The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การท่องเที่ยวชุมชน (CBT)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Montharat Bunchong, 2021-11-02 03:03:40

การท่องเที่ยวชุมชน (CBT)

การท่องเที่ยวชุมชน (CBT)

พมิ พ์ครั้งที่ 1 : ตุลาคม 2558
จัดทำ� โดย
งานองค์ความรู้ ส�ำนักบริหารยทุ ธศาสตร์ ร่วมกบั ส�ำนกั ทอ่ งเที่ยวโดยชุมชน
องค์การบริหารการพัฒนาพนื้ ที่พเิ ศษเพอ่ื การท่องเที่ยวอยา่ งยงั่ ยืน (องค์การมหาชน)
118/1 อาคารทปิ โก้ ชนั้ 31 ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400

โทร 02-357-3580-7 แฟกซ์ 02-357-3599
เว็บไซต์ http://www.dasta.or.th
www.facebook.com/SaiJaiPaiTiew
www.facebook.com/CBT.DASTA
ผลติ โดย
บริษทั โคคนู แอนด์ โค จำ� กัด
เลขท่ี 32 ซอย โชคชยั 4 ซอย 84 ถนนโชคชยั 4 แขวงลาดพรา้ ว เขตลาดพรา้ ว กรงุ เทพฯ 10230
โทร 02-116-9959, 087-718-7324 แฟกซ์ 02-116-9958
อเี มล [email protected]

ซรี ีสค์ วามรู้ “ใส่ใจไปเที่ยวกับ อพท.” จัดทำ� ภายใตง้ านองค์ความรู้ สำ� นักบริหาร
ยุทธศาสตร์ องค์การบริหารการพัฒนาพ้ืนท่ีพิเศษเพ่ือการท่องเท่ียวอย่างยั่งยืน
(องค์การมหาชน) โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือเผยแพร่องค์ความรู้ต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องกับ
การทอ่ งเทยี่ วอยา่ งยง่ั ยนื ในรปู แบบทเี่ ขา้ ใจงา่ ย เพอื่ จดุ ประกายความคดิ สรา้ งแรงบนั ดาลใจ
ให้คนรุ่นใหม่หรือผู้ที่สนใจน�ำองค์ความรู้ไปต่อยอด ท้ังในด้านเพิ่มประสิทธิภาพ
การทำ� งาน หรือโอกาสในการทำ� งาน สร้างรายได้ สร้างธรุ กจิ รวมถงึ การปรับเปล่ยี น
พฤติกรรมนักท่องเที่ ยวเพื่อน�ำไปสู่การพั ฒนาการท่องเที่ ยวอย่างยั่งยืนในท่ี สุด
ข้อมลู ภายในหนังสือเลม่ น้ี จัดท�ำขน้ึ เพอื่ เปน็ สาธารณประโยชน์แกบ่ ุคคลทั่วไปและไมม่ ี
การผลิตเพื่อจำ� หน่ายในเชงิ พาณิชย์

คำ�นำ�

องคก์ ารบริหารการพัฒนาพนื้ ท่ีพเิ ศษเพอ่ื การทอ่ งเที่ยวอยา่ งยง่ั ยนื (องคก์ ารมหาชน) หรอื อพท.
มภี ารกจิ ในการพัฒนาการทอ่ งเที่ยวใหเ้ กดิ ความยง่ั ยนื โดยทำ� หนา้ ที่ประสาน สง่ เสริม สนบั สนนุ เพอื่ ทำ� ให้
การบริหารจัดการการทอ่ งเทยี่ วในพนื้ ทพ่ี เิ ศษเกดิ ความยง่ั ยนื ใน 3 มติ ิ ไดแ้ ก่ สงั คม เศรษฐกจิ และสงิ่ แวดลอ้ ม
ซึ่งได้มุ่งเน้นการจัดการแหล่งท่องเท่ียว องค์ความรู้ การพัฒนาคน และกิจกรรมการท่องเที่ยว
โด ยมีชุ มช นท้องถิ่ นเป็นผู้รั บผลประโยช น์ท่ี เกิดจากการพั ฒนาและการเติบโตด้านการท่องเที่ ยว
และเนน้ กระบวนการดำ� เนนิ งานอยา่ งมสี ว่ นรว่ ม (Co-creation) เพอื่ วางรากฐานการพัฒนาศกั ยภาพชุมชน
ท้องถิ่นในด้านต่างๆ

จากความรู้คือโอกาส อพท. จึงเช่ือม่ันว่าความรู้เรื่องการพัฒนาการท่องเท่ียวอย่างยั่งยืน
จะสามารถจุดประกาย กระตุกต่อมคิด สร้างแรงบันดาลใจ ให้คนรุ่นใหม่หรือผู้สนใจน�ำความรู้ไป
ตอ่ ยอด ทั้งในแง่การเพม่ิ ประสทิ ธิภาพการท�ำงาน หรือโอกาสในการสร้างงาน สรา้ งรายได้ สรา้ งธุรกจิ
รวมถงึ การปรับเปลย่ี นพฤตกิ รรมการทอ่ งเที่ยว เพอื่ จะนำ� ไปสกู่ ารพัฒนาการทอ่ งเที่ยวอยา่ งยง่ั ยนื ในท่ีสดุ

อพท. ได้จัดท�ำซีรีส์ความรู้ “ใส่ใจไปเท่ียวกับ อพท.” เพื่อถ่ายทอดความรู้การพัฒนา
การทอ่ งเท่ียวอยา่ งย่งั ยนื ในรปู แบบที่เข้าใจง่าย โดยซีรีส์ความรชู้ ุดแรกที่เผยแพร่ไปแล้วคอื เที่ยวแบบ
คนไมเ่ อาถา่ น (Low Carbon Tourism)  ซรี สี ช์ ุดนเ้ี ปน็ ชุดทส่ี องคอื ทอ่ งเทยี่ วโดยชุมชน (Community-Based
Tourism) และเตรยี มพบกบั ซรี สี ช์ ุดตอ่ ๆ ไป ไดแ้ กเ่ รอื่ ง การทอ่ งเทย่ี วเชงิ สรา้ งสรรค์ (Creative Tourism)
และการท่องเท่ียวเชิงอาหาร (Gastronomy Tourism)

ส�ำหรับซีรีส์ความรู้ชุดท่ีสองน้ี เป็นการน�ำเสนอเรื่องราวการท่องเที่ยวโดยชุมชนของ อพท.
ซ่ึงเป็นการท่องเท่ียวทางเลือกที่มีการบริหารจัดการโดยชุมชนอย่างสร้างสรรค์ร่วมกับภาคีเครือข่าย
ในการขบั เคลอื่ นการพัฒนาใหเ้ กดิ ขนึ้ อพท. หวงั เปน็ อยา่ งยงิ่ วา่ ซรี สี ค์ วามรชู้ ุดท่ีสองน้ี จะเปน็ แรงบนั ดาลใจ
ให้เยาวชน คนรุ่นใหม่ หรือคนในชุมชน ได้เห็นถึงความส�ำคัญของการท่องเท่ียวโดยชุมชนว่าท�ำให้เกิด
ประโยชน์ต่อชุมชน ทั้งโอกาสในการสร้างงาน สร้างรายได้ และยังสามารถรักษาวัฒนธรรม วิถีชีวิต
และสิ่งแวดล้อมของชุมชน รวมทั้งนักทอ่ งเที่ยวท่ีเลือกมาท่องเท่ียวโดยชุมชนกจ็ ะได้เปดิ มุมมอง สัมผสั
วิถีชีวิตที่แตกต่างออกไป เป็นการท่องเที่ยวท่ีเติมเต็มความสุขที่ทุกคนสามารถเป็นส่วนหนึ่งในการ
ร่วมสรา้ งประโยชน์ให้ชุมชนทอ้ งถ่ินไดอ้ ย่างแท้จริง

พันเอก
(ดร.นาฬกิ อตภิ คั แสงสนทิ )
ผอู้ ำ� นวยการ อพท.

สารบัญ

- --6-

บทน�ำ
-12- 16

องคโด์ปยรชะุมกอชนบกเาพรือ่ ทช่อุมงชเนท่ียว

กับการท่องอเพทท่ีย.วโดยชุมชน

-26- -20-

13 ชุมชนตน้ แบบของ อพท. การทอ่ งผเทลลี่ยัพวโธด์กยาชรุมพชัฒนขนอาง อพท.

-44-

ภาพฝันการขอทง่องอเทพท่ียว. โดยชุมชน

- -ไอเดียการท�ำธุรก4ิจท6อ่ งเที่ยวโดยชุมชน -52-

มมุ มองการท่องเที่ยวโดยชุมชน

บทนำ�

Community-Based Tourism

การท่องเทีย่ วโดยชุมชน เพ่ือชมุ ชน

แน่นอนว่าการท่องเท่ียวน�ำความเจริญและ การท่องเท่ียวโดยชุมชน เป็นการท่องเท่ียว
ผลประโยชน์มาสู่ชุมชน ในขณะเดียวกันก็สามารถ ทางเลอื กที่บริหารจัดการโดยชุมชนอย่างสรา้ งสรรค์
บ่ันทอนทรัพยากรต่างๆ ของชุมชนได้อย่างรวดเร็ว และมีมาตรฐานก่อให้เกิดการเรียนรู้ เพื่อน�ำไปสู่
เม่ือชุ มช นต้องพั ฒนา เป็นเมืองท่องเที่ ยวตามใจ ความย่ังยืนของสิ่งแวดล้อม วัฒนธรรมท้องถิ่น
ผู้ประกอบการและนักท่องเที่ยว ท�ำให้ชุมชนเกิด และคณุ ภาพชีวิตที่ดี
การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ในด้านเศรษฐกิจ
สิ่งแวดล้อม และสงั คมวฒั นธรรม ในปจั จุบนั อพท. มชี ุมชนตน้ แบบการทอ่ งเท่ียว
โดยชุมชนทั้งหมด 13 ชุมชน โดยมุ่งเน้นให้ชุมชน
ในฐานะที่ อพท. มีหน้าท่ีหลักในการประสาน เขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการรว่ มคดิ รว่ มวางแผน รว่ มปฏบิ ตั ิ
ส่งเสริม และสนับสนุนการพัฒนาการท่องเที่ยว รว่ มรบั ผดิ ชอบ และรว่ มรบั ผลประโยชน์ (Co-Creation)
อยา่ งยง่ั ยนื จงึ ตระหนกั ดีวา่ การพัฒนาการทอ่ งเที่ยว พ ร ้ อ ม กั บ เ ส ริ ม ส ร ้ าง ศั ก ย ภา พ ชุ ม ช น ให ้ ส า มาร ถ
อยา่ งยงั่ ยนื นนั้ ตอ้ งมรี ากฐานจากชุมชนในฐานะเปน็ บ ริ หารจั ด การ แ ล ะ เชื่ อ มโ ย ง ผล ป ร ะ โ ย ช น ์ ต ่ าง ๆ
เจา้ ของทรัพยากรดา้ นการทอ่ งเท่ียวที่แทจ้ ริง ดงั นน้ั จากการทอ่ งเท่ียวได้ เมอ่ื ชุมชนสามารถบริหารจัดการ
อพท. จึงจัดต้ังส�ำนักท่องเที่ยวโดยชุมชน (สทช.) และเช่ือมโยงผลประโยชนต์ า่ งๆ จากการทอ่ งเท่ียวได้
ขนึ้ เพอื่ เปน็ หนว่ ยงานที่พัฒนาการทอ่ งเที่ยวกับชุมชน ก็จะน�ำมาซึ่งรายได้เสริมในชุมชน ส่ิงแวดล้อมท่ีดี
โดยตรง โดยมงุ่ เนน้ ใหช้ ุมชนเขา้ มามสี ว่ นรว่ มเพอ่ื เปน็ นา่ อยู่ วิถีชีวิตและวฒั นธรรมทอ้ งถิ่นไดร้ บั การอนรุ กั ษ์
ผรู้ ับประโยชน์สงู สดุ จากการท่องเท่ียว และเพมิ่ มลู คา่ จากการคงไวซ้ ง่ึ วิถีชีวิตและวฒั นธรรม
ทอ้ งถ่ิน ซง่ึ สง่ิ เหลา่ นจ้ี ะชว่ ยทำ� ใหก้ ารพัฒนาทอ้ งถ่ิน
เปน็ ไปอยา่ งสมดลุ และยง่ั ยนื

CBTT (Community Benefitting Through Tourism)

แนวคดิ ชุมชนเก็บเกย่ี วประโยชน์จากการท่องเที่ยว

การท่ีชุมชนจะเกบ็ เกย่ี วประโยชนจ์ ากการทอ่ งเท่ียวไดน้ น้ั ตอ้ งมคี วามเช่ือมโยง
ของผลประโยชนข์ องการทอ่ งเที่ยวโดยชุมชนตอ่ ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี จากการทอ่ งเที่ยว
เชน่ ผปู้ ระกอบการทอ่ งเท่ียว บคุ คลที่ประกอบอาชีพอื่นในชุมชน
ก ร ะ บ ว น การ เชื่ อ มโ ย ง ผล ป ร ะ โ ย ช น ์ จา ก การ
ท่องเท่ี ยวไปยังชุ มช นถือเป็นจ๊ิ กซอว์ ในกิจกรรม
ทอ่ งเที่ยว เชน่ การนำ� เท่ียว อาหาร ที่พัก ของที่ระลกึ
กจิ กรรมการทอ่ งเท่ียวตา่ งๆ ซงึ่ แตล่ ะชุมชนไมต่ อ้ งมี
ครบทุกอย่าง แต่สามารถมกี ระบวนการเช่ือมโยงกนั
เพ่ื อ เ ติ ม เ ต็ ม กา ร ท ่ อ ง เท่ี ย ว แ ล ะ ไ ด ้ รั บ ป ร ะ โ ย ช น ์
ร่วมกนั ได้
การท่องเท่ียวโดยชุมชนก่อให้เกิดการกระจาย
รายได้ ซ่ึงท�ำให้ชุมชนได้รับผลประโยชน์ในเชิง
เศรษฐกิจ ส่งผลให้คนท้องถ่ินมีคุณภาพชีวิต
ท่ีดีขน้ึ ในขณะเดียวกันยังกระตุ้นให้เกิดการอนรุ ักษ์
ทรัพยากรทางธรรมชาติ สบื ทอดวิถีชีวิต สงั คม และ
วัฒนธรรมท้องถ่ินใหย้ ง่ั ยืน

