The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือ-สุพรรษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สุพรรษา ธรรมสโรช, 2022-10-14 10:32:47

คู่มือ-สุพรรษา

คู่มือ-สุพรรษา

51

4. ห้องเรียน (Classroom) ในห้องเรียนแบบเดิมๆ ใครที่เป็นผู้กระทำมากท่ีสุดถ้าไม่ใช่
ผทู้ พ่ี ูด ถ้าคณุ อยู่ในห้องเรยี นกลับดา้ น (Flipped Classroom) แตค่ ุณยังเป็นคนเดียวหรือเป็นคนหลัก
ที่พูดในห้องทั้งหมด แสดงว่าคุณปฏิบัติเก่ียวกับห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom) ไม่ถูกต้อง
และคุณจะยงิ่ เหน่ือยมากขึ้นไปอีกเพราะตอ้ งทำงานท้ังหมดที่คุณต้องทำเพื่อกลับดา้ นห้องเรียนแล้วยัง
ต้องทำงานในปริมาณและจังหวะที่เท่าเดิมท่ีเคยทำก่อนหน้าจะกลับด้าน น่นั ไม่ใช่วิธขี องการกลับด้าน
ดังนน้ั อยา่ ลมื ไตรต่ รองถงึ แง่มมุ นัน้ บา้ ง

ในหอ้ งเรียนกลบั ดา้ น (Flipped Classroom) เสียงของนกั เรียนของคุณ คือเสยี งหลักทีค่ ุณ
ควรรับฟัง และหากพวกเขานั่งในลักษณะท่ีพวกเขาได้แต่จ้องมองท่ีด้านหลังศีรษะของเพื่อนนักเรียน
คนอ่ืนโดยท่ีไม่สามารถเคล่ือนไหวและสนทนาได้อย่างยืดหยุ่นมากนัก แสดงว่าการจัดห้องเรียนของ
คณุ ก็ไม่เอือ้ ตอ่ สภาพแวดล้อมในห้องเรียนอย่างท่ีคุณต้องการ

แต่ทุกคนไม่สามารถไปปรึกษาอาจารย์ใหญ่และขอซ้ือโต๊ะ/เก้าอี้/โต๊ะเรียนแบบพิเศษอะไร
ก็ได้ที่ต้องการ” ใช่แล้วคุณพูดถูก คุณไม่จำเป็นต้องมีของใช้ท่ีไม่ธรรมดาท้ังหมด เช่น โต๊ะ เก้าอ้ี
ลอ้ เล่อื น ฯลฯ ส่ิงที่ควรมีข้ันพ้ืนฐาน คือ: 1) ศูนยเ์ พ่ือปฏิบัติการบางอย่างท่ีนักเรียนสามารถไปทำการ
จดบันทึกเม่ือพวกเขาไม่ได้ทำการบันทึกตามกำหนด (หมายเหตุ อย่าทำให้ศูนย์น้ีสะดวกสบาย เช่น
เก้าอ้ีนั่งแสนสบายเพราะมันจะเป็นรางวัล) และ 2) จัดกลุ่มโต๊ะทำงานที่คุณมีอยู่แล้วให้เป็นโต๊ะใหญ่
ซื้อลูกเทนนสิ เก่าจากครูพละ (หรอื ซื้อจากร้านขายเคร่อื งกีฬามือสอง) ใช้คัตเตอรม์ ากรีดทำเป็นรูใส่ขา
โต๊ะเพือ่ ใหง้ า่ ยต่อการเคล่ือนย้าย

มหี ลายส่ิงที่น่ารักๆ ท่ีคณุ สามารถทำได้ เช่น ทำเครอ่ื งหมายของทีมท่ีโต๊ะทีมดว้ ยหมายเลข
หรือชื่อ หรือเพียงแค่แปะเทปเป็นเคร่ืองหมายกากบาท (X) ไว้บนพ้ืน โดยรวมแล้วการนั่งเรียนเป็น
แถวแบบเดมิ ในหอ้ งเรียนกลบั ดา้ น (Flipped Classroom) นั้นไมค่ ่อยดีนัก

5. การเข้าถึง (Access) การสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom)
จำเป็นตอ้ งพ่งึ พาอปุ กรณ์และอินเทอร์เน็ตเป็นอย่างมาก การศึกษาจะไม่มีความเทา่ เทียมแก่นักเรยี นท่ี
ไมส่ ามารถเข้าถงึ เทคโนโลยดี งั กล่าว นับวา่ เปน็ ปญั หาใหญ่มาก และไม่สามารถมองข้ามผลกระทบของ
มัน แต่การเข้าถึงที่จำกัดในนักเรียนจำนวนหนึ่งจะไม่สามารถลดหรือทำให้คุณค่าของห้องเรียนกลับ
ด้านหมดไป ประเด็นสำคัญคือ ถ้าคุณได้สอนนักเรียนท่ีไม่สามารถเข้าถึงอุปกรณ์หรือ wifi ได้
เท่าที่ควร คุณจะต้องจัดเตรียมล่วงหน้าเพ่ือให้นักเรียนของคุณเข้าถึงเทคโนโลยีในทางใดทางหนึ่ง ซ่ึง
ไม่ได้หมายถึงการสร้างโครงการมูลค่า 1 แสนเหรียญบน DonorsChoose.org แต่หมายถึงการหาคน
มาช่วยคุณให้เร็วท่ีสุด ลองคิดถึงผู้บริหาร เพ่ือนร่วมงานท่ีเคยแก้ปัญหาเรื่องนี้มาก่อน มูลนิธิเพ่ือ
การศึกษา องค์กรปกครอง ครู (Parent – Teacher Organization : PTO) ของคุณ หรือใครก็ตามที่
อาจมีเครือข่ายท่ีจะช่วยให้คุณมีอุปกรณ์ในห้องของคุณ ซ่ึงอาจหมายถึงการสร้างโปรเจ็กต์
DonorsChoose.org สำหรบั อุปกรณ์บางประเภท (แต่ไมจ่ ำเปน็ ตอ้ งใช้งบสงู ถงึ 100,000 ดอลลาร)์

ลองก้าวถอยหลังดูภาพรวม นักเรียนของคุณสามารถเข้าถึงได้จากท่ีไหนสักแห่ง อาจเป็น
แค่ในห้อง อาจเป็นในศูนย์รวมส่ือต่าง ๆ หรือห้องสมุด ท่ีไหนก็ได้ที่นักเรียนเคยใช้ ดังน้ันให้ช่วย
นักเรียนเป็นรายบุคคล เพราะนักเรียนส่วนใหญ่สามารถเข้าถึงเทคโนโลยีได้อยู่แล้ว แต่คุณแค่กำลัง
เป็นห่วงเพียงไม่ก่ีคนที่ไม่มี ในการวางแผนและช่วยนักเรียนเมื่อถึงเวลาที่จะต้องดูวิดีโอของคุณ อาจ
หมายถึงการมาโรงเรียนในวันอังคารและพฤหัสบดีก่อนเวลา 20 นาทีเพ่ือดูวิดีโอในห้องของคุณ ซึ่ง

52

อาจเป็นสิ่งท่ีคุณและนักเรียนแต่ละคนตกลงกันไว้ในช่วงสองสามสัปดาห์แรกของการเรียน ตอนนี้คุณ
ไดม้ ีการติดตอ่ กบั เด็กคนนนั้ แลว้ และนักเรียนมองว่าห้องเรียนของคุณเปน็ ที่ทต่ี อบสนองความตอ้ งการ
ของพวกเขาได้

การคิดไว้ล่วงหน้าเก่ียวกับห้องเรียนกลับด้าน(Flipped Classroom) คุณแค่ต้องคิดถึง
อนาคตว่าสิ่งต่างๆ อาจจะเกิดความผิดพลาดได้อยา่ งไร นักเรียนแตล่ ะคนจะประสบปัญหาอย่างไรกับ
การตดั สินใจครงั้ ใหญ่ในการกลับด้านหอ้ งเรียนของคุณ และส่ิงน้ีไม่ได้ทำให้คุณคิดลบ แต่คอื ส่ิงท่ีทำให้
คณุ เปน็ ครทู ด่ี ี

โปรดทบทวน – อุปสรรคและวิธเี อาชนะอุปสรรคของการจัดการ
เรยี นรูแ้ บบหอ้ งเรยี นกลบั ดา้ น จากทศั นะของ Rice
มสี าระสำคัญอะไร
………………………………………………………………………………...................
............................................................................................................
............................................................................................................
หมายเหตุ - ศึกษาจากตน้ ฉบับภาษาองั กฤษ โปรด “คลิก” ดไู ด้จากเวบ็ ไซตข์ า้ งลา่ งน้ี

https://www.teachonamission.com/blog/obstacles-in-the-flipped-classroom

Source - https://www.scienceislandeducation.com/introduction-to-the-flipped-classroom/

53

สรุป จากทัศนะของ Promethean (2018), Rice (2019), และ Wang (2017) สรุปได้ว่า
อปุ สรรคและวิธีการเอาชนะอปุ สรรคในการจัดการเรียนรแู้ บบหอ้ งเรียนกลับด้านมีดงั น้ี

1. นกั เรียนขาดวนิ ัยในการเรียน ขาดความรบั ผิดชอบ ไม่ใสใ่ จในการศึกษาบทเรียน
ล่วงหน้า ครูจึงควรสร้างความมั่นใจให้นักเรียนด้วยการมอบหมายงานทีละเล็กทีละน้อย ค่อยๆสร้าง
ความตระหนักให้นักเรียนเห็นประโยชน์ของการศึกษาบทเรียนล่วงหน้า เพ่ือนำความรู้มากิจกรรมใน
หอ้ งเรียนกลับด้าน ควรเปิดโอกาสให้นักเรยี นและครไู ด้เรยี นรู้โดยไมร่ ู้สึกวา่ มันดูมากมายเกนิ ไป

2. นักเรียนขาดแคลนอปุ กรณ์ในการเข้าถงึ บทเรยี นออนไลน์ เชน่ ไมม่ ีอินเทอรเ์ น็ต
โทรศัพท์ แท็ปเลต็ และอุปกรณ์การศึกษาบทเรียนล่วงหน้า โรงเรยี นจึงควรสนับสนนุ อุปกรณก์ ารเรยี น
เช่น ให้นักเรียนยืมอุปกรณ์การเรียนไปใช้เรียนทบ่ี ้าน หรือจัดแหล่งเรียนรทู้ ่ีมีความพร้อมดา้ นอปุ กรณ์
ให้นักเรยี นสามารถเขา้ ไปใชใ้ นการศึกษาบทเรียนลว่ งหน้าได้อย่างทั่วถึง

3. ครขู าดส่ือการสอน ขาดทรัพยากร เทคโนโลยกี ารประชุมทางวีดีโอ เคร่ืองมือฉายภาพ
หน้าจอ และแพลตฟอร์มบนคลาวด์ ขาดความรู้ด้านเทคโนโลยี และไม่มีเวลาในการสร้างบทเรียน
ออนไลน์ ผู้บริหารหรือหน่วยงานต้นสังกัดควรให้การสนับสนุนด้านทรัพยากรและส่ือการสอนที่มี
ประสทิ ธิภาพ เชน่ บทเรียนสำเรจ็ รปู คลิปการสอนออนไลน์ มคี ลังสอ่ื แบ่งปันสอ่ื การสอนออนไลนเ์ พ่ือ
อำนวยความสะดวกให้แก่ครู มีอินเทอร์เน็ตท่ีเสถียร และควรจัดอบรมพัฒนาให้ครูมีความสามารถใน
การจัดทำวดี ีโอบนั ทึกเนอ้ื หาการสอนท่ีมีคุณภาพ

4. รูปแบบของห้องเรียนแบบดง้ั เดมิ เป็นอุปสรรคตอ่ การเรียนร้แู บบกลับด้าน ครูควร
ปรับเปล่ียนรูปแบบวิธีการเรียนการสอน ลดการบรรยายเน้ือหา และจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก
(Active Learning) ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการเรียน ลงมือปฏิบัติ มีการทำงานร่วมกัน การ
สอ่ื สาร และมีโอกาสไดแ้ สดงความคดิ สรา้ งสรรคเ์ พ่อื พฒั นาการเรียนรู้ของตนเอง

5. ผู้ปกครองไม่เข้าใจรูปแบบวิธีการเรียนแบบหอ้ งเรยี นกลบั ด้าน และขาดการมีส่วนร่วม
ในการส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในขณะอยู่ท่ีบ้าน ครู ผู้บริหาร และโรงเรียนควรสร้างความเข้าใจให้
ผปู้ กครองเก่ียวกับรูปแบบการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน ให้เกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญ
ประโยชน์ท่ีผู้เรียนจะได้รับ รวมท้ังเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการพัฒนาการเรียนรู้ของ
ผเู้ รียน เช่น ให้ผู้ปกครองเป็นผู้กำกับ ติดตาม ตรวจสอบการศกึ ษาบทเรียนล่วงหน้าของผู้เรยี น และมี
ส่วนรว่ มในการบนั ทึกพฤติกรรมการเรียนร้ขู องผู้เรียนเมื่ออยทู่ ่บี า้ น

6. ผู้บริหารและโรงเรยี นขาดการกำหนดนโยบายที่ชัดเจนในการกลับดา้ นห้องเรียน
ดังนนั้ ผ้บู รหิ ารจะต้องประชุม สรา้ งความเขา้ ใจ และกำหนดนโยบาย ทศิ ทาง รปู แบบการจัดการเรยี น
การสอนแบบห้องเรยี นกลับด้าน ใหเ้ ป็นแนวปฏิบัติของโรงเรยี น รวมทั้งส่งเสริมปจั จัยสนับสนุนทีช่ ่วย
ให้ครูสามารถกลับด้านห้องเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ สร้างเจตคติและค่านิยมร่วมกันทั้งครู นักเรียน
และผปู้ กครอง

54

กจิ กรรมชวนคิด

จากนานาทัศนะเก่ียวกับอปุ สรรคและวิธีเอาชนะอุปสรรคของการจัดการเรียนรู้
แบบห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom) ดังกล่าวข้างต้น ท่านเห็นว่ามี
องค์ประกอบ (Elements) หรือตัวบ่งช้ี (Indicators) ท่ีสำคัญอะไรบ้าง ที่ทำให้
เข้าใจอุปสรรคและวิธีเอาชนะอปุ สรรคนนั้ ได้อย่างกระชับและชัดเจน โปรดระบุ
แนวคดิ หรือองค์ประกอบน้ันในภาพที่แสดงข้างลา่ ง

เอกสารอ้างองิ
Promethean. (2018). How to overcome flipped learning obstacles. Retrieved July 31,

2021 from https://resourced.prometheanworld.com/obstacles-flipped-
learning-overcome/
Rice, M. (2019, May 20). 5 Obstacles of the flipped classroom and how to overcome
them. Retrieved July 31, 2021 from
https://www.teachonamission.com/blog/obstacles-in-the-flipped-classroom
Wang, T. (2017). Overcoming barriers to ‘flip’: Building teacher’s capacity for the
adoption of flipped classroom in Hong Kong secondary schools. Research
and Practice, Department of Technology Enhanced Learning, Faculty of
Education, The Chinese University of Hong Kong.

55

56

วัตถุประสงคก์ ารเรียนรู้

หลังจากการศึกษาคมู่ ือชุดนี้แล้ว ท่านมีพัฒนาการด้านพุทธิพิสยั (Cognitive Domain) ซ่ึง
เป็นจุดมุ่งหมายทางการศึกษาท่ีเกี่ยวข้องกับสมรรถภาพทางสมองหรือสติปัญญาตาม The Revised
Taxonomy (2001) ของ Benjamin S. Bloom โดยจาํ แนกพฤตกิ รรมในขอบเขตน้ีออกเป็น 6 ระดับ
เรียงจากพฤติกรรมท่ีสลับซับซ้อนน้อยไปหามาก หรือจากทักษะการคิดขั้นต่ำกว่าไปหาทักษะการคิด
ข้ันสูงกว่า ดังน้ี คือ ความจำ (Remembering) ความเข้าใจ (Understanding) การประยุกต์ใช้
(Applying) การวิเคราะห์ (Analyzing) การประเมิน (Evaluating) และการสร้างสรรค์ (Creating)
ดังน้ี

1. บอกคุณสมบัติ จับคู่ เขียนลำดับ อธิบาย บรรยาย ขีดเส้นใต้ จำแนก หรือระบุ
ลกั ษณะของการจดั การเรยี นรู้แบบห้องเรียนกลับด้านได้

2. แปลความหมาย อธิบาย ขยายความ สรุปความ ยกตัวอย่าง บอกความแตกต่าง หรือ
เรยี บเรยี ง ลักษณะของการจัดการเรยี นรู้แบบห้องเรยี นกลับด้านได้

3. แก้ปัญหา สาธิต ทำนาย เชื่อมโยง ความสัมพันธ์ เปล่ียนแปลง คำนวณ หรือปรับปรุง
ลกั ษณะของการจัดการเรียนรู้แบบหอ้ งเรยี นกลับด้านได้

4. แยกแยะ จัดประเภท จำแนกให้เห็นความแตกต่าง หรือบอกเหตุผล ลักษณะของการ
จัดการเรยี นรู้แบบห้องเรยี นกลับด้านได้

5. วัดผล เปรียบเทียบ ตีค่า ลงความเห็น วิจารณ์ ลักษณะของการจัดการเรียนรู้แบบ
หอ้ งเรียนกลับด้านได้

6. รวบรวม ออกแบบ จัดระเบียบ สร้าง ประดิษฐ์ หรือวางหลักการ ลักษณะของการ
จัดการเรยี นรูแ้ บบห้องเรียนกลบั ด้านได้

คำชแี้ จง
1. โปรดศึกษาเน้ือหาเกี่ยวกับลักษณะของการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้าน
ท่ีนำมากลา่ วถงึ แต่ละทศั นะ
2. หลังจากการศึกษาเนื้อหาโปรดทบทวนความเข้าใจจากคำถามท้ายเน้ือหาของแต่ละ
ทัศนะ
3. ศึกษารายละเอียดของลักษณะของการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้าน จาก
แต่ละทศั นะท่ีเป็นต้นฉบับภาษาอังกฤษ โปรด “คลิก” ดูไดจ้ ากเว็บไซต์นำเสนอไว้ท้าย
เนอ้ื หาของแตล่ ะทศั นะ

57

Song (2016) ได้ให้ ทัศนะเก่ียวกับ Characteristics and Advantages of Flipped
Class ในการประชุมนานาชาติ 2nd Annual International Conference on Social Science
and Contemporary Humanity Development ว่า Salman Khan ไม่ได้มีแนวคิดเร่ืองห้องเรียน
กลับด้าน (Flipped Classroom) ตอนที่เขาสอนคณิตศาสตร์ให้กับลูกพี่ลูกน้อง แต่เขาเพียงต้องการ
เสนอวิธีใดวธิ ีหน่ึงท่ีลูกพี่ลูกน้องจะยอมรับได้ง่ายและสามารถปรบั ปรงุ การเรียนทีละขั้นตอน อันที่จริง
วิดีโอของเขาได้เปล่ียนการศึกษาทั้งหมด โดยเฉพาะอย่างยิ่งในปี 2007 Bergman and Aaron จาก
โรงเรียนมัธยม Woodland Park High School ได้ทำงานนำเสนอ PPT สำหรับการสอน จากนั้นจึง
อัปโหลดวิดีโอไปยังเครือข่ายเพื่อช่วยให้นักเรียนเรียนบทเรียนที่ไม่ได้เข้าเรียน แนวคิดของห้องเรียน
กลับด้านน้ันชดั เจนข้ึนและผคู้ นกค็ ่อยๆ ยอมรับในความสำคัญของการกลับดา้ นหอ้ งเรียน

ลกั ษณะของหอ้ งเรียนกลับด้านสามารถสรุปได้ดังน้ี
“เรียนรู้ก่อน สอนทีหลัง” เป็นลักษณะเฉพาะห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom)
ภายใตโ้ หมดการกลบั ดา้ นห้องเรยี น นักเรียนตอ้ งดาวนโ์ หลดและศกึ ษาวดิ ีโอเกีย่ วกบั หัวข้อที่จะเรยี นที่
ครูบันทึกไว้ก่อนเร่ิมช้ันเรียน จดบันทึก และจากน้ันทำการบ้านล่วงหน้าให้เสร็จ ดังนั้น ครูและ
นักเรียนสามารถช่วยกนั แก้ไขความสบั สนและปัญหาทนี่ กั เรยี นพบระหว่างการทำการบ้านในช้ันเรยี น
ลักษณะที่สอง คือ ห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom) น้ันแตกต่างจาก “การ
เรียนรู้ก่อน สอนทีหลงั ” ที่ใช้แผนช้ีแนะแนวทางการเรียนรู้ (Guided Learning Plan) มีการสำรวจ
โหมดการสอนของ "การเรียนรกู้ ่อน สอนทีหลัง" ในโรงเรยี นประถมศึกษาและมัธยมศึกษาในประเทศ
China ยกตัวอย่างเช่น แผนชี้แนะแนวทางการเรียนรู้ ของ Du Lang-kou เป็นกรณีทั่วไป อย่างไรก็
ตามด้วยการพัฒนาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีโหมดการสอนเหล่านคี้ วรมีความกา้ วหน้าตามหลักการ
ของ "การเรียนรู้ก่อน สอนทีหลัง" มีความแตกต่างสามประการ ประการแรกคือการตีความท่ีชัดเจน
ครูสามารถสอนนักเรียนได้ชดั เจนยิ่งขึ้นในวิดีโอ ดังน้ันจึงเป็นทช่ี ื่นชอบของนักเรียนมากกว่าโหมดของ
แผนช้ีแนะแนวทางการเรียนรู้ ประการที่สอง สามารถให้ข้อเสนอแนะได้ทันที ไม่ว่าจะเป็นการให้
ข้อเสนอแนะก่อนช้ันเรียนหรือในกระบวนการเรียนนี้ สามารถตัดสินได้ทันท่วงทีและรวดเร็วภายใต้
การใช้เครือข่ายการเรียนรตู้ ่างๆ นอกจากน้ยี ังสามารถประหยัดเวลาได้มากระหว่างการตรวจการบ้าน
ของครู ประการท่ีสาม สามารถบันทึกและเรียกค้นข้อมูลได้ง่ายกว่า ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์สำหรับ
นักเรียนจะทบทวนได้งา่ ยกวา่ แผนชี้แนะแนวทางการเรียนรู้ และง่ายต่อการบันทึกและเรียกค้นข้อมูล
สำหรบั โรงเรยี น

58

ลักษณะที่สาม เป็นวิธกี ารข้ันสงู ของวธิ ี "สบิ นับเป็นหนึ่ง" ด้วยการสนับสนุนของเทคโนโลยี
สารสนเทศท่ีทันสมัย นกั เรียนสามารถทำการบ้านหลังจากเรยี นรูว้ ิดโี อท่ีมเี น้อื หาเฉพาะเพือ่ ใหแ้ น่ใจว่า
เกิดความเช่ียวชาญในความรู้ท่ีอธิบายไว้ในวิดโี อนี้ เมื่อทำการบ้านเสร็จแล้วและไม่มขี ้อผิดพลาดใด ๆ
เกิดข้ึน นักเรียนจะได้รับอนุญาตให้เข้าสู่ข้ันต่อไปของวิดีโอการเรียนรู้ หากการบ้านมีข้อผิดพลาด
นักเรียนจะต้องดูวิดีโอต่อหรือขอความช่วยเหลือที่เก่ียวข้องกับหัวข้อทางออนไลน์ จนกว่านักเรียนจะ
เข้าใจประเด็นความรู้และทำการบ้านล่วงหน้าเสร็จจึงจะสามารถเข้าสู่ขั้นต่อไปของวิดีโอการเรียนรู้
หลังจากเรียนรู้หน่วยการเรียนรู้เสร็จแล้วหนึ่งหน่วย นกั เรียนจะต้องสอบเกี่ยวกับหน่วยท่ีเรียน เฉพาะ
การผ่านการทดสอบหน่วยการเรียนรู้ในระดับท่ีเชี่ยวชาญในความรู้มากพอเท่าน้ัน นักเรียนถึงจะ
สามารถเรียนหน่วยต่อไปได้ ในโหมด "สบิ นับเป็นหน่ึง" นักเรียนสามารถทำความเข้าใจความรู้ของแต่
ละหนว่ ยได้ตราบเทา่ ที่มีเวลาและได้ระบเุ ป้าหมายการเรยี นรู้อยา่ งมีประสิทธิภาพ ในท้ายที่สุดนกั เรยี น
ส่วนใหญ่ในชน้ั เรยี นสามารถทำความเขา้ ใจเนอื้ หาความรอู้ ย่างเชยี่ วชาญ

ลักษณะที่สี่ คือ วิธีการสอนแบบห้องเรียนจุลภาค (Micro Class Teaching) ซึ่งเป็นการ
สอนท่ีกระชับและตรงประเด็น ครูสามารถทำวิดีโอการสอนและออกแบบการบ้านล่วงหน้าได้ตาม
วตั ถปุ ระสงค์การสอนและเนอ้ื หาการสอน การตีความวิดีโอที่มีหวั ขอ้ เฉพาะเหล่านม้ี ีความชัดเจนแจ่ม
แจ้ง และทุกวิดโี อเน้นท่ีประเด็นความรู้ทำให้เกิดความชดั เจนขึ้น และมักใช้เวลา 5 ถึง 8 นาที ซึ่งเป็น
ระยะเวลาที่นักเรียนจะมีสมาธิดีท่ีสุดก่อนที่นักเรียนจะรู้สึกเบ่ือ และแตกต่างจากห้องเรียนแบบ
เครือข่ายก่อนหน้านี้ การตีความวิดีโอท่ีมีหัวข้อเฉพาะนี้มีความสำคัญกับการวิเคราะห์ความรู้และ
ขึ้นอยู่กับความสามารถในการเรียนรู้ของนักเรียน ในวิดีโอจะไม่มีครูและไม่ใช่การจำลองฉากใน
ห้องเรียน เพราะปัจจัยเหล่านี้ท่ีอาจเบี่ยงเบนความสนใจของนักเรียน เม่ือครูบันทึกวิดีโอ พวกเขาถือ
ว่าสอนนักเรียนเพียงคนเดียว พวกเขากำลังทำการอธิบายและวิเคราะห์ให้นักเรียน เปลี่ยนลักษณะ
ของครูจากเดมิ เป็น "ผู้บรรยาย" กลายเป็น "โค้ช" จาก "ปราชญ์บนเวที" เป็น "ที่ปรกึ ษา" ในชัน้ เรยี นท่ี
มีการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ระบบเปิดสำหรับมหาชนและห้องเรียนกลับด้านจะไม่ได้เน้น
สมรรถนะของครใู ห้โดดเด่นนกั หากแตเ่ ปน็ บทบาทของครมู ีความสำคัญมากกว่า

ลักษณะที่ห้า คือ วิธีการเรียนรู้ด้วยตนเอง นักเรียนมีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ของ
ตนเองมากกว่าครูหรือผปู้ กครอง นักเรยี นจะสามารถพิสูจน์ได้ว่าตนเองบรรลุข้อกำหนดของเป้าหมาย
แล้วก็ต่อเม่ือรู้เป้าหมายการเรียนรู้ พยายาม และค้นคว้าเท่าน้ัน และเป็นการเรียนรู้เชิงบวกและการ
เรียนรู้ด้วยตนเองอย่างแท้จรงิ ในโหมดห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom) นักเรียนจะเรียนรู้
ผ่านวิดีโอก่อนเข้าชั้นเรียนภายใต้การแนะนำของครู สื่อสารผลสัมฤทธิ์ท่ีได้จากการเรียนและมีส่วน
ร่วมในการอภิปรายเป็นรายบุคคลหรือในรูปแบบกลุ่มในช้ันเรียน ครูคอยดูแลตรวจสอบสถานการณ์
การเรียนรู้ของนักเรียน ถามคำถาม และแก้ปัญหา นักเรียนแต่ละคนมีงานท่ีต้องทำ อาจดูยุ่งเหยิง
เล็กน้อย นักเรียนไม่น่ังเงียบอีกต่อไป แต่นักเรียนแต่ละคนจะมีความกระตือรือร้นในการเรียนรู้อย่าง
แท้จริง

59

โปรดทบทวน – ลกั ษณะของการจัดการเรียนรู้แบบหอ้ งเรียน
กลับด้านจากทศั นะของ Song มสี าระสำคญั อะไร
………………………………………………………………………………...................
............................................................................................................
............................................................................................................
หมายเหตุ - ศกึ ษาจากต้นฉบับภาษาองั กฤษ โปรด “ศกึ ษา” ดไู ดจ้ ากแหล่งท่ีมาขา้ งล่างนี้

file:///C:/Users/LENOVO/Downloads/25860615.pdf

Subramaniam and Muniandy ( 2016) ไ ด้ ใ ห้ ทั ศ น ะ ต่ อ Concept and
Characteristics of Flipped Classroom โดยเขียนบทความตีพิมพ์ใน International Journal of
Emerging Trends in Science and Technology ว่าลักษณะของแนวทางห้องเรียนกลับด้าน
(Flipped Classroom) น้ันมีหลายรูปแบบและมุมมอง จากข้อมูลของ University of Minesota
(2013) แม้ว่าจะมีความคิดเห็นมากมายเก่ียวกับลักษณะของแนวทางห้องเรียนกลับด้านใน
สภาพแวดล้อมทางการศึกษา แต่แนวทางห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom) ท่ีประสบ
ความสำเร็จมากท่ีสุดมีลักษณะ 3 ประการ ประการแรก สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ในชั้นเรียนที่มี
โครงสร้างสูง ซ่ึงหมายความว่านักการศึกษาต้องวางแผนในทุกๆ นาทีเพื่อให้นักเรียนมีส่วนร่วมกับ
บทเรียน ประการที่สอง กิจกรรมในชั้นเรียนต้องได้รับการออกแบบในลักษณะที่นักเรียนสามารถ
แก้ปัญหา ตอบคำถาม ประยุกต์ใช้ หรือดึงเนื้อหาที่ได้เรียนรู้ก่อนหน้าน้ีจากวิดีโอการเรียนการสอน
แบบกลับด้าน และสุดท้าย นักเรียนจะได้รับการกระตุ้นอย่างมากผ่านการให้คะแนน กิจกรรมในชั้น
เรยี น และความคาดหวังของนักการศกึ ษาให้ทำงานนอกชั้นเรียนและเข้ารว่ มเซสชันแบบตวั ต่อตัว

อยา่ งไรกต็ าม ตามท่ี Hamdan et al. (2013) ได้กล่าวไว้วา่ แม้ว่าจะไม่มรี ายการที่บอกถึง
"วธิ ีการ" ทีเ่ ก่ียวข้องกับรูปแบบการเรียนรู้แบบกลบั ดา้ น แต่ก็มีรปู แบบท่ีระบวุ ่าเป็นเสาหลักท้ัง 4 ซ่งึ ก็
คือ F-L-I-P ย่อมาจาก สภาพแวดล้อมท่ียืดหยุ่น (Flexible Environment) วัฒนธรรมการเรียนรู้
(Learning Culture) ความต้ังใจศึกษาเน้ือหา (Intentional Content) และนักการศึกษาวิชาชีพ
(Professional Educator) นักการศึกษาในห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom) ต้องยอมรับ
ว่าเม่ือครูและนักเรียนใชเ้ วลาในห้องเรยี นจะคอ่ นข้างเสียงดังและไม่เป็นระเบยี บเมอ่ื เทียบกบั ชั้นเรยี น
ท่ีมีทั่วไปท่ีนักเรียนจะนั่งเงียบๆ ในระหว่างฟังการบรรยาย King (1993) กล่าวว่าในช้ันเรียนท่ีมีครู
เป็นศูนยก์ ลาง ครูจะเป็นแหล่งข้อมูลหลัก เปน็ ดั่ง “ปราชญบ์ นเวท”ี ซง่ึ ให้ข้อมูลกบั นักเรยี นโดยทั่วไป
ผ่านการบรรยาย ส่วนในรูปแบบการเรียนรู้แบบกลับด้าน (Flipped Learning) มีการเปลี่ยนจาก

60

ห้องเรียนท่ีมีครูเป็นศูนย์กลางเป็นวิธีการท่ีเน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลาง โดยท่ีเวลาในช้ันเรียนจะถูก
กำหนดให้สำรวจเน้ือหาของหัวข้อในขอบเขตท่ีมากกว่าและสร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ท่ีสมบูรณ์
ย่ิงขึ้น ความตั้งใจศึกษาเน้ือหา หมายถึง การท่ีนักการศึกษาใช้ประโยชน์สูงสุดของเวลาในห้องเรียน
โดยใช้วิธีการต่างๆ ของกิจกรรมท่ีทำให้เกิดการมีส่วนร่วมของนักเรียน เช่น การสอนโดยเพื่อน การ
เรียนรู้จากปัญหา และอ่ืนๆ ในรูปแบบการเรียนรู้แบบกลับด้าน นักการศึกษาวิชาชีพมีความสำคัญ
มากกว่าเม่ือตอนใช้วิธีการสอนแบบเดิมๆ เนื่องจากนักการศึกษาต้องมีทักษะและสติปัญญาเพียง
พอท่ีจะเปล่ียนช้ันเรียนที่เคยใชก้ ารบรรยายเป็นช้ันเรียนใช้กิจกรรมเปน็ พ้ืนฐานซ่ึงตอ้ งใช้การวางแผน
และความคิดสร้างสรรค์มากขึ้น ด้วยวิธีน้ีจะทำให้ใช้เซสช่ันการคุยแบบตัวต่อตัวระหว่างครูและ
นักเรียนได้เกิดประโยชน์สูงสุด จากข้อมูลของ Brame (2013) สิ่งเหล่านี้เป็นองค์ประกอบหลัก 4
ประการที่มีบทบาทเป็นลักษณะห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom) นักการศึกษาจำเป็นต้อง
ให้ข้อมูลก่อนเริ่มช้ันเรียน สามารถทำได้ง่ายพอๆ กับการให้นักเรียนอ่านหนังสือเรียนไปจนถึงการดู
วิดีโอการบรรยายหัวข้อเฉพาะ (Micro-lecture) หรือการบันทึกหน้าจอ (Screecast) นักการศึกษา
สามารถบันทึกวิดีโอการบรรยายหัวข้อเฉพาะได้ด้วยตนเองหรือสามารถดาวน์โหลดวิดีโอท่ีเก่ียวข้อง
กับหัวข้อได้จาก YouTube, Coursera, Khan's Academy หรือ Open Course Ware ของ MIT
ลักษณะท่ีสองคือการให้แรงจูงใจแก่นักเรียนในการเตรียมตัวสำหรับชั้นเรียนโดยให้แบบทดสอบสั้นๆ
ใบงาน และอื่นๆ ด้วยวิธีการดูวิดีโอและทำแบบทดสอบหรือใบงานท่ีมอบหมายให้นี้จริงๆ แล้วจะทำ
ให้นักเรียนพร้อมสำหรับชั้นเรียนถัดไปทางอ้อม ประการท่ีสาม นักการศึกษาต้องหาวิธีหรือกลไกใน
การรับรู้ว่าระดับความเข้าใจของนักเรียนที่มีต่อหัวข้อน้ันมีเท่าใด โดยทำแบบทดสอบก่อนเรียน
ออนไลน์สั้นๆ การทำเช่นน้ี อาจทำให้นักการศึกษาได้รับรู้เกี่ยวกับประเด็นท่ีนักเรียนยังไม่เข้าใจซึ่ง
จำเป็นต้องเนน้ ย้ำและให้ความสนใจ สุดท้ายนี้ สมมติวา่ นักเรียนได้รบั ความรูพ้ ื้นฐานนอกช้ันเรียนแล้ว
นักการศึกษาต้องใช้เวลาในชั้นเรียนเพ่ือให้เกิดการเรียนรู้ท่ีลึกซ้ึงย่ิงข้ึน เม่ือนักเรียนมีส่วนร่วมใน
กิจกรรมที่ก่อให้เกิดการมีส่วนร่วม เช่น การอภิปราย การวิเคราะห์ข้อมูล และกิจกรรมประเภทที่ทำ
ใหเ้ กดิ การสังเคราะห์ จะส่งเสรมิ การคดิ อย่างมวี ิจารณญาณในตัวนกั เรียน

โปรดทบทวน – ลักษณะของการจัดการเรียนรู้แบบหอ้ งเรยี น
กลบั ดา้ นจากทศั นะของ Subramaniam and Muniandy
มีสาระสำคญั อะไร
………………………………………………………………………………...................
............................................................................................................
............................................................................................................

หมายเหตุ - ศึกษาจากต้นฉบับภาษาองั กฤษ โปรด “คลกิ ” ดไู ดจ้ ากเวบ็ ไซตข์ า้ งลา่ งนี้

https://www.researchgate.net/publication/308977502_Concept_and_Characteristics_of_Flipped_Class
room

61

Ferriman (2020) เป็นผู้ร่วมก่อตั้งและผู้บริหารของ LearnDash, WordPress LMS
ได้รับความไว้วางใจจากบริษัทที่ติดอันดับ Fortune 500, มหาวิทยาลัยใหญ่ๆ, องค์กรฝึกอบรม และ
ผู้ประกอบการท่ัวโลกในการสรา้ ง (และขาย) หลักสูตรออนไลน์ ได้ให้ทัศนะเกีย่ วกบั Characteristics
of A Flipped Classroom ว่าห้องเรียนพลิกกลับเร่ิมได้รับความนิยมในการศึกษาระดับต่างๆ ด้วย
เครื่องมือเทคโนโลยีในปัจจุบัน ทำให้ผู้เรียนสามารถซึมซับเนื้อหาในเวลาของตนเอง แล้วใช้เวลาใน
ชั้นเรียนเพ่ือฝึกฝนสิ่งที่ได้เรียนรู้ วิธีการเรียนรู้แบบผสมผสานน้ีทำให้ห้องเรียนแบบกลับด้าน
(Flipped Classroom) เป็นตัวเลอื กที่นา่ สนใจสำหรับนกั การศึกษา

การบรรยายสามารถทำได้ในสภาพแวดล้อมเสมือนจริงโดยใช้ E-Learning และระบบการ
จดั การเรยี นรู้ท่ีมปี ระสทิ ธิภาพ แม้แต่แบบทดสอบสามารถดำเนินการได้แม้ไม่ใช่ในช่วงเวลาเรียนทัว่ ไป
เพอ่ื ให้สามารถนำไปใช้ในการประยุกตใ์ ช้แนวคดิ ทส่ี อนได้จริง

แม้ว่าโครงสร้างนี้จะใช้เป็นหลักในการศึกษา (ท้ังมหาวิทยาลัยและ K-12 ใน United
States) เราจะเห็นได้ว่าโครงสร้างน้ีมีประโยชน์ต่อภาคธุรกิจอย่างไร ความท้าทายที่ใหญ่ที่สุดในส่วน
นั้นก็คืออาจต้องมีแรงจูงใจเพียงพอสำหรับพนักงานในการเรียนหลักสูตรออนไลน์ก่อนการฝึกอบรม
จริง ไม่ใช่เร่ืองท่ีเป็นไปไม่ได้ แต่แน่นอนว่ามีความท้าทายมากกว่าในสภาพแวดล้อมของโรงเรียน
เล็กนอ้ ย

เนื่องจากเกรดของนักเรียนข้ึนอยู่กับการมีส่วนร่วมของพวกเขา ในวันนี้ห้องเรยี นกลับด้าน
มีลักษณะอย่างไร? สภาพแวดล้อมห้องเรียนกลับด้านน้ันมีลักษณะท่ีหลากหลาย ด้านล่างน้ีเป็นข้อ
คน้ พบบางสว่ นจากการศกึ ษาทด่ี ำเนนิ การโดยมหาวทิ ยาลยั Queensland (Australia)

วชิ าที่ใช้การสอนแบบกลับดา้ นมากทีส่ ุด : วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ การเขียนโปรแกรม
ทรัพยากรท่ใี ช้ประโยชน:์ Screencasting, YouTube, Podcasts, E-Books
เทคโนโลยที ใ่ี ชส้ ำหรบั การเข้าถงึ : แล็ปทอ็ ป แท็บเลต็ อปุ กรณม์ ือถอื
ข้อกังวลหลักของนักการศึกษา : การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตภายในบ้านมีจำกัด วัดผลการ
เรยี นรู้ได้อย่างแมน่ ยำ
เครอื่ งมอื สำหรบั ครู : ระบบบริหารจัดการการเรยี นรู้ iTunesU
แรงจูงใจในการกลบั ด้าน : ปรบั ปรุงเกรด, พัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ, พัฒนา
ทกั ษะทางวชิ าชีพ

62

โปรดทบทวน – ลักษณะของการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรยี น
กลบั ดา้ นจากทศั นะของ Ferriman มีสาระสำคัญอะไร
………………………………………………………………………………...................
............................................................................................................
............................................................................................................

หมายเหตุ - ศึกษาจากตน้ ฉบับภาษาอังกฤษ โปรด “คลิก” ดูไดจ้ ากเวบ็ ไซตข์ ้างลา่ งนี้

https://www.learndash.com/characteristics-of-a-flipped-classroom/

Honeycutt (n.d.) มีประสบการณ์ 20 ปีเกี่ยวกับงานพัฒนาวิชาชีพ ในช่วง 20 ปีที่ผ่าน
มา Honeycutt ได้สนับสนุนงานพัฒนาวิชาชีพเพ่ือนักการศึกษาจากท่ัวโลกหลายพันงานเกี่ยวกับ
สาขาวิชาและวิชาชีพทางวิชาการเกือบทุกประเภทในแวดวงการศึกษา รัฐบาล และองค์กรที่ไม่
แสวงหาผลกำไร Honeycutt ทำงานร่วมกับอาจารย์ ผู้สอน ผู้เช่ียวชาญด้านการพัฒนาภาควิชา นัก
ออกแบบการเรยี นการสอน นักวิจัยหลังปริญญาเอก (Postdocs) และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาท่ี
ต้องการเรียนรู้วิธีการสอนและออกแบบประสบการณ์การเรียนรู้ที่น่าดึงดูดใจ Honeycutt ยังเป็น
ผู้สร้างและโฮสต์ของพอดคาสต์ช่ือว่า Lecture Breakers and Virtual Summer Conference ใน
Lecture Breakers เป็นสถานที่ท่ีอาจารย์ ผู้สอน และนักการศึกษามหาวิทยาลัยแบ่งปันกลยุทธ์การ
สอนท่ีเป็นนวัตกรรมใหม่เพื่อสร้างแรงบันดาลใจให้คุณเลิกการบรรยาย เพ่ิมความมีชีวิตชีวาให้
ห้องเรียน เพ่ิมการมีส่วนร่วมของนักเรียน และปรับปรุงการเรียนรู้ Honeycutt ได้ตีพิมพ์บทความ
วิชาการหลายเล่มและหนังสือเจ็ดเล่ม รวมท้ัง Flipping The College Classroom : Practical
Advice for Faculty*, What Are Your Students Going to Do Today: A Collection of
Teaching Strategies to Engage Students, และหนังสือชุด FLIP It! เขาได้ให้ทัศนะเก่ียวกับ
ลักษณะของประสบการณ์การเรียนรู้แบบกลับด้านที่ประสบความสำเร็จ (The Characteristics of
Successful Flipped Learning Experiences) ดังน้ี

63

1. ผู้สอน (The Instructor)
คุณเป็นส่วนที่สำคัญท่ีสุดของห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom) คุณสร้าง
สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ คุณแบ่งปันประสบการณ์ ความกระตือรือร้น และสติปัญญาของคุณ คุณ
จำลองกระบวนการเรียนรู้ การคิด และการต้ังคำถามเกี่ยวกับแนวคิด คำแนะนำของคุณกำหนด
ประสบการณ์การเรียนรูแ้ บบกลบั ด้านและทำให้เป็นประสบการณ์เชิงบวกหรือเชิงลบสำหรับคุณและ
นกั เรียนของคณุ
สิ่งท่ีจะสังเกตเห็นได้หากคุณไม่ใส่ใจตัวเองและความต้องการของคุณ (What You’ll
Notice If You Aren't Paying Attention to Yourself and Your Needs) :
หากคุณไม่สามารถอุทิศและเตรียมเวลา พลังงาน และสภาวะจิตใจท่ีจำเป็นในการกลับ
ด้าน คุณอาจประสบกับความเครียดที่เพิ่มขึ้นและแรงจูงใจท่ีลดลงซึ่งนำไปสู่ความเหน่ือยหน่าย หรือ
คุณอาจรสู้ ึกหนกั ใจหรอื ไม่แนใ่ จเกยี่ วกบั บทบาทใหม่ของคุณในฐานะ "ผ้นู ำทาง"
สิ่งทต่ี ้องทำ (What to Do) :
คุณอาจต้องถอยกลับและต้ังสมาธิใหม่กับส่ิงที่คุณกำลังทำการกลับด้านและเหตุผลที่กลับ
ด้าน จำไวว้ ่าอย่ากลับด้านไปหมดทุกอย่าง เร่มิ ต้นด้วยการมองหา "ช่วงเวลาท่ีกลับได้" มองหาจุดที่ยัง
มีความสับสน มองหาส่ิงท่ีก่อให้เกิดความเบื่อหน่าย และมองหาสาเหตุพ้ืนฐาน อะไรที่นักเรียน
จำเปน็ ตอ้ งรอู้ ย่างแน่นอน?
มองหากลุ่มการอ่านหรือชุมชนการเรียนรู้ (ในวิทยาเขตหรือทางออนไลน์) เพ่ือช่วยคุณ
แบง่ ปันประสบการณ์และเรียนรวู้ ิธีพฒั นาทกั ษะการอำนวยความสะดวกในหอ้ งเรยี นกลับดา้ น
2. ผู้เรยี น (Learners)
นักเรียนของคุณเข้าสู่ห้องเรียนกลับด้านนี้ด้วยความคาดหวัง ประสบการณ์ก่อนหน้า และ
เป้าหมายท่ีหลากหลาย นักเรียนอาจกังวลเกี่ยวกับประสบการณ์การเรียนรู้ประเภทน้ี จึงทำให้รู้สึกไม่
ม่ันใจเก่ยี วกบั บทบาทของตนเอง
นักเรียนอาจไม่เข้าใจว่าจะได้รับการประเมินในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ร่วมกันเช่นนี้
อยา่ งไร จึงมคี วามจำเปน็ ตอ้ งทำให้นกั เรยี นเหน็ คุณค่าของรปู แบบการเรียนรู้ก่อนตัดสินใจ
ส่ิงท่ีจะสังเกตได้หากคุณไม่สนใจผู้เรียน (What You’ll Notice If You Aren't Paying
Attention to Your Learners) :
คุณจะสังเกตเห็นการต่อต้านของนักเรียนเพิ่มข้ึนเมื่อนักเรียนเกิดความไม่แน่ใจ หงุดหงิด
หรอื ไมม่ แี รงจูงใจ นกั เรียนอาจมาเรยี นโดยไม่ได้เตรยี มตวั และอาจเลือกทีจ่ ะไมเ่ ข้ารว่ มกิจกรรม
สิ่งท่ีต้องทำ (What to Do) :
คุณอาจต้องพิจารณาใหม่ว่างานก่อนเข้าเรียนมีโครงสร้างอย่างไร และนักเรียนเห็นคุณค่า
ของรูปแบบการเรียนกลับด้านหรือไม่ ขอแนะนำว่าอย่าตั้งช่ือห้องเรียนของคุณว่าเป็นห้องเรียนที่
"กลับด้าน" คำน้ีสามารถตีความได้หลายแบบและอาจไม่สามารถสะท้อนให้เห็นถึงคำจำกัดความหรือ
ความคาดหวงั ที่คุณตอ้ งการ

64

3. เนื้อหา (Content)
เนื้อหาท่ีคุณสอนจะมีอิทธิพลต่อวิธีการนำรูปแบบการเรียนรู้ที่กลับด้านไปใช้ โมเดล
ห้องเรียนที่กลับด้านและกลยุทธ์การเรียนรู้เชิงรุกสามารถนำไปใช้กับทุกสาขาวิชา แต่อาจจะดู
แตกต่างออกไปเล็กน้อยข้ึนอยู่กับหัวข้อการเรียนรู้ สิ่งสำคัญคือคุณต้องรู้ว่าคุณสอนสาขาวิชาอะไร
และร้วู ิธเี ตรยี มนักเรยี นให้พรอ้ มสำหรบั ความทา้ ทายทจ่ี ะเผชญิ ในวชิ าชีพ (และในดา้ นอน่ื ๆ)
ส่ิงที่จะสังเกตได้หากคุณไม่สนใจเนื้อหาของคุณ (What You’ll Notice If You Aren't
Paying Attention to Your Content) :
หากคณุ กำลงั ใช้กลวิธีกลับด้านท่ีไม่เชื่อมโยงกับเนื้อหาท่คี ุณสอน นกั เรยี นอาจไม่เฉื่อยและ
มีความกระตือรือร้น แต่นักเรียนจะไม่ได้เรียนรู้ อาจมีการพูดคุยและโต้ตอบกัน แต่นักเรียนจะยังไม่
เข้าใจว่าทำไมมันถึงสำคัญ นักเรยี นอาจมองว่ากิจกรรมกลับด้านเหล่านี้เป็น “งานที่หนัก” และจะไม่
เหน็ คณุ คา่ ของการมีส่วนรว่ ม
ส่งิ ทีต่ ้องทำ (What to Do) :
คุณต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่ากิจกรรมที่คุณออกแบบน้ันเหมาะสมกับสาขาวิชาและต้อง
ม่ันใจว่านักเรียนรู้ว่าเหตุใดจึงสำคัญหากตัดสินใจเข้าร่วม พูดคุยกับเพื่อนร่วมงานคนอ่ืน ๆ ในสาขา
ของคณุ เพ่อื ดวู า่ เน้ือหาใดท่อี อกแบบใหมเ่ พ่ือใช้งานกบั รูปแบบการเรียนรแู้ บบกลบั ดา้ น
ปัจจัยทั้ง 3 น้ีมีอิทธิพลต่อความเป็นจริงในสถานการณ์การสอนของคุณ และคุณต้อง
พิจารณาผลกระทบของปัจจัยดังกล่าวท่ีจะมีต่อความสามารถในการปรับใช้รูปแบบห้องเรียนแบบ
กลับด้านของคณุ
หากคุณกำลังใช้รูปแบบกลับด้านในการสอนและมันไม่ได้เป็นไปตามที่คุณหวังไว้ ให้ถอย
ออกมาและดูลักษณะเหล่านี้เพ่ือพิจารณาว่ามีการเปลี่ยนแปลงที่คุณสามารถทำได้เพ่ือปรับปรุง
ประสบการณ์การเรียนรูส้ ำหรับคุณและนกั เรยี นของคุณหรอื ไม่

โปรดทบทวน – ลกั ษณะของการจัดการเรยี นรู้แบบหอ้ งเรียน
กลับด้านจากทศั นะของ Honeycutt มีสาระสำคัญอะไร
………………………………………………………………………………...................
............................................................................................................
............................................................................................................

หมายเหตุ - ศกึ ษาจากต้นฉบับภาษาองั กฤษ โปรด “คลกิ ” ดไู ด้จากเวบ็ ไซต์ข้างลา่ งนี้

https://barbihoneycutt.com/blogs/lecture-breakers-blog/the-7-characteristics-of-successful-flipped-
learning-experiences.

65

สรุป จากทัศนะของ Subramaniam and Muniandy (2016), Honeycutt (n.d.), Song
(2016) และ Ferriman (2020) ดังกล่าวข้างต้น สามารถระบุลักษณะของการจัดการเรียนรู้แบบ
ห้องเรียนกลับด้านได้ว่าเป็นรูปแบบการสอนท่ีผู้สอนต้องใช้ทักษะและสติปัญญาในการวางแผนและ
ความคิดสร้างสรรค์มากข้ึนเพื่อให้นักเรียนมีส่วนร่วมกับบทเรียน ต้องให้ข้อมูลก่อนเริ่มชั้นเรียน
สามารถทำได้ง่ายๆ จากให้นักเรียนอ่านหนังสือเรียนไปจนถึงการดูวีดีโอการบรรยายหัวข้อเฉพาะ
(Micro-Lecture) หรือการบันทึกหน้าจอ (Screecast) โดยผู้สอนสามารถบันทึกวิดีโอการบรรยาย
หัวข้อเฉพาะได้ด้วยตนเองหรือสามารถดาวน์โหลดวีดีโอที่เก่ียวข้องกับหัวข้อได้จาก YouTube,
Coursera, Khan's Academy หรอื Open Course Ware ของ MIT จากนั้นกิจกรรมในช้นั เรียนต้อง
ได้รับการออกแบบในลักษณะที่ใช้ประโยชน์สูงสุดของเวลาในห้องเรียนโดยใช้วิธีการต่างๆ ของ
กิจกรรมท่ีทำให้เกิดการมีส่วนร่วมของนักเรียน นักเรียนสามารถแก้ปัญหา ตอบคำถาม ประยุกต์ใช้
หรือดึงเนื้อหาที่ได้เรียนรู้ก่อนหน้าน้ี การอภิปราย การวิเคราะห์ข้อมูล และกิจกรรมประเภทที่ทำให้
เกิดการสังเคราะห์ท่ีจะส่งเสริมการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณในตัวนักเรียน และสุดท้ายนักเรยี นจะได้รับ
การกระตุ้นอยา่ งมากผ่านการให้คะแนนหรือเกรดของนักเรียนข้ึนอยู่กับการมีส่วนร่วมของพวกเขากับ
กิจกรรมในชั้นเรียน และความคาดหวังของผู้สอนให้ทำงานนอกชั้นเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมแบบตัว
ต่อตัว โดยมีลักษณะดังแสดงในตาราง

ตารางแสดงลักษณะของการจดั การเรยี นร้แู บบหอ้ งเรียนกลบั ด้าน

ลกั ษณะของการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรยี นกลับดา้ น
Subramaniam and
Muniandy
Honeycutt
Song
Ferriman

1. เรยี นรู้ก่อน สอนทีหลัง 

2. สอนแบบหอ้ งเรียนจุลภาค 

3. เนน้ ผู้เรยี นเป็นศูนยก์ ลางของการเรยี นรู้ 

4. ผเู้ รียนตอ้ งศึกษาเน้อื หาลว่ งหนา้ ก่อนเขา้ ชั้นเรยี น  

5. ส่งเสรมิ การเรียนรู้เชงิ บวกและการเรียนรดู้ ้วยตนเอง  

6. เป้าหมายของห้องเรียนกลับด้านเพื่อพัฒนาคุณภาพการ 

สอน

66

ลกั ษณะของการจดั การเรียนรแู้ บบห้องเรียนกลบั ด้าน Subramaniam and
Muniandy
Honeycutt
Song
Ferriman

7. จดั สภาพแวดลอ้ มการเรยี นรูใ้ นชั้นเรยี นให้ผู้เรียนมีสว่ นรว่ ม    

8. ครตู อ้ งใชเ้ วลาในการวางแผนและออกแบบช้นั เรยี นมากขน้ึ    

9. ผู้เรียนจะเรียนรู้ผ่านวิดีโอก่อนเข้าช้ันเรียนภายใต้การ   

แนะนำของครู

10. ครูสามารถให้คำแนะนำในการเรียนแบบตัวต่อตัวกับ  

ผู้เรยี นมากขึน้

11. ครูต้องสร้างแรงจูงใจให้ผู้เรียนศึกษาบทเรียนล่วงหน้าก่อน    

เขา้ ช้ันเรียน

12. ผ้เู รียนมีความรบั ผิดชอบในการเรียนรู้ของตนเอง มากกวา่ 

ครูหรอื ผู้ปกครอง

13. ทำความเข้าใจความรู้ของแต่ละหนว่ ยการเรียนรู้ไป 

ตามลำดับได้ตราบเทา่ ที่มเี วลาและได้ระบุเป้าหมาย

14. ผู้เรยี นมีส่วนร่วมในการอภิปรายเป็นรายบคุ คลหรือใน  

รูปแบบกลุ่มในช้นั เรียน

15. ครูต้องเตรียมเนื้อหาใหผ้ ูเ้ รยี นศึกษากอ่ นเขา้ ช้นั เรียน เช่น    

ใบงาน วิดีโอ แบบทดสอบ

16. ครูต้องใชเ้ วลาในชั้นเรียนเพอ่ื ให้ผเู้ รยี นเกิดการเรียนรู้ที่   

ลกึ ซงึ้ ยิง่ ขน้ึ เช่น การอภิปราย การโต้ตอบ

17. เน้ือหาและกิจกรรมต้องเหมาะสมกับธรรมชาติรายวิชา 

และสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรยี น

18. เปลย่ี นลักษณะของครูจากเดิมเปน็ "ผ้บู รรยาย" กลายเป็น 

"โคช้ เป็นผู้อำนวยความสะดวกในช้ันเรียน

19. ออกแบบกจิ กรรมในชั้นเรียนให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้   

จากการศึกษาบทเรียนล่วงหน้ามาใช้ในการแก้ปัญหา ตอบ

คำถาม ประยกุ ต์ใช้

20. ใช้เครือ่ งมือเทคโนโลยีให้ผเู้ รยี นสามารถซึมซับเนอื้ หาใน 

เวลาของตนเอง แลว้ ใช้เวลาในช้ันเรยี นเพือ่ ฝึกฝนส่งิ ที่ได้

เรียนรู้

67

กิจกรรมชวนคดิ

จากนานาทัศนะเก่ียวกับลักษณะของการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้าน
(Flipped Classroom) ดั งก ล่ าว ข้ างต้ น ท่ าน เห็ น ว่ ามี อ งค์ ป ระ ก อ บ
(Elements) หรือตัวบ่งช้ี (Indicators) ท่ีสำคัญอะไรบ้าง ที่ทำให้เข้าใจลักษณะ
น้ันได้อย่างกระชับและชัดเจน โปรดระบุแนวคิดหรือองค์ประกอบน้ันในภาพที่
แสดงข้างล่าง

68

เอกสารอ้างองิ

Ferriman, J. (2020, January 14). Characteristics of a flipped classroom. Retrieved
August 3, 2021 from https://www.learndash.com/characteristics-of-a-flipped-
classroom/

Honeycutt, B. (n.d.). The characteristics of successful flipped learning experiences.
Retrieved August 3, 2021 from https://barbihoneycutt.com/blogs/lecture-
breakers-blog/the-7-characteristics-of-successful-flipped-learning-experiences.

Song, Y.M. (2016). Characteristics and advantages of flipped class. In 2nd Annual
International Conference on Social Science and Contemporary Humanity
Development. (pp.226-229). Atlantis Press.

Subramaniam, S.R., & Muniandy, B. (2016). Concept and characteristics of flipped
classroom. International Journal of Emerging Trends in Science and
Technology, 3 (10), 4668-4670. DOI:10.18535/ijetst/v3i10.01.
https://www.researchgate.net/publication/308977502_Concept_and_Character
istics_of_Flipped_Classroom

69

70

วัตถปุ ระสงค์การเรยี นรู้

หลังจากการศึกษาคู่มือชุดน้ีแล้ว ท่านมพี ัฒนาการด้านพุทธิพิสยั (Cognitive Domain) ซ่ึง
เป็นจุดมุ่งหมายทางการศึกษาที่เก่ียวข้องกับสมรรถภาพทางสมองหรือสติปัญญาตาม The Revised
Taxonomy (2001) ของ Benjamin S. Bloom โดยจําแนกพฤติกรรมในขอบเขตนี้ออกเป็น 6 ระดับ
เรียงจากพฤติกรรมที่สลับซับซ้อนน้อยไปหามาก หรือจากทักษะการคิดข้ันต่ำกว่าไปหาทักษะการคิด
ข้ันสูงกว่า ดังนี้ คือ ความจำ (Remembering) ความเข้าใจ (Understanding) การประยุกต์ใช้
(Applying) การวิเคราะห์ (Analyzing) การประเมิน (Evaluating) และการสร้างสรรค์ (Creating)
ดงั นี้

1. บอกคุณสมบัติ จับคู่ เขียนลำดับ อธิบาย บรรยาย ขีดเส้นใต้ จำแนก หรือระบุ
กรณีศึกษาการจดั การเรยี นรแู้ บบหอ้ งเรยี นกลบั ด้านได้

2. แปลความหมาย อธิบาย ขยายความ สรุปความ ยกตัวอย่าง บอกความแตกต่าง หรือ
เรยี บเรียง กรณีศึกษาการจัดการเรยี นรู้แบบหอ้ งเรยี นกลับดา้ นได้

3. แก้ปัญหา สาธิต ทำนาย เช่ือมโยง ความสัมพันธ์ เปลี่ยนแปลง คำนวณ หรือปรับปรุง
กรณีศกึ ษาการจดั การเรียนรแู้ บบห้องเรียนกลบั ด้านได้

4. แยกแยะ จัดประเภท จำแนกให้เห็นความแตกต่าง หรือบอกเหตุผล กรณีศึกษาการ
จดั การเรียนรูแ้ บบห้องเรียนกลับดา้ นได้

5. วัดผล เปรียบเทียบ ตีค่า ลงความเห็น วิจารณ์ กรณีศึกษาการจัดการเรียนรู้แบบ
หอ้ งเรยี นกลับดา้ นได้

6. รวบรวม ออกแบบ จัดระเบียบ สร้าง ประดิษฐ์ หรือวางหลักการ กรณีศึกษาการ
จดั การเรยี นรู้แบบห้องเรียนกลบั ดา้ นได้

คำชี้แจง
1. โปรดศึกษาเนื้อหาเก่ียวกับกรณีศกึ ษาการจัดการเรยี นรู้แบบห้องเรยี นกลบั ด้านที่นำมา
กลา่ วถึงแต่ละทศั นะ
2. หลังจากการศึกษาเน้ือหาโปรดทบทวนความเข้าใจจากคำถามท้ายเน้ือหาของแต่ละ
ทัศนะ
3. ศึกษารายละเอียดของกรณีศึกษาการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านจากแต่ละ
ทัศนะท่ีเป็นต้นฉบับภาษาอังกฤษ โปรด “คลิก” ดูได้จากเว็บไซต์นำเสนอไว้ท้าย
เนื้อหาของแต่ละทศั นะ

71

Miller (2012) จาก George Lucas Educational Foundation ได้ให้ทัศนะเกี่ยวกับ 5
Best Practices for The Flipped Classroom ดงั น้ี

5 แนวทางปฏิบัติท่ีดีที่สุดสำหรับห้องเรียนกลับด้าน (5 Best Practices for The
Flipped Classroom)

ห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom) จะต้องส่งเสริมความคิดและบทบาท "การชี้นำ
อยู่เคียงข้าง" มากกว่าท่ีจะเป็น "นักปราชญ์บนเวที" ช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมห้องเรียนจากที่ครูต้องส่ง
มอบความรู้กับนักเรียน เป็นการสร้างความรู้โดยนักเรียนมากกว่า แม้แต่ Salman Khan ยังบอกว่า
ตอนนี้ครู “ได้รับอิสรภาพในการส่ือสารกับนักเรียน” นอกจากน้ียังสร้างโอกาสสำหรับบทบาทท่ี
แตกต่างเพื่อตอบสนองความต้องการของนักเรยี นผ่านกิจกรรมการเรยี นการสอนท่หี ลากหลาย อันดับ
แรกต้องมุง่ เนน้ ทก่ี ารสร้างการมสี ่วนร่วม จากน้ันจึงดูโครงสร้าง

1) ต้องการรู้ (Need to Know)
คุณจะทำให้เกิดความต้องการรู้เน้ือหาที่คุณบันทึกไว้แล้วได้อย่างไร เพียงเพราะบันทึก
บางอย่างหรอื ใชเ้ น้ือหาทบ่ี ันทึกไว้ ไม่ไดห้ มายความว่านักเรียนจะต้องการดู หรืออาจไม่เห็นประโยชน์
ในการรับชม วิธีการสอนอาจยังคงเป็นการบรรยาย นอกจากน้ี "สิ่งท่ีต้องรู้" น้ีไม่ใช่ "เพราะอยู่ในการ
ทดสอบ" หรือ "เพราะจะช่วยคุณได้เม่ือเรียนจบ" แม้ว่านั่นอาจเป็นความจริง แต่เหตุผลเหล่าน้ีไม่ได้
ดึงดูดนักเรียนที่กำลังพยายามค้นหาความหมายและความเกี่ยวข้องในโรงเรียนอยู่แล้ว หากห้องเรียน
ที่กลับด้านเป็นนวัตกรรมอย่างแท้จริง กต็ ้องมาควบคู่กับเหตุผลในการรับทราบเนื้อหาที่พิสูจน์ไดแ้ ละ/
หรือสำคัญ
2) รปู แบบการมีส่วนร่วม (Engaging Models)
วิธีที่ดีท่ีสุดวิธีหน่ึงในการสร้าง “ความต้องการท่ีจะรู้” คือการใช้แบบจำลองการสอนท่ีทำ
ให้เกิดความต้องการ ส่ิงนี้ไม่ว่าจะเป็นการเรียนรู้ตามโครงงาน (Project-Based Learning : PBL)
การเรียนรู้จากเกม (Game-Based Learning : GBL) การสร้างความเข้าใจโดยการออกแบบ
(Understanding by Design : UbD) หรือความรู้ความเข้าใจท่ีแท้จริง ให้ค้นหารูป แบบท่ีมี
ประสทิ ธิภาพเพ่ือใชใ้ นห้องเรียนของคุณ และทำให้เกดิ ความเช่ียวชาญในรปู แบบเหล่านนั้ ก่อน แล้วจึง
ใช้ห้องเรียนกลับด้านเพ่ือสนับสนุนการเรียนรู้รูปแบบน้ัน ๆ ตัวอย่าง : เรียนรู้การออกแบบ การ
ประเมิน และการจัดการ PBL ให้เช่ียวชาญแล้วดูว่าคุณสามารถใช้ห้องเรียนท่ีพลิกกลับเพ่ือสนับสนุน
กระบวนการได้อย่างไร อาจเป็นวิธที ี่ดีในการสร้างความแตกต่างในการสอน หรือสนับสนุนนักเรียนท่ี
ต้องการเรียนด้วยรูปแบบอื่น บางทีนักเรียนอาจเสนอ "ความต้องการรู้" ให้คุณ และคุณตอบด้วย
เน้ือหาความรู้บันทึกไว้เพื่อสนับสนุน ส่ิงนี้จะช่วยให้คุณเชี่ยวชาญในบทบาทของคุณในฐานะ "ผู้ช้ีนำ
ทอี่ ยู่เคยี งขา้ ง"

72

3) เทคโนโลยี (Technology)
คุณมีเทคโนโลยีอะไรบ้างเพื่อรองรับห้องเรียนกลับด้าน มีช่องว่างด้านเทคโนโลยีใดบ้างที่
อาจขัดขวาง เน่ืองจากห้องเรียนกลับด้านเป็นเรื่องเก่ียวกับวิดีโอที่บันทึกไว้ ดังน้ันแน่นอนว่านักเรียน
จะต้องใช้เทคโนโลยีในการดำเนินการดังกล่าว มีหลายส่ิงที่ควรพิจารณาในจุดน้ี คุณต้องการให้
นักเรียนทุกคนได้ดูวิดีโอ หรือใช้วิธีสร้างความแตกต่างและให้ทางเลือก คุณจะอนุญาตหรือพ่ึงพาการ
เรียนรู้ผ่านมือถือเพ่ือให้นักเรียนดูได้หรือไม่ น่ีเป็นเพียงคำถามบางส่วนท่ีควรพิจารณาในแง่ของ
เทคโนโลยีอีกคร้ัง การขาดเทคโนโลยีไม่ใช่เป็นการปิดประตูสู่รูปแบบห้องเรียนกลับด้านเสมอไป แต่
อาจตอ้ งมกี ารวางแผนและการสรา้ งความแตกตา่ งอย่างรอบคอบ
4) การไตร่ตรอง (Reflection)
ทุกครั้งท่ีคุณให้นักเรียนดูวิดีโอ คุณต้องสร้างกิจกรรมเพ่ือให้นักเรียนได้ไตร่ตรอง
เช่นเดียวกับที่คุณทำในกิจกรรมการสอนอื่นๆ เพ่ือให้นักเรียนคิดเก่ียวกับส่ิงท่ีเรียนรู้ว่าจะช่วยในการ
เรียนได้อย่างไร มีความเกี่ยวข้องอย่างไร และอื่นๆ หากการไตร่ตรองไม่ใช่สิ่งที่ทำเป็นปกติใน
วัฒนธรรมการเรียนรู้ของห้องเรียนคุณ การนำห้องเรียนกลับด้านมาใช้จะไม่เป็นผลดีเท่าท่ีควร
นักเรียนจำเป็นต้องมีอภิปัญญาเพ่ือเชื่อมโยงเน้ือหากับวัตถุประสงค์ ไม่ว่าจะเป็นความคืบหน้าใน
หน่วยการเรียนรู้ GBL หรือการทำงานเพอ่ื ม่งุ ใหเ้ กิดผลติ ภณั ฑ์ที่แทจ้ รงิ ในโครงการ PBL
5) เวลาและสถานท่ี (Time and Place)
คุณมโี ครงสร้างเพื่อรองรบั สิ่งน้ีหรือไม่ การเรียนรจู้ ะเกิดข้ึนเมื่อไหร่และที่ไหน ฉันเชื่อวา่ ไม่
ยุติธรรมท่ีจะเรียกร้องให้นักเรียนดูวิดีโอนอกเวลาเรียนด้วยเหตุผลหลายประการ หากคุณมี
สภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบผสมผสาน แน่นอนว่าจะมีเวลาและสถานที่ตามธรรมชาติในการรับชม
วิดีโอ แตย่ ากท่ีจะแน่ใจว่านักเรยี นทุกคนดูวิดีโอเป็นการบ้าน นอกจากนี้อย่าสรา้ งวิดีโอเป็นมหากาพย์
ทใี่ ช้เวลาหลายช่ัวโมง ให้การเรียนรู้วิดีโอสามารถจัดการได้ง่ายสำหรับนักเรียน ส่ิงน้ีจะชว่ ยคุณในการ
ประเมินเพ่ือติดตามความก้าวหน้าในการเรียนรู้ของผู้เรียนเพื่อสร้างความมั่นใจในการเรียนรู้ของ
นกั เรียน และนกั เรียนจะรูส้ กึ ว่าทำได้
สำหรับผ้ทู ี่รักห้องเรียนกลบั ด้าน เปน็ เพียงการเร่มิ ต้น ควรเน้นท่ีการปฏิบัติของครู ตามด้วย
เครื่องมือและโครงสร้าง ห้องเรียนกลับด้านเป็นวิธีหน่ึงที่จะช่วยให้ครูมีการสอนท่ีดีข้ึนแต่ไม่มีอะไร
รับประกันได้ เช่นเดียวกับท่ีกล่าวไว้ข้างต้น ให้เน้นหาวิธีปรับปรุงการสอนของคุณก่อนเลือกใช้
"ห้องเรยี นกลบั ด้าน"

โปรดทบทวน – กรณีศึกษาการจัดการเรยี นรู้แบบห้องเรยี นกลับด้าน
จากทศั นะของ Miller มสี าระสำคัญอะไร
………………………………………………………………………………...................
............................................................................................................
............................................................................................................
หมายเหตุ - ศึกษาจากต้นฉบับภาษาองั กฤษ โปรด “คลิก” ดูไดจ้ ากเว็บไซต์ข้างลา่ งนี้

https://www.edutopia.org/blog/flipped-classroom-best-practices-andrew-miller

73

Kenney (2019) ได้ เขี ย น Josh Kenney's Blog มี เนื้ อ ห า เกี่ ย ว กั บ Teaching
Chemistry with Case Studies โดยได้ยกตวั อยา่ งกิจกรรมของห้องเรยี นกลับดา้ น ดังนี้

หอ้ งเรยี นกลับด้าน: กรอบการทำงานสำหรับกิจกรรมในชนั้ เรียน
วธิ ีการเรยี นรู้แบบห้องเรยี นกลับด้าน (Flipped Classroom) เป็นที่นยิ มอย่างไม่ต้องสงสัย
ตามที่เห็นจากจำนวนหนังสือที่เกี่ยวข้อง การประชุม และการเป็นสมาชิกเครือข่ายนักการศึกษาท่ี
เพิ่มข้ึนอย่างต่อเน่ือง แม้ว่าจะมีการรายงานถึงอุปสรรคเกี่ยวกับวิธีการเรียนรู้เช่นนี้ แต่ข้อดีก็มีการ
กล่าวอ้างอย่างกวา้ งขวางกว่ามาก ข้อดีหลายประการเกี่ยวข้องกับความสามารถในการสนับสนุนด้าน
การสอน เช่น การเรียนรู้ท่ียืดหยุ่น โอกาสในการเรียนรู้จากเพ่ือน และกลยุทธ์การเรียนรู้เชิงรุกอ่ืนๆ
แม้ว่าการเรียนรู้เชิงรุกอาจไม่เป็นประโยชน์อีกต่อไปในห้องเรียนแบบกลับด้านเม่ือเปรียบเทียบกับ
ห้องเรียนแบบเดิม แต่ก็ชัดเจนว่าช้ันเรียนแบบกลับด้านสามารถเพ่ิมความถ่ีของโอกาสในการเรียนรู้
เชงิ รุกได้
ในโพสต์นี้ จะสำรวจกิจกรรมในช้ันเรียนและตอบคำถามตอ่ ไปน:ี้
1. กจิ กรรมในชนั้ เรยี นท่ีนยิ มใช้ในหอ้ งเรียนแบบกลับด้านคอื อะไร
2. สามารถจัดโครงสร้างช่วงเวลาเรียนเพื่อให้ใช้เวลาเรียนให้เกิดประโยชน์สูงสุดและรวม

กิจกรรมมากมายเหลา่ นีไ้ วไ้ ดอ้ ย่างไร
ในการทบทวนวรรณกรรมปี 2018 Akçayir and Akçayir ได้ทำการทบทวนงานวิจัย
เกี่ยวกับห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom) อย่างเป็นระบบในวงกว้างตั้งแต่ปี 2000 ใน
การศึกษาน้ี ได้สำรวจข้อดี ความท้าทาย และจัดหมวดหมู่ประเภทของกิจกรรมในห้องเรียนกลับด้าน
ท้ังที่เกิดขึ้นในห้องเรียนและนอกห้องเรียน พบว่ากิจกรรมที่ได้รับความนิยมมากท่ีสุดคือกิจกรรมที่
เน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลาง รวมถึงการอภิปราย กิจกรรมกลุ่มย่อย ข้อเสนอแนะ การแก้ปัญหา และ
การทำงานร่วมกันเป็นกลมุ่ แต่ละกิจกรรมเหล่าน้อี ยู่ภายใต้กิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก ซึ่งแตกต่างจาก
การเรียนรู้จากการบรรยายแบบเดิม ในรูปแบบการเรียนรู้แบบเดิม นักเรียนมีส่วนร่วมอย่างไม่
กระตือรือร้นกับเนื้อหาเน่ืองจากการสื่อสารส่วนใหญ่มาจากผู้สอน ในระหว่างการเรียนเชิงรุก
นักเรียนจะมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้มากข้ึน มีส่วนร่วมในการคิดเก่ียวกับเนื้อหาและสื่อสาร
แนวทางการเรียนรูอ้ ย่างแข็งขนั
ในบริบทของวิชาเคมี พบว่ากิจกรรมเหล่านี้บางกิจกรรมมีประโยชน์มากกว่ากิจกรรมอื่นๆ
ตลอดหลายปีท่ีผ่านมาได้ปรับปรุงกรอบการทำงานเพื่อรวมกลยุทธ์เหล่าน้ีสำหรับชั้นเรียนเดียวเป็น
ประจำ แมว้ ่าจะสอนให้เสรจ็ ภายในช่วง 80 นาที แต่โมเดลนีส้ ามารถปรับให้ทำงานในช่วงเวลาเรียนที่
สนั้ กว่าได้โดยแบง่ กรอบงานออกเป็นสองวัน

74

ตามหลักการกำกับดูแล ความสม่ำเสมอในการมอบหมายงานและวิธีการเป็นส่ิงสำคัญ ใน
การศึกษาล่าสดุ เก่ียวกับการมีส่วนร่วมของนักเรียนในห้องเรียนกลับด้าน Gilboy et al พบว่า หากมี
การเปลี่ยนแปลงเก่ียวกับกลยุทธ์และวิธีการในชั้นเรียนบ่อยเกินไปจะทำให้ประสิทธิภาพการเรียนรู้
ลดลง เนื่องจากนักเรียนมักจะเน้นที่กลยุทธ์การเรียนรู้แทนเน้ือหา ดังนั้นจึงจัดการเรียนการสอนใน
ลักษณะเดียวกันทุกสัปดาห์ พยายามจัดเนื้อหาของสัปดาห์น้ันในหัวข้อที่กว้างขึ้น ยกตัวอย่างเช่น
อาจสอนเกี่ยวกับหัวข้อโมเลกุลในมุมกว้างๆ ในหน่ึงสัปดาห์ และแต่ละคาบเรียนจะเรียนรู้เนื้อหาที่
เกี่ยวข้องกับหัวข้อน้ัน สำหรับหัวข้อของโมเลกุลจะเรียนรู้การวาดสูตรโครงสร้าง กำหนดโครงสร้าง
สามมิติด้วยทฤษฎี VSEPR และระบุพันธะและข้ัวของโมเลกุล ทุกส้ินสัปดาห์จะมีการประเมินความรู้
ด้วยแบบทดสอบ ในตอนเริ่มตน้ สัปดาห์จะใหน้ ักเรียนทำแบบทดสอบเพ่ือฝึกการเรยี นรู้ใหน้ ักเรยี น ซึ่ง
เชอ่ื ว่ามีความจำเป็นอย่างมากเพราะช่วยชน้ี ำให้นกั เรียนรวู้ ่าจะต้องโฟกัสไปท่ที ักษะความรทู้ ่จี ำเป็นใด
ทคี่ วรมีกอ่ นจะสิน้ สุดสปั ดาห์นัน้

ในทำนองเดียวกัน แต่ละคาบเรียนเป็นไปตามกรอบการทำงานท่ัวไป แต่ละคาบเรียน
ประกอบด้วยองค์ประกอบต่อไปนี้ : บัตรเข้างาน (Entrance Card) การคิดแบบกลุ่ม (Group
Thinking) การประชุมเชิงปฏิบตั ิการ (Workshop) งานการเรียนรู้ (Learning Tasks) บัตรออก (Exit
Card)

บตั รเขา้ (Entrance Card)
ก่อนช้ันเรียน นักเรียนเตรียมตัวโดยการจดบันทึกในขณะดูวิดโี อแนะนำบทเรียนและ/หรือ
อ่านหนา้ หนงั สอื เรียนท่ีเกี่ยวข้อง จะมีการประเมินความรู้และทักษะท่ีเกีย่ วขอ้ งเล็กน้อยในตอนเรม่ิ ต้น
แตล่ ะคาบเรยี น หรือทเี่ รยี กว่าบัตรเข้า บัตรเข้าเป็นแบบทดสอบมีคำถาม 3-5 ข้อสั้นๆ ท่ีประกอบดว้ ย
ปัญหาท่ีเกี่ยวข้องกับหวั ข้อสำหรับวันน้ัน นอกจากนี้อาจจะใส่คำถามที่ช่วยทบทวนเน้อื หาของวนั ก่อน
หน้า เมื่อทุกคนทำบัตรเข้าเสร็จแล้ว นักเรียนแลกเปล่ียนกระดาษกัน จะให้คะแนนด้วยกัน บัตรเข้า
มคี ่าไม่เพียงแต่เป็นวิธีการตรวจสอบวา่ นักเรียนทำงานเพื่อเตรียมพร้อมตนเองเสร็จแล้ว แต่ยังเป็นอีก
หนึ่งรูปแบบของการสะท้อนผลท่ีสามารถบอกผู้สอนเก่ียวกับคุณภาพของการเรียนรู้ของนักเรียนได้
อยา่ งทนั ที
การคดิ แบบกลุ่ม (Group Thinking)
วาระต่อไปเป็นกิจกรรมการคิดแบบกลุ่ม ความเข้าใจเชิงทฤษฎีทางสังคมเกี่ยวกับการ
สร้างสรรค์ความรู้ในการเรียนรู้เก่ียวกับส่ิงต่างๆ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าความรู้น้ันสร้างได้ดีท่ีสุดใน
สภาพแวดล้อมทางสังคมท่ีได้รับการปลูกฝัง ภายในสภาพแวดล้อมนี้เพื่อนร่วมงานสื่อสารโต้ตอบกัน
ด้วยการท้าทายและสนับสนุนซ่ึงกนั และกนั ในขณะเดยี วกันก็ประมวลผลเน้ือหา กจิ กรรมการคิดแบบ
กลุ่มท่ีได้ผลเป็นกิจกรรมท่ีท้าทายและไม่เป็นเส้นตรง ทำให้นักเรียนคิดอย่างลึกซึ้งยิ่งข้ึนเก่ียวกับ
เนื้อหาและพยายามเต็มที่ในความร่วมมือระหว่างกัน ด้วยการออกแบบการเรียนรู้เช่นน้ีนักเรียนที่
เข้มแข็งจะตอ้ งช่วยเหลือนกั เรียนท่ีกำลังพยายาม
ตวั อย่างของกจิ กรรมการคดิ แบบกลุ่ม เช่น เมื่อเรียนรเู้ กีย่ วกบั แนวโน้มพริ ิออดกิ (Periodic
Trends) ใช้กิจกรรมการวิเคราะห์ข้อมูลท่ีคล้ายกับเคร่ืองมือการศึกษาของ New York Times คือให้
วิเคราะห์ว่าเกิดขึ้นอะไรข้ึนในกราฟน้ี นักเรียนวิเคราะห์กราฟที่ส่ือถึงพลังงานไอออไนเซชัน
(Ionization) ท่ีเก่ียวข้องกับตัวแปรอ่ืน ๆ เช่น จำนวนอะตอมและการกำจัดอิเล็กตรอนที่เกิดขึ้น

75

ตามมา (ดูข้อมูลสนับสนุน) กิจกรรมนี้ใช้เวลาประมาณ 10 - 15 นาทีก็เสร็จสมบูรณ์ ทำให้เกิดการ
สนทนาที่ให้ความหมายพลังงานไอออไนเซชัน และมีการพูดคุยถึงสาเหตุที่ความใกล้ชิดของ
อเิ ล็กตรอนกบั นวิ เคลียสมีผลกระทบต่อพลังงานไอออไนเซชนั เป็นต้น

การประชุมเชิงปฏิบัติการ (Workshop)
หลังจากขั้นตอนการคิดแบบกลุ่มก็เข้าสู่บทเรียนย่อยที่เรียกว่า “การประชุมเชิง
ปฏิบัติการ” บทเรียนน้ีมุ่งเป้าไปท่ีการแก้ไขความเข้าใจผิดและเน้นย้ำประเด็นท่ีสำคัญ นักเรียนท่ีทำ
คะแนนไดม้ ากกว่ารอ้ ยละ 80 ในขั้นตอนบัตรเข้าสามารถ “ข้าม” การประชุมเชิงปฏิบัตกิ ารไปได้ เพ่ือ
เตรียมตัวสำหรับคาบเรียนถัดไปหรือทำงานท่ีได้รับมอบหมาย โดยท่ัวไปนักเรียนที่สามารถ “ข้าม”
การประชุมเชิงปฏิบัติการจะเรียนรู้และแก้ไขถึงส่ิงที่เข้าใจผิดตั้งแต่ขั้นตอนการคิดแบบกลุ่ม และการ
ประชุมเชิงปฏิบัติการจะให้ผลดีกว่าหากเป็นการปฏิบัติในหมู่นักเรียนกลุ่มเล็กๆ ท่ียังไม่เข้าใจใน
เนื้อหา
งานการเรยี นรู้ (Learning Tasks)
ในแตล่ ะสัปดาห์ นักเรียนสามารถเลือกทำงานจากรายการที่มอบหมาย โดยท่ัวไปงานจะมี
สองรูปแบบ คือ 1) ฝึกแก้ปัญหาซึ่งมีไว้สำหรับนักเรียนที่อาจต้องใช้เวลามากกว่าคนอ่ืนในการเรียนรู้
ความรู้และทักษะพ้ืนฐาน และ 2) กิจกรรม POGIL เพ่ือให้นักเรียนสามารถพัฒนาความเข้าใจเชิง
แนวคดิ ในเนอื้ หาทลี่ กึ ซึ้งยิ่งข้ึน
บตั รออก (Exit Card)
บัตรออกจะอยู่ในรูปแบบเดียวกับบัตรเข้า แต่อย่างไรก็ตามนักเรียนสามารถเลือกได้ว่าจะ
สอบหรือไม่ อาจเก็บคะแนนท่ีดีกว่าระหว่างการสอบสองคร้ังน้ีเท่าน้ัน นักเรียนที่ต้องการปรับปรุง
คะแนนบัตรเขา้ ก็จะเลือกทำบัตรออก จากการศึกษาพบว่าผลการประเมนิ เพ่ิมขึ้นระหว่างคะแนนบัตร
เข้าและบัตรออกเฉลี่ยประมาณร้อยละ 50 – 75 นอกจากนี้ยังพบว่าคะแนนเหล่านี้เป็นแหล่งข้อมูล
ทดี่ สี ำหรบั ใช้ในการพูดคยุ กบั นกั เรียนและผปู้ กครองเก่ียวกบั พัฒนาการดา้ นการเรียนรู้ในหลกั สูตรของ
นักเรยี น
แม้ว่ารูปแบบนี้จะใช้ได้ดีในห้องเรียนกลับด้าน แต่การยึดติดกับกรอบงานแนวเดิมเรื่อย ๆ
ในบางคร้ังอาจส่งผลให้หลักสูตรดนู ่าเบ่ือหรือเข้มงวดเกินไป อาจสร้างสมดุลโดยลดความเข้มงวดด้วย
การใช้ความหลากหลายในขน้ั ตอนการคดิ แบบกลุ่มและงานการเรียนรู้

โปรดทบทวน – กรณศี ึกษาการจัดการเรียนรู้แบบหอ้ งเรยี นกลับด้าน
จากทัศนะของ Kenney มสี าระสำคญั อะไร
………………………………………………………………………………...................
............................................................................................................
............................................................................................................
หมายเหตุ - ศึกษาจากตน้ ฉบับภาษาอังกฤษ โปรด “คลกิ ” ดไู ด้จากเว็บไซตข์ า้ งล่างน้ี

https://www.chemedx.org/blog/flipped-classroom-framework-class-activities

76

Trach (2021) นักเขียนและบล็อกเกอร์มืออาชีพเป็นผู้อำนวยการฝ่ายสร้างสรรค์ท่ี
Blogwright Newburyport รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอมริกา ได้เขียนคู่มือสำหรับผู้เร่ิมต้นสู่ห้องเรียน
กลับด้าน (A Beginner's Guide to Flipped Classroom) โดยกล่าวถึง เสาหลัก เครื่องมือ และ
กจิ กรรมของหอ้ งเรยี นกลับดา้ น ดังนี้

ส่ีเสาหลกั ของการกลบั ดา้ น : F-L-I-P (The Four Pillars of F-L-I-P)
F : สภาพแวดล้อมการเรยี นรู้ที่ยืดหยนุ่ (F: Flexible Learning Environment)
เม่ือคุณเลิกบรรยายแบบเดิมๆ นักเรียนท่ีนั่งนิ่งๆ ในแถวจะหายไปเพราะต้องจัดท่ีนั่งใน
แบบท่ียืดหยุ่นได้ ท่ีนั่งควรเป็นแบบแยกส่วนและง่ายต่อการจัดให้เกิดการทำงานเป็นกลุ่มและงาน
เดี่ยวที่หลากหลาย ในทำนองเดียวกันช่วงเวลาของบทเรียนจะต้องยืดหยุ่นเพ่ือให้นักเรียนสามารถ
เรียนรู้เก่ียวกับหัวข้อได้อย่างเต็มท่ีและทำความเข้าใจตามจังหวะการเรียนรู้ของตนเองซ่ึงอาจจะช้า
หรือเรว็ ขน้ึ อย่กู บั แตล่ ะบุคคล
L : วฒั นธรรมการเรยี นรู้ (L: Learning Culture)
แทนท่ีจะเป็นการเรียนรู้แบบครูเป็นศูนย์กลาง ห้องเรียนกลับด้านทำให้นักเรียนเป็น
ศูนย์กลางของบทเรียน นักเรียนจะเป็นผู้ช้ีนำจังหวะและรูปแบบการเรียนรู้ และผู้สอนจะทำหน้าท่ี
เป็น "ผู้ชี้แนะท่ีอยู่เคียงข้าง" ผู้สอนจะช่วยนักเรียนผ่านการทดลองหรือแนะนำชุดฝึกปฏิบัติ เมื่อ
นกั เรยี นตอ้ งการความช่วยเหลือในการนำขอ้ มลู ใหม่ไปใช้
I : ความตง้ั ใจศึกษาเนอื้ หา (I: Intentional Content)
ผู้สอนที่ใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบกลับด้านมักจะมองหาวิธีเพ่ิมคุณค่าในการใช้เวลาใน
ห้องเรียนให้เต็มท่ีอยู่เสมอ เพ่ือให้นักเรียนมีส่วนร่วมอย่างแข็งขันในการเรียนรู้และการปฏิบัติจริง
แนวทางนี้เน้นให้จัดลำดับความสำคัญของบทเรียนท่ีให้ผลดีในรูปแบบการเรียนรู้นี้ และหาวิธีที่จะ
สง่ เสริมใหผ้ ู้เรียนทำงานอยา่ งอิสระ
P : นักการศึกษามืออาชีพ (Professional Educator)
แบบจำลองแบบกลับด้านตอ้ งการให้ผสู้ อนคอยตรวจสอบนกั เรียนอย่างต่อเน่ืองเพื่อระบุว่า
ใครต้องการความช่วยเหลือในเรื่องใดและเพราะเหตุใด ผู้สอนต้องตอบสนองได้ทันท่วงทีและมีความ
ยืดหยุ่น ต้องเข้าใจว่ารูปแบบการสอนท่ีต้องใช้ความกระตือรือร้นสูงนี้ต้องใช้ทักษะการสอนท่ียอด
เยย่ี ม แม้จะไมไ่ ด้โดดเด่นอย่างเห็นได้ชดั เหมือนแต่ก่อน แต่ผู้สอนก็ยังต้องปฏิบตั ิงานได้อย่างยอดเย่ยี ม
เพอ่ื ดูแลนักเรยี นในห้องเรยี นท่ีกลับด้าน

77

4 เคร่อื งมอื สำหรับห้องเรยี นกบั ด้าน (4 Tools for Flipped Classroom)
มเี ครอ่ื งมือมากมายสำหรับหอ้ งเรียนกลับด้านที่สามารถใช้เพ่ือช่วยผสู้ อนจัดการกับแนวคิด
นี้ได้ แม้ว่าจะมีเครื่องมือมากมายสำหรับการกลับด้านหรือพลิกห้องเรียน แนะนำให้เก็บส่ือการสอน
และประสบการณ์การเรียนรู้ของนักเรียนท้ังหมดไว้ในศูนย์กลาง หรือเรียกอีกอย่างว่าระบบการ
จดั การการเรียนรู้
Khan Academy เปน็ เคร่ืองมอื ทย่ี อดเย่ียมทีม่ ีการบรรยายความรตู้ ่าง ๆ ผ่านวดิ ีโอ มวี ิดีโอ
มากกว่า 3,000 รายการที่ครอบคลุมวิชาใน K-12 นักการศึกษายังสามารถตรวจดไู ด้ว่านกั เรยี นเรียนรู้
ไดไ้ กลแค่ไหนในบทเรียน เมอื่ กลับเขา้ มาในห้องเรียนผสู้ อนจะรู้ว่าควรคาดหวังอะไรจากนกั เรียน
Nearpod ช่วยให้ครูสามารถมีส่วนร่วมกับบทเรียนท่ีสามารถโต้ตอบได้ ตัวอย่างบางส่วน
ได้แก่ แบบสำรวจ ทัศนศึกษาแบบเสมือนจริง (Virtual Reality; VR) คำถามปลายเปิด และ
แบบทดสอบ
Playposit เป็นเคร่ืองมือที่มีวิดีโอเชิงโต้ตอบท่ีเน้นไปท่ีขั้นตอนการทำงานท่ีราบรื่น การมี
ส่วนร่วมของผู้เรียน การเขียนที่เรียบง่าย และการติดตามประสิทธิภาพ ตามท่ีกล่าวอ้างไว้ในเว็บไซต์
วดิ โี อเชิงโต้ตอบมปี ระสิทธภิ าพมากกวา่ วิดโี อมาตรฐานถงึ สามเทา่
BrainPOP เป็นเว็บไซต์เพ่ือการศึกษาแบบเคลื่อนไหวสำหรบั นักเรียน สามารถใช้ช่วยสอน
วิชาต่าง ๆ ด้วยภาพยนตรแ์ อนิเมชั่นท่ีสนุกสนานและบันเทงิ ใจ
กจิ กรรมห้องเรียนกลบั ด้าน (Flipped Classroom Activities)
การเลิกการบรรยายที่เน้นครูเป็นศูนย์กลางเป็นการเปลี่ยนกระบวนทัศน์ที่สำคัญสำหรับ
ผสู้ อนส่วนใหญ่ และการออกแบบบทเรียนที่นำนักเรียนมาเปน็ ศูนย์กลางน้ันต้องอาศัยการฝึกฝน ลอง
กจิ กรรมสำหรบั หอ้ งเรียนกลบั ด้านเหลา่ น้ีเพอ่ื ให้เปน็ จดุ เร่ิมต้นสำหรับบทเรยี นท่ีสร้างสรรคม์ ากข้ึน
A สำหรบั การประเมนิ (A Is for Assessment)
เคล็ดลับสู่ความสำเร็จประการหน่ึงสำหรับแบบจำลองที่พลิกกลับด้านคือต้องแน่ใจว่า
นักเรียนมาที่ชั้นเรียนพร้อมข้อมูลพ้ืนฐานที่ต้องการ นอกเหนือจากการทำให้แน่ใจว่าส่ือการสอนที่
มอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาเป็นการบ้านมีความเก่ียวข้องในเน้ือหาท่ีสอนแล้ว ให้วางแผนเริ่มต้น
ชั้นเรียนด้วยการประเมินสั้นๆ เพ่ือให้แน่ใจว่าทุกคนพร้อม นี่อาจเป็นปัญหาเดียวที่ต้องแก้ไข การ
สำรวจผ่านสมาร์ทโฟนหรือคลิกเกอร์ หรือแบบทดสอบสั้นๆ ที่สามารถทบทวนได้ทันที หากประเมิน
แลว้ เป็นการเหมาะสมกวา่ อาจตอ้ งสอนซำ้ กอ่ นดำเนนิ การต่อ
การสรา้ งคำถาม (Question Generation)
เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ขจัดความสับสนในช่วงต้นบทเรียนด้วยเซสชันการถาม - ตอบ ให้
นักเรียนเขียนคำถามบนกระดานไวท์บอร์ด หรือเขียนคำถามห้าข้อแรกที่น่าสนใจบนกระดานขาต้ัง
และให้นักเรียนโหวตผ่านการใช้สติกเกอร์สำหรับคำถามที่ต้องการคำตอบ ผู้สอนสามารถให้คำตอบ
เองหรือแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มๆ เพอ่ื ช่วยกันเติมเต็มขอ้ สงสยั
แนวทางการสอนแบบอา่ งปลา (Fishbowl Practice)
ให้อาสาสมัครออกมาแก้ปัญหา ร่วมสนทนา หรือปฏิบัติงานหนึ่งๆ ในขณะท่ีทุกคนดู ผู้
สังเกตการณ์ควรจดบันทึกข้ันตอนและเสนอแนะวิธีปรับปรุง จากน้ันจึงอภิปราย วิธีน้ีใช้ไม่ได้กับทุก

78

หัวข้อการเรียนรู้ แต่อาจเป็นวิธีท่ีดีในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์หรือแก้ไขประโยคหน่ึงหรือสอง
ประโยค

การสวมบทบาท (Role Play)
สำหรับหัวข้อด้านมนุษยศาสตร์ท่ีซับซ้อน การแสดงบทบาทสมมติสามารถทำให้นักเรียน
เข้าถึงหัวใจของปัญหาได้โดยการแสดงมุมมองท่ีแตกต่างกัน มอบหมายบทบาทและให้นักเรียน
เผชิญหน้าในการโต้วาทีหรืออภิปราย สำหรับเพื่อให้เกิดการคิดที่ลึกซ้ึงยิ่งขึ้น ให้นักเรียนเปลี่ยน
บทบาทระหวา่ งการฝกึ เพอ่ื สัมผสั มมุ มองใหม่ ๆ
กระตือรอื รน้ อยู่เสมอ (Stay Active)
การเรียนรู้เชิงรุกเป็นกุญแจสำคัญในการทำให้นักเรียนมีส่วนร่วมกับเน้ือหาใหม่ ๆ ในช่วง
เวลาเรียน อย่าลืมจัดพ้ืนที่ให้เพียงพอเพื่อให้เกิดความสะดวกในการเคล่ือนที่ไปรอบๆ ห้อง และ
ทำงานเป็นคู่และเป็นกลุ่ม โปรดดูกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุกและกิจกรรมในห้องเรียนกลับด้านของ
University of Waterloo เพือ่ ใหเ้ กิดแรงบันดาลใจเพิ่มเตมิ

โปรดทบทวน – กรณีศึกษาการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรยี นกลบั ด้าน
จากทศั นะของ Trach มสี าระสำคญั อะไร
………………………………………………………………………………...................
............................................................................................................
............................................................................................................
หมายเหตุ - ศึกษาจากต้นฉบับภาษาอังกฤษ โปรด “คลกิ ” ดูไดจ้ ากเว็บไซตข์ ้างลา่ งน้ี

https://www.powerschool.com/blog/a-beginners-guide-to-the-flipped-classroom/

Source - https://www.aksorn.com/flipped-classroom

79

สรุป การจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านจากกรณีศึกษาที่ Kenney (2019), Trach
(2021) และ Miller (2012) กล่าวถึง มีกิจกรรมที่น่าสนใจและเป็นแนวทางเพื่อการนำไปเป็นแนว
ปฏบิ ัตไิ ด้ ดังน้ี

1) กจิ กรรมการเรียนรู้เชิงรุกทเ่ี น้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง รวมถึงการอภิปราย กจิ กรรมกลุ่ม
ยอ่ ย ข้อเสนอแนะ การแก้ปัญหา และการทำงานรว่ มกันเป็นกลมุ่

2) การเตรียมตัวก่อนเข้าช้ันเรียน โดยผู้เรียนต้องศึกษาบทเรียนล่วงหน้า เช่น การดูวิดีโอ
การอ่านหนังสือท่ีเก่ียวข้อง มีการจดบันทึกและประเมินความรู้ ทักษะที่เกี่ยวข้องเล็กน้อยในตอน
เริ่มต้นแตล่ ะคาบเรยี น

3) การคิดแบบกลุ่ม (Group Thinking) โดยออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีส่วน
ร่วมในการคิดร่วมกัน เพื่อให้สามารถช่วยกันคิดอยา่ งลกึ ซ้ึงย่ิงขน้ึ เกี่ยวกับเน้ือหาและพยายามเต็มที่ใน
ความร่วมมือระหว่างกัน

4) การประชุมเชิงปฏิบัติการ (Workshop) คือ การแก้ไขความเข้าใจผิดและเน้นย้ำ
ประเดน็ ที่สำคัญ ๆ ที่ผู้เรียนอาจยังไมเ่ ข้าใจในเนื้อหา

5) งานการเรียนรู้ (Learning Tasks) เช่น การฝึกแก้ปัญหาซ่ึงมีไว้สำหรับนักเรียนที่อาจ
ต้องใช้เวลามากกว่าคนอ่ืนในการเรียนรู้ความรู้และทักษะพื้นฐาน และกิจกรรม POGIL เพื่อให้
นกั เรยี นสามารถพฒั นาความเขา้ ใจเชิงแนวคดิ ในเนื้อหาทล่ี ึกซึ้งยง่ิ ข้ึน

6) การประเมินหลงั การจดั กิจกรรมการเรียนรู้
7) การจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ท่ียืดหยุ่น เช่น การจัดที่น่ังในแบบท่ียืดหยุ่นได้ เพื่อให้
สะดวกในการทำงานเป็นกลุ่มและงานเด่ียวที่หลากหลาย ช่วงเวลาของบทเรียนจะต้องยืดหยุ่นเพ่ือให้
นักเรียนสามารถเรียนรู้เกี่ยวกับหัวข้อได้อย่างเต็มท่ีและทำความเข้าใจตามจังหวะการเรียนรู้ของ
ตนเอง
8) วัฒนธรรมการเรียนรู้ เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยผู้เรียนจะเป็นผู้ชี้นำจังหวะและ
รูปแบบการเรียนรู้ ส่วนผู้สอนจะทำหน้าท่ีเป็น "ผู้ช้ีแนะท่ีอยู่เคียงข้าง" จะช่วยนักเรียนให้ผ่านการ
ทดลองหรอื แนะนำชุดฝึกปฏบิ ตั ิหากผู้เรียนตอ้ งการความช่วยเหลือ
9) ความตั้งใจศึกษาเน้ือหา ผู้เรียนจะต้องมีส่วนร่วมอย่างแข็งขันในการเรียนรู้และการ
ปฏิบัติจรงิ แนวทางนีเ้ น้นให้จัดลำดับความสำคัญของบทเรียน และหาวิธีท่ีจะส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนทำงาน
อย่างอิสระ
10) ครูต้องมีความเชี่ยวชาญและมีความเป็นมืออาชีพ ต้องสามารถตรวจสอบผู้เรียนอย่าง
ต่อเน่ืองเพ่ือระบุว่าใครต้องการความช่วยเหลือในเร่ืองใดและเพราะเหตุใด ครูต้องตอบสนองได้
ทนั ทว่ งทแี ละมีความยดื หยุ่น ตอ้ งใชค้ วามกระตอื รือร้นสงู ต้องใช้ทักษะการสอนทย่ี อดเย่ียม

80

11) เครื่องมือ/เทคโนโลยีที่สามารถช่วยส่งเสริมประสิทธิภาพการเรียนรู้ของห้องเรียนกลับ
ด้าน เช่น Khan Academy เป็นเคร่ืองมือที่ยอดเยี่ยมที่มีการบรรยายความรู้ต่าง ๆ ผ่านวิดีโอ
Nearpod ช่วยให้ครูสามารถมีส่วนร่วมกับบทเรียนท่ีสามารถโต้ตอบได้ ตัวอย่างบางส่วน ได้แก่ แบบ
สำรวจ ทัศนศึกษาแบบเสมือนจริง (Virtual Reality ; VR) คำถามปลายเปิด และแบบทดสอบ
Playposit เป็นเครื่องมือท่ีมวี ิดโี อเชิงโต้ตอบที่เน้นไปท่ีขั้นตอนการทำงานที่ราบรื่น การมีส่วนรว่ มของ
ผู้เรียน การเขยี นที่เรียบง่าย และการตดิ ตามประสิทธิภาพ BrainPOP เป็นเวบ็ ไซต์เพ่ือการศกึ ษาแบบ
เคลื่อนไหวสำหรับนักเรียน สามารถใช้ช่วยสอนวิชาต่าง ๆ ด้วยภาพยนตร์แอนิเมช่ันท่ีสนุกสนานและ
บันเทงิ

12) การสร้างคำถามที่เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ขจัดความสับสนในช่วงต้นบทเรียนด้วยการ
ถาม - ตอบ เช่น ให้นักเรียนเขียนคำถามบนกระดานไวท์ และให้นักเรียนโหวตผ่านการใช้สติกเกอร์
สำหรับคำถามทต่ี อ้ งการคำตอบ

13) การสอนแบบอ่างปลา (Fishbowl Practice) โดยให้อาสาสมัครออกมาแก้ปัญหา ร่วม
สนทนา หรือปฏิบัติงานหนึ่ง ๆ ในขณะที่ผู้เรียนทุกคนดู มีผู้สังเกตการณ์จดบันทึกข้ันตอนและ
เสนอแนะวิธปี รบั ปรุง จากนน้ั จงึ อภปิ รายรว่ มกนั

14) การสวมบทบาท (Role Play) ทำให้นักเรียนเข้าถึงหัวใจของปัญหาได้โดยการแสดง
มมุ มองที่แตกต่างกัน มอบหมายบทบาทและให้ผ้เู รียนเผชญิ หน้าในการโต้วาทีหรอื อภปิ รายเพ่ือให้เกิด
การคดิ ทลี่ ึกซ้งึ ยิ่งขนึ้

Source - https://www.scimath.org/article-mathematics/item/12484-flipped-classroom

81

กจิ กรรมชวนคิด

จากนานาทัศนะเกี่ยวกับกรณีศึกษาการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้าน
ดังกล่าวข้างต้น ท่านเห็นว่ามีองค์ประกอบ (Elements) หรือตัวบ่งช้ี
(Indicators) ท่ีสำคัญอะไรบ้าง ท่ีทำให้เข้าใจกรณีศึกษาน้ันได้อย่างกระชับและ
ชัดเจน โปรดระบุแนวคิดหรือองคป์ ระกอบน้นั ในภาพท่ีแสดงขา้ งล่าง

เอกสารอ้างอิง
Kenney, J. (2019, November 10). Flipped classroom: A framework for in-class

activities. Retrieved August 8, 2021 from
https://www.chemedx.org/blog/flipped-classroom-framework-class-activities
Miller, A. (2012, February 24). 5 Best practices for the flipped classroom. Retrieved
August 8, 2021 from https://www.edutopia.org/blog/flipped-classroom-best-
practices-andrew-miller
Trach. (2021, October 28). A Beginner’s Guide to the Flipped Classroom. Retrieved
August 15, 2021 from https://www.powerschool.com/blog/a-beginners-guide-
to-the-flipped-classroom/



83

วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้

หลังจากการศึกษาคู่มือชุดนี้แล้ว ท่านมพี ัฒนาการด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) ซึ่ง
เป็นจุดมุ่งหมายทางการศึกษาที่เก่ียวข้องกับสมรรถภาพทางสมองหรือสติปัญญาตาม The Revised
Taxonomy (2001) ของ Benjamin S. Bloom โดยจําแนกพฤตกิ รรมในขอบเขตนี้ออกเป็น 6 ระดับ
เรียงจากพฤติกรรมที่สลับซับซ้อนน้อยไปหามาก หรือจากทักษะการคิดข้ันต่ำกว่าไปหาทักษะการคิด
ข้ันสูงกว่า ดังน้ี คือ ความจำ (Remembering) ความเข้าใจ (Understanding) การประยุกต์ใช้
(Applying) การวิเคราะห์ (Analyzing) การประเมิน (Evaluating) และการสร้างสรรค์ (Creating)
ดังน้ี

1. บอกคุณสมบัติ จับคู่ เขียนลำดับ อธิบาย บรรยาย ขีดเส้นใต้ จำแนก หรือระบุ
แนวทางการจัดการเรยี นรแู้ บบหอ้ งเรยี นกลบั ดา้ นได้

2. แปลความหมาย อธิบาย ขยายความ สรุปความ ยกตัวอย่าง บอกความแตกต่าง หรือ
เรียบเรยี ง แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรยี นกลบั ด้านได้

3. แก้ปัญหา สาธิต ทำนาย เช่ือมโยง ความสัมพันธ์ เปล่ียนแปลง คำนวณ หรือปรับปรุง
แนวทางการจดั การเรยี นรู้แบบห้องเรยี นกลบั ด้าน ได้

4. แยกแยะ จัดประเภท จำแนกให้เห็นความแตกต่าง หรือบอกเหตุผล แนวทางการ
จดั การเรยี นรู้แบบหอ้ งเรียนกลบั ดา้ นได้

5. วัดผล เปรียบเทียบ ตีค่า ลงความเห็น วิจารณ์ แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบ
หอ้ งเรียนกลบั ด้านได้

6. รวบรวม ออกแบบ จัดระเบียบ สร้าง ประดิษฐ์ หรือวางหลักการ แนวทางการจัดการ
เรียนรูแ้ บบหอ้ งเรียนกลับด้าน ได้

คำชี้แจง
1. โปรดศึกษาเนื้อหาเก่ียวกับแนวทางการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้าน ท่ีนำมา
กลา่ วถึงแต่ละทัศนะ
2. หลังจากการศึกษาเนื้อหาโปรดทบทวนความเข้าใจจากคำถามท้ายเน้ือหาของแต่ละ
ทัศนะ
3. ศึกษารายละเอียดของแนวทางการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้าน จากแต่ละ
ทัศนะท่ีเป็นต้นฉบับภาษาอังกฤษ โปรด “คลิก” ดูได้จากเว็บไซต์นำเสนอไว้ท้าย
เนอ้ื หาของแต่ละทศั นะ

84

Mumper (2013) ได้ทดลองจัดกิจกรรมและเสนอวิธีการของห้องเรียนกลับด้านท่ีได้ผลดี
โดยกล่าวถึงคู่มือปฏิบัติสำหรับครูในห้องเรียนกลับด้าน (Teachers Practical Guide to A Flipped
Classroom) ท่ีมีสามข้ันตอนง่ายๆ ท่ี Dr. Russell Mumper จาก UNC ทำตามเพื่อกลับด้าน
หอ้ งเรียนของเขา

1. บันทึก : บันทึกการบรรยาย 25 รายการด้วย Echo 360 แต่ละรายการมีความยาว
เพยี ง 35 นาที

2. ชม : นกั เรยี นดวู ิดโี อในคนื กอ่ นเขา้ เรียน
3. การเรยี นร้เู ชิงรกุ : นกั เรยี นมาถงึ ห้องเรียนพรอ้ มมีส่วนร่วม

โปรดทบทวน – แนวทางการจดั การเรียนรู้แบบหอ้ งเรยี นกลับด้าน
จากทัศนะของ Mumper มสี าระสำคัญอะไร
………………………………………………………………………………...................
............................................................................................................
............................................................................................................
หมายเหตุ - ศึกษาจากต้นฉบับภาษาองั กฤษ โปรด “คลิก” ดูได้จากเว็บไซต์ข้างลา่ งนี้

https://www.pinterest.com/pin/47921183511318895/

Source - https://www.pinterest.com/pin/47921183511318895/

85

Milman (2014) เป็ น รองศาสตราจารย์ด้ าน เท คโน โลยีการศึกษ า ท่ี George
Washington University ไดต้ ั้งคำถามว่า “จะใช้กลยุทธห์ ้องเรยี นกลับด้านได้ดีทส่ี ุดอยา่ งไร?” (How
Can The Flipped Classroom Strategy Best Be Sed?) โดยกล่าวว่า แม้ว่าจะมีข้อจำกัดมากมาย
ในกลยุทธ์ห้องเรียนกลับด้านและไม่มีการวิจัยเชิงประจักษ์ยืนยันการใช้งาน แต่จากการรายงานโดย
อาจารย์หลายคนยืนยันว่าสามารถใช้เป็นกลยุทธ์การสอนท่ีมีคุณค่าในทุกระดับการศึกษา ข้ึนอยู่กับ
ผู้เรียน ทรัพยากร และเวลา นอกจากนี้ดูเหมือนว่าจะเหมาะสมกับการสอนความรู้ที่เป็นขั้นตอน ซ่ึง
เป็นหน่ึงในสี่ประเภทของความรู้ท่ัวไปท่ีอธิบายไว้ในอนุกรมวิธานของ Bloom ฉบับปรับปรุง
(Anderson et al., 2001) ความรู้ข้ันตอนคือความรู้เกี่ยวกับวิธีการทำบางสิ่งบางอย่าง ดังน้ันวิดีโอ
บรรยายในห้องเรียนกลับด้านเกี่ยวกับวิธีการแก้สมการกำลังสองท่ีผู้สอนอธิบายและจำลองวิธี
แก้ปัญหาประเภทนี้จึงเป็นการใช้กลยุทธ์ท่ีดี ความรู้ขั้นตอนที่ซับซ้อนก็สามารถสอนได้โดยใช้กลยุทธ์
ในห้องเรียนกลับด้านแต่การสร้างเค้าโครงสร้างและการแบ่งกลุ่มของเน้ือหาจะมีความสำคัญมาก
ไมเ่ พียงแตเ่ พอื่ ให้แน่ใจวา่ วิดีโอจะสัน้ กระชบั แตย่ งั เพ่อื ให้แน่ใจวา่ ได้มีการแนะนำขัน้ ตอนทั้งหมดอยา่ ง
เพยี งพอเพอ่ื ใหน้ ักเรยี นเขา้ ใจได้อย่างละเอยี ดทั่วถึง

แม้ว่าความรู้ข้ันตอนจะเป็นประเภทความรู้ที่เหมาะสมท่ีสุดในการสอนโดยใช้กลยุทธ์
ห้องเรียนท่ีพลิกกลับ แต่อีกสามประเภทที่เหลือ ซ่ึงก็คือ ความรู้ท่ีเป็นข้อเท็จจริง (ความรู้ที่อธิบาย
องค์ประกอบพื้นฐานและจำเป็นท่ีบุคคลต้องรู้) แนวความคิด (ความรู้เก่ียวกับความสัมพันธ์ระหว่าง
การจำแนกประเภทและหมวดหมู่) และความรู้อภิปัญญา (ความรู้เกี่ยวกับความรู้ความเข้าใจใน
ตนเอง) สามารถสอนได้โดยใช้กลยุทธน์ ี้เชน่ กนั อย่างไรก็ตามสิ่งสำคัญคือตอ้ งสังเกตว่าต้องใชเ้ วลาและ
ความคดิ มากข้ึนในการใช้กลยทุ ธใ์ นหอ้ งเรียนที่กลับด้าน

โปรดทบทวน – แนวทางการจดั การเรียนรู้แบบหอ้ งเรยี นกลับด้าน
จากทศั นะของ Milman มีสาระสำคญั อะไร
………………………………………………………………………………...................
............................................................................................................
............................................................................................................
หมายเหตุ - ศึกษาจากต้นฉบับภาษาอังกฤษ โปรด “คลิก” ดไู ดจ้ ากเว็บไซตข์ ้างลา่ งน้ี

https://shorturl.asia/Mt1Lx

86

Thakare (2018) ได้ให้ทัศนะเกี่ยวกับ 8 ประเภทของห้องเรียนการเรียนรู้แบบกลับด้าน
และเคร่ืองมือในการสร้าง (8 Types of Flipped Learning Classrooms and Tools to Build
Them) ว่ายุคใหม่ของการเรียนรู้แบบกลับด้านเป็นเรื่องเกี่ยวกับครูที่ทำงานร่วมกันเพื่อใช้กลยุทธ์
ใหมๆ่ เพือ่ การเรยี นรทู้ ีด่ ีขึ้น

เคล็ดลับในการสร้างห้องเรียนกลับด้าน (Tips to Build Those Flipped Learning
Classrooms)

การเรยี นร้แู บบกลบั ดา้ นเป็นวธิ กี ารสร้างระบบนเิ วศการเรียนรู้ ห้องเรียนกลับดา้ นเชื่อมโยง
ผู้คนเข้าด้วยกันและมอบเนื้อหาและเทคโนโลยีที่หลากหลายแก่ผู้เรียน เพิ่มการมีส่วนร่วมของผู้เรียน
เน่ืองจากมีการเรียนรู้เชิงปฏิบัติตามกิจกรรมในชั้นเรียน ชั้นเรียนวิชาเคมีท่ัวไปมีอัตราการพัฒนา
ร้อยละ 7, 3 และ 6 ในช้ันเรียนระดับ (Grade) สูง 3 อันดับแรก เกรดกลาง 3 อันดับ และเกรดล่าง
3 อันดับ ตามลำดบั หลงั จากที่พลิกกลับช้ันเรียน

การ เรี ย น รู้ แ บ บ ก ลั บ ด้ าน ยั งช่ ว ย เพ่ิ ม ป ฏิ สั ม พั น ธ์ ท่ี ดี ร ะ ห ว่ างส ม าชิ ก ใน ลั ก ษ ณ ะที่ เป็ น
ประโยชน์ร่วมกัน ซ่ึงเป็นหน้าท่ีสำคัญของระบบนิเวศ การเรียนรู้แบบผสมผสาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง
สมาชิก และการเรียนรู้แบบไม่เป็นทางการเป็นลักษณะเพ่ิมเติมของห้องเรียนกลับด้านที่ทำให้ผู้สอน
เขา้ ใกล้การพัฒนาระบบนเิ วศการเรียนรู้มากขนึ้

ประเภทของห้องเรยี นพลกิ กลับ (Types of Flipped Learning Classrooms)
รูปแบบการเรียนรู้แบบผสมผสาน (Blended Learning Models)
วิธีกลับด้านห้องเรียนมีมากกว่าหนึ่งวิธี แนวคิดคือการปรับแต่งวิธีการส่งมอบความรู้ให้
เหมาะสมกับสาขาวิชาและประเภทของผู้เรียน สามารถเริ่มต้นด้วยการทำความเข้าใจเกี่ยวกับการ
เรียนรู้แบบผสมผสานบางประเภทท่ีกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้แบบกลับด้าน เพราะสิ่งเหล่านี้ทำหน้าท่ี
เป็นแบบจำลองพ้ืนฐานและแม้ว่าจะเก่ียวกับการเรียนรู้ออฟไลน์ แต่แนวคิดเหล่าน้ีสามารถขยายไปสู่
หลกั สูตรออนไลน์หรอื E-L=learning ได้
รูปแบบการหมนุ เวียน (Rotation Model)
เป็นรูปแบบท่ีใช้กันอย่างแพร่หลายในการเรียนรู้แบบผสมผสาน การเรียนรู้แบบกลับด้าน
น้ันสามารถถือเป็นส่วนย่อยของหมวดหมู่น้ีได้ ผู้เรียนจะได้สัมผัสกับการหมุนเวียนการบรรยาย
ระหว่างการสอนแบบตัวต่อตัวในห้องเรียนและการสอนแบบออนไลน์ การเรียนรู้แบบต่อหน้า
อาจรวมถงึ การสอนแบบกล่มุ หรือแบบกลุ่มย่อย โครงการกลมุ่ หรือการอภิปรายรายบคุ คล
รปู แบบยดื หยุ่น (Flex Model)
รูปแบบยืดหยุ่นประกอบด้วยการทำให้ทุกช้ันเรียนเป็นการผสมผสานระหว่างการสอน
ออนไลน์และการโต้ตอบในช้ันเรียน ซึ่งแตกต่างจากรูปแบบการหมุนเวียน เพราะรูปแบบยืดหยุ่นจะ

87

ถกู แปลงเป็นการสอนออนไลนผ์ สมกบั การใช้เวลาในชน้ั เรยี นทกุ ชนั้ เรยี น ในรปู แบบการหมนุ เวียนจะมี
เพียง 1 หรือ 2 หลักสูตรท่ีมีการทำในลักษณะนี้ โรงเรียนท่ีใช้รูปแบบยืดหยุ่นน้ันจะคล้ายกับการใช้
พื้นท่ีสำนักงาน เน่ืองจากนักเรียนจะมีห้องเล็กสำหรับการสอนออนไลน์ ห้องเรียนที่มีขนาดต่างกันใช้
สำหรับบทเรียนกลุ่มเล็ก กิจกรรมกลุ่ม การไขข้อสงสัย การให้คำปรึกษารายบุคคล หรือการสอน
พเิ ศษ

รปู แบบเสมอื นจริงโดยสมบรู ณ์ (Enriched Virtual Model)
ในรูปแบบน้ีมีการแบง่ งานสำหรับโรงเรยี นและทบี่ ้านอย่างชัดเจน นักเรียนไม่ไดไ้ ปโรงเรียน
ทุกวันต่างจากรูปแบบยืดหยุ่น ยกตัวอย่างคือ Rio Rancho Cyber Academy ใน New Mexico ท่ี
นักเรียนเกรด 6 ถึงเกรด 8 จะมาโรงเรียน ในวันจันทร์ วันพุธ และวันศุกร์ ส่วนวันที่เหลือถูกกำหนด
ให้กับชั้นเรยี นอน่ื วันที่เหลือทีไ่ ม่ตอ้ งมาโรงเรียนจะทุ่มเทให้กับการเรียนการสอนออนไลน์ท่พี ัฒนาโดย
Edgenuity เพ่อื ศกึ ษาทบี่ า้ น
รปู แบบห้องเรียนกลบั ดา้ น (Flipped Classroom Models)
ห้องเรียนกลับด้านสามารถแบ่งได้เป็นประเภทย่อยดังต่อไปนี้ ขึ้นอยู่กับตัวแปรในการ
แจกจา่ ยสื่อการเรยี น การใชเ้ วลาเรียน หรือประเภทของนักเรยี น
ห้องเรยี นกลบั ดา้ นมาตรฐาน (Standard Inverted Classroom)
เป็นห้องเรียนกลับด้านแบบคลาสสิก ผู้เรียนจะถูกขอให้ดูวิดีโอการบรรยายและส่ือการ
เรียนอ่ืนๆ ที่เป็นข้อกำหนดเบื้องต้นสำหรับช้ันเรียนต่อไป โดยปกติ ทุกแง่มุมของหัวข้อจะถูกแปลง
เป็นวิดีโอบรรยาย เวลาเรียนสงวนไว้สำหรับฝกึ แนวคิดที่ศึกษาทบี่ ้านและเพ่อื ปรับปรุงความเข้าใจของ
นักเรยี นในรปู แบบต่างๆ เช่น ปฏิสมั พันธ์แบบตวั ต่อตวั กบั ครู
หอ้ งเรยี นกลบั ด้านขนาดเลก็ (Micro Flipped Classroom)
ในหอ้ งเรียนประเภทน้ี วิดโี อบรรยายสั้น ๆ จะถกู แจกจ่ายเป็นสื่อการเรยี นควบคู่ไปกับงาน
ที่ได้รบั มอบหมายสัน้ ๆ การบรรยายและการมอบหมายที่เหลือจะดำเนนิ การในชว่ งเวลาเรยี น
หอ้ งเรยี นกลับดา้ นเชิงสนทนา (Discussion-Oriented Flipped Classroom)
การบา้ นถูกกำหนดในรูปแบบของวิดโี อบรรยายและแหลง่ ขอ้ มูลวิดโี อภายนอก การสนทนา
เกิดข้ึนในห้องเรียนซ่ึงทำให้เกิดการสำรวจหัวข้อเพิ่มเติม เม่ือเรียนรู้ความรู้พ้ืนฐานแล้ว นักเรียนจะ
สามารถเพม่ิ คุณค่าใหก้ ับการอภิปรายได้
ห้องเรียนกลบั ด้านตามการสาธติ (Demonstration-Based Flipped Classroom)
วิชาต่างๆ เช่น คณิตศาสตร์ เคมี ฟิสิกส์ ฯลฯ จำเป็นต้องมีการสอนอย่างรอบคอบเพื่อ
สง่ มอบเน้ือหาความรู้ ยกตัวอยา่ งเชน่ ความแม่นยำเปน็ สิง่ สำคัญในเร่ืองเรขาคณติ ในหอ้ งเรียนที่มีการ
สาธติ เครื่องมือบนั ทึกหน้าจอจะใชเ้ พือ่ สรา้ งวิดีโอการสอนทก่ี ำหนดให้เปน็ การบา้ น แทนท่ีจะทำเช่นน้ี
ในห้องเรียน นักเรียนสามารถเปิดย้อนดูวิดีโอเพ่ือทำความเข้าใจแนวคิดได้อย่างเต็มท่ีและเม่ือได้เข้า
หอ้ งเรยี นกจ็ ะมโี อกาสในการขจัดขอ้ สงสยั
ห้องเรยี นกลับด้านเทียม (Faux-Flipped Classroom)
เป็นรูปแบบเฉพาะท่ีกำหนดเป้าหมายไปยังผู้เรียนรุ่นเยาว์ จุดมุ่งหมายคือการแทนท่ี
การบา้ นดว้ ยวิดีโอบรรยายการสอนและแหลง่ ขอ้ มลู อื่นๆ เมอ่ื นักเรยี นกลับมาทหี่ อ้ งเรยี น ครจู ะคอยให้
คำแนะนำและช่วยเหลอื แบบตวั ต่อตัว

88

หอ้ งเรยี นกลับด้านตามกลุ่ม (Group-Based Flipped Classroom)
รปู แบบห้องเรยี นกลับดา้ นตามกลุ่มเนน้ การเรียนรูแ้ บบกลุ่ม หลังจากท่ีผู้เรยี นศกึ ษาเน้ือหา
ท่ีจัดไว้ให้แล้ว ผู้เรียนจะทำงานที่ได้รับมอบหมายร่วมกันในช่วงเวลาเรียน เรียนรู้โดยการอธิบาย
แนวคิดให้กนั และกัน ซ่งึ จะชว่ ยทำใหเ้ กิดการจดจำทด่ี ียง่ิ ข้นึ
หอ้ งเรียนกลบั ด้านเสมือน (Virtual Flipped Classroom)
รปู แบบน้ีจะไม่มีการเรียนในห้องเรียนโดยส้ินเชิง นักการศึกษา เช่น อาจารย์มหาวิทยาลัย
แบ่งปันทรัพยากรทั้งหมดและจดั สรรเวลาสำหรับแต่ละเซสชันในช่วงเวลาทำการ งานที่มอบหมายจะ
ถูกรวบรวมทางออนไลนผ์ ่านระบบการจัดการเรียนรู้
กลบั ด้านบทบาท 2.0 (สลับคร)ู (Role-Reversal 2.0 (Flipping The Teacher))
ห้องเรียนกลับด้านจะมีนักเรียนเป็นจุดศูนย์กลางของการเรียนรู้ แทนท่ีจะมีนักการศึกษา
เป็นจดุ ศนู ย์กลางในการเผยแพร่ขอ้ มูล
แนวคิดการพลิกบทบาทคือการพลิกครู นักเรียนต้องสร้างวิดีโอเพ่ือแสดงความเข้าใจของ
นักเรียนสามารถถ่ายกิจกรรมกลุ่มหรือถ่ายตัวเองได้ ครูสามารถประเมินความก้าวหน้าในวิชาได้ผ่าน
วิดีโอเหล่านี้ ข้อได้เปรียบของรูปแบบนี้คือวิดีโอเหล่าน้ีสร้างคลังข้อมูลอ้างอิงท่ีสามารถใช้ในช้ันเรียน
ได้ในอนาคต
เครื่องมือที่สามารถใช้สร้างห้องเรียนกลับด้าน (Tools You Can Use to Create A
Flipped Classroom)
ส่ือการเรียนรู้หลักในหอ้ งเรยี นกลบั ด้านประกอบด้วยวิดีโอบรรยาย สไลด์โชว์ การบรรยาย
ด้วยเสยี ง เนื้อหาทบี่ ันทกึ หน้าจอ และแอนิเมชันที่นา่ ดงึ ดูดใจ ดังน้ี
เครือ่ งมอื สำหรบั การบนั ทกึ ภาพหน้าจอ (Tools for Screencasting)
ซอฟต์แวร์ Screencasting เพื่อบันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ซึ่งสามารถใช้สร้างวิดีโอ
บรรยายได้ ครูสามารถบันทกึ หน้าจอแท็บเล็ตขณะท่เี ขียนประกอบได้ ซอฟต์แวร์นสี้ ามารถบนั ทึกเสยี ง
ของผู้สอนและในบางกรณีก็บันทึกวิดีโอได้ด้วย (โดยใช้เว็บแคม) ซอฟต์แวร์ยอดนิยมสำหรับการ
บันทึกภาพหน้าจอ ไดแ้ ก่ :
- Camtasia (PC และ Mac) - การใช้ Camtasia สามารถเพ่ิมเอฟเฟกต์เพลง เอฟเฟกต์

วิดีโอ โน้ต คำอธิบายประกอบ และอนื่ ๆ ลงในวดิ ีโอที่บนั ทกึ ไวไ้ ด้
- Screencast-O-Matic (PC และ Mac) - Screencast-O-Matic ช่วยให้สามารถแก้ไข

วิดโี อทบี่ นั ทึกไวแ้ ละแชร์บนแพลตฟอรม์ ต่างๆ ได้อย่างงา่ ยดาย
- Snagit (PC และ Mac) - ด้วยการใช้ Snagit สามารถบันทึกภาพหน้าจอและบันทึก

วิดโี อคุณภาพสงู ได้ในโปรแกรมเดียว คณุ สมบัตทิ ่ีมีประโยชนอ์ ่ืนๆ ได้แก่ ความสามารถ
ในการแก้ไขวิดโี อท่ีมมี าในตัวซอฟต์แวรแ์ ละตัวจับขอ้ ความจากภาพ
- Screencastify (เป็นส่วนขยายใน Google Chrome) - Screencastify สร้างการ

บันทึกหน้าจอโดยใช้ส่วนขยายของเบราว์เซอร์ มีตัวเลือกในการเพ่ิมการบันทึก

ไมโครโฟนดว้ ย วิดโี อทัง้ หมดจะถกู บนั ทกึ ไว้ใน Google Drive

89

เคร่ืองมอื สำหรับวดิ ีโอ (Tools for Videos)
- Edpuzzle (ส่ ว น ข ย า ย Android, IOS, Chrome, Youtube) - Edpuzzle เป็ น

เครื่องมือที่ยอดเยี่ยมในการทำให้วิดีโอโต้ตอบโดยใช้เสียงและคำถาม ครูสามารถ
ตดิ ตามว่านักเรียนกำลงั ดูวิดโี ออยูห่ รือไม่ และดูเวลาที่นักเรียนใช้ไปกบั สว่ นใดส่วนหน่ึง
ของการเรียนรู้วิดีโอ เพ่ือดูว่านักเรียนเข้าใจแนวคิดนี้ดีเพียงใด สามารถใช้วิดีโอที่มี
อยแู่ ลว้ หรอื อัปโหลดวดิ โี อของคณุ เอง
- Playposit (PC และ MAC) เม่ือใช้ Playposit สามารถทำให้วิดีโอดีข้ึนด้วยการเพ่ิม
การโต้ตอบที่หลากหลาย ตัวเลือกเหล่านี้คือการให้คำแนะนำสำหรับผู้เรียนแบบสด
การติดตามการตอบกลับในเนื้อหา และเพ่ิมคำถาม/การอภิปราย/แบบทดสอบแบบมี
หลายตัวเลือก/แบบสำรวจความคิดเห็น/การตอบกลับแบบเปิด/เนื้อหาที่หลากหลาย
จากภายนอก และมกี ารบูรณาการ LMS กบั ซอฟตแ์ วร์
- Tes Teach (IOS และ Google Chrome) - ด้วย Tes Teach สามารถสร้างบทเรียน
แบบโต้ตอบ โครงการ การนำเสนอ แบบทดสอบ และการอภิปราย รวมถึงรองรับลิงก์
Youtube, PDF, Dropbox และ Google Drive
- Classflow (PC และ Mac) - สามารถใช้ Classflow เพ่ือนำเสนอผลงานบนจอภาพ
แบบโต้ตอบได้ เช่น Smart, Epson สามารถเพม่ิ แบบทดสอบแบบโตต้ อบ แบบสำรวจ
และกิจกรรมต่างๆ ส่งป้ายดิจิทัลเพื่อสร้างการรับรู้ ร่วมมือกับนักเรียน และแทรก
กิจกรรมสำเรจ็ รปู วดิ ีโอ และแหลง่ ข้อมูลอ่ืนๆ
เครือ่ งมือเบ็ดเตล็ดบางชนิด (Some Miscellaneous Tools)
- การบรรยายด้วยเสียง/วิดีโอในการนำเสนอ Powerpoint สามารถเพิ่มคำบรรยาย
เสียง/วิดีโอลงในสไลด์ได้ นอกจากนี้ Microsoft Powerpoint จะแสดงการ
กำหน ดเวลาสไลด์หรือเวลาที่ใช้ในแต่ละสไลด์เพื่อให้ สามารถวิเคราะห์ได้ ดีย่ิงข้ึน
สามารถบันทึกการใชป้ ากกาเน้นข้อความ ยางลบ หรือปากกา
- ซอฟต์แวร์ Sheppard ใช้เว็บไซต์น้ีเพื่อพานักเรียนเข้าสู่เส้นทางไปยังโลกของเกม
การศึกษา นักเรียนจะได้รับประโยชน์จากสิ่งเหล่านี้ เนื้อหาท่ีมีให้สำหรับเกรด 1-8
แต่กม็ ีส่วนเตรียมพร้อมสำหรับแคลคลู สั และพีชคณิตขัน้ สสู ำหรับช้นั เรียนทสี่ ูงขน้ึ
- Wonderopolis เป็นแหล่งรวบรวมบทความที่น่าสนใจเก่ียวกับเกือบทุกวิชาทาง
วิชาการ เป็นสว่ นที่ดีหากต้องการแนะนำนกั เรยี น

โปรดทบทวน – แนวทางการจดั การเรยี นรแู้ บบห้องเรยี นกลบั ด้าน
จากทศั นะของ Thakare มสี าระสำคญั อะไร
………………………………………………………………………………...................
............................................................................................................
............................................................................................................
หมายเหตุ - ศึกษาจากตน้ ฉบับภาษาอังกฤษ โปรด “คลิก” ดูไดจ้ ากเว็บไซต์ขา้ งล่างนี้

https://elearningindustry.com/flipped-learning-classrooms-tools-build-types

90

Gonzalez (2021) ได้กล่าวถึง 5 วิธีในการสร้างห้องเรียนกลับด้านที่มีประสิทธิภาพ
สำหรับนักเรียน (5 Ways to Create An Effective Flipped Classroom for Your Students) ว่า
เป็นเวลาเกือบหนึ่งปีแล้วที่ครูต้องเปลี่ยนจากการสอนตามปกติในห้องเรียนไปเป็นการสอนทางไกล
อย่างกะทันหัน เป็นการเปล่ียนแปลงคร้ังใหญ่ท่ีไม่มีใครได้เตรียมพร้อมอย่างแท้จริง ก่อให้เกิดความ
หงุดหงิดและวิตกกังวลมากมาย และสำหรับนักเรียนท่ีขาดเทคโนโลยีที่เชื่อถือได้ ทำให้ไม่สามารถ
เรียนรู้ได้ การเปล่ียนแปลงอย่างกะทันหันทำให้นักการศึกษาต้องปรับตัวกับวิธีการสอนใหม่ๆ อย่าง
รวดเร็ว ในขณะเดียวกันก็ต้องเรียนรู้วิธีใช้แพลตฟอร์มออนไลน์หลายๆ แพลตฟอร์มอย่างรวดเร็ว
บางครั้งมีเวลาเพียงสามวัน และหากยังไม่มีใครรู้แน่ชัดว่าเม่ือใดท่ีนักเรียนและครูท้ังหมดจะสามารถ
กลับเขา้ ห้องเรียนได้ หลายคนจะยงั คงตอ้ งพึ่งพาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาต่อ

แล้วครจู ะเลือกสิง่ ที่นักเรียนชอบอยแู่ ล้ว (เทคโนโลยี) มาใช้เพ่ืออำนวยความสะดวกในการ
เรียนรู้ออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพได้อย่างไร คำตอบ : รูปแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานใน
หอ้ งเรียนกลบั ด้าน

รูปแบบห้องเรียนกลับด้าน "พลิก" ความสัมพันธ์แบบด้ังเดิมระหว่างเวลาเรียนกับการบ้าน
คำถามคอื ห้องเรียนกลับด้านทำงานอยา่ งไร นักเรียนเรยี นรู้ท่บี ้านผ่านหลักสูตรออนไลน์หรือบทเรยี น
ท่บี ันทึกไวล้ ่วงหน้า และครูใช้เวลาเรยี น (เสมอื น) เพื่อทำแนวทางหรือโครงการที่ครเู ป็นผ้แู นะนำ การ
ใช้ห้องเรียนกลับด้านหรือการเรียนรู้แบบผสมผสานรูปแบบใดก็ตามอย่างมีประสิทธิภาพควรช่วย
สนับสนุนครูในการสอน ไม่ใช่การเอามาแทนที่ครู เมื่อใช้อย่างมีประสิทธิภาพ ห้องเรียนกลับด้านควร
เพ่มิ เวลาใหค้ รูได้มีโอกาสทำงานรว่ มกันกับนักเรียน

ส่ิงทคี่ วรพิจารณาเพ่ือใหค้ รสู ามารถสร้างประสบการณ์การเรียนรอู้ อนไลน์ทม่ี ปี ระสิทธิภาพ
1. ก ำ ห น ด เป้ าห ม าย แ ล ะค ว าม ค าด ห วั งที่ ชั ด เจ น (Set Clear Goals and
Expectations)
เป้าหมายหลักคือเพื่อให้แน่ใจว่านักเรียนมีประสิทธิผลหากใช้เทคโนโลยี ไม่ใช่แค่ใช้งาน
เท่าน้ัน ด้วยเหตุผลดังกล่าว ครูควรกำหนดความคาดหวังที่ชดั เจนเกยี่ วกับเป้าหมายและวัตถุประสงค์
ของหอ้ งเรียนกลับด้าน ให้นักเรียนรู้ว่าทำไมต้องทำในส่ิงท่ีกำลังทำอยู่ เมื่อ “รู้เหตุผล” ที่ชัดเจน ก็จะ
สร้างโอกาสให้ทุกคนเติบโตต่อไปแม้จะมีความท้าทายเกิดข้ึน น่ีเป็นประสบการณ์ท่ี Jessie Woolley-
Wilson ผ้เู ป็น CEO ของ Dreambox กล่าวถงึ การพยายามอยา่ งมีประสิทธิผล
2. สร้างจงั หวะทีเ่ หมาะสม (Set The Right Pace)
จังหวะเวลาในการสอนออนไลน์ควรแตกต่างจากในห้องเรียน เน่ืองจากเป็นประสบการณ์
การเรียนรู้ท่ีแตกต่างกัน เม่ือคิดถึงจังหวะ ให้คำนึงถึงภาษาและการส่ือสารด้วย การใช้ภาษาที่ชัดเจน

91

และแม่นยำจะช่วยให้ใช้เวลาบนหน้าจอได้อย่างมีประสิทธิภาพ ต้องมีการเตรียมความพร้อม ลองนึก
ถึงส่งิ ทีจ่ ำเป็นสำหรับบทเรยี น เนือ่ งจากเวลาเป็นทรัพย์สินท่ีมคี ่าทสี่ ุด จงึ จำเป็นต้องใช้อยา่ งชาญฉลาด
จังหวะยังสามารถบ่งบอกได้ด้วยวา่ นกั เรยี นจะสามารถมีส่วนรว่ มกบั เน้ือหามากเพยี งใด

3. ระบุทรัพยากร (Identify Resources)
อินเทอร์เน็ตมีแหล่งข้อมูลมากมายที่จะช่วยตอบสนองความต้องการ ลองนึกถึงความ
ท้าทายแลว้ มั่นใจได้เลยวา่ มีแหล่งข้อมูลมากมายท่ีสามารถช่วยได้ อยา่ งไรก็ตามเคล็ดลับท่ีเกย่ี วกับการ
ระบุแหล่งข้อมลู เหลา่ นั้น คือ ต้องระบุทรัพยากรที่สอดคล้องกับเปา้ หมายท่ีตอ้ งการบรรลุอยา่ งแท้จริง
จากนั้นยึดตามเป้าหมายเหล่าน้ัน ในกรณีนค้ี วามเรียบง่ายคอื ส่งิ สำคัญและยังเป็นประโยชน์สำหรับครู
ทม่ี ีงานยุ่งอยู่แลว้
4. รบั ฟงั เสียงของนักเรียนทุกคน (Allow All Student Voices to Be Heard)
การมีส่วนร่วมของนักเรียนเป็นหนึ่งในความท้าทายท่ียิ่งใหญ่ท่ีสุด การเรียนรู้ทางไกล
สามารถเป็นเครื่องมือท่ีมีประสิทธิภาพ แต่เป็นการยากที่จะแทนที่ประสบการณ์การเรียนรู้ใน
ห้องเรียน ด้วยเหตุนี้จึงต้องสร้างองค์ประกอบท่ีช่วยให้ครูได้ยินเสียงของนักเรียนทุกคน ใช้วิธีการ
สำรวจความคิดเห็นเพื่อรับความคิดเห็นของนักเรียนเกี่ยวกับบทเรียน สร้างความชัดเจนของข้ันตอน
ถัดไป เลือกสัญลักษณ์ของชั้นเรียน หรืออะไรก็ได้ ครูสามารถจัดเตรียมคุณลักษณะอ่ืนๆ ที่เหมือนกัน
ในเว็บไซต์โซเชียลมีเดีย เช่น การใชก้ ารยกหรอื คว่ำนว้ิ โปง้ อโี มจิ หรอื แมแ้ ตก่ ารใชแ้ ฮชแท็ก
5. เฉลิมฉลองความกา้ วหนา้ ของนกั เรียน (Celebrate Student Progress)
เมื่อทำการกลับด้านห้องเรียน ส่ิงท่ีดีท่ีสุดที่สามารถทำได้เพื่อนักเรียนคือการรับรู้ถึงความ
ขยันและความก้าวหน้าในการเรียน รับทราบความสำเร็จของนักเรียนโดยมอบใบรับรองดิจิทัล
สต๊ิกเกอร์ หรือการสร้างกำลังใจเชิงบวกในรูปแบบอื่นๆ หากโรงเรียนอนุญาตและยอมรับ (และได้รับ
อนุญาตจากผู้ปกครอง) เฉลิมฉลองให้แก่นักเรยี นด้วยการโพสต์ความก้าวหน้าในการเรียนบนโซเชียล
มีเดีย กุญแจสำคัญท่ีนี่คือการเฉลิมฉลองสำหรับความพยายาม ความมุ่งมั่น ความทุ่มเท และ
ความกา้ วหน้าของนกั เรยี น ไม่ใชแ่ คเ่ พียงเพราะว่านกั เรียนทำคะแนนสอบไดด้ ี
โดยสรุป ห้องเรียนกลับด้านอาจเป็นรูปแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานท่ีมีประสิทธิภาพซึ่ง
ควรพิจารณาในระหว่างการเรียนรู้ทางไกล ความคาดหวังที่ชัดเจน การกำหนดจังหวะ การระบุ
แหล่งข้อมูล การใส่ใจต่อเสียงของนักเรียน และการเฉลิมฉลองความก้าวหน้าคือห้าสิ่งที่จะนำไปสู่
ความสำเร็จโดยรวมของสภาพแวดลอ้ มการเรียนรูอ้ อนไลน์

โปรดทบทวน – แนวทางการจดั การเรียนร้แู บบหอ้ งเรียนกลบั ดา้ น
จากทศั นะของ Gonzalez มีสาระสำคัญอะไร
………………………………………………………………………………...................
............................................................................................................
............................................................................................................
หมายเหตุ - ศกึ ษาจากต้นฉบับภาษาองั กฤษ โปรด “คลกิ ” ดไู ดจ้ ากเวบ็ ไซตข์ า้ งล่างนี้

https://www.teq.com/news/5-ways-effective-flipped-classroom/

92

The Editorial Team, Resilient Educator (n.d.) ได้กล่าวถึง 5 เทคนิคการเรียนรู้
เชิงรกุ สำหรบั ห้องเรียนกลบั ด้าน (Five Active Learning Techniques for A Flipped Classroom)
ว่าเทคนิคการเรียนรู้เชิงรุกกำลังเพิ่มมากข้ึนเร่ือยๆ เน่ืองจากนักการศึกษาพัฒนาสภาพแวดล้อมใน
ห้องเรียนกลับด้าน สร้างกลยุทธ์การสอนที่ดึงดูดนักเรียน และเพิ่มประสบการณ์เทคโนโลยีแบบ
เรียลไทมใ์ นห้องเรยี น

ห้องเรียนกลับด้านทำให้การศึกษากลายเป็นเรื่องสำคัญ โดยปกตินักเรียนจะมีผู้สอนที่
บรรยายในห้องเรยี น โดยมีการอภิปรายและควซิ หรอื การสอบในบทเรยี น การบรรยายเป็นกจิ กรรมใน
ห้องเรียนกลาง

ในห้องเรียนกลับด้าน การบรรยายคือการบ้านของนักเรียน หลังจากฟังการบรรยายท่ีบ้าน
นักเรียนจะอุทิศเวลาในห้องเรียนเพื่อเสริมสร้างความรู้ตามหัวข้อของการบรรยาย ซึ่งจะช่วยให้
นักเรียนได้แสดงทักษะการตระหนักรู้ที่เหนือชั้น ประเมินการคงไว้ซึ่งข้อมูลของตน และออกจาก
ห้องเรียนเพื่อนำไปใช้จริง รูปแบบน้ีมีการใช้กันอย่างแพร่หลายในสถานการณ์ และห้องเรียนต่าง ๆ
ของมหาวทิ ยาลัยทีป่ ระสบความสำเร็จในระดบั สงู

ในการจดั เตรียมสภาพแวดล้อมในห้องเรียนกลบั ด้านที่เพยี งพอเพอ่ื ใหน้ ักเรียนมสี ่วนร่วมใน
การเรยี นรู้ ผู้สอนอาจต้องการใช้เทคนิคบางอยา่ งเหลา่ น้ี

1) วงกลมใน/นอก (Inside/Outside Circle)
คือการฝึกสนทนาโต้ตอบ ให้นักเรียนจัดตัวเองเป็นวงกลมสองวง กระจายเท่าๆ กัน
นกั เรียนในวงในจะหันออกด้านนอก และนกั เรียนที่อยู่วงนอกจะหันเขา้ ด้านใน จับคู่นักเรียนแต่ละคน
หลงั จากไดร้ บั คำสั่งแลว้ นักเรยี นคนหนงึ่ พดู ขณะทีอ่ กี คนฟัง จากน้ันกส็ ลับกนั สถานการณ์
2) แบบทดสอบกล่มุ (Group Quizzes)
แบ่งนักเรียนออกเป็นกลมุ่ ๆ โดยไม่ให้เกินสี่คน แต่ละกลุ่มจะกรอกแบบทดสอบด้วยคำถาม
ตามขอ้ เทจ็ จรงิ และตามการสนทนาท่ีเกี่ยวข้องกบั หวั ข้อการบรรยาย
3) รายการเกมโชว์
โดยผู้สอนเตรียมกระดานที่เต็มไปด้วยคำถามในหัวข้อท่ีหลากหลายซึ่งสอดคล้องกับการ
อ่านและการบรรยายท่ีได้รับมอบหมาย แบ่งห้องเรียนออกเป็นทีมเพื่อตอบคำถาม นอกจากนี้ยัง
สามารถนำไปสู่การอภปิ รายเพ่ิมเตมิ ในขณะท่ตี อบคำถาม
4) การโต้วาทีตามแบบ Oxford (Oxford-Style Debate)
ให้นักเรียนแต่ละฝ่ายรับผิดชอบต่อข้อเสนอหรือหัวข้อเฉพาะ ทีมนักเรียนฝ่ายหนึ่งจะ
รับผิดชอบต่อข้อเสนอหนึ่ง และอีกทีมหนึ่งจะโต้แย้งข้อเสนอน้ันและอภิปรายว่าทำไม แต่ละทีมจะมี

93

โอกาสโตแ้ ย้งและสรุปผล สมาชิกที่เป็นผู้ชมควรสร้าง "แผนภูมิ T" เพื่อติดตามประเด็นท่ีน่าสนใจจาก
การสนทนาจากฝั่งที่ "เห็นด้วย" และฝ่ังที่ "ต่อต้าน" สิ่งน้ีจะทำให้เกิดการสนทนาท่ีน่าดึงดูดและมีการ
ตัง้ คำถามท่ีไปไกลเกนิ กว่าเนอื้ หาในการอภิปราย

5) บงิ โกมนุษย์ (Human Bingo)
บัตรบิงโกที่มีคำถามหรือข้อความถูกแจกจ่ายให้กับนักเรียนแต่ละคน จากน้ันนักเรียนจะ
ได้รับโอกาสในการหาเพื่อนร่วมชั้นท่ีรู้ (หรือคิดว่าจะรู้) คำตอบของคำถามหรือข้อความเฉพาะ
นกั เรียนมเี วลาที่กำหนดไว้ในการทำงานร่วมกันและได้ "บงิ โก" บ่อยเท่าท่ีเวลาจะเอื้ออำนวย สามารถ
ใช้นักเรียนคนเดียวกันเพื่อตอบได้สูงสุดสองช่อง เม่ือหมดเวลาคำถามและข้อความจะถูกเลือกสำหรับ
การอภปิ รายในชนั้ เรียน
เทคนิคท้ังหมดเหล่าน้ีสามารถช่วยส่งเสริมสภาพแวดลอ้ มการเรียนรแู้ บบมกี ารโต้ตอบท่ีจะ
ดงึ ดูดนกั เรียนและช่วยเพ่ิมความเข้าใจในการบรรยายทเี่ คยดูก่อนหนา้ น้ี Javier Horta ศาสตราจารย์
วิชาเคมีทางสรีรวิทยาและอินทรีย์แห่ง University of Massachusetts ใช้เทคนิคห้องเรียนกลับด้าน
ในช้นั เรียน
“นักเรียนต้องมีส่วนร่วมอย่างแข็งขัน รูปแบบการสอนน้ีสนับสนุนการเรียนรู้จาก
ประสบการณ์ นักเรียนเข้ามาในห้องเรียนเพ่ือรับประสบการณ์มากกว่าทจ่ี ะซึมซับขอ้ มูล สามารถอุทิศ
เวลาในช้ันเรียนเพื่อพูดคุยเก่ียวกับตัวอย่าง และนักเรียนสามารถใช้เวลาในห้องทดลองมากขึ้น”
Horta กลา่ ว
แม้ว่าวิธีน้ีมีมาระยะหนึ่งแล้ว แต่เร่ิมมีการใช้บ่อยขึ้นท่ามกลางการเปลี่ยนไปสู่การใช้
เทคโนโลยีร่วมกับการสอนในห้องเรียน และทำให้การมีส่วนร่วมของนักเรียนเป็นเร่ืองสำคัญ
มหาวิทยาลัยต่างๆ กำลังเสาะหาโต๊ะและเก้าอ้ีแบบพกพาท่ีมีล้อเล่ือนเพื่อให้เกิดการโต้ตอบและความ
คลอ่ งตวั ในห้องเรยี นมากข้นึ ทำให้เพิ่มโอกาสในการเรียนร้เู พิ่มเตมิ

โปรดทบทวน – แนวทางการจดั การเรยี นรู้แบบหอ้ งเรียนกลับด้าน
จากทศั นะของ The Editorial Team, Resilient Educator
มสี าระสำคัญอะไร
………………………………………………………………………………...................
............................................................................................................
............................................................................................................
หมายเหตุ - ศกึ ษาจากต้นฉบับภาษาองั กฤษ โปรด “คลิก” ดไู ด้จากเวบ็ ไซต์ข้างล่างน้ี

https://resilienteducator.com/classroom-resources/five-active-learning-techniques-for-a-flipped-
classroom/

94

ส รุป จ าก ทั ศ น ะข อ ง Gonzalez (2021), Milman (2014), Mumper (2013), The
Editorial Team, Resilient Educator (n.d.) และ Thakare (2018) ดังกล่าวข้างต้น สามารถระบุ
แนวทางการจดั การเรียนรู้แบบหอ้ งเรยี นกลับด้าน ดงั แสดงในตาราง

ตารางแสดงแนวทางการจดั การเรยี นร้แู บบห้องเรยี นกลับดา้ น

แนวการจดั การเรียนรู้แบบห้องเรยี นกลับด้าน Gonzalez
Milman
รปู แบบการจัด Mumper
1. รูปแบบการหมนุ เวียน (Rotation Model) คอื การหมนุ เวียน The Editorial Team
การบรรยายระหว่างการสอนแบบตัวตอ่ ตวั ในห้องเรียนและ Thakare
การสอนแบบออนไลน์
2. รปู แบบยืดหยนุ่ (Flex Model) เป็นการผสมผสานระหว่าง 
การสอนออนไลน์และการโตต้ อบในช้นั เรียน 
3. รูปแบบเสมือนจรงิ โดยสมบูรณ์ (Enriched Virtual Model) 
มกี ารแบ่งงานสำหรับโรงเรียนและท่บี ้านอย่างชัดเจน นักเรียน 
ไม่ได้มาโรงเรียนทุกวัน 
4. ห้องเรียนกลับด้านมาตรฐาน (Standard Inverted 
Classroom)ผู้เรียนจะถูกขอใหด้ วู ิดโี อการบรรยายและสื่อ 
การเรียนอ่ืน ๆ ท่ีเปน็ ขอ้ กำหนดเบอ้ื งต้นสำหรับช้ันเรียนต่อไป
5. ห้องเรยี นกลบั ด้านขนาดเล็ก (Micro Flipped Classroom)
วดิ โี อบรรยายสนั้ ๆ จะถกู แจกจา่ ยเปน็ สือ่ การเรียนควบคไู่ ปกบั
งานที่ไดร้ ับมอบหมายส้ัน ๆ
6. หอ้ งเรยี นกลับด้านเชงิ สนทนา (Discussion-Oriented
Flipped Classroom) การบา้ นถกู กำหนดในรปู แบบของว
วิดีโอบรรยาย การสนทนาเกดิ ขน้ึ ในหอ้ งเรียน
7. ห้องเรยี นกลับด้านตามการสาธติ (Demonstration-Based

95

แนวการจัดการเรียนรแู้ บบห้องเรียนกลับด้าน Gonzalez
Milman
Mumper
The Editorial Team
Thakare

Flipped Classroom) เครอื่ งมอื บนั ทึกหน้าจอจะใชเ้ พ่ือสร้าง

วดี โี อการสอนที่กำหนดให้เป็นการบ้าน นกั เรยี นสามารถเปดิ

ย้อนดูวิดโี อเพื่อทำความเขา้ ใจแนวคิดได้อยา่ งเต็มท่ี

8. หอ้ งเรียนกลับดา้ นเทียม (Faux-Flipped Classroom) การ 

แทนที่การบา้ นด้วยวดี โี อบรรยายการสอน เม่ือนักเรียน

กลบั มาที่ห้องเรียน ครูจะคอยให้คำแนะนำและชว่ ยเหลือแบบ

ตัวต่อตัว

9. หอ้ งเรียนกลบั ดา้ นตามกลุ่ม (Group-Based Flipped 

Classroom) เนน้ การเรียนรแู้ บบกลมุ่ หลงั จากที่นักเรยี น

ศึกษาเน้ือหาท่ีจัดไว้ใหแ้ ล้ว นักเรยี นจะเรยี นรู้โดยการอธิบาย

แนวคิดให้กนั และกนั

10. หอ้ งเรยี นกลับด้านเสมือน (Virtual Flipped Classroom) 

รปู แบบนี้จะไม่มีการเรยี นในห้องเรียนโดยสิน้ เชิง งานที่

มอบหมายจะถูกรวบรวมทางออนไลนผ์ า่ นระบบการจดั การ

เรยี นรู้

แนวคิดและเทคนคิ วิธีในการจัดการ

11. กำหนดเป้าหมายและความคาดหวงั ทชี่ ัดเจน (Set Clear 

Goals and Expectations)

12. สรา้ งจังหวะทีเ่ หมาะสม (Set The Right Pace)  

13. ระบทุ รัพยากร (Identify Resources) 

14. รับฟงั เสียงของนักเรียนทกุ คน (Allow All Student Voices 

To Be Heard)

15. เฉลมิ ฉลองความก้าวหนา้ ของนกั เรยี น (Celebrate Student 

Progress)

16. สรา้ งเนอ้ื วิดีโอใหส้ ้ันกระชบั และมกี ารแนะนำขน้ั ตอนใน 

การศกึ ษาวิดโี อทั้งหมดอย่างเพียงพอ

17. ตอ้ งใช้เวลาและความคดิ มากข้นึ ในการใช้กลยทุ ธใ์ นห้องเรยี น  

กลบั ดา้ น

18. บนั ทกึ การบรรยาย 25 รายการดว้ ย Echo 360 แต่ละ 

รายการมีความยาวเพียง 35 นาที

96

แนวการจัดการเรียนร้แู บบหอ้ งเรียนกลับดา้ น Gonzalez
Milman
19. นักเรยี นดูวิดโี อในคืนกอ่ นเข้าเรยี น Mumper
20. การเรียนรู้เชงิ รุก นกั เรียนมาถงึ ห้องเรียนพร้อมมีสว่ นรว่ ม The Editorial Team
21. วงกลมใน/นอก (Inside/Outside Circle) การฝกึ สนทนา Thakare

โต้ตอบ ใหน้ กั เรียนจดั ตวั เองเป็นวงกลมสองวง สลบั กันโตต้ อบ 
22. แบบทดสอบกลุ่ม (Group Quizzes) โดยแบ่งนกั เรยี นเปน็ 

กลมุ่ ไม่เกิน 4 คน เพื่อตอบแบบทดสอบ 
23. รายการเกมโชว์ โดยผสู้ อนเตรยี มกระดานที่มีคำถาม แบ่ง 

นักเรยี นเป็นทีมเพ่ือตอบคำถามและอภิปรายรว่ มกนั 
24. การโตว้ าทีตามแบบ Oxford (Oxford-Style Debate) แบ่ง 

นกั เรยี นเปน็ 2 ฝ่าย คือ ฝ่ายข้อเสนอและฝ่ายโต้แย้ง 
25. บงิ โกมนษุ ย์ (Human Bingo) โดยแจกบตั รบงิ โกคำถามให้กับ

นกั เรยี น เพ่ือไปหาเพื่อนร่วมช้ันทรี่ ้คู ำตอบ
26. สรา้ งสภาพแวดล้อมการเรียนร้เู ชงิ รุกทใ่ี ชง้ านไดท้ ุกที่ สร้าง 

ระบบนิเวศการเรียนรู้ทแ่ี ทจ้ ริง
27. ใช้การบรรยายคือการบ้านของนกั เรียน นักเรียนอุทิศเวลาใน

หอ้ งเรยี นเพ่ือเสรมิ สร้างความรู้ตามหัวขอ้ ของการบรรยาย
เครอ่ื งมอื ในการจัดการ

28. เคร่อื งมือสำหรบั การบนั ทึกภาพหนา้ จอ (Tools for
Screencasting) เช่น Camtasia, Screencast-O-Matic,
Snagit, Screencastify รวมท้ังแอปตดั ต่อวดิ ีโอทัว่ ไป

29. เครอ่ื งมอื สำหรับวดิ โี อ (Tools for Videos) เช่น Edpuzzle,
Playposit, Tes Teach, Classflow

30. เคร่ืองมอื เบด็ เตล็ดบางชนดิ (Some Miscellaneous Tools)
เชน่ การบรรยายดว้ ยเสยี ง/วีดโี อในการนำเสนอ
Powerpoint, ซอฟต์แวร์ Sheppard, Wonderopolis

97

Source - https://flippedclassroommediag4.blogspot.com/

98

กจิ กรรมชวนคดิ

จากนานาทัศนะเกี่ยวกับแนวทางการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้าน
ดังกล่าวข้างต้น ท่านเห็นว่ามีองค์ประกอบ (Elements) หรือตัวบ่งช้ี
(Indicators) ท่ีสำคัญอะไรบ้าง ท่ีทำให้เข้าใจแนวทางนั้นได้อย่างกระชับและ
ชดั เจน โปรดระบุแนวคดิ หรอื องค์ประกอบนนั้ ในภาพทแ่ี สดงขา้ งล่าง

99

เอกสารอา้ งองิ

Gonzalez, D. (2021, February 8). 5 Ways to create an effective flipped classroom for
your students. Retrieved August 14, 2021 from https://www.teq.com/news/5-
ways-effective-flipped-classroom/

Milman, N.B. (2014). The flipped classroom strategy: What is it and how can it best
be used. Retrieved August 14, 2021 from
https://books.google.co.th/books?hl=th&lr=&id=NgYoDwAAQBAJ&oi=fnd&pg=P
A9&dq=Flipped+classroom+strategy+PDF&ots=M6Cu7zanPh&sig=d0NkU0r-
qUqFQp_AQrhplVo3Ldo&redir_esc=y#v=onepage&q=Flipped%20classroom%2
0strategy%20PDF&f=false

Mumper, R. (2013). Teachers practical guide to a flipped classroom. Retrieved August
15, 2021 from https://www.pinterest.com/pin/47921183511318895/

Thakare, R. (2018, July 25). 8 Types of flipped learning classrooms and tools to build
them. Retrieved August 15, 2021 from https://elearningindustry.com/flipped-
learning-classrooms-tools-build-types

The Editorial Team, Resilient Educator. (n.d.). Tips for teachers and classroom
resources. Retrieved August 15, 2021 from
https://resilienteducator.com/classroom-resources/five-active-learning-
techniques-for-a-flipped-classroom/


Click to View FlipBook Version