The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นายวิจิตร พลเศษ, 2021-03-31 07:32:59

แผนวิชาหลักเศรษฐศาสตร์

วิชาหลักเศรษฐศาสตร์

Keywords: วิชาหลักเศรษฐศาสตร์

97

แผนการจดั การเรยี นรูแ้ บบบูรณาการที่ 15 หนว่ ยท่ี 12
สอนครัง้ ท่ี 15 (43-45)
รหัส 30200-1001 วิชาหลักเศรษฐศาสตร์ 3-0-3
จานวน 3 ช.ม.
ชอื่ หน่วย/เรื่อง เงนิ เฟ้อ เงนิ ฝดื การว่างงานและการแก้ไข
ปัญหาเศรษฐกิจมหภาค

สาระสาคัญ
ปัญหำทำงเศรษฐกิจมหภำคสำมำรถเกิดข้ึนได้ เมื่อระบบเศรษฐกิจขำดเสถยี รภำพ ซึง่ จะส่งผลต่อควำมมนั่ คง

และกำรขยำยตัวทำงเศรษฐกิจของประเทศ เม่ือระบบเศรษฐกิจมีควำมผันผวน จะส่งผลต่อระดบั รำคำสินค้ำและ

บริกำร เชน่ ในชว่ งที่เศรษฐกิจขยำยตัว ระดบั รำคำสินคำ้ และบริกำรตำ่ งๆ จะสูงขึ้น แรงงำนมีงำนทำ ปัญหำทต่ี ำมมำ

ในชว่ งน้ี คือปัญหำเงินเฟ้อ แตใ่ นชว่ งท่ีเศรษฐกิจซบเซำ ระดบั รำคำสนิ ค้ำและบริกำรตำ่ งๆ จะลดลง ทำใหก้ ำรจ้ำงงำน
ลดลง ปัญหำทเ่ี กดิ ข้ึนในช่วงน้ี คอื ปญั หำเงินฝืด และปญั หำกำรวำ่ งงำน ซ่งึ ปัญหำเงินเฟ้อ เงนิ ฝืด และกำรว่ำงงำนต่ำง

เปน็ ปญั หำสำคัญที่กระทบต่อควำมเปน็ อยู่ของประชำชน

จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1 อธบิ ำยควำมหมำยของเงินเฟ้อ ดัชนรี ำคำ สำเหตขุ องกำรเกิดเงนิ เฟ้อ ประเภทของเงินเฟ้อ ผลกระทบของ
เงินเฟ้อ ผลดแี ละผลเสยี ของภำวะเงนิ เฟ้อ และแกป้ ัญหำเงนิ เฟ้อได้
2 อธิบำยควำมหมำยของเงินฝืด สำเหตุที่ทำใหเ้ กิดเงินฝืด ผลของภำวะเงนิ ฝดื และแกป้ ัญหำภำวะเงินฝดื ได้
3 อธบิ ำยควำมหมำยของกำรวำ่ งงำน สำเหตุท่ีทำใหเ้ กดิ กำรว่ำงงำน ประเภทของกำรวำ่ งงำน ผลกระทบของ
กำรวำ่ งงำน และแก้ปญั หำกำรวำ่ งงำนโดยใช้นโยบำยตำ่ งๆ ได้
4.มีกำรพัฒนำคุณธรรม จริยธรรม ค่ำนยิ ม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ของผ้สู ำเรจ็ กำรศึกษำ สำนักงำน
คณะกรรมกำรกำรอำชวี ศกึ ษำ ทค่ี รูสำมำรถสงั เกตไดข้ ณะทำกำรสอนในเร่อื ง
4.1 ควำมมมี นุษยสมั พันธ์
4.2 ควำมมวี ินัย
4.3 ควำมรบั ผดิ ชอบ
4.4 ควำมซือ่ สตั ย์สจุ ริต
4.5 ควำมเชอ่ื มนั่ ในตนเอง
4.6 กำรประหยัด
4.7 ควำมสนใจใฝร่ ู้
4.8 กำรละเว้นส่ิงเสพติดและกำรพนนั
4.9 ควำมรกั สำมัคคี
4.10 ควำมกตัญญกู ตเวที

สมรรถนะรายวิชา
1.แสดงควำมรู้ควำมเข้ำใจเก่ียวกับเศรษฐศำสตร์ท่สี ำคัญต่อกำรดำเนนิ ธุรกิจ
2.ประยุกต์หลกั เศรษฐศำสตร์ไปใชใ้ นงำนอำชีพและชวี ิตประจำวนั
3.ปฏบิ ัติงำนด้วยควำมมีคุณธรรม จริยธรรม ค่ำนิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตำมหลักปรัชญำของ

เศรษฐกจิ พอเพยี ง

98

เนื้อหาสาระ
1 เงนิ เฟ้อ
2 เงนิ ฝดื
3 กำรว่ำงงำน

กจิ กรรมการเรยี นรู้
ข้นั นาเข้าสบู่ ทเรียน
1.ครูและผู้เรยี นร่วมกันแสดงควำมคิดเหน็ ในกำรนำหลกั ปรัชญำเศรษฐกจิ พอเพียง มำประยกุ ตใ์ ชเ้ พ่ือ

เนน้ ให้ผ้เู รียนฝกึ เรอ่ื งควำมระมดั ระวงั ควำมมภี ูมคิ ุ้มกันทีด่ ีในตัวเองและควำมรอบคอบ ควำมรับผิดชอบ ควำมอดทน
ควำมเพียร ควำมเอ้ืออำทรต่อเพื่อนร่วมงำน เป็นตน้

2.ครใู ช้เทคนคิ กำรสอนแบบซิปปำโมเดล (CIPPA MODEL) โดยกำรทบทวนควำมรเู้ ดิมจำกสัปดำหท์ ่ผี ำ่ นมำ
โดยดงึ ควำมรู้เดมิ ของผ้เู รยี นในเรอ่ื งทจี่ ะเรียน เพ่ือชว่ ยใหผ้ ้เู รียนมีควำมพร้อมในกำรเชื่อมโยงควำมรใู้ หม่กบั
ควำมรเู้ ดิมของตน ผสู้ อนใชก้ ำรสนทนำซักถำมใหผ้ ้เู รียนเล่ำประสบกำรณ์เดิม
3.ครูกล่ำวว่ำปัญหำทำงเศรษฐกิจในระดับมหภำคที่ก่อใหเ้ กดิ ควำมไม่ม่นั คงทำงเศรษฐกิจมหี ลำยประกำร เชน่
ปญั หำเงินเฟ้อ ปัญหำเงินฝืด และปัญหำกำรว่ำงงำน ปัญหำทั้งสำมประกำรน้ีเปน็ ปัญหำท่ีพบไดบ้ ่อยคร้ังและกระทบ
ต่อคุณภำพชวี ิตของประชำชนเป็นอยำ่ งมำก รฐั บำลสำมำรถใชน้ โยบำยกำรเงนิ นโยบำยกำรคลงั และนโยบำยอน่ื ๆ ใน
กำรแกป้ ัญหำระดบั มหภำคเหลำ่ น้ี