Community-Based Tourism

เท่ยี วน้ี...ที่ไมเ่ หมือนเดิม กบั การท่องเทีย่ วโดยชุมชน

ทำ� ไมเราต้องท่องเที่ยวโดยชุมชน

มาทำ� ความร้จู ักกบั การท่องเที่ยวทางเลือกใหมท่ ่ีสนกุ และสรา้ งสรรค์
แถมยังชว่ ยสรา้ งความย่ังยืนใหก้ บั ชุมชนกันดีกว่า

ทอ่ งเที่ยวโดยชุมชนคืออะไร

การทอ่ งเทยี่ วโดยชมุ ชน คอื การทอ่ งเทยี่ วทางเลอื ก
ท่ีบริหารจัดการโดยชุมชนอย่างสร้างสรรค์และ
มีมาตรฐานก่อให้เกิดการเรียนรู้ เพื่อน�ำไปสู่
ความยง่ั ยนื ของสง่ิ แวดลอ้ ม วฒั นธรรมทอ้ งถ่ิน และ
คณุ ภาพชีวิตที่ดี

การ ท ่ อง เที่ ย ว โ ด ย ชุ ม ช น ไ ม ่ ไ ด ้ เ กิ ด จา ก การ
ตอบค�ำถามว่า ชุมชนจะได้ประโยชน์อย่างไรจาก
การท่องเท่ียว แต่เป็นการสร้างโจทย์ใหม่ว่า
การท่องเท่ียวจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาชุมชน
อย่างสรา้ งสรรค์ไดอ้ ย่างไร

ทำ� ไมตอ้ งทอ่ งเท่ียวโดยชุมชน

เพราะการท่องเท่ียวน�ำความเจริญและผลประโยชน์มาสู่ชุมชน ในขณะเดียวกัน
กส็ ามารถบั่นทอนทรัพยากรตา่ งๆ ของชุมชนอยา่ งรวดเรว็ แลว้ ชุมชนจะตอ้ งเสยี อะไร
ไปบ้าง เมื่อต้องพัฒนาเป็นเมืองท่องเท่ียวตามใจผู้ประกอบการและนักท่องเที่ยว
ถา้ หากไมม่ ีการบริหารจัดการท่ีดจี ะเปน็ อย่างไร

8

ด้านเศรษฐกจิ ดา้ นสิง่ แวดล้อม

รายได้ของคนในชุมชนข้ึนอยู่กับฤดูกาล เกดิ การเปลย่ี นแปลงในชุมชน เชน่ กอ่ สรา้ ง
หากไม่ใช่ฤดูกาลท่องเท่ียวก็อาจขาด ถนน สนามบิน ทา่ เรอื โรงแรม สถานบนั เทงิ
รายได้ เกดิ มลภาวะตา่ งๆ
มีการนำ� เขา้ สินคา้ จากท่ีอื่น เพราะตอ้ งมี
สินค้าตอบสนองความต้องการทั้งคนใน มลภาวะทางเสยี ง จากเครอื่ งบินหรอื เรอื
ชุนชมและนกั ทอ่ งเที่ยว ทำ� ใหร้ าคาสนิ คา้ ท�ำลายความสงบของท้องถิ่น
ทอ้ งถิ่นสูงตาม มลภาวะทางนำ้� ถา้ ไมม่ กี ารจดั การระบบนำ้�
ปัญหาค่าครองชีพและราคาที่ดินสูงขึ้น ที่ดี อาจทำ� ใหข้ าดแคลนนำ�้ สะอาดใช้
เกิดการแย่งกันประมูลซ้ือที่ดินท�ำเลดี มลภาวะทางอากาศ จากรถยนต์หรือ
มาก่อสร้างอาคาร โรงแรม เพ่ือรองรับ จักรยานยนต์
นักท่องเที่ยว มลภาวะทางสายตา มกี ารสรา้ งอาคาร
สงิ่ ปลกู สรา้ งทำ� ลายทศั นยี ภาพอนั สวยงาม
ของชุมชน
ปญั หาขยะ ไมม่ คี วามสามารถในการจัดเกบ็
และก�ำจัดขยะ ท�ำให้เกิดการเส่ือมสลาย
ของทรัพยากรพนื้ ฐาน ทั้งแหลง่ นำ�้ และดนิ

ด้านสังคมและวฒั นธรรม

เพ่ือตอบสนองความต้องการของนักท่องเที่ยวที่เพ่ิมข้ึน น�ำไปสู่การเปล่ียนแปลงสินค้าและผลิตภัณฑ์ทาง
วัฒนธรรม
ชาวบ้านปรับกิจกรรมหรือวัฒนธรรมของพวกเขาให้มีสีสันมากข้ึน เพ่ือตอบสนองรสนยิ มของนักท่องเที่ยว
อาจน�ำไปสูก่ ารสญู เสียคุณค่าและความหมายท่ีแทจ้ ริงของกิจกรรมหรือวฒั นธรรม
แหล่งท่องเที่ยวที่มีการพัฒนาการท่องเท่ียวเกิดข้ึน ท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านทัศนคติ พฤติกรรม
ความเชื่อและการบริโภคของชาวบา้ นในชุมชนเพ่อื เลยี นแบบนักท่องเท่ียว
เกิดการเปลี่ยนแปลงเอกลักษณข์ องชุมชนอันเป็นเสนห่ ท์ ี่เคยดงึ ดดู นักท่องเที่ยว
เกดิ การยา้ ยถิ่นฐานของคนหนมุ่ สาวในการทำ� มาหากนิ สง่ ผลใหก้ ารสานตอ่ วฒั นธรรมเกา่ แกด่ ง้ั เดมิ เปน็ ไปไดย้ าก
การเตบิ โตของการท่องเท่ียวน�ำไปสกู่ ารเพิ่มขึ้นของการเกิดอาชญากรรม

9

เท่ียวอย่างไรให้ชมุ ชนได้ประโยชน์

ในแตล่ ะภาคส่วนลว้ นสามารถมสี ่วนชว่ ยสนับสนนุ ให้การท่องเท่ียว
เปน็ ประโยชน์ต่อชุมชนทอ้ งถ่ินมากขึน้ ดว้ ยวิธกี ารดังต่อไปนี้

ภาครัฐ สถาบนั การศึกษา
ส่งเสริม ประสาน และสนับสนนุ เพอื่ เช่ือมโยง ใหค้ วามรู้ และแสวงหาองคค์ วามรทู้ เ่ี หมาะสมเพื่อ
โอกาสและเสริมสรา้ งศกั ยภาพใหช้ ุมชนสามารถ การพัฒนาการท่องเที่ยวที่เป็นประโยชน์ต่อ
ได้รับประโยชนจ์ ากการทอ่ งเท่ียว ชุมชนท้องถ่ินอยา่ งแท้จริง

ผู้ประกอบการบริษทั ทอ่ งเท่ียว สือ่ มวลชน
ส่งเสริมบริการท่องเที่ยวที่บริหารจัดการโดย ให ้ ข ้ อ มู ล เพื่ อ ส ร ้ าง ค วา ม ต ร ะ ห นั ก รู ้ ให ้
ชุมชนท้องถ่ิน และสรรหาตลาดนักท่องเที่ยว สาธารณชนมีความเข้าใจทางเลือกของ
ท่ีเหมาะสมใหก้ บั กิจกรรมท่องเท่ียวในชุมชน การท่องเท่ียวที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชน
ท้องถ่ินมากขน้ึ

นกั ท่องเท่ียว
อดุ หนนุ บริการการทอ่ งเที่ยวท่ีบริหารจัดการโดยชุมชนทอ้ งถิ่น และทำ� ความเขา้ ใจ
เพือ่ ใหม้ พี ฤติกรรมที่เหมาะสมในสถานท่ีทอ่ งเท่ียวต่างๆ

10

หลักการทอ่ งเที่ยวโดยชุมชน

ชุมชนเป็นเจ้าของ
ชาวบา้ นเข้ามามีส่วนรว่ มในการกำ� หนดทิศทางและตัดสนิ ใจ
ส่งเสริมความภาคภมู ิใจในตนเอง
ยกระดับคุณภาพชีวิต
มีความยั่งยนื ทางดา้ นสง่ิ แวดล้อม
คงเอกลกั ษณแ์ ละวฒั นธรรมทอ้ งถ่ิน
กอ่ ใหเ้ กดิ การเรียนร้รู ะหวา่ งคนตา่ งวฒั นธรรม
เคารพในวัฒนธรรมท่ีแตกต่างและศักด์ศิ รีความเป็นมนษุ ย์
เกดิ ผลตอบแทนที่เป็นธรรมแก่คนทอ้ งถ่ิน
มกี ารกระจายรายได้สู่สาธารณประโยชนข์ องชุมชน

11

อพท.
กบั การท่องเท่ียวโดยชมุ ชน

การทอ่ งเท่ียวโดยชุมชน ถือเปน็ กลไกสำ� คญั ท่ีจะชว่ ยใหช้ ุมชนสามารถบริหารจัดการทรัพยากร
ของตวั เอง และนำ� เอาหลักการทอ่ งเที่ยวเชงิ สรา้ งสรรค์มาใชพ้ ัฒนาส่ิงที่มอี ยูใ่ นชุมชน

เพื่อเพิม่ มูลค่าใหเ้ ปน็ ผลติ ภณั ฑห์ รือประสบการณ์การทอ่ งเท่ียวท่ีมคี ุณคา่ ใหก้ ับนักทอ่ งเท่ียว

บทบาทของ อพท. ในการพัฒนาการท่องเท่ียวโดยชุมชน

พัฒนาการทอ่ งเท่ียวเพอื่ เพมิ่ รายไดแ้ ละกระจายรายได้ไปสชู่ ุมชนทอ้ งถ่ิน โดยมสี ำ� นกั ทอ่ งเท่ียว
โดยชุมชน (สทช.) เปน็ หนว่ ยงานที่ทำ� หนา้ ท่ีรว่ มกบั พนื้ ท่ีพเิ ศษเพอ่ื พัฒนาศกั ยภาพชุมชนและเตรียม
ความพรอ้ มการบริหารจัดการการทอ่ งเท่ียวในชุมชนของตนเอง

เปน็ ตวั กลางเพอ่ื ประสาน สง่ เสริม และสนบั สนนุ ท้ังชุมชน และภาคเี ครือขา่ ยตา่ งๆ ใหส้ ามารถ
ทำ� งานพัฒนาการทอ่ งเท่ียวรว่ มกนั ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และเกดิ ประสทิ ธผิ ล เพอื่ ใหช้ ุมชนไดร้ ับ
ประโยชนส์ งู สดุ จากการทอ่ งเท่ียว และเกดิ การทอ่ งเท่ียวโดยชุมชนที่ยง่ั ยนื ขนึ้ มาเปน็ ตน้ แบบในการ
ขยายผลไปยังชุมชนอื่นๆ ต่อไป

กระบวนการรับรองแหลง่ ทอ่ งเท่ียวโดยชุมชนเพอื่ การพัฒนาการทอ่ งเที่ยวโดยชุมชนอยา่ งยง่ั ยนื

1. จัดต้ังชมรมส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชน
2. ชมรมฯ ประเมนิ ตนเองตามเกณฑ์การบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชน
3. คณะทำ� งานจัดกระบวนการทำ� แผนยทุ ธศาสตรช์ มรมฯ
4. อพท. เสริมสรา้ งศักยภาพชมรมฯ ตามแผนยทุ ธศาสตร์
5. ชมรมฯ ด�ำเนนิ โครงการตามแผนยทุ ธศาสตรช์ มรมฯ
6. คณะท�ำงานรับรองแหล่งฯ ประเมินและติดตามพัฒนาการของชมรมตามเกณฑ์บริหารจัดการ

แหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชน

12

แนวทางการดำ� เนนิ งานการพัฒนาการทอ่ งเท่ียวโดยชุมชน

Road map การพัฒนาตง้ั แต่ปี 2555

กา้ วท่ี 1

สำ� รวจ คดั เลือกชุมชนตน้ แบบ กา้ วที่ 2
ตง้ั คณะทำ� งานรับรองแหลง่ ทอ่ งเท่ียวโดยชุมชน เตรียมความพรอ้ มชุมชน
เพื่อร่วมกันพั ฒนา เกณฑ์การบริ หารจั ด การ ตง้ั ชมรมสง่ เสริมการท่องเท่ียวโดยชุมชน
แหลง่ ทอ่ งเที่ยวโดยชุมชน เสริมสร้างศกั ยภาพผู้นำ� ชุมชน
กา้ วท่ี 3 จัดท�ำแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวโดยชุมชน
ของแตล่ ะชมรม

เสริมสร้างศกั ยภาพชมรมฯ
จัดทำ� แผนที่ทอ่ งเท่ียว กฎระเบียบ และการบริหารจัดการภายใน
ชมรมฯ ให้เข้มแข็ง สรา้ งการมีส่วนร่วม

ก้าวที่ 5 กา้ วที่ 4
เตรียมพร้อมสู่การตลาด
ทำ� โปรแกรมท่องเที่ยว กำ� หนดกลุม่ เปา้ หมาย
กจิ กรรมทดลองการทอ่ งเที่ยว
เสริมสรา้ งศกั ยภาพท่ียงั ขาดตามเกณฑก์ ารบริหาร
จัดการแหลง่ ท่องเท่ียวโดยชุมชน

เชื่อมโยงการตลาด และส่งตอ่ คนรุน่ ใหม่ จนถงึ ปจั จุบันก็ยังมกี าร
Branding ชุมชน พัฒนาอย่างตอ่ เน่ือง
Familiarization Trip
Business Matching
แผนยุทธศาสตร์ CBT
หลกั สตู รเพ่ือขยายผลจากชุมชนตน้ แบบ
เยาวชนคนรุ่นใหม่เติมเตม็ การขบั เคล่อื นชมรมฯ

13

อพท.

