ควำมมวี นิ ัย
6.3 ควำมรบั ผดิ ชอบ
6.4 ควำมซ่ือสตั ย์สุจรติ
6.5 ควำมเช่อื ม่นั ในตนเอง
6.6 กำรประหยดั
6.7 ควำมสนใจใฝ่รู้
6.8 กำรละเวน้ ส่งิ เสพติดและกำรพนนั
6.9 ควำมรักสำมัคคี
6.10 ควำมกตญั ญูกตเวที
สมรรถนะรายวิชา
1.แสดงควำมรู้ควำมเข้ำใจเกี่ยวกบั เศรษฐศำสตร์ท่สี ำคัญต่อกำรดำเนนิ ธุรกจิ
2.ประยุกตห์ ลักเศรษฐศำสตร์ไปใช้ในงำนอำชีพและชีวิตประจำวนั
3.ปฏบิ ัตงิ ำนดว้ ยควำมมีคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่ำนยิ ม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตำมหลักปรัชญำของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง

เน้อื หาสาระ
1 ควำมหมำยของต้นทนุ ประเภทตำ่ งๆ ในทำงเศรษฐศำสตร์
2 ควำมหมำยของต้นทนุ กำรผลติ แตล่ ะชนดิ ในระยะสน้ั
3 ควำมหมำยและลกั ษณะของต้นทนุ กำรผลติ ในระยะยำว
4 ควำมหมำยและรำยรับจำกกำรผลติ แต่ละชนิด
5 ควำมหมำยของกำไรทำงเศรษฐศำสตร์

51

กจิ กรรมการเรยี นรู้
ขน้ั นาเข้าสู่บทเรยี น
1.ครใู ช้เทคนิคกำรสอนแบบซิปปำโมเดล (CIPPA MODEL) โดยกำรทบทวนควำมรู้เดิมจำกสปั ดำหท์ ่ผี ่ำนมำ

โดยดงึ ควำมรูเ้ ดิมของผเู้ รียนในเรอื่ งทจ่ี ะเรียน เพื่อช่วยให้ผเู้ รียนมีควำมพร้อมในกำรเช่ือมโยงควำมรูใ้ หม่กับควำมร้เู ดิม
ของตน ผ้สู อนใช้กำรสนทนำซักถำมใหผ้ ู้เรยี นเลำ่ ประสบกำรณเ์ ดมิ

2.ครูสนทนำกับผู้เรียนเร่อื งกำรทผ่ี ู้ผลิตจะตัดสินใจทำกำรผลติ สนิ ค้ำหรอื บริกำรเป็นจำนวนเท่ำใดจำกปัจจัย
กำรผลิตทีม่ ีอยู่ในขณะนั้น จึงจะได้รับกำไรสูงสดุ หรือขำดทุนน้อยทสี่ ดุ ผู้ผลิตจะต้องนำต้นทุนกำรผลิต และรำยรับจำก
กำรผลิตมำเปรยี บเทยี บกัน กำรศกึ ษำตน้ ทุนกำรผลติ รำยรับจำกกำรผลิต และกำไรจำกกำรผลิตจึงเป็นกำรศึกษำ
ทำงด้ำนอุปทำนของสินคำ้ หรือบรกิ ำร ซ่งึ เปน็ กำรพจิ ำรณำทำงด้ำนพฤติกรรมของผู้ผลิต

ขั้นสอน
3 ครูและผ้เู รียนใช้เทคนิควิธีสอนแบบใช้โสตทัศนวัสดุ (Audio-Visual Meterial of Instruction Method)
เป็นวิธีสอนท่นี ำอปุ กรณ์โสตทัศน์วัสดมุ ำชว่ ยพฒั นำคุณภำพกำรเรยี นกำรสอน โสตทศั นไ์ ด้แก่ Power Point เพ่อื
อธบิ ำยควำมหมำยของตน้ ทนุ ประเภทต่ำงๆ ในทำงเศรษฐศำสตร์
4.ครูและผเู้ รยี นใชเ้ ทคนคิ วิธีสอนแบบ Lecture Method กำรจดั กำรเรยี นรู้แบบบรรยำย คอื กระบวนกำร
เรยี นร้ทู ผ่ี ู้สอนเปน็ ผ้ถู ่ำยทอดควำมรู้ใหแ้ ก่ผู้เรยี นโดยกำรพูดบอกเลำ่ อธิบำยเนือ้ หำเรื่องควำมหมำยของต้นทุนกำรผลิต
แตล่ ะชนิดในระยะส้ัน
5.ครูและผู้เรยี นใช้เทคนิควิธีสอนแบบ Discussion Method กำรจดั กำรเรยี นรู้แบบอภปิ รำย คอื กระบวนกำร
ท่ีผ้สู อนมุ่งให้ผูเ้ รยี นมีโอกำสสนทนำแลกเปลยี่ นควำมคดิ เห็นหรือระดมควำมคิดในเรอื่ งใดเรื่องควำมหมำยและลกั ษณะ
ของตน้ ทุนกำรผลิตในระยะยำว
6.ครแู ละผเู้ รยี นใช้เทคนคิ วิธีสอนแบบ Process กำรจัดกำรเรยี นรทู้ ีเ่ น้นกระบวนกำร เป็นกระบวนกำรเรยี นรู้
ทีเ่ นน้ ใหผ้ เู้ รยี นได้เรยี น“วิธีกำรเรียนรู้” อย่ำงเป็นขนั้ ตอน หรอื เปน็ กระบวนกำร โดยใหผ้ ้เู รยี นเปน็ ผู้คิด ผลู้ งมือปฏบิ ัติ
กิจกรรมตำ่ ง ๆ ผู้สอนเป็นผู้กำกบั ควบคุมให้ผเู้ รยี นมกี ำรปฏิบตั ิ ฝึกฝนจนเกดิ ทกั ษะ สำมำรถปฏิบัตติ ำมขนั้ ตอนได้และ
รบั รู้ขน้ั ตอนทั้งหมด จนสำมำรถนำไปใช้ไดอ้ ยำ่ งอตั โนมัติและนำไปใช้ไดจ้ ริงในสถำนกำรณต์ ่ำง ๆ ในเรื่องควำมหมำย
และรำยรับจำกกำรผลติ แต่ละชนดิ และควำมหมำยของกำไรทำงเศรษฐศำสตร์
7.ผู้เรียนปฏบิ ัติกิจกรรม ตำมโจทย์ประกอบ ดังน้ี
สำนกั พมิ พเ์ อมพนั ธ์ จำกดั กำลังจะพิมพห์ นงั สือเรยี นเศรษฐศำสตร์เบ้ืองต้นออกจำหนำ่ ย โดยมตี น้ ทุนกำรพมิ พ์
ตำ่ งๆ ดงั นี้

52

จุดคมุ้ ทุน คอื จุดทีห่ นว่ ยผลติ มีรำยรับรวมเท่ำกบั ตน้ ทนุ รวม หรือรำยรับรวมเฉลีย่ เทำ่ กับต้นทุนรวมเฉลี่ย โดย
หนว่ ยผลติ มีเฉพำะกำไรปกติเท่ำน้นั

(ก) แสดงกำรคำนวณหำจำนวนพมิ พ์ ณ จดุ ค้มุ ทุน
(ข) ถำ้ ต้องกำรกำไรเกนิ ปกติ 40,000 บำท จะต้องพิมพ์จำนวนเท่ำไร
(ค) สมมติวำ่ ใชเ้ ทคโนโลยกี ำรพิมพ์ที่สำมำรถลดตน้ ทุนคงท่ีลงเหลอื 50,000 บำท จำนวนพมิ พ์
ณ จดุ คุม้ ทุนจะเปน็ เท่ำไร
(ง) ถ้ำ TFC = 100,000 บำท , AVC = 20 บำท แตร่ ำคำขำยเปลี่ยนเปน็ เลม่ ละ 40 บำท จำนวนพมิ พณ์
จุดคมุ้ ทนุ จะเป็นเท่ำไร
8.ผูเ้ รยี นอธิบำยกำรวิเครำะห์เส้นต้นทุนกำรผลิตระยะยำวมีควำมสัมพนั ธ์เก่ียวเน่อื งกบั กำรผลิตโดยเสยี ต้นทุน
ตำ่ สดุ อย่ำงไร
9.ผู้เรยี นวเิ ครำะห์หำวำ่ นำย ก มีทีด่ นิ อย่แู ปลงหนง่ึ แถบชำนเมือง กรุงเทพมหำนคร ซงึ่ ได้รบั อนญุ ำตใหเ้ ปน็ เขต
อตุ สำหกรรม นำย ก จึงมีแผนจะตง้ั โรงงำนผลติ เส้ือผ้ำสำเรจ็ รปู บนที่ดินแปลงนี้ ในกำรดำเนนิ กำรต้งั แตก่ ่อสร้ำง
โรงงำนจนถึงกำรผลติ ใหแ้ จกแจงตน้ ทนุ ทำงเศรษฐศำสตรป์ ระเภทตำ่ งๆ มำโดยละเอียด
10.ผเู้ รยี นวเิ ครำะหว์ ่ำในกำรสรำ้ งโรงงำนดงั กล่ำวจะมผี ลกระทบภำยนอกต่อชุมชนรอบๆ อยำ่ งไรบ้ำง ท้ังใน
ดำ้ นบวกและลบ ต้นทนุ สงั คมของกรณนี ีค้ ืออะไรบำ้ ง
11.ผู้เรยี นยกตวั อย่ำงกำรทำงำนของศักย์ไฟฟ้ำ และควำมจไุ ฟฟำ้ เพ่ือนำไปใชใ้ นกำรประกอบอำชีพ โดยเน้น
แนวทำงกำรใช้แบบพอเพียง และมเี ง่อื นไขคณุ ธรรม มำคนละ 1 ตวั อย่ำง
12.ผู้เรยี นเขยี นระบุกิจกรรมงำนท่ีสำคญั ในกำรประหยัดพลงั งานมำคนละ 1 ตัวอยำ่ ง โดยเนน้ หลัก
เศรษฐกิจพอเพียง
ขน้ั สรุปและการประยุกต์
13.ครูและผูเ้ รยี นสรปุ ต้นทนุ ทำงเศรษฐศำสตร์ หมำยถงึ ต้นทุนคำ่ เสียโอกำสทป่ี ระกอบด้วยตน้ ทนุ ชัดแจง้
และต้นทนุ ไมช่ ดั แจ้ง ตน้ ทนุ ค่ำเสียโอกำส คอื มูลค่ำสูงสดุ ของผลประโยชนจ์ ำกทำงเลือกอืน่ ท่เี สียสละไป เน่ืองจำก
ตดั สนิ ใจเลือกทำงใดทำงหนึ่งแลว้ ต้นทุนชัดแจง้ คือ รำยจ่ำยที่จำ่ ยออกไปจรงิ ๆ และจำ่ ยใหแ้ กบ่ คุ คลเพ่ือเป็น
คำ่ ตอบแทนในกำรใช้ปัจจยั กำรผลิต ตน้ ทุนไมช่ ัดแจง้ คือ ต้นทุนจำกกำรใชป้ จั จยั กำรผลิตในสว่ นทไี่ มไ่ ด้จ่ำยออกไป
จรงิ ๆ ตน้ ทุนระยะสน้ั ประกอบด้วยต้นทุนรวม ตน้ ทุนคงท่ีรวม ต้นทนุ ผันแปรรวม ตน้ ทุน หนว่ ยสุดทำ้ ย ต้นทนุ เฉล่ยี
ต้นทุนคงท่เี ฉลี่ย และตน้ ทุนผันแปรเฉล่ีย ตน้ ทุนระยะยำวจะพจิ ำรณำจำกต้นทุนเฉลีย่ ผูผ้ ลติ สำมำรถเปล่ยี นแปลง
ปัจจัยกำรผลติ ทกุ ชนดิ ได้ และเปลี่ยนแปลงขนำดของโรงงำนให้เหมำะสมกับจำนวนผลผลติ ทีเ่ สียตน้ ทนุ กำรผลติ ตำ่ สดุ
รำยรับจำกกำรผลิตแบง่ ออกเป็น 3 ชนดิ คือ รำยรบั รวม รำยรบั เฉลย่ี และรำยรับหน่วยสุดทำ้ ย กำไรทำง

53

เศรษฐศำสตร์ คือ ผลตำ่ งระหว่ำงรำยรับรวมกนั ต้นทุนรวม ถ้ำรำยรบั รวมมำกกว่ำตน้ ทนุ รวม ผู้ผลติ จะได้รับกำไรเกนิ
ปกติ ผลผลติ ทท่ี ำใหผ้ ผู้ ลิตได้รับกำไรสูงสดุ คือผลผลิตทีม่ สี ่วนตำ่ งระหวำ่ งรำยรบั รวมกับต้นทุนรวมมำกที่สดุ ส่วนตำ่ ง
อำจเป็นบวก (กำไร)หรือเป็นลบ (ขำดทนุ ) กไ็ ด้

14.ครแู ละผเู้ รยี นสรุปโดยให้ผ้เู รียนสรปุ เนอ้ื หำกำรเรียนกำรสอน ท่ีได้ศกึ ษำไปแลว้ จำกกำรสำธติ รว่ มกับ
ครผู สู้ อน พร้อมทั้งประเมินผเู้ รียนตำมแบบฟอรม์

15.ผเู้ รียนทำใบงำน และแบบประเมินผลกำรเรยี นรู้

สือ่ และแหล่งการเรยี นรู้
1.หนงั สอื เรยี น วชิ ำหลักเศรษฐศำสตร์
2.รปู ภำพ
3.กจิ กรรมกำรเรยี นกำรสอน
4.สอ่ื อิเลก็ ทรอนิกส์ , Power Point และ VDO
5.แบบประเมนิ ผลกำรเรยี นรู้
6.เครอ่ื งมอื อปุ กรณ์

หลกั ฐาน
1.บันทึกกำรสอน
2.ใบเชค็ รำยชือ่
3.แผนจัดกำรเรียนรู้
4.กำรตรวจประเมนิ ผลงำน

การวดั ผลและการประเมินผล
วิธวี ัดผล
1. สงั เกตพฤตกิ รรมรำยบุคคล
2. ประเมินพฤติกรรมกำรเข้ำรว่ มกิจกรรมกลุม่
3 ตรวจใบงำน
4. ตรวจแบบประเมินผลกำรเรียนรู้
5. กำรสังเกตและประเมนิ พฤติกรรมด้ำนคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่ำนิยม และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์

เครอื่ งมอื วดั ผล
1. แบบสังเกตพฤติกรรมรำยบุคคล
2. แบบประเมนิ พฤติกรรมกำรเข้ำร่วมกิจกรรมกลมุ่
3. ใบงำน
4. แบบประเมินผลกำรเรียนรู้
5. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่ำนยิ ม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ โดยครแู ละผเู้ รียนร่วมกนั

ประเมิน

เกณฑก์ ารประเมินผล
1. เกณฑ์ผ่ำนกำรสงั เกตพฤติกรรมรำยบุคคล ต้องไมม่ ชี ่องปรบั ปรุง
2. เกณฑ์ผำ่ นกำรประเมินพฤติกรรมกำรเขำ้ ร่วมกจิ กรรมกลุม่ คือ ปำนกลำง (50 % ขึน้ ไป)
3. เกณฑ์ผำ่ นกำรสังเกตพฤติกรรมกำรเข้ำร่วมกจิ กรรมกลมุ่ คือ ปำนกลำง (50% ขึน้ ไป)

54

4. ใบงำน มีเกณฑผ์ ำ่ น 50%
5. แบบประเมนิ ผลกำรเรียนรู้ มีเกณฑ์ผำ่ น 50%
6. แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่ำนยิ ม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยู่กับกำร
ประเมินตำมสภำพจรงิ
กิจกรรมเสนอแนะ
1.ทำใบงำนและศกึ ษำเนือ้ หำเพ่ิมเตมิ เก่ยี วกับต้นทุน รำยรบั และกำไร
2.บนั ทกึ รำยรบั -รำยจำ่ ย

คาชแี้ จง : ให้บนั ทกึ บัญชีรำยรับ-รำยจ่ำย ตำมควำมเป็นจรงิ

1. จำกกำรลงบันทึกมเี งนิ เหลือเก็บหรือไม่……………เพรำะเหตุใด………………..………….………
2. จะเกดิ อะไรขน้ึ ถ้ำมีรำยจ่ำยมำกกว่ำรำยรบั ………………………..…………….………………….…

55

บนั ทึกหลังการสอน

ขอ้ สรุปหลงั การสอน
.......................................................................................................................... .....................
............................................................................................................................. ..................
.......................................................................................... .....................................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
ปญั หาที่พบ
............................................................................................................................. ..................
..................................................................................................... ..........................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
.................................................................................................................................. .............
แนวทางแก้ปญั หา
............................................................................................................................. ..................
................................................................................................. ..............................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
.............................................................................................................................. .................