ขัน้ สอน
4.ครูใช้เทคนคิ วธิ สี อนแบบใช้โสตทศั นวสั ดุ (Audio-Visual Meterial of Instruction Method) เป็นวิธสี อน
ทีน่ ำอุปกรณโ์ สตทศั น์วสั ดุมำชว่ ยพฒั นำคณุ ภำพกำรเรียนกำรสอน โสตทัศน์วัสดุดงั กลำ่ ว ไดแ้ ก่ Power Point เพอ่ื
แสดงอธิบำยเงนิ เฟ้อ เงนิ ฝดื และกำรว่ำงงำน
5.ครูใชเ้ ทคนคิ วิธสี อนแบบ Lecture Method กำรจัดกำรเรยี นรแู้ บบบรรยำย คอื กระบวนกำรเรยี นร้ทู ่ีผู้สอน
เป็นผูถ้ ่ำยทอดควำมรใู้ ห้แก่ผเู้ รยี นโดยกำรพดู บอกเลำ่ อธิบำยเนอ้ื หำเร่อื งเงินเฟ้อ เงินฝืด และกำรว่ำงงำน
6.ผู้เรียนหำข่ำวเกี่ยวกบั กำรเกิดเงินเฟ้อ และวเิ ครำะห์มำตรกำรที่รัฐบำลนำมำใช้ในกำรแก้ปัญหำ
ดังกล่ำว (15 – 20 บรรทัด)
7.ผู้เรียนแบ่งกลุ่มเพ่ือทำกำรวเิ ครำะห์เรอ่ื ง “กำรแก้ไขภำวะเงินเฟ้อจำเปน็ ต้องศึกษำต้นเหตุของเงนิ เฟ้อให้
ถูกต้อง จึงจะเลือกใช้มำตรกำรแกไ้ ขใหบ้ รรลุผลและไม่สรำ้ งควำมเสียหำย” ผเู้ รียนเห็นด้วยหรอื ไม่กบั ข้อควำมดงั กลำ่ ว
จำกนั้นนำเสนอหนำ้ ชัน้ เรยี น
8.ผู้เรียนแบง่ กลมุ่ เพ่ือทำกำรวิเครำะห์ “ผลกระทบของกำรเพม่ิ ขึน้ ของปริมำณเงินในระบบเศรษฐกิจว่ำมี
ผลกระทบต่อระบบเศรษฐกจิ อย่ำงไร” จำกนน้ั นำเสนอหน้ำช้ันเรียน
9.ผเู้ รียนแสดงควำมคดิ เหน็ ว่ำ “เศรษฐกิจไทยในปีนี้คำดวำ่ จะมอี ัตรำกำรเติบโต 8.5% และคำดว่ำจะเกิดภำวะ
เงนิ เฟ้อในอัตรำไมต่ ำ่ กว่ำ 5% ให้ท่ำนเสนอแนะรฐั บำลในกำรควบคมุ ภำวะเงนิ เฟ้อและใชม้ ำตรกำรทำงกำรเงนิ ” ให้
ผู้เรียนช่วยกันวเิ ครำะห์ขอ้ ควำมข้ำงต้น และสง่ ครูผสู้ อนในชน้ั เรียน

ขัน้ สรุปและการประยกุ ต์
11.ผูเ้ รียนสรปุ วำ่ เงินเฟ้อ หมำยถึง ภำวะทร่ี ำคำสนิ ค้ำโดยทวั่ ๆ ไปเพิ่มสูงข้ึนเรื่อยๆ อย่ำงตอ่ เน่ือง
เคร่ืองมอื ที่ใช้วัดกำรเปลีย่ นแปลงของรำคำ คือ ดชั นีรำคำ ซงึ่ เป็นเคร่ืองมือวัดรำคำเฉล่ยี ของสินค้ำจำนวนหน่งึ ของปใี ด
ปีหน่ึงเปรยี บเทียบกับรำคำเฉลย่ี ของสนิ คำ้ ในปฐี ำน สำหรับสำเหตขุ องกำรเกิดเงินเฟ้อแบ่งได้ 2 ประกำร คือ เกิดจำก

99

แรงดึงของอุปสงค์ และเกดิ จำกแรงผลักดนั ทำงด้ำนอุปทำน ในกำรแก้ปัญหำนี้ สำมำรถใช้นโยบำยกำรเงนิ นโยบำย

กำรคลัง และนโยบำยอืน่ ๆ เชน่ กำรใช้นโยบำยกำรเงินแบบเข้มงวด หรือใช้นโยบำยกำรคลงั แบบหดตัว เพอ่ื ลด

ปรมิ ำณเงินในระบบเศรษฐกิจให้นอ้ ยลง เปน็ ตน้

12. ผู้เรียนสรปุ วำ่ เงินฝืด เปน็ ภำวะทร่ี ะดับรำคำสนิ ค้ำโดยท่วั ๆ ไปลดลงเร่อื ยๆ และต่อเน่อื ง สำเหตทุ ี่ทำให้เกดิ

ก็คอื อุปสงค์มวลรวมน้อยกวำ่ อปุ ทำนมวลรวม สนิ คำ้ เกิดลน้ ตลำด ผู้ผลิตจงึ ลดปริมำณกำรผลิตให้น้อยลง จงึ เกดิ

ปญั หำกำรว่ำงงำนตำมมำ กำรแกป้ ญั หำนี้สำมำรถทำไดโ้ ดยกำรใชน้ โยบำยกำรเงินแบบผอ่ นคลำย หรือใชน้ โยบำยกำร

คลงั แบบผอ่ นคลำย เปน็ ต้น สว่ นปัญหำกำรวำ่ งงำนเกิดขึ้นในระบบเศรษฐกิจ จะทำให้เกิดควำมสญู เสยี ทำงเศรษฐกจิ

ขน้ึ สำเหตุของกำรว่ำงงำน มี 3 สำเหตุ คอื กำรว่ำงงำนตำมปกติ กำรว่ำงงำนตำมโครงสรำ้ ง และกำรวำ่ งงำนตำมวฏั

จกั รธรุ กิจ ในกำรแก้ปญั หำโดยใช้นโยบำยกำรเงิน กำรใช้นโยบำยกำรคลังหรือนโยบำยอ่ืน ๆ เช่น กำรลดคำ่ เงิน กำร

เพ่ิมอปุ สงคม์ วลรวม หรือกำรฝกึ อบรมแรงงำนให้มปี ระสิทธิภำพในกำรผลติ เปน็ ต้น
13.ผูเ้ รียนทำใบงำน แบบประเมนิ ผลกำรเรยี นรู้ และประเมินตนเองจำกแบบประเมินตนเอง พร้อมทำกจิ กรรม
กำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้

14.ประเมินผ้เู รียนตำมแบบฟอรม์ ต่อไปนี้

ชอื่ ผ้เู รยี น ประสบกำรณ์พ้นื ฐำนกำรเรียนรู้ วธิ ีกำรเรยี นรู้
ควำมรู้ ทักษะ ผลงำน

1.

2.

3.

4.

5.

