The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ข้อมูลด้านการเกษตร
ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร อาทิ ข้าว ไม้ดอกไม้ประดับ ผัก ไม้ผล ประมง และปศุสัตว์
โดยในเนื้อหาได้เผยแพร่อาชีพด้านการเกษตรเด่น ๆ ของแต่ละเขต

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by cstd, 2021-05-09 21:19:11

เกษตรเมืองกรุง

ข้อมูลด้านการเกษตร
ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร อาทิ ข้าว ไม้ดอกไม้ประดับ ผัก ไม้ผล ประมง และปศุสัตว์
โดยในเนื้อหาได้เผยแพร่อาชีพด้านการเกษตรเด่น ๆ ของแต่ละเขต

Keywords: การเกษตรในกรุงเทพมหานคร

เกษตรเมอื งกรุง

บทนาํ

สํานักพัฒนาสังคม โดยกลุมงานสงเสริมเกษตรกรรม กองสงเสริมอาชีพ
รว มกบั สาํ นกั งานเขตกรงุ เทพมหานคร 26 เขตชนั้ นอก รวบรวมขอ มลู ดา นการเกษตร
ในพืน้ ที่กรงุ เทพมหานคร อาทิ ขา ว ไมด อกไมป ระดบั ผัก ไมผล ประมง และปศุสัตว
โดยในเนือ้ หาไดเ ผยแพรอาชพี ดา นการเกษตรเดนๆ ของแตละเขต

หนังสือเลมน้ีจัดทําขึ้นเพ่ือเผยแพรประชาสัมพันธการประกอบอาชีพ
เกษตรกรรม การทาํ การเกษตรในสาขาตา งๆ ตลอดจนแหลง ทอ งเทย่ี วเชงิ เกษตรและ
ขอมูลดานการเกษตรทเี่ ปนประโยชนอ ีกมากมายในกรุงเทพมหานคร

คณะผูจัดทําไดรับความรวมมือเปนอยางดีย่ิงจากสํานักงานเขตท่ีเก่ียวของ
ในการใหขอมูลและภาพถายประกอบสําหรับการจัดทําหนังสือเลมน้ี จึงขอขอบคุณ
มา ณ โอกาสนีด้ วย

สาํ นกั พัฒนาสงั คม กรงุ เทพมหานคร
ตุลาคม 2557

1

เกษตรเมอื งกรงุ

2

เกษตรเมืองกรุง

สารบัญ 4
8
นโยบายผูวา ราชการกรงุ เทพมหานครดา นการเกษตร 9
วิสยั ทศั นก ารบรหิ ารงานดานการสง เสรมิ อาชพี ดานการเกษตร 12
วสิ ยั ทศั นก ารสง เสรมิ อาชพี ดานการเกษตรฝงพระนคร 14
วสิ ัยทัศนก ารสงเสริมอาชพี ดา นการเกษตรฝง ธนบุรี 14
ขอ มูลดานการเกษตรของกรงุ เทพมหานคร
หนา ที่ความรบั ผิดชอบของเจา หนาที่สงเสริมอาชีพดา นการเกษตร 21
กรุงเทพมหานคร 25
การปลูกพชื อายสุ น้ั ในสภาวะแหงแลง 29
โรงเรียนเกษตรทฤษฎีใหมก รุงเทพมหานคร
การทําการเกษตรในพ้นื ที่ 26 เขตชัน้ นอกของกรงุ เทพมหานคร 60
ภาคผนวก 68

- โรงเรยี นฝก อาชีพกรุงเทพมหานคร
- ศนู ยฝ ก อาชีพครบวงจร

3

เกษตรเมอื งกรงุ

นโยบายผวู าราชการกรุงเทพมหานคร
ดานการเกษตร

ผูวาราชการกรุงเทพมหานครไดมอบนโยบายหลักในการบริหาร
กรุงเทพมหานครไว 6 นโยบายหลกั คอื

1. มหานครแหง ความปลอดภัย
2. มหานครแหงความสขุ
3. มหานครสีเขยี ว
4. มหานครแหงการเรียนรู
5. มหานครแหงโอกาสของทกุ คน
6. มหานครแหง อาเซียน
โดยมีสํานักพัฒนาสังคม ในฐานะผูรับผิดชอบการสงเสริมอาชีพดาน
การเกษตร เปน ภารกิจหนงึ่ ตามนโยบายของกรุงเทพมหานครทจ่ี ะพัฒนาการเกษตร
ในพนื้ ทก่ี รงุ เทพมหานคร ยกระดบั คณุ ภาพการประกอบอาชพี ดา นการเกษตรเพอื่ เพม่ิ
รายไดใ หแ กเ กษตรกรในกรงุ เทพมหานคร และมกี ารเพมิ่ ทกั ษะอาชพี โดยเปน นโยบาย
หลกั ในการเปน มหานครแหง โอกาสของทกุ คน มแี นวทางสง เสรมิ ชมุ ชนพฒั นาตนเอง
ใหเ ขมแขง็ ทางเศรษฐกิจ

นโยบายผูวา ราชการกรุงเทพมหานคร ป พ.ศ.2557
การสงเสรมิ เกษตรกรปลกู พืชท่ีใชน ้ํานอ ยในพน้ื ที่กรุงเทพมหานคร

สาํ นกั พฒั นาสงั คมไดป ระชาสมั พนั ธใ หเ กษตรกรไดร บั ทราบถงึ สถานการณ
เพื่อสามารถวางแผนการเพาะปลูกพืช และวางแผนการใชนํ้าอยางเหมาะสมในชวง
ฤดูแลงป 2557 โดยขอความรวมมือเกษตรกรงดการทํานาปรังคร้ังที่ 2 โดยหันมา
ปลูกพชื ทใี่ ชนํา้ นอย ตลอดจนเตรยี มความพรอ มในการปอ งกนั และลดความเสยี หาย
ดานปศุสตั ว และดานประมงจากภัยแลง ทอ่ี าจเกดิ ขึ้นในป 2557

4

เกษตรเมืองกรงุ

ผูวาราชการกรุงเทพมหานครในการประชุมเตรียมการปองกันและแกไข
ปญ หาภยั แลงพ้ืนท่ีกลุม กรงุ เทพฯ ตะวันออก เมอ่ื วันอังคารที่ 18 กมุ ภาพันธ 2557
เวลา 09.00 น. ณ ศาลาประชาคม สาํ นกั งานเขตหนองจอก และลงพน้ื ทีต่ รวจเยี่ยม
เกษตรกรทปี่ ระสบปญ หาภยั แลง ในพน้ื ทเี่ ขตหนองจอก ไดม อบหมายใหส าํ นกั พฒั นา-
สังคม สงเสรมิ ใหเ กษตรกรปลูกพืชระยะส้ันทีม่ ลี ูทางการตลาดดี เชน เมลอน หลงั จาก
เกษตรกรเก่ียวขาวแลวเพอ่ื ลดพืน้ ทก่ี ารทาํ นาจนถงึ ส้นิ เดอื นพฤษภาคม 2557

ผลการดําเนินโครงการสัมมนาศึกษาดูงานและสงเสริมการปลูกพืช
ทดแทนการทํานาปรังในพื้นท่กี รุงเทพมหานคร

สํานักพัฒนาสังคม ไดจัดทําโครงการสัมมนาศึกษาดูงานและสงเสริม
การปลูกพืชทดแทนการทํานาปรังในพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือ
สงเสริมใหเกษตรกรไดรับความรูทางวิชาการและประสบการณ เพ่ือนํามาใชใน
การปรับลดพื้นที่การทํานาปรัง โดยหันมาปลูกพืชระยะส้ันที่ใชนํ้านอยและมีลูทาง
การตลาดดี เชน เมลอ น หลังจากเกษตรกรเกยี่ วขา วแลว และสงเสริมใหเกษตรกร
มีอาชีพทางเลือกใหมนอกเหนือจากการทํานา เพื่อชวยบรรเทาความเดือดรอน
ของเกษตรกรท่ีประสบปญหาภัยแลง เกษตรกรเปาหมายคือ เกษตรกรทํานาขาว

5

เกษตรเมอื งกรงุ

ในพื้นที่กรุงเทพมหานครฝงพระนคร 7 เขต ไดแก เขตหนองจอก เขตลาดกระบัง
เขตคลองสามวา เขตมนี บุรี เขตสายไหม เขตสะพานสงู และเขตบางเขน รวม 45 คน
เจาหนาทีส่ ง เสรมิ อาชีพดา นการเกษตรจากสาํ นักงานเขต 7 คน และเจา หนาที่สํานัก
พัฒนาสังคม 8 คน รวมทง้ั สิน้ 60 คน โดยจดั อบรมและนําเกษตรกรไปศกึ ษาดงู าน
การปลกู เมลอน ณ ฟารมเฟรช ของคณุ นริศรา สุดสงั เกต และคณะ ในพื้นทอ่ี ําเภอ
อทุ ยั จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา เมื่อวนั พธุ ที่ 12 มนี าคม 2557

ในการจัดสัมมนาศึกษาดูงานในวันดังกลาว มีเกษตรกรและเจาหนาท่ี
พรอมคณะผูบริหารสํานักพัฒนาสังคม เขารวมการสัมมนาศึกษาดูงาน รวมทั้งส้ิน
73 คน ผูเขารวมสัมมนาศึกษาดูงานไดรับประโยชนจากการบรรยาย นําชมศึกษา
ดูงาน สวนใหญมีความสนใจท่ีจะปลูกเมลอนทดแทนการทํานาปรัง แตการจะปลูก

6

เกษตรเมอื งกรุง

เมลอนในพ้ืนที่ทํานาในกรุงเทพมหานคร จะมีปญหาในเร่ืองตนทุนของการเตรียม
ดินและปรับพื้นที่เนื่องจากดินคอนขางเหนียว การทําแปลงปลูกเมลอนโดยการ
ยกรองสูง ทําไดคอนขางยาก และจะมีปญหาตอการทํานาเม่ือผานพนชวงหนาแลง
ซึ่งจะตองปรับพื้นท่ีอีกครั้งและการท่ีจะสงเสริมใหเกษตรกรเร่ิมตนปลูกเมลอน
ทดแทนการทํานาปรังอาจจะมีตนทุนสูง หลังจากท่ีกรุงเทพมหานครจัดอบรมและ
ศกึ ษาดงู านใหค วามรทู างวชิ าการแกเ กษตรกรแลว จะใหก ารสนบั สนนุ ปจ จยั การผลติ
ใหแ กเ กษตรกรทาํ นาขา วในพนื้ ท่ี 7 เขต ทไี่ ดเ ขา รบั การอบรมและศกึ ษาดงู านแลว นน้ั
เพื่อสง เสรมิ ใหเ กษตรกรจัดทําแปลงเมลอ นนาํ รอง จาํ นวนเขตละ 1 ไร สาํ หรับเขต
ท่ีมีโรงเรียนเกษตรทฤษฎีใหมในพ้ืนที่ อาจจะจัดทําแปลงนํารองในพื้นท่ีโรงเรียน
เกษตรทฤษฎีใหมได โดยคัดเลือกเกษตรกรนํารองที่มีความสนใจ มีความต้ังใจ
มีศักยภาพ และสามารถถา ยทอดความรใู หแกเ กษตรกรขา งเคียงได