56

แผนการจัดการเรยี นรู้แบบบูรณาการท่ี 8 หน่วยที่ 7
รหัส 30200-1001 วชิ าหลกั เศรษฐศาสตร์ 3-0-3 สอนครั้งท่ี 8 (22-24)
ชอ่ื หน่วย/เร่ือง ตลาดและการกาหนดราคา
จานวน 3 ช.ม.

สาระสาคัญ
ในระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมหรือระบบเศรษฐกจิ แบบผสมนนั้ กำรผลิต กำรจำแนกแจกจ่ำย และกำรบรโิ ภค

เอกชนเป็นผู้ดำเนินกำรตำมกลไกตลำดหรอื กลไกรำคำ เพ่อื นำสนิ ค้ำและบริกำรไปสผู่ ู้บรโิ ภค โดยอำศัยกำรเช่ือมโยง
กันระหวำ่ งผู้ผลติ กบั ผู้บรโิ ภค ตลำดในระบบเศรษฐกจิ มีควำมสำคัญมำก เน่อื งจำกสนิ ค้ำและบริกำรจะตอ้ งผ่ำนตลำด
ต่ำงจำกระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนยิ มทร่ี ัฐบำลเป็นผูด้ ำเนินกำรแบ่งปันสินค้ำและบริกำรใหแ้ ก่ประชำชนโดยไมผ่ ่ำน
ตลำดตลำดแตล่ ะประเภทมลี ักษณะแตกต่ำงกนั เช่น ตลำดแขง่ ขันสมบูรณ์ ตลำดผูกขำด และตลำดผขู้ ำยน้อยรำย
โดยแต่ละตลำดมที ้ังข้อดแี ละขอ้ เสยี ต่อผบู้ ริโภคและระบบเศรษฐกิจ
จุดประสงค์การเรียนรู้

1 บอกควำมหมำย หน้ำที่ และประเภทของตลำดได้
2 อธบิ ำยลกั ษณะของตลำดประเภทตำ่ งๆ และกำรกำหนดรำคำในตลำดแขง่ ขนั สมบรู ณ์ ตลำดผกู ขำดตลำดก่งึ
แขง่ ขนั ก่ึงผกู ขำด และตลำดผ้ขู ำยนอ้ ยรำยได้
3 อธบิ ำยดลุ ยภำพตลำดในแต่ละตลำดได้
4.มีกำรพัฒนำคุณธรรม จรยิ ธรรม คำ่ นิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงคข์ องผูส้ ำเร็จกำรศกึ ษำสำนักงำน
คณะกรรมกำรกำรอำชีวศึกษำ ทคี่ รูสำมำรถสังเกตได้ขณะทำกำรสอนในเร่อื ง

4.1 ควำมมมี นุษยสมั พนั ธ์
4.2 ควำมมวี นิ ัย
4.3 ควำมรบั ผดิ ชอบ
4.4 ควำมซื่อสัตยส์ ุจริต
4.5 ควำมเชอ่ื มั่นในตนเอง
4.6 กำรประหยดั
4.7 ควำมสนใจใฝ่รู้
4.8 กำรละเวน้ ส่งิ เสพติดและกำรพนนั
4.9 ควำมรักสำมัคคี
4.10 ควำมกตัญญูกตเวที
สมรรถนะรายวิชา
1.แสดงควำมรู้ควำมเข้ำใจเกี่ยวกับเศรษฐศำสตร์ท่ีสำคญั ต่อกำรดำเนินธุรกิจ
2.ประยุกตห์ ลักเศรษฐศำสตร์ไปใช้ในงำนอำชีพและชีวติ ประจำวนั
3.ปฏิบตั ิงำนด้วยควำมมีคุณธรรม จริยธรรม ค่ำนยิ ม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ตำมหลกั ปรัชญำของ
เศรษฐกิจพอเพียง

เนอื้ หาสาะ
1 ควำมหมำยและหน้ำที่ของตลำด
2 ประเภทของตลำด
3 ตลำดแข่งขนั สมบรู ณ์
4 ตลำดผูกขำด

57

5 ตลำดกึ่งแข่งขันกงึ่ ผูกขำด
6 ตลำดผ้ขู ำยนอ้ ยรำย

กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนาเขา้ สู่บทเรยี น
1.ครแู ละผ้เู รยี นสนทนำวำ่ ในระบบเศรษฐกิจแบบผสมหรือระบบเศรษฐกจิ แบบเสรีนนั้ กำรผลติ ส่วนใหญเ่ ปน็

เร่ืองของเอกชนเปน็ ผดู้ ำเนินกำรตำมกลไกรำคำเพื่อนำสินค้ำและบริกำรไปสู่ผูบ้ รโิ ภค โดยอำศัยกำรตลำดทำหนำ้ ที่
เชื่อมโยงระหวำ่ งผู้ผลติ กบั ผู้บรโิ ภค ตลำดในระบบเศรษฐกิจนับว่ำมคี วำมสำคญั อย่ำงมำก เพรำะจะชว่ ยใหม้ ีกำร
กระจำยสินคำ้ และบริกำรจำกแหลง่ ผลิตสู่มือผู้บริโภค ชว่ ยใหผ้ ้บู รโิ ภคมีสินคำ้ และบรกิ ำรมำบำบดั ควำมตอ้ งกำรได้
อยำ่ งทว่ั ถึง ดงั นนั้ จึงควรทำควำมเขำ้ ใจเกีย่ วกบั ควำมหมำยของตลำด ลักษณะทัว่ ไปของตลำดที่มกี ำรแขง่ ขนั สมบรู ณ์
และไม่สมบรู ณต์ ำมลำดับ

2.ครูแสดงรปู ภำพของระบบเศรษฐกจิ แบบต่ำงๆ เพ่ือเปน็ ตัวอย่ำง

ข้นั สอน
3.ครูและผู้เรยี นใชเ้ ทคนิควิธสี อนแบบบรรยำย (Lecture Method) ด้วยกำรเลำ่ อธบิ ำยแสดงสำธิตให้ผู้เรียน
เปน็ ผฟู้ ังและเปดิ โอกำสให้ผเู้ รยี นซกั ถำมปัญหำไดใ้ นตอนทำ้ ยของกำรบรรยำยควำมหมำยและหนำ้ ที่ของตลำด และ
ประเภทของตลำด
4.ครแู ละผูเ้ รียนใช้เทคนคิ วธิ สี อนแบบ Integration กำรจัดกำรเรียนรแู้ บบบรู ณำกำร หมำยถงึ กำรเรยี นรู้ท่ี
เชอ่ื มโยงศำสตร์หรอื เนื้อหำสำขำวชิ ำตำ่ ง ๆ ท่มี ีควำมสมั พนั ธ์เก่ยี วขอ้ งกนั มำผสมผสำนเข้ำด้วยกนั เพือ่ ให้เกิดควำมรูท้ ี่
มคี วำมหมำย มีควำมหลำกหลำยและสำมำรถนำไปใช้ประโยชนไ์ ด้จรงิ ในชีวติ ประจำวันเกย่ี วกับตลำดแขง่ ขันสมบูรณ์
ตลำดผูกขำด ตลำดกง่ึ แขง่ ขนั ก่ึงผกู ขำด และตลำดผู้ขำยนอ้ ยรำย
5.ครแู ละผู้เรยี นใชเ้ ทคนิควิธีสอนแบบ Cooperative Learning กำรจัดกำรเรยี นร้แู บบร่วมมือ หมำยถึงกระ
บวนกำรเรียนรูท้ ่จี ดั ให้ผเู้ รยี นไดร้ ว่ มมือและช่วยเหลือกันในกำรเรียนรูโ้ ดยแบง่ กลมุ่ ผเู้ รียนที่มีควำมสำมำรถต่ำงกัน
ออกเป็นกลุ่มเล็ก ๆ ซ่งึ เป็นลักษณะกำรรวมกลุ่มอยำ่ งมีโครงสร้ำงทชี่ ัดเจน มกี ำรทำงำนร่วมกนั มีกำรแลกเปลย่ี นควำม
คิดเห็นมีกำรช่วยเหลือพึ่งพำอำศัยซงึ่ กนั และกนั มีควำมรบั ผดิ ชอบรว่ มกันทง้ั ในสว่ นตนและสว่ นรวมเพ่ือใหต้ นเองและ
สมำชกิ ทุกคนในกลุ่มประสบควำมสำเร็จตำมเป้ำหมำยทก่ี ำหนดไว้เก่ยี วกบั ตลำดแข่งขันสมบูรณ์ ตลำดผูกขำด ตลำด
ก่ึงแข่งขันกึ่งผูกขำด และตลำดผูข้ ำยนอ้ ยรำย
6.ผเู้ รยี นค้นควำ้ ข้อมลู จำกสือ่ สง่ิ พิมพ์เกยี่ วกับลักษณะของตลำดในระบบเศรษฐกิจ โดยวิเครำะห์วำ่ สินคำ้ และ
บริกำรเหลำ่ นัน้ อยู่ในตลำดประเภทใด
7.ผ้เู รียนทำแผน่ พับเร่ืองลักษณะของตลำดตำมประเดน็ ต่อไปน้ี

(1) ควำมหมำยของตลำด
(2) ลกั ษณะสำคัญของตลำดในประเภทตำ่ งๆ
(3) ตัวอย่ำงสินคำ้ และบริกำรทีอ่ ย่ใู นตลำดประเภทต่ำงๆ
8.ผเู้ รยี นบนั ทกึ บัญชีครวั เรือน เพอ่ื ใหเ้ กิดกำรปฏบิ ัติพฒั นำควำมรู้ ควำมคิด และปฏบิ ัติถูกต้อง ก่อให้เกิดควำม
เจรญิ ในด้ำนอำชีพหรือเศษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ซ่ึงกำรทำบญั ชีครวั เรือนเป็นเร่ืองกำรบันทึกรำยรบั รำยจ่ำย
ประจำวนั /เดอื น/ปี ว่ำมีรำยรับรำยจ่ำยจำกอะไรบ้ำง จำนวนเท่ำใด รำยกำรใดจำ่ ยน้อยจ่ำยมำก จำเป็นน้อยจำเปน็
มำก ก็อำจลดลงหรือเพิ่มขึ้นตำมควำมจำเป็น ถ้ำทกุ คนคดิ ได้ก็แสดงว่ำเป็นคนรจู้ ักพฒั นำตนเอง มเี หตุมีผล รู้จัก
พอประมำณ รกั ตนเอง รักครอบครวั รกั ชุมชน และรักประเทศชำติมำกขน้ึ จงึ เหน็ ได้ว่ำกำรทำบญั ชคี รัวเรือน คือวิถี
แหง่ กำรเรียนรู้เพ่ือพฒั นำชีวิตตามปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง

58

ขนั้ สรุปและการประยุกต์

9.สรุปสำระสำคัญโดยกำรสำธิต และกำรถำมตอบเกี่ยวกับตลำดในทำงเศรษฐศำสตร์ คอื กำรท่ผี ้ซู ้ือและ

ผู้ขำยทำกำรตกลงแลกเปล่ียนซือ้ ขำยสนิ คำ้ และบริกำรโดยไม่จำเปน็ ต้องมกี ำรพบกนั โดยตรง ไม่จำเป็นต้องมีสถำนท่ที ่ี

แนน่ อนและไม่จำเป็นต้องชำระเงินหรอื ส่งมอบสินค้ำแก่กันทนั ทีตลำดแข่งขันสมบรู ณ์เป็นตลำดทีม่ ีผซู้ ้อื และผู้ขำย

จำนวนมำก สนิ คำ้ ในตลำดมลี ักษณะเหมือนกนั ทกุ ประกำร เส้นอปุ สงค์ทีผ่ ขู้ ำยเผชญิ จะมีลกั ษณะขนำนกบั แกนนอน

ณ รำคำตลำดดุลยภำพของผขู้ ำย หมำยถึง สภำวะท่ีผ้ขู ำยตัดสนิ ใจเลือกระดบั ปริมำณสินค้ำท่ขี ำยทีแ่ ลว้ ได้รบั กำไร

สูงสุดหรือขำดทุนน้อยท่สี ุด โดยผขู้ ำยไม่มแี นวโนม้ ท่ีจะเปลี่ยนแปลงนโยบำยกำรขำย ผูข้ ำยในระยะสัน้ อำจไดร้ ับกำไร

เกินปกติ กำไรปกติ หรือขำดทุนก็ได้ แตใ่ นระยะยำวผ้ขู ำยจะได้รบั เพยี งกำไรปกตเิ ท่ำนั้นตลำดผกู ขำดเปน็ ตลำดที่มี

ผูข้ ำยเพยี งรำยเดยี วและสินค้ำไม่เหมือนกับผู้ขำยรำยอ่นื เส้นอุปสงคท์ ีผ่ ูผ้ กู ขำดเผชญิ เป็นเสน้ เดียวกบั เส้นอุปสงค์ของ

ตลำดซึง่ มีลกั ษณะเปน็ เส้นทอดลงจำกซ้ำยลงมำขวำและมีควำมชันเปน็ ลบ ทัง้ ในระยะสน้ั และระยะยำว ผูผ้ กู ขำดอำจ

ไดร้ ับทัง้ กำไรเกนิ ปกติ กำไรปกติ หรือขำดทุน ในบำงกิจกำรรฐั บำลจะเขำ้ ไปควบคุมกำรดำเนินงำนของผ้ผู กู ขำด

เพอ่ื ให้เกิดกำรเรยี นรูแ้ ละนำไปปฏบิ ัติได้

10.ผเู้ รียนกจิ กรรมสง่ เสริมกำรเรียนรู้ แบบฝึกหดั ทำ้ ยหนว่ ย และประเมินผเู้ รียนดังนี้

ชื่อผู้เรียน ธรรมชำติของผเู้ รียน วธิ ีกำรเรยี นรู้
ควำมสนใจ สตปิ ัญญำ วฒุ ิภำวะ

1.

2.

3.
สอ่ื และแหล่งการเรียนรู้

1.หนงั สือเรียน วชิ ำหลกั เศรษฐศำสตร์

2.กจิ กรรมกำรเรยี นกำรสอน

3.สื่ออิเล็กทรอนกิ ส์

4.แบบประเมนิ ผลกำรเรยี นรู้

5.เคร่ืองมือและอปุ กรณ์

หลักฐาน
1.บันทึกกำรสอน
2.ใบเช็ครำยช่ือ
3.แผนจดั กำรเรียนรู้
4.กำรตรวจประเมินผลงำน

การวดั ผลและการประเมนิ ผล
วิธีวัดผล
1. สังเกตพฤตกิ รรมรำยบคุ คล

2. ประเมนิ พฤติกรรมกำรเขำ้ ร่วมกิจกรรมกล่มุ

3 ตรวจใบงำน
4. ตรวจแบบประเมินผลกำรเรยี นรู้
5. กำรสงั เกตและประเมนิ พฤติกรรมด้ำนคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่ำนยิ ม และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์

59

เครื่องมอื วัดผล
1. แบบสงั เกตพฤติกรรมรำยบคุ คล
2. แบบประเมินพฤติกรรมกำรเข้ำร่วมกิจกรรมกล่มุ
3. ใบงำน
4. แบบประเมินผลกำรเรียนรู้
5. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม คำ่ นิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและผเู้ รยี นรว่ มกนั

ประเมิน

เกณฑ์การประเมินผล
1. เกณฑผ์ ่ำนกำรสังเกตพฤตกิ รรมรำยบคุ คล ต้องไมม่ ชี ่องปรับปรุง
2. เกณฑ์ผำ่ นกำรประเมินพฤติกรรมกำรเข้ำร่วมกิจกรรมกล่มุ คือ ปำนกลำง (50 % ขึน้ ไป)
3. เกณฑผ์ ำ่ นกำรสังเกตพฤติกรรมกำรเขำ้ ร่วมกจิ กรรมกลุม่ คือ ปำนกลำง (50% ขึ้นไป)
4. ใบงำน มเี กณฑผ์ ่ำน 50%
5. แบบประเมนิ ผลกำรเรยี นรู้ มีเกณฑผ์ ำ่ น 50%
6 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่ำนิยม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ คะแนนขึน้ อยู่กับกำร
ประเมินตำมสภำพจรงิ

60

กจิ กรรมเสนอแนะ
1.ผ้เู รียนทำใบงำน
2.บนั ทกึ รำยรบั รำยจ่ำย

คาชีแ้ จง : ใหบ้ นั ทึกบัญชรี ำยรับ-รำยจ่ำย ตำมควำมเปน็ จริง

1. จำกกำรลงบนั ทึกมเี งินเหลือเก็บหรอื ไม่……………เพรำะเหตุใด………………..………….………
2. จะเกดิ อะไรขน้ึ ถ้ำมีรำยจำ่ ยมำกกวำ่ รำยรบั ………………………..…………….………………….…

61

บนั ทกึ หลังการสอน

ขอ้ สรุปหลังการสอน
............................................................................................................................. ..................
............................................................................................................................. ..................
................................................................................................................ ...............................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
............................................................................................................................................. ..
ปัญหาท่ีพบ
..................................................................................................................... ..........................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
แนวทางแก้ปัญหา
............................................................................................................................. ..................
...................................................................................... .........................................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................