สอ่ื และแหล่งการเรียนรู้
1.หนังสอื เรยี น วิชำหลกั เศรษฐศำสตร์
2.รปู ภำพ
3.กจิ กรรมกำรเรียนกำรสอน
4.สอ่ื อิเล็กทรอนิกส์ , Power Point
5.แบบประเมนิ ผลกำรเรยี นรู้
6.เครือ่ งมือและอุปกรณ์

หลกั ฐาน
1.บนั ทกึ กำรสอน
2.ใบเชค็ รำยช่อื
3.แผนจัดกำรเรียนรู้
4.กำรตรวจประเมนิ ผลงำน

การวัดผลและการประเมนิ ผล
วธิ วี ดั ผล
1. สงั เกตพฤตกิ รรมรำยบุคคล

100

2. ประเมินพฤติกรรมกำรเขำ้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่
3 ตรวจกจิ ใบงำน
4. ตรวจแบบประเมนิ ผลกำรเรียนรู้
5. กำรสงั เกตและประเมินพฤติกรรมด้ำนคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่ำนยิ ม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์

เครือ่ งมือวดั ผล
1. แบบสังเกตพฤติกรรมรำยบุคคล
2. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมกำรเข้ำรว่ มกิจกรรมกลุ่ม
3. ใบงำน
4. แบบประเมินกำรเรียนรู้
5. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม คำ่ นยิ ม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและผ้เู รยี นร่วมกัน

ประเมนิ
เกณฑ์การประเมินผล
1. เกณฑ์ผำ่ นกำรสังเกตพฤตกิ รรมรำยบคุ คล ต้องไมม่ ชี ่องปรับปรุง
2. เกณฑผ์ ำ่ นกำรประเมนิ พฤติกรรมกำรเข้ำร่วมกิจกรรมกลุม่ คือ ปำนกลำง (50 % ขน้ึ ไป)
3. เกณฑผ์ ำ่ นกำรสงั เกตพฤติกรรมกำรเข้ำรว่ มกจิ กรรมกลุ่ม คือ ปำนกลำง (50% ข้ึนไป)
4. ใบงำนมเี กณฑผ์ ำ่ น 50%
5. แบบประเมินผลกำรเรยี นรู้ มีเกณฑผ์ ำ่ น 50%
6. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่ำนยิ ม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนข้ึนอยู่กับกำร
ประเมินตำมสภำพจรงิ

101

กิจกรรมเสนอแนะ
1.ผู้เรยี นศึกษำเงินเฟอ้ เงนิ ฝดื กำรว่ำงงำน และกำรแกไ้ ขปญั หำเศรษฐกจิ มหภำคเพิ่มเตมิ
2.บันทึกรำยรบั -รำยจำ่ ย

คาชแ้ี จง : ใหบ้ นั ทกึ บญั ชีรำยรบั -รำยจ่ำย ตำมควำมเปน็ จรงิ

1. จำกกำรลงบันทึกมีเงนิ เหลอื เกบ็ หรอื ไม่……………เพรำะเหตุใด………………..………….………
2. จะเกิดอะไรขึ้นถำ้ มรี ำยจำ่ ยมำกกวำ่ รำยรับ………………………..…………….………………….…

102

บันทึกหลังการสอน

ข้อสรุปหลังการสอน
............................................................................................................................. ..................
.......................................................................................... .....................................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
ปัญหาที่พบ
............................................................................................................................. ..................
............................................................................................... ................................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
แนวทางแก้ปัญหา
............................................................................................................................. ..................
................................................................................................ ...............................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
............................................................................................................................. ..................
................................................................................................................ ..............................
............................................................................................................................. ..................

แผนการจดั การเรียนร้แู บบบูรณาการท่ี 16 103
รหัส 30200-1001 วิชาหลกั เศรษฐศาสตร์ 3-0-3
ชื่อหน่วย/เร่อื ง การค้าและการเงนิ ระหว่างประเทศ หนว่ ยที่ 13
สอนครงั้ ท่ี 16 (46-48)

จานวน 3 ช.ม.

สาระสาคญั
ในระบบเศรษฐกจิ แบบเปิดประเทศจะมีกำรติดต่อค้ำขำยและดำเนนิ กจิ กรรมทำงเศรษฐกิจร่วมกนั ไมว่ ำ่ จะเป็น

กำรส่งออก กำรนำเข้ำสนิ คำ้ กำรลงทนุ จำกต่ำงประเทศ กำรเดนิ ทำงไปทำงำนในต่ำงประเทศ หรอื กำรเดนิ ทำงไป
ท่องเทย่ี วตำ่ งประเทศ กจิ กรรมทำงเศรษฐกจิ เหล่ำน้ีเป็นผลเน่ืองมำจำกนโยบำยกำรค้ำตำ่ งประเทศ อตั รำแลกเปลยี่ น
อตั รำดอกเบยี้ และยงั กอ่ ใหเ้ กิดควำมเจรญิ เติบโตทำงเศรษฐกิจอกี ดว้ ย

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
1 อธิบำยควำมหมำยและควำมสำคญั ของกำรค้ำระหวำ่ งประเทศได้
2 อธิบำยถึงควำมจำเป็นทต่ี ้องมกี ำรค้ำระหว่ำงประเทศ ควำมแตกต่ำงของกำรคำ้ ระหวำ่ งประเทศและกำรค้ำ
ภำยในประเทศ และประโยชน์ทเ่ี กิดจำกกำรค้ำระหวำ่ งประเทศได้
3 อธิบำยเกย่ี วกบั นโยบำยกำรคำ้ ระหวำ่ งประเทศได้
4 อธบิ ำยเกีย่ วกบั ตลำดเงนิ ตรำต่ำงประเทศและกำรกำหนดอัตรำแลกเปลยี่ นเงินตรำระหว่ำงประเทศได้
5 อธบิ ำยเก่ยี วกับกำรแก้ไขปัญหำดลุ กำรชำระเงนิ ได้
6 อธิบำยพัฒนำกำรกำหนดอัตรำแลกเปลย่ี นเงนิ ตรำต่ำงประเทศของไทย
7.มกี ำรพฒั นำคุณธรรม จรยิ ธรรม คำ่ นิยม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ของผู้สำเรจ็ กำรศกึ ษำ สำนักงำน
คณะกรรมกำรกำรอำชีวศกึ ษำ ท่คี รสู ำมำรถสังเกตไดข้ ณะทำกำรสอนในเรือ่ ง
7.1 ควำมมมี นุษยสัมพันธ์
7.2 ควำมมวี ินัย
7.3 ควำมรบั ผิดชอบ
7.4 ควำมซอื่ สตั ยส์ ุจริต
7.5 ควำมเชือ่ มนั่ ในตนเอง
7.6 กำรประหยดั
7.7 ควำมสนใจใฝ่รู้
7.8 กำรละเวน้ ส่งิ เสพติดและกำรพนัน
7.9 ควำมรกั สำมัคคี
7.10 ควำมกตัญญกู ตเวที

สมรรถนะรายวิชา
1.แสดงควำมรู้ควำมเข้ำใจเก่ียวกบั เศรษฐศำสตร์ท่สี ำคญั ต่อกำรดำเนินธรุ กจิ
2.ประยุกตห์ ลักเศรษฐศำสตร์ไปใช้ในงำนอำชพี และชีวติ ประจำวนั
3.ปฏบิ ัติงำนด้วยควำมมีคุณธรรม จริยธรรม ค่ำนยิ ม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ตำมหลักปรัชญำของ