7

เกษตรเมืองกรงุ

วิสยั ทัศน

การบริหารงานดา นการสง เสริมอาชีพดานการเกษตร

กรุงเทพมหานครมีพื้นที่รวมทั้งหมดประมาณ 978,263 ไร เปนพื้นที่
ทําการเกษตร 191,095 ไร เทากับ 1 ใน 5 ของพื้นท่ีกรุงเทพมหานคร จํานวน
ครัวเรือนเกษตรกร 10,518 ครัวเรือน กรุงเทพมหานครเห็นความจําเปนอยางยิ่งที่
จะตองใหมีการพัฒนาและยกระดับมาตรฐานการประกอบอาชีพของเกษตรกรใน
พืน้ ทใี่ หส งู ขึ้น โดยเฉพาะทว่ั โลกกําลงั จับตามองการรวมเครอื ขายเศรษฐกจิ และเขต
การคา ของอาเซียนทจ่ี ะมีผลบงั คบั ในป พ.ศ. 2558 นี้ ดวยขนาดของพนื้ ทที่ รพั ยากร
ประชากร และกลมุ ทเ่ี ขา มารวมเปน อาเซยี น และกรงุ เทพมหานครมจี ดุ ไดเ ปรยี บเมอื ง
และมหานครอ่ืนในภูมิภาคดวย ทั้งตําแหนงท่ีต้ังทางภูมิศาสตร และขนาดของการ
พัฒนารวมทั้งเครือขายของโลจิสติกส (Logistics) ที่กําลังปรับตัวเจริญขึ้น รวมทั้ง
กระทรวงเกษตรและสหกรณไดเร่ิมโครงการการบริหารจัดการพ้ืนท่ีเกษตรกรรมใน
ระดับจังหวัด เม่ือตน ป 2556 ซึ่งถือเปน ยทุ ธศาสตรส าํ คัญ หนึ่งในสี่ของยุทธศาสตร
หลกั ทรี่ ฐั บาลจะใชเ ปน แนวทางในการขบั เคลอื่ นนโยบายการบรหิ ารประเทศในชว งป
2557-2561 และผวู า ราชการกรงุ เทพมหานครมนี โยบายหลกั ทจี่ ะใหก รงุ เทพมหานคร
เปน มหานครแหง อาเซยี น โดยมโี ครงการเพมิ่ ทกั ษะอาชพี รองรบั ประชาคมเศรษฐกจิ
อาเซียน ป 2558 และพัฒนาแหลงทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและเชิงอนุรักษทั้งฝง
พระนครและฝง ธนบรุ ี และเปดโอกาสสง เสรมิ อาชีพการผลิตและจาํ หนายผลิตภัณฑ
ฮาลาล

สํานักพัฒนาสังคมไดจัดทําหนังสือ “เกษตรเมืองกรุง” มีเนื้อหาเกี่ยวกับ
การเกษตรในพน้ื ทท่ี าํ การเกษตรของกรงุ เทพมหานคร เนน ขอ มลู ดา นสภาพเศรษฐกจิ
และสงั คม เพื่อผลักดันใหก รุงเทพมหานครเปนมหานครแหงอาเซยี น ใหเหน็ ถงึ ความ
มุงมั่นดานการเกษตรของกรุงเทพมหานครอันจะเปนแนวทางท่ีดีสําหรับผูสนใจดาน
เกษตรกรรมในโอกาสตอๆ ไป

นางจนั ทนา พนั ธพุ ริ ิยะ
ผอู าํ นวยการสาํ นักพัฒนาสงั คม

8

เกษตรเมอื งกรงุ

วสิ ยั ทศั น

การสง เสรมิ อาชีพดา นการเกษตรฝง พระนคร

ผมเปน เกษตรกร มีอาชีพทํานาและลงมือทํานา
ดวยตนเองรวมกับสมาชิกในครอบครัว สิ่งหนึ่งท่ีได
จากการทํานาคือประสบการณตรงท่ีเพ่ิมพูนขึ้น
ตลอดเวลา ทั้งในดานการพัฒนา ดานการแกไขปญหา
ในอาชีพ ส่ิงน้ีผมถือวาเปนกําไรสูงสุดในชีวิตในการทํา
อาชพี น้ี

ผมในฐานะเกษตรกรคนหนึ่ง ผมมองเห็นปญหาของชาวนาวา อนาคตถา
ชาวนาไมเปลีย่ นแปลงพฤตกิ รรมการทํานาเสยี ใหม ไมค ิดใหม ไมใ ชว ถิ ีชีวิตแบบใหม
สวนตัวผมคิดวาอาชีพน้ี (ทํานา) ลมสลายแนนอน การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
การทาํ นา เพื่อความยง่ั ยืนในอาชพี ทรรศนะสว นตัวผมมแี นวคดิ ดงั นี้

1. ผมจะคิดถึงกจิ กรรมหรือกระบวนการทาํ นาและเกย่ี วของกบั การทาํ นา
คดิ ถึงการลงทนุ คิดถึงกาํ ไรทจี่ ะไดม า มีเทา ไหร อยา งไร เปน การคดิ ใหร อบคอบท่ีสุด
เทา ทจ่ี ะทาํ ได ผมคดิ วา การทาํ นาครง้ั ตอ ไป ชาวนาตอ งผลติ ขา วทม่ี คี ณุ ภาพ มคี ณุ ภาพ
หมายถงึ ขาวตอ งดี สามารถนํามารับประทานได แปรรปู ขายได เพ่มิ มลู คาใหมากข้ึน
การลงมอื ทาํ ตอ งทาํ แบบเหมาะสมทส่ี ดุ คาํ วา เหมาะสมคอื แปลงนาทท่ี าํ การเพาะปลกู
มีความเหมาะสมท่ีจะทํารูปแบบใด ซ่ึงมีหลายวิธีการในการเพาะปลูก เชน นาดํา
นาโยน เปนตน

9

เกษตรเมืองกรงุ

2. การลงทุนทํานาในแตละรุนน้ัน จําเปนตองคิดใหรอบคอบท่ีสุด
เพราะการลงทุนนั้นเปนปจจัยสําคัญที่จะตองวางแผนดวยตนเองเปนหลัก สวนตัว
ผมตัง้ ใจไววา เราทาํ นา 1 ไร ไดผ ลผลิต 700 กก. โดยขายไดร าคา ก.ก. ละ 7 บาท
1 ไร จะทํารายไดประมาณ 4,900-5,000 บาท เม่ือเราไดจํานวนรายไดแลว
ผมตอ งกลบั มาคิดสง่ิ ทจ่ี ะตองลงทุน เรมิ่ จากการเตรยี มแปลงนา เราตอ งทําอะไรบา ง
บางอยา งเราสามารถทาํ เองไดห รอื เปลา ถา เราสามารถทาํ ได ถงึ จะเปน การใชแ รงงาน
ตนเองมากหนอยกต็ องทํา เพราะความเปน จริงแลว การเปน เกษตรกรทส่ี มบูรณนัน้
ตนเองตองเปนผูกระทําเองเปนสวนใหญ เกษตรกรในอนาคตตองทําการเกษตร
ตามความสามารถของตนเองเปนหลัก หมายความวาเราจะไมทํามากเกินไป ทําแต
พอดี

3. การใชเมล็ดพันธุขาว เราจะตองคิดวาเราจะทําอยางไร เพ่ือจะใชเงิน
ในดานเมล็ดพันธุใหนอยท่ีสุด เชน ใชพันธุขาวของตนเอง เลือกใชพันธุขาว
ใหเ หมาะสม ใชพ นั ธขุ า วทส่ี ามารถแปรรปู ได ไดข า วสารทต่ี ลาดตอ งการ และสามารถ
เก็บไวใ หตนเองรับประทานได

10

เกษตรเมืองกรุง

4. การใชปุยอาหารขาว เราจะตองเรียนรูใหมากเปนพิเศษ เหมือนกับวา
เราเล้ียงสัตวไวในบาน คือดานอาหารใหอยางไรที่เหมาะสมท่ีสุด ไมมากเกินไป
ไมน อ ยเกนิ ไป และรรู ะยะของขา วระยะใด ทจี่ ะใชอ าหารหรอื ปยุ สตู รใดใหส อดคลอ ง
กบั ความตอ งการของขาวทุกระยะ

5. การใชสารเคมีตางๆ ขอใหคิดหลายๆรอบกอนท่ีจะตัดสินใจใชสารเคมี
ควรคํานึงถึงระบบนิเวศนในนาขาว กอนท่ีจะใชสารเคมีแตละครั้ง ควรคิดหาวิธี
อ่ืนๆ กอน ซ่งึ มอี ยูหลายวธิ ี สว นการใชสารเคมคี วรเปนทางเลือกสดุ ทาย และเลือกใช
สารเคมที ่ีกระทบกับสิง่ แวดลอมนอยท่สี ุด

6. การใชพลังงาน เกษตรกรตองคิดถึงส่ิงที่จะสามารถทดแทนน้ํามันหรือ
วางแผนในการใชน้ํามันใหนอยท่ีสุด หรือสุดทายทางภาครัฐตองเขามามีสวนรวม
ในการใชพลังงานดว ย

7. การใชที่ดิน ภาครัฐนาจะเขามาดูแล และแกไขกฎระเบียบที่สมเหตุ
สมผล (โดยเฉพาะคาเชาที่ดิน) สมัยอดีตจะเสียคาเชาไรละ 8-10 ถังขาวเปลือก
โดยใชราคาขาวเปลอื กในปจ จุบนั เปนหลกั

8. การรวมกลุมมีความจําเปนมาก มีความสําคัญมากในการพัฒนาตางๆ
เชน การพัฒนาการผลิตขาว การพัฒนาดานแปรรูป การพัฒนาการใชเครื่องมือ
จกั รกลการเกษตร การพัฒนาดานตน ทนุ ในการทําการเกษตร

ตัวเราเปนเกษตรกร เราตองเขาใจตัวเราเอง เราเปนชาวนา เราควรทําตวั
อยางไร เราตองใฝเรียนรูตลอดเวลา เราตองวิเคราะหปญหาหรือความตองการ
ดวยตัวเราเอง เม่ือไดขอมูลคอนขางชัดเจนแลวควรแบงปน สื่อสารไปสูเพ่ือน
รวมอาชีพเดียวกัน ใหเต็มกําลัง สุดทายขอใหเราหย่ิงในศักด์ิศรีของตัวเราเอง
ตออาชพี ของเรา และพ่ึงตนเองเปน หลกั

นายยงยทุ ธ เทียนรงุ เรอื ง
ประธานคณะกรรมการพัฒนาทองถ่ินการเกษตรฝง พระนคร

11

เกษตรเมอื งกรุง

วสิ ยั ทัศน

การสงเสรมิ อาชพี ดา นการเกษตรฝง ธนบุรี

กรุงเทพมหานครต้ังอยูบนพื้นราบลุมปากแมน้ํา
โดยการทับถมของตะกอนดิน มีแมน้ําเจาพระยาไหลผาน
ส ภ า พ พ้ื น ท่ี ดิ น จึ ง อุ ด ม ส ม บู ร ณ  ด  ว ย ธ า ตุ อ า ห า ร ต  า ง ๆ
เหมาะสําหรับการเพาะปลูกพืช ผัก รวมท้ังไมผลนานาชนิด
ซ่ึงลวนมีถนิ่ กําเนดิ บริเวณดังกลาว
ตอมา ความเจริญเติบโตของเมืองไดขยายไปยังพื้นท่ีเพาะปลูกจนทําให
อาชีพดั้งเดิมของคนกรุงเทพฯ ไดนอยลงตามลําดับ ในความเจริญของเมืองทําให
สงั คม วถิ ชี วี ติ ของชาวเกษตรกรเปลย่ี นแปลง สภาพแวดลอ มทางธรรมชาตทิ เ่ี ปน ปจ จยั
การผลิตที่ดีของพืชเร่ิมไมเหมาะสมกับการเพาะปลูก อีกท้ังเกษตรกรไมสามารถ
กําหนดราคาของพืชผลทางการเกษตรได ทําใหราคาตกต่ํา มีการใชสารเคมีในการ
ปอ งกนั กาํ จดั ศตั รพู ชื รว มกบั ปยุ เคมที มี่ รี าคาสงู ทาํ ใหส ภาพดนิ เสอื่ มโทรมจนไมค มุ กบั
การลงทนุ จากสภาพตา งๆ ทาํ ใหก ารเกษตรของกรงุ เทพมหานครไมค อ ยมกี ารพฒั นา
ผูท่ีเคยประกอบอาชีพการเกษตรก็เปลี่ยนอาชีพไปทําอยางอ่ืนท่ีมีรายไดที่มากกวา
พ้ืนที่ดินถูกขายเพื่อทําหมูบานจัดสรรใชเปนที่อยูอาศัยและการพาณิชย
อยางแพรหลาย ขาดการควบคุมสงผลกระทบสิ่งแวดลอม เชน น้ําเนาเสีย ปดกั้น
การไหลเวียนของนํา้
ผูบริหารกรุงเทพมหานครไดตระหนักถึงปญหาดังกลาว จึงไดหาแนวทาง
แกไขปญหาตางๆ เหลาน้ี เชน การกําหนดผังเมืองยอย การสรางโครงการบําบัด