กบั การท่องเท่ียวโดยชมุ ชน

กอ่ นที่จะไดร้ ับการรับรองวา่ เป็นแหล่งท่องเท่ียวโดยชุมชน
แตล่ ะชุมชนตอ้ งผ่านกระบวนการ และมีเคร่ืองมือในการพัฒนาอะไรบ้าง มาดูกนั เลย

กลไกในการพัฒนาการทอ่ งเท่ียวโดยชุมชน
คณะท�ำงานรับรองแหล่งทอ่ งเท่ียวโดยชุมชน

ภาควิชาการ : จัดทำ� แผนพัฒนาการทอ่ งเทย่ี วโดยชุมชนและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพดา้ นตา่ งๆ ทจ่ี ำ� เปน็
หนว่ ยงานภาครัฐ : ช่วยเสริมมิตดิ ้านการพัฒนาคุณภาพชีวิต และส่งเสริมเติมเตม็ ทรัพยากรตา่ งๆ

ที่จำ� เป็นส�ำหรับการพัฒนาการทอ่ งเที่ยว
ภาคการตลาด : พัฒนาการทอ่ งเที่ยวเพอื่ ตอบสนองความตอ้ งการของตลาด และใหค้ ำ� แนะนำ� ใน

การวางกลยทุ ธก์ ารตลาดอย่างย่งั ยนื
ภาคชุมชน : ให้ค�ำแนะนำ� แลกเปล่ยี นประสบการณด์ า้ นตา่ งๆ

เกณฑบ์ ริหารจัดการแหล่งท่องเท่ียวโดยชุมชน

วางแผน ลงมอื ปฏบิ ตั ิจริง ตดิ ตามประเมนิ ผล ปรับปรุงและพัฒนา

อพท. มีแนวคิดหลักในการพัฒนาชุมชนโดยใช้การท่องเที่ยวเปน็ เครื่องมือหลกั
คำ� นงึ ถึงความย่ังยืนและความอยดู่ ีมสี ุขของคนในชุมชน ซึ่งมีองคป์ ระกอบการพัฒนาตามแนวทาง

“เกณฑ์การบริหารจัดการแหลง่ ทอ่ งเที่ยวโดยชุมชน” 5 มิติ คอื

1. การบริหารจัดการอยา่ งยง่ั ยืน
2. กระจายผลประโยชนส์ ่ทู อ้ งถิ่น ในเร่ืองเศรษฐกจิ สงั คมและคุณภาพชีวิต
3. อนรุ ักษ์และส่งเสริมมรดกทางวัฒนธรรม
4. จัดการทรัพยากรธรรมชาตหิ รือสิ่งแวดลอ้ มอยา่ งเปน็ ระบบและย่งั ยืน
5. การบริการและความปลอดภัย

14

กลอ่ งเครื่องมือ 9+1 Building blocks

เครื่องมือท่ีจะช่วยใหช้ ุมชนไดร้ ่วมวางแผนการท่องเที่ยวในชุมชนของตนเองอยา่ งยง่ั ยืนครอบคลมุ ทกุ ดา้ น

9

สรา้ งกิจกรรม ท�ำให้ดี ท�ำให้เด่น ท�ำใหด้ งั

เพ่ือนรว่ มทาง

หากันใหเ้ จอ

นำ� เสนอส่ิงที่มี

ฉันใหเ้ ธอไป

ฉนั จงึ ได้เธอมา สานและผูกสัมพันธ์ เขาและเธอคอื ใครที่ใจตรงกัน

+1 สานเสวนาอย่างต่อเนื่อง

15

องค์ประกอบการทอ่ งเทยี่ วโดยชุมชน เพ่ือชุมชน

แนวคดิ DASTA 3 C Model

การท่องเที่ยวโดยชุมชน ถือเป็นฐานของกลไก CBT (Community-Based Tourism) เพมิ่ มูลคา่
การจัดการ เปน็ การเปิดพนื้ ท่ีใหช้ ุมชนสามารถสรา้ ง ให้กับทรัพยากรท่ีมีอยู่ แต่ยังคงอตั ลกั ษณด์ ้ังเดมิ ไว้
กลไกของตนเองและน�ำเอาหลักการการท่องเท่ียว สรรคส์ รา้ งออกมาเปน็ กจิ กรรม ดว้ ยการทำ� กจิ กรรม
เชงิ สรา้ งสรรคม์ าเสรมิ เตมิ แตง่ ทรพั ยากรการทอ่ งเทย่ี ว อยา่ งสรา้ งสรรค์ในชุมชน CT (Creative Tourism)
เพ่ือเพ่ิมมูลค่าให้เป็นผลิตภัณฑ์หรือประสบการณ์ เปดิ พน้ื ท่ีใหน้ กั ทอ่ งเท่ียวเขา้ มาเรียนรแู้ ละมสี ว่ นรว่ ม
การทอ่ งเที่ยวที่มคี ณุ คา่ แกน่ กั ทอ่ งเท่ียว ในการทำ� กจิ กรรมในชุมชน ซง่ึ ชุมชนรอบขา้ งที่ ไม่ได้
ท�ำการท่องเที่ยวโดยตรงก็สามารถน�ำทรัพยากร
การจะทำ� ใหส้ ง่ิ เหลา่ นเี้ กดิ ขนึ้ ไดจ้ ริง หนว่ ยงาน ต่างๆ ท่ีตนเองมีส่งต่อเป็นวัตถุดิบหรือผลิตภัณฑ์
ต่างๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ งจ�ำเป็นตอ้ งรว่ มมือ สอ่ื สาร และ เพ่ือจ�ำหน่ายให้กับนักท่องเที่ยวในชุมชนได้ถือเป็น
เชื่อมตอ่ ระหวา่ งกนั ใหข้ บั เคลอ่ื นไปสเู่ ปา้ หมายเดียวกนั การเชื่ อมโยงผลประโยช น์การท่องเท่ี ยวสู่ชุ มช น
CBTT (Community Benefitting Through
จุดศูนย์กลางของการเชื่อมโยงของแนวคิด 3C Tourism) และกระจายรายได้สชู่ ุมชนรอบข้าง
จะอยู่ที่ ‘ชุมชน’ ซึ่งประกอบด้วยธรรมชาติ คน
วัฒนธรรม และจิตวิญญาณ โดยชุมชนสามารถ
บ ริ หาร การจั ด การ การ ท ่ อง เที่ ย ว ไ ด ้ ด ้ ว ย ตั ว เ อง

16

CBT (Community-Based Tourism)
แนวคิดการทอ่ งเที่ยวโดยชุมชน

เป็นการท่องเที่ยวท่ีค�ำนึงถึงความย่ังยืนของส่ิงแวดล้อม สังคม และ
วัฒนธรรม ซึ่งชุมชนมีบทบาทในฐานะที่เป็นเจ้าของ มีสิทธิในการจัดการ
ดูแล จึงเป็นการท่องเท่ียวที่เกิดจากการท่ีชุมชนเป็นผู้มีส่วนร่วมในการ
วางแผน จัดการ ดูแล และกำ� หนดทิศทางของการท่องเท่ียวเอง โดยอาจจะมี
หน่วยงานภายนอกท่ีเป็นผู้ให้การสนับสนุน แต่คนในชุมชนถือเป็นเจ้าบ้าน
ท่ีสง่ มอบกิจกรรมการท่องเท่ียว การบริการ และประสบการณ์การทอ่ งเท่ียว
ให้แก่นกั ทอ่ งเท่ียว

การท่องเท่ียวโดยชุมชนก่อให้เกดิ ผลอะไรบา้ ง

การกระจายรายได้สู่ชุมชน
มกี ารตกลงกตกิ ารว่ มกนั ในชุมชน จัดตง้ั ชมรมดา้ นการทอ่ งเท่ียวโดยชุมชน
และสร้างเครือข่ายที่เช่ือมโยงทั้งในและนอกชุมชน พร้อมกับมีการถอด
บทเรียนการกระจายรายไดเ้ พอื่ เผยแพรใ่ หช้ ุมชนอื่นๆ ซง่ึ เปน็ แนวทางที่จะชว่ ยให้
การท่องเที่ยวโดยชุมชนเกิดการกระจายรายไดอ้ ย่างทั่วถงึ
การจัดการส่ิงแวดล้อมในชุมชน
ให้ความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการรักษาสิ่งแวดล้อมพร้อมกับสร้างความ
ตระหนัก เช่น ให้ความรู้ในการวางแผนจัดการขยะ เพราะส่ิงแวดล้อมใน
ชุมชนถือเป็นปัจจัยส�ำคัญ หากต้องการสร้างบรรยากาศที่ดี ในการรองรับ
นักท่องเที่ยว จ�ำเป็นต้องท�ำความเข้าใจกับการจัดการส่ิงแวดล้อมเพื่อ
การพัฒนาชุมชนอย่างยงั่ ยนื
การสืบสานวัฒนธรรมท้องถ่ิน
รวบรวม สร้างองค์ความรู้ เสริมสร้างศักยภาพคนในท้องถ่ิน เชื่อมโยง
กลุ่มคนท้องถ่ินต่างๆ ให้เข้มแข็ง และส่งเสริมกิจกรรมการท่องเท่ียวอย่าง
ต่อเนื่อง คือวิธีท่ีจะช่วยให้คนกลุ่มต่างๆ เข้ามามีส่วนร่วมในการสืบทอด
วฒั นธรรมมากขนึ้

17

องค์ประกอบการทอ่ งเทย่ี วโดยชุมชน เพ่ือชุมชน

CT (Creative Tourism)
การทอ่ งเท่ียวโดยชุมชนเชงิ สร้างสรรค์

การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ คือ การท่องเท่ียวที่น�ำ
ภูมิสังคม ภูมิปัญญา ภูมิทางวัฒนธรรมของท้องถ่ินมาต่อยอด
เพอ่ื ใหเ้ กดิ คณุ คา่ และมลู คา่ อยา่ งสรา้ งสรรค์ ในรปู แบบกจิ กรรม
การทอ่ งเที่ยวเปดิ โอกาสใหน้ กั ทอ่ งเที่ยวไดม้ สี ว่ นรว่ มในการลงมอื ทำ�
(สะท้อนถึงวิถีชีิวิตหรืออัตลักษณ์ และภูมิปัญญาท้องถ่ินของ
เจา้ บา้ น โดยชุมชนเปน็ ผสู้ อนและใหค้ วามร)ู้ ทำ� ใหเ้ กดิ ปฏสิ มั พันธ์
ที่ดีระหว่างนักทอ่ งเที่ยวและชุมชน

การท่องเท่ียวเชิงสร้างสรรคส์ ามารถนำ� มาพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนได้ ดว้ ยวิธี ใดบ้าง

ค้นหาอัตลกั ษณ์เฉพาะท่ีโดดเด่น
ร่วมกันคิด ค้นหาอัตลักษณ์เฉพาะท่ีแสดงถึงรากเหง้าและความจริงแท้ของชุมชน
ไม่วา่ จะเปน็ ด้านประวัตศิ าสตร์ วฒั นธรรมหรือวิถีชิีวิตทอ้ งถิ่น
พัฒนาและตอ่ ยอดทรัพยากรใหเ้ ป็นกจิ กรรมและผลิตภัณฑก์ ารท่องเที่ยว
เม่ือได้อัตลักษณ์ที่โดดเด่นของชุมชนแล้ว น�ำมาวิเคราะห์ศักยภาพ ศึกษาความ
เป็นไปได้ในการพัฒนาให้เป็นกิจกรรมหรือผลิตภัณฑ์การท่องเท่ียว ที่ตอบสนอง
ความตอ้ งการของนักท่องเที่ยวโดยชุมชนได้
ประชาสมั พันธก์ ารท่องเที่ยวเชงิ สร้างสรรค์
ชุมชนจำ� เปน็ ตอ้ งอาศยั ผเู้ ช่ียวชาญทางดา้ นการตลาดเพอื่ ชว่ ยประชาสมั พันธก์ จิ กรรม
และผลิตภัณฑ์ และยังช่วยให้เข้าถึงกลุ่มนักท่องเที่ยวเป้าหมายท่ีชุมชนต้องการได้
อกี ด้วย ท�ำให้ขายได้งา่ ยขน้ึ

18

CBTT (Community Benefitting Through Tourism)
แนวคดิ การเชื่อมโยงผลประโยชน์การท่องเท่ียวสู่ชุมชน

การท่องเท่ียวโดยชุมชนก่อให้เกิดการกระจายรายได้ ซ่ึงท�ำให้
ชุมชนได้รับผลประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจ และท�ำให้คนในท้องถ่ิน
มีคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้น ในขณะเดียวกันยังกระตุ้นให้เกิดการอนุรักษ์
และสืบทอดทรัพยากรทั้งทางธรรมชาติ สังคม และวัฒนธรรม
ท้องถ่ินให้ยง่ั ยนื
การทอ่ งเท่ียวโดยชุมชนสามารถสรา้ งผลประโยชน์ใหก้ บั ชุมชนตา่ งๆ ในบริเวณใกลเ้ คยี งไดเ้ ชน่ กนั ถงึ แมว้ า่
ชุมชนนน้ั จะไมไ่ ดท้ ำ� ธรุ กจิ การทอ่ งเท่ียวโดยตรง แลว้ จะไดร้ ับประโยชนจ์ ากการทอ่ งเท่ียวในเร่ืองอะไรบา้ ง

เศรษฐกิจ สิง่ แวดลอ้ ม
ชุ ม ช น ใก ล ้ เ คี ย ง ส า มาร ถ นอกจากผลประโยชน์ทาง
ผลติ สนิ คา้ ที่ระลกึ ขนสง่ อาหาร เศรษฐกจิ แลว้ ชุมชนใกลเ้ คยี งยงั
หรือผลติ ภณั ฑท์ อ้ งถิ่นจำ� หนา่ ย ได้รับผลประโยชน์ทางส่งิ แวดล้อม ท่ีเกิดจาก
ใหก้ บั นกั ทอ่ งเที่ยวได้ หรืออาจจะส่งวตั ถดุ บิ การบริหารจัดการการทอ่ งเที่ยวโดยชุมชนท่ีมี
สินค้าป้อนให้กับธุรกิจต่างๆ ในแหล่ง ประสทิ ธิภาพอกี ดว้ ย
ท่องเท่ียวก็ได้
ชุมชนหนองเสือ จ.สุพรรณบุรี ต้อง ชุมชนท่ีทำ� การทอ่ งเท่ียวมกี จิ กรรมรว่ มกนั
ท�ำอาหารให้กับนักท่องเท่ียว และต้องสั่ง รักษาความสะอาดแม่น�้ำ คูคลองท่ีร่วมกันใช้
วัตถุดิบในการท�ำอาหารจากบ้านดงเย็น ซ่ึง ซ่ึงชุมชนอ่ืนก็จะได้รับประโยชน์ คอื มนี ำ� ้ใช้ที่
เป็นแหล่งผลิตผักปลอดสารพิษของเมือง สะอาด สิง่ แวดล้อมท่ีดี
โบราณอู่ทอง ท�ำให้ชุมชนมีรายได้จากการ
ทอ่ งเท่ียวไปด้วย

19

ผลลัพธ์การพฒั นาการทอ่ งเทีย่ วโดยชุมชนของ อพท.