62

แผนการจดั การเรยี นรู้แบบบูรณาการที่ 9 หนว่ ยท่ี 7
สอนครงั้ ที่ 9 (25-27)
ตลาดและการกาหนดราคา
ช่ือหน่วย/เรื่อง แมเ่ หลก็ ไฟฟ้า จานวน 3 ช.ม.

สาระสาคัญ
ในระบบเศรษฐกจิ แบบทนุ นิยมหรือระบบเศรษฐกจิ แบบผสมน้นั กำรผลิต กำรจำแนกแจกจำ่ ย และกำรบรโิ ภค

เอกชนเป็นผู้ดำเนินกำรตำมกลไกตลำดหรือกลไกรำคำ เพอ่ื นำสินคำ้ และบริกำรไปส่ผู ้บู รโิ ภค โดยอำศยั กำรเชื่อมโยง
กนั ระหวำ่ งผผู้ ลิตกบั ผู้บรโิ ภค ตลำดในระบบเศรษฐกิจมีควำมสำคญั มำก เนือ่ งจำกสินคำ้ และบรกิ ำรจะต้องผำ่ นตลำด
ต่ำงจำกระบบเศรษฐกจิ แบบสังคมนิยมท่รี ัฐบำลเปน็ ผู้ดำเนินกำรแบง่ ปนั สนิ ค้ำและบริกำรใหแ้ ก่ประชำชนโดยไม่ผ่ำน
ตลำด ตลำดแตล่ ะประเภทมลี ักษณะแตกต่ำงกนั เชน่ ตลำดแขง่ ขนั สมบูรณ์ ตลำดผกู ขำด และตลำดผขู้ ำยน้อยรำย
โดยแต่ละตลำดมที ้ังข้อดีและขอ้ เสยี ต่อผบู้ ริโภคและระบบเศรษฐกิจ

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
3 อธิบำยดุลยภำพตลำดในแต่ละตลำดได้
4 เปรยี บเทียบผลของตลำดแข่งขันสมบูรณ์และตลำดผูกขำดได้
5 อธิบำยกำรกำหนดรำคำและปรมิ ำณสินค้ำของผู้ผลิตในแตล่ ะตลำดได้
6.มกี ำรพัฒนำคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คำ่ นิยม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ของผสู้ ำเรจ็ กำรศึกษำ
สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรอำชวี ศึกษำ ทีค่ รูสำมำรถสังเกตได้ขณะทำกำรสอนในเรอื่ ง
6.1 ควำมมีมนุษยสมั พันธ์
6.2 ควำมมีวนิ ัย
6.3 ควำมรับผดิ ชอบ
6.4 ควำมซอื่ สตั ยส์ จุ รติ
6.5 ควำมเช่อื มน่ั ในตนเอง
6.6 กำรประหยดั
6.7 ควำมสนใจใฝ่รู้
6.8 กำรละเวน้ สงิ่ เสพติดและกำรพนัน
6.9 ควำมรกั สำมัคคี
6.10 ควำมกตญั ญกู ตเวที

สมรรถนะรายวิชา
1.แสดงควำมรู้ควำมเข้ำใจเก่ียวกบั เศรษฐศำสตร์ท่ีสำคญั ต่อกำรดำเนินธรุ กิจ
2.ประยุกตห์ ลักเศรษฐศำสตร์ไปใชใ้ นงำนอำชีพและชวี ติ ประจำวนั
3.ปฏิบัติงำนด้วยควำมมีคุณธรรม จริยธรรม ค่ำนิยม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ตำมหลกั ปรชั ญำของ

เศรษฐกจิ พอเพียง

63

เน้ือหาสาระ
7 กำรเปรียบเทียบผลของตลำดแขง่ ขนั สมบูรณ์และตลำดผูกขำด
8 กำรเปรยี บเทียบผลของตลำดกึ่งแข่งขันกงึ่ ผูกขำดและตลำดประเภทอ่นื ๆ

กิจกรรมการเรียนรู้

ขั้นนาเข้าสบู่ ทเรียน
1.ครแู ละผเู้ รยี นพดู คุยสนทนำกนั เรอ่ื งตลำดและกำรกำหนดรำคำ เพ่ือเปรียบเทียบผลของตลำดแข่งขนั
สมบรู ณแ์ ละตลำดผูกขำด และเปรยี บเทยี บผลของตลำดกึ่งแขง่ ขันกึ่งผกู ขำดและตลำดประเภทอ่นื ๆ
2.ครแู สดงรปู ภำพของตลำดแตล่ ะประเภท เพ่ือกำหนดรำคำให้ถกู ต้อง

ขนั้ สอน
3.ครผู ู้สอนใช้เทคนิคกำรอธิบำยโดยอำศยั รูปภำพ และตัวอยำ่ งจรงิ ประกอบกำรสอนเรื่องกำรเปรียบเทยี บผล
ของตลำดแข่งขันสมบูรณ์และตลำดผกู ขำด โดยจำกกำรศึกษำลักษณะของตลำดแข่งขนั สมบรู ณแ์ ละตลำดผูกขำด ทำ
ให้ทรำบวำ่ ผลของตลำดแข่งขันสมบูรณ์ท่ีมีต่อระบบเศรษฐกิจมคี วำมแตกต่ำงจำกตลำดผกู ขำดที่มตี อ่ ระบบเศรษฐกิจ
ดงั นี้
3.1 กำรจัดสรรทรัพยำกรในกำรผลติ ผู้ผลติ ทง้ั สองตลำดต่ำงตอ้ งกำรกำไรสูงสุดจำกกำรผลิต
และเลือกขำย ณ ปรมิ ำณสนิ ค้ำทที่ ำให้ไดร้ ับกำไรสงู สุดเช่นกนั แตผ่ ูข้ ำยในตลำดแข่งขันสมบูรณ์จะเลือกผลติ ในระดับที่
ทำใหไ้ ด้กำไรสงู สดุ ณ P = MC สงั คมจะไดร้ ับผลประโยชนส์ งู สดุ จำกกำรใชท้ รัพยำกรกำรผลิตและเป็นกำรจัดสรร
ทรพั ยำกรกำรผลติ ทมี่ ปี ระสทิ ธภิ ำพมำกทส่ี ดุ แต่ผู้ขำยในตลำดผูกขำดจะเลือกผลติ ในระดบั ท่ีรำคำสูงกว่ำต้นทนุ หนว่ ย
สดุ ท้ำย (P > MC) จึงทำใหร้ ำคำในตลำดผูกขำดสงู กว่ำรำคำในตลำดแขง่ ขนั สมบรู ณ์ และปรมิ ำณสินคำ้ ในตลำด
ผูกขำดมนี ้อยกวำ่ ปริมำณสนิ ค้ำในตลำดแข่งขันสมบรู ณ์ จึงเห็นไดว้ ำ่ กำรดำเนนิ กำรในตลำดผูกขำดมีผลทำให้กำร
จัดสรรทรพั ยำกรผลิตไม่มีประสิทธภิ ำพ

3.2 ผลประโยชน์ของสังคม เป็นผลทีส่ บื เนือ่ งมำจำกกำรจัดสรรทรพั ยำกรในกำรผลติ ผผู้ ลติ
จะเลือกผลิตที่ MC = MR จะพบวำ่ รำคำสนิ ค้ำในตลำดแข่งขันสมบรู ณม์ ีค่ำเท่ำกบั ต้นทุนหน่วยสดุ ท้ำย
(P = MC) ซึง่ ก่อให้เกดิ ผลประโยชนส์ ูงสุดแกส่ ังคม ในขณะที่รำคำสินคำ้ ในตลำดผูกขำดมีคำ่ สูงกว่ำตน้ ทุนหน่วย
สุดทำ้ ย (P > MC) ทำให้สังคมไม่ได้รบั ผลประโยชน์สูงสดุ ในกำรจัดสรรทรพั ยำกร และสูญเสยี ผลประโยชน์บำงสว่ นไป
อกี ด้วย

4.ครูและผเู้ รียนเปรยี บเทยี บผลของตลำดก่ึงแข่งขันกึ่งผูกขำดและตลำดประเภทอ่ืนๆ ในตลำดกง่ึ แขง่ ขนั กึ่ง
ผูกขำดผู้ขำยจะตง้ั รำคำสงู กว่ำรำยรับหน่วยสดุ ทำ้ ยและต้นทนุ หนว่ ยสุดท้ำย (P > MR และ MC) ซง่ึ แตกตำ่ งจำกตลำด
แขง่ ขันสมบูรณ์แต่คล้ำยกบั ตลำดผูกขำด ดงั นน้ั กำรจัดสรรทรพั ยำกรในกำรผลติ ของตลำดก่งึ แข่งขันกึ่งผกู ขำดจงึ ไมม่ ี
ประสทิ ธภิ ำพ หรือมีประสิทธิภำพน้อยกวำ่ ตลำดแขง่ ขนั สมบรู ณ์ ส่วนปริมำณสินคำ้ ผ้ผู ลติ จะขำยน้อยกว่ำขนำดกำร
ผลติ ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ ำพ จงึ เปน็ กำรผลิตในขนำดกำรผลิตที่ไม่มีประสิทธิภำพ และมกี ำรใชก้ ำลงั กำรผลติ ไม่เต็มที่

5.ครแู ละผู้เรียนเปรียบเทียบผลของตลำดผู้ขำยน้อยรำยกับตลำดประเภทอืน่ ๆ โดยจำกกำรศึกษำลกั ษณะ
ของตลำดผู้ขำยน้อยรำยแล้ว ทำใหท้ รำบวำ่ ผลของตลำดผ้ขู ำยนอ้ ยรำยดงั น้ี

ในตลำดผู้ขำยน้อยรำย ผู้ผลติ หรอื ผ้ขู ำยจะมีกำรร่วมมือกันกำหนดรำคำสินคำ้ เพ่ือรักษำ
ผลประโยชน์รว่ มกัน โดยไมค่ ำนงึ ถงึ ผลประโยชน์สูงสุดจำกกำรใชท้ รัพยำกรกำรผลิต ผูผ้ ลติ ใช้วตั ถุดิบ
ทดี่ อ้ ยคุณภำพเพื่อหวังกำไรสงู สดุ โดยกำรตง้ั รำคำขำยให้สงู แตผ่ ูข้ ำยในตลำดนสี้ ว่ นใหญไ่ มน่ ยิ มแข่งขันกันดำ้ นรำคำ
แตจ่ ะใช้วิธีต่อไปนี้ในกำรกำหนดรำคำตลำด ดงั นี้

64

5.1. ถ้ำผู้ขำยในตลำดผู้ขำยน้อยรำยมขี นำดใกลเ้ คียงกัน กำรกำหนดรำคำมักนิยมใช้วิธกี ำรรวมหัวกันตกลง
รำคำหรอื กำรรวมหวั กันผูกขำด ทงั้ โดยเปิดเผยและไมเ่ ปดิ เผย นอกจำกนย้ี ังต้องตกลงเรื่องกำรจำกดั ปริมำณผลิต
เพ่ือใหร้ ำคำอยใู่ นระดบั สงู ได้

5.2. ถำ้ ผูข้ ำยบำงรำยในตลำดมขี นำดใหญก่ ว่ำ หรือมีสว่ นแบ่งตลำดมำกกว่ำรำยอ่นื กำรกำหนด
รำคำตลำดมักเปน็ กำรตั้งรำคำตำมผนู้ ำ โดยท่ีผู้ขำยรำยย่อยจะถือเอำรำคำที่ผูผ้ ลติ รำยใหญ่กำหนดมำเป็นรำคำขำย
ของตน ซ่งึ ผู้ผลติ รำยใหญน่ ้ันถือเป็นผู้นำดำ้ นรำคำ (price leader) กล่ำวคือ ถำ้ รำยใหญ่ต้ังรำคำอย่ำงไร รำยย่อยก็
จะตอ้ งตั้งรำคำตำมนน้ั

6.เมื่อผเู้ รียนสำเร็จกำรศึกษำและนำควำมร้เู พื่อนำไปประกอบอำชีพ โดยเน้นหลักเศรษฐกิจพอเพียง ผู้เรียน
จะต้องปฏบิ ัติอย่ำงไรบำ้ งเกยี่ วกับเง่ือนไขควำมรแู้ ละเงื่อนไขของคณุ ธรรม

ข้ันสรุปและการประยกุ ต์
7.ครกู ำหนดปัญหำโดยให้ผเู้ รียนระดมสมองช่วยกันคิดหำคำตอบแล้วอธิบำยคำตอบ
8.ผู้เรยี นทำใบงำน และแบบประเมนิ ผลกำรเรียนรู้
สอื่ และแหล่งการเรยี นรู้
1.หนงั สือเรยี น วชิ ำหลกั เศรษฐศำสตร์
2.รปู ภำพ
3.กจิ กรรมกำรเรยี นกำรสอน
4.สื่ออิเลก็ ทรอนิกส์ , Power Point และ VDO
5.แบบประเมนิ ผลกำรเรยี นรู้
6.เคร่อื งมอื และอปุ กรณ์

หลักฐาน
1.บันทกึ กำรสอน
2.ใบเช็ครำยช่อื
3.แผนจัดกำรเรียนรู้
4.กำรตรวจประเมนิ ผลงำน

การวดั ผลและการประเมินผล
วิธีวดั ผล
1. สงั เกตพฤติกรรมรำยบคุ คล
2. ประเมนิ พฤติกรรมกำรเขำ้ รว่ มกิจกรรมกลุ่ม
3 ตรวจใบงำน
4. ตรวจแบบประเมินผลกำรเรียนรู้
5. กำรสังเกตและประเมนิ พฤติกรรมด้ำนคุณธรรม จรยิ ธรรม คำ่ นยิ ม และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์

เครือ่ งมือวดั ผล
1. แบบสงั เกตพฤติกรรมรำยบุคคล
2. แบบประเมินพฤตกิ รรมกำรเข้ำรว่ มกจิ กรรมกล่มุ
3. ใบงำน
4. แบบประเมินผลกำรเรยี นรู้

65

5. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คำ่ นยิ ม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและผ้เู รียนรว่ มกนั
ประเมิน

เกณฑก์ ารประเมินผล
1. เกณฑ์ผ่ำนกำรสงั เกตพฤตกิ รรมรำยบคุ คล ต้องไม่มชี ่องปรบั ปรงุ
2. เกณฑผ์ ่ำนกำรประเมินพฤติกรรมกำรเข้ำร่วมกิจกรรมกลุม่ คอื ปำนกลำง (50 % ข้นึ ไป)
3. เกณฑผ์ ำ่ นกำรสังเกตพฤตกิ รรมกำรเขำ้ รว่ มกจิ กรรมกล่มุ คือ ปำนกลำง (50% ขน้ึ ไป)
4. ใบงำน มีเกณฑ์ผ่ำน 50%
5. แบบประเมนิ ผลกำรเรียนรู้ มเี กณฑ์ผำ่ น 50%
6. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม คำ่ นิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขนึ้ อยู่กับกำร
ประเมินตำมสภำพจริง

66

กจิ กรรมเสนอแนะ
1.ทบทวนบทเรยี นเร่ืองกำรเปรยี บเทียบผลของตลำดแขง่ ขันสมบูรณแ์ ละตลำดผูกขำด และกำรเปรียบเทยี บ

ผลของตลำดกึ่งแข่งขนั ก่ึงผกู ขำดและตลำดประเภทอนื่ ๆ โดยฝกึ ทักษะจำกกจิ กรรมสง่ เสริมกำรเรียนรู้ และแบบฝกึ หดั
ท้ำยหน่วย

2.บันทึกรำยรับ-รำยจำ่ ย
คาชี้แจง : ใหบ้ นั ทกึ บญั ชีรำยรบั -รำยจ่ำย ตำมควำมเป็นจริง

1. จำกกำรลงบันทึกมเี งินเหลอื เก็บหรือไม่……………เพรำะเหตุใด………………..………….………
2. จะเกดิ อะไรขน้ึ ถำ้ มรี ำยจำ่ ยมำกกว่ำรำยรับ………………………..…………….………………….…

67

บนั ทึกหลังการสอน

ข้อสรปุ หลังการสอน
............................................................................................................................. ..................
............................................................................................ ...................................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
ปัญหาที่พบ
............................................................................................................................. ..................
............................................................................................................................. ..................
................................................................................................. ..............................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
แนวทางแก้ปัญหา
............................................................................................................................. ..................
............................................................................................................................. ..................
.................................................................................................. .............................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
............................................................................................................................... ................
.................................................................................................................. .............................

68

แผนการจัดการเรียนรแู้ บบบูรณาการท่ี 10 หน่วยท่ี -
รหสั 3200-1001 วชิ าหลกั เศรษฐศาสตร์ 3-0-3 สอนครั้งท่ี 10 (28-30)
ชอื่ หน่วย/เรื่อง ทบทวน/สอบกลำงภำคเรียน
จานวน 3 ช.ม.