12

เกษตรเมอื งกรงุ

นํ้าเสีย รวมถึงการแตงต้ังคณะกรรมการพัฒนาทองถ่ินการเกษตรทั้งฝงพระนคร
และฝงธนบุรี เพื่อดูแลแกไขปญหาตางๆ ของเกษตรกร โดยเฉพาะเร่ืองน้ํา
ซึ่งคณะกรรมการดังกลาวไดมีการประชุมปรึกษาหารือ เสนอแนวทางแกไขปญหา
ตา งๆ มาโดยตลอด แตจากการดําเนนิ การมาระยะหนึง่ พบวา มีบางประเด็นซึง่ เปน
สิ่งที่สําคัญมาก คือ ตัวเกษตรกรเองโดยตองเร่ิมจากแนวคิดและการปรับเปล่ียน
การปฏิบัติงาน เพ่ือใหการแกปญหาบรรลุวัตถุประสงคและเปาหมายตางๆ ตามท่ี
กําหนดไวไ ด

ในอนาคตภาคการเกษตรกรุงเทพมหานครจะเปน
“เกษตรยั่งยืนอยางพอเพียง” โดยจะตองใหการเกษตร
อยูคูกับกรุงเทพมหานครไปตลอดตามความเจริญของเมือง
เกษตรกรจึงตองหันมาทําการเกษตร โดยไมใชทรัพยากรใน
อนาคตมากนัก หันมาปลูกทุกอยางท่ีกินและกินทุกอยาง
ท่ีปลูก ทําเกษตรในเมือง ปลูกพืชไรดินหรือหากใชดินก็ควรใชแบบอินทรีย
โดยไมทําลายธรรมชาติ เปนเกษตรแบบอนุรักษเพ่ือการทองเท่ียว ส่ิงตางๆ
เหลานี้ลวนเปนโครงการที่นานําไปปฏิบัติจริงๆ แลวกรุงเทพมหานครก็มี
จุดแข็งของความเปนศูนยกลางความเจริญ คือ การตลาด ซึ่งเกษตรกรสามารถ
ปลูกพืช ผัก ผลไม ท่ีปลอดภัยใหกับคนกรุงเทพมหานครซึ่งมีกําลังซ้ือที่สูงมากได
ท้ังหมดนี้ หากสามารถนํามาประยุกตใชก็จะเกิดประโยชนแกภาคการเกษตรของ
กรุงเทพมหานครอยางย่งั ยนื ตอ ไป

นายกติ ศิ ักดิ์ เตา ประเสริฐ
ประธานคณะกรรมการพฒั นาทอ งถิ่นการเกษตรฝง ธนบรุ ี

13

เกษตรเมอื งกรงุ

ขอ มูลดานการเกษตรของกรุงเทพมหานคร

ขอมูลท่ัวไป

กรุงเทพมหานครมีพ้ืนท่ีรวมท้ังหมดประมาณ 978,263 ไร แบงออกเปน
สํานกั งานเขต 50 เขต เปนพ้ืนทีท่ ําการเกษตรประมาณ 191,095 ไร แบงเปน นาขาว
128,859 ไร สวนผลไม 7,438 ไร สวนผกั 4,125 ไร ไมดอกไมประดับ 9,395 ไร
ปศสุ ตั ว 1,062,558 ตวั ประมง 32,671 ไร และไรห ญา 1,995 ไร มคี รวั เรอื นเกษตรกร
10,518 ครวั เรอื น พนื้ ทก่ี ารเกษตรของกรงุ เทพมหานครใน 26 เขตชน้ั นอก ถกู กาํ หนด
ใหเปน พื้นท่ีสีเขยี วและเปน พ้ืนทีป่ ระเภทอนรุ กั ษชนบทและเกษตรกรรม

หนาที่ความรับผิดชอบของเจาหนาท่ีสงเสริมอาชีพดานการเกษตร
กรงุ เทพมหานคร

1. การสง เสรมิ อาชพี ดา นการเกษตรในพน้ื ทกี่ รงุ เทพมหานคร ไดแ ก สง เสรมิ
การทํานาสง เสรมิ การปลูกไมดอกไมป ระดบั กลวยไม ผกั สมนุ ไพร ไมผ ล เพาะเห็ด
ประมง ปศสุ ตั ว เปน ตน โดยเนน สง เสริมการผลิตผลผลติ เกษตรปลอดภัยสารพษิ

2. การดําเนินงานใหความชวยเหลือเกษตรกรกรณีพิพาทการเชาท่ีดิน
เพ่ือเกษตรกรรมประจํากรุงเทพมหานคร ตามพระราชบัญญัติการเชาที่ดินเพ่ือ
เกษตรกรรม พ.ศ. 2524

14

เกษตรเมอื งกรุง

3. การดําเนินงานชวยเหลือเกษตรกรและผูยากจนในพ้ืนท่ี 50 เขตของ
กรุงเทพมหานคร ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการชวยเหลือเกษตรกร
และผยู ากจน พ.ศ. 2528 และแกไ ขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 6) พ.ศ.2552

4. ดาํ เนนิ การเลอื กตง้ั ผแู ทนเกษตรกรเปน คณะกรรมการกองทนุ ฟน ฟแู ละ
พฒั นาเกษตรกรตามพระราชบัญญตั กิ องทนุ ฟน ฟแู ละพฒั นาเกษตรกร พ.ศ. 2542

5. การใหค วามชว ยเหลอื เกษตรกรท่ีประสบภยั พบิ ตั ิ เชน น้าํ ทวม วาตภัย
ภัยแลง เปนตน

6. การฝก อาชพี ดา นการเกษตร โดยจดั ฝก อบรมเกษตรหลกั สตู รระยะสนั้
ทุกวันอาทติ ย ใหก ับประชาชนผูสนใจทว่ั ไป

7. การดําเนินงานของศูนยบริการและถายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
ประจําแขวง 50 ศูนยท ่กี ระจายอยใู นพ้ืนที่ 26 เขตชนั้ นอกของกรงุ เทพมหานคร

8. ประสานงานกบั หนว ยงานของรฐั และหนว ยงานภายนอก เพอ่ื สนบั สนนุ
ในการประกอบอาชพี และแกไ ขปญ หาอปุ สรรคในการประกอบอาชพี การเกษตร เชน
กรมสง เสริมการเกษตร กรมชลประทาน กรมปศุสตั ว กรมพฒั นาท่ีดิน เปนตน

9. งานศนู ยศ กึ ษาและสงเสริมการเกษตร จํานวน 5 ศนู ย ไดแก
- ศนู ยศ ึกษาและสงเสรมิ การเกษตรกรุงเทพมหานครฝงธนบรุ ี
- ศนู ยศ ึกษาและสง เสรมิ การเกษตรกรงุ เทพมหานครฝงพระนคร
- ศนู ยถ า ยทอดเทคโนโลยกี ารเกษตรกรงุ เทพมหานคร (ศนู ยเ พาะเลย้ี ง

เนือ้ เยื่อ)
- ศนู ยศึกษาและสงเสริมอาชีพการเกษตรบา นพชิ ติ ใจ
- ศนู ยศ กึ ษาและสง เสรมิ การทาํ สวนเกษตรดาดฟา สาํ นกั พฒั นาสงั คม

1. ศูนยศกึ ษาและสง เสรมิ การเกษตรกรุงเทพมหานครฝง ธนบรุ ี
สถานที่ตัง้ ภายในโรงเรยี นฝกอาชพี กรงุ เทพมหานคร (อาทร สังขะวัฒนะ)

เลขที่ 208 ถนนประชาอทุ ศิ เขตทุงครุ กรงุ เทพฯ ตรงขา มมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยี
พระจอมเกลาธนบรุ ี (บางมด) รถประจําทางท่ีผาน สาย 75

15

เกษตรเมอื งกรุง

วัตถุประสงค
1. เพื่อเปนศูนยศึกษาและสงเสริมการเกษตรปลอดสารพิษของ
กรุงเทพมหานครฝง ธนบุรี
2. เพ่ือเปนแหลงศึกษาและเผยแพรขอมูลทางการเกษตรและเทคโนโลยี
การเกษตร
3. เพอ่ื ใหค าํ ปรกึ ษาแนะนาํ การประกอบอาชพี ดา นการเกษตรแกเ กษตรกร
และประชาชนท่ัวไป
4. เพ่ือสงเสรมิ การทําเกษตรโดยใชป ยุ หมกั และน้าํ สกดั ชีวภาพ
2. ศูนยศึกษาและสงเสรมิ การเกษตรกรุงเทพมหานครฝง พระนคร
สถานทีต่ ้งั อยูท่ีสาํ นักพัฒนาสงั คม เลขที่ 4095/25-26 ถนนมติ รไมตรี 3
แขวงดนิ แดง เขตดินแดง กรงุ เทพมหานคร รถประจาํ ทางทผี่ าน สาย 12, 13, 36,
54, 98, 117, 204

16

เกษตรเมืองกรงุ

วัตถุประสงค
1. เพอื่ เปน ศนู ยศ กึ ษาและสง เสรมิ การเกษตร
กรุงเทพมหานครฝง พระนคร
2. เพื่อเปน ศนู ยสาธิตการเกษตร
3. เพอ่ื ใหค าํ ปรกึ ษา แนะนาํ การประกอบอาชพี
ดานการเกษตรแกเกษตรกรและประชาชนทว่ั ไป
4. เพอ่ื สงเสริมการทาํ เกษตรโดยใชป ุยหมกั และนํ้าสกดั ชวี ภาพ

17

เกษตรเมืองกรุง

3. ศนู ยถ า ยทอดเทคโนโลยีการเกษตรกรุงเทพมหานคร (ศนู ยเ พาะเล้ยี งเนอ้ื เยื่อ)
หองปฏิบตั ิการ (หอ ง LAB) ตั้งอยูท ีส่ ํานกั พฒั นาสังคม เลขท่ี 4095/25-26

อาคาร 3 ชั้น 3 ถนนมติ รไมตรี 3 แขวงดินแดง เขตดนิ แดง กรงุ เทพมหานคร และ
โรงเรอื นอนบุ าลตน ไมอยบู นดาดฟา ชัน้ 7 อาคารเดียวกนั