หลังจากที่ อพท. ได้เข้าไปพัฒนาและใหค้ วามร้เู ร่ืองการท่องเที่ยวโดยชุมชนให้กบั ชุมชนแลว้
มาดผู ลลพั ธท์ ่ีเกดิ ข้นึ จากการพัฒนาการท่องเท่ียวโดยชุมชนกนั เถอะ

เกดิ 13 ชุมชนตน้ แบบที่พร้อมเป็นพี่เลีย้ งใหช้ ุมชนต่างๆ

ชุมชนได้รับประโยชน์จากการพัฒนาการทอ่ งเที่ยวในพ้นื ที่พเิ ศษ
เร่ิมเปน็ ที่ยอมรับในระดับประเทศ

เกณฑ์มาตรฐานการบริหารจัดการแหล่งทอ่ งเที่ยวโดยชุมชนของ อพท.
: แนวทางการพัฒนาการทอ่ งเท่ียวโดยชุมชนอยา่ งเปน็ ระบบ

อา้ งอิงตามเกณฑร์ ะดับสากล Global Sustainable Tourism Criteria (GSTC)
มีแผนจะพัฒนาใหเ้ ทียบเคียง ASEAN CBT Standard

คณะท�ำงานรับรองแหลง่ ทอ่ งเท่ียวโดยชุมชน

เกดิ รปู แบบการทำ� งานแบบบรู ณาการทกุ ภาคสว่ นในการรว่ มคดิ
รว่ มวางแผน รว่ มปฏบิ ตั ิ รว่ มรับผิดชอบ และรว่ มรับผลประโยชน์

20

เป้าหมายของการท่องเท่ียวโดยชุมชน
เสริมสร้างศักยภาพให้ชุมชนสามารถเช่ื อมโยง
รับประโยชนจ์ ากการท่องเท่ียว
ชุมชนสามารถบริหารจัดการและเชื่อมโยงผลประโยชน์
ต่างๆ จากการทอ่ งเที่ยวได้
นำ� มาซง่ึ รายไดเ้ สริมในชุมชน และสงิ่ แวดลอ้ มท่ีดีนา่ อยู่
วิถีชีวิตและวัฒนธรรมท้องถ่ินได้รับการอนุรักษ์และ
เพมิ่ มลู คา่ ชว่ ยใหก้ ารพัฒนาทอ้ งถิ่นเปน็ ไปอยา่ งสมดลุ
และย่ังยนื
ความอยู่ดีมสี ุขของคนในชุมชนทอ้ งถ่ิน

21

คณุ เปน็ นกั ทอ่ งเทย่ี วแบบไหน

ลองมาสำ� รวจกนั ดีกวา่ วา่ “คณุ เปน็ นกั ทอ่ งเท่ียวแบบไหน”
พรอ้ มกบั มาทำ� ความรจู้ ัก ‘นกั ทอ่ งเที่ยวทางเลอื กใหม’่ ท่ีแสนคลู จะเจง๋ ยงั ไงตอ้ งลองมาดกู นั !

มาเปน็ ก๊ก หรือ ฉายเดี่ยว

มาเปน็ กก๊
มักซ้ือรายการทัวร์ท่องเที่ยวเพราะไม่ต้องการ
วางแผนการเดนิ ทางเอง ซงึ่ ไมไ่ ดค้ าดหวงั วา่ จะตอ้ ง
ไดร้ ับความรู้ ความเขา้ ใจจากชุมชนทอ้ งถิ่น

ฉายเดี่ยว
มีความช�ำนาญในการเดินทาง
ท่องเที่ยวด้วยตวั เอง มกั วางแผน
การท่องเท่ียวเอง และต้องการ
เดินทางไปสถานที่ สวยงาม
เพื่อพักผอ่ น

เฮฮา ปาร์ต้ี หรือ ไมส่ งุ สงิ เกบ็ ตวั ไมส่ ุงสงิ เก็บตวั
ต้องการท่องเที่ยวด้วยความสงบ และรัก
เฮฮา ปารต์ ้ี ความเปน็ สว่ นตวั มาก
ชอบพบเจอส่ิงใหม่ๆ เข้ากับทุกคนได้ง่าย
และรวดเร็ว

22

ชว่ั คราว หรือ ค้างคืน

ช่วั คราว
ช อ บ ท ่ อง เที่ ย ว แบ บ เช ้ า ไปเ ย็ น ก ลั บ
มักจะเท่ียวอย่างรวดเร็ว สนใจเฉพาะ
สถานท่ีทอ่ งเท่ียวยอดนยิ มเป็นหลัก

คา้ งคืน
เนน้ ทอ่ งเท่ียวเพอ่ื ใชเ้ วลาทำ� กจิ กรรมอยา่ งใสใ่ จ และดมื่ ดำ่�
กบั สง่ิ แวดลอ้ มในแหลง่ ทอ่ งเที่ยวอยา่ งละเมยี ดละไม

ลกู หลานเปน็ พรวน หรือ เปน็ คู่กระหนงุ กระหนงิ

ลูกหลานเป็นพรวน
ชอบท่องเท่ียวแบบครอบครัว ชวนลูกชวนหลาน
ญาติพ่ีน้องไปเปิดหูเปิดตา มักชอบท�ำกิจกรรมท่ี
ครอบคลุมทกุ วยั และหลากหลาย

เปน็ คู่กระหนงุ กระหนงิ
ต้องการความเป็นส่วนตัวเป็นพิเศษ เน้นไปเท่ียว
ชมสถานท่ีสวยงาม

23

เนยี๊ บ คูล หรือ เรียบงา่ ย

เนยี๊ บ คลู
ทุกอย่างต้องเป็นระเบียบตามแผนที่วางไว้
เน้นท่องเท่ียวตามแผนการท่ีวางไว้เป็นหลัก

เรียบง่าย
ง่ายๆ อะไรก็ได้ ไปไหนไปกัน ชอบดื่มด�่ำกับ
บรรยากาศเปน็ หลัก

กระเปา๋ หนัก หรือ กระเป๋าแฟบ่

กระเปา๋ หนกั
ส่ิงอ�ำนวยความสะดวกหรือความหรูหราต้องมี
พร้อมให้บริการ คาดหวังกับการท่องเท่ียวไว้สูง
วา่ ต้องเพอรเ์ ฟคทุกอยา่ ง

กระเปา๋ แฟบ่
พยายามท่องเท่ียวโดยใช้เงินน้อยที่สุด
สไตล์การทอ่ งเที่ยวแบบแบ็กแพค็

24

ไม่วา่ คณุ จะเปน็ นักทอ่ งเท่ียวแบบไหน
กส็ ามารถเป็นนกั ทอ่ งเท่ียวทางเลือกใหม่ได้

นักทอ่ งเท่ียวทางเลือกใหม่
รักการผจญภัย ใฝ่รู้
ชอบทดลอง
เน้นท่องเท่ียวเพอื่ หาประสบการณ์ใหมๆ่ พรอ้ มกบั มองหาโอกาสทางธรุ กิจ
สนใจศลิ ปวฒั นธรรมและวิถีชีวิตของชุมชนในท้องถ่ิน
ชอบเสาะแสวงหาอาหารท้องถ่ิน ดูการละเลน่ พืน้ บ้าน
ไม่ชอบเดินทางตามฤดูกาลท่องเท่ียว แต่จะเลือกเดินทางในช่วงเวลาท่ี
แตกต่างกนั เชน่ ฤดูร้อนไปดำ� น�้ำ ฤดูหนาวไปเดนิ ป่าเท่ียวชมวิถีชีวิต
ชอบท่องเที่ยวเชงิ อนรุ ักษช์ ุมชน
มักจะเดินทางเป็นกลุ่มเลก็
วางแผนการเดนิ ทางดว้ ยตวั เอง
ท่องเที่ยวดว้ ยใจอนรุ ักษ์ ค�ำนงึ ถึงผลกระทบจากการทอ่ งเท่ียวของตนเอง

25

13
ชุมชนต้นแบบ

มาทำ� ความรูจ้ ักกบั 13 ชุมชนตน้ แบบของ อพท.
ที่มีการสรา้ งสรรคก์ ารทอ่ งเท่ียว เปลีย่ นวิธีคิด ลงราก
วางระบบ หลอมรวมหลายคนหลายความคิดให้ไปสู่จุดหมายเดียว
คือ ‘การทอ่ งเที่ยวโดยชุมชน’ เพอ่ื ท�ำใหช้ ุมชนมัง่ คัง่ และยั่งยืน

ถ้าพร้อมแล้วไปทำท ความรจู้ ักกบั ชุมชนตน้ แบบของ อพท. กันเลย



23
1

64
9

58
7

10
11
12 13

Map
ทอ่ งเทีย่ ว 13 ชุมชนไปกบั คน อพท.

1. 2. 3.
ชุมชนบ้านไรก่ องขิง จ.เชียงใหม่ ชุมชนสันลมจอย จ.เชียงใหม่ ชุมชนในเวียง จ.น่าน
ชุมชนรักษ์สุขภาพ หมูบ่ า้ นเขม้ แข็ง แชุมลชะนสแมั หผ่งัสวชิถีวิีชตนไรเผส้ า่ารในเคทม่ีรี าบ ทชเรุม่อียชงนนเรวทวู้ฒั ่ียิถนวีวธฒั รนรมธรลรา้ มนผนา่านตกะวจิ นักอรอรมก

4. 5.
ชุมชนบอ่ สวก จ.น่าน ชุมชนเมืองเก่าสโุ ขทัย จ.สุโขทัย
ตเชปุมา่ ็นงชๆเนคงรใานื่อนชงุหมมชัตือนถสรก้ารงรกมาทรม้อีสงถ่วน่ินร่วใมช้กขอารงกทล่อุ่มงอเทาช่ียีพว ทผชุมา่่ีเชตนนก็มราไอรปบทดออ่ ้วทุงยเยทมาี่ยรนวดปเชกรงิ ะวสวัฒรตั า้นศิ งธาสสรรรตรคมร์์

6. 7. 8.
ชุมชนบ้านคกุ พัฒนา จ.สุโขทัย ชุมชนนครชุม จ.กำ� แพงเพชร ชุมชนกกสะทอน จ.เลย
ชุมชนคนทำ� วา่ วพระรว่ ง-พระลอื พเชชุมรงิ ชสะนเรคตา้ รงลื่อสางรดรโบครก์ าาณรทกำ� จิ อการหรามรทแอ่ลงะเพทมิ ี่ยพว์ ตามรอยเท้าไดโนเสาร์
ชมนางพญาเสือโครง่

9. 10. 11.
ชุมชนปลาบ่า จ.เลย ชุมชนตะเคยี นเตย้ี จ.ชลบุรี ชุมชนชากแง้ว จ.ชลบุรี
ชเปุมน็ ชเนครปอื่ ลงูกมปอื ส่านบัใชส้กนานุ รกทาร่อองนเทรุ กั่ียษว์ ชศุ มนู ยชก์นาวริ ถเรีศียิลนรปเู้ พะพอ่ื ชื้นีวบิตพ้าอนเไพทียยง รชุมื้อชฟนื้นตอลัตาดลจักีนษโณบร์ขาอณง
ชุมชนผา่ นการทอ่ งเที่ยว

12. 13.
ชุมชนบ้านนำ้� เชี่ยว จ.ตราด ชุมชนแหลมกลัด จ.ตราด
ทชุมอ่ ชงนเทที่ย่อวงคเทร้ัง่ียเวดีย2วไมศอ่ า่มิสนา ชกุมารชอนนวรุิถกั ีปษรห์ ะอมยงขเาชวิงแอลนะุรเสักน้ ษท์ างศศูนกึ ยษ์กาาธรรเรรมียชนาตรูิ้

Coming Soon ชุมชนตน้ แบบนอ้ งใหม่
ชุมชนเมอื งโบราณทวารวดี-อ่ทู อง
เมอื งโบราณอทู่ อง : อดีตที่รอการฟน้ื ฟู ศลิ ปวฒั นธรรมท่ีรอการฟน้ื คนื