สาระสาคัญ

-

จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1.ผเู้ รียนเกดิ กำรเรียนรู้เน้ือหำสำระ และนำควำมคิดรวบยอดไปประยุกตใ์ ชต้ ่อไป

2.มีกำรพัฒนำคุณธรรม จริยธรรม ค่ำนิยม และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผูส้ ำเรจ็ กำรศกึ ษำ สำนักงำน

คณะกรรมกำรกำรอำชวี ศกึ ษำ ทค่ี รูสำมำรถสงั เกตไดข้ ณะทำกำรสอนในเรือ่ ง

2.1 ควำมมีมนุษยสัมพันธ์ 2.6 กำรประหยัด

2.2 ควำมมวี นิ ัย 2.7 ควำมสนใจใฝร่ ู้

2.3 ควำมรับผิดชอบ 2.8 กำรละเวน้ ส่ิงเสพติดและกำรพนนั

2.4 ควำมซ่ือสตั ย์สจุ ริต 2.9 ควำมรักสำมัคคี

2.5 ควำมเช่ือมนั่ ในตนเอง 2.10 ควำมกตญั ญกู ตเวที

สมรรถนะรายวิชา
1.แสดงควำมรู้ควำมเข้ำใจเก่ียวกับเศรษฐศำสตร์ที่สำคัญต่อกำรดำเนนิ ธรุ กิจ
2.ประยุกตห์ ลกั เศรษฐศำสตร์ไปใชใ้ นงำนอำชีพและชวี ิตประจำวนั
3.ปฏิบัติงำนด้วยควำมมีคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่ำนยิ ม และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ตำมหลักปรัชญำของ

เศรษฐกจิ พอเพียง

เนอ้ื หาสาระ
ทบทวน/สอบกลางภาคเรียน

69

บนั ทึกหลังการสอบ

ขอ้ สรปุ หลงั การสอน
............................................................................................................................. ..................
.......................................................................................................... .....................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
ปญั หาที่พบ
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
............................................................................................................................. ..................
............................................................................................................... ................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
แนวทางแก้ปญั หา
............................................................................................................................. ..................
............................................................................................................................. ..................
................................................................................................................ ...............................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................
.............................................................................................................................................. .

70

แผนการจัดการเรยี นร้แู บบบูรณาการที่ 11 หน่วยที่ 8
รหสั 30200-1001 วชิ าหลกั เศรษฐศาสตร์ 3-0-3 สอนครง้ั ท่ี 11 (31-33)
ชอ่ื หน่วย/เรอ่ื ง รายได้ประชาชาติ
จานวน 3 ช.ม.

สาระสาคญั
ในระบบเศรษฐกจิ หน่ึงๆ จะมีกิจกรรมทำงเศรษฐกจิ อยู่มำกมำย ทัง้ ด้ำนกำรผลิตสนิ ค้ำเกษตร สนิ ค้ำ

อตุ สำหกรรมและบริกำร กำรบรโิ ภคและกำรลงทุนของภำครฐั และเอกชน กำรสง่ ออกและกำรนำเขำ้ สินคำ้ จำก
ตำ่ งประเทศ หำกเรำต้องกำรทรำบถึงปรมิ ำณและมูลคำ่ ของกิจกรรมทำงเศรษฐกจิ เหลำ่ นี้ในแต่ละปี เรำจำเป็นตอ้ งจัด
ออกมำในรูปของรำยได้ประชำชำติ ซึ่งสำมำรถจัดออกมำได้ทัง้ ทำงด้ำนกำรผลิต ด้ำนรำยได้ และดำ้ นรำยจำ่ ย
จุดประสงค์การเรยี นรู้

1 อธิบำยควำมหมำยของรำยได้ประชำชำติ
2 คำนวณหำรำยได้ประชำชำติด้ำนผลผลติ ด้ำนรำยได้ และดำ้ นรำยจ่ำยได้
3 ทรำบถงึ รำยไดป้ ระชำชำติและควำมสัมพนั ธร์ ะหวำ่ งกนั
4 อธบิ ำยรำยไดป้ ระชำชำตทิ ี่แท้จรงิ และรำยไดเ้ ฉล่ยี ต่อบุคคลได้
5 ทรำบถงึ ประโยชน์และขอ้ ควรระวังในกำรใชบ้ ัญชรี ำยไดป้ ระชำชำติ
6.มีกำรพัฒนำคุณธรรม จรยิ ธรรม คำ่ นยิ ม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ของผสู้ ำเรจ็ กำรศกึ ษำ
สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรอำชวี ศกึ ษำ ทค่ี รสู ำมำรถสงั เกตไดข้ ณะทำกำรสอนในเรอื่ ง

6.1 ควำมมีมนุษยสมั พันธ์
6.2 ควำมมีวินยั
6.3 ควำมรับผดิ ชอบ
6.4 ควำมซ่อื สตั ย์สุจริต
6.5 ควำมเชื่อมน่ั ในตนเอง
6.6 กำรประหยัด
6.7 ควำมสนใจใฝร่ ู้
6.8 กำรละเวน้ สิ่งเสพติดและกำรพนนั
6.9 ควำมรักสำมัคคี
6.10 ควำมกตัญญูกตเวที
สมรรถนะรายวิชา
1.แสดงควำมรู้ควำมเข้ำใจเกี่ยวกบั เศรษฐศำสตร์ท่สี ำคญั ต่อกำรดำเนินธุรกิจ
2.ประยุกต์หลักเศรษฐศำสตร์ไปใชใ้ นงำนอำชีพและชวี ิตประจำวัน
3.ปฏิบตั ิงำนดว้ ยควำมมีคุณธรรม จริยธรรม ค่ำนยิ ม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตำมหลกั ปรชั ญำของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง

เนือ้ หาสาระ
1 ควำมหมำยของรำยไดป้ ระชำชำติ
2 กำรคำนวณรำยไดป้ ระชำชำติ
3 ควำมสัมพนั ธร์ ะหวำ่ งกันของรำยได้ประชำชำติ

71

4 รำยได้ประชำชำตทิ ี่แทจ้ ริงและรำยไดเ้ ฉล่ยี ต่อบุคคล
5 ประโยชนแ์ ละข้อควรระวังในกำรใชบ้ ัญชีรำยได้ประชำชำติ

กิจกรรมการเรยี นรู้
ขน้ั นาเขา้ สบู่ ทเรยี น
1.ครใู ชเ้ ทคนิคกำรสอนแบบซิปปำโมเดล (CIPPA MODEL) โดยกำรทบทวนควำมรู้เดิมจำกสัปดำหท์ ผ่ี ำ่ นมำ

โดยดงึ ควำมรเู้ ดิมของผเู้ รยี นในเรอ่ื งท่ีจะเรยี น เพ่ือชว่ ยใหผ้ เู้ รียนมคี วำมพร้อมในกำรเชื่อมโยงควำมรใู้ หม่กับควำมรู้เดิม
ของตน ผู้สอนใชก้ ำรสนทนำซักถำมใหผ้ เู้ รียนเลำ่ ประสบกำรณเ์ ดิม

2.ครสู นทนำกับผ้เู รยี นวำ่ เศรษฐศำสตรม์ หภำคเป็นกำรศึกษำในหลักกำรและทฤษฎีท่ีมีวตั ถุประสงคเ์ พื่อรักษำ
เสถียรภำพ รวมท้ังกำรสร้ำงควำมเจริญเติบโตของระบบเศรษฐกจิ โดยรวม ตวั แปรสำคญั ทใี่ ช้วัดควำมเจริญเตบิ โตทำง
เศรษฐกจิ ที่นักเศรษฐศำสตรป์ ระเภทต่ำงๆ นยิ มใช้กนั มำก กค็ อื “รำยไดป้ ระชำชำติ”(National Income) นอกจำกน้ี
สว่ นประกอบต่ำงๆ ของรำยไดป้ ระชำชำตยิ งั มคี วำมสัมพนั ธก์ บั ปจั จัยทก่ี ำหนดเสถยี รภำพทำงเศรษฐกจิ ฉะน้ัน
กำรศกึ ษำเร่ืองรำยได้ประชำชำตจิ งึ เปน็ สิ่งจำเปน็ อย่ำงยง่ิ สำหรับกำรวเิ ครำะหส์ ถำนกำรณ์ทำงเศรษฐกจิ ของประเทศ
กำรวำงแผน และกำรกำหนดนโยบำยทำงเศรษฐกจิ ต่ำงๆ ตลอดจนกำรวำงแผนในกำรประกอบธรุ กจิ ของภำคเอกชน

ขัน้ สอน
3.ครูใชว้ ิธสี อนอธบิ ำย และเปิด VDO เร่อื งควำมหมำยของรำยไดป้ ระชำชำติ รำยไดป้ ระชำชำติ (National
Income) หมำยถงึ มูลค่ำทเ่ี ป็นตัวเงนิ ของสินค้ำและบริกำรขั้นสุดท้ำยทง้ั หมดทีผ่ ลติ ข้นึ ในระบบเศรษฐกจิ ใดระบบ
เศรษฐกจิ หน่ึงภำยในระยะเวลำหนงึ่ โดยปกติใชร้ ะยะเวลำ 1 ปี ด้วยปจั จัยกำรผลติ ของประเทศทีถ่ ือกรรมสิทธิ์อยู่
รำยได้ประชำชำติจะถูกใชเ้ ป็นเครือ่ งมอื ในกำรวดั ระดับฐำนะทำงเศรษฐกิจของประเทศ
4.ครู ผู้เรยี นร่วมกันอธบิ ำย และสำธติ กำรคำนวณรำยได้ประชำชำติ กระทำได้ 3 วิธี คอื

4.1. กำรคำนวณรำยได้ประชำชำติทำงดำ้ นผลผลติ (Product Approach)
4.2. กำรคำนวณรำยไดป้ ระชำชำตทิ ำงด้ำนรำยได้ (Income Apporach)
4.3. กำรคำนวณรำยได้ประชำชำติทำงด้ำนรำยจ่ำย (Expenditure Apporach)
5 ครแู ละผู้เรยี นใช้เทคนิคกำรสอนแบบ Demonstration Method กำรจดั กำรเรียนรแู้ บบสำธิต
ควำมสมั พนั ธ์ระหว่ำงกันของรำยไดป้ ระชำชำติ โดยท่วั ไปคำว่ำ “รำยไดป้ ระชำชำติ” มกั ใชเ้ ป็นคำกลำงๆ สำหรับเรียก
รำยได้หรอื ผลติ ผลรวมของชำติแทจ้ ริงแลว้ รำยได้ประชำชำตมิ อี ยู่ 7 ประเภท ดังน้ี
5.1. ผลิตภัณฑ์ประชำชำตใิ นประเทศเบอ้ื งต้น (Gross Domestic Product: GDP)
5.2. ผลติ ภณั ฑ์ประชำชำตเิ บ้ืองต้น (Gross National Product: GNP)
5.3. ผลติ ภณั ฑ์ประชำชำติสทุ ธิ (Net National Product: NNP)
5.4. รำยไดป้ ระชำชำติ (National Income: NI)
5.5. รำยไดส้ ว่ นบคุ คล (Personal Income: PI)
5.6. รำยได้ท่ีสำมำรถใชจ้ ่ำยได้จริง (Disposable Income: DI)
5.7. รำยได้เฉล่ียต่อบุคคล (Per Capita Income)
5.ครูและผเู้ รียนใช้เทคนคิ กำรสอนแบบ Demonstration Method กำรจดั กำรเรยี นรแู้ บบสำธิต
รำยไดป้ ระชำชำตทิ ี่แท้จริงและรำยได้เฉล่ียต่อบุคคล ในกำรคำนวณรำยไดป้ ระชำชำติตำมวิธตี ำ่ งๆ ท่ีกลำ่ วมำแล้ว
ขำ้ งต้น เปน็ รำยได้ในรปู ตวั เงิน (Money GNP) หรือผลิตภัณฑ์ประชำชำติตำมรำคำปัจจุบนั หรอื รำคำตลำด ซง่ึ รำคำ
มกั จะมีกำรเปล่ยี นแปลงอยู่ตลอดเวลำ ฉะน้ัน กำรนำเอำมูลคำ่ ของรำยได้ประชำชำติตำ่ งปมี ำเปรยี บเทยี บกนั จงึ ไม่
สำมำรถบอกไดว้ ่ำผลติ ภณั ฑท์ ี่แทจ้ ริงเพ่ิมข้นึ หรือลดลงเพียงใด ทงั้ นีเ้ พรำะกำรคำนวณจำกรำคำปจั จุบัน นน่ั คือ รำยได้

72

ของปีใดก็คำนวณจำกรำคำในปนี นั้ ซ่ึงรำคำสนิ คำ้ แต่ละปีไม่เทำ่ กัน บำงปีสงู บำงปตี ่ำ ดงั นัน้ กำรเปลี่ยนแปลงในมูลค่ำ
GNP ทคี่ ดิ จำกรำคำปจั จุบันจึงไม่สำมำรถบอกให้ทรำบไดว้ ่ำ ในแต่ละปผี ลิตภณั ฑ์ทแี่ ทจ้ ริงของประเทศเปลีย่ นแปลงไป
อยำ่ งไรและเท่ำไร

กำรแก้ไขปัญหำน้ีก็คือ ปรับเปล่ียนผลิตภัณฑ์ประชำชำติตำมรำคำปจั จุบันใหเ้ ป็นผลติ ภัณฑ์ประชำชำติท่แี ทจ้ ริง
(Real GNP) โดยใช้ดัชนีรำคำของปีฐำน (Price Index) ซ่งึ เปน็ ปีทม่ี รี ำคำคงท่ีมำกทสี่ ุด ซ่ึงหำได้โดยใช้สูตรดงั น้ี

6.ครแู ละผเู้ รยี นใชเ้ ทคนคิ กำรสอนแบบ Lecture Method กำรจัดกำรเรยี นรูแ้ บบบรรยำยรำยได้
ประชำชำตเิ ฉลี่ยตอ่ บุคคล หมำยถึง รำยไดเ้ ฉลีย่ ต่อบุคคลต่อปีในประเทศหน่ึงๆ คำนวณได้จำกมูลค่ำของรำยได้
ประชำชำตหิ ำรด้วยจำนวนประชำกรของประเทศน้ันๆ ตัวเลขที่ได้จะแสดงถึงประสิทธภิ ำพในกำรผลิตของระบบ
เศรษฐกจิ และบง่ บอกถึงควำมกินดีอย่ดู ีของประชำชนของประเทศนั้น สำมำรถคำนวณหำรำยได้เฉลีย่ ต่อบคุ คลโดยใช้
สูตรดงั น้ี

7.ครบู อกประโยชนแ์ ละข้อควรระวังในกำรใช้บัญชีรำยได้ประชำชำติ และข้อควรระวังของบญั ชรี ำยได้
ประชำชำติ
8.ผูเ้ รยี นวิเครำะห์สมมติว่ำระบบเศรษฐกิจเกิดภำวะเงินเฟอ้ อยำ่ งรนุ แรง จนทำใหป้ ระชำชนจำนวนมำกพ่งึ พำ
ตลำดผลผลิตและตลำดปัจจัยกำรผลิตน้อยลง โดยหนั มำผลติ สินค้ำใชเ้ อง เหตกุ ำรณ์ดังกล่ำวจะส่งผลตอ่ มูลคำ่
ผลติ ภัณฑ์ประชำชำติในประเทศเบือ้ งตน้ (GDP) อยำ่ งไร
9.ผูเ้ รียนวิเครำะห์วำ่ เหตุกำรณต์ ่อไปนี้นับรวมอยู่ในกำรคำนวณ GDP หรือไม่ เพรำะเหตุใด

(ก) รฐั บำลมรี ำยไดจ้ ำกกำรขำยสลำกกินแบ่งรัฐบำล
(ข) คำ่ เสือ่ มรำคำของปจั จัยทุน

(ค) กำไรของธุรกจิ ที่จัดสรรเปน็ เงนิ ปันผล
(ง) สนิ ค้ำท่ผี ลิตในระหวำ่ งปี แตย่ ังจำหน่ำยไม่ได้