วตั ถุประสงค
1. เพอ่ื สง เสรมิ และสรา งอาชพี ดา นการเกษตรแผนใหมเ ปน การเพม่ิ รายได
และเพิม่ คุณภาพชวี ิตใหแ กเ กษตรกร
2. เพื่อเปนศูนยเพาะเลี้ยงเน้ือเย่ือและอนุรักษพันธุกรรมพืชหายากของ
กรุงเทพมหานคร
3. รองรบั เกษตรกรปลกู กลว ยไมฝ ง ธนบรุ ี10เขตใหเ กษตรกรไดร บั พชื พนั ธดุ ี
ปลอดโรค
4. เพ่ือใหเกษตรกร ประชาชน นักเรียน นักศึกษา ไดรับความรูและ
ฝกปฏิบัติเทคโนโลยีการเกษตรใหมๆ เตรียมความพรอมตอการแขงขันดานธุรกิจ
การเกษตร
5. เพื่อเปนศูนยกลางของศูนยบริการและถายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
ประจาํ แขวงทง้ั 50 ศูนย ในพ้นื ท่ี 26 เขตช้ันนอก
6. เพ่อื ใหบ ริการประชาชน ขอ มูลขาวสาร เทคโนโลยดี า นการเกษตร

18

เกษตรเมืองกรุง

4. ศนู ยศ กึ ษาและสง เสริมอาชพี การเกษตรบานพิชิตใจ
สถานท่ีต้ัง อยูท่ีศูนยฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาเสพติด บานพิชิตใจ สํานัก

อนามัย ซอยออ นนุช 90 ถนนออนนุช เขตประเวศ กรงุ เทพฯ รถประจําทางที่ผาน
สาย 1013, ปอ.พ.23, 551, ปอ.517, ปอ.92

วัตถปุ ระสงค
เพ่ือใหผูเขารับการบําบัด รักษา ฟนฟูสมรรถภาพจากการติดยาเสพติด
เกษตรกร ประชาชนผูสนใจทั่วไปและนักเรียนในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร
รจู กั ใชเ วลาวา งใหเ ปน ประโยชน และไดร บั วชิ าชพี การเกษตรตดิ ตวั ไปประกอบอาชพี
ซึ่งเปนการปอ งกันและแกไขปญหายาเสพติดอกี ทางหน่ึง

19

เกษตรเมอื งกรงุ

5. ศนู ยศกึ ษาและสง เสริมการทาํ สวนเกษตรดาดฟาสาํ นกั พัฒนาสังคม
สถานทตี่ งั้ อยทู สี่ ํานักพฒั นาสงั คม เลขท่ี 4095/25-26 ถนนมิตรไมตรี 3

แขวงดนิ แดง เขตดินแดง กรงุ เทพมหานคร รถประจาํ ทางทีผ่ าน สาย 12, 13, 36,
54, 98, 117, 204

วตั ถุประสงค
1. เพอ่ื เปนแหลง ศกึ ษา สง เสริม และสาธิตการทาํ สวนเกษตรดาดฟา และ
การปลูกพืชในภาชนะ
2. เพอ่ื เปนแหลงเผยแพรความรแู ละศกึ ษาดูงานดา นการเกษตร
3. เพื่อใชพ้ืนท่ีวางบนดาดฟาใหเกิดประโยชน และชวยเพ่ิมพ้ืนท่ีสีเขียว
ลดปญหาภาวะโลกรอน

20

เกษตรเมอื งกรงุ

การปลกู พชื อายุสั้นในสภาวะแหงแลง

สภาวะแหงแลง หรือภัยแลง หมายถึง สภาวะท่ีขาดแคลนปริมาณนํ้าฝน
อยางผิดปกติ จนไมเพียงพอตอความตองการ นานเกินกวา 2 สัปดาหข้ึนไป และ
เกดิ ครอบคลมุ พนื้ ทเ่ี ปน บรเิ วณกวา งเปน ผลสบื เนอ่ื งมาจากปรมิ าณฝนตกในชว งตน ป
ที่ผานมานอยกวาปกติ ทําใหเกิดปญหาขาดแคลนน้ําสําหรับทําการเกษตรในชวง
ฤดูแลง คือ ชวง ธันวาคม-เมษายน อยางรุนแรงซึ่งมีผลตอการประกอบอาชีพของ
เกษตรกรโดยตรง

เมื่อหมดฤดูนาปแลวจําเปนตองใหเกษตรกรปลูกพืชเศรษฐกิจอายุสั้น
ทใ่ี ชนา้ํ นอ ยแทนการทํานาปรังในสว นทที่ ําได ซึง่ พชื ทีแ่ นะนําไดแ กถ ั่วเขยี ว ถัว่ เหลือง
ขาวโพด ทานตะวัน และพืชผักตางๆ ซึ่งพืชไรอายุส้ันเหลาน้ีใชนํ้านอยเพียง
300 – 400 ลกู บาศกเ มตรตอ ไร แตถ า ทาํ นาขา วจะใชน าํ้ ถงึ 5 เทา คอื 1,500 – 2,000
ลูกบาศกเมตรตอ ไร

แตก ารปลกู พชื อายสุ นั้ นน้ั การเตรยี มดนิ จะยงุ ยาก เนอื่ งจากดนิ นาสว นใหญ
เปน ดินเหนียว การระบายน้าํ ไมดี จึงตอ งเตรียมดินใหรว นแลว ทํารองชว ยระบายน้ํา
และเปนการเพ่ิมความลึกของหนาดิน หากระบายน้ําออกไมไดหรือน้ํายังทวมขัง
ไมค วรปลกู พชื อายุสนั้ ใด ๆ

การปลกู พชื อายุสั้นทดแทนนาปรงั

ถั่วเหลือง ถ่ัวลิสง ขาวโพดหวาน
ขาวโพดขาวเหนียว ขาวโพดเลี้ยงสัตว
ควรปลูกในชวงกลางเดือนธันวาคมถึง
กลางเดือนมกราคม เพราะชวงนี้ดินมี
ความชนื้ สงู และพชื เหลา นย้ี งั ทนตอ อณุ หภมู ติ า่ํ
ไดดี

ขาวโพดฝกออน สามารถปลูกได
ในชว งกลางเดอื นธนั วาคมถงึ เดอื นกมุ ภาพนั ธ

21

เกษตรเมืองกรุง

ถ่วั เขียวควรปลูกในเดอื นมกราคม กมุ ภาพนั ธ
ถั่วเหลอื งฝก สด หรอื ถ่ัวแระญี่ปุน ราคาดี มีคณุ คา ทางอาหารสูง
ทานตะวัน เปน พชื ทท่ี นตอ สภาวะแหง แลง ไดด ีกวา ถ่วั เหลอื ง อายุเก็บเกีย่ ว
90-100 วัน ทานตะวนั สามารถปลูกแทนขาวนาปรังได ในบางพนื้ ทท่ี มี่ กี ารจดั การดี
และสภาพพื้นที่นาที่มีการระบายนํ้าดีไมทวมขังในที่นาดอนก็ปลูกไดเหมือนพืชไร
ท่วั ๆไป เชน ขา วโพด ถวั่ ตางๆ

22

เกษตรเมืองกรุง

พืชตระกูลแตง เชน ฟก เขยี ว แฟง บวบ มะระ สามารถปลกู ในนาขา วหรอื
คันบอสามารถจําหนายในชุมชนไดราคา และเม่ือเก็บเกี่ยวแลวสามารถเก็บรักษา
ไดนาน

ฟก ทอง เปนพชื ทสี่ ามารถเก็บรกั ษาผลผลิตไดนาน ผลผลิตไมเสียหายจาก
การขนสง อายุสน้ั 60 วนั ปลกู ไดค รั้งละมากๆ มกั ปลกู ฟก ทองเปน พชื หลงั นา

ผกั สวนครวั อายสุ ั้น เชน ผักบงุ ผกั กาด
กวางตงุ คะนา มะเขอื พริก กะเพรา โหระพา
สง ขายในตลาดสามารถเพม่ิ มูลคา ได

พืชผัก ผลไมที่มีราคาสูง (ระยะยาว)
ในหนาแลง เชน มะนาวในบอซีเมนต ปลูกผัก
อินทรีย จําหนายยอดผักตางๆ หรือปลูกผักที่
ราคาสงู และเปน ทต่ี อ งการของตลาดเชน ผกั สลดั
เรดโอค กรีนโอค จําหนายในรูปแบบพรอมรับ
ประทานใหต รงกบั ความตองการของตลาด หรือ
ปลูกผักในระบบไฮโดรโปนคิ ส (Hydroponics)

23

เกษตรเมอื งกรุง

การปลูกพืชอายุสั้น นอกจากจะแกปญหา เร่ืองขาดแคลนนํ้าโดยตรงแลว
ยงั มีประโยชนอ กี มากมายทตี่ ามมาไดแก

1. เปน การตดั วงจรชวี ิตของศตั รขู า ว เชน เพลี้ยกระโดดสนี ้าํ ตาล โรคไหม
คอรวง เปน ตน

2. เปนการปรับคณุ สมบัตทิ างกายภาพของดินใหดขี ้ึน
3. ลดการเสี่ยง เน่ืองจากผลผลิตนาปรังอาจเสียหายเม่ือนํ้าไมเพียงพอ
เกษตรกรจะมีรายไดชดเชยหรือไดม ากกวา การทํานาปรัง

24

เกษตรเมืองกรุง

10. การดําเนินงานของโรงเรียนเกษตรทฤษฎีใหมของกรุงเทพมหานคร
ไดแ ก โรงเรยี นเกษตรทฤษฎใี หม เขตหนองจอก เขตสะพานสงู สายไหม และทววี ฒั นา
1. โรงเรียนเกษตรทฤษฎีใหมตามแนวพระราชดําริ เขตหนองจอก

สถานท่ีตั้ง บานนายบุญเหลือ สมานตระกูล และพวกอุทิศ ชุมชน
คอยรุตตั๊กวา หมู 5 แขวงโคกแฝด เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร เปดทําการ
เมื่อวันท่ี 2 มิถุนายน 2549 พืน้ ทีด่ าํ เนนิ งาน 14 ไรเศษ แบง ออกเปน

- พืน้ ทที่ าํ นาขา ว ประมาณ 4-1-10 ไร (30 %)
- พ้ืนทีบ่ อนา้ํ (เลีย้ งปลา) ประมาณ 4-0-72 ไร (30 %)
- พื้นทีส่ วนผสม ประมาณ 4-0-88 ไร (30 %)
- พนื้ ท่พี กั อาศยั ประมาณ 1-2-21 ไร (10 %)
วตั ถุประสงค
1. เพอ่ื ใชเ ปน สถานทเี่ รยี นรเู รอื่ งการเกษตรใหแ ก
เกษตรกร เดก็ นกั เรียน และประชาชนผสู นใจท่วั ไป
2. เพอ่ื สนองพระราชดาํ รเิ รอื่ งเศรษฐกจิ พอเพยี ง
3. เพื่อใชเปนศูนยสงเสริมและสนับสนุนให
เกษตรกรดาํ เนนิ การเกษตรตามแนวทางเกษตรทฤษฎีใหม

25

เกษตรเมอื งกรุง

2. โรงเรียนเกษตรทฤษฎีใหมตามแนวพระราชดําริ เขตสายไหม
สถานที่ต้ัง บานนายกระจาง ช่ืนรุงและนางเจิม เนียมปาน เลขท่ี 9/1

หมูท่ี 5 แขวงออเงิน เขตสายไหม กรุงเทพมหานคร เปดทําการเม่ือวันที่ 22
ตุลาคม 2550 พน้ื ท่ี 21 ไร เนอ้ื ท่ปี ระมาณ 2,231 ตารางเมตร (พ้ืนท่ีสว นของถนน)
โดยทําสัญญายินยอมใหใชสอยทรัพยสินกับทางกรุงเทพมหานคร มีกําหนด 10 ป
นบั แตว นั ทําสัญญา (วันท่ี 9 มกราคม 2550) พ้นื ที่ดําเนนิ การทั้งหมดจํานวน 21 ไร
แบงออกเปน