บา้ นไรก่ องขงิ จ.เชยี งใหม่

ชมุ ชนรกั ษ์สขุ ภาพ หมูบ่ ้านเขม้ แข็ง

ชุมชนสุขภาพดีท่ีค้นพบวิธีสร้างสุขจากข้างใน โดยเริ่มจาก
การน�ำของดีภายในชุมชน มาประยุกต์ให้ทันสมัยด้วยความคิด
สร้างสรรค์ท่ีมาจากพลังสามัคคี น�ำการท่องเที่ยวมาร้อยเกี่ยว
ศกั ยภาพชุมชนในทกุ ๆ ดา้ น นำ� ไปสกู่ ารแบง่ ปนั อยา่ งเทา่ เทียม

เม่ือพ่อหลวงแม่หลวง ท่ีเป็นผู้น�ำชุมชนมโี อกาสเข้าอบรม
ดงู านการทอ่ งเท่ียวชุมชนยง่ั ยนื จงึ นำ� แนวคดิ มาพัฒนาในชุมชน
ด้วยการน�ำการอนรัุกษ์ภูมิปัญญาดั้งเดิม และสมุนไพรที่มีอยู่
ในทุกครัวเรือนมาต่อยอดพัฒนา โดยไม่ท�ำลายส่ิงแวดล้อม
ซ่ึงแนวคิดทั้งหมดนวี้ กกลับมายังแนวคิดที่ว่า ‘พออยู่ พอกิน
พงึ่ ตวั เองได้ และแบง่ ปนั ’

เที่ยวชุมชน คน้ ของดี
ยำ่� ขาง การนวดรักษาอาการปวดเมื่อยตามรา่ งกาย ซ่งึ มีเฉพาะพน้ื ที่
ภาคเหนือเทา่ นัน้ หน่ึงในนั้นมีท่ีน่ี

ลิ้มรสอาหารพน้ื บา้ น ยำ� มะมว่ งสตู รดง้ั เดมิ แกงหยวกผกั หวานปา่
ใส่ไข่มดแดง น�ำ้ เม่ยี งหมี่

อุดหนุนผลิตภัณฑ์ท้องถ่ิน สบู่เหลวบ�ำรุงผิวน้�ำผึ้งสมุนไพร
ตะไครห้ อมไล่ยงุ ลูกประคบสมนุ ไพร

สมศักดิ์ อินทะชยั พอท�ำการท่องเที่ยวโดยชุมชนแล้ว ชุมชนเราได้ประโยชน์มากมาย เช่น
ผูน้ �ำชุมชนบ้านไรก่ องขิง จ.เชียงใหม่ คนในชุมชนไดร้ ับการศึกษา ได้รับโอกาสมากขนึ้ นำ� ไปส่กู ารพัฒนาในการ
สรา้ งรายได้ใหก้ บั คนในชุมชน และท่ีสำ� คญั คนในชุมชนไดพ้ บเจอพดู คยุ กนั
บ่อยข้นึ ทำ� ใหเ้ กิดความสมั พันธแ์ ละความเข้าใจร่วมกนั มากขนึ้

30

บ้านสันลมจอย จ.เชยี งใหม่

ชมุ ชนแห่งวถิ ีชนเผา่ ในที่ราบ และสมั ผสั ชวี ติ ไร้สารเคมี

บา้ นสนั ลมจอยเปน็ ชุมชนธรรมชาติใกลเ้ มอื ง ท่ีมกี ารอยรู่ ว่ มกนั ของคนทอ้ งถ่ินดงั้ เดมิ และชนเผา่ ลซี ู
และอาข่า ที่มาตั้งบ้านเรือนอยกู่ ลางชุมชนกว่า 30 ปี โดยอยรู่ ่วมกันไดอ้ ยา่ งกลมกลนื และยังรักษา
วิถีชีวิตดง้ั เดมิ ไวท้ ั้งด้านภาษา การแตง่ กาย และวัฒนธรรม

จากความเปน็ อนั หนงึ่ อนั เดียวกนั ชว่ ยจุดประกาย
ไอเดียให้เกิดการท่องเที่ยวโดยชุมชน เพื่อเผยแพร่
และอนุรักษ์วิ ถีความเป็นอยู่ที่งดงามน้ีเอาไว้
ซึ่งชุมชนต้ังใจเปิดบ้านให้นักท่องเท่ียวเข้าไปเรียนรู้
วิถีชีวิตชนเผ่าลีซู โดยท่ีพวกเขาไม่ต้องเปล่ียนแปลง
ตัวเองหรือตั้งตารอคอยนักท่องเท่ียวมากกว่าการ
ท�ำมาหาเล้ียงชีพและใชช้ ีวิตปกติ

เท่ียวชุมชน ค้นของดี ทำ� ความรจู้ ักชนเผา่ ลซี ู
ชนเผา่ ลซี ทู ่ีนยี่ งั คงสบื สานเอกลกั ษณ์
ชมแปลงเกษตรนานาชนดิ ด้ังเดิม ท้ังวิธีการปลูกบ้านและ
ที่ชาวบ้านช่วยกันปลูกผักปลอดสารเคมี การแตง่ กายชุดชนเผา่
หลากหลายชนิด เช่น ผักโขม คะน้า
ผกั สลัดต่างๆ

สุรเชษฐ์ ตาคำ� มา พอมเี รื่องการทอ่ งเท่ียวโดยชุมชนเขา้ มา คนในชุมชนกส็ ามคั คแี ละรว่ มมอื กัน
ผ้นู �ำชุมชนบา้ นสันลมจอย จ.เชียงใหม่ มากข้ึน ท้ังยังได้ประโยชน์ในด้านรายได้ท่ีเพ่ิมข้ึนจากการจ�ำหน่ายสินค้า
พ้ืนบ้าน ท่ีส�ำคัญคนในชุมชนหันมาดูแลรักษาธรรมชาติ เอกลักษณ์ของ
ตวั เองมากข้นึ

31

ในเวยี ง จ.น่าน

ชมุ ชนวัฒนธรรมล้านนาตะวันออก เรยี นร้วู ิถีวัฒนธรรมผ่านกจิ กรรมท่องเทยี่ ว

มรดกของเมืองน่าน ไม่ได้จ�ำกัดเฉพาะโบราณสถานท่ีเป็นส่ิงปลูกสร้าง หากยังมีมรดกทางภูมิปัญญา
ทางวิถีชีวิต และมรดกแห่งศรัทธา ท่ีร้อยรัดวิถีชุมชนเข้าด้วยกัน คนที่ขับเคลื่อนมรดกของเมืองน่านให้
มีชิีวิตอยู่ คือกลุ่มผู้สูงวัยที่เต็มไปด้วยความกระปรี้กระเปร่า ซึ่งได้ชวนคนหนุ่มสาวมาร่วมรักษามรดกของ
บา้ นเมืองผา่ นความรว่ มแรงร่วมใจ

ชุมชนในเวียงมีเรื่องราวที่จะถ่ายทอดมากไปกว่า
บ้านเรือน โบราณสถาน ท่ีคนส่วนใหญ่เข้าใจว่านค่ี ือ
มรดกของเมืองน่าน หากแต่คุณค่าท่ีมองไม่เห็นมีอยู่
ในเร่ืองราวภายในชุมชน อยู่ในชีวิตของคนเฒ่าคนแก่
การเรียนรู้เรื่องราวมรดกของชุมชนโดยมีคนเล่าให้ฟัง
คอื เสนห่ ข์ องการทอ่ งเท่ียวชุมชนบา้ นในเวยี งที่ชว่ ยเตมิ เตม็
ช่องว่างระหว่างเจา้ บา้ นและนักท่องเท่ียวได้อยา่ งดี

เท่ียวชุมชน ค้นของดี
ลองท�ำตุงค่าคิง ตุงที่มีขนาดสูงเท่าตัว ใช้ส�ำหรับประกอบพิธีกรรมสืบชะตา
ซงึ่ เปน็ ภูมปิ ญั ญาของชุมชน
เรียนรู้การสานไม้ไผ่ เพื่อท�ำกระบอกข้าวหลามให้เป็นกุ้ง กบ ปิ่นปักผม
ดอกพิกุล สะท้อนถึงมรดกแห่งวิถีชีวิตบา้ นในเวยี ง

ชาวบา้ นมรี ายไดเ้ พม่ิ ขน้ึ จากการท่ีเราทำ� การทอ่ งเท่ียวโดยชุมชน แลว้ เขากร็ สู้ กึ ชุติมา ณ นา่ น
รักและหวงแหนในวัฒนธรรมตัวเองมากขึ้น พยายามช่วยกันค้นของดีเพื่อท่ี ผนู้ �ำชุมชนในเวียง จ.นา่ น
จะนำ� เสนอให้นักท่องเท่ียวได้รจู้ ักอย่างย่ังยนื

32

บอ่ สวก จ.นา่ น

ชุมชนงานหัตถกรรมทอ้ งถน่ิ ใชก้ ารท่องเท่ียวเปน็ เคร่ืองมอื
สร้างการมีสว่ นรว่ มของกลมุ่ อาชพี ต่างๆ ในชมุ ชน

ชุมชนท่ี ไดร้ ับมรดกล้�ำค่าจากบรรพบุรุษ นั่นคือเตาเผาโบราณ
อายรุ าว 750 ปี ท่ีกระจายอยูท่ ั่วบริเวณในชุมชน ซ่ึงแสดงให้เห็น
ถึงความเจริญทางศิลปวิทยาของคนในอดีต ที่ท�ำเคร่ืองเคลือบ
ดินเผาได้อย่างสวยงาม แม้คนในยุคปัจจุบันก็ยังไม่สามารถ
ลอกเลียนแบบได้

การสืบทอดและการสืบสาน เป็นหัวใจส�ำคัญในการท่องเที่ยว
ชุมชนอยา่ งยงั่ ยนื ตอ้ งอาศยั การทำ� งานของคนรนุ่ เกา่ และคนรนุ่ ใหม่
ประกอบกัน เพื่อให้มีการส่งไม้และรับไม้ต่อ คนรุ่นเก่าต้องมี
จิตวิญญาณของความเป็นครู ส่วนคนรุ่นใหม่ต้องรักและศรัทธา
ในวิชาที่ครมู อบให้

เที่ยวชุมชน ค้นของดี

ชมเตาโบราณ ท่ีพพิ ิธภัณฑ์เฮือนบา้ นสวนแสนช่ืน เปิดให้ทกุ คนเขา้
มาเรียนรู้ พรอ้ มกบั ทดลองทำ� เคร่ืองปน้ั ดนิ เผา และศกึ ษาการดำ� รง
ชีวิตของคนในทอ้ งถ่ินซง่ึ จัดแสดงไวบ้ นเรือนไม้ โดยไมเ่ กบ็ คา่ เขา้ ชม
ชมและอุดหนนุ ผ้าทอลายบ่อสวก ผ้าทออันเป็นเอกลักษณ์
ท่ีมลี วดลายสวยงาม

การทอ่ งเท่ียวโดยชุมชนทำ� ให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการท�ำความเข้าใจ สทุ ธพิ งษ์ ดวงมณีรัตน์
เก่ียวกับกระบวนการ และได้มีส่วนร่วม ช่วยกันคิด ช่วยกันท�ำในการรักษา ผูน้ �ำชุมชนบอ่ สวก จ.นา่ น
สบื สานวฒั นธรรมประเพณที อ้ งถิ่นของชุมชนวา่ จะทำ� อยา่ งไรใหย้ ง่ั ยนื ตลอดไป

33

เมอื งเก่า จ.สโุ ขทยั

ชมุ ชนรอบอทุ ยานประวตั ิศาสตรท์ ่เี ต็มไปด้วยมรดกวัฒนธรรม
ผ่านการท่องเทีย่ วเชงิ สรา้ งสรรค์

“คนเมอื งเกา่ นงั่ ทับขมุ ทอง แตไ่ มร่ จู้ ะเอาทองมาโชวเ์ ขา
อยา่ งไร” ประโยคนเี้ คยเปน็ คำ� ถามอยใู่ นใจของคนเมอื งเกา่
จนมีตัวแทนชุมชนไปเรียนรู้ดูงานในชุมชนอ่ืน จึงเกิดไอเดีย
น�ำจุดเด่นท่ีมี ในชุมชนโบราณรอบอุทยานประวัติศาสตร์มา
เชื่อมโยงสเู่ สน้ ทางท่องเท่ียว เพอ่ื ให้เข้าถึงภูมปิ ัญญาโบราณ
ด้วยตัวเอง

ชุมชนในเมอื งเกา่ รอบอทุ ยานมรดกโลก ลว้ นมเี ร่ืองเลา่
ที่เชื่อมโยงกับประวัติศาสตร์ ผลงานท่ีสร้างสรรค์สืบทอด
ต่อกันมา สะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ ความละเมยี ดละไมของคนในอดีต
และยงั มมี รดกตกทอดในชมุ ชนอน่ื ๆ รอบอทุ ยานประวตั ศิ าสตร์
ให้ไดร้ ว่ มเดนิ ทางยอ้ นรอยอดีตผา่ นอาชีพท่ีเหน็ อยใู่ นปจั จุบนั

เท่ียวชุมชน คน้ ของดี
เรียนรกู้ ารประดิษฐ์กระทงจากใบลานท่ีชุมชนลิไท

เยีย่ มชมชุมชนบ้านใหม่ตระพังทอง ท่ีมีแหล่งผลติ เครื่องสังคโลก
และเครอ่ื งปน้ั ดนิ เผาเนอ้ื ละเอยี ด

