The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เส้นทางการท่องเที่ยวเชื่อมโยงเส้นทาง R3A ไทย สปป.ลาว และจีน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by cstd, 2021-05-18 05:17:53

เส้นทางการท่องเที่ยวเชื่อมโยงเส้นทาง R3A ไทย สปป.ลาว และจีน

เส้นทางการท่องเที่ยวเชื่อมโยงเส้นทาง R3A ไทย สปป.ลาว และจีน

Keywords: เส้นทางท่องเที่ยว

จากนนั้ เดินทางทองเที่ยวเชิงเกษตร เขาชมและแวะชิม สมโอเวียงแกน
ของดีขึ้นชื่ออีกอยางหน่ึงของจังหวัดเชียงราย กอนที่จะเดินทางตอโดยรถยนต
ไปยังสปป.ลาว หรือเดินทางทองเที่ยวตอไปในสถานที่ทองเที่ยวสําคัญอ่ืน ๆ
ของเชียงราย อาทิ ภูชฟ้ี า พระธาตุ และพระตําหนกั ดอยตุง หรือจังหวัดใกลเคียง
กอ นเดินทางกลับ

ภาพจาก explorechiangrai.com

46





ขอ มูลแหลงทองเทีย่ ว

แขวงบอ แกว สปป.ลาว

ภาพ: บานตนไม Gibbon Experience Tour สถานทท่ี อ งเท่ยี ว 3
แนวผจญภัยยอดนยิ มใกลเมืองหวยทราย แขวงบอ แกว
ทมี่ า: http://www.asienreisender.de/houayxay.html

48

เมืองหว ยทราย, แขวงบอ แกว
ຫ້ວຍຊາຍ, ແຂວງບ່ໍ ແກ້ວ (Houayxay, Bokeo Province)

ภาพ: ปา ยตอนรบั นกั ทองเทีย่ วใกลจ ุดผา น ในอดีต ชาวเงี้ยวกลุมหนึ่งจากเมือง
แดนเชียงของ-หวยทราย หมอกใหมไดมาคนหาแหลงหินมีคาตามสองฝง
ภาพ: แผนทีแ่ สดงที่ต้ังเมืองหวยทราย แขวงบอ แมนํ้าโขงจากปากน้ําเก่ิง จนถึงหวยทรายใหญ
แกว ซง่ึ ตรงขามกับอาํ เภอเชยี งของ ประเทศไทย หวยทรายนอย และปากหวยหาย (หวยผาคํา
ภาพ: ชุมชนเมอื งหว ยทราย แขวงบอ แกว เมื่อพบแลวไดกลับไปรายงานเจาฟาขุนจิ่งท่ีเมือง
หมอกใหม ตอมาเจาฟาขุนจิ่งจึงยายผูคน
46 ครอบครัวมาตั้งถิ่นฐานที่เมืองหวยทราย
เ พื่ อ ขุ ด ค น หิ น มี ค า แ ล ะ ข า ย เ ป น สิ น ค า
บรเิ วณดังกลา วจงึ เรยี กวา "บอ แกว "

สมัยราชอาณาจักรลาว เมืองบอแกว
เ ป น เ มื อ ง ห นึ่ ง ใ น แ ข ว ง หั ว โ ข ง / หั ว ข อ ง
(แขวงหลวงน้ําทาในปจจุบัน เม่ือเปล่ียนแปลง
ก า ร ป ก ค ร อ ง เ ป น ส า ธ า ร ณ รั ฐ ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย
ประชาชนลาว จึงต้ังแขวงใหมช่ือแขวงบอแกว
เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2526 ในชวงแรกมีเพียง
3 เมือง คือ เมืองหวยทราย เมืองตนผ้ึง และ
เมืองเมิง เม่ือวันท่ี 5 กรกฎาคม 2535 รัฐบาล
ไดแยกเมืองปากทาและเมืองผาอุดมจากแขวง
อดุ มไซมาขนึ้ กับแขวงบอแกว เม่ือธันวาคม 2536
ไดเปดจุดผานแดนถาวรระหวางเมืองหวยทราย
กับอําเภอเชยี งของ จังหวดั เชียงราย

แขวงบอแกว แบงเขตการปกครอง
ออกเปน 5 เมือง ไดแก เมืองหวยทราย เมือง
ตนผง้ึ เมืองเมิง เมืองผาอุดม และเมอื งปากทา

49

ภาพ: สะพานมติ รภาพไทย-ลาว แหง ที่ 4 (เชยี งของ-หวยทราย
ขามแมน ํ้าโขง เช่ือมตอ ระหวา งประเทศไทยทีห่ มทู ี่ 9 บานดอนมหา
วัน ตําบลเวยี ง อาํ เภอเชียงของ จงั หวัดเชยี งราย กับประเทศลาว
ทีบ่ า นดอน เมอื งหวยทราย แขวงบอแกว ระยะทาง 2.48 กิโลเมตร

ปจจุบันแขวงบอแกวมีถนน R3A ตัดผาน เปน
เสน ทาง คมน าค มระ หวา งไท ย- สปป . ลา ว–จี น
โดยมีสะพานมิตรภาพไทย–ลาวแหงที่ 4 เปนจุดเช่ือม
เสนทางระหวางไทยและสปป.ลาว สะพานแหงนี้
กอสรางแลวเสร็จเม่ือวันท่ี 12 ธันวาคม 2555 เปดใช
อยางเปนทางการเมื่อวันท่ี11 ธันวาคม 2556 โดย
สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรง
เสด็จเปนองคประธานในพิธีเปดสะพานรวมกับนายบุน
ยัง วอละจิต รองประธานประเทศในขณะนั้น สะพาน
มิตรภาพไทย–ลาวแหงท่ี 4 ทําใหเกิดความสัมพันธทาง
เศรษฐกิจที่ดีระหวาง 3 ประเทศ และชวยใหการ
คมนาคมระหวางประเทศสะดวกมากย่ิงขึ้น นอกจากน้ี
แขวงบอแกวยังมีสถานที่ทองเท่ียวหลายแหง เชน วัด
จอมเขามณีรัตน วัดพระธาตุตากผาทอง วัดดอยแดง
อนุสรณสถานไกสอน พมวิหาน เปนตน

ที่มา: สถานเอกอคั รราชทูตไทย ณ เวียงจนั ทน
http://vientiane.thaiembassy.org/th/about/provinces.php?ID=276
ภาพโดย mohigan, CC BY-SA 3.0, https://commons.wikimedia.org/w/index.php?curid=59477400

50

51

วดั จอมแกว มณีรัตน

ວັ ດຈອມເຂົ າມະນີ ລັ ດ

Vat Chome Khaou Maniratn

ตั้ ง อ ยู บ น เ นิ น เ ข า เ ห นื อ เ มื อ ง
หว ยทราย มคี วามสงู ประมาณ 100 เมตร
หันหนาสูแมน้ําโขง หางจากทาเรือ
ทาดาน 200 เมตร ภายในบริเวณวัดมี
พระอุโบสถขนาดกลาง สรางดวยไมสัก
ศิลปะแบบไทใหญ ผนังดานในของ
พระอุโบสถมีจิตรกรรมฝาผนังสีน้ํามัน
เปนศิลปะแบบลาว มีสีสันสวยงาม
ที่หอระฆังมีระฆังและกลองขนาดใหญ
จากยอดหอระฆังสามารถชมทิวทัศนของ
ฝงไทยและทา เรือบคั ไดช ดั เจน

วัดแหงน้ีไดรับการปฏิสังขรณ
ใหมโดยสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา
กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ
สยามบรมราชกุมารี ครั้งเสด็จประพาส
เมอื งหว ยทรายเมอ่ื พ.ศ. 2537
นอกจากนบ้ี นยอดเขาใกลๆ กนั มปี อ มการโน ปอมเกา ของฝร่ังเศส ปจจุบันใชเปน
ท่ตี ง้ั ของกองทัพรัฐบาลสปป.ลาว ไมอนุญาตใหบุคคลทัว่ ไปเขา ชม

52

วดั พระธาตตุ ากผา ทอง

ພະທາດຕາກຜ້ າຄໍ າ

Vat Thad Suvannapha Kam

ต้ังอยูบนเนินเขาสูง 200 เมตร ภาพจาก https://laoedaily.com.la/51050/
ห า ง จ า ก ท า เ รื อ ท า ด า น ป ร ะ ม า ณ
3 กโิ ลเมตร ทางขนึ้ วดั อยูหางจากทาเรือ
เร็วของสปป.ลาวประมาณ 100 เมตร
ภ า ย ใ น วั ด มี พ ร ะ อุ โ บ ส ถ ข น า ด ก ล า ง
เปนศิลปกรรมแบบลาว ไดรับการ
บูรณปฏิสังขรณขึ้นมาใหม ใกลกับพระ
อุโบสถมีพระธาตุต้ังอยู หันหนามาทาง
ฝงไทย ชาวลาวเลาวาทุก ๆ วันขึ้น 15
คํ่า จะมีแสงสีตาง ๆ พวยพุงขึ้นมาจาก
องคพระธาตุ สามารถมองเห็นไดชัดเจน
จากฝงไทย

53

เมอื งตนผงึ้
ເມື ອງຕ້ົ ນເຜິ້ ງ
ภาพ: เกาะดอนซาว (Don Sao Island)
Ton Pheung สถานทที่ องเทย่ี วยอดนิยมของเมอื งตน ผ้ึง

เร่ิมเปนที่รูจักในชวงป ค.ศ. 2008-2009 (พ.ศ. 2551-2552 เมื่อกลุมธุรกิจ
“เจาเหวย” และกลุมทุน “ดอกงิ้วคํา” โดยบริษัทจินมูเหมินจํากัด จากประเทศจีนได
เขามาเชาพื้นท่ีของสปป.ลาว ที่บานตนผึ้งและเกาะดอนซาวเปนระยะเวลา 99 ป
เพ่ือพัฒนาเปนคาสิโน โรงแรม รานอาหาร สถานบันเทิงตาง ๆ และรานคาปลอดภาษี
รวมถึงวางแผนสรางเมืองจีนจําลอง ทะเลสาบจําลอง และหมูบานวัฒนธรรมข้ึน
โดยตั้งชื่อเขตพัฒนานี้วา “เขตเศรษฐกิจสามเหล่ียมทองคํา” (Kings Romans,
เขตเศรษฐกิจและการทองเที่ยวอาเซียน วางแผนลงทุนกวา 3 พันลานดอลลารสหรัฐ
และเริม่ ตนกอ นสรา งโครงการ เม่อื วันท่ี 9 สิงหาคม พ.ศ. 2552 เวลา 09.09 น.