- นาขา ว 8 ไร คิดเปน รอ ยละ 38.10
- ไมผล 10 ไร คิดเปน รอยละ 47.62
- บอนํา้ 2.5 ไร คิดเปน รอ ยละ 11.90
- ทีอ่ ยอู าศยั 0.5 ไร คดิ เปนรอ ยละ 2.8
วัตถุประสงค
1. เพอื่ ใชเ ปน สถานทเ่ี รยี นรใู นเรอ่ื งการเกษตรใหแ กเ กษตรกร เดก็ นกั เรยี น
และประชาชนผูสนใจท่ัวไป
2. เพ่อื สนองพระราชดาํ รเิ รอ่ื งเศรษฐกจิ พอเพยี ง
3. เพ่ือใชเปนศูนยสงเสริมและสนับสนุนใหเกษตรกรดําเนินการเกษตร
ตามแนวทางเกษตรทฤษฎีใหม

26

เกษตรเมืองกรุง

3. โรงเรยี นเกษตรทฤษฎีใหมต ามแนวพระราชดาํ ริ เขตสะพานสงู
สถานท่ีต้ัง แปลงเกษตรของนายณรงค บัวศรี เลขที่ 8 หมู 14 แขวง

สะพานสูง เขตสะพานสูง กรุงเทพมหานคร โทร 0 2735 8795 เปดทําการ
เมื่อวันท่ี 19 มิถนุ ายน 2551 พ้ืนทดี่ ําเนินการจํานวน 23 ไร แบง ออกเปน

- นาขา ว 12 ไร คดิ เปนรอยละ 48
- บอปลา 5 ไร คดิ เปน รอ ยละ20
- ไมผ ล ไมป ระดบั ผักสวนครัว 7 ไร คิดเปน รอ ยละ 28
- ที่พักอาศัย โรงสีขาว และอนื่ ๆ 1 ไร คดิ เปน รอยละ 4
วตั ถปุ ระสงค
1. เพอื่ ใชเ ปน สถานทเี่ รยี นรใู นเรอื่ งการเกษตรใหแ กเ กษตรกร เดก็ นกั เรยี น
และประชาชนผสู นใจทวั่ ไป
2. เพอ่ื สนองพระราชดาํ ริเรื่องเศรษฐกิจพอเพยี ง
3. เพ่ือใชศูนยสงเสริมและสนับสนุนใหเกษตรกรดําเนินการเกษตรตาม
แนวทางเกษตรทฤษฎใี หม

27

เกษตรเมอื งกรุง

4. โรงเรยี นเกษตรทฤษฎีใหมต ามแนวพระราชดําริ เขตทววี ัฒนา
สถานทต่ี ั้ง บา นนายวรินทร เขียวสะอาด เลขท่ี 1 หมู 3 แขวงทววี ฒั นา

เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร เปดทําการเมื่อวันท่ี 13 กรกฎาคม 2549) พื้นท่ี
ดําเนนิ การ 13 ไร 1 งาน แบง ออกเปน

- นาขา ว 10 ไร คดิ เปน รอยละ 75.47
- สวนไมผล 2 ไร คดิ เปน รอยละ 15.09
- บอ นา้ํ ( เล้ยี งปลา ) 1 ไร คิดเปน รอ ยละ 7.5
- ที่พักอาศัย โรงเรอื นและถนน 1 ไร คดิ เปน รอยละ 7.5
วัตถุประสงค
1. เพอ่ื ใชเ ปน สถานทเ่ี รยี นรใู นเรอื่ งการเกษตรใหแ กเ กษตรกร เดก็ นกั เรยี น
และประชาชนผูสนใจทั่วไป
2. เพ่ือสนองพระราชดําริเรือ่ งเศรษฐกิจพอเพียง
3. เพ่ือใชศูนยสงเสริมและสนับสนุนใหเกษตรกรดําเนินการเกษตรตาม
แนวทางเกษตรทฤษฎีใหม
การเกษตรของกรงุ เทพมหานครในพน้ื ท่ี 26 เขตชน้ั นอก ถูกกําหนดใหเปน
พนื้ ท่สี เี ขยี วและเปนพน้ื ทีป่ ระเภทอนรุ กั ษช นบทและเกษตรกรรม ประกอบดว ย

28

เกษตรเมอื งกรงุ

กลมุ พืช
นาขา ว
“ชาวนาคือผูทํานาปลูกขาว..........”
เพลงน้ีของพ่ีแอด แหงวงคาราบาว เปนเพลง
ท่ีคุนหูพวกเรามานาน หลายคน ไมเช่ือวา
ในเมืองหลวงอันแสนศิวิไลยังมีนาขาว
แตแทจริงแลวน้ันเมืองหลวงของเราน้ีแหละเปนแหลงผลิตขาวใหเราๆ ทานๆ
หุงกินมาชานานนับแตอดีตจนปจจุบัน พื้นท่ีการปลูกขาวในพ้ืนท่ีเขตคลองสามวา
ก็ไมมากไมนอย แคแมวด้ินตายประมาณ 21,000 ไร เองครับ พันธุขาวหลักๆ
ก็เปนขา วขาว มีอายปุ ลูกประมาณ 95-125 วัน เปน พนั ธุข า วนาปรงั หรือขา วไมไวแสง
ออกดอกออกรวงตามเวลา จะไมเหมือนทางภาคเหนือ และอีสานที่จะเปน
ขาวนาปหรือขาวไวแสงออกดอกออกรวงตามชวงแสงแดด หากเมื่อไหรที่เวลา
ตอนกลางวันสั้นกวาตอนกลางคืนเมื่อน้ันจะออกรวงทันที ในเขตคลองสามวา
มีผูทรงคุณคาดานขาวประจําป 2556 คือ คุณยงยุทธ เทียนรุงเรือง ซ่ึงเปน
เกษตรตัวอยางช้ันนําของเขตเรา มีการพัฒนานําเทคโนโลยีมาใชกับการปลูกขาว
ไมวาจะเปน การนําขาวสายพันธุตางๆ มาทดลองปลูก แมแตขาวญี่ปุน ก็เคยปลูก
มาแลว ไดผลเปน ทีน่ าพอใจ การใชเคร่อื งจกั รเขา มาชวย เชนเครือ่ งดาํ นา ทแี่ สดงให
หลายคนลดตนทุนการผลิตต้ังแตคาเมล็ดพันธุ อีกทั้งผลผลิตท่ีไดก็ดีกวาลดปญหา
เร่ืองโรคและแมลงศัตรูไดเปนอยางมาก ลดตนทุนดานสารเคมีท่ีเปนอันตรายลง
อยางมาก

29

เกษตรเมอื งกรงุ

สวนผักผักไฮโดรโปนิก
เกษตรกรคณุ กฤษฎา ทัสนารมย เลขที่ 19/4 ถนนสายไหม แขวงสายไหม
กรุงเทพฯ โทร. 08 1855 2223
สวนแหง นม้ี พี นื้ ทไี่ มม าก มกี ารจดั การพน้ื ทใี่ หเ หมาะสาํ หรบั การปลกู ผกั โดยมี
การออกแบบรางปลกู เองเพอ่ื ใหเ หมาะสมกบั สภาพพนื้ ท่ี และยงั เปน การใชป ระโยชน
ใหไดม ากท่ีสดุ ท่ีนีร่ ับออกแบบรางปลกู พรอมทัง้ ผลติ และจาํ หนาย อุปกรณการปลูก
จาํ หนา ยผักไฮโดรโปนคิ เชน กรนี โอค เรดโอค กวางตุง คะนา ผักพนื้ บาน ฯลฯ
สวนเห็ดพันธุธัช
เกษตรกรชื่อคุณเพียรชัย แกวอินธิ เลขที่ 19 ซ.วัชรพล 4 ถ.วัชรพล
แขวงคลองถนน เขตสายไหม กรุงเทพฯ โทร 08 9450 3169 หรือ Facebook
สวนเหด็ พันธุธชั สายไหม

30

เกษตรเมอื งกรุง

นายเพยี รชัย แกว อินธิ (คุณลาภ) การเก็บเหด็ นางรม
เจา ของฟารม

โรงเห็ด ข้เี รอื่ ยอดั ถุงแลว รอนึง่ โรงบมกอน

ทนี่ มี่ ดี อกเหด็ จาํ หนา ย คอื เหด็ นางรม เหด็ ชนดิ นจ้ี ะเหนยี วกวา เหด็ ชนดิ อน่ื
คุณลาภเจา ของฟารมเหด็ แนะนําเมนผู ัดกะเพราเหด็ นางรม และเห็ดรมชุปแปง ทอด
(อรอยมากตอ งลอง)

รับผลิตกอนเชื้อเห็ดทุกชนิด และรับอบรมการเพาะเห็ดถุงในลักษณะ
กลุมยอยก็ได สามารถแวะเย่ียมชมไดทุกวัน นอกจากน้ีบริเวณโดยรอบก็มีพืชผัก
พื้นบาน หนอไม บอปลา เรียกไดวาไมตองซื้อก็มีอาหารเพ่ือสุขภาพและปลอด
สารเคมีอีกตางหาก

31

เกษตรเมอื งกรุง

ฟารมเห็ด วริ ัชฟารม
ฟารมผลิตเห็ดคุณภาพ ของคุณวิรัช บัวคลี่ เกษตรกรเจาของฟารมท่ีมี
ประสบการณการเพาะเห็ดที่สั่งสมมานับสิบป ฟารมเห็ด วิรัช มีผลผลิต เห็ดฟาง
เปนหลัก นอกจากนย้ี ังมี เหด็ นางรม เหด็ นางฟา สดๆ ดอกใหญ คุณภาพดี นอกจาก
การเพาะเห็ดแลวยังเปดใหความรูในการเพาะเห็ดทั้งเห็ดฟาง เห็ดถุง เห็ดตะกรา
สาํ หรับผสู นใจ ซง่ึ ที่ผา นมามผี ูมาอบรมแลว หลายรนุ
สนใจฟารม เห็ด วริ ัชฟารม ตดิ ตอ คณุ วิรชั บัวคล่ี เลขท่ี 3 ซอยเพชรเกษม
110 แยก 11-1-14 แขวงหนองคางพลู เขตหนองแขม โทร 081 173 0655

32

เกษตรเมอื งกรุง

มะนาว
คุณสุวรรณ พรหมสร เดิมประกอบอาชีพชางแอรตอมาประสบปญหา
ขาดแคลนแรงงานในการดําเนินงานรวมกันเน่ืองจากลูกนองท่ีมาฝกงานดวยเมื่อมี
ความชาํ นาญกแ็ ยกตวั ไปรบั งานเองทาํ ใหก ารทาํ งานไมต อ เนอื่ งจงึ เกดิ ความเบอื่ หนา ย
ประกอบกับเปนผูที่มีความสนใจในดานการเกษตรจึงคนควาความรูจากการหนังสือ
ทางวิชาการของอาจารยทวีศักด์ิ ชัยเรืองยศ เร่ือง เทคนิคการผลิตมะนาวหนาแลง
โดยมีความคิดวาเปนงานท่ีปฏิบัติอยูกับบานและหากทําไดจะสามารถมีรายไดเลี้ยง
ตนเองและครอบครัวได
ในป พ.ศ.2554 จึงไดทดลองปฏิบัติปลูกมะนาวในโองมังกรจนปจจุบัน
ประสบผลสาํ เร็จสามารถผลติ มะนาวนอกฤดกู าลไดป ระมาณ 300 ผลตอตน มที ั้งส้ิน
15 ตน ใชพนื้ ทป่ี ระมาณ 15 ตารางวา จํานา ยผลละ 7 บาท (เดอื นเมษายน) โดยมี
ข้ันตอนในการดาํ เนินงานดงั น้ี
1. ตน ทุนในการผลติ ตอ ตน ประมาณ 685.-บาท ประกอบดว ย
- คา โอง มังกร (โอง เกา ) เปน เงนิ 100.-บาท
- คา ตน พนั ธมุ ะนาว เปนเงนิ 85.-บาท
- คาดินผสม (ดินรว น+ดินทราย+ปยุ คอก) เปนเงนิ 300.-บาท
- คา ปยุ สารบาํ รุง และสารกําจดั โรคและแมลง เปนเงิน 200.-บาท
2. ขนั้ ตอนการปลกู
- นํากิ่งพันธุที่ตองการจะปลูกซ่ึงมีอายุประมาณ 90 วัน (กิ่งตอน)
ท่ีซ้ือมาจากทองตลาดนํามาใสในถังพลาสติกท่ีมีน้ําผสมปุยยูเรียในปริมาณเล็กนอย
(อยาใหทวมกระเปาะมะพราว) ใหกิ่งตอนสามารถดูดน้ํา ดังกลาวไปเปนอาหาร
เลยี้ งลําตน และรากได ทิ้งไว 3 วัน
- นําดินรวน ดินทราย และปุยคอก ในอัตรา 30/30/40 คลุกเคลา
ใหเ ทา กนั แลว ใสใ นโอง มงั กร ทมี่ กี ารเจาะรรู ะบายนาํ้ สงู จากพน้ื ดนิ ประมาณ 15 ซ.ม.
จํานวน 3 รู ตอหนง่ึ โอง
- ทาํ การปลูกมะนาวลงในโอง มังกร