เศรษฐกิจพอเพียง

104

เนอื้ หาสาระ
1 ควำมหมำยและควำมสำคัญของกำรคำ้ ระหวำ่ งประเทศ
2 ควำมจำเป็นทต่ี ้องมีกำรค้ำระหว่ำงประเทศ
3 ประโยชน์ของกำรคำ้ ระหว่ำงประเทศ
4 นโยบำยกำรคำ้ ระหว่ำงประเทศ
5 ตลำดเงินตรำตำ่ งประเทศและกำรกำหนดอตั รำแลกเปลีย่ นเงินตรำต่ำงประเทศ
6 ดลุ กำรชำระเงนิ ระหว่ำงประเทศ
7 พฒั นำกำรกำหนดอตั รำแลกเปลยี่ นเงนิ ตรำต่ำงประเทศของไทย

กิจกรรมการเรยี นรู้
ขนั้ นาเขา้ ส่บู ทเรียน
1.ครแู ละผู้เรยี นสนทนำถึงกำรคำ้ ระหว่ำงประเทศเป็นช่องทำงที่ทำใหป้ ระเทศได้รับสนิ ค้ำและบรกิ ำร วัตถดุ ิบ

ตำ่ งๆ และเทคโนโลยีกำรผลิตทีท่ ันสมัยที่ประเทศไมส่ ำมำรถผลติ ได้ หรอื ผลติ ไดไ้ ม่ทัดเทียมกบั คู่ค้ำ หรอื สินคำ้ ทผ่ี ลติ
ไดไ้ มเ่ พยี งพอกบั ควำมต้องกำรของคนในประเทศ นอกจำกนย้ี ังเปน็ ชอ่ งทำงทท่ี ำใหป้ ระเทศได้กระจำยสินค้ำตำ่ งๆ ที่
ประเทศผลติ ไดเ้ กินควำมต้องกำรในประเทศ กำรคำ้ ระหว่ำงประเทศจะเก่ียวข้องกบั กำรแลกเปล่ียนเงนิ ตรำ
ตำ่ งประเทศ เพือ่ กำรชำระเงินระหว่ำงประเทศ เพ่ือให้เกดิ ควำมร้คู วำมเข้ำใจในเรื่องของไฟฟำ้ ไดด้ มี ำกขน้ึ และนำไป
ประยกุ ต์ใช้ในชวี ติ ประจำวันไดต้ ่อไป

2.ครูแสดงรูปภำพประกอบกำรอภิปรำยกำรค้ำและกำรเงินระหว่ำงประเทศ

ขัน้ สอน
3.ครใู ช้เทคนคิ กำรสอนแบบ Lecture Method กำรจดั กำรเรยี นรู้แบบบรรยำย คือ กระบวนกำรเรยี นรู้ที่
ผู้สอนเปน็ ผถู้ ่ำยทอดควำมรู้ให้แก่ผเู้ รยี นโดยกำรพูดบอกเล่ำ อธิบำยเรื่องควำมหมำยและควำมสำคญั ของกำรค้ำ
ระหว่ำงประเทศ
4.ครใู ช้เทคนิคกำรสอนแบบ Discussion Method กำรจัดกำรเรยี นรูแ้ บบอภิปรำยควำมจำเป็นท่ีตอ้ งมกี ำรคำ้
ระหวำ่ งประเทศ
5.ครแู ละผูเ้ รยี นบอกประโยชน์ของกำรค้ำระหว่ำงประเทศ และอธบิ ำยนโยบำยกำรค้ำระหวำ่ งประเทศ
6.ครูและผู้เรยี นใช้เทคนิคกำรสอน Small Group Discussion กำรจดั กำรเรียนรโู้ ดยใช้กำรอภปิ รำยกลุ่มย่อย
คอื กระบวนกำรเรยี นรู้ทผ่ี สู้ อนจัดกล่มุ ผูเ้ รียนออกเป็นกลุ่มย่อยประมำณ 4 – 8 คน ใหผ้ ู้เรียนในกลุ่มมีโอกำส
สนทนำแลกเปลยี่ นข้อมลู ควำมคิดเห็น ประสบกำรณ์ในประเด็นหรือปัญหำทกี่ ำหนด และสรปุ ผลกำรอภปิ รำย
ออกมำเป็นข้อสรุปของกลมุ่ เรื่องตลำดเงินตรำต่ำงประเทศและกำรกำหนดอัตรำแลกเปลี่ยนเงินตรำตำ่ งประเทศ
และดลุ กำรชำระเงินระหว่ำงประเทศ
7.ครแู ละผู้เรียนใชเ้ ทคนคิ กำรจัดกำรเรียนร้แู บบบรรยำย คือ กระบวนกำรเรยี นรูท้ ผี่ สู้ อนเป็นผถู้ ่ำยทอดควำมรู้
ใหแ้ กผ่ ูเ้ รยี นโดยกำรพดู บอกเลำ่ อธบิ ำยเนื้อหำเร่ืองกำรพัฒนำกำรกำหนดอตั รำแลกเปลีย่ นเงนิ ตรำต่ำงประเทศ
ของไทย
8.ผเู้ รยี นหำขำ่ วเก่ยี วกบั กำรค้ำระหว่ำงประเทศ เช่น กำรสง่ ออกสนิ ค้ำ กำรนำเข้ำสนิ คำ้ รำคำนำ้ มนั รำคำ
พืชผลทำงกำรเกษตร เป็นตน้ โดยวิเครำะห์สำเหตุ กำรแก้ปญั หำ และผลที่มตี ่อดุลกำรค้ำ
และดุลกำรชำระเงนิ
9.ผู้เรียนอธิบำย “รำยได้ประชำชำตดิ ุลยภำพในระบบเศรษฐกิจแบบปดิ อำจเท่ำกับระบบเศรษฐกิจแบบเปิด”
ผเู้ รียนเห็นดว้ ยหรือไมก่ ับข้อควำมข้ำงต้น อธิบำยพรอ้ มแสดงเหตุผลประกอบ

105

10.ผู้เรียนอธิบำย “ประเทศท่ีมบี ญั ชีเดนิ สะพดั เกินดลุ ประเทศนนั้ ต้องมีบญั ชดี ุลกำรชำระเงินเกนิ ดลุ ดว้ ย”
ผู้เรยี นเหน็ ดว้ ยหรอื ไม่กับข้อควำมขำ้ งตน้ อธบิ ำยพรอ้ มแสดงเหตุผลประกอบ

11.ผู้เรยี นแบ่งกลุ่มเพื่อวิเครำะห์เรอ่ื ง “กำรทสี่ หภำพยุโรป (EU) สัง่ หำ้ มนำเข้ำกุ้งแชแ่ ข็งจำกไทย ส่งผลตอ่
ดลุ กำรชำระเงนิ และอัตรำแลกเปลย่ี นอย่ำงไร” จำกน้ันทำสง่ ครูผู้สอน

12.ครเู น้นใหผ้ ู้เรยี นให้ปฏบิ ตั ิงำนด้วยควำมความระมัดระวัง เพื่อเป็นการสร้างภูมิคุ้มกนั ทดี่ ใี นตัวเอง

ข้ันสรุปและการประยุกต์
13.ครแู ละผู้เรียนรว่ มกันสรุปเนอื้ หำกำรไดเ้ ปรียบโดยเปรยี บเทยี บ ถึงแม้ว่ำประเทศหนึ่งจะอย่ใู นฐำนะ
เสยี เปรียบอีกประเทศหนง่ึ ในกำรผลติ สนิ ค้ำทกุ ชนิดกต็ ำม ประเทศท้ังสองย่อมทำกำรค้ำต่อกนั ไดโ้ ดยแต่ละประเทศจะ
เลือกผลิตเฉพำะสนิ ค้ำทีต่ นได้เปรียบ จะทำใหป้ ระเทศตนสำมำรถผลติ สนิ คำ้ ไดด้ ว้ ยตน้ ทุนตำ่ สุด แลว้ นำไปแลกเปลยี่ น
กบั อีกประเทศหนงึ่ ท้ังสองประเทศกจ็ ะไดร้ ับประโยชนจ์ ำกกำรค้ำระหว่ำงประเทศ สำหรบั นโยบำยกำรคำ้ ระหวำ่ ง
ประเทศมี 2 นโยบำยใหญ่ๆ คอื นโยบำยกำรคำ้ เสรี เปน็ นโยบำยกำรคำ้ ท่ีไม่สนับสนนุ กำรเกบ็ ภำษีศุลกำกรในอัตรำท่ี
สูง และพยำยำมขจัดข้อจำกดั ตำ่ งๆ ทีข่ ัดขวำงกำรค้ำระหวำ่ งประเทศ และนโยบำยกำรค้ำค้มุ กัน เป็นนโยบำยที่
คุม้ ครองเศรษฐกจิ ของประเทศ ซง่ึ มคี วำมสำมำรถไมเ่ ทำ่ กัน กำรใช้
นโยบำยคุ้มกันกเ็ พ่ือช่วยเหลืออุตสำหกรรมทำรกโดยกำรตงั้ กำแพงภำษี ซ่ึงจะชว่ ยใหร้ ัฐมีรำยได้จำกภำษีนำเขำ้ มี
อำนำจต่อรองและควำมมั่นคงทำงกำรเมืองระหว่ำงประเทศ
14.ครกู ล่ำววำ่ อตั รำแลกเปลี่ยนเงินตรำตำ่ งประเทศ ใช้เปน็ สื่อกลำงในกำรซื้อขำยแลกเปลยี่ นในกำรติดต่อทำ
กำรคำ้ ระหว่ำงประเทศ ประเทศคู่คำ้ จะบนั ทกึ รำยกำรกำรคำ้ ท่ีเกิดข้นึ เพ่ือทรำบผลกำรค้ำทีไ่ ดด้ ำเนนิ ไปในแตล่ ะปี ซ่ึง
มี 2 ลกั ษณะ คอื ดุลกำรค้ำ และดลุ กำรชำระเงนิ ในกรณีท่ปี ระเทศมดี ลุ กำรชำระเงินขำดดลุ อำจเกิดจำกภยั
ธรรมชำติ มกี ำรลงทุนในโครงสร้ำงพื้นฐำนของประเทศเปน็ จำนวนมำก
15.ผเู้ รียนทำใบงำน และแบบประเมินผลกำรเรียนรู้

ส่อื และแหล่งการเรยี นรู้
1.หนังสือเรียน วชิ ำหลักเศรษฐศำสตร์
2.รูปภำพ
3.กิจกรรมกำรเรยี นกำรสอน
4.สอื่ อิเลก็ ทรอนิกส์ ,VDO และ Power Point
5.แบบประเมนิ ผลกำรเรยี นรู้
6.เครอ่ื งมอื และอุปกรณ์

หลกั ฐาน
1.บนั ทึกกำรสอน
2.ใบเชค็ รำยชื่อ
3.แผนจัดกำรเรียนรู้
4.กำรตรวจประเมินผลงำน

การวัดผลและการประเมนิ ผล
วิธวี ัดผล
1. สังเกตพฤติกรรมรำยบุคคล

106

2. ประเมินพฤติกรรมกำรเข้ำร่วมกิจกรรมกลุม่
3 ตรวจใบงำน
4. ตรวจแบบประเมินผลกำรเรยี นรู้
5. กำรสงั เกตและประเมินพฤติกรรมด้ำนคุณธรรม จริยธรรม ค่ำนิยม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์

เครือ่ งมอื วัดผล
1. แบบสังเกตพฤติกรรมรำยบุคคล
2. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมกำรเข้ำรว่ มกจิ กรรมกลุ่ม
3. ใบงำน
4. แบบประเมินผลกำรเรยี นรู้
5. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม คำ่ นิยม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ โดยครูและผ้เู รียนร่วมกัน

ประเมิน

เกณฑก์ ารประเมินผล
1. เกณฑ์ผำ่ นกำรสงั เกตพฤติกรรมรำยบคุ คล ต้องไม่มีช่องปรับปรงุ
2. เกณฑ์ผำ่ นกำรประเมินพฤติกรรมกำรเข้ำร่วมกจิ กรรมกล่มุ คือ ปำนกลำง (50 % ขนึ้ ไป)
3. เกณฑผ์ ่ำนกำรสังเกตพฤตกิ รรมกำรเขำ้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่ คือ ปำนกลำง (50% ขึน้ ไป)
4. ใบงำน มเี กณฑผ์ ่ำน 50%
5. แบบประเมนิ ผลกำรเรยี นรู้ มีเกณฑ์ผ่ำน 50%
6. แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม คำ่ นิยม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ คะแนนขนึ้ อยู่กับกำร
ประเมนิ ตำมสภำพจรงิ

107

กจิ กรรมเสนอแนะ
1.ศึกษำกำรค้ำและกำรเงนิ ระหว่ำงประเทศเพิ่มเติม
2.บนั ทึกรำยรบั และรำยจ่ำย

คาชแี้ จง : ให้บนั ทกึ บญั ชีรำยรบั -รำยจำ่ ย ตำมควำมเป็นจริง

1. จำกกำรลงบันทึกมีเงินเหลอื เก็บหรือไม่……………เพรำะเหตุใด………………..………….………
2. จะเกดิ อะไรขน้ึ ถ้ำมรี ำยจำ่ ยมำกกว่ำรำยรับ………………………..…………….………………….…

108

บันทึกหลังการสอน

ขอ้ สรปุ หลงั การสอน
................................................................................................................. ..............................
............................................................................................................................. ..................
................................................................................. .............................................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
ปัญหาที่พบ
.................................................................................................................................... ...........
....................................................................................................................... ........................
............................................................................................................................. ..................
....................................................................................... ........................................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
แนวทางแก้ปัญหา
............................................................................................................................. ..................
..................................................................................................................................... ..........
........................................................................................................................ .......................
............................................................................................................................. ..................
........................................................................................ ......................................................

109

แผนการจดั การเรยี นรู้แบบบูรณาการท่ี 17 หนว่ ยที่ 14
รหสั 30200-1001 วิชาหลักเศรษฐศาสตร์ 3-0-3 สอนคร้งั ท่ี17 (49-51)
ช่ือหน่วย/เรือ่ ง การพฒั นาเศรษฐกจิ และวฏั จกั รธรุ กิจ
จานวน 3 ช.ม.

สาระสาคญั
กำรพัฒนำเศรษฐกิจ เปน็ กำรเพิม่ รำยไดแ้ ละคณุ ภำพชวี ติ ใหก้ บั ประชำชน เพ่ือแก้ไขปัญหำดำ้ นกำรเจริญเติบโต

ทำงเศรษฐกิจ เสถยี รภำพทำงเศรษฐกจิ ควำมยำกจน กำรกระจำยรำยได้ และปญั หำสังคมในดำ้ นต่ำงๆ กำรพัฒนำ
เศรษฐกิจมักดำเนนิ ไปตำมแผนพัฒนำเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชำติที่วำงไว้

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1 อธบิ ำยควำมหมำยและควำมสำคัญของกำรพัฒนำเศรษฐกจิ ได้
2 อธิบำยหลกั เกณฑ์ในกำรวัดและปัจจัยพืน้ ฐำนในกำรพัฒนำเศรษฐกิจได้
3 อธบิ ำยบทบำทของรัฐบำลกับกำรพัฒนำเศรษฐกจิ ได้
4 อธิบำยเกย่ี วกบั วัตถปุ ระสงค์ และวธิ กี ำรในกำรวำงแผนพัฒนำเศรษฐกจิ ได้
5 ทำควำมเข้ำใจถงึ กำรวำงแผนกำรพัฒนำเศรษฐกิจของประเทศไทย
6 อธิบำยควำมเปน็ มำและสำมำรถประยุกตใ์ ช้ปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพยี งได้
7 อธิบำยกำรเปลยี่ นแปลงภำวะเศรษฐกจิ ตำมวฏั จักรธรุ กิจได้
8.มีกำรพฒั นำคุณธรรม จรยิ ธรรม คำ่ นยิ ม และคุณลักษณะอันพึงประสงคข์ องผู้สำเร็จกำรศกึ ษำ สำนักงำน
คณะกรรมกำรกำรอำชีวศึกษำ ที่ครสู ำมำรถสังเกตได้ขณะทำกำรสอนในเร่ือง
8.1 ควำมมมี นุษยสมั พนั ธ์
8.2 ควำมมวี ินัย
8.3 ควำมรับผดิ ชอบ
8.4 ควำมซ่อื สัตยส์ ุจรติ
8.5 ควำมเชือ่ มัน่ ในตนเอง
8.6 กำรประหยัด
8.7 ควำมสนใจใฝร่ ู้
8.8 กำรละเวน้ สง่ิ เสพติดและกำรพนนั
8.9 ควำมรักสำมัคคี
8.10 ควำมกตัญญกู ตเวที

สมรรถนะรายวิชา
1.แสดงควำมรู้ควำมเข้ำใจเก่ียวกับเศรษฐศำสตร์ทีส่ ำคญั ต่อกำรดำเนนิ ธุรกจิ
2.ประยุกตห์ ลักเศรษฐศำสตร์ไปใชใ้ นงำนอำชพี และชวี ติ ประจำวนั
3.ปฏิบัติงำนดว้ ยควำมมีคุณธรรม จริยธรรม ค่ำนิยม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ตำมหลกั ปรัชญำของ

เศรษฐกิจพอเพยี ง

เน้ือหาสาระ
1 ควำมหมำยและควำมสำคัญของกำรพัฒนำเศรษฐกิจ
2 หลกั เกณฑ์ในกำรวัดและปัจจัยพนื้ ฐำนในกำรพัฒนำเศรษฐกิจ
3 บทบำทของรัฐบำลกับกำรพัฒนำเศรษฐกิจ

110

4 กำรวำงแผนพฒั นำเศรษฐกิจ
5 กำรพัฒนำเศรษฐกิจและสงั คมของประเทศไทย
6 ควำมเป็นมำและกำรประยุกตใ์ ช้ปรชั ญำของเศรษฐกจิ พอเพียง
7 วัฏจักรธุรกิจ

กจิ กรรมการเรียนรู้
ขนั้ นาเขา้ สู่บทเรยี น
1.ครูกล่ำววำ่ กำรพัฒนำเศรษฐกิจนับเปน็ วตั ถปุ ระสงคข์ องประเทศต่ำงๆ ในโลก ทจ่ี ะทำใหป้ ระชำชนใน

ประเทศมรี ำยได้เพ่ิมข้นึ มมี ำตรฐำนกำรครองชีพทีส่ งู ข้ึน และเพ่มิ ควำมสำมำรถในทำงเศรษฐกิจของประชำชน ซ่งึ เปน็
กำรเพ่ิมคณุ ภำพชีวิต ในแตล่ ะปจี ะมีกำรจัดทำแผนงำนต่ำงๆ เพ่ือให้บรรลุเปำ้ หมำยท่ีกำหนดไว้ ดง้ั นน้ั กำรพัฒนำ
เศรษฐกิจทด่ี จี ะชว่ ยให้รำยได้ประชำชำติที่แทจ้ ริงของประเทศเพิ่มขี้นในระยะยำว เมอื่ ประชำชนในประเทศมีรำยได้
เพ่มิ ขึ้น กำรปรบั ปรุงคุณภำพของชวี ิตให้ดขี ึ้นก็จะตำมมำ ควำมเป็นอย่ขู องประชำชน ส่วนใหญ่จะดีขน้ึ ควำมเหลือ่ ม
ล้ำในกำรกระจำยรำยได้และควำมยำกจนจะหมดไป เม่ือได้รบั ส่ิงจำเป็นต่อกำรดำรงชวี ิต

2.ครูแนะนำให้ผ้เู รยี นทบทวนบทเรยี นสำหรบั เตรียมสอบปลำยภำค

ข้นั สอน
3.ครใู ชเ้ ทคนิควธิ กี ำรจดั กำรเรยี นรู้แบบอภิปรำย (Discussion Method) คอื กระบวนกำรท่ผี สู้ อนมุ่งให้
ผูเ้ รยี นมีโอกำสสนทนำแลกเปล่ียนควำมคิดเหน็ หรือระดมควำมคดิ โดยมจี ดุ มุง่ หมำยเพ่ือให้ผเู้ รียนเข้ำใจเนื้อหำได้อย่ำง
มีประสิทธภิ ำพ โดยมีวิธีกำรคือ ให้ผูเ้ รียนช่วยกันอภปิ รำยเน้ือหำควำมหมำยและควำมสำคญั ของกำรพัฒนำเศรษฐกจิ
4.ครูและผเู้ รยี นใช้เทคนิคกำรสอนแบบ Small Group Discussion กำรจดั กำรเรียนรโู้ ดยใชก้ ำรอภิปรำย
กลุ่มยอ่ ย คือ กระบวนกำรเรียนรูท้ ผี่ ้สู อนจัดกลุ่มผ้เู รยี นออกเป็นกลุ่มย่อยประมำณ 4 – 8 คน ให้ผู้เรียนในกลมุ่ มี
โอกำสสนทนำแลกเปลีย่ นข้อมลู ควำมคิดเหน็ ประสบกำรณใ์ นประเดน็ หรือปัญหำทก่ี ำหนด และสรุปผลกำรอภิปรำย
ออกมำเป็นข้อสรุปของกลมุ่ ในเหลกั เกณฑ์ในเรื่องกำรวัดและปัจจยั พน้ื ฐำนในกำรพัฒนำเศรษฐกิจ
และบทบำทของรฐั บำลกบั กำรพัฒนำเศรษฐกิจ
5.ครูใชเ้ ทคนคิ กำรสอนแบบ Discussion Method กำรจดั กำรเรียนรแู้ บบอภปิ รำยกำรวำงแผนพฒั นำ
เศรษฐกิจและกำรพัฒนำเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศไทย
6.ครูใช้เทคนคิ กำรสอนแบบ Integration กำรจดั กำรเรียนรู้แบบบรู ณำกำร หมำยถงึ กำรเรยี นรู้ที่
เชื่อมโยงศำสตรห์ รือเนื้อหำสำขำวิชำตำ่ ง ๆ ทมี่ ีควำมสมั พนั ธ์เกี่ยวข้องกันมำผสมผสำนเข้ำด้วยกนั เพื่อให้เกิดควำมรู้ที่
มคี วำมหมำย มีควำมหลำกหลำยและสำมำรถนำไปใช้ประโยชน์ไดจ้ ริงในชวี ิตประจำวันเร่ืองควำมเปน็ มำและกำร
ประยุกต์ใช้ปรชั ญำของเศรษฐกจิ พอเพียง และวัฏจักรธุรกิจ
7.ผเู้ รียนวิเครำะห์โอกำสและผลกระทบต่อภำคอตุ สำหกรรมไทยเมอ่ื เข้ำร่วมประชำคมเศรษฐกิจอำเซยี น
(AEC)
8.ผเู้ รียนแบ่งกลุ่มเพ่ือค้นคว้ำขอ้ มลู เร่ือง “เศรษฐกิจฟองสบคู่ ืออะไร ในกรณขี องประเทศไทย ปจั จยั สำคัญที่
บง่ ชีภ้ ำวะเศรษฐกจิ ฟองสบู่มีอะไรบ้ำง และอ่นื ๆ ทสี่ ำคญั ” จำกน้ันช่วยกันวิเครำะห์ และนำเสนอหนำ้ ช้นั เรยี น
9.ผเู้ รยี นแบ่งกลุ่มเพ่ือคน้ ควำ้ ข้อมลู เร่ือง “วิกฤตเศรษฐกจิ ปี 2540 ในประเทศไทยเกิดจำกสำเหตุอะไรบ้ำง”
จำกนน้ั วเิ ครำะห์ข้อมูล และนำเสนอหนำ้ ชนั้ เรยี น

ข้ันสรุปและการประเมนิ ผล

111

10.ครูและผเู้ รียนสรุปว่ำกำรพัฒนำเศรษฐกจิ จะได้ผลต้องอำศัยกำรวำงแผนนโยบำยและกำรดำเนินงำนที่ดอี ย่ำง
ต่อเนอ่ื ง และต้องไดร้ บั ควำมร่วมมือจำกทกุ ฝ่ำย จะชว่ ยใหก้ ำรพัฒนำเศรษฐกิจเป็นไปอยำ่ งรวดเรว็ และเป็นผลดีกับ
ทุกคน สำหรบั ประเทศกำลังพฒั นำจะมีลกั ษณะสำคญั คือสภำพทำงเศรษฐกจิ สนิ ค้ำสว่ นใหญ่เปน็ ผลผลิตทำง
กำรเกษตร และผลผลิตท่ีได้ไมแ่ น่นอน เน่ืองจำกกำรผลิตต้องอำศัยธรรมชำตเิ ป็นหลกั จำนวนประชำกรมีอตั รำกำร
เกดิ และอัตรำกำรตำยสงู มวี ัฒนธรรมประเพณีทีส่ บื ทอดกันมำเปน็ เวลำนำน จดุ มุง่ หมำยในกำรพัฒนำเศรษฐกิจคือ ทำ
ให้มำตรฐำนกำรครองชีพดขี น้ึ กำรกระจำยรำยได้มคี วำมเป็นธรรม ประชำชนมีงำนทำมีกำรอนุรกั ษ์
ทรัพยำกรธรรมชำติและสง่ิ แวดลอ้ ม และเปน็ มติ รกบั สงิ่ แวดล้อมภำยใต้หลักปรชั ญำของเศรษฐกจิ พอเพียงที่เน้นควำม
พอประมำณ ควำมมเี หตุผลกำรมภี ูมิค้มุ กัน ประกอบกับหลักคุณธรรม และควำมรู้ สำมำรถนำมำประยกุ ตใ์ ช้กับกำร
บรหิ ำรเศรษฐกิจของประเทศ เพอื่ กำรเจรญิ เติบโตทำงเศรษฐกจิ อยำ่ งมีคณุ ภำพที่ยงั่ ยืน และเพ่ือรกั ษำเสถียรภำพทำง
เศรษฐกจิ ในระยะสั้นได้อย่ำงมีประสิทธภิ ำพ

11.ผเู้ รยี นสรุปเนื้อหำ โดยวธิ ถี ำม–ตอบและซกั ถำมข้อสงสยั ผเู้ รียนทำแบบประเมนิ ผลกำรเรยี นรู้ และแบบ
ประเมนิ ตนเอง

ส่ือและแหล่งการเรยี นรู้
1.หนงั สือเรยี น วชิ ำหลกั เศรษฐศำสตร์
2.รปู ภำพ
3.กจิ กรรมกำรเรยี นกำรสอน
4.สอ่ื อิเล็กทรอนิกส์ , VDO, และ Power Pint
5.แบบประเมินผลกำรเรียนรู้
6.เครอื่ งมือและอุปกรณ์

หลักฐาน
1.บนั ทกึ กำรสอน
2.ใบเชค็ รำยช่อื
3.แผนจัดกำรเรยี นรู้
4.กำรตรวจประเมินผลงำน

การวัดผลและการประเมินผล
วิธีวัดผล
1. สงั เกตพฤติกรรมรำยบุคคล
2. ประเมนิ พฤติกรรมกำรเขำ้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่
3 ตรวจใบงำน
4. ตรวจแบบประเมินผลกำรเรียนรู้
5. กำรสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้ำนคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่ำนิยม และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์

เคร่ืองมอื วัดผล
1. แบบสังเกตพฤติกรรมรำยบคุ คล
2. แบบประเมินพฤติกรรมกำรเข้ำรว่ มกจิ กรรมกลุม่
3. ใบงำน

112

4. แบบประเมนิ ผลกำรเรียนรู้
5. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม คำ่ นิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและผเู้ รียนรว่ มกนั

ประเมิน

เกณฑ์การประเมนิ ผล
1. เกณฑผ์ ่ำนกำรสังเกตพฤตกิ รรมรำยบุคคล ต้องไมม่ ชี อ่ งปรับปรุง
2. เกณฑผ์ ำ่ นกำรประเมนิ พฤติกรรมกำรเขำ้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม คอื ปำนกลำง (50 % ขึน้ ไป)
3. เกณฑผ์ ่ำนกำรสังเกตพฤตกิ รรมกำรเขำ้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม คือ ปำนกลำง (50% ขึ้นไป)
4. ใบงำนมีเกณฑผ์ ำ่ น 50%
5. แบบประเมินผลกำรเรียนรู้ มีเกณฑผ์ ่ำน 50%
6. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม คำ่ นยิ ม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ คะแนนขน้ึ อยู่กับกำร
ประเมินตำมสภำพจรงิ

113

กิจกรรมเสนอแนะ
1.ศกึ ษำกำรพัฒนำเศรษฐกจิ และวัฏจักรธรุ กิจเพ่มิ เติม
2.บนั ทึกรำยรับ-รำยจ่ำยในชีวิตประจำวัน

คาชี้แจง : ให้บันทกึ บญั ชรี ำยรับ-รำยจำ่ ย ตำมควำมเปน็ จริง

1. จำกกำรลงบนั ทึกมีเงินเหลอื เก็บหรอื ไม่……………เพรำะเหตุใด………………..………….………
2. จะเกดิ อะไรขน้ึ ถำ้ มีรำยจำ่ ยมำกกวำ่ รำยรับ………………………..…………….………………….…

114

บันทึกหลังการสอน

ขอ้ สรุปหลังการสอน
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
............................................................................................................................. ..................
ปัญหาที่พบ
......................................................................................... ......................................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
แนวทางแก้ปัญหา
............................................................................................................................. ..................
.......................................................................................... .......................................................
............................................................................................................................. ....................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................

115

แผนการจัดการเรยี นร้แู บบบูรณาการท่ี 18 หน่วยที่ -
รหสั 30200-1001 วิชาหลกั เศรษฐศาสตร์ 3-0-3 สอนครัง้ ที่ 18 (52-54)
ชอ่ื หน่วย/เรือ่ ง ทบทวน/สอบปลำยภำคเรยี น
จานวน 3 ช.ม.

สาระสาคัญ
จำกกำรทผ่ี ้เู รียนไดศ้ ึกษำวชิ ำน้ี จะได้รบั ควำมรคู้ วำมเข้ำใจ และเกดิ ทักษะกำรฝกึ ปฏิบัติกจิ กรรมกำรเรียนโดย

เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลำง ให้ผเู้ รียนฝึกคิด เพ่ือใหส้ อดคล้องกับพระรำชบัญญตั ิกำรศึกษำแห่งชำติ
พ.ศ. 2542 (แก้ไขปรับปรุงเพ่ิมเติม พ.ศ. 2545) โดยยึดหลักกำรนำไปใช้ให้เกดิ ไปประโยชนใ์ นกำรพฒั นำสังคม พร้อม
ท้งั นำหลักคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่ำนยิ ม และคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ของผู้สำเรจ็ กำรศึกษำ สำนกั งำนคณะกรรมกำร
กำรอำชวี ศึกษำ มำประยุกต์ใชก้ บั กิจกรรมกำรเรียนอยำ่ งเหมำะสม
จุดประสงค์การเรียนรู้

1. นำเรือ่ งท่ที บทวนตำมเนอ้ื หำวชิ ำไปใช้ประโยชน์ได้
2. แจง้ คะแนนระหว่ำงภำคเรียนใหผ้ ้เู รยี น
3. แก้ปัญหำกำรเรียนของผู้เรียนได้
4. ผเู้ รยี นนำควำมร้ทู ศี่ ึกษำมำไปสอบปลำยภำคเรยี นได้
5. มีกำรพฒั นำคณุ ธรรม จริยธรรม คำ่ นยิ ม และคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคข์ องผ้สู ำเรจ็ กำรศึกษำสำนักงำน
คณะกรรมกำรกำรอำชวี ศึกษำ ท่ีครสู ำมำรถสงั เกตได้ขณะทำกำรสอนในเรื่อง

5.1 ควำมมมี นุษยสัมพนั ธ์
5.2 ควำมมีวินยั
5.3 ควำมรบั ผดิ ชอบ
5.4 ควำมซอื่ สตั ยส์ ุจริต
5.5 ควำมเชอ่ื มั่นในตนเอง
5.6 กำรประหยัด
5.7 ควำมสนใจใฝร่ ู้
5.8 กำรละเวน้ ส่ิงเสพติดและกำรพนนั
5.9 ควำมรกั สำมัคคี
5.10 ควำมกตญั ญกู ตเวที
สมรรถนะรายวิชา
1.แสดงควำมรู้ควำมเข้ำใจเก่ียวกบั เศรษฐศำสตร์ที่สำคญั ต่อกำรดำเนินธุรกจิ
2.ประยุกตห์ ลกั เศรษฐศำสตร์ไปใชใ้ นงำนอำชีพและชวี ติ ประจำวัน
3.ปฏิบตั ิงำนด้วยควำมมีคุณธรรม จริยธรรม คำ่ นิยม และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ตำมหลกั ปรัชญำของ
เศรษฐกจิ พอเพียง

เนือ้ หาสาระ
1. ทบทวนเนือ้ หำวชิ ำท่ีไดศ้ ึกษำมำแบบย่อ
2. รวบรวมคะแนนระหวำ่ งภำคเรยี น
3. ปญั หำกำรเรยี นของผเู้ รียน
4. สอบปลำยภำคเรียน

116

กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครแู จง้ ใหผ้ เู้ รียนทรำบคะแนนระหวำ่ งภำค และกลำงภำค จุดประสงค์ท่ีผเู้ รียนยังไม่ไดป้ ฏิบัติ หรอื ไมผ่ ำ่ น
หรอื ไม่ได้สอบ ใหผ้ เู้ รยี นดำเนินกำรโดยพบครผู ู้สอนกำหนดวนั เวลำท่ีจะปฏิบัตหิ รือสอบ หรอื เรยี น
เพ่มิ เติม
2. ผูเ้ รียนรับทรำบจุดประสงค์กำรสอบปลำยภำควำ่ จะมีกำรสอบเรอ่ื งใดบ้ำง ผู้เรยี นไมเ่ ขำ้ ใจเร่อื งใดก็ให้
ซักถำม
3. ครแู ละผู้เรียนร่วมกันทบทวนบทเรียนทีผ่ ำ่ นมำโดยสรปุ

สอื่ และแหล่งการเรียนรู้
1.ขอ้ มูลกำรเกบ็ คะแนน
2.จุดประสงค์กำรสอบปลำยภำค

หลักฐาน 1.ใบเช็ครำยชือ่ เข้ำห้องเรยี น และเข้ำห้องสอบ
2.ข้อสอบ
3.เอกสำรในกำรสอบตำ่ ง ๆ

การวดั ผลและการประเมินผล
เป็นไปตำมเกณฑท์ ี่ไดแ้ จ้งไว้ในแผนกำรจดั กำรเรียนร้สู ัปดำห์ที่ 1-18

กิจกรรมเสนอแนะ
แจง้ กำรประเมนิ ผลท่ีติด ร, มส

117

บันทึกหลังการสอบ

ข้อสรปุ หลังการสอน
............................................................................................................................... ................
.................................................................................................................. .............................
..............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
ปญั หาที่พบ
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
..................................................................................................................................... ..........
........................................................................................................................ .......................
……………………………………………………………………………………………………………………………
แนวทางแก้ปญั หา
............................................................................................................................. ..................
...............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................
............................................................................................................................. ..................
......................................................................................................... ......................................
............................................................................................................................. .................
...............................................................................................................................................


Click to View FlipBook Version