73

(จ) นำงสำว เอ ตดั เย็บเสื้อผ้ำใสเ่ อง
(ฉ) นำย สรรค์ เสียกำรพนันฟุตบอล
(ช) กำรซื้อขำยหุ้นในตลำดหลักทรัพย์
10.ผู้เรยี นวิเครำะหผ์ ลกระทบของเหตุกำรณต์ ่อไปนีท้ ีม่ ีตอ่ มลู ค่ำผลติ ภัณฑป์ ระชำชำติเบอ้ื งตน้ ของไทย
(ก) เกิดอุทกภัยทำงภำคใต้ ทำให้ผลผลิตปำลม์ นำ้ มนั เสียหำย
(ข) รฐั บำลแจกเงินหมบู่ ำ้ นละ 1 ลำ้ นบำท
(ค) ประชำชนจำนวนมำกเสียกำรพนนั ฟตุ บอลโลก
(ง) กำรเพิ่มงบประมำณรำยจ่ำยด้ำนสำธำรณสุข
(จ) รฐั บำลขำยพนั ธบตั รรฐั บำลจำนวน 5 แสนล้ำนบำท
(ฉ) กำรส่งออกของไทยเพ่มิ ข้ึน
(ช) กำรนำเข้ำเพม่ิ ข้ึน
11.ครเู นน้ กำรนำควำมรูไ้ ปประกอบอำชีพอย่ำงมีคุณธรรมไม่เบยี ดเบียนผู้อ่นื เชน่ ไม่มีพฤตกิ รรมทฉี่ อ้ โกง
โดยไมป่ ฏิเสธควำมรับผิดชอบจนผบู้ ริโภคเกดิ ควำมเดอื ดร้อน เม่ือผ้เู รยี นจบกำรศึกษำไปแลว้ และไปประกอบอำชีพ
ผปู้ ระกอบกำรหรือลูกจ้ำงกต็ ำม ควรยดึ หลักคุณธรรมตำมเงอ่ื นไขแหง่ ปรัชญำเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ขั้นสรปุ และการประยุกต์
12.ครแู ละผเู้ รียนสรปุ รำยได้ประชำชำติ คือ รำยได้ของประชำชนทั้งหมดในประเทศที่เกิดข้นึ ในรอบ 1 ปีเช่น
คำ่ จำ้ ง คำ่ เช่ำ ดอกเบย้ี และกำไร โดยรำยไดป้ ระชำชำติจำแนกออกเปน็ 7 ชนดิ ไดแ้ ก่ ผลิตภณั ฑป์ ระชำชำติใน
ประเทศเบ้ืองตน้ (GDP) ผลิตภัณฑป์ ระชำชำติเบื้องต้น (GNP) ผลิตภัณฑป์ ระชำชำตสิ ทุ ธิ (NNP) รำยไดป้ ระชำชำติ
(NI) รำยไดส้ ว่ นบุคคล (PI) รำยไดท้ ส่ี ำมำรถใช้จำ่ ยได้จริง (DI) และรำยไดเ้ ฉล่ียต่อบุคคล (Per Capita Income) โดย
รำยไดด้ ังกล่ำวสำมำรถคำนวณได้ 3 ทำง คือ
12.1. กำรคำนวณหำรำยได้ประชำชำติทำงดำ้ นผลผลติ เช่น กำรคำนวณเฉพำะผลผลิตท่เี พิม่ ข้นึ แต่ละขนั้ ตอน
เทำ่ น้นั เพรำะกำรคดิ เช่นนีจ้ ะไมก่ ่อให้เกดิ กำรนับซ้ำอีกต่อไป
12.2. กำรคำนวณหำรำยได้ประชำชำติทำงดำ้ นรำยได้ ได้แก่ รำยรับทีไ่ ดจ้ ำกคำ่ จำ้ งแรงงำนท่เี ปน็ เงนิ เดือน คำ่
เช่ำทรพั ยส์ นิ ตำ่ งๆ คำ่ ดอกเบี้ยจำกเงินทุน และกำไรท่ีได้จำกกำรดำเนนิ ธุรกิจ
12.3. กำรคำนวณหำรำยได้ประชำชำตทิ ำงด้ำนรำยจำ่ ย เช่น รำยจำ่ ยของรฐั บำล รำยจ่ำยเพื่อกำรบรโิ ภค
รำยจำ่ ยเพอ่ื กำรลงทนุ และรำยจ่ำยในกำรซื้อสนิ คำ้ จำกต่ำงประเทศอยำ่ งไรกต็ ำม กำรคำนวณรำยไดป้ ระชำชำติทง้ั 3
วธิ ดี งั กลำ่ ว อำจมที ้ังขอ้ ดีและ
13.สรุปขอ้ บกพร่องอยู่บ้ำง เชน่

ขอ้ ดีของรำยได้ประชำชำติ
1. สำมำรถนำมำวิเครำะหภ์ ำวะเศรษฐกิจของประเทศได้
2. ใช้ในกำรเปรียบเทยี บมำตรฐำนกำรครองชีพของประชำชนวำ่ อยูใ่ นระดบั ใด
3. ใช้เป็นเคร่อื งมือกำหนดนโยบำยทำงเศรษฐกิจของประเทศไดเ้ ปน็ อยำ่ งดี
4. ทำใหท้ รำบว่ำ เศรษฐกิจของภำคเกษตรกรรม อตุ สำหกรรม และบริกำรมีควำมแตกต่ำงกัน
อยำ่ งไร

ขอ้ บกพร่องของรำยไดป้ ระชำชำติ
1. กำรคดิ คำ่ เส่อื มรำคำ ในแตล่ ะหน่วยงำนคิดค่ำเสอื่ มรำคำแตกตำ่ งกัน
2. ผลติ ภัณฑบ์ ำงชนิดไม่ผำ่ นตลำด เช่น งำนของแมบ่ ำ้ น ทำอำหำร และกำรตดั เย็บ

74

เสือ้ ผ้ำ เป็นตน้
3. กำรตีรำคำสินค้ำคงเหลือไมเ่ ท่ำกัน ข้ึนอยู่กับเกณฑ์ของแต่ละหน่วยงำน
4. อำจเกิดกำรนบั ซ้ำ เช่น กำรคำนวณจำกรำยไดแ้ ละรำยจ่ำย
14.ครูและผเู้ รียนสรุปโดยครูตง้ั คำถำม ให้ผู้เรียนตอบ และกำรคำนวณ เป็นรำยบุคคล เร่ืองรำยได้
ประชำชำติ
15.ผู้เรยี นทำใบงำนและแบบประเมินผลกำรเรียนรู้

สือ่ และแหล่งการเรยี นรู้
1.หนังสอื เรียน วชิ ำหลักเศรษฐศำสตร์
2.รปู ภำพ
3.กจิ กรรมกำรเรยี นกำรสอน
4.ส่อื อิเล็กทรอนิกส์ , Power Point และ VDO
5.แบบประเมินผลกำรเรยี นรู้
6.เคร่ืองมอื และอปุ กรณ์

หลกั ฐาน
1.บนั ทกึ กำรสอน
2.ใบเช็ครำยช่อื
3.แผนจัดกำรเรยี นรู้
4.กำรตรวจประเมนิ ผลงำน

การวดั ผลและการประเมนิ ผล
วธิ วี ัดผล
1. สังเกตพฤติกรรมรำยบุคคล
2. ประเมินพฤติกรรมกำรเข้ำรว่ มกิจกรรมกลมุ่
3 ตรวจใบงำน
3. ตรวจแบบประเมนิ ผลกำรเรยี นรู้
4. กำรสงั เกตและประเมนิ พฤติกรรมด้ำนคุณธรรม จริยธรรม คำ่ นิยม และคุณลักษณะอัน
พงึ ประสงค์

เคร่ืองมือวัดผล
1. แบบสังเกตพฤติกรรมรำยบุคคล
2. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมกำรเข้ำรว่ มกิจกรรมกลุ่ม
3. ใบงำน
4. แบบประเมนิ ผลกำรเรียนรู้
5. แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม ค่ำนิยม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ โดยครแู ละผู้เรยี นรว่ มกัน

ประเมิน
เกณฑ์การประเมนิ ผล
1. เกณฑ์ผ่ำนกำรสงั เกตพฤติกรรมรำยบคุ คล ต้องไม่มีชอ่ งปรบั ปรุง
2. เกณฑผ์ ่ำนกำรประเมินพฤติกรรมกำรเข้ำรว่ มกจิ กรรมกลุ่ม คือ ปำนกลำง (50 % ข้นึ ไป)

75

3. เกณฑ์ผำ่ นกำรสงั เกตพฤตกิ รรมกำรเข้ำรว่ มกจิ กรรมกลมุ่ คือ ปำนกลำง (50% ข้ึนไป)
4. ใบงำน มเี กณฑผ์ ำ่ น 50%
5. แบบประเมนิ ผลกำรเรียนรู้ มเี กณฑผ์ ำ่ น 50%
6 แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่ำนิยม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ คะแนนขน้ึ อยู่กับกำร
ประเมนิ ตำมสภำพจรงิ
กจิ กรรมเสนอแนะ
1.ทบทวนบทเรยี นเพื่อศกึ ษำ และคำนวณหำรำยไดป้ ระชำชำติ
2.บันทกึ รำยรบั -รำยจ่ำยประจำวนั

คาช้แี จง : ให้บนั ทึกบญั ชีรำยรับ-รำยจ่ำย ตำมควำมเป็นจรงิ

1. จำกกำรลงบันทึกมีเงนิ เหลือเกบ็ หรอื ไม่……………เพรำะเหตุใด………………..………….………
2. จะเกดิ อะไรขึ้นถำ้ มรี ำยจ่ำยมำกกว่ำรำยรับ………………………..…………….………………….…

76

บนั ทึกหลังการสอน

ข้อสรุปหลงั การสอน
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
....................................................................................................................................... ........
.......................................................................................................................... .....................
............................................................................................................................. ..................
.......................................................................................... .....................................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
ปัญหาท่ีพบ
............................................................................................................................. ..................
............................................................................................................................................ ...
............................................................................................................................. ..................
............................................................................................................................. ..................
............................................................................................... ................................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
แนวทางแก้ปัญหา
............................................................................................................................................. ..
............................................................................................................................. ..................
............................................................................................................................. ..................
................................................................................................ ...............................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................

แผนการจดั การเรียนรู้แบบบูรณาการที่ 12 77
รหัส 30200-1001 วชิ าหลักเศรษฐศาสตร์ 3-0-3
ชื่อหน่วย/เรอ่ื ง การกาหนดรายไดป้ ระชาชาติ หน่วยท่ี 9
สอนครั้งท่ี12 (34-36)

จานวน 3 ช.ม.

สาระสาคญั
กจิ กรรมทำงเศรษฐกิจท่ีมสี ่วนสำคญั ในกำรกำหนดรำยได้ประชำชำติ ได้แก่ รำยจ่ำยเพ่ือกำรบรโิ ภคและกำร

ออม รำยจ่ำยเพื่อกำรลงทุน กำรใชจ้ ำ่ ยของภำครัฐบำล และกำรสง่ ออกสุทธิ กจิ กรรมเหล่ำนี้จะมีมำกหรือน้อยขนึ้ อยู่
กับปจั จยั หลำยประกำร เชน่ รำยได้ อัตรำดอกเบ้ยี โดยกำรบริโภค กำรออม กำรลงทนุ และกำรสง่ ออก-นำเข้ำ ทมี่ ี
ควำมสัมพันธ์กันและกำรบริโภค กำรออม และกำรลงทุน จะมีผลก่อใหเ้ กดิ กจิ กรรรมทำงเศรษฐกิจท่ีต่อเนื่องต่อๆ กนั
ไป

จุดประสงค์การเรียนรู้
1 อธบิ ำยรำยจำ่ ยเพื่อกำรบริโภคและกำรออม ปจั จยั ทก่ี ำหนดกำรบริโภคและกำรออม ฟังก์ชนั กำรบรโิ ภคและ

กำรออม เสน้ กำรบรโิ ภคและเส้นกำรออม และทรำบถึงกฎว่ำดว้ ยกำรบริโภคของเคนส์
2 อธิบำยเกย่ี วกบั รำยจ่ำยเพ่ือกำรลงทนุ ปัจจยั ท่ีกำหนดกำรลงทนุ ฟังกช์ นั กำรลงทุน กำรเปลยี่ นแปลงระดบั

กำรลงทุนและกำรยำ้ ยเสน้ กำรลงทนุ ควำมไม่มีเสถียรภำพของกำรลงทนุ ได้
3 อธิบำยกำรใชจ้ ่ำยของภำครฐั บำล ปจั จัยที่กำหนดกำรใช้จ่ำยของรัฐบำล เส้นรำยจ่ำยของรัฐบำลและกำรยำ้ ย

ของเสน้ รำยจำ่ ยของรฐั บำลได้
4 อธิบำยกำรสง่ ออกและกำรนำเขำ้ ปัจจัยท่ีกำหนดควำมต้องกำรส่งออก เส้นควำมต้องกำรส่งออกและกำร

ย้ำยเส้นควำมต้องกำรสง่ ออก ปจั จยั ท่กี ำหนดควำมต้องกำรนำเขำ้ และเส้นควำมต้องกำรนำเข้ำและกำรยำ้ ยเสน้ ควำม
ตอ้ งกำรนำเขำ้ ได้

5.มกี ำรพัฒนำคุณธรรม จริยธรรม ค่ำนิยม และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผสู้ ำเร็จกำรศกึ ษำ สำนักงำน
คณะกรรมกำรกำรอำชีวศกึ ษำ ทค่ี รูสำมำรถสงั เกตไดข้ ณะทำกำรสอนในเรอ่ื ง

5.1 ควำมมีมนุษยสัมพันธ์
5.2 ควำมมวี นิ ยั
5.3 ควำมรบั ผดิ ชอบ
5.4 ควำมซือ่ สตั ยส์ จุ รติ
5.5 ควำมเชอ่ื มั่นในตนเอง
5.6 กำรประหยัด
5.7 ควำมสนใจใฝ่รู้
5.8 กำรละเว้นสิ่งเสพติดและกำรพนนั
5.9 ควำมรกั สำมัคคี
5.10 ควำมกตญั ญกู ตเวที

สมรรถนะรายวิชา
1.แสดงควำมรู้ควำมเข้ำใจเก่ียวกับเศรษฐศำสตร์ท่ีสำคญั ต่อกำรดำเนินธรุ กิจ
2.ประยุกต์หลักเศรษฐศำสตร์ไปใชใ้ นงำนอำชีพและชีวิตประจำวัน

78

3.ปฏิบัติงำนดว้ ยควำมมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คำ่ นยิ ม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ตำมหลักปรชั ญำของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง

เน้อื หาสาระ
1 รำยจำ่ ยเพอ่ื กำรบรโิ ภคและกำรออม
2 รำยจำ่ ยเพือ่ กำรลงทนุ
3 กำรใช้จำ่ ยของภำครฐั บำล
4 กำรสง่ ออกสุทธิ

กจิ กรรมการเรียนรู้
ขนั้ นาเขา้ สบู่ ทเรียน
1.ครูใช้เทคนคิ กำรสอนแบบซิปปำโมเดล (CIPPA MODEL) โดยกำรทบทวนควำมรเู้ ดิมจำกสปั ดำห์ทผี่ ่ำนมำ

โดยดงึ ควำมรูเ้ ดิมของผูเ้ รยี นในเร่อื งท่ีจะเรียน เพื่อช่วยใหผ้ ู้เรียนมีควำมพร้อมในกำรเช่ือมโยงควำมรูใ้ หม่กับควำมรู้เดิม
ของตน ผู้สอนใชก้ ำรสนทนำซักถำมใหผ้ ู้เรียนเลำ่ ประสบกำรณเ์ ดมิ

2.ครแู นะนำให้ผูเ้ รยี นพิจำรณำกำรกำหนดรำยได้ประชำชำติ จะกลำ่ วถงึ ควำมสัมพันธร์ ะหวำ่ งระดับรำยได้
ประชำชำตแิ ละควำมต้องกำรใช้จำ่ ยมวลรวม (Desired Aggregate Expenditure) ซ่งึ ประกอบด้วยรำยจ่ำยเพ่ือกำร
บริโภค รำยจ่ำยเพ่อื กำรลงทุน กำรใชจ้ ่ำยของรฐั บำล และกำรสง่ ออกสทุ ธิ โดยม่งุ ศกึ ษำถงึ ปัจจยั ต่ำงๆ ที่เป็น
ตัวกำหนดหรอื มีอทิ ธิพลตอ่ ควำมต้องกำรใช้จำ่ ยมวลรวม เครอ่ื งมือสำคัญทใี่ ช้ประกอบกำรศึกษำ ไดแ้ กฟ่ งั ก์ชนั สมกำร
และเส้นกรำฟ

ขน้ั สอน
3.ครูใชเ้ ทคนคิ วิธสี อนแบบบรรยำย (Lecture Method) ด้วยกำรเลำ่ อธิบำยแสดงสำธิตให้ผ้เู รยี นเป็นผฟู้ งั
และเปิดโอกำสให้ผู้เรียนซกั ถำมปญั หำได้ในตอนทำ้ ยของรำยจ่ำยเพอื่ กำรบริโภคและกำรออม ปจั จยั ที่กำหนดกำร
บริโภคและกำรออม ฟงั ก์ชันกำรบริโภคและกำรออม
4.ครแู สดงเส้นกำรบริโภคและเส้นกำรออม

แสดงเส้นการบริโภค (consumption curve)

79

5.ครแู ละผู้เรยี นวเิ ครำะหค์ วำมโน้มเอยี งเฉลยี่ และควำมโนม้ เอียงหน่วยเพ่ิมในกำรบริโภคและกำรออม

คำ่ ของ APC จะไมเ่ ทำ่ กบั ศนู ย์ เพรำะถึงอยำ่ งไรก็ตำม บุคคลก็ต้องมีรำยจ่ำยเพ่ือกำรบริโภคจำนวน
หน่ึง แม้ว่ำจะไม่มีรำยได้เลยก็ตำม ดงั นั้น ค่ำ C จงึ ไม่เท่ำกับศูนย์ ทำใหค้ ำ่ APC ไม่เทำ่ กับศูนยด์ ว้ ย