ชิมกว๋ ยเตย๋ี วสุโขทัย สูตรต้นตำ� รับท่ีมเี พียงหนงึ่ เดียว

ชุมชนไดป้ ระโยชนม์ ากมายจากการทำ� การทอ่ งเที่ยวโดยชุมชน ทั้งเร่ืองความ ปองเลศิ เฉลิมสิริโรจน์
หวงแหนอัตลักษณ์ของตัวเองมากขึ้น ความสามัคคีร่วมใจกัน ท่ีนจี่ ะเน้น ผูน้ ำ� ชุมชนเมอื งเกา่ จ.สุโขทัย
การทอ่ งเที่ยวเชงิ วฒั นธรรม ดงั นน้ั คนในชุมชนจงึ ตระหนกั ในเรื่องนอ้ี ยา่ งมาก

34

บ้านคกุ พฒั นา จ.สุโขทัย

ชุมชนคนทำ�ว่าวพระรว่ ง-พระลอื

ชุมชนแหง่ นมี้ เี รอ่ื งเลา่ เกยี่ วกบั ตำ� นานพระรว่ ง ที่เช่ือมโยง
ถงึ การทำ� วา่ วพระรว่ งเปน็ ภมู ปิ ญั ญาของชุมชน ผมู้ าทอ่ งเที่ยว
สามารถมาเรียนรวู้ ิถีชีิวิต วิธบี ริหารจัดการภายในชุมชน ซงึ่
มกี ารสาธติ งานอาชีพท่ีหลากหลาย ตงั้ แตว่ ิถีชาวนาดงั้ เดมิ
สอนหวา่ นปยุ๋ หวา่ นขา้ ว ดำ� นา ใหด้ กู นั จริงๆ หากถามวา่ ท่ี
บา้ นคกุ พัฒนามอี ะไรดี คำ� ตอบคอื “วิถีชีวิต” มาดกู ารใช้
ชิีวิตของชุมชนท่ี ไม่จ�ำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงตัวเองก็มี
ความสขุ ได้ เพราะรจู้ ักคำ� วา่ เพียงพอ

เท่ียวชุมชน คน้ ของดี

ลองท�ำว่าวพระร่วง ว่าวที่เป็นภูมิปัญญาของชุมชน มา ดู อา ชี พ เ ส ริ ม ข อง ชา ว บ ้ า น เ มื่ อ ห ม ด ฤ ดู ท� ำ นา
หากอยากชมการเล่นว่าวพระร่วงควรมาช่วงเดือน ชาวบ้านจะเผาถ่านไม้ไผ่ ความพิเศษคือใช้เตาเผา
กุมภาพันธ์ อิวาเตะ เป็นเตาเผาถ่านที่ ได้คาร์บอนบริสุทธิ์
และใช้ฟนื น้อยกว่าเตาชนดิ อ่ืน

อดุ หนนุ ของดี ท้ังนำ้� สม้ ควนั ไมท้ ี่มปี ระโยชนช์ ว่ ยดบั กลิ่น ปอ้ งกนั แมลง ปอ้ งกนั เช้ือรา
และของดีขนึ้ ชื่ออย่าง หมอนถ่านไม้ไผท่ ่ีชว่ ยลดอาการปวดเมือ่ ยกล้ามเน้อื

เวลาคนในชุมชนมาร่วมกันวางกลยุทธ์การท่องเท่ียวโดยชุมชน ท�ำให้เราได้รู้ถึง ทรรศวรรณ ลิสวน
ของดี รากเหง้าที่เรามี อย่างตำ� นานว่าวพระรว่ งพระลือที่หายไป ก็ไดก้ ลบั คืน ผูน้ ำ� ชุมชนบ้านคกุ พัฒนา จ.สโุ ขทัย
มาจากการท�ำการท่องเท่ียว พอเรารู้ถึงของดีท่ีเรามีอยู่ก็เชื่อมโยงไปถึง
ความหวงแหน

35

นครชมุ จ.กำ�แพงเพชร

ชมุ ชนตลาดโบราณ กิจกรรมทอ่ งเทีย่ วเชิง
สรา้ งสรรค์การทำ�อาหารและพิมพ์พระเคร่ือง

เมืองที่ยังคงรักษาเอกลักษณ์ของชุมชนเก่าแก่ที่มี
ประวตั ศิ าสตรม์ าเนน่ิ นาน คอื ตน้ แบบของความยอ้ นยคุ
ทหี่ ลายๆ แหง่ พยายามสรา้ งสรรคข์ นึ้ มาใหด้ เู หมอื น ซงึ่ ที่นี่
ถอื เปน็ ของแท้ ตน้ ตำ� รับ ท่ี ไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งเปลย่ี นแปลง
และน�ำเสนออย่างมีเอกลกั ษณ์

ที่นครชุมยงั มขี องแท้ใหค้ น้ หามากมาย ไมว่ า่ จะเปน็
อาหารการกนิ ประเพณี ศลิ ปวฒั นธรรม แตเ่ หนอื อ่ืนใด
นน้ั คอื ใจของคนนครชุมแทๆ้ ที่รักและภมู ิใจในบา้ นเกดิ
พร้อมช่วยกันส่งต่อของแท้ไปยังลูกหลาน เพื่อรักษา
ของดี ให้คงอย่คู ู่นครชุม
เท่ียวชุมชน ค้นของดี
เรียนรู้สูตรต้นต�ำรับ ท�ำขนมข้าวตอกตัดและแกงถั่วมะแฮะ
สูตรต้นต�ำรับของแท้แห่งนครชุมท่ี ได้รับการสืบสานจากรุ่นสู่รุ่น
ผา่ นวิถีความเป็นไทยในครอบครัว

ลงมอื ท�ำพระเครื่อง ศกึ ษาและลองทำ� พระเคร่ืองดนิ เผา
ในแบบฉบบั คนโบราณ

คนในชุมชนมรี ายไดเ้ พม่ิ ขนึ้ อยา่ งเหน็ ไดช้ ดั แลว้ กท็ ำ� ใหน้ กั ทอ่ งเที่ยวไดร้ จู้ ักเสนห่ ์ นงเยาว์ ผลบุญ
ของนครชุมมากขึ้น คนนครชุมนั้นอนรุ ักษว์ ัฒนธรรมท้ังเรื่องอาหารและภาษา ผ้นู ำ� ชุมชนนครชุม จ.ก�ำแพงเพชร
พอคนทอ้ งถ่ินรักถ่ิน ทกุ อยา่ งกเ็ ลยยงั คงอยเู่ หมอื นเดิม

36

ชมุ ชนกกสะทอน จ.เลย

ตามรอยเทา้ ไดโนเสาร์ ชมนางพญาเสือโคร่ง

เมื่อดอกนางพญาเสือโคร่งนับแสนต้น
พรอ้ มใจกนั เบง่ บาน ยอ้ มหบุ เขาภลู มโลใหก้ ลายเปน็
สีชมพูอ่อนหวาน ดึงดูดนักท่องเท่ียวจากทุก
สารทิศมาชื่ นชมความงดงามของทะเลดอกไม้
แล้วชุมชนกกสะทอนจะรับมือกับนักท่องเที่ยว
จ�ำนวนมหาศาลอยา่ งไร

การจัดการเพอ่ื รองรับกระแสการทอ่ งเท่ียว เปน็ เร่ืองท่ีทกุ ฝา่ ยตอ้ งเรียนรู้ นกั ทอ่ งเท่ียวไมค่ วรขอให้
คนขบั รถลยุ เขา้ ไปจนถงึ ใตต้ น้ ไม้ หรือทง้ิ ขยะและกอ่ ไฟ รวมถงึ เหนยี่ วโนม้ กงิ่ ของดอกนางพญาเสอื โครง่
มาแนบหนา้ ขณะถา่ ยรปู นอกจากนน้ั ชุมชนไดเ้ ตรียมพรอ้ มรับมอื กบั กระแสการทอ่ งเท่ียว ดว้ ยการรวม
กลมุ่ กนั วางแผนการบริหารจัดการการทอ่ งเท่ียวใหเ้ กดิ ประโยชนก์ บั ชุมชน เชน่ การจัดควิ รถ การพัฒนา
นกั สอื่ ความหมายทอ้ งถ่ิน
เท่ียวชุมชน ค้นของดี

ชมดอกนางพญาเสือโคร่งที่แสนสวยงาม ในช่วงกลางเดืิอน
มกราคม-กุมภาพันธ์

มงคล วิโรจนร์ ัญจวน ชุมชนเกดิ ความสามคั คกี นั มากขนึ้ มกี ารแบง่ ปนั ผลประโยชนอ์ ยา่ งเทา่ เทียมกนั
ผ้นู ำ� ชุมชนกกสะทอน จ.เลย และชุมชนเกิดรายได้จากหลายๆ ส่วน ทั้งผลิตภัณฑ์พื้นบ้าน การน�ำเท่ียว
ส่งผลให้ชุมชนเราใส่ใจด้านส่ิงแวดล้อมมากขึ้น โดยเฉพาะเรื่องขยะและการ
ปลกู ตน้ ไม้เพมิ่ ขึน้

37

ชมุ ชนปลาบา่ จ.เลย

ชุมชนปลกู ปา่ ใช้การทอ่ งเที่ยวเปน็ เครอ่ื งมือ
สนบั สนุนการอนรุ ักษ์

การท่องเท่ียวไม่ใช่จุดหมายหลักท่ีท�ำให้ชุมชนย่ังยืน
แต่ชุมชนจะช่วยกันท�ำให้การท่องเท่ียวยั่งยืนด้วยการ
รักษาสิ่งแวดล้อม รูปแบบการท่องเท่ียวในชุมชนน้ีจึง
เน้นการปลูกป่า ฟื้นฟูระบบนเิ วศ เรียนรู้ความสัมพันธ์
ระหว่างมนษุ ยก์ ับธรรมชาติ

พลงั ของชาวชุมชนปลาบา่ ทชี่ ว่ ยกนั คนื ปา่ เพอื่ รกั ษาตน้ นำ้�
ได้จุดประกายให้มีเพ่ือนร่วมคิดเข้ามาร่วมอุดมการณ์อีก
หลายตอ่ หลายคน ทกุ วนั นจ้ี งึ มผี สู้ นใจเขา้ มาศกึ ษาธรรมชาติ
ในชุมชนปลาบ่าเพิ่มข้ึน ซึ่งนักท่องเที่ยวสามารถเลือกได้
วา่ จะเขา้ ไปในฐานะของนกั ทอ่ งเที่ยวธรรมดา หรือจะเปน็
เพอื่ นรว่ มทางฟน้ื ฟธู รรมชาตริ ว่ มกบั ชาวชุมชนปลาบา่
เท่ียวชุมชน ค้นของดี

สวนผักกันไฟ ที่ปลูกแปลงผักปลอดสารเคมีเป็นรั้วก้ัน
ไม่ให้ไฟไหม้ลามมายังพื้นท่ีปลูกป่า ในช่วงที่ชาวบ้านเผา
ท�ำลายวัชพืชเพื่อเตรียมดินเพาะปลูกในฤดกู าลต่อไป

ชมิ สตรอวเ์ บอรี่ลูกแดงสดๆ รสอร่อย ปลอดสารเคมี ผลผลิต
จากแนวปอ้ งกนั ไฟป่า

เชดิ สิงหค์ �ำป้อง การท่องเท่ียวโดยชุมชนท�ำให้ชุมชนเกิดรายได้เพ่ิมข้ึน คนในชุมชนรู้จักรับผิดชอบ
ผนู้ �ำชุมชนปลาบ่า จ.เลย รู้จักอัตลักษณ์ของตัวเอง ซ่ึงสิ่งนถ้ี ือเป็นคุณค่ามากส�ำหรับชุมชนเรา คนในชุมชน
เกดิ ความภาคภมู ิใจในเอกลกั ษณข์ องตวั เอง และคณุ ภาพชีวิตของคนในชุมชนกด็ ีขนึ้

38

ตะเคยี นเต้ีย จ.ชลบุรี

ชมุ ชนวิถีศิลปะพ้ืนบ้านไทย ศูนย์การเรยี นรู้เพื่อชวี ิตพอเพยี ง

ค วา มเป ลี่ ย น แป ล ง ไ ม ่ อาจ เข ย ่ ารา ก ฐ า นข อง ชุ ม ช น
บา้ นหนองพลบั แมจ้ ะอยหู่ า่ งจากเมอื งพัทยาเพียงแคค่ บื แตย่ งั
คงรปู แบบวิถีชีวิตแบบครอบครัวไทยสมยั กอ่ น ซง่ึ เร่ิมตน้ ที่
ครอบครวั ของคณุ ยายทรพั ย์ ประกอบธรรม ทอ่ี ทุ ศิ บา้ นบนพน้ื ท่ี
6 ไร่ ให้เป็นลานวัฒนธรรมและศูนย์กลางการเรียนรู้เรื่อง
ภูมิปัญญาชุมชน

วิถีชีวิตไทยๆ ท่ีเรียบง่าย อบอุ่น เปี่ยมสุข คือของดี
ที่คนไทยหลายคนหลงลืมไปแล้ว แต่ท่ีนหี่ ยิบช่วงเวลาของ
ความสขุ แบบครอบครัวไทยมาบรรเลงจากก้นครัว โดยมีพืช
ผักสวนครัวหลังบา้ นพรอ้ มใจเล่าเร่ืองใหผ้ ู้มาเยอื นไดร้ ับฟงั

เที่ยวชุมชน คน้ ของดี

เรียนรู้ภูมิปัญญาที่บ้านร้อยเสา บ้านท่ีรวบรวมมรดกทางวัฒนธรรมของชุมชน และยังมีภูมิปัญญา
ชาวบา้ น เชน่ วิธเี ปลี่ยนขยะใหเ้ ป็นของมคี ่า ท�ำตเู้ ยน็ ธรรมชาตจิ ากการปลกู พืชสวนครัว วิธีดูแลต้นไม้

กวั ซารักษาโรค หนงึ่ ในภมู ปิ ญั ญาแพทยพ์ นื้ บา้ นท่ีสบื ทอดกนั มาแตโ่ บราณ เปน็ การ
บ�ำบดั ดว้ ยการขดู ผิวหนังเพือ่ ขับพิษ ท่ีนย่ี งั มสี อนกวั ซาสำ� หรับผู้ท่ีสนใจดว้ ย