33

เกษตรเมอื งกรงุ

3. ขน้ั ตอนการดูแลรกั ษา
- การใหนา้ํ กระทาํ วันละ 2 คร้ัง(เชา-เยน็ ) ในชวงที่มีการเจรญิ เติบโต

ตั้งแตปลูกจนถึงอายุ 8 เดือน หลังจากน้ันในชวงที่มีการออกดอกติดผลการใหนํ้า
ในชว งเยน็ ใหเ ฉพาะทลี่ าํ ตน เทา นน้ั หา มฉดี พน ทใ่ี บเดด็ ขาดเนอื่ งจากความชนื้ ทใ่ี บนนั้
กอใหเกดิ โรคและแมลงทาํ ลายไดง า ย

- การใหปุยจะใหปุยยูเรียต้ังแตเริ่มปลูกไปจนอายุได 3 เดือน
ใหเ ดอื นละ 2 ครงั้ ในอตั ราแนะนาํ จากนน้ั จะใหป ยุ ชวี ภาพตอ เนอื่ งจนมอี ายไุ ด 8 เดอื น

- เมื่อตนพันธุอายุได 8 เดือนจะเริ่มออกดอกและติดผลโดยสามารถ
เกบ็ ผลผลิตไดใ นอกี 5 เดอื นตอ มา ซึ่งระหวางตดิ ผลจะมีการใหป ยุ เคมีพโี อ โพคอน
สตู ร 20-20-20 อตั รา 30 – 50 กรมั ตอนาํ้ 20 ลิตร ฉดี พน จาํ นวน 3 ครง้ั หางกัน
ครงั้ ละ 10 วนั เพอ่ื เปน การบาํ รงุ ผลใหเ ปลอื กบางและมปี รมิ าณนาํ้ มาก หรอื ใชฮ อรโ มน
โฟทอนคิ สูตร 21-21-21 บาํ รงุ ตน ใหเ ลือกใชท ลี ะอยา งอยา ใชพรอมกนั

- โรคท่ีพบ ไดแก โรคแคงเกอรซ่ึงทําลายทั้งตนและผล แกไขโดยใช
สารเคมฟี ง กรู าน ในอตั ราแนะนาํ ในฤดูฝน จาํ นวน 1 สปั ดาหต อ ครงั้ ฤดูอนื่ ๆ จํานวน
2 สปั ดาหต อ ครง้ั

- แมลงท่ีพบ ไดแ ก หนอนชอนใบ แกไขโดยใชสารเคมี แจคเก็ต อตั รา
แนะนาํ หนอนวางไขต า งๆ แกไขโดยใชสารเคมี เอส เค จํานวน 1 สัปดาหตอ คร้งั
ฤดูอืน่ ๆ จาํ นวน 2 สปั ดาหตอครั้ง

ผลผลติ ผลผลิตเมอื่ เทยี บขนาดกับไขไ ก

34

เกษตรเมืองกรุง

การบังคับใหออกดอก การใหน ํา้ และปยุ แบบน้ําหยด

4. เทคนคิ การบงั คบั ใหเ กดิ ดอกเพอ่ื เกบ็ ผลนอกฤดู โดยในเดอื นพฤศจกิ ายน
จะใชวิธีการอดนํ้าและอาหารทุกอยางรวมถึงนํ้าฝนโดยทําการใชถุงพลาสติก
ปดโคนตน นาน 10 วัน ซึ่งตน พนั ธุจะมีลกั ษณะเหลอื งและเหย่ี วเหมอื นกาํ ลงั จะตาย
จากนนั้ กท็ าํ การบาํ รงุ ใหน า้ํ และปยุ ตามปกติ หรอื อาจใหป ยุ เกรด็ สตู ร 13-0-46 อตั รา
แนะนาํ สปั ดาหล ะ 1 ครง้ั เพอ่ื เรง การออกดอกซง่ึ การกระทาํ ดงั กลา วจะสง ผลใหม ะนาว
เกบ็ ผลจาํ หนา ยไดใ นเดอื นเมษายน หลงั จากเกบ็ ผลผลติ แลว จะทาํ การตดั แตง ตน เพอื่
รองรับการเจรญิ เติบโตในรุนตอ ไป เปน การตดั แตงก่ิงไมด ีท้งิ ปองกันการสะสมของ
โรค แมลง และบงั คับมิใหตน พนั ธุม คี วามสูงเกินไป โดยในระหวา งเดอื นพฤษภาคม
– ตุลาคม จะใชปยุ เกร็ดสูตร 0-52-34 เดือนละ 2 ครั้ง เพื่อบงั คบั มใิ หออกดอก

5. เทคนิคในการประหยัดคาใชจายคานํ้าและปุย โดยวิธีการใหนํ้าแบบ
นา้ํ หยด

6. ขอดีของการใชโองมังกร เนื่องจากสามารถโยกยายไดเมื่อมีปญหา
อทุ กภยั และสามารถควบคุมปริมาณน้ําและปยุ เคมีได ใชพื้นที่จํานวนนอย สามารถ
ปลูกในบานเรอื นได

7. ขอเสียของโองมังกร สามารถดูดความรอนไดดีตองหาวัสดุมาปกคลุม
รอบโองเพื่อปองกันความรอน หากไมปองกันตนมะนาวจะชะงักการเจริญเติบโต
เม่ือเจอกับความรอนท่ีโองดูดซับไว และโองสามารถแตกไดเมื่อตนมะนาวมีราก
จํานวนมากชอนไช ซงึ่ แกไ ขปญ หาโดยการใชป นู โบกทับและใชลวดรัง้ ไว

35

เกษตรเมืองกรงุ

มะมวงนวลจันทร
“อกรองนวลจันทร” เปนมะมวงสายพันธุโบราณที่ไดรับความนิยมปลูก
และรับประทานแพรหลายมาชานานแลว มีลักษณะพิเศษคือ ผลมีขนาดใหญและ
ยาวกวาผลมะมวงอกรองท่ัวไป มีกล่ินเปนเอกลักษณชัดเจน รสชาติตอนสุก
หวานหอม อรอยชื่นใจยิ่งนัก ผลสุกเปนสีเหลืองสด เนื้อในแนน ไมเละ ไมมีเสี้ยน
สวนมะมว งนวลจนั ทรแ ละมะมว งนา้ํ ดอกไมค ณุ ภาพในเขตทงุ ครุ คอื สวนคณุ ประสาท
อ่มิ จงใจรกั ษ ซ.ประชาอทุ ิศ 54 แยก 6 และ ซ.ประชาอทุ ศิ 76 จะมจี าํ หนายเฉพาะ
ฤดูเทา น้นั

สมบางมด
สวนสมบางมด ของคุณสมนึก บุญออน 109/2 ซอยประชาอุทิศ 54
แยก 6 แขวงทงุ ครุ และนายสมทบ พรหมมาศ 62 ซ.พุทธบูชา 39 แยก 1 แขวง
บางมด ทีย่ ังคงปลกู สมบางมดอยแู ละอนุญาตใหเขา ชมสวนได สามารถเขาชมไดท ้ัง
ทางบกและทางเรอื โดยทางเรอื สามารถลอ งเรอื ทอ งเทย่ี วมาจากคลองบางมดเพอ่ื ชม
สวนสมได (มใี หชมเฉพาะฤดูเทานั้น)

36

เกษตรเมืองกรงุ

มะพราวนา้ํ หอม
เขตทงุ ครุ นนั้ มสี วนมะพรา วนาํ้ หอมมากมาย และมะพรา วนาํ้ หอมกม็ รี สชาติ
หอมหวานมาก สรางรายไดใหกับเกษตรกรเปนจํานวนมาก สวนมะพราวน้ําหอม
ที่อยูในเสนทางการทองเที่ยงทางเรือ คือ สวนมะพราวคุณปรีชา พลอยเล้ียง
อยูรมิ คลองบางมด ใกลก บั วดั พทุ ธบชู า ซงึ่ ทาํ น้ํามะพราวบรรจุถงุ จาํ หนายดว ย

สวนมะพราว คุณประสงค มุสิกเจริญ ท่ีอยู 329 ถนนราชพฤกษ
แขวงบางจาก เขตภาษีเจริญ โทร. 0 2868 5928

มะมวงพนั ธุข าวนยิ ม
สวนคุณนรินทร นอยรักษา (สวนนอยรักษา)
มีมะมวงพันธุขาวนิยม ก่ิงพันธุมะมวงจําหนาย และ
เปนสถานทท่ี องเทย่ี วเชงิ เกษตร ทอ่ี ยู 88 ซอยบางบอน 3
ซอย 5 แขวงบางบอน เขตบางบอน กทม. สนใจติดตอ
โทร. 0 2445 5500 โทรสาร 0 2445 5490 มือถือ
081 560 5331

37

เกษตรเมืองกรุง

สม เชง
สวนคุณประสิทธ์ิ จันทรกลัด มีสมเชงจําหนาย ท่ีอยู ริมคลองหนามแดง
ถนนบางบอน 4 แขวงบางบอน เขตบางบอน กทม. สนใจติดตอ โทร. 089 794 8054
ไมดอกไมประดับ
กลวยไม ไมตัดดอกที่เปนพืชเศรษฐกิจ
ท่ีสําคัญของเขตหนองแขม จนมีการนํากลวยไม
เปนสัญลักษณเขตหนองแขม และมีการจัดต้ังหมูบาน
กลวยไมเพ่ือการอนุรักษพ้ืนที่การปลูกกลวยไม และ
จากถนนเพชรเกษม เขา ไปในซอยเพชรเกษม 110 แยก 14 จะเหน็ กลว ยไมต ัดดอก
ชูชอสวยงามตลอดสองขางทาง ผูที่สนใจในเรื่องราวการปลูกกลวยไมหรือ
ตองการชมสวนกลวยไม ทางกลุมเกษตรกรผูปลูกเล้ียงกลวยไมมีวิทยากรท่ี
คอยใหคําแนะนําติดตอไดท่ีศูนยบริการและถายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตร
แขวงหนองคางพลู เลขที่ 5 ซอย เพชรเกษม 110 แยก 14-1-14 แขวงหนองคา งพลู
เขตหนองแขม กรงุ เทพมหานคร

38

เกษตรเมืองกรงุ

สวนรวมพนั ธไุ ม 77 จังหวัด (สวนสวุ รรณานนท)
ทต่ี งั้ : อยูริมถนนระหวา งถนนจอมทอง ซ.4-6 แขวงบางคอ เขตจอมทอง
กรุงเทพมหานคร โทร. 0 2427 6672 (ฝายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม
คุณประยูร วงคพุทธคาํ ,คณุ สนบั ออ นเบา)
สวนกลว ยไมตดั ดอก
ที่ตั้ง : เลขที่ 86 ถนนพุทธบูชา ซ.9 แยก 1 แขวงบางมด เขตจอมทอง
กรงุ เทพมหานคร โทร 086 694 5159 ( คุณสนุ ันท ดีประหลาด )
สวนไมประดบั ตัดใบ
คุณวินยั แกว คาํ ท่อี ยู 52 ซอยบางแวก 83 แขวงคลองขวาง เขตภาษีเจรญิ
กรุงเทพมหานคร โทร. 089 760 8838
สวนกลวยไมตัดดอก และกลว ยไมในภาชนะ
คุณสมทบ ตุมนาค ที่อยู 38 ซอยราชมนตรี 10 แขวงคลองขวาง
เขตภาษีเจรญิ กรุงเทพมหานคร โทร. 0 2455 8688 , 089 314 0776
สวนใบเตย
คุณวิไลวรรณ ลิ้มทอง ท่ีอยู 9/1 ม.5 แขวงคลองขวาง เขตภาษีเจริญ
กรุงเทพมหานคร โทร. 0 2410 1214
ดอกจาํ ป
สวนคณุ สรุ ชัย เหลือเศษ มีดอกจําปจาํ หนาย ท่อี ยู 339 ถนนบางบอน 4
แขวงบางบอน เขตบางบอน กทม. สนใจตดิ ตอ โทร. 083 705 9282

39

เกษตรเมืองกรงุ

ปศสุ ัตว
เกษตรกรดีเดนแหง ชาติ (อาชีพเลีย้ งสัตว)

ชอ่ื – นามสกุล นายอารกั ษ สนั ประเสรฐิ
อายุ 52 ป
ท่อี ยูปจ จบุ นั 32/2 หมทู ่ี 2 แขวงโคกแฝด
เขตหนองจอก กรงุ เทพฯ
โทรศัพท 08 3221 0007
การศกึ ษาสูงสุด ปริญญาโท
สถานภาพ สมรส (นางอารายา สนั ประเสรฐิ )
จํานวนบตุ ร-ธิดา รวม 4 คน
อาชีพ เล้ยี งแพะนม
ปศุสัตวทเี่ ลยี้ ง แพะนม 150 ตัว
นายอารกั ษ สนั ประเสรฐิ เดมิ ประกอบอาชพี ทป่ี รกึ ษาดา นธรุ กจิ แตเ นอ่ื งจาก
บตุ รชาย 2 คนแรกเปน โรคภมู แิ พจ นตอ งเขา โรงพยาบาลแบบฉกุ เฉนิ เพอ่ื ใหอ อกซเิ จน
และตองเขา รบั การรกั ษาโดยการฉดี สารกระตุนภมู ทิ ุกสปั ดาห ตอ มาในป พ.ศ. 2546
ภรรยาต้ังครรภลูกคนที่ 4 ก็เกิดความกงั วลวาอาจเปนโรคภมู แิ พตามพี่ๆ ในขณะน้ัน
มีญาติผูใหญมาแนะนํา ใหลูกและภรรยาด่ืมนมแพะเพื่อชวยรักษาโรคภูมิแพ

40

เกษตรเมอื งกรุง

จึงไดซื้อนมแพะมาใหภรรยาดื่มแตไมสามารถดื่มไดเน่ืองจากนมแพะมีกล่ินสาป
จึงพยายามศึกษาคนควาหาความรูเก่ียวกับการเล้ียงแพะและตัดสินใจซื้อแมแพะ
นมมา 1 ตัว นํามาเลี้ยงโดยการผูกไวกับเสาโรงรถและลงมือรีดนมแพะดวยตนเอง
โดยทาํ ความสะอาดแพะกอ นรดี นมอยา งพถิ พี ถิ นั ปรากฎวา นา้ํ นมแพะทไ่ี ดม รี สชาตดิ ี
และที่สําคัญไมมีกล่ิน เม่ือนํานมแพะท่ีรีดไดมาใหภรรยาด่ืมปรากฎวาด่ืมได
โดยไมมีกล่ิน และยังไดแบงปนนํ้านมแพะใหแกญาติผูใหญที่ไมสบายไดด่ืมดวย
เม่ือภรรยาคลอดบุตรชายมีผิวพรรณดีและสุขภาพแข็งแรงมาก ไมเปนโรคภูมิแพ
และญาติท่ีดื่มนมแพะก็มีสุขภาพดีขึ้น ดังนั้น ในป พ.ศ.2547 จึงตัดสินใจเกษียณ
ตวั เองจากบรษิ ทั โดยผนั ตวั เองมาเปน เกษตรกรเลย้ี งแพะเตม็ ตวั ในชว งแรกๆ เนอ่ื งจาก
ขาดประสบการณแพะเจ็บ ปวย ตาย สายพันธุไมดี ใหนํ้านมนอย ใชเวลาและ
แรงงานมาก ทาํ ใหต น ทนุ การผลติ สงู นายอารกั ษฯ จงึ ไดศ กึ ษาหาความรกู ารเลยี้ งแพะ
จากการอา นหนงั สอื ตาํ รา คน ควา ทางอนิ เตอรเ นต็ เขา รบั การฝก อบรมกบั หนว ยงาน
ตา งๆ ท่ีเกี่ยวของ พดู คยุ กบั เจาหนา ที่ และไดลงมือเลยี้ งแพะดวยตนเองทกุ ข้นั ตอน
โดยเฉพาะอยางยิ่งการนําเอาหลักวิชาการที่ถูกตองมาประยุกตใชทําใหสามารถ
ลดปญหาที่เกิดขึ้นรวมท้ังยังพัฒนาคุณภาพผลผลิตใหดีย่ิงขึ้น อาทิ การพัฒนาและ

41

เกษตรเมอื งกรงุ

ใชเครื่องรีดนมแพะ การใชกระบวนการในการทําความสะอาดเตานมกอนและหลัง
รีดแบบครบถวน นอกจากน้ี ยังไดปรับปรุงกระบวนการแปรรูปนํ้านม ซึ่งแตเดิม
ทําดวยมือแบบภูมิปญญาชาวบานท่ีใชหมอตมรอนสองชั้นแลวน็อคเย็นดวยนํ้าแข็ง
มาเปนเคร่ืองพาสเจอรไรส โฮโมจีไนส อุปกรณน็อคเย็นและระบบสายพานบรรจุ
แบบมาตรฐาน (ขนาดเลก็ ) สามารถผลติ นมพาสเจอรไรสได 1,500 ขวดภายในเวลา
4 ช่วั โมง ชว ยลดเวลาแรงงานและเพิม่ คุณภาพของนาํ้ นมทผ่ี ลติ ไดดยี ิ่งข้ึน ทัง้ ในดาน
ความสะอาด รสชาติและอายุการเกบ็ จนปจ จุบันกลายมาเปน “ฟาอซิ ฟารมแพะ”
(ต้ังตามชือ่ บุตรชายคนเล็ก) กจิ การฟารม แพะนมไดรบั การรับรองตามมาตรฐานของ
กรมปศสุ ตั ว โดยมแี พะอยทู งั้ หมด 150 ตวั มกี ารผลติ นมพาสเจอรไ รส นมแพะสเตอร
ริไรส โยเกริตนมแพะ สงใหสมาชิกไดบริโภคถึงบานและยังมีผลิตภัณฑที่เก่ียวของ
เชน อาหารเมนูแพะ (ขาวหมก แกงแพะตางๆ แพะตุนยาจีน) สบูครีมนมแพะ
ไอศครมี หมวก กระเปา เปนตน

ตลอดระยะเวลาการเล้ียงแพะนมมา 10 กวาป นายอารักษฯ ไดพัฒนา
การเลี้ยงแพะของฟาอิซฟารมจนประสบผลสาเร็จเปนที่นาพอใจในหลายๆ ดาน
ประกอบดว ย

1) ดานพันธุและสายพันธุแพะ จากเดิมแมแพะเดิมท่ีสามารถรีดนมได
เพยี ง 1 – 1.5 ลิตร/ตวั /วัน ไดพัฒนาปรับปรงุ พนั ธแุ พะมสี ายเลอื ดพนั ธุน มท่ีสงู ข้นึ
ไดแ ก พันธซุ าแนนขาว ซาแนนดํา ทอ็ กเกน็ เบอรก และอัลไฟน น้าํ นมเฉลีย่ อยางนอย
2 ลติ รข้ึนไป และมากกวา 1 ใน 3 ของแมแพะใหนม 3 ลติ รขน้ึ ไป นอกจากน้ี ยังได
พฒั นาสายพนั ธแุ พะ “ซาแนนดาํ ” ซงึ่ เปน สายพนั ธทุ พ่ี บวา ใหน า้ํ นมสงู นาํ้ นม มคี ณุ คา

42

เกษตรเมอื งกรุง

ทางอาหารมากกวาสายพันธุซาแนนขาว และไดรับการยอมรับจากผูบริโภควา
น้ํานมแพะดํามีผลดีตอสุขภาพ โดยสามารถวางตําแหนงสินคาเปนนมเกรดพรีเม่ียม
ทใ่ี หร าคาสงู กวา นา้ํ นมแพะทว่ั ไป 50 – 80 % ปจ จบุ นั มแี พะซาแนนดาํ ประมาณ 60 ตวั
เปนแมพันธุท่ีใหนํ้านมสูงมากกวา 25 ตัว และยังมีแพะพอพันธุ แพะรุน-หนุมสาว
และลกู แพะซาแนนดําท่ีจะนาํ มาทดแทนในรนุ ตอ ไปไดอกี จํานวนหนึ่ง

2) ดานอาหารแพะ ปจจุบันไดพัฒนาสูตรอาหารและผสมอาหารขน
ไวใชเองเพ่ือประหยัดตนทุน โดยยึดหลักใหแพะไดรับโปรตีน ไขมัน พลังงาน และ
สารอาหารอ่ืนๆ อยางเหมาะสมกับการใชงาน โดยมีสองสูตร คือ สูตรสําหรับแพะ
รีดนมและแพะทองแก และสูตรสําหรับตัวผูและแพะวัยรุน มีการจัดทําแปลงหญา
ขึ้นเองเพื่อลดปญหาโรคพยาธิที่ติดมากับหญาตามแหลงธรรมชาติ ในชวงแลง
จะใหหญาแหงและฟางในระบบตาขายแขวนเพื่อลดการสูญเสียใหกินตลอดเวลา
ใชผงเกลือแรรวมกับวิตามินเสริมเติมในรางขณะใหอาหารขนและมีเกลือแรกอน
แขวนใหเ ลยี กนิ ไดต ลอดเวลา มกี ารผลติ นา้ํ หมกั ชวี ภาพผสมลงในนา้ํ ดมื่ เพอ่ื ชว ยระบบ
การยอ ยอาหารลดกล่ินของปสสาวะและมลู ทถี่ ายออกมา

3) ดานการดูแลรักษาสุขภาพ มีการทําวัคซีนและการเจาะเลือดเพ่ือ
ตรวจโรคโดยปศุสัตวเปนประจําตามกําหนดเวลาเพ่ือใหมั่นใจวาแพะปราศจากโรค
อาบนา้ํ และการจดั เห็บไรทุก 2 สปั ดาห

4) ดานการจัดการฟารม เปนฟารมที่ไดรับรองมาตรฐานฟารมแพะนม
มีการบริหารจัดการโดยเนนความสะอาดและความเปนระเบียบเรียบรอย ออกแบบ
โรงเรือนแบบยกสูงเปนรูปตัวยูทําใหสามารถระบายอากาศไดดี มีแผนมุงพลาสติก

43

เกษตรเมืองกรงุ

รองใตคอกเพ่ือกรองแยกมูลแพะจากนํ้าปสสาวะทําใหมูลไมแฉะ พื้นคอนกรีต
ราดเอียงและมีรางเช่ือมเพื่อนํานํ้าปสสาวะลงสูบอบําบัด มีการใชน้ําหมักชีวภาพ
ราดพื้นคอกเพื่อกําจัดกลิ่น ภายในแบงเปนสัดสวนแยกตามประเภทของแพะ
นอกจากน้ี ยังมีมุงตาขายรอบคอกเพื่อกันยุงและแมลง มีอางน้ํายาจุมเทาและสบู
ลา งมอื กอนขึ้นคอก

5) ดานคุณภาพน้ํานมแพะ ทางฟารมมีขั้นตอนที่พิถีพิถันมากในการ
รีดนม เชน การแยกคอกเลี้ยงและสถานที่รีดแยกหางจากกัน แพะที่รีดนมตองทํา
ความสะอาดตามขน้ั ตอน อนั ประกอบดว ย การแปรงขน ลา งเตานมดวยนํ้าอนุ จาก
เครอ่ื งทาํ นาํ้ รอ น เปา ดว ยลมและซบั ดว ยผาจนแหง จากนน้ั พนน้าํ ยาฆา เชื้อกอ นและ
ทดสอบน้ํานมแตละเตาดวยนํ้ายา CMT สวนการรีดนมจะรีดดวยเคร่ืองรีดระบบ
สูญญากาศ นมที่ไดจะลงสูถังเก็บที่แชน้ําแข็งตลอดเวลาและจะถูกเก็บในรูปแชแข็ง
ภายใน 24 ช่ัวโมง เพ่ือรักษาคุณภาพน้ํานม หลังการรีดนมจะจุมหัวนมดวยนํ้ายา
ทกุ คร้งั

6) ดานการตลาด ปจจุบันฟาอีซฟารมแพะมีผลิตภัณฑจากแพะ
นม ประกอบดวย นมฟาสเจอรไรสและโยเกิรต ประมาณ 600 ขวด/วัน นมดิบ
นมสเตอรไิ รสแ ละผลติ ภณั ฑอ น่ื ๆ อาทิ สบแู ละครมี นมแพะ นอกจากน้ี มกี ารจาํ หนา ย
แพะเพ่ือเปนพอแมพันธุและแพะเนื้อเพื่อการบริโภค โดยรวมแลว นายอารักษฯ
มีรายไดจากการเล้ยี งแพะหลงั หกั ตนทุนแลว ในป พ.ศ.2554 เปนเงนิ 223,097 บาท
พ.ศ. 2555 เปนเงิน 727,507 บาท และ พ.ศ.2556 เปนเงิน 430,757 บาท

44

เกษตรเมืองกรงุ

โดยสรุปแลว นายอารักษฯ มีรายไดหลังหักคาใชจายแลวเดือนละประมาณ
35,000 บาท
ความเปนผูนาํ และการเสยี สละเพ่ือประโยชนส วนรวมในดานตา งๆ

นายอารกั ษ เปน บคุ คลทเี่ ปน ผนู าํ และผเู สยี สละในชมุ ชน ซงึ่ ถอื วา เปน บคุ คล
สาํ คัญในการวางรากฐานหรอื เปน แบบอยา งท่ีดีใหก ับคนในชมุ ชน ดงั นี้

1) ไดรับการแตงตั้งใหเปนอิหมามประจํามัสยิด ฮี่ดายาตุลอิสลาม
(ดอนสะแก) ต้ังแตป พ.ศ.2550 โดยแจกนมแพะพาสเจอรไรสใหกับผูมาปฏิบัติ
ศาสนกิจที่มัสยิดและผูมาประชุมในโอกาสตางๆ และมอบรายไดจากการจําหนาย
ผลติ ภณั ฑจากนมแพะเพ่อื บํารงุ การศกึ ษาและศาสนา

2) เปน วทิ ยากรเพอ่ื บรรยายความรดู า นการเลยี้ งแพะใหก บั หนว ยงานตา งๆ
3) เปน แหลงเรยี นรดู า นการเล้ียงสัตวใหกับกรมปศสุ ัตว โดยใหความรูแก
เกษตรกรและผูสนใจในดา นการเล้ียงแพะและเปนวทิ ยากรใหแกห นว ยงานตา งๆ
4) ใหความรวมมือกับมหาวิทยาลัยมหานคร มหาวิทยาลัยจันทรเกษม
สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา ลาดกระบงั ในการเตรยี มแพะเพอ่ื ใหน กั ศกึ ษาทาํ การ
ฝก ปฏบิ ตั ิ เปนสถานทศ่ี กึ ษาดงู านและทาํ วิจัยดานการเล้ียงแพะนม
5) เผยแพรขอมูลดานการเลี้ยงแพะผานทีวีดาวเทียมในรูปแบบของ
สารคดีและใหคําปรึกษาแนะนําการเล้ียงแพะนมแกเกษตรกรและผูสนใจผานทาง
https://th-th.facebook.com/FaizFarm

45

เกษตรเมอื งกรุง

6) เปดโอกาสใหนักเรียนที่ตองการหารายไดมาชวยงานในฟารมเพื่อ
หารายไดเสริมในชวงปดเทอม กิจกรรมการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ
สงิ่ แวดลอ ม

นายอารักษฯ มีแนวคิดและหลักปฏิบัติในการใชชีวิตประกอบอาชีพ
การเกษตรดานการเลี้ยงสัตว โดยปฏิบัติตามระบบมาตรฐานของกรมปศุสัตว
มีการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและรักษาสิ่งแวดลอมเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุด
กับธรรมชาติ สิ่งแวดลอมและมนุษย ดังน้ี

กจิ กรรมการอนรุ กั ษท รัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอม
นายอารักษฯ มีแนวคิดและหลักปฏิบัติในการใชชีวิตประกอบอาชีพ
การเกษตรดานการเลี้ยงสัตว โดยปฏิบัติตามระบบมาตรฐานของกรมปศุสัตว
มกี ารอนรุ กั ษท รพั ยากรธรรมชาตแิ ละรกั ษาสง่ิ แวดลอ มเพอื่ ใหเ กดิ ประโยชนส งู สดุ กบั
ธรรมชาติ สิ่งแวดลอ มและมนษุ ย ดังนี้
1) มีการใชว สั ดุเศษเหลอื ใชทางการเกษตรเปนอาหารสัตว เชน ตนกลว ย
โดยนาํ ใบกลว ยมาเปนอาหารเสรมิ ในการเพมิ่ ปรมิ าณนํ้านม
2) นาํ มลู แพะทาํ เปน ปยุ เพอ่ื ลดการใชส ารเคมี ชว ยรกั ษาระบบนเิ วศเกษตร
ใหสมบูรณ
3) ทาํ บอ แกสชวี ภาพจากมูลแพะสาํ หรบั ใชใ นครัวเรือน
4) ใชส มุนไพรในการรักษาแพะและเพอื่ การบาํ รงุ สุขภาพแพะ

46

เกษตรเมืองกรุง

5) นําเศษอาหารจากการทําความสะอาดรางอาหารสัตวไปเล้ียงไกหรือ
ปลาในบอ เศษหญา ทําปยุ หมัก และปยุ ทไี่ ดนาํ ไปใสในแปลงหญา และแปลงผกั

6) ใชนํ้าจากแหลงน้ําตามธรรมชาติในการทําความสะอาดฟารม และใช
นํ้าประปาใหสัตวด่ืมและทําความสะอาดอุปกรณตางๆ ไมปลอยน้ําเสียสูคลอง
ไดทาํ การขุดบอบาํ บัดไวก กั เก็บนา้ํ เสียจากการลางคอกแพะ

กลมุ เกษตรกรเลี้ยงสตั วท ุง ครุ
ต้ังอยูบ า นเลขท่ี 23 ซ.ประชาอทุ ศิ 69 แยก 8 ถ.ประชาอุทิศ แขวงทงุ ครุ

เขตทงุ ครุ กรงุ เทพมหานคร เปน การรวมกลมุ กนั ของเกษตรกรทเ่ี ลย้ี งแพะในเขตทงุ ครุ
เพ่ือแกไขปญหาการรองเรียน เปนท่ีศึกษาดูงาน ซึ่งแพะเปนสัตวเศรษฐกิจท่ีสําคัญ
ในเขตทุงครุ เน่ืองจากมีประชาชนนับถือศาสนาอิสสลามมาก จึงเล้ียงตามประเพณี
นยิ มเลย้ี งขายทงั้ เน้ือและนมแพะ ทงั้ ยังสงไปขายยังจงั หวดั ในภาคใตอ ีกดวย

47

เกษตรเมอื งกรงุ

ฟารมเลี้ยงกบแบบครบวงจร
มีคุณหวอง จั่นเพ้ิง เปนเจาของฟารม อยูที่หมูบานจัดสรรรถไฟ

แขวงทงุ สองหอง เขตหลักส่ี โดยเรม่ิ ตงั้ แตผ สม การอนุบาลลูกกบ และการเลย้ี งกบ
รุน ผลผลติ ทีไ่ ดม ีพอ คา มารับซื้อถงึ ที่ สรา งรายไดใหแกเจา ของฟารม เปน อยา งดี

ฟารมแหงน้ีเปนจุดสาธิตการเกษตรดานการเพาะเลี้ยงกบของศูนยบริการ
และถา ยทอดเทคโนโลยกี ารเกษตรประจาํ แขวงทงุ สองหอ ง ทเ่ี ปด โอกาสใหผทู ีส่ นใจ
เขาไปศกึ ษาดงู าน
การเลี้ยงเปดไข

คณุ ซนุ บชู า ทอ่ี ยู 15 หมู 14 แขวงสะพานสงู เขตสะพานสงู กรงุ เทพมหานคร
โทร. 087 635 8777 มเี ปด เล้ียงจํานวน 300 ตัว เลีย้ งแบบปลอยทุง
การเลี้ยงแพะ

การเล้ียงแพะเน้ือและนมของพันโทประเสริฐ พวงมณีย ท่ีอยู 14
ซ.รามคาํ แหง 118 แยก 37-2 แขวง/เขตสะพานสงู กรงุ เทพมหานคร เลยี้ งแบบโรงเรอื น
มแี พะจาํ นวน 30 ตัว เปน แพะนม 10 ตัวแพะเนือ้ 20 ตัว การเลี้ยงใหอ าหารแบบ
หยาบและขน

48

เกษตรเมอื งกรงุ

ตลาดและแหลง จาํ หนา ยผลผลิตทางการเกษตร
อนุ ใจอนรุ กั ษ
เปนพิพิธภัณฑเคร่ืองมือเครื่องใชทางการเกษตรและของใชโบราณ ตั้งอยู

ในซอยบรมราชชนนี 115 ถนนบรมราชชนนี (ฝงขาออก) ซ่ึงเจาของบานเปดให
เขาชมทุกวันเสาร-อาทิตย และวันหยุดนักขัตฤกษ เวลา 09.00-17.00 น.
โทร. 081 866 3560 ( คณุ ประดษิ ฐ ) 086 898 2822 ( คณุ วรรณา )

ตลาดน้ําตลง่ิ ชนั
ตลาดนาํ้ ทเี่ กา แกท ส่ี ดุ ในเขตตลงิ่ ชนั กอ ตงั้ เมอื่ ป พ.ศ. 2530 สาํ หรบั ขายสนิ คา
ตางๆ ที่เปนภูมิปญญาของชาวตลิ่งชันและชุมชนใกลเคียง มีสินคาตางๆ อาทิ

49


Click to View FlipBook Version