ควำมโน้มเอยี งเฉลยี่ ในกำรออม (Average Propensity to Save: APS) หมำยถึง อัตรำส่วนระหว่ำงกำรออม
ต่อรำยไดส้ ุทธสิ ่วนบุคคล ณ ระดบั ใดระดับหนง่ึ นั่นคอื

ควำมโน้มเอยี งหน่วยเพมิ่ ในกำรบริโภค (Marginal Propensity to Consume: MPC) หมำยถึงอตั รำกำร
เปลย่ี นแปลงของรำยจำ่ ยเพื่อกำรบริโภคต่ออตั รำกำรเปล่ียนแปลงของรำยไดส้ ทุ ธสิ ว่ นบุคคล กล่ำวคอื เป็นกำรวดั
รำยจำ่ ยเพ่อื กำรบริโภคว่ำจะเปลี่ยนแปลงไปอย่ำงไร เม่ือรำยได้เปล่ยี นแปลงไป 1 หน่วย น่ันคอื

6.ครูและผู้เรียนใช้เทคนคิ กำรสอนแบบ Lecture Method กำรจดั กำรเรียนรู้แบบบรรยำยกฎวำ่ ด้วยกำร
บริโภคของเคนส์ และหำควำมสัมพนั ธ์ระหวำ่ งกำรบรโิ ภคและกำรออม
7.ครูและผเู้ รียนใชเ้ ทคนิคกำรสอนแบบ Discussion Method กำรจดั กำรเรยี นรู้แบบอภิปรำยรำยจำ่ ยเพ่ือกำร
ลงทุน ซงึ่ กำรลงทนุ (Investment) หมำยถึง กำรใชจ้ ำ่ ยท่ีธรุ กจิ มีวตั ถุประสงคส์ ำคัญในกำรวำงแผนไวเ้ พ่ือผลิต
สนิ ค้ำและบริกำรในอนำคตเพิ่มข้ึน ฉะน้ัน กำรลงทุนในทำงเศรษฐศำสตรจ์ ะพิจำรณำเฉพำะกำรเพ่มิ สินค้ำทุน
ซ่ึงรำยจำ่ ยเพื่อกำรลงทุน (Investment Expenditures: I) จะประกอบด้วย

7.1. รำยจำ่ ยในกำรก่อสรำ้ ง เชน่ รำยจำ่ ยในกำรก่อสรำ้ งโรงงำนผลติ สนิ ค้ำ เปน็ ตน้
7.2. รำยจ่ำยในกำรซื้อเคร่ืองมอื เครื่องจักรใหมใ่ นกำรผลติ ตำ่ งๆ
7.3. สว่ นเปลยี่ นของสนิ ค้ำคงเหลือ

80

8.ครูและผู้เรยี นใช้เทคนคิ กำรสอนแบบ Demonstration Method กำรจดั กำรเรียนร้แู บบสำธติ ฟงั กช์ นั กำร
ลงทุนและเสน้ กำรลงทุน
9.ครูและผูเ้ รียนใชเ้ ทคนิคกำรสอนแบบ Discussion Method กำรจดั กำรเรียนรู้แบบอภิปรำย
ควำมสัมพันธร์ ะหว่ำงกำรลงทุนและกำรออม และควำมไมม่ ีเสถยี รภำพของกำรลงทุน
10.ครแู ละผูเ้ รียนใช้เทคนิคกำรสอนแบบ Lecture Method กำรจัดกำรเรียนรู้แบบบรรยำยกำรใชจ้ ำ่ ยของ
ภำครฐั บำล
11.ครูและผเู้ รียนแสดงกำรวิเครำะห์ และแสดงเสน้ รำยจำ่ ยของรัฐบำลและกำรเปลยี่ นแปลงเส้นรำยจ่ำย
รฐั บำล

12.ครแู ละผู้เรียนใชเ้ ทคนิคกำรสอนแบบ Cooperative Learning กำรจดั กำรเรยี นรูแ้ บบรว่ มมอื เร่อื งกำร
สง่ ออกสทุ ธิ ไดแ้ ก่ ปจั จัยทีก่ ำหนดกำรสง่ ออก และปัจจยั ท่ีกำหนดกำรนำเข้ำสินค้ำจำกต่ำงประเทศ

13.ผเู้ รียนกำหนดให้ระบบเศรษฐกจิ หน่ึงมแี บบจำลองระบบเศรษฐกิจ 3 ภำคเศรษฐกิจ, Y = C + I + G ดังน้ี
(หนว่ ยเป็นล้ำนบำท)

(ก) หำรำยได้ประชำชำติดุลยภำพ (Y)
(ข) หำค่ำของรำยได้ประชำชำติท่ีมีค่ำเท่ำกบั รำยจ่ำยเพื่อกำรบรโิ ภค
(ข) หำค่ำของรำยได้ประชำชำติที่มีคำ่ เท่ำกบั รำยจ่ำยเพื่อกำรบรโิ ภค
14.ผู้เรียนวเิ ครำะหโ์ ดยสมมติว่ำทกุ ครวั เรือนในระบบเศรษฐกจิ นำรำยไดส้ ่วนทเ่ี พ่มิ ขนึ้ ท้ังหมดเก็บเป็นเงินออม
จะมผี ลตอ่ เสน้ รำยจ่ำยเพื่อกำรบรโิ ภคอยำ่ งไร
15.ผู้เรียนอธิบำยถึงเคนส์ได้ศึกษำควำมสัมพันธ์ระหว่ำงกำรบริโภคและรำยได้ อธบิ ำยข้อสรุปของกำรศกึ ษำ
เรอ่ื งนี้
16.ครูเนน้ กำรทำงำนดว้ ยควำมละเอียดรอบคอบ มีควำมเพียรพยำยำมในกำรนำควำมรู้ไปใช้ใหป้ ระสบ
ควำมสำเรจ็ และมีควำมระมัดระวังอันตรำยที่อำจจะเกิดข้ึนได้ในระหว่ำงกำรปฏิบัติหน้ำที่ หรือหลงั จำกปฏิบตั หิ น้ำที่
ดว้ ยควำมรับผดิ ชอบ ซ่ึงเปน็ กำรสร้ำงภูมิคุ้มกนั ทด่ี ใี นตัวเองตำมแนวทำงปรชั ญำเศรษฐกิจพอเพยี ง ดังนน้ั ปรชั ญำ
เศรษฐกิจพอเพียง จึงเป็นหลักกำรดำเนินชีวิต กำรทำงำน กำรบรหิ ำร กำรพฒั นำ รวมถึงกำรดำเนินกิจกรรมในด้ำน
ตำ่ งๆของมนุษย์ ทเี่ น้นแนวทำงสำยกลำงยดึ หลัก ควำมพอประมำณ ควำมมเี หตผุ ลและมีภมู คิ ุ้มกนั ทดี่ ี ภำยใต้เงื่อนไข
ควำมรอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวังและเงื่อนไขคุณธรรม ควำมซอื่ สตั ยส์ จุ ริต ควำมเพียร ขยันอดทน และกำรแบ่งปัน

81

ข้นั สรุปและการประยุกต์ใช้
17.ครสู รปุ กำรเรียนเน้ือหำทั้งหมด องคป์ ระกอบของรำยไดป้ ระชำชำติ ประกอบด้วย รำยจ่ำยเพือ่ กำรบรโิ ภค

และกำรออม รำยจำ่ ยเพือ่ กำรลงทนุ กำรใชจ้ ่ำยของภำครัฐบำล และกำรสง่ ออกสุทธิ ปัจจยั ที่มีอิทธิพลตอ่ กำร
บริโภคและกำรออม เชน่ รำยไดส้ ุทธิส่วนบุคคล สนิ ทรัพยส์ ภำพคล่องทีบ่ ุคคลมอี ยู่ สนิ ทรัพยถ์ ำวรท่ีบุคคลมี
อยู่ รำยได้ในอนำคต กำรคำดคะเนระดับรำคำสินค้ำ สนิ เชอื่ เพ่ือกำรบรโิ ภค อตั รำดอกเบ้ยี เปน็ ต้น รำยได้
สุทธสิ ่วนบุคคลจะถกู จดั สรรไประหว่ำงกำรบริโภคและกำรออม แม้ผบู้ รโิ ภคจะไม่มีรำยไดเ้ ลย แต่กย็ งั ต้อง
บริโภค เงนิ ทน่ี ำมำใชจ้ ่ำย อำจไดม้ ำจำกกำรกยู้ มื หรอื เงนิ ออม หรือกำรนำทรัพย์สินสภำพคลอ่ งท่ีมีอยอู่ อกมำ
ขำยก็ได้ เมือ่
ผู้บริโภคมรี ำยได้สูงขึน้ กำรบรโิ ภคจะสงู ขน้ึ แต่ถำ้ รำยได้ลดลง กำรบริโภคกจ็ ะลดลงเชน่ กัน ดังน้ันรำยได้สทุ ธสิ ่วน
บคุ คลมคี วำมสมั พันธ์กับกำรบรโิ ภคในรปู แบบสมกำรเสน้ ตรงรำยจำ่ ยเพ่ือกำรลงทนุ ประกอบด้วย รำยจำ่ ยในกำร
ก่อสรำ้ ง รำยจำ่ ยในกำรซ้ือเครอื่ งมืออเครื่องจักรใหม่ในกำรผลิตตำ่ งๆ และส่วนเปลี่ยนของสนิ ค้ำคงเหลือ กำรลงทุนมี
บทบำทสำคัญตอ่ ควำมเจริญเติบโตและควำมมเี สถยี รภำพทำงเศรษฐกจิ ในระบบเศรษฐกิจของประเทศกำรใช้จำ่ ยของ
ภำครัฐบำล แบ่งเปน็ รำยจำ่ ยเพื่อกำรบรโิ ภค รำยจ่ำยเพ่ือกำรลงทนุ และรำยจำ่ ยเพอ่ื กำรพฒั นำประเทศ แตร่ ำยจ่ำย
ประเภทเงนิ โอนจะไม่นบั รวมในรำยจ่ำยมวลรวม เพรำะรำยจำ่ ยประเภทนไ้ี ม่เก่ยี วพนั กับกำรเพ่ิมผลผลิตกำรสง่ ออก
สทุ ธิ กำรสง่ ออกสินค้ำจะทำให้กำรผลติ กำรวำ่ จ้ำงทำงำน และรำยได้ประชำชำติเพ่ิมข้นึ กอ่ ให้เกิดกระแสกำรไหลเข้ำ
ของรำยจ่ำยเขำ้ สูร่ ะบบเศรษฐกิจ ส่วนกำรนำเข้ำทำใหป้ ระเทศต้องสูญเสยี เงนิ ตรำต่ำงประเทศ ทำใหก้ ำรจ้ำงงำน และ
รำยไดป้ ระชำชำตลิ ดลง เกดิ กระแสกำรร่ัวไหลของรำยได้ออกจำกระบบเศรษฐกจิ ถ้ำกำรส่งออกสทุ ธมิ คี ่ำเป็นบวก จะ
ทำใหร้ ำยได้กำรจ้ำงงำน และกำรลงทุนเพ่ิมขนึ้ แต่ถำ้ กำรส่งออกสุทธิมคี ่ำเปน็ ลบ จะทำให้รำยได้ กำรจำ้ งงำนและกำร
ลงทนุ ลดลง
18.ผูเ้ รียนตอบคำถำมของครู และสรุปสำระสำคัญ
19.ผเู้ รียนทำใบงำน และแบบประเมินผลกำรเรยี นรู้

สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1.หนงั สอื เรียน วชิ ำหลักเศรษฐศำสตร์
2.รูปภำพ
3.กจิ กรรมกำรเรยี นกำรสอน
4.สือ่ อิเล็กทรอนิกส์, Power Point และ VDO
5.แบบประเมนิ ผลกำรเรยี นรู้
6.เครื่องมอื และอุปกรณ์

หลักฐาน
1.บนั ทกึ กำรสอน
2.ใบเช็ครำยช่อื
3.แผนจดั กำรเรยี นรู้
4.กำรตรวจประเมินผลงำน

82

การวดั ผลและการประเมนิ ผล
วธิ วี ดั ผล
1. สังเกตพฤตกิ รรมรำยบุคคล
2. ประเมนิ พฤติกรรมกำรเขำ้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่
3 ตรวจใบงำน
4. ตรวจแบบประเมนิ ผลกำรเรยี นรู้
5. กำรสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้ำนคุณธรรม จรยิ ธรรม คำ่ นิยม และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์

เครอ่ื งมอื วัดผล
1. แบบสังเกตพฤติกรรมรำยบคุ คล
2. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมกำรเข้ำรว่ มกจิ กรรมกลุ่ม
3. ใบงำน
4. แบบประเมินผลกำรเรยี นรู้
5. แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่ำนิยม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ โดยครแู ละผเู้ รียนรว่ มกัน

ประเมนิ

เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
1. เกณฑ์ผำ่ นกำรสงั เกตพฤตกิ รรมรำยบุคคล ต้องไม่มีชอ่ งปรบั ปรงุ
2. เกณฑ์ผำ่ นกำรประเมนิ พฤติกรรมกำรเขำ้ ร่วมกิจกรรมกล่มุ คือ ปำนกลำง (50 % ข้นึ ไป)
3. เกณฑ์ผ่ำนกำรสังเกตพฤติกรรมกำรเข้ำร่วมกจิ กรรมกลุม่ คือ ปำนกลำง (50% ขนึ้ ไป)
4. ใบงำน มเี กณฑผ์ ่ำน 50%
5. แบบประเมินผลกำรเรียนรู้ มีเกณฑผ์ ำ่ น 50%
6. แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม คำ่ นิยม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ คะแนนข้ึนอยู่กับกำร
ประเมนิ ตำมสภำพจรงิ

83

กจิ กรรมเสนอแนะ
1.ศกึ ษำกำรกำหนดรำยได้ประชำชำตเิ พ่ิมเติม
2.บนั ทึกรำยรบั -รำยจ่ำย

คาชแี้ จง : ให้บันทึกบญั ชีรำยรบั -รำยจำ่ ย ตำมควำมเป็นจริง

1. จำกกำรลงบนั ทึกมเี งนิ เหลอื เก็บหรอื ไม่……………เพรำะเหตุใด………………..………….………
2. จะเกิดอะไรข้นึ ถ้ำมีรำยจ่ำยมำกกวำ่ รำยรับ………………………..…………….………………….…

84

บันทึกหลังการสอน

ขอ้ สรปุ หลังการสอน
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
............................................................................................................................. ..................
.................................................................................................. .............................................
ปัญหาท่ีพบ
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
............................................................................................................................. ..................
....................................................................................................... ........................................
แนวทางแก้ปญั หา
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
............................................................................................................................. ..................
........................................................................................................ .......................................
............................................................................................................................. .................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................

85

แผนการจัดการเรยี นรแู้ บบบูรณาการท่ี 13 หนว่ ยท่ี 10
รหัส 3000-1001 วชิ าหลักเศรษฐศาสตร์ 3-0-3 สอนครงั้ ท่ี 13 (37-39)
ชื่อหน่วย/เรื่อง การเงนิ การธนาคารและนโยบายการเงิน
จานวน 3 ช.ม.