ชิมเมนูเด็ด จากสวนหลังบ้าน เช่น ไก่กะลา
ผัดผกั สดใหม่จากสวนหลังบา้ น

เราตอ้ งการสบื สานและอนรุ กั ษว์ ิถีทอ้ งถ่ิน มรดกทางวฒั นธรรมใหค้ งอยู่ โดยใช้ วนั ดี ประกอบธรรม
การทอ่ งเทย่ี วเปน็ ตวั ถา่ ยทอด พอทำ� แลว้ คนในชมุ ชนมรี ายไดม้ ากขน้ึ เกดิ ความภาคภมู ิใจ ผู้นำ� ชุมชนตะเคยี นเต้ีย จ.ชลบรุ ี
ในวฒั นธรรม ชุมชนเขม้ แขง็ มคี วามรักความสามคั คมี ากขน้ึ เกดิ ความหวงแหน
และรักความเป็นตัวตน

39

บา้ นชากแง้ว จ.ชลบรุ ี

ชุมชนตลาดจนี โบราณ รื้อฟนื้ อตั ลกั ษณข์ องชุมชนผา่ นการทอ่ งเทย่ี ว

ภาพความอบอนุ่ ในชุมชนแตอ่ ดีต ไดป้ ลกุ จิตสำ� นกึ
ของคนสองยคุ ซ่ึงเกดิ และเตบิ โตในช่วงรอยต่อของอดีต
กบั ปจั จุบนั ใหล้ กุ ขน้ึ มาชบุ ชวี ติ บา้ นชากแงว้ โดยชว่ ยกนั ผลกั ดนั
ชุมชนใหร้ ว่ มกนั เปดิ ‘ตลาดจนี โบราณชุมชนบา้ นชากแงว้ ’
ทกุ ๆวนั เสาร์ กจิ กรรมนน้ี อกจากจะเปดิ โอกาสใหแ้ ตล่ ะบา้ น
ชว่ ยกนั คน้ ของดี ของอรอ่ ยแลว้ ยงั สรา้ งความสามคั คแี ละ
ขับเคล่ือนเศรษฐกิจไปพร้อมกับการอนุรักษ์ของดี ใน
วิถีชุมชนจนี โบราณใหค้ งอยู่

เท่ียวชุมชน คน้ ของดี
เดินชมความงามของชุมชน ชุมชนชากแง้วเป็นชุมชนเก่าแก่ท่ีมีอายุกว่า 100 ปี ที่ยัง
คงสภาพโบราณ ในชุมชนแหง่ นมี้ ที ้ังโรงฝน่ิ โบราณ โรงงวิ้ โบราณ และโรงหนงั โบราณ

ของดี ของอรอ่ ย เชน่ หอยจ๊อเนอ้ื แนน่ กะลอจี๊หนบุ หนบั ขนมเทียนแกว้ ท่ีหากนิ ยาก
ขนมเปยี๊ ะท�ำสดใหม่ ลว้ นแตเ่ ปน็ ของดี ในชุมชน ซง่ึ ชาวบา้ นจะตัง้ ขายท่ีโตะ๊ หน้าบา้ น

สมหวงั สวสั ดีมงคล การทอ่ งเท่ียวโดยชุมชนทำ� ใหค้ นในชุมชนไดม้ ปี ฏสิ มั พันธก์ นั มากขนึ้ และชุมชน
ผูน้ �ำชุมชนบ้านชากแงว้ จ.ชลบุรี มีรายได้โดยตรงไม่ต้องถูกหักหรือผ่านนายหน้า แถมยังได้เรียนรู้การแก้ไข
มลภาวะ เชน่ เร่ืองบรรจุภณั ฑ์ ทำ� ใหเ้ กดิ ความรว่ มแรงรว่ มใจกนั ในชุมชนมากขนึ้

40

บา้ นน�ำ้ เช่ียว จ.ตราด

ชุมชนทอ่ งเทยี่ ว 2 ศาสนา ทอ่ งเท่ยี วครัง้ เดียวไมอ่ ิ่ม

บา้ นนำ้� เช่ียว คอื ตวั อยา่ งของชุมชนที่จัดการเรื่องทอ่ งเที่ยวดว้ ยตนเองอยา่ งแทจ้ ริง จนสามารถสรา้ งงาน
สร้างอาชีพให้เด็กๆ รุ่นใหม่พูดถึงบ้านเกิดได้อย่างภาคภูมิใจ ที่นถ่ี ือเป็นหนึ่งในชุมชนที่ทำ� เรื่องการท่องเที่ยว
เชิงนเิ วศพร้อมบุกเบิกโฮมสเตย์ เพราะมีต้นทุนทางทรัพยากรธรรมชาติ เช่น ป่าโกงกางที่อุดมสมบูรณ์ท่ีสุด
แหง่ หนง่ึ ในประเทศไทย บวกกบั เอกลกั ษณข์ องชุมชนสองศาสนา ท่ีหลอ่ หลอมความเปน็ อยเู่ ขา้ กบั วิถีอนั เรียบงา่ ย
ระหวา่ งชาวไทยพุทธและไทยมสุ ลมิ มกี ารแบง่ กลมุ่ งานอยา่ งชดั เจน แบง่ ปนั รายไดอ้ ยา่ งเปน็ ธรรม สะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ
ความเขม้ แขง็ ดา้ นการบริหารจัดการเพอื่ รองรบั นกั ทอ่ งเที่ยวอยา่ งมรี ะบบ จนไดร้ บั รางวลั ดา้ นการทอ่ งเท่ียวมากมาย

เท่ียวชุมชน ค้นของดี

ด�ำน้�ำงมหอยปากเป็ด หอยที่มีเปลือก
สนี ำ้� ตาลและมลี กั ษณะแบนๆ คลา้ ยปากเปด็
งมแล้วลองให้ชาวบ้านท�ำผัดเผ็ดให้กิน
รับรองว่าต้องขอเบ้ิลอกี จาน
ชมการท�ำงอบน�้ำเชี่ยว งอบที่สานจากใบจาก ซึ่งมีการท�ำ
ท่ีซับซ้อนและประณตี มหี ลากหลายรปู ทรง เช่น กระดองเตา่ กระทะคว่�ำ
ชิมตังเมกรอบ หรือขนมน�้ำตาลชัก มีรูปร่างคล้ายแท่งไม้แห้ง
สนี ำ้� ตาลอ่อน รสชาติกรอบหวานมัน ใครไดช้ มิ ล้วนตดิ ใจ

เดิมที ในท้องถ่ินมีปัญหาเร่ืองการท้ิงขยะลงคลอง ชาวบ้านตัดไม้ไปปลูกบ้าน สรุ ัตนา ภมู ิมาโนช
จงึ ไดน้ ำ� การทอ่ งเท่ียวมาเปน็ เครอ่ื งมอื ในการสรา้ งจิตสำ� นกึ การอนรุ กั ษส์ ง่ิ แวดลอ้ ม ผ้นู ำ� ชุมชนบา้ นน�้ำเชี่ยว จ.ตราด
ซ่ึงก็เป็นประโยชน์มากทุกอย่างดีกลับคืนมา ป่าอุดมสมบูรณ์ขึ้นและขยะลดลง
มาก ชีวิตความเปน็ อยขู่ องชุมชนก็ดีขึ้นไปดว้ ยดว้ ย อยากใหเ้ ปน็ แบบนี้ไปเรื่อยๆ

41

แหลมกลดั จ.ตราด

ชมุ ชนวถิ ีประมงเชิงอนรุ ักษ์
ศนู ย์การเรยี นรกู้ ารอนุรกั ษ์หอยขาวและเสน้ ทางศึกษาธรรมชาติ

ชาวบา้ นในชุมชนต่างเคารพการท�ำประมง
ชายฝั่ง โดยอาศัยเครื่องมือประมงแบบพื้น
บ้าน เพื่อรักษาระบบนเิ วศให้คงอยู่ การจัดทำ�
สินค้าเพื่อการท่องเที่ยวไม่ได้อยู่ในหัวคิดของ
คนท่ีนี่ แต่อยู่ในวิถีการด�ำเนินชีวิตท่ีพร้อม
จะสาธิตให้นักท่องเที่ยวได้ชมด้วยความรัก
การท่องเท่ียวชุ มช นที่ น่ีจึงเติบโตอย่างช้าๆ
ท่ามกลางธรรมชาติปลอดสารเคมี และชุมชน
ที่ปราศจากรา้ นคา้ สะดวกซอ้ื ซง่ึ เปน็ บทพสิ จู น์
ของการกา้ วเดนิ ทีละกา้ วอนั มาจากฐานท่ีมั่นคง
เท่ียวชุมชน คน้ ของดี
น่ังเรือประมงชมปลาโลมา ถ้าอยากจะเห็นตัวโลมาชัดๆ
ควรมาเดือนพฤศจิกายน-เมษายน

เรียนรกู้ ารทำ� ประมงชายฝง่ั ตงั้ แตอ่ อกเรอื หาปลา ตกปลา หรอื ลงมอื ลากอวน
ในทอ้ งทะเลดว้ ยตวั เอง แลว้ อยา่ ลมื ไปงมหอยขาว ที่เปน็ ของดี ในชุมชนดว้ ยละ่

การทอ่ งเที่ยวโดยชุมชนท�ำให้ไดร้ ู้จักของดีท่ีมอี ย่ใู นชุมชน ซึ่งในขั้นตอนนท้ี �ำให้ สมนึก หงษว์ ิเศษ
เกิดความสามัคคีร่วมกัน และเกิดความต้องการที่จะอนรุ ักษ์ ฟื้นฟูให้ย่ังยืน ผู้นำ� ชุมชนแหลมกลดั จ.ตราด
รวมถึงการรักษาประเพณี วฒั นธรรมดัง้ เดมิ ของชุมชนเช่นกนั

42

Coming Soon ชมุ ชนต้นแบบน้องใหม่
เมืองโบราณทวารวด-ี อทู่ อง จ.สุพรรณบุรี

อดตี ที่รอการฟื้นฟู ศลิ ปวัฒนธรรมทีร่ อการฟน้ื คืน

ถ้าพูดถึง ‘ของเก่า-เมืองเก่า’ ท่ีแสดงให้เห็นถึงอารยธรรมที่เก่าแก่และรุ่งเรือง
ขมุ ทรัพย์แห่งอารยธรรมที่สบื ทอดกันมาตั้งแต่บรรพบุรุษโบราณ แนน่ อนวา่ หลายๆ คน
จะนึกถึงเมืองอู่ทอง จ.สุพรรณ ที่เป็นชุมชนประวัติศาสตร์มีเร่ืองราวภูมิหลังมากมาย
ท่ีน่าคน้ หา และเรียนรู้

เท่ียวชุมชน ค้นของดี

เลือกซื้อลูกปัดอู่ทอง หินสีต่างๆ ที่น�ำมาร้อยเป็นสร้อยคอ
สร้อยข้อมือและต่างหู ซึ่งเป็นมากกว่าเคร่ืองประดับ เพราะ
เป็นโบราณวัตถุเก่าแก่ที่มีเร่ืองราวทางประวัติศาสตร์และ
ความเชื่อมโยงทางวัฒนธรรมต้งั แตเ่ มอ่ื ประมาณ 2,500 ปี

เที่ยวชมเมืองโบราณ ท้ั งวัดเก่าแก่
พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติอู่ทอง และ
ตลาดอทู่ อง แต่ละสถานที่ลว้ นมเี ร่ืองราว
ทางประวัติศาสตร์ที่ทรงคุณค่า รอให้
นกั ทอ่ งเที่ยวเข้าไปสัมผัสและเรียนรู้

43

ภาพฝันการท่องเทีย่ วโดยชุมชนของเยาวชนในพ้ืนที่พิเศษ

เยาวชนในชุมชนถอื เปน็ เจา้ ของแหลง่ ทอ่ งเท่ียวในอนาคต ลองมาดคู วามคดิ และจินตนาการเกย่ี วกบั
ภาพฝนั ของเยาวชนในพน้ื ที่พเิ ศษของ อพท. วา่ อยากใหก้ ารทอ่ งเท่ียวโดยชุมชนของบา้ นตวั เองเปน็ อยา่ งไร

“อยากเห็นความเจริญทางด้านเทคโนโลยีและอยากให้
คงไว้ซึง่ ศลิ ปวัฒนธรรมท่ีดีงาม วิถีชีวิตที่เรียบงา่ ย อยากให้
มีการนำ� พลังงานธรรมชาตมิ าใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ เชน่ รถรบั สง่
นกั ท่องเท่ียวจากพลงั งานแสงอาทติ ย์”

Young Dreamers

มาดคู วามรสู้ กึ และความประทับใจของเยาวชนในพน้ื ท่ีพเิ ศษ ที่มตี อ่ การทอ่ งเท่ียวโดยชุมชน
พรอ้ มกบั ภาพฝนั การทอ่ งเท่ียวโดยชุมชนในอนาคตที่อยากจะใหเ้ กดิ ขน้ึ จริงๆ ในชุมชนตวั เอง

ผมได้เข้าร่วมการส่งเสริมผลิตภัณฑ์แปรรูป นอ้ งดรมี -กรกฎ แปลงใจ
ในชุมชน และมโี อกาสได้เขา้ รว่ มการอบรมเพอื่ เพม่ิ อายุ 17 ปี
มลู คา่ ใหก้ บั สนิ คา้ ในอนาคตอยากให้ อพท. ทำ� การ
โฆษณามากขนึ้ เพอื่ ใหน้ กั ทอ่ งเที่ยวเขา้ มาทอ่ งเที่ยว เยาวชนชุมชนบอ่ สวก จ.นา่ น
โดยชุมชนมากข้ึน