ภาพ: เขตเศรษฐกจิ สามเหลยี่ มทองคาํ ภาพ: Kings Romans Casino

54

ตลาดและชมุ ชนในแขวงบอแกว

ตลาดเมืองบอแกว เปนตลาดเชา
อยทู างทิศใตของตัวเมือง บริเวณน้ี
นับเปนจุดตั้งตนถนนสายหลัก คือ
ถนนเลียบชายฝงโขง สองฝากฝงมี
รานตั้งอยูเรียงรายทั้งรานอาหาร
รานขายสินคาท่ัวไป และรานขาย
ของทรี่ ะลึกจากชนกลมุ นอ ย

หมูบา นนํ้าวาง ถัดจากตัว เมือง ภาพโดย
หวยทรายมาประมาณ 20 กิโลเมตร
จะพบกับหมูบานชาวเขาเผาแวนแตน ທ່ ຽວທ່ົ ວລາວ
ห รื อ แ ล น แ ต น ห รื อ ล า ว ห ว ย
เ ป น ช น ช า ติ เ ก า แ ก ข อ ง ส ป ป . ล า ว
ภ า ย ใ น ห มู บ า น ช า ว บ า น มี วิ ถี ชี วิ ต
เรียบงาย การแตงกายคลายกับชาว
เผาเยา ผูหญิงนุง ซิน่ สน้ั ใชสีดําเปนพื้น
ผชู ายใสเ สอื้ เปดใหเ หน็ หนา ทอง

55

ตลาดและชมุ ชนในแขวงบอแกว

หมูบานตมเหลา เปนหมูบานชาวลาว หมูบานขาวปุน เปนหมูบานชาวลาว
ที่ประกอบอาชีพตมเหลา สาโท กระแซ ที่ประกอบอาชีพทําขนมจีนกันทั้ง
ทั้งหมูบาน ในสปป.ลาวไมถือวาการ หมูบาน สงขายตามแขวงตางๆ ใน
ตม เหลาในครวั เรือนเปนส่ิงผิดกฎหมาย สปป.ลาว และบางสวนสงมาขายยัง
ชาวบานที่วางเวนจากการทํานาจะมา ฝงอําเภอเชียงของในประเทศไทย
ตมเหลากันท้ังหมูบาน ใชวัตถุดิบคือ อีกดวย ชาวลาวนิยมรับประทาน
ขาวเหนียว ปริมาณดีกรีไมแนนอน ขนมจนี ซ่งึ นํามาผสมกับนา้ํ ปลารา
ขึ้นอยูกับระยะเวลาของการหมักบม
แตน า จะสูงกวา 40 ดกี รีขึน้ ไป หมูบานยองหิน เปนหมูบานของ
ชาวไทลื้อ ท่ีอาศัยอยูในประเทศ
ลาว จดุ เดนนา ชมอยูต รงภูมิปญญา
ของชาวไทลอื้ ทสี่ รางบานไมท้ังหลัง
แบบสามารถเคล่ือนยายได โดยนํา
เสาบานแตละตนมาวางบนหิน
สั น นิ ษ ฐ า น ว า เ พื่ อ ป อ ง กั น ไ ม ใ ห
ปลว กมากินไม มากกวาท่ีจะ
ตองการยายบาน

56

4

แขวงหลวงขนอ ม้ําลูทแาหลสงปทปอง.เลทาีย่ วว

ภาพ: ทุงนาแขวงหลวงนาํ้ ทา เปน เสนทางทองเทย่ี วชมธรรมชาตโิ ดยปน จักรยาน หรอื ขีจ่ กั รยานยนตรท ีไ่ ดร บั ความนิยม

57

แขวงหลวงนํ้าทา ภาพ: เครอ่ื งแตง กายชาวไทล้ือ
แขวงหลวงน้ําทา
ຫລວງນ້ໍ າທາ Luang Namtha ภาพ: ชาวเผา ไทดําในเมอื งสิง
พ้ืนที่แขวงน้ีเดิมเปนสวนหน่ึงของแขวงหัวโขง/

หัวของ ตอมาแขวงหัวของถูกยุบลงและแยกออก
เปน 2 แขวง บรเิ วณศูนยกลางของแขวงหัวของเดิมได
เปลี่ยนช่ือเปนแขวงบอแกว สวนพ้ืนท่ีทางเหนือ
ของแขวงหัวของเดิมกลายเปนแขวงใหม คือ
แขวงหลวงน้ําทาในปจ จบุ นั

ป ร ะ ช า ก ร ส ว น ใ ห ญ ข อ ง แ ข ว ง ห ล ว ง นํ้ า ท า
เปนชาวไทล้ือ เดิมเปนสวนหน่ึงของอาณาจักรเชียง
แขง (เชียงลาบ ซ่ึงเปนอาณาจักรของชาวไทล้ือ มี
พ้ืนที่ครอบคลุมสองฝงของแมน้ําโขง คือบริเวณเมือง
ยอง รัฐฉาน ประเทศพมา กับเมืองสิง แขวงหลวงนํ้า
ทาของลาวในปจจบุ ัน เมอ่ื ฝร่ังเศสขยายอิทธิพลเขามา
บริเวณน้ี จึงไดตกลงกับอังกฤษแบงเมืองเชียงแขง
ออกเปนสองสวน ฝงขวาแมน้ําโขงเปนของอังกฤษ
สวนฝงซายแมน้ําโขงเปนของฝร่ังเศสและตกเปน
ของสปป.ลาวในเวลาตอ มา

แขวงหลวงนาํ้ ทา ประกอบดวย 5 เขต ไดแ ก
• เมืองนาํ้ ทา (Namtha ເມື ອງຫຼ ວງນໍ້ າທາ
• เมืองสงิ (Sing District ເມື ອງສີ ງ
• เมืองลอง (Long District ເມື ອງລອງ
• เมืองเวียงพคู า (Viengphoukha District

ເມື ອງວຽງພູ ຄາ

• เมืองนาแล (Nale District ເມື ອງນາແລ

58

ระหวา งปพ .ศ. 2498–2518 พ้ืนที่แถบนี้ ภาพ: พระพุทธรูปในเมอื งสงิ
เคยเปนสมรภูมิรบระหวาง “ขบวนการ
ปะเทดลาว”และกลุมกองโจรของพวกชาวเขา
ส ว น ใ ห ญ เ ป น ช า ว ม ง ที่ ไ ด รั บ ก า ร ห นุ น ห ลั ง
จ า ก สํ า นั ก ข า ว ก ร อ ง ก ล า ง ข อ ง
สหรัฐอเมริกา สงผลใหตัวเมืองถูกทําลาย
จนไมสามารถซอมแซมได ตองยายไปสราง
เมืองใหมท่ีริมฝงแมนํ้าทา หางจากที่ต้ังเดิมไป
ทางเหนือ 7 กิโลเมตร ใกลกับทางหลวงไปยัง
เมืองสิง อดุ มไซ และบอ เต็น

ปจจุบัน นักทองเที่ยวชาวอเมริกันและ
ยุโรปนยิ มเดินทางมาเทย่ี วเมอื งนํ้าทามากยิ่งข้ึน
เน่ืองจากตองการหลีกหนีจากความวุนวายท่ี
เกิดข้ึนในแหลงทองเที่ยวเดิมที่เคยนิยม เชน
วังเวียง และหลวงพระบาง นักทองเท่ียวกลุมนี้
นิยมการทองเท่ียวแบบแบกเป ระยะเวลาใน
การทองเท่ียวยาวนาน และนิยมการใชชีวิต
แบบคนในพื้นท่ีเพ่ือเรียนรูวิถีชีวิต สังคม และ
วัฒนธรรม

ภาพ: ตลาดเชาในแขวงหลวงนาํ้ ทา
ภาพ: กจิ กรรมลอ งเรอื และพายเรอื คายกั
ลอ งแมนา้ํ นํ้าทา เปน กิจกรรมแนะนําสําหรับ
นักทอ งเท่ยี ว

59

60

เขตรกั ษาพนั ธสุ ตั วปานํ้าฮา

Nam Ha National Protected Area

ภาพ: น้าํ ตกผาเยงิ ตั้งอยูหางจากเมืองนํ้าทาไปทางทิศ
ภาพ: ถาํ้ เขาราว ตะวันตกเฉียงใตประมาณ 5 กิโลเมตร
ครอบคลุมพื้นท่ี 2,224 ตารางกิโลเมตร
อยสู งู จากระดบั นํา้ ทะเลประมาณ 500 เมตร
โดยมียอดเขาท่ีสูงท่ีสุดสูง 2,094 เมตร
เป นจุ ดศู นย รว มข อง แม นํ้า 3 ส าย ท่ี
แตกแขนงจากน้าํ โขง คือ นาํ้ ทา (Nam Tha)
น้ําฟา (Nam Fa) และน้ําลอง (Nam Long)
ไดรับการประกาศเปน ASEAN Heritage
Park ในป ค.ศ. 2003 (พ.ศ. 2546

สัตวปาอนุรักษในพื้นท่ี ไดแก ลิง
Assam Macaque เสือลายเมฆ Clouded
Leopard, กระทิง Gaur, กวาง Muntjacs
เสือ และชาง, กบสายพันธุ Amolops
akhaorum (ตง้ั ช่อื ตามชนเผา อะขา รวมท้ัง
นกหายากหลายสายพันธุ อาทิ Crested
Finch Bill, White-bellied Redstart และ
White-necked Laughing Thrush

แหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติอื่น ๆ
ภายในพืน้ ท่ี ไดแ ก ถาํ้ เขาราว (Tham Khao
Rao) น้าํ ตกผาเยิง (Pha Yeung Waterfall)