สาระสาคญั
เงนิ เปน็ สอ่ื กลำงในกำรแลกเปล่ียนสินคำ้ และบรกิ ำร และเป็นปัจจัยกำรผลติ ท่สี ำคัญประเภทหนึ่งในระบบ

เศรษฐกิจปริมำณเงนิ จะมมี ำกหรอื นอ้ ยขึน้ อยู่กับอุปสงคแ์ ละอปุ ทำนของเงิน ผ้ลู งทุนทำกำรผลิตสนิ คำ้ และบรกิ ำร
สำมำรถแสวงหำเงินไดจ้ ำกตลำดกำรเงนิ ไมว่ ำ่ จะเปน็ จำกสถำบนั กำรเงินหรือตลำดหลกั ทรัพย์ ประเทศต่ำงๆ รวมท้ัง
ประเทศไทยต้องพยำยำมใชน้ โยบำยกำรเงินให้เหมำะสม เพือ่ ควำมเจริญเตบิ โตทำงเศรษฐกิจและควำมมีเสถยี รภำพ
ทำงเศรษฐกิจ
จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

1 อธบิ ำยควำมหมำย วิวฒั นำกำรของเงนิ หน้ำที่และประเภทของเงนิ ได้
2 ทรำบถงึ ควำมสำคัญของเงินที่มตี อ่ ระบบเศรษฐกจิ
3 อธบิ ำยควำมหมำยและประเภทของตลำดกำรเงนิ ได้
4 อธิบำยระบบและกำรดำเนินธรุ กรรมของธนำคำรพำณิชยไ์ ด้
5 ทรำบถึงควำมเปน็ มำ ประเภทและหนำ้ ที่ของธนำคำรกลำง
6 ทรำบถงึ ประเภทและเครอื่ งมือของนโยบำยกำรเงนิ รวมทั้งนโยบำยกำรเงินของประเทศไทย
7.มกี ำรพัฒนำคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่ำนยิ ม และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ของผู้สำเร็จกำรศกึ ษำ

สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรอำชีวศกึ ษำ ทค่ี รูสำมำรถสังเกตได้ขณะทำกำรสอนในเร่ือง
7.1 ควำมมมี นุษยสมั พันธ์
7.2 ควำมมีวนิ ัย
7.3 ควำมรบั ผดิ ชอบ
7.4 ควำมซอื่ สตั ยส์ ุจรติ
7.5 ควำมเชือ่ มนั่ ในตนเอง
7.6 กำรประหยดั
7.7 ควำมสนใจใฝ่รู้
7.8 กำรละเว้นสิง่ เสพติดและกำรพนัน
7.9 ควำมรกั สำมัคคี
7.10 ควำมกตญั ญูกตเวที

สมรรถนะรายวิชา
1.แสดงควำมรู้ควำมเข้ำใจเกี่ยวกับเศรษฐศำสตร์ท่ีสำคญั ต่อกำรดำเนินธรุ กิจ
2.ประยุกตห์ ลักเศรษฐศำสตร์ไปใช้ในงำนอำชพี และชวี ิตประจำวนั
3.ปฏิบตั งิ ำนด้วยควำมมีคุณธรรม จริยธรรม คำ่ นิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตำมหลักปรัชญำของ

เศรษฐกิจพอเพียง

86

เนือ้ หาสาระ
1 ควำมรเู้ บ้ืองต้นเกี่ยวกบั กำรเงนิ
2 ควำมสำคญั ของเงินต่อระบบเศรษฐกจิ
3 ตลำดกำรเงนิ
4 ธนำคำรพำณิชย์
5 ธนำคำรกลำง
6 นโยบำยกำรเงิน
7 นโยบำยกำรเงินของประเทศไทย

กิจกรรมการเรยี นรู้

ขน้ั นาเขา้ สบู่ ทเรยี น
1.ครแู ละผเู้ รยี นสนทนำว่ำมนุษย์ที่อยรู่ วมกนั เป็นสังคมและไม่สำมำรถผลติ สงิ่ ของได้ทุกอยำ่ ง จึงจำเปน็ ต้อง
เลอื กผลติ เฉพำะสิ่งทตี่ นมีควำมถนดั โดยนำสง่ิ ของท่ตี นผลิตไดไ้ ปแลกกบั ส่ิงของทผ่ี ูอ้ ื่นผลิตได้ กำรแลกเปลีย่ นจงึ เกดิ
ขึ้นมำพร้อมกบั กำรเกดิ ข้ึนของสังคมมนุษย์ กำรแลกเปล่ียนจงึ ได้พฒั นำจำกกำรใชข้ นสัตว์ ใบยำสบู เกลอื เปลือกหอย
ลกู ปัด เปน็ ต้น มำเป็นกำรใชโ้ ลหะเปน็ ส่ือกลำงในกำรแลกเปล่ยี น ได้แก่ ทองคำ เงิน ทองแดงและแรด่ บี กุ ตอ่ มำโลหะ
มีจำกัดและหำยำก เนื่องจำกมนษุ ยม์ ีจำนวนเพิ่มมำกข้นึ เรื่อยๆ จงึ ได้พฒั นำมำใชเ้ งินกระดำษเปน็ ส่ือกลำงในกำร
แลกเปล่ียน จนกระทงั่ เป็นระบบเศรษฐกิจที่ใช้เงินตรำอย่ำงปัจจุบัน
2.ครแู สดงรูปภำพประกอบ เพ่อื เช่ือมโยงเขำ้ สู่เนื้อหำต่อไป

ข้ันสอน
3.ครใู ชเ้ ทคนิควิธสี อนแบบใช้โสตทัศนวสั ดุ (Audio-Visual Meterial of Instruction Method) เปน็ วธิ ีสอน
ที่นำอปุ กรณโ์ สตทัศน์วสั ดุมำชว่ ยพัฒนำคณุ ภำพกำรเรยี นกำรสอน โสตทัศนว์ ัสดุดังกลำ่ ว ได้แก่ Power Point และ
VDO เพ่อื อธบิ ำยมวลอะตอม เพ่ือส่ือให้ผเู้ รียนเขำ้ ใจไดง้ ่ำยขึ้นเกยี่ วกบั ควำมรู้เบื้องต้นเก่ียวกบั กำรเงนิ ได้แก่
ควำมหมำยของเงิน วิวฒั นำกำรของเงิน หน้ำท่ขี องเงนิ และประเภทของเงิน
4 ครูใช้เทคนิควธิ ีสอนแบบ Discussion Method กำรจัดกำรเรียนร้แู บบอภิปรำยควำมสำคัญของเงินต่อระบบ
เศรษฐกิจ
5 ครูใช้เทคนิควธิ ีสอนแบบ Lecture Method กำรจัดกำรเรยี นรู้แบบบรรยำยตลำดกำรเงนิ ไดแ้ ก่ควำมสำคัญ
ของตลำดกำรเงิน ทฤษฎีกำรเงนิ ควำมต้องกำรถือเงินหรืออุปสงคข์ องเงนิ ดุลยภำพของตลำดเงิน
6.ครใู ช้เทคนคิ วิธสี อนแบบ Small Group Discussion กำรจดั กำรเรยี นรู้โดยใชก้ ำรอภปิ รำยกลุ่มยอ่ ย คือ
กระบวนกำรเรยี นรู้ท่ีผู้สอนจดั กลมุ่ ผู้เรียนออกเป็นกล่มุ ยอ่ ยประมำณ 4 – 8 คน ใหผ้ เู้ รยี นในกล่มุ มีโอกำส
สนทนำแลกเปลี่ยนข้อมูลควำมคดิ เหน็ ประสบกำรณ์ในเรื่องธนำคำรพำณิชย์ และธนำคำรกลำง พรอ้ มสรปุ ผล
กำรอภปิ รำยออกมำเปน็ ขอ้ สรุปของกลุ่ม
7.ครใู ชเ้ ทคนคิ วธิ สี อนแบบ Discussion Method กำรจดั กำรเรียนรู้แบบอภปิ รำยนโยบำยกำรเงนิ นโยบำย
กำรเงิน (Monetary Policy) หมำยถึง กำรควบคมุ ดูแลปรมิ ำณเงนิ และสนิ เชอื่ โดยธนำคำรกลำงเพ่อื บรรลุ
เปำ้ หมำยทำงเศรษฐกจิ ประกำรใดประกำรหน่งึ หรือหลำยประกำร ได้แก่ กำรรกั ษำเสถียรภำพของรำคำ กำร
สง่ เสริมใหม้ กี ำรจ้ำงงำนเพิ่มข้ึน กำรรักษำควำมเจรญิ เตบิ โตทำงเศรษฐกจิ กำรรกั ษำดุลยภำพของ
ดลุ กำรชำระเงินระหว่ำงประเทศ และกำรกระจำยรำยไดอ้ ยำ่ งเปน็ ธรรม

87

8.ครูใชเ้ ทคนคิ วิธสี อนแบบใช้โสตทศั นวสั ดุ (Audio-Visual Meterial of Instruction Method) เป็นวธิ ีสอนที่
นำอุปกรณ์โสตทัศน์วัสดุมำชว่ ยพฒั นำคุณภำพกำรเรยี นกำรสอน โสตทัศน์วสั ดุดังกล่ำว ได้แก่ Power Point
เพอ่ื ประกอบกำรอธบิ ำยเร่ืองนโยบำยกำรเงนิ ของประเทศไทย
9.ผู้เรียนวเิ ครำะห์ว่ำธนำคำรกลำงเลอื กใช้หลักกำรใดในกำรพจิ ำรณำว่ำจะใชน้ โยบำยกำรเงินแบบหดตัว หรอื
แบบขยำยตัว
10.ผู้เรียนพจิ ำรณำว่ำหำกกำหนดใหส้ ิง่ อน่ื ๆ คงที่ เมื่อระบบเศรษฐกจิ เกิดชอ่ งห่ำงเงินฝดื ธนำคำรกลำงควรใช้
นโยบำยกำรเงนิ แบบใดเพื่อแก้ไขปัญหำดังกลำ่ ว ยกตวั อย่ำงมำตรกำรกำรเงินมำ 1 มำตรกำร
11.ผเู้ รยี นวเิ ครำะหว์ ำ่ ธนำคำรกลำงควรเลอื กใชเ้ ครื่องมือของนโยบำยกำรเงินอะไรบ้ำง เพอ่ื ก่อให้เกิดผลตำ่ งๆ
ดงั น้ี
(ก) ควบคุมกำรใหส้ ินเชื่อของธนำคำรพำณชิ ยใ์ ห้อยู่ในระดับทลี่ ดลง
(ข) สนับสนนุ ธนำคำรพำณชิ ย์ปลอ่ ยสนิ เช่ือ โดยไม่เปล่ียนแปลงอตั รำเงนิ สดสำรองตำมกฎหมำย
(ค) สง่ เสริมธนำคำรพำณิชย์จัดสรรสินเชอื่ ดำ้ นกำรเกษตร
(ง) ส่งเสรมิ ธนำคำรพำณิชยจ์ ัดสรรสินเช่อื ในธุรกจิ ขนำดเล็ก
12.ครูเน้นปฏิบตั ิทำเกลียวท่อโลหะหนำด้วยความระมดั ระวงั ในเรือ่ งควำมปลอดภัยระหวำ่ งกำรทำงำนและ
กำรนำไปใช้ เพ่อื สรา้ งภูมคิ ุม้ กนั ในตัวเอง และเสนอแนะกำรนำควำมรู้ไปประกอบอำชีพเพื่อสรำ้ งรำยได้ให้แก่ตนเอง
และครอบครัวต่อไป

ขนั้ สรุปและการประยุกต์

10.ผู้เรยี นและผู้สอนสรุปว่ำธนำคำรกลำงเป็นผู้ควบคมุ ธนำคำรพำณชิ ย์ ซึ่งเป็นสถำบันกำรเงนิ เอกชนที่ทำ

หน้ำทร่ี ับฝำกเงินและให้กยู้ ืมแก่ประชำชน สว่ นธนำคำรกลำงจัดตั้งขึ้นเพื่อรักษำเสถยี รภำพของเงนิ ตรำและเศรษฐกจิ

ของประเทศโดยกำรใช้นโยบำยกำรเงนิ ควบคุมกำรดำเนินงำนของธนำคำรพำณิชย์ และทำหนำ้ ทใ่ี นกำรควบคุม

ทำงดำ้ นปริมำณ โดยกำรซื้อขำยหลักทรพั ยร์ ฐั บำล เพ่ิมลดอัตรำรบั ชว่ งซ้ือลดตัว๋ เงิน เพ่มิ ลดอตั รำเงินสดสำรองตำม

กฎหมำย หรอื กำรควบคุมทำงดำ้ นเครดติ เฉพำะอย่ำง ซึ่งเปน็ กำรควบคมุ เครดิตเพ่ือกำรเกง็ กำไร ควบคมุ เครดติ เพอ่ื

กำรบรโิ ภค ควบคมุ เครดิตเพื่อกำรกอ่ สรำ้ ง ควบคมุ เครดติ โดยกำรขอร้องอยำ่ งเป็นกันเองตำมปกตปิ ริมำณเงินใน

ระบบเศรษฐกจิ หำกมีมำกหรือน้อยเกนิ ไป จะไม่เป็นผลดตี ่อกำรพฒั นำเศรษฐกจิ รฐั บำลของประเทศตำ่ งๆ จงึ ใช้

นโยบำยกำรเงินเพ่ือป้องกนั หรือแก้ไขไมใ่ ห้มภี ำวะเงนิ เฟอ้ หรอื ภำวะเงนิ ฝดื เพือ่ สร้ำงควำมเจรญิ เติบโตทำงเศรษฐกิจ

ตำมเปำ้ หมำย

11.ผ้เู รยี นสรุปเนอ้ื หำ โดยครูใช้วธิ ีสุ่มผู้เรียนทกุ คนตอบคำถำมและอธบิ ำยให้เพ่ือนฟงั ท้ังช้นั เรียน พร้อมสรุป

เนอ้ื หำอีกครัง้

12.ผู้เรียนทำใบงำน และแบบประเมนิ ผลเรยี นรู้

13.ประเมนิ ผูเ้ รยี นตำมแบบฟอรม์ ตอ่ ไปนี้

ชอ่ื ผเู้ รยี น ธรรมชำตขิ องผเู้ รียน วธิ กี ำรเรยี นรู้
ควำมสนใจ สตปิ ญั ญำ วุฒิภำวะ

1.

2.

3.

แบบประเมนิ ประสบกำรณพ์ ื้นฐำนกำรเรียนรู้

88

ชอ่ื ผเู้ รียน ประสบกำรณ์พน้ื ฐำนกำรเรียนรู้ วิธีกำรเรยี นรู้
ควำมรู้ ทักษะ ผลงำน
1.
2.
3.

สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1.หนังสอื เรียน วชิ ำหลกั เศรษฐศำสตร์
2.รูปภำพ

3.กจิ กรรมกำรเรยี นกำรสอน

4.ส่ืออิเล็กทรอนกิ ส์ , Power Point และ VDO
5.แบบประเมินผลกำรเรยี นรู้

6.เคร่อื งมือและอุปกรณ์

หลกั ฐาน
1.บนั ทึกกำรสอน
2.ใบเช็ครำยชอื่
3.แผนจดั กำรเรยี นรู้
4.กำรตรวจประเมนิ ผลงำน

การวัดผลและการประเมินผล
วธิ ีวดั ผล
1. สังเกตพฤติกรรมรำยบคุ คล
2. ประเมินพฤติกรรมกำรเขำ้ ร่วมกจิ กรรมกลุม่
3 ตรวจกจิ กรรมสง่ เสริมกำรเรียนรู้
4. ตรวจกจิ กรรมใบงำน
5. ตรวจแบบประเมินผลกำรเรยี นรู้
6. กำรสงั เกตและประเมินพฤติกรรมด้ำนคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่ำนยิ ม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์

เคร่อื งมือวดั ผล
1. แบบสงั เกตพฤติกรรมรำยบคุ คล
2. แบบประเมนิ พฤติกรรมกำรเข้ำร่วมกิจกรรมกลุ่ม
3. ใบงำน
4. ตรวจแบบประเมนิ ผลกำรเรยี นรู้
5. แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม ค่ำนยิ ม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและผ้เู รยี นรว่ มกนั

ประเมนิ

เกณฑ์การประเมนิ ผล
1. เกณฑผ์ ำ่ นกำรสงั เกตพฤติกรรมรำยบคุ คล ต้องไม่มชี อ่ งปรับปรุง
2. เกณฑ์ผ่ำนกำรประเมินพฤติกรรมกำรเขำ้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่ คอื ปำนกลำง (50 % ข้นึ ไป)

89

3. เกณฑผ์ ่ำนกำรสังเกตพฤติกรรมกำรเข้ำรว่ มกิจกรรมกลมุ่ คือ ปำนกลำง (50% ข้ึนไป)
4. ใบงำน มเี กณฑผ์ ำ่ น 50%
5. แบบประเมนิ ผลกำรเรียนรู้ มีเกณฑผ์ ำ่ น 50%
6. แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่ำนิยม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ คะแนนขน้ึ อยู่กับกำร
ประเมนิ ตำมสภำพจรงิ
กจิ กรรมเสนอแนะ

1.ศึกษำเพ่มิ เตมิ จำกแหลง่ ควำมรู้ทั่วไป
2.บนั ทึกรำยรบั -รำยจ่ำยประจำวนั

คาช้แี จง : ให้บนั ทกึ บญั ชรี ำยรบั -รำยจำ่ ย ตำมควำมเปน็ จรงิ

1. จำกกำรลงบนั ทึกมเี งนิ เหลือเกบ็ หรือไม่……………เพรำะเหตุใด………………..………….………
2. จะเกิดอะไรขน้ึ ถ้ำมีรำยจ่ำยมำกกว่ำรำยรับ………………………..…………….………………….…

90

บนั ทึกหลังการสอน

ข้อสรุปหลงั การสอน
............................................................................................................................. ..................
...................................................................................... .........................................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
............................................................................................................................. ..................
ปัญหาที่พบ
............................................................................................ ...................................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
............................................................................................................................. ..................
............................................................................................................ ...................................
แนวทางแก้ปัญหา
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
............................................................................................................................. ..................
............................................................................................... ..................................................
............................................................................................................................. ..................

91

แผนการจัดการเรยี นรู้แบบบูรณาการท่ี 14 หนว่ ยที่ 11
รหัส 30200-1001 วิชาหลกั เศรษฐศาสตร์ 3-0-3 สอนคร้ังที่ 14(40-42)
ชือ่ หน่วย/เร่ือง การคลังและนโยบายการคลงั
จานวนชั่วโมง 3 ช.ม.

สาระสาคัญ
รำยไดข้ องรัฐบำลได้มำจำกประชำชน กล่ำวคอื กำรใช้จำ่ ยตำ่ งๆ ของรัฐบำลจะได้มำโดยกำรโยกยำ้ ยทรพั ยำกร

บำงส่วนจำกภำคเอกชน เนอ่ื งจำกทรพั ยำกรตำ่ งๆ ของสงั คมในขณะใดขณะหนึ่งมีจำนวนจำกดั ซ่งึ ต้องแบง่ กนั ใช้
ระหว่ำงภำครฐั บำลและภำคเอกชน ดงั นั้น เมือ่ ภำครัฐบำลใช้มำกขน้ึ ภำคเอกชนจะต้องใช้นอ้ ยลง รฐั บำลมกั จะหำเงิน
มำใชจ้ ่ำยดว้ ยวธิ กี ำรตำ่ งๆ เมอ่ื ได้รำยได้มำรฐั บำลจะนำไปใชจ้ ำ่ ยตำมวัตถุประสงคท์ ่ไี ด้กำหนดไว้ ซง่ึ กำรใช้จำ่ ยของ
รัฐบำลถอื เปน็ เครื่องมือทำงกำรคลังทีก่ ่อให้เกดิ กำรเปล่ยี นแปลงทำงเศรษฐกจิ ให้เป็นไปตำมแนวทำงทีร่ ฐั บำลตอ้ งกำร
แต่อย่ำงไรกต็ ำม รฐั บำลต้องจัดทำงบประมำณแผ่นดนิ เพ่ือใชเ้ ป็นเคร่ืองมือในกำรบรหิ ำรประเทศ กำรหำเงินเพ่อื มำใช้
จำ่ ยของรัฐบำล นอกจำกกำรเก็บภำษอี ำกรแลว้ รัฐบำลยังทำกำรกู้ยมื เงนิ หรือกำรก่อหนส้ี ำธำรณะท้ังจำกภำยในและ
ตำ่ งประเทศ เพือ่ นำมำใช้จำ่ ยในโครงกำรต่ำงๆ ของรฐั บำล

จุดประสงค์การเรียนรู้
1 เขำ้ ใจควำมหมำยและควำมสำคัญของกำรคลงั
2 เขำ้ ใจควำมหมำยและวัตถุประสงค์ของนโยบำยกำรคลัง
3 อธิบำยประเภทและเครื่องมือของนโยบำยกำรคลังได้
4 อธิบำยเกย่ี วกับรำยไดข้ องรัฐบำล รำยจ่ำยสำธำรณะของรฐั บำล และหนี้สำธำรณะได้
5 อธิบำยงบประมำณแผ่นดินได้
6.มกี ำรพัฒนำคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่ำนยิ ม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผสู้ ำเรจ็ กำรศกึ ษำ
สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรอำชีวศกึ ษำ ที่ครูสำมำรถสงั เกตได้ขณะทำกำรสอนในเรื่อง
6.1 ควำมมมี นุษยสมั พนั ธ์
6.2 ควำมมวี ินัย
6.3 ควำมรับผิดชอบ
6.4 ควำมซื่อสัตยส์ จุ รติ
6.5 ควำมเชอื่ มัน่ ในตนเอง
6.6 กำรประหยัด
6.7 ควำมสนใจใฝ่รู้
6.8 กำรละเว้นสิ่งเสพติดและกำรพนนั
6.9 ควำมรกั สำมัคคี
6.10 ควำมกตญั ญูกตเวที

92

สมรรถนะรายวิชา
1.แสดงควำมรู้ควำมเข้ำใจเกี่ยวกับเศรษฐศำสตร์ทีส่ ำคญั ต่อกำรดำเนนิ ธุรกจิ
2.ประยุกต์หลักเศรษฐศำสตร์ไปใชใ้ นงำนอำชีพและชวี ติ ประจำวัน
3.ปฏบิ ัตงิ ำนด้วยควำมมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่ำนยิ ม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตำมหลกั ปรชั ญำของ

เศรษฐกิจพอเพยี ง

เนอ้ื หาสาระ
1 ควำมหมำยและควำมสำคัญของกำรคลัง
2 ควำมหมำยและวตั ถุประสงคข์ องนโยบำยกำรคลัง
3 ประเภทและเครอื่ งมอื ของนโยบำยกำรคลัง
4 รำยได้และรำยจ่ำยสำธำรณะของรฐั บำล
5 งบประมำณแผน่ ดนิ

กจิ กรรมการเรยี นรู้
ขั้นนาเขา้ สบู่ ทเรยี น
1.ครใู ชเ้ ทคนคิ กำรสอนแบบซิปปำโมเดล (CIPPA MODEL) โดยกำรทบทวนควำมรูเ้ ดิมจำกสปั ดำห์ท่ผี ่ำนมำ

โดยดงึ ควำมรูเ้ ดิมของผเู้ รยี นในเร่อื งทจ่ี ะเรียน เพ่ือชว่ ยให้ผเู้ รียนมคี วำมพร้อมในกำรเชื่อมโยงควำมรใู้ หม่กับควำมรเู้ ดิม
ของตน ผูส้ อนใช้กำรสนทนำซักถำมให้ผเู้ รยี นเลำ่ ประสบกำรณ์เดมิ

2.ครแู ละผู้เรยี นสนทนำเกีย่ วกบั บทบำทของรฐั บำลในอดีตมีขอบเขตจำกัด คือ รักษำควำมมน่ั คงปลอดภยั ท้ัง
ภำยในและภำยนอกประเทศ กำรทูต กำรศำล สว่ นเรื่องกจิ กรรมทำงเศรษฐกิจจะเป็นเรื่องของเอกชน แต่ในปจั จุบัน
รฐั บำลได้เข้ำมำดำเนนิ กิจกรรมทำงเศรษฐกิจหลำยดำ้ นเพื่อเสถียรภำพท่มี ั่นคง และชวี ิตควำมเปน็ อยทู่ ีด่ ีของประชำชน
รฐั บำลจึงมีรำยจำ่ ยเพม่ิ ขนึ้ กำรใชจ้ ่ำยของรัฐบำลมีผลกระทบต่อระบบเศรษฐกจิ ทำให้ระบบเศรษฐกจิ ขยำยตวั ดังน้ัน
เพือ่ ให้บรรลุเปำ้ หมำยทีว่ ำงไว้ รฐั บำลจำเปน็ ต้องมีเคร่ืองมือในกำรบริหำรงำน นน่ั คอื นโยบำยกำรคลัง (Fiscal
Policy) ซ่งึ เปน็ กลไกท่สี ำคญั ของรัฐบำลในกำรบริหำรประเทศ โดยมคี วำมสำมำรถในกำรหำรำยได้ให้เพียงพอกบั
รำยจำ่ ยและมีกำรใชจ้ ่ำยอย่ำงมปี ระสทิ ธิภำพ ทำใหเ้ กิดภำวะเศรษฐกจิ ทด่ี ี มีเสถียรภำพไม่เกิดภำวะเงนิ เฟ้อ เงินฝืด มี
กำรกระจำยรำยได้ท่เี ป็นธรรม ประชำชนมมี ำตรฐำนกำรครองชีพท่ีดีข้ึนมีรำยไดป้ ระชำชำตสิ ูงขนึ้

ขั้นสอน
3.ครูใชเ้ ทคนิควิธีสอนแบบใช้โสตทศั นวสั ดุ (Audio-Visual Meterial of Instruction Method) เปน็ วธิ สี อน
ทนี่ ำอุปกรณ์โสตทัศนว์ สั ดุมำช่วยพฒั นำคุณภำพกำรเรียนกำรสอน โสตทศั น์วสั ดดุ งั กล่ำว ได้แก่ Power Point เพ่ือ
อธบิ ำยเรอ่ื งควำมหมำยและควำมสำคญั ของกำรคลัง
4.ครใู ช้เทคนิควธิ ีสอนแบบ Lecture Method กำรจัดกำรเรียนรู้แบบบรรยำย คือ กระบวนกำรเรยี นร้ทู ี่
ผู้สอนเปน็ ผถู้ ำ่ ยทอดควำมรู้ใหแ้ ก่ผู้เรยี นโดยกำรพูดบอกเล่ำ อธบิ ำยเนื้อหำเร่ืองควำมหมำยและวตั ถุประสงคข์ อง
นโยบำยกำรคลงั
5.ครใู ชเ้ ทคนิควิธสี อนแบบ Discussion Method กำรจดั กำรเรียนรู้แบบอภิปรำย คือกระบวนกำรทผ่ี ูส้ อนมุ่ง
ให้ผู้เรียนมโี อกำสสนทนำแลกเปลีย่ นควำมคิดเหน็ หรือระดมควำมคดิ ในเรอื่ งประเภทและเคร่ืองมือของนโยบำยกำร
คลัง

93

6.ครูใช้เทคนคิ วิธสี อนแบบ Demonstration Method กำรจดั กำรเรยี นรู้แบบสำธติ คอื กระบวนกำรที่
ผู้สอน หรอื บุคคลใดบุคคลหน่ึงใชใ้ นกำรชว่ ยใหผ้ เู้ รียนไดเ้ กิดกำรเรยี นรู้ตำมวัตถุประสงค์ โดยกำรแสดงหรอื กระทำใหด้ ู
เป็นตัวอยำ่ งพร้อม ๆ กับกำรบอก อธิบำย ให้ผูเ้ รยี นได้เรยี นรู้เร่ืองรำยได้และรำยจำ่ ยสำธำรณะของรัฐบำล

7.ครใู ชเ้ ทคนคิ วิธสี อนแบบ Discussion Method กำรจดั กำรเรียนรูแ้ บบอภิปรำย คอื กระบวนกำรทีผ่ ูส้ อนมุง่ ให้
ผู้เรียนมีโอกำสสนทนำแลกเปลยี่ นควำมคิดเหน็ หรือระดมควำมคิดในเร่ืองงบประมำณแผ่นดนิ
8.ผเู้ รยี นอธิบำยกำรใชน้ โยบำยกำรคลงั แบบอัตโนมัติจะชว่ ยบรรเทำปญั หำในขณะทเ่ี กิดภำวะเศรษฐกจิ เฟื่อง
ฟไู ดด้ ีกวำ่ ปญั หำในขณะที่เกิดภำวะเศรษฐกจิ ตกต่ำ เพรำะเหตุใด
9.ผู้เรียนวิเครำะหผ์ ลกระทบทม่ี ีตอ่ รำยได้ประชำชำติจำกกำรใชน้ โยบำยกำรคลังต่อไปนี้

(ก) รฐั บำลเพิม่ กำรใชจ้ ำ่ ย โดยรำยได้ของรฐั บำลยังคงเดมิ
(ข) รัฐบำลเพม่ิ รำยได้ โดยทกี่ ำรใชจ้ ำ่ ยของรฐั บำลยงั คงเดมิ
10.ผู้เรียนนำเสนอโดยมผี ูก้ ล่ำวว่ำ “กำรใช้นโยบำยกำรคลังแบบตัง้ ใจ เพ่อื แก้ปัญหำเศรษฐกิจตกต่ำ อำจ
ก่อให้เกิดปัญหำเงนิ เฟ้อได้” ใหผ้ ้เู รียนแบง่ กลมุ่ เพือ่ อธบิ ำยและแสดงเหตุผลประกอบ จำกนั้นนำเสนอหน้ำชัน้ เรยี น
11.ครอู ธบิ ำยเพม่ิ เติมเก่ยี วกับแนวทำงกำรประยุกต์ปรัชญำเศรษฐกจิ พอเพยี ง จำเป็นต้องเรม่ิ จำกจิตใจเป็น
พื้นฐำน เมอ่ื จติ ใจมคี วำมพร้อม จึงเรมิ่ ลงมือทำ โดยเร่มิ จำกกำรปรบั เปลยี่ นวธิ คี ิด วธิ ที ำ

ข้นั สรปุ และการประยกุ ต์
12.ผู้เรียนสรุปเนื้อหำว่ำกำรคลังมีควำมสำคัญในกำรวำงแผน ดำเนินนโยบำยเพ่ือหำรำยได้และรำยจ่ำยโดย
จะใช้ควบคุม กำรจัดสรรทรัพยำกร กำรกระจำยรำยได้ และรักษำเสถียรภำพทำงเศรษฐกิจและเคร่ืองมือที่สำคัญของ
รัฐบำลก็คือ นโยบำยกำรคลัง ซ่งึ เป็นนโยบำยท่ีรัฐบำลใชเ้ ป็นเครอ่ื งมือ ในกำรรักษำเสถียรภำพทำงเศรษฐกจิ เนอื่ งจำก
กำรใช้จ่ำย กำรเก็บภำษีอำกร มีผลกระทบต่อรำยได้ประชำชำติ กำรจ้ำงงำน และระบบเศรษฐกิจของประเทศ และ
สร้ำงควำมเจรญิ เตบิ โตทำงเศรษฐกจิ โดยทั่วไปนโยบำยกำรคลงั มี 2 แบบ คือ นโยบำยกำรคลงั ทีแ่ บ่งตำมลักษณะกำร
ทำงำนและกำรแบ่งตำมปัญหำทต่ี ้องแก้ไข
13.ผเู้ รยี นตอบคำถำม และยกตัวอยำ่ งประกอบ
14.ผู้เรยี นทำใบงำน และทำแบบประเมินผลกำรเรยี นรู้

15.ประเมินผู้เรียนตำมแบบฟอร์มตอ่ ไปน้ี

ชือ่ ผู้เรียน ประสบกำรณ์พ้ืนฐำนกำรเรยี นรู้ วิธีกำรเรียนรู้
ควำมรู้ ทกั ษะ ผลงำน

1.

2.

3.

4.

5.

สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1.หนงั สือเรียน วิชำหลักเศรษฐศำสตร์
2.กิจกรรมกำรเรียนกำรสอน
3.ส่ืออิเล็กทรอนกิ ส์ , VDO, Power Point, รูปภำพ
4.แบบประเมนิ ผลกำรเรยี นรู้
5.เคร่อื งมอื และอปุ กรณ์

94

หลกั ฐาน
1.บันทึกกำรสอน
2.ใบเช็ครำยช่อื
3.แผนจัดกำรเรยี นรู้
4.กำรตรวจประเมินผลงำน

การวดั ผลและการประเมนิ ผล
วธิ ีวัดผล
1. สงั เกตพฤติกรรมรำยบคุ คล
2. ประเมินพฤติกรรมกำรเข้ำร่วมกจิ กรรมกลุ่ม
3 ตรวจใบงำน
4. ตรวจแบบประเมนิ ผลกำรเรียนรู้
5. กำรสงั เกตและประเมินพฤติกรรมด้ำนคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่ำนิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์

เครื่องมอื วัดผล
1. แบบสงั เกตพฤติกรรมรำยบคุ คล
2. แบบประเมินพฤตกิ รรมกำรเข้ำร่วมกจิ กรรมกล่มุ
3. ใบงำน
4. แบบประเมินผลกำรเรียนรู้
5. แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม คำ่ นิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและผเู้ รียนรว่ มกนั

ประเมนิ

เกณฑ์การประเมินผล
1. เกณฑ์ผำ่ นกำรสังเกตพฤติกรรมรำยบคุ คล ต้องไม่มชี ่องปรับปรุง
2. เกณฑผ์ ำ่ นกำรประเมนิ พฤติกรรมกำรเข้ำรว่ มกิจกรรมกลมุ่ คือ ปำนกลำง (50 % ขน้ึ ไป)
3. เกณฑ์ผำ่ นกำรสงั เกตพฤตกิ รรมกำรเข้ำรว่ มกิจกรรมกลมุ่ คือ ปำนกลำง (50% ขึ้นไป)
4. ใบงำน มเี กณฑ์ผ่ำน 50%
5. แบบประเมินผลกำรเรียนรู้ มีเกณฑผ์ ำ่ น 50%
6 แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม ค่ำนิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนข้นึ อยู่กับกำร
ประเมนิ ตำมสภำพจริง

95

กจิ กรรมเสนอแนะ
1.ทบทวนบทเรียนกำรคลงั และนโยบำยกำรคลัง
2.บันทึกรำยรับ-รำยจ่ำย

คาชี้แจง : ใหบ้ ันทึกบัญชรี ำยรบั -รำยจ่ำย ตำมควำมเปน็ จริง

1. จำกกำรลงบนั ทึกมีเงินเหลอื เกบ็ หรือไม่……………เพรำะเหตุใด………………..………….………
2. จะเกดิ อะไรขน้ึ ถำ้ มีรำยจ่ำยมำกกว่ำรำยรบั ………………………..…………….………………….…

96

บนั ทึกหลังการสอน

ขอ้ สรุปหลังการสอน
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
............................................................................................................................. ..................
............................................................................................................ ...................................
............................................................................................................................. ..................
ปัญหาท่ีพบ
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
.............................................................................................................................. .................
................................................................................................................. ..............................
............................................................................................................................. ..................
แนวทางแก้ปญั หา
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
............................................................................................................................... ................
.................................................................................................................. ............................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................


Click to View FlipBook Version