44

“อยากให้เมืองอู่ทองเป็นเมืองที่มีแต่ความอัศจรรย์สวยงาม
เหมือนมีประตูวิเศษ อยากให้นักท่องเที่ยวเกิดความประทับใจ
ที่ ได้ช่ื นชมและสัมผัสโบราณสถาน บ้านเรือน วิถีชีวิต และ
ทรัพยากรธรรมชาต”ิ

ผมได้ท�ำกิจกรรมร่วมกันกับคนในชุมชน สนุกมากครับ นอ้ งเต-้ กติ ตพิ งษ์ พรหมรกั ษา
ในอนาคตอยากให้มีการส่งเสริมเรื่องการปลูกป่า ปลูกต้นไม้
มากขนึ้ และรณรงค์ในเรอ่ื งของการตดั ไมท้ ำ� ลายปา่ อยา่ งจรงิ จัง อายุ 15 ปี
เยาวชนชุมชนปลาบา่ จ.เลย

หนูได้โอกาสในการเรียนรู้มากข้ึน ท�ำให้ได้รู้ว่าในพ้ืนท่ีของ
ตัวเองมอี ะไรดี สว่ นการท่องเที่ยวโดยชุมชนในอนาคต อยากใหม้ ี
การสง่ เสริมใหม้ าเท่ียวชุมชนมากขนึ้ เพราะเปน็ การทอ่ งเท่ียวท่ี ได้
เรียนรวู้ ิถีชีวิตของชุมชนอยา่ งแทจ้ ริง

น้องมา-สรีวลั ย์ ภมู มิ าโนช
อายุ 19 ปี

เยาวชนชุมชนบา้ นนำ้� เชี่ยว จ.ตราด

ผมภูมิ ใจมากท่ี ได้เป็นส่วนหน่ึงในการร่วมขับเคลื่อน นอ้ งแชมป-์ ธนากร แสนคำ�สอ
การทอ่ งเที่ยวโดยชุมชนใหเ้ กดิ ความยงั่ ยนื เพราะเยาวชนถอื เปน็ อายุ 17 ปี
กลุ่มคนที่จะสามารถท�ำการท่องเท่ียวโดยชุมชนให้เกิดความ
ม่ันคงและย่ังยืนได้ครับ ในอนาคตอยากเห็นการท่องเท่ียว เยาวชนชุมชนเมอื งนา่ น
เมืองน่านยงั คงวฒั นธรรมด้งั เดมิ ไว้เพราะเปน็ เสนห่ ท์ ่ีสวยงาม

45

Case Study

มาดตู วั อยา่ งของโมเดลและไอเดียการทำ� ธรุ กจิ ทอ่ งเท่ียวโดยชุมชน ท่ีสามารถนำ� ไปประยกุ ต์ใช้ไดจ้ ริงๆ กนั เลย

กรณศี ึกษาธรุ กจิ ท่องเท่ียวโดยชุมชน

การเชื่อมโยงธุรกิจการท่องเท่ียวกบั ชุมชนเกษตรกรรมโดยรอบ

สามพรานโมเดล

จากการตัง้ ค�ำถามวา่ ทำ� ไมโรงแรมไม่ซือ้ วัตถดุ ิบจากเกษตรกร
ในพนื้ ที่แทนการซอื้ จากพอ่ คา้ คนกลางที่ขายแพงและไมร่ วู้ า่ วตั ถดุ บิ
มาจากไหน ปลกู อยา่ งไร พร้อมกบั ไอเดียการสรา้ งจุดขายให้โรงแรม
ด้วยการชูเร่ืองอาหารอินทรีย์ โรงแรมสามพรานริเวอร์ไซต์จึงไป
ขอความรว่ มมอื กบั เกษตรกรในพนื้ ท่ี จนเกดิ เปน็ ‘สามพรานโมเดล’

สามพรานโมเดล เป็นแนวคิดของโรงแรมสามพรานริเวอร์ไซด์
ซ่ึงเกิดจากการร่วมมือของเกษตรกร ภาคธุรกิจ นักวิชาการ
ท�ำให้โรงแรมมีรายได้จากนักท่องเท่ียว เกษตรกรมีช่องทาง
ในการสร้างรายได้เพ่ิมเติม นักวิชาการได้น�ำงานวิชาการมาสู่สังคม
และผบู้ ริโภคมที างเลอื กท่ีดีขน้ึ

ปจั จุบนั โรงแรมสามพรานริเวอร์ไซดเ์ ปน็ แหลง่ เรียนรกู้ ารเกษตรแบบไมพ่ งึ่ พาสารเคมี สนบั สนนุ
ให้เกษตรกรท�ำงานเป็นกลุ่ม แลกเปล่ียนเรียนรู้เร่ืองเกษตรร่วมกัน และได้มีการพัฒนาเส้นทาง
การท่องเที่ยวให้เชื่อมโยงกับแหล่งเกษตรอินทรีย์ เพื่อให้ผู้บริโภคและเกษตรกรมาผูกสัมพันธ์กัน
ดวู ิถีชิีวิตของเกษตรกร ซง่ึ ในแต่ละฤดูกาลกจ็ ะมกี ิจกรรมที่แตกต่างกนั ออกไป

: www.sampranmodel.com 46

การเช่ือมโยงชุมชนกับตลาดนักท่องเท่ียวอย่างครบวงจร

ธรุ กจิ รปู แบบใหมท่ ี่มองเหน็ ปญั หาของการทอ่ งเท่ียวและสรา้ งวิธกี ารแก้ไขตอ่ ปญั หานนั้ ๆ
สรา้ งผลลพั ธ์ใหเ้ กดิ รายได้ คนื ทนุ ใหก้ บั การแก้ไขปญั หาสงั คมดว้ ยโมเดลธรุ กจิ

โมเดลบริษทั ทัวร์ โมเดลการจัดการตลาดอยา่ งยัง่ ยนื
ส�ำหรับการทอ่ งเที่ยวโดยชุมชน

จัดทัวร์การท่องเท่ียวโดย นำ� เอาชุมชนท่ีมคี วามสามารถ
ชุมชน ท�ำงานร่วมกันกับ ในการจัดการการท่องเท่ียว
หลายๆ หมบู่ า้ น โดยเนน้ ความสมั พันธร์ ะหวา่ งคน โดยชุมชนด้วยตนเองได้แล้ว
เนน้ พัฒนาเนอื้ หาเรอื่ งราวของชุมชน ใหน้ กั ทอ่ งเที่ยว มแี พค็ เกจท่ีพรอ้ มสรา้ งเปน็ ขอ้ มลู ในระบบออนไลน์
และชุมชนน่งั คุยกัน เปน็ เพ่อื นกนั ได้ เพ่ือเชื่อมต่อกับนักท่องเที่ยวในฐานข้อมูลท่ีเป็น
กลมุ่ เปา้ หมายอยา่ งแทจ้ ริง

Good to Know
กำ� ไรของบริษัทจะมกี ารแบง่ ปนั ใหห้ มบู่ ้านไปใช้ในการแก้ไขปญั หาตา่ งๆ เช่น การจัดการขยะ
สรา้ งสนามเดก็ เลน่ หรือสิ่งท่ีชุมชนตอ้ งการอยากจะท�ำอกี ด้วย

: www.facebook.com/LocalAlike 47

กรณศี ึกษาในต่างประเทศ

ความร่วมมือของภาครัฐและเอกชนในการพัฒนาการท่องเท่ียวโดยชุมชน
Public-Private Partnership on Community-Based Tourism

โดย Dr. Rajashree Ajith ผู้อ�ำนวยการสถาบันการท่องเท่ียวแห่งแคว้นเกรละ
(Kerala Institute of Tourism & Travel Studies : KITTS) ประเทศอินเดีย

กรมการทอ่ งเที่ยวแหง่ แควน้ เกรละ ประเทศอนิ เดียไดค้ ดิ คน้ รปู แบบการทอ่ งเที่ยวท่ียง่ั ยนื และไดป้ ระกาศ
ใชน้ โยบายการพัฒนาการทอ่ งเที่ยวอยา่ งรับผิดชอบ โดยไดเ้ ลอื กเมอื ง Kumarakom เปน็ แหลง่ ทอ่ งเที่ยวนำ� รอ่ ง
ในการพัฒนาที่ใช้รูปแบบการท่องเที่ยวที่ยัง่ ยนื โดยนำ� แนวทางการท�ำงาน 3 ดา้ น เข้ามาพัฒนาการทอ่ งเที่ยว

1. การกระต้นุ การจัดซือ้ ผลผลิตในท้องถ่ิน (Local Procurement)
เพอ่ื เชื่อมโยงคนท้องถ่ินกบั ธุรกิจทอ่ งเท่ียว พรอ้ มกบั ปลอ่ ยเชา่ พืน้ ที่เพาะปลูก จัดหาเมล็ด
พันธ์ทุ ี่มีคุณภาพ และงบประมาณสนับสนนุ กลุ่มเกษตรกร

พัฒนาศักยภาพและทักษะของชาวบ้าน ให้ความรู้ในการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ต่างๆ
เพอ่ื เปน็ รายไดเ้ สริม และอบรมให้ทำ� หน้าท่ีต่างๆ เชน่ ผดู้ แู ลการท่องเที่ยวชุมชน ฯลฯ

2. อนรุ ักษว์ ัฒนธรรมประเพณี (Preserving Culture & Traditions)
ส่งเสริมการแสดงศิลปะและวัฒนธรรมท้องถ่ิน และสนับสนุนการสร้างมูลค่า
เพมิ่ จากวิถีชิีวิตของชาวบ้าน ด้วยการสร้างแพ็คเกจประสบการณ์วิถีชีวิตชาวบา้ น

3. การปกป้องธรรมชาติในชุมชน (Protecting Nature through Community)
ด�ำเนินการฟื้นฟูความสวยงามของธรรมชาติ รักษาสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศ ด้วยวิธีต่อไปน้ี

จัดการขยะ ปลกู ปา่ ชายเลน ฟน้ื ฟูผืนดนิ รกร้างเปน็ พนื้ ที่เกษตรกรรม ฟื้นฟูผนื น้�ำเพื่อเพาะพันธป์ุ ลาและ
ปลูกดอกบัว

ปัจจุบัน Kuramakom เป็นแหลง่ ทอ่ งเที่ยวท่ีมีชื่อเสยี งระดับโลก ไดร้ ับรางวัลใน
ระดบั โลก ระดับภูมิภาค และระดับประเทศ 7 รางวลั ภายใน 7 ปี

: งานเสวนา DASTA CBT Forum 48

บทบาทผูป้ ระกอบการทางสังคมกับความอยูด่ ีมสี ขุ ของชุมชนเพอื่ การทอ่ งเท่ียวอยา่ งยง่ั ยืน

โดย Mr. Albert Chin Kion Teo กรรมการผูจ้ ัดการบริษัท บอรเ์ นยี วอโี คทัวร์ และโรงแรม
ซุเกา เรนฟอเรสลอดจ์ ประเทศมาเลเซยี

ก�ำไรทางสงั คม ธุรกิจของ Mr. Albert จัดเป็นกิจการ
กำ� ไรทางเศรษฐกจิ เพื่อสังคมที่ด�ำเนินธุรกิจมายาวนานกว่า 38 ปี
ก�ำไรทางสิง่ แวดลอ้ ม โดยมุ่งเนน้ การสร้างคุณค่าทางสงั คม โดยมีความ
คิดว่า “การมุ่งเน้นก�ำไรทางธุรกิจมีความส�ำคัญ
ในเชิงคุณค่าเพียงระยะสั้น แต่ไม่ได้ให้คุณค่าทาง
เศรษฐกจิ ในระยะยาว” ก�ำไรท่ียั่งยืนต้องค�ำนงึ ถึง
ความสมดลุ ของหวั ใจ 3 ประการ ตามนี้

= ความอยู่ดีมีสขุ ของคนท้องถิ่น ชุมชน สังคม
= ผลตอบแทนในการลงทนุ ทางธุรกิจ
= ความอุดมสมบรู ณ์ของส่ิงแวดลอ้ มและธรรมชาติ

เขาได้จัดตั้งองค์กรไม่แสวงผลก�ำไร (NGO) ช่ือว่า ‘Borneo Ecotourism Solutions &
Technologies (B.E.S.T) Society’ เพือ่ พัฒนาชุมชนอยา่ งยง่ั ยืน

ปัจจุบันโรงแรมของเขา ได้รับรางวลั จาก TripAdvisor มา 5 ปซี ้อน ซง่ึ ได้จัดกจิ กรรมต่างๆ
ให้กับชุมชนโดยรอบ เช่น การว่าจ้างคนในชุมชน ให้ทุนการศึกษาพนักงานเพื่ออบรมการเป็น
มคั คเุ ทศก์ การฟ้นื ฟแู ละรักษาสงิ่ แวดลอ้ ม และได้พัฒนาผลติ ภณั ฑ์ทอ้ งถ่ิน นำ�้ มันมะพร้าวบริสทุ ธิ์
โดยสรา้ งกำ� ไรเพม่ิ ขนึ้ 500% จากการสรา้ งตราสนิ คา้ พัฒนาบรรจุภณั ฑจ์ ากขวดพลาสตกิ เปน็ ขวดแกว้

: งานเสวนา DASTA CBT Forum 49

Quiz

คุณรจู้ กั ของดขี องเดน่ ในแต่ละชมุ ชนดีแค่ไหน?

ของดีของเด่นในแต่ละชุมชน ถือเป็นเครื่องหมายหรือสัญลกั ษณ์ท่ีบ่งบอกเอกลักษณ์
ของวิถีชีวิตความเป็นอย่ใู นชุมชน ซง่ึ ถือว่าเปน็ ส่งิ หนง่ึ ท่ีเราควรจะศึกษาเรียนร้แู ละชว่ ยกนั
อนรุ ักษเ์ อาไว้ ลองมาเล่นเกมดซู วิ ่า คุณรูจ้ ักของดีของเด่นในแตล่ ะชุมชนดีพอหรือเปล่า

1.

2.

3.

5.
4.


Click to View FlipBook Version