ภาพ: อาหารพ้ืนเมอื งลาว จัดเตรยี มสาํ หรบั นักทอ งเทยี่ วท่ี
เลือกการเดนิ ปา ผจญภยั ในเขตรกั ษาพนั ธสุ ตั วป า น้าํ ฮา

61

พระธาตุหลวงนาํ้ ทา

Nam Tha Stupa

ตั้งอยูในวัดสามัคคีธรรม เปนพระธาตุคูเมืองแขวงหลวงนํ้าทา
สรางเมื่อวันท่ี 21 เดือนกันยายน พ.ศ. 2547 ภายในพระธาตุหลวงนํ้าทา
นักทองเที่ยวสามารถเขาไปนมัสการกราบไหวพระประธานได วัดสามัคคี
ธรรมตั้งอยูบนเขา จึงทําใหสามารถมองเห็นเมืองหลวงน้ําทาไดอยางงดงาม
แหงหนึ่งเชนกัน ดานหนาทางข้ึนพระธาตุหลวงนํ้าทาจะมีบันไดพญานาค
ซ่งึ เปนความเช่ือของประชาชนชาวลาววาเปน ส่ิงศกั ดิ์สทิ ธิ์คูบานคเู มือง

วดั หลวงเชยี งใจ ตั้งอยูทางทิศตะวันตก
ວັ ດຫລວງຊຽງໃຈ / Wat Xieng Jai ของถนนสายหลักในเมืองใกล
กับแมน้ํา อยูในแขวงหลวง
นํ้าทา สปป.ลาว สรางขึ้นเม่ือป
พ.ศ. 2430 เปนสถาปตยกรรม
ทางพระพุทธศาสนาแบบไทล้ือ
ภายในพระอุโบสถเปนหลังคา
ทรงสูง ดานนอกประดิษฐาน
พระธาตุสที อง รูปทรงแปลกตา

62

วดั พระธาตุเชียงตงึ
ພະທາດຊຽງຕຶ ງ
Xieng Teung Stupa

อยูท่ีแขวงหลวงน้ําทา สปป. ลาว ต้ังอยูทางทิศใตของตัวเมือง เปนเจดีย
ฐานแปดเหลี่ยมสูง 10 เมตร ตั้งอยูบนเนินเขาศักด์ิสิทธ์ิ เปนสถาปตยกรรมแบบ
ลานชางและลานนา ทุกปในวันเพ็ญเดือน 12 ชาวเมืองจะฉลองบุญขึ้นพระธาตุ
เปนงานใหญประจําป เชนเดียวกับงานฉลองพระธาตุหลวงเวียงจันทนซ่ึงจัด
ในวันเดียวกัน

ตามตํานานเลาวา พระนางเขมา ชายามายของอดีตเจาฟาเมืองเชียงแขง
เปนผูสรางพระธาตุองคนี้ข้ึนเม่ือ พ.ศ.2338 กอนจะสรางพระธาตุ พระนางเขมา
พรอมบุตรชายและผูติดตามจํานวนหนึ่ง ไดอพยพมาสรางชุมชนข้ึนบริเวณเชิงดอย
ทีต่ ง้ั พระธาตุ จากนัน้ จึงเรมิ่ กอสรา งองคพระธาตขุ น้ึ นับแตน ั้นมา พระธาตุเชียงตึงได
กลายเปนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจําเมืองสิง ทุกวันเพ็ญ ขึ้น 15 ค่ําเดือน 12 จะมี
งานบุญใหญเพ่ือสักการะองคพระธาตุทุกป นอกจากชาวเมืองสิงแลว ชาวเมือง
ใกลเคียง เชน เมืองหลา เมืองพง ในเขตปกครองตนเองชนชาติไตสิบสองปนนาของ
จนี ก็มารว มทาํ บุญและสกั การะองคพระธาตดุ ว ย

63

เขตเศรษฐกจิ บอหาน-บอ เต็น
ເຂດເສດຖະກິ ດ ບໍ່ ຫານ-ບ່ໍ ເຕັ ນ

ป ค.ศ. 2016 (พ.ศ. 2559 ผูนําจีน และสปป.ลาว ไดลงนามขอตกลงในการ
จดั ตงั้ เขตเศรษฐกิจพเิ ศษรวมบอเตน็ -บอหาน พน้ื ท่ี 24 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ
15,000 ไร โดยที่ฝายจีนจะถอยเขตดานศุลกากรและดานตรวจคนเขาเมือง
จากเสนชายแดนบอหาน (โมฮั่น ลึกเขาไปทางฝงประเทศจีน 6 กิโลเมตร สวนฝาย
สปป.ลาวจะถอยเขตดา นศุลกากรและดา นตรวจคนเขาเมืองจากเสนชายแดนเขามายัง
ฝงบอ เต็นของสปป.ลาว 5 กโิ ลเมตร ทัง้ น้ีจนี จะใชเ งนิ ลงทนุ พัฒนาระบบสาธารณูปโภค
เชื่อมโยงมายังเขตเศรษฐกิจรวมบอหาน-บอเต็นในครั้งนี้ประมาณ 2 แสนลานหยวน
หรอื ราว 1 ลานลานบาท
ก ลุ ม บ ริ ษั ท ไ ห เ ฉิ ง Haicheng Group (云南海诚实业集团股份有限)
เปน ผเู ขามาซอ้ื พน้ื ทีจ่ ากกลมุ หวงจินเฉงิ (黄金城) เดมิ ที่เคยลงทุน
รัฐบาลจีนไดลงทุนสรางทางรถไฟ และพัฒนาถนน เสนทางจากจ่ิงหงมา
บอหานจาก 4 เลน เปน 8 เลน และยังสรางสนามบินหางจากบอหานประมาณ
30 กิโลเมตร เพื่อนํานักทองเท่ียว นักธุรกิจ รวมถึงใชขนสงสินคาเกษตรท่ีเนาเสียงาย
เชนผลไม และผักตาง ๆ ของจีนทางตอนใตมาไวที่บอหานเพื่อสงเขาสปป.ลาว และ
ประเทศไทย
ภาพ: การกอสรางรมิ เสน ทาง R 3 A

ภาพ: ดานพรมแดนบอเตน็ ภาพ: หลักเขตแดน สปป.ลาว – จีน ณ ดานบอเตน็ สปป.ลาว
สปป.ลาว
64

ขณะเดียวกันเพ่ือใหสอดรับกับระบบสาธารณูปโภคท่ีรัฐบาลจีนอยู
ระหวางเรง ดําเนินการมายังเขตเศรษฐกิจพิเศษแหงนี้ รัฐบาลจีนยังเปดประมูลให
เอกชนของจีนเพ่ือดําเนินจัดต้ังศูนยจัดเก็บและกระจายสินคา (Distribution
Center : DC) ในเขตเศรษฐกิจพิเศษรวมบอหาน-บอเต็น (อยูในฝงบอหานของจีน
หางจาก อ.เชียงของของไทย 243 กม. บนพ้ืนที่ 4.83 ตารางกิโลเมตร ในศูนยนี้
จะมีทั้งคลังสินคา ที่เปนหองเย็นและไมใชหองเย็น สถานีและศูนยขนสงสินคาทาง
รถยนต ลานจอดรถ มีรานคาทั่วไป รานคาปลอดอากร (Duty Free รานอาหาร
และภัตตาคาร มโี รงแรมระดบั 4 ดาว เพอื่ รองรับนกั ทองเท่ียว โดยศูนยนี้จะใชเงิน
ลงทุน 8,000 ลานบาท เขตเศรษฐกิจพิเศษบอเต็น แบงออกเปน 4 พ้ืนท่ีสําคัญ
ไดแ ก

• เขตการการคา ประกอบดวย รานคาปลอดอากร โรงละคร ศูนยแลกเปลี่ยน
สินคา ถนนคนเดนิ แบบชนพ้ืนเมอื ง สถานีขนสง ระหวางประเทศ และโรงแรม
• เขตแปรรูปและโลจิสติกส ประกอบดวย ศุลกากร ศูนยแปรรูปเพื่อการสงออก
โกดงั หองเยน็ สถานีขนสง ทางบก เทรดด้ิง อาคารสํานักงาน
• เขตทองเที่ยว ประกอบดวย ทะเลสาบ หมูบานวัฒนธรรม เจดีย การแสดง
พ้ืนเมือง สโมสร ตลาดนัดกลางคนื แหลง บันเทงิ โรงแรมและแหลงบันเทงิ
• สนามกอลฟ
ทีม่ า :http://www.thansettakij.com/content/74340
https://www.posttoday.com/columnist/566105
https://www.thaibizchina.com

65

5 ขอ มูลแหลง ทองเที่ยว
เขตปกครองตนเองชนชาตไิ ท
สบิ สองปนนา ประเทศจีน

ภาพ: Dafusi (Great Buddha Statue) at the Mengle monastery, Jinghong, Xishuangbanna, province Yunnan,
China. This Buddha statue is 49m high and weights 400 tons. It is the largest one in South-East Asia.

66

เขตปกครองตนเองชนชาติไท
สบิ สองปน นา

Xishuangbanna Dai Autonomous Prefecture

西双版纳傣族自治州

เทศมณฑลเมอื งฮาย นครเชียงรุง
Menghai County Jinghong City

勐海县 景洪市

เทศมณฑลเมืองลา
Mengla County

勐腊县

ประวัติศาสตรส บิ สองปน นา

ในสมัยโบราณเคยเปนที่ตั้งของอาณาจักรนานเจา มีเมืองหลวงอยูท่ี
หนองแส หรอื เมอื งตาลี่ในประเทศจีนปจจุบัน เม่ือประมาณ 825 ปกอน สิบสองปน
นามีสถานะเปนราชอาณาจักรหอคําเชียงรุง ปกครองโดยพญาเจือง หรือสมเด็จ
พระเจา หอคาํ เชียงรุงท่ี 1 ตามตําราของไทย เมื่อพุทธศตวรรษที่ 18 ชาวมองโกลได
รุกรานอาณาจักรลานนา สิบสองปนนาจึงตกอยูใตการปกครองของมองโกล และ
กลายเปน เปน สวนหน่งึ ของจนี แผนดินใหญในเวลาตอ มา (ตามประวตั ศิ าสตรจ ีน

ราชวงคอาฬโวสวนตาลเร่ิมออนแอลงตั้งแตสมัยสมเด็จพระเจาหอคํา
เชียงรงุ ท่ี 3 (ทา วอา ยปุง หรอื รชั กาลที่ 3 แหงราชวงคอ าฬโวสวนตาล

67

จากน้ันเกิดความวุนวายเปล่ียนแปลงเรื่อยมา จนกระทั่งสมัยรัชกาลที่ 24
ทาวอนิ เมงิ (ทาวอนิ เมือง อาณาจักรสิบสองปนนาเร่ิมเปนปกแผนมากท่ีสุด การขยาย
อาณาเขตเขา ไปยึดถงึ เมอื งเชยี งตงุ เมอื งแถน (เดียนเบยี นฟู เชียงแสน ลานชาง ทําให
ชาวไทล้ืออพยพจากเชียงรุงและอีกหลายหัวเมืองลื้อเขาไปสูดินแดนดังกลาว เพ่ือเขา
ไปต้ังชุมชนปกครองหัวเมืองประเทศราช จึงเห็นไดวามีชาวไทล้ือกระจายไปทั่วท้ัง
เมืองแถน หัวเมืองทางเหนือของลาว ทุกเมือง รัฐฉานของพมา จนถึงเชียงตุง และ
แถบไตค งจนถึงปจ จุบนั

สิบสองปนนาดํารงความม่ันคงเฟองฟูอยู 100 กวาป ก็ถูกรุกรานอีกคร้ังโดย
ชาวมองโกล และตกอยูในการปกครองของจีนอีกคร้ังในป พ.ศ. 1835 เม่ือถึงรัชกาล
ท่ี 33 อาณาจกั รสบิ สองปนนากส็ ิ้นสดุ อํานาจการปกครอง และยอมรับอํานาจของมอง
โกล โดยพระเจากรุงจีนสงตราหัวเสือ (จุมกาบหลาบคํา มาใหเปนตราแผนดินแทน
ตรานกหสั ดีลงิ ค มีการเปลีย่ นชื่อเจาผูครองนครจากช่ือภาษาไทล้ือเปนภาษาจีน เจาผู
ครองนครชาวไทลอ้ื ถูกเรยี กวาเจา แสนหวีฟา

เมอื่ พุทธศตวรรษท่ี 21 พมาไดก อ ต้ังอาณาจักรตองอู และขยายอาณาเขตของ
ตนไปทางตะวันออก พมาไดโจมตีสิบสองปนนา จากนั้นจึงไดแบงเมืองเชียงรุงเปน
สบิ สองปน และกลายเปน เมอื งในปจจุบัน ไดแก เมอื งฮาย มาง หุน แจ ฮิง ลวง อิงู ลา
พง อู ออง และ เชียงรุง เรียกเมืองกลุมนี้รวมกันวา สิบสองปนนา ในยุคน้ีเปน
ชวงเวลาทีว่ ฒั นธรรมพมา และ ศาสนาไดเ ขาไปในสบิ สองปน นา

เมืองลา

68

หลังจากพระเจากาวิละไดปลดปลอยเชียงใหมและอาณาจักรลานนา
จากพมา พระเจากาวิละทรงพิจารณาเห็นวาเมืองเชียงใหมขณะนั้นเปนเมืองราง
เพราะผคู นหนภี ัยสงคราม อีกทัง้ ในกาํ แพงตัวเมอื งเชยี งใหมยังมีตนไมเถาวัลยปกคลุม
ชุกชุมดวยเสือ สัตวปานานาพันธุ ผูคนของพระองคมีนอยไมอาจบูรณะซอมแซม
เมืองใหญได ดังน้ันจึงยกทัพไปกวาดตอนผูคนโดยไปตีเมืองไตในดินแดน ๑๒ ปนนา
ท้ังไตลื้อ ไตโหลง (ไทใหญ ไตขึน (คนไตลื้อในเมืองเชียงตุง ไตลื้อเมืองยอง ไตลื้อ
เมอื งลวง ไตล้ือเมืองพน เมอื งหยว น เมืองลา มาอยูเชียงใหม เชียงราย ลําพูน พะเยา
และนาน เปนจํานวนมาก ซ่ึงเรียกกันวายุค "เก็บผักใสซา เก็บขาใสเมือง" เปนวิธี
ฟนฟูอาณาจักรลานนาวิธีหนึ่ง เพราะกอนน้ันพมาไดกวาดตอนชาวลานนาไปอยูท่ี
พกุ าม และมณั ฑะเลยจํานวนมาก

ในชวงสงครามโลก สิบสองปนนาซ่ึงอยูใตการปกครองของจีนลูกลด
ความสําคัญลง เมืองเชียงรุงถูกลดสถานะจากเมืองหลวงเปนแคเมือง พรอม ๆ กับ
ปลดเจาผูปกครอง โดยสมเด็จพระเจาหอคําเชียงรุงท่ี 44 หรือ เจาหมอมคําลือ
(刀世勋) เปนกษัตริยองคสุดทายของอาณาจักรไทล้ือ พระองคเปนหลานชาย
และเปนราชบุตรบุญธรรมของพระเจาแผนดินองคกอน โดยกําเนิดจากเจาหมอม
แสนเมือง พระอนุชาของพระเจาแผน ดนิ องคกอน

เจาหมอมคําลือเกิดเมื่อป ค.ศ. 1928 (พ.ศ. 2471 และไปเรียนหนังสือที่
เมืองฉงช่ิง ป ค.ศ. 1944 (พ.ศ.2487 เมื่ออายุได 16 ป ไดเขา “พิธีฮับเมือง” แต
ในชวงนั้นเกิดสงครามมหาเอเชียบูรพา (ค.ศ. 1939-1945 พิธีฮับเมืองจึงไมสมบูรณ
ทานจึงกลับไปเรียนหนังสือ และแตงตั้งใหเจาหมอมแสนเมือง พระราชบิดาเปน
ผูสําเร็จราชการแทนพระองค เจาหมอมคําลือกลับมาทําพิธีฮับเมืองคร้ังท่ีสองเมื่อ
ค.ศ. 1948 ขณะอายุ 20 ขณะน้ันเกิดการเปล่ียนแปลงการปกครองภายในประเทศ
จีน (ป ค.ศ. 1949-1950 ทานจึงกลายเปน “กษัตริยองคสุดทาย” ถูกเปล่ียน
ฐานันดรศักด์ิจากกษัตริยเ ปน สามญั ชน โดยทยี่ งั มิไดบ ริหารราชการแผน ดนิ เลย

69

หลังเปล่ียนแปลงการปกครองแลวทานไดศึกษาตอระดับมหาวิทยาลัยท่ี
มหาวทิ ยาลยั ยูนนาน และแตงงานกับ สิว จ๊ิว เฟน ชาวจีนคุนหมิง ในป ค.ศ.1953 กอน
จะทาํ งานเปนนกั วจิ ยั ดา นภาษาศาสตรอีก 8 ป ที่สถาบนั วิจยั ชนกลมุ นอ ยแหง ชาติ สังกัด
สภาวิทยาศาสตรประเทศจีน ในมหาวิทยาลัยปกกิ่ง ตอมาเจาหมอมแสนเมืองไดขอให
รัฐบาลจีนยายทั้งสองกลับมาท่ีคุนหมิงโดยมาทํางานเปนนักวิจัยดานภาษาซึ่งรวมถึง
อกั ษรไทลอ้ื

จนกระทั่งป ค.ศ. 1971 รัฐบาลจีนมีคําส่ังใหเจาหมอมคําลือและภรรยา
ไปทาํ งานในชนบททํางานในสวนออยที่อําเภอเชียงกุ ซึ่งอยูทางตอนเหนือของสิบสองปน
นา เปนเวลา 9 ป การใชเวลาในสวนออยนี้ สิว จ๊ิว เฟน เลาวา สามารถพกหนังสือ หรือ
ตาํ ราเขา ไปอานไดด วย

หลังจาก เต้ิง เส่ียวผิง ไดเปนนายกรัฐมนตรีของจีนแลว เห็นวานโยบายเอียง
ซาย นโยบายที่ใหเจานายไปใชแรงงานในชนบท เปนนโยบายที่ผิดพลาดในปจจุบัน
ดังน้ันเจาหมอมคําลือและภรรยาจึงมีโอกาสกลับคุนหมิง โดยทํางานเปนนักวิจัยที่
สถาบันวิจัยชนชาติในมหาวิทยาลัยชนชาติยูนนานจนกระทั่งเกษียณอายุ โดยมีคุณวุฒิ
ทางวชิ าการคือ “ศาสตราจารย”

อยางไรก็ดี หลังจากเกษียณอายุแลวทางการจีนไดใหฐานะทางสังคมแก
เจาหมอมคําลือในฐานะเจานายเกา โดยดํารงตําแหนงรองประธานสภาท่ีปรึกษา
การเมืองระดับมณฑล และกรรมการสภาท่ีปรึกษาการเมืองแหงชาติ มีท่ีพัก และ
รถประจําตําแหนงให ปจจุบันทานเกษียณจากทุกตําแหนง ท้ังน้ีผูมีแซเตา (刀) ในสิบ
สองปน นาคอื ผสู ืบเชอ้ื สายเจาผคู รองดินแดนแหงนี้

70

71

สวนมานเทิง (Manting Park)
และวดั ปาเจ (วัดปาเชตมหาราชฐาน

ส ว น ม า น เ ทิ ง เ ป น
ส ว น ส า ธ า ร ณ ะ ข น า ด ใ ห ญ
มี ส ถ า น ที่ สํ า คั ญ ห ล า ย แ ห ง
ใ น พื้ น ที่ เ ช น เ จ ดี ย ข า ว
ส ว น น ก ยู ง แ ล ะ วั ด ป า เ จ
ซึ่งเปรียบเสมือนศูนยกลาง
พุ ท ธ ศ า ส น า ข อ ง เ มื อ ง
สิบสองปนนา เปนโรงเรียน
ปริยัติธรรมหรือโรงเรียนพระ
ร ว ม ท้ั ง ยั ง เ ป น ท่ี จํ า วั ด ข อ ง
พระสังฆราชแหงสิบสองปน
นา และเปนท่ีต้ังของเจดียเก็บ
อัฐิของเจาฟาช าวไตแหง
ราชวงศสบิ สองปน นาอีกดว ย

72

สิบสองปนนาเปนศูนยกลางพุทธศาสนานิกายเถรวาท (นิกายเดียวกับ
ประเทศไทย กอนที่จีนจะทําการปฏิวัติโดยเหมาเจอตุงน้ัน สิบสองปนนาถือเปน
รัฐอิสระ มีการปกครองแยกตางหากจากจีนสวนกลาง แตหลังจากจีนเปลี่ยน
เปนระบอบคอมมวิ นสิ ต จนี ไดล มลางศาสนารวมท้ังนิกายตางๆ เมืองสิบสองปนนาท่ี
เคยปกครองโดยระบอบกษัตริยจึงถูกยกเลิก "พระเจาคําลือ หรือพญาคําลือ"
กษัตริยองคท่ี 45 ของสิบสองปนนาซ่ึงเปนกษัตริยของราชวงศเชียงรุงในขณะนั้น
ถูกนําไปอยูในสถานที่กักกันกรุงปกกิ่ง พระราชวังถูกเผา วัดถูกปด หามทํากิจกรรม
ศาสนาพุทธและการปกครองแบบกษตั รยิ  จึงสูญสิ้นไปจากเมืองสบิ สองปนนา

พระพุทธศาสนาไดรับการฟนฟูอีกครั้ง หลังจากที่จีนไดเปดประเทศในสมัย
ประธานาธิบดเี ตง้ิ เสย่ี วผิง ผูนาํ รุนที่ 2 ของจนี วดั ปาเจท่ีไดรับการบูรณะข้ึนใหมถูก
สรางเปนปราสาทหลังใหญ แสดงใหเห็นศิลปะแบบไทลื้อไดอยางชัดเจน สะทอนถึง
ความรุงเรืองและความยิง่ ใหญของพุทธสถาปตยใ นยุคกอนหนา

73

หมูบานกานหลานปา

(Ganlanpa)

เปนหมูบานวัฒนธรรมไทลื้อที่เปดใหนักทองเท่ียวเขาชม ปลูกบาน
แบบเรือนใตถุนสูงหลังคาดิน ทางการจีนอนุรักษหมูบานกานหลานปาไว
เปน เสมือนศูนยการเรียนรวู ัฒนธรรมของชาวไทในประเทศจีน โดยยังคงเปน
หมูบานท่ีคนไทอาศัยอยูจริง แตรัฐใหเงินทุนสนับสนุนและวางขอจํากัดใน
การพฒั นาหมบู า น รวมถงึ สงเสรมิ ใหช าวบา นนาํ เอาวถิ ชี ีวิต ศิลปะ ผลิตภัณฑ
ต ล อ ด จ น ก า ร แ ส ด ง แ ล ะ พิ ธี ก า ร ต า ม ป ร ะ เ พ ณี วั ฒ น ธ ร ร ม อ อ ก แ ส ด ง
เพือ่ ตอนรบั นกั ทองเที่ยว

74

แนะนาํ แผนการเดินทาง 6

และเสน ทางทอ งเทย่ี วทางเลอื กอ่ืนท่ีนา สนใจ

แผนการเดินทางและเสนทางทองเท่ียวบนเสนทาง R3A เปนแผนการ
เดินทางที่สามารถเชื่อมโยงตอเน่ืองจากแผนการทองเท่ียวในจังหวัดเชียงราย
จากอําเภอเมือง สูเชียงแสน และเชียงของ 4 วัน 3 คืนโดยหากทองเที่ยวตาม
เสนทางดังกลาว ในชวงบายของวันท่ี 4 เม่ือสิ้นสุดการเดินทางท่ีแกงผาไดแลว
นักทองเที่ยวสามารถเดินทางกลับเขาสูอําเภอเชียงของ เพื่อขามสะพานมิตรภาพ
แหง ท่ี 4 เขา สเู มอื งหว ยทราย แขวงบอแกวไดใ นชวงบาย

75

ข้นั ตอนและเอกสารที่ใชป ระกอบการผานแดน
จากประเทศไทยไปยงั สปป.ลาว

จุดผานแดนถาวร สะพานมิตรภาพ แหงที่ 4 (เชียงของ - หวยทราย
เปดทําการทุกวันตั้งแตเวลา 6.00 น. ถึง 20.00 น. การเดินทางผาน
จดุ ผา นแดนถาวรชายแดนไทย-สปป.ลาว สามารถเดินทางได 2 วิธี คือ

1. ใชหนังสือเดินทาง (Passport) สามารถใชหนังสือเดินทางไทยที่มีอายุใช
งาน ไมต่ํากวา 6 เดือน ตรวจลงตราไดที่ดานสากลทุกแหงในสปป.ลาว
สามารถเดินทางทองเท่ียวอยูในประเทศลาวได 30 วัน โดยไมตองเสีย
คาตรวจลงตรา (Visa) สําหรับชาวไทยเน่ืองจากเปนประเทศสมาชิก
ประชาคมอาเซียนเชนเดียวกัน สําหรับชาวตางชาติท่ีไมใชประชาชน
อาเซยี นตองทาํ การตรวจลงตรา (ขอ Visa)

2. การใชบัตรผานแดน (Border Pass) และเสียคาเหยียบแผนดิน หากไมมี
หนังสือเดินทาง สามารถทําบัตรอนุญาตผานแดนชั่วคราวเขาไปเท่ียวใน
สปป.ลาวได โดยตอ งดาํ เนินการขอบัตรผานแดนทศ่ี าลากลางจังหวัดท่ีมีดาน
สากลตั้งอยู ไดแก เชียงราย เลย หนองคาย นครพนม มุกดาหาร และ
อุบลราชธานี แตไมสามารถเดินทางไปยังแขวงอ่ืน ๆ นอกเหนือจากแขวง
ซึ่งเปนเสนทางท่ีนักทองเที่ยวใชบัตรผานแดนเขาสปป.ลาว นักทองเท่ียวจึง
ทองเท่ียวไดเฉพาะแขวงบอแกวภายในเวลา 3 วัน 2 คืน และตองออกจาก
สปป.ลาว ณ จดุ ผานแดนเดียวกบั ทเ่ี ดนิ ทางเขา ประเทศเทา น้นั

76

เอกสารสําหรับผานแดน
จากประเทศไทยไป สปป.ลาว

มี 3 ประเภท ไดแ ก
1. หนังสือเดินทาง (Passport) ใชสําหรับประชาชนไทย ลาว และประชาชน

ประเทศที่สาม ระยะเวลาพํานักไมเ กนิ 1 เดือน สามารถเดินทางไปไดท่ัวประเทศ
และพํานกั อยนู อกพ้นื ท่ชี ายแดนที่กําหนดไวใ นความตกลงได
2. หนังสือผานแดน (Border Pass) ใชเฉพาะประชาชนไทยและลาวที่มีภูมิลําเนา
อยใู นพน้ื ท่ีชายแดนที่ระบุไวใ นความตกลงเทานั้น มีอายุ 1 ป ระยะเวลาพํานักไม
เกนิ 3 วัน 2 คืน โดยจะตองอยใู นพืน้ ท่ีชายแดนท่ีกําหนดไวในความตกลงเทาน้ัน
และตองเดนิ ทางกลบั ออก ณ ชองทางทผ่ี านเขามา
3. หนังสือผานแดนชั่วคราว (Temporary Border Pass) ใชสําหรับประชาชนไทย
และลาวที่มีภูมิลําเนาอยูนอกพ้ืนที่ชายแดนที่ระบุไวในความตกลงใชไดครั้งเดียว
ระยะเวลาพาํ นักไมเกนิ 3 วนั 2 คืน ใชห ลักปฏบิ ัตเิ หมอื น (ขอ 2

เอกสารที่ใชป ระกอบในการ
ทําบตั รผา นแดนช่วั คราว

1. รูปถาย ขนาด 1 นิ้ว 2 รูป
2. สําเนาบตั รประชาชน (สําหรับเด็กทย่ี งั ไม
มีบัตรประชาชนใหใ ชสําเนาสูตบิ ตั รแทน
3. สาํ เนาทะเบียนบา น
4. เงินคา ธรรมเนยี ม 30 บาท โดยจะเสียคา
เหยยี บแผน ดินท่ฝี ง ประเทศลาว 50 บาท

77

การขอตรวจลงตรา (Visa) ณ สถานเอกอัครรฐั ทูต
สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว

สําหรับนักทองเท่ียวชาวตางชาติท่ีมิใชประชาชนอาเซียนตองทําการขอตรวจลง
ตรา (Visa) ณ สถานเอกอัครรัฐทูตสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ตั้งอยูที่
520.502/1-3 ซอย สหการประมูล ถนน ประชาอุทิศ แขวงวังทองหลาง เขตวัง
ทองหลาง กทม. 10310 เปดทําการเวลา 9.00 – 17.00 น. โดยสามารถสอบถาม
ขอมูลไดท่ีหมายเลข โทรศัพท: 02 539 6667 ปกติจะใชระยะเวลาประมาณ 2-3 วัน
ทําการในการขอรับการตรวจลงตรา (Visa) แตสามารถการตรวจลงตรา (Visa) แบบ
เรงดว นได โดยใชระยะเวลาประมาณ 3 ชั่วโมง และมีคาธรรมเนียมพิเศษ โดยเอกสาร
ประกอบการทํารบั การตรวจลงตรา (Visa) สปป.ลาว ไดแ ก

1. แบบฟอรมคาํ ขอรับการตรวจลงตรา (Visa) ท่กี รอกขอ มูลครบถวนแลว
2. รูปถาย ขนาด 1 นวิ้ 2 รูป
3. หนังสือเดินทางฉบับจริง ตองเปนหนังสือเดินทางฉบับลาสุด มีอายุคงเหลือ

มากกวา 6 เดือน และมีหนาวางสําหรับวีซาไว 1 หนา พรอมสําเนาหนาขอมูล
ของหนงั สือเดนิ ทาง 1 ฉบับ
4. คา ธรรมเนยี ม

Visa on Arrival

สําหรับชาวตางชาติบางประเทศสามารถมาขอการตรวจลงตรา (Visa) ได
ที่หนาดานสากลของสปป.ลาว (Visa on arrival) โดยมีคาธรรมเนียมระหวาง 30 –
40 ดอลลารสหรัฐข้ึนกับสัญชาติของผูขอ และสามารถอยูในสปป.ลาวได 30 วัน
หากตองการอยนู านกวานนั้ สามารถขยายเวลาเพม่ิ ได โดยเสียคาธรรมเนียมสว นท่เี กนิ

78

การนาํ รถยนตสว นตวั ผา นแดน
จากประเทศไทยเขาสปป.ลาว

สามารถทําหนังสือขออนุญาตไดท่ีสํานักงานขนสงจังหวัดของทุกจังหวัดท่ีมีดาน
สากลขามไปประเทศลาว โดยเอกสารทีต่ อ งใชไดแก

1. หนังสืออนุญาตรถยนตระหวางประเทศ (สมุดสีมวง และสต๊ิกเกอร
เคร่ืองหมายแสดงประเทศ (IT PLATE) ขอไดท่ีสํานักมาตรฐานงานทะเบียน
และภาษรี ถ สํานกั งานขนสงจังหวัด เสียคาธรรมเนียม 55 บาท เม่ือเสร็จแลว
จะไดสมุดเลมมวงสําหรับ บันทึกการเขา - ออกของรถยนตระหวางไทยลาว
และสติ๊กเกอรต ัวอกั ษร (T PLATE) 2 แผน สาํ หรับติดหนาและหลงั รถ

2. ใบอนุญาตขับขี่รถยนตระหวางประเทศ (ใบขับข่ีสากล ขอไดที่กรมการขนสง
ท า ง บ ก ก รุ ง เ ท พ ห รื อ ใ บ อ นุ ญ า ต ขั บ ข่ี ร ถ ย น ต ท่ี ยั ง ไ ม ห ม ด อ า ยุ
(แปลเปน ภาษาอังกฤษแลว

3. กรมธรรมประกันภัยบุคคลท่ี 3 ภายในประเทศ สสป. ลาว ซ้ือไดท่ีดาน
ตรวจคนเขา เมืองของ สปป. ลาว

การเดินทางเขา สปป.ลาว ตองไปท่ีดานตรวจคนเขาเมือง นํารถไปตรวจที่
เจาหนา ทศ่ี ุลกากร เจาหนา ท่จี ะประทับตราวันทีน่ าํ รถออกนอกประเทศในสมุดเลมสีมวง
พรอมประทบั ตราในใบตรวจรถยนตเขาออกจากราชอาณาจักร (เปนกระดาษขนาด A4)
ตองเก็บรักษาเอกสสารฉบับนี้ใหดี หากทําหายจะไมไดรับอนุญาตใหนํารถยนตกลับเขา
ประเทศไทย

เม่ือขามไปฝงลาวแลว ตองซื้อกรมธรรมประกันภัยบุคลท่ี 3 ที่สํานักงานตัวแทน
ประกันภัยบริเว ณดานตรว จคนเขาเมือง โดยตองแจงระยะเวลาที่จะซ้ือ
(อยางต่ํา 5 วัน สามารถตออายุวันตอวันไดท่ีที่ทําการขนสงของเมือง แตตองกอน
หมดอายุกรมธรรม และแจงรายช่ือแขวงท่ีจะเดินทางไป (ถาไปหลายแขวงตองแจงให
ครบ นักทองเที่ยวจะไดรับเอกสาร 2 ชุด คือ ใบอนุญาตนํารถเขาประเทศลาว และ
เอกสารการทําประกันบุคคลท่ี 3 พรอมสติ๊กเกอรสี่เหลี่ยมสีเขียวแจงอายุของกรมธรรม
สําหรับติดหนารถ 1 ใบ จากน้ันตองไปเสียภาษีการนํารถยนตเขา สปป. ลาว ท่ีแผนก
ภาษขี องศุลกากร จะไดเอกสาร (สีเขียว พรอ มสต๊ิกเกอรติดหนารถ 1 ใบ

79

ขน้ั ตอนและเอกสารที่ใชใ นการผา นแดน
จากสปป.ลาว ไปยังประเทศจีน

เนอ่ื งจากเสนทาง R3A เชื่อมโยงไทย สปป.ลาว และประเทศจนี ทางตอนใต
เขาดว ยกนั หากนกั ทอ งเท่ยี วตองการเดินทางเขา ไปทองเทยี่ วในประเทศจีน ตองใช
หนงั สือเดนิ ทางเทา นน้ั

การยืน่ คาํ รอ งขอวซี า จีนแตกตางจากทางยุโรปและอเมริกา เนื่องจากทางการ
จนี ไมไ ดมกี ารเก็บลายน้ิวมือดิจิทัล และไมตองถายรูปหนาใหมนอกเหนือจากที่รูปถาย
ที่แนบมากบั เอกสาร จึงทําใหนกั ทอ งเทีย่ วสามารถมอบฉันทะใหบุคคลอ่ืนไปย่ืนคํารอง
แทนได และทําใหมีบริษัทที่บริการรับย่ืนวีซาจีนแทนตัวนักทองเท่ียว อยางไรก็ตาม
การวาจางใหบริษัทรับย่ืนวีซาทําเรื่องใหตองเสียคาบริการเพ่ิมเติมตางหาก วีซาจีน
จําเปนตองยื่นคํารองกอนการเดินทางอยางนอย 1 เดือน แตลวงหนาไมเกิน 3 เดือน
โดยขัน้ ตอนในการขอย่ืนวีซา ดวยตนเองสามารถทําไดด ังนี้

80

ข้นั ตอนการขอวซี าจีน

การย่ืนคํารองขอวีซาจีนแตกตางจากทางยุโรปและอเมริกา เนื่องจากทางการ
ประเทศจีนไมไดมีการเก็บลายน้ิวมือดิจิทัล และไมตองถายรูปหนาใหมนอกเหนือจาก
ท่ีรูปถายที่แนบมากับเอกสาร จึงทําใหนักทองเท่ียวสามารถมอบฉันทะใหบุคคลอื่น
ไปยื่นคํารองแทนได และทําใหมีบริษัทท่ีบริการรับยื่นวีซาจีนแทนตัวนักทองเที่ยว
อยางไรก็ตามการวาจางใหบริษัทรับยื่นวีซาทําเรื่องใหตองเสียคาบริการเพิ่มเติม
วีซาจีนจําเปนตองยื่นคํารองกอนการเดินทางอยางนอย 1 เดือน แตลวงหนาไมเกิน 3
เดือน โดยขนั้ ตอนในการขอยื่นวซี า ดวยตนเองสามารถทําไดดงั นี้

1. กรอกแบบฟอรมของศนู ยร ับคาํ รองขอวีซาจีน (Chinese Visa Application
Service Center หรือ CVASC) โดยสามารถกรอกดว ยตนเองดวยลายมือใน
แบบฟอรม Visa Application Form of the People’s Republic of
China (2013 ซงึ่ ดาวนโหลดไดจาก www.visaforchina.org หรือสามารถ
รับฟอรมไดท่ีศูนยรับคํารองขอวีซา (CVASC) หรือ กรอกขอมูลบนระบบ
ดิ จิ ทั ล โ ด ย ใ ช แ บ บ ฟ อ ร ม ย่ื น คํ า ร อ ง ข อ วี ซ า อ อ น ไ ล น จ า ก
www.visaforchina.org จากนั้นพิมพเอกสารดังกลาวท่ีกรอกขอมูล
ครบถว นแลว ไปไปย่นื กับทางศูนยร ับคาํ รองขอวซี า (CVASC)

2. ทําการนัดหมายกับศูนยรับคํารองขอวีซา (CVASC) ไดผานเว็บไซต
www.visaforchina.org เตรียมเอกสารประกอบการพิจารณา และเดินทาง
ไปย่ืนเอกสารที่ศูนยรับคํารองขอวีซา (CVASC) โดยสามารถย่ืนดวยตนเอง
หรือย่ืนผานบุคคลอื่นโดยการแนบใบมอบฉันทะ (ภาษาอังกฤษ
โดยเจาหนาทีจ่ ะชวยตรวจเอกสารทง้ั หมดกอนการยนื่ คํารอ ง

3. โดยปกติจะใชเวลารอผลวีซาประมาณ 4 วันทําการ และสามารถตรวจสอบ
ผลการดําเนนิ การไดจากเว็บไซต www.visaforchina.org

81

เอกสารการขอวีซาจีน

1. เอกสารคํารอ งขอ
2. หนังสอื เดนิ ทาง – ตอ งเปน หนงั สือเดินทางฉบับลาสุด มีอายุคงเหลือมากกวา 6

เดือน และมีหนาวางสําหรับวีซาไว 2 หนา พรอมสําเนาหนาขอมูลของหนังสือ
เดินทาง 1 ฉบับ
3. ใบยืนยันการจองต๋ัวเครื่องบิน ตองเปนต๋ัวเครื่องบินท่ีเดินทางจากประเทศไทย
ไปยังประเทศจีนและเดินทางกลับถึงประเทศไทยภายในระยะเวลาท่ีกําหนด
หรอื กรณีทีจ่ ะเดนิ ทางผานดา นชายแดน ตอ งมแี ผนการเดนิ ทางแนบ
4. ใบยนื ยนั การจองโรงแรมที่พัก ตองเปนโรงแรมภายในประเทศจีนและมีการเขา
พักในชวงเวลาทองเท่ียวทร่ี ะบไุ วเ ทา น้ัน
5. หลักฐานรูปถาย โดยเงื่อนไขของรูปถายหนาตรงที่ถูกตองและทางสถานทูต
ยอมรบั ได ดังนี้

• ตอ งเปน รปู ถา ยสี พืน้ หลงั ขาว และไมมกี รอบขาวรอบรปู
• ขนาดกวาง 33 มม. และสงู 48 มม.
• ใบหนาตองมีความกวาง 15 – 22 มม. สูง 28 – 33 มม. ระยะจาก

คางถึงขอบรูปดานลางตองสูงกวา 7 มม.ระยะจากศีรษะถึงขอบรูป
ดานบนตองอยรู ะหวาง 3–5 มม.
• ระยะของภาพตอ งไมใกลไปหรือไกลไป โดยระยะระหวางดวงตาตอง
ไมน อยกวา 60 พิกเซล
• หามใสเสื้อสีขาวและตองใสเสื้อที่มีสีตัดกับพื้นหลังสีขาวชัดเจน
ใบหนาตรง ดวงตาอยูกลางรูป เปดหู ไมหลับตา ไมย้ิมเห็นฟน และ
ตอ งเห็นหนา ผากกบั คิ้วอยา งชดั เจน
• สวมแวนสายตาไรสีได แตกรอบแวนตองบางมากเทาน้ัน หากกรอบ
หนาใหถอดแวนออก (ถา ไมแ นใ จ ใหถอดแวน

82

เอกสารการขอวีซา จีน (ตอ

• หามสวมเครอ่ื งประดับตกแตงท้งั ตา งหหู รือสรอยคอ
• ไมห มวกบดบังศีรษะยกเวน เหตุผลทางศาสนา
• รปู ถา ยตอ งพมิ พล งบนกระดาษสาํ หรบั รปู ถา ยเทา นน้ั

จะเห็นไดวาเง่ือนไขของรูปถายสําหรับการยื่นขอวีซาจีนนั้นเปนส่ิงที่
ยุงยากที่สุดในบรรดาเอกสารท้ังหมดท่ีตองเตรียม ดังนั้นเพ่ือความสะดวก
ทางศูนยรับคํารองขอวีซา (CVASC) จึงมีบริการถายรูปตามหลักเกณฑท่ี
ถูกตองภายในศูนยใหเ ลยในราคา 150 บาท / โหล

คา ธรรมเนียมการขอวีซา จีน

1) การย่ืนคํารองขอวซี าทอ งเทีย่ วแบบ Single Entry เขา -ออกคร้งั เดยี ว
คาธรรมเนยี ม 1,500 บาท

2) การยน่ื คํารอ งขอวซี า ทอ งเท่ยี วแบบ Double Entry เขา-ออก 2 คร้งั
คา ธรรมเนยี ม 2,500 บาท

3) การยน่ื คาํ รองขอวีซา ทอ งเทย่ี วแบบ Multiple Entry แบบ 6 เดือน
คาธรรมเนียม 3,500 บาท

83

สถานทีย่ ่ืนขอวซี า จนี

1) ศนู ยร ับคาํ รอ งขอวซี า จนี
1550 อาคารธนภูมิ ช้นั 5 ถนนเพชรบุรีตดั ใหม แขวงมกั กะสัน
เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400
เวลาทาํ การ: จนั ทร – ศกุ ร ต้ังแตเ วลา 9.00 – 15.00 น.
รับเอกสารคนื ไดถงึ 16.00 น.
กรณีขอยืน่ วซี าดว นตอ งยื่นเอกสารภายในเวลา 11.00 น.

2 สถานกงสลุ ใหญแ หง สาธารณรฐั ประชาชนจีนประจาํ เชียงใหม
111 ถ.ชางหลอ ต.หายยา อ.เมอื ง จ.เชยี งใหม 50100
เวลาทาํ การ: จันทร – ศกุ ร ต้งั แตเวลา 9.00 – 11.30 น.
รบั เอกสารคืน 15.00 – 16.00 น.

ภาพ: แผนทีเ่ ดินทางไปศนู ยรับคาํ รอ งขอวซี า จนี กรุงเทพฯ

84

การนาํ รถยนตสวนตวั ผานแดนจาก สปป.ลาว สูประเทศจีน

การนํารถเขา ไปในประเทศจนี คอ นขา งมีความเขม งวดมากกวา ประเทศไทย ดงั น้ี
1. ก า ร นํ า ร ถ เ ข า ไ ป ใ น ป ร ะ เ ท ศ จี น จ ะ ถู ก เ รี ย ก เ ก็ บ เ งิ น ป ร ะ กั น จํ า น ว น
50,000 หยวน หรือประมาณ 250,000 บาท หากไมวางเงินประกัน
จะไมส ามารถนาํ รถผา นแดนเขา ไปในประเทศจีนได
2. การย่ืนขออนุญาตนํารถผานแดน ตองกระทําลวงหนาไมนอยกวา 1 เดือน
โดยตองมีการตรวจสภาพรถ และทําใบขับข่ีของประเทศจีนดวย ซึ่งการทํา
ใบอนุญาตขับข่ีในประเทศจีนมีขั้นตอนทีย่ ุงยากและทําไดย ากกวา ประเทศไทย
3. ในการรับรองเอกสารเพ่ือนํารถผานแดนเขาไปในจีนนั้น ตองใหกระทรวง
การตางประเทศของไทยทําหนาท่ีรับรองเอกสารใหคนไทย การนํารถยนตสวนตัว
เขาประเทศจีนยงั มีขอ จาํ กัดเร่ืองใบขับขี่สากล ซึ่งไมสามารถนําไปใชเพ่ือขับข่ียาน
ยนตไ ดในประเทศจนี ผูขับข่ที ี่เปนคนตางชาติจําเปนตองไปสอบใบขับขี่ที่ประเทศ
จีนตามกฎระเบยี บท่ปี ระเทศจีนไดว างเอาไว

เวลาเปด ปดดานชายแดน

พ้นื ทีข่ องไทย พ้ืนทขี่ องสปป. ลาว
ดา นพรมแดนอําเภอเชียงของ จงั หวัดเชียงราย ดา นเมืองหวยทราย ดา นสากล
ทกุ วนั 7.00 – 20.00 น. ทกุ วนั 8.00 – 18.00 น.

85

เสนทางการเดินทางแนะนาํ

86

เมืองหว ยทราย

Day สาํ รวจแหลง ทองเท่ยี ว
1 เมืองหวยทราย แขวงบอแกว

ชว งเชา
 เดนิ ทางทอ งเที่ยวในจังหวัดเชียงราย กอนที่จะขามสะพานมิตรภาพแหงที่ 4 สู

เมอื งหว ยทราย แขวงบอ แกว รบั ประทานอาหารกลางวันจากฝงไทย
ชว งบา ย
 สกั การะศาลหลกั เมอื งหว ยทราย กอนเขาที่พกั ริมแมน้าํ โขง ในเมืองหวยทราย
 จากนั้นเดินทางออกจากที่พักไปสักการะพระธาตุตากผาทอง พระธาตุ

คบู า นคเู มืองหวยทรายแหงน้ีตั้งอยูบนเนินเขาสูง 200 เมตร หางจากทาเรือทา
ดานประมาณ 3 กิโลเมตร ชาวลาวเชื่อวาทุกๆวันขึ้น 15 คํ่า จะมีแสงสีตางๆ
พวยพุงขึ้นมาจากองคพ ระธาตุ สามารถมองเห็นไดชัดเจนจากฝง ไทย
ชวงเย็น
 แวะข้ึนเนนิ เขาสูว ัดจอมแกวมณีรัตนเพื่อชมพระอาทติ ยตกดิน เนื่องจากวัดแหง
นี้ต้ังอยูบนเนินเขาเหนือเมืองหันหนาสูแมน้ําโขง มีความสูงประมาณ 100
เมตร หางจากทาเรือทาดาน 200 เมตร พระอุโบสถขนาดกลางของวัดสราง
ดวยไมสัก ศิลปะแบบไทยใหญ ฝาผนังโดยรอบของพระอุโบสถมีภาพเขียนสี
น้าํ มันลกั ษณะเปนศิลปกรรมแบบลาวมีสีสันทส่ี วยงาม
 เดนิ เลนในตลาดคํ่ารมิ แมนา้ํ โขง

วัดจอมแกวมณีรตั น พระธาตุตากผาทอง

87

Day เดินทางสูแ ขวงหลวงน้าํ ทา
2
ชวงเชา
 แวะหาอาหารเชาแบบพื้นเมืองในตลาดเชา

รับประทานกอนออกเดินทางจากเมืองหวยทราย
โดยอาจแวะเที่ยวหมูบานนํ้าวาง ซ่ึงเปนหมูบาน
ชาวเขาเผาแวนแตน หรือ แลนแตน หรือ ลาวหวย
เปนชนชาติเกาแกของสปป.ลาว ภายในหมูบาน
ชาวบานดํารงชีวิตอยูอยางเรียบงาย การแตงกาย
คลา ยกบั ชาวเผา เยา
 หรือแวะหมูบานขาวปุน เพ่ือชิมขนมจีนซึ่งนํามาผสม
กบั นํ้าปลารา ทีเ่ ปนอาหารพืน้ ถิน่ ทนี่ ยิ มอยา งมาก
 หรือแวะหมูบานตมเหลา เปนหมูบานที่ชาวลาว
ประกอบอาชีพตมเหลา สาโท กระแซ กันทั้งหมูบาน
ในสปป.ลาวไมถือวาเปนสิ่งผิดกฎหมาย ปริมาณดีกรี
ไมแ นน อนขึ้นอยูก ับระยะเวลาของการหมักบม
ชว งเย็น
 เดินทางถึงเมอื งน้ําทา แขวงหลวงนํา้ ทา
 กอ นเขา ทีพ่ ักอาจจะแวะขึน้ ไปกราบนมัสการพระธาตุ
หลวงน้ําทา วัดสามัคคีธรรม เปนพระธาตุคูเมือง
แขวงหลวงนํ้าทา สรางเม่ือวันท่ี 21 เดือนกันยายน
พ.ศ. 2547 ภายในพระธาตุหลวงนํ้าทานักทองเท่ียว
ส า ม า ร ถ เ ข า ไ ป น มั ส ก า ร ก ร า บ พ ร ะ ป ร ะ ธ า น ไ ด
วัดสามัคคีธรรมตั้งอยูบนเขา จึงทําใหสามารถ
มองเห็นเมืองหลวงน้ําทาไดอยางงดงามแหงหนึ่ง
เชนกัน ดานหนาทางข้ึนพระธาตุหลวงนํ้าทาจะมี
บันไดพญานาค ซึ่งเปนความเช่ือของประชาชนชาว
ลาววา เปน ส่งิ ศักดสิ์ ทิ ธ์คิ ูบา นคูเมอื ง

88

ทองเทีย่ วแบบผจญภัย Day 3

 สายๆ เดินทางสูเมืองสิง เมืองโบราณเกาแก ภาพ: วัดหลวงเชยี งใจ
ที่มีวัดวาอารามท่ีสวยงาม และโบราณสถาน ภาพ: ถํา้ เขาราว
จํานวนมาก สําหรับนักทองเท่ียวท่ีชื่นชอบ
การขี่จกั รยานทองเท่ียว สามารถเชา จกั รยาน
ข่ชี มเมอื งไดอ ยางเพลิดเพลิน

 ช ว ง บ า ย เ ดิ น ท า ง ไ ป ช ม ค ว า ม ง า ม ข อ
งถ้ําเขาราว (Tham Khao Rao) และน้ําตก
ผาเยิง (Pha Yeung Waterfalls) ในเขต
รกั ษาพนั ธสุ ัตวป า น้าํ ฮา

 กลับมาหาอาหารค่ําพ้ืนเมือง อาทิ เฝอ ปง
ยางประเภทตาง ๆ ในตลาดกลางคืนของ
เมอื งหลวงน้ําทา

89

Day  แนะนําใหออกเดินทางแตเชา
4 เพราะตองใชระยะเวลาเดินทาง
ยาวนานบนถนนที่สภาพเปนหลุม
เดนิ ทางสูประเทศจนี เปนบอและการจราจรของคนและ
ยานยนตที่แออัดอยางย่ิงบริเวณ
ภาพ: ดานพรมแดนบอหาน (โมห าน ดานชายแดน สปป.ลาว –จีน
Mohan) เขตประเทศจนี ตลอดเสนทางตื่นตาตื่นใจกับการ
พัฒนาพ้ืนท่ีโดยทางการจีนเขามา
ภาพ: ดา นพรมแดนบอเต็น สปป.ลาว พฒั นาเสน ทางรถไฟเช่ือมโยงสปป.
ลาวและจีน รวมท้ังทางดวนสาย
ใหมท่ีจะเชื่อมโยง จีน -สปป.ลาว
เขา สปู ระเทศไทย

 แวะซื้อสินคาปลอดอากรท่ีบอเต็น
ซ่งึ เปนพน้ื ท่ีลงทุนของนักลงทุนจีน
ในฝงสปป.ลาว ท่ีต้ังของนิคม
อุตสาหกรรมจีน-ลาว ในอนาคต
อนั ใกล

 ใชเวลาในกระบวนการตรวจคน
เขา เมืองและกระบวนการศุลกากร
ซ่ึงคอ นขางใชเ วลา

 จากน้ันเดินทางตอถึงเมืองเชียงรุง
(Jinghong) เมืองหลักของเขต
ป ก ค ร อ ง ต น เ อ ง ช น ช า ติ ไ ท
สบิ สองปน นา

90

สาํ รวจดนิ แดนชาวไท Day
สิบสองปนนา 5

 ชมความงามของสวน Manting Park
สวนพฤกษศาสตรขนาดใหญ ใจกลาง
นครเชียงรุง นอกจากตนไมท่ีสวยงาม
และนกยูงจํานวนมากแลว อาคารแบบ
สิบสองปนนาผสมผสานกับศิลปะแบบ
จีนก็ทําใหสวนพฤกษศาสตรแหงน้ีเปน
จุดดงึ ดูดนกั ทองเทยี่ วไดอ ยา งดี
 ตอนสายๆ เดินขามฝากจากสวนพฤก
ศาสตร สูวัดปาเจ สถานที่จําวัดของ
พระสงั ฆราชแหง สบิ สองปน นา
 ตอนบายเดินสํารวจชุมชนโบราณของ
ชาวไทรอบเมืองเชียงรุง หลายแหงยังคง
เก็บบา นเรอื นแบบเกาและวถิ ชี ีวิตของชน
ชาติไทไวไ ดอ ยางดี
 ตอนคํ่าชอปปงสุดอลังการในยาน 9 จอม 12 เชียง ชมเจดียขนาดใหญ จําลอง
จากศาสนสถานทั่วเอเซียตะวันออกเฉยี งใต

91

Day
6

เรียนรวู ัฒนธรรมไท

 ต อ น ส า ย ๆ อ อ ก เ ดิ น ท า ง สู
กานหลานปา พน้ื ที่อนุรักษวิถีชีวิต
แบบชาวไทในแผนดินจีน

 ชวงเย็นกลับเขาสูเมืองเชียงรุง
ชมการแสดง“Varanasi Night
Show” ที่ยง่ิ ใหญต ระการตา

 สําหรับทานท่ีจะเดินทางตอไปยัง Day
นครคุนหมิง เพ่ือทองเที่ยวตอไปยัง 7
พืน้ ที่ตา งๆ ของมณฑลยูนนาน คงตอง
เร่มิ ออกเดินทางแตเ ชา โดยอาจใชการ
เดินทางโดยรถยนต หรือใชระบบ
รถไฟที่เช่ือมโยงเครือขายเสนทางไป
ไดทั่วประเทศจีน

 สําหรับทา นท่จี ะเดนิ ทางกลบั สามารถ
ใชเวลาในชวงเชา ซอปปงหาซื้อของ
ฝากของที่ระลึก กอนที่จะเดินทาง
กลับในชวงบายดวยสายการบิน หรือ
กลับทางถนน หรือทางเรือลอง
แมน ํ้าโขงตามอธั ยาศยั

92

แนวทางการพัฒนาและ 7
สงเสริมการทองเท่ียวเชือ่ มโยง

1. การกาํ หนดภารกจิ หนา ที่ และความรบั ผดิ ชอบของหนว ยปฏิบัติงานในระดับ
พื้นที่ใหม ีความไมซ้ําซอ น
ในทางปฏิบัติ ทองเท่ียวและกีฬาจังหวัด (ทกจ. มีหนาท่ีในการพัฒนา

แหลงทองเที่ยว พัฒนาบุคลากรดานการทองเท่ียว สงเสริมกิจกรรมการทองเท่ียว
รวมกับการทองเที่ยวแหงประเทศไทย (ททท. อยางไรก็ตาม โครงสรางของระบบ
ราชการ ยังไมมีการรูปแบบความสัมพันธอยางเปนทางการ รวมทั้งการแบงหนาท่ี
ภารกิจ หนา ที่ และความรบั ผดิ ชอบระหวาง 2 หนวยงานนี้อยา งชัดเจน

2. การพัฒนาแนวทางการสงเสรมิ และพฒั นาการทอ งเท่ยี วเพ่ือตอบสนองความ
ตอ งการแทจ รงิ
ค ว ร ส ง เ ส ริ ม ก า ร ท อ ง เ ที่ ย ว ใ น รู ป แ บ บ ท่ี ยึ ด เ อ า อุ ป ส ง ค เ ป น ห ลั ก

(Demand Driven) ซ่ึงเปนการทํางานในเชิงรุก ควรมีกระบวนการสํารวจความ
คิดเห็นเพ่ือรับรูความตองการแทจริงและการกําหนดแผนการทองเที่ยวอยางมี
ประสิทธิภาพ โดยอาจเริ่มจากการกําหนดกลุมตัวอยาง (Sampling) จากกลุม
ประชากร (Population) ที่หนวยงานสงเสริมและพัฒนาการทองเที่ยวสนใจ
แนนอนวาการไดมาซึ่งกลุมตัวอยางน้ีคงตองเกิดจากกระบวน STP คือการแบงแยก
กลุมประชากรใหเปนหนวยยอย (S: Segmentation) จากนั้นจึงเลือกหาโดย
กาํ หนดวากลุมเปาหมาย (T: Targeting) ท่ีเราตองการคือใคร และสัมภาษณเชิงลึก
(In-depth Interview) รวมถึง ระดมสมอง (Focus Group) เพ่ือใหไดขอมูล
เบื้องตน แลวนํามากําหนดการวางตําแหนง (P: Position) ของสถานที่ทองเท่ียว
รปู แบบการทอ งเที่ยวและเสน ทางการทอ งเทยี่ วทพ่ี วกเขาตองการอยา งแทจริง

93

3. การประสานงานรวมกับหนวยงานตางๆ ตลอดทั้งหวงโซอุปทาน
การทองเทีย่ วและการสรา งระบบการนาํ เสนอขอมลู ท่ีมีมาตรฐาน
นักทองเที่ยวตองการรับรูขาวสารขอมูลที่ครบถวน ทันสมัย และอยูใน

ท่ีเดียวกัน โดยขอมูลเหลาน้ีจะเกิดขึ้นไดก็ตอเม่ือทุกภาคสวนจากตนนํ้า กลางน้ํา
และปลายนา้ํ ตลอดท้งั หวงโซข องอุปทานการทองเที่ยวเขามารวมกันทํางานภายใต
คณะกรรมการการทองเที่ยวจังหวัดที่มีผูวาราชการจังหวัดเปนประธานและมี
ทองเท่ียวและกีฬาจังหวัดเปนเลขานุการ โดยตองใหสํานักงานทองเท่ียวและกีฬา
จังหวัดเปนเจาของและผูดูแล Website จากน้ันจึงขอความรวมมือหนวยงานอ่ืนๆ
ภายใตคณะกรรมการชุดนี้ดึงขอมูลจาก Website นี้ไปเผยแพรผานเครือขายสังคม
ออนไลนของแตละฝายอีกครัง้ เพื่อเปน การเพ่ิมผูสนใจเขา มาสบื คนขอมูล เชน

 www.visit.thailand.go.th เพ่ือเปนจุดศูนยกลางในการประชาสัมพันธ
และใหข อ มูลขาวสารท่ีเก่ียวของกับการทองเที่ยวในระดับประเทศไวที่นี่
ท้งั หมด

 www.visit.northern.thailand.go.th เพื่อเปนจุดศูนยกลางในการ
ประชาสัมพันธและใหขอมูลขาวสารท่ีเก่ียวของกับการทองเท่ียวใน
ภาคเหนอื ไวทน่ี ี่ทงั้ หมด

 www.visit.lanna.thailand.go.th เ พื่ อ เ ป น จุ ด ศู น ย ก ล า ง ใ น ก า ร
ประชาสัมพันธและใหขอมูลขาวสารท่ีเกี่ยวของกับการทองเที่ยวใน
จังหวดั กลุมไวท ่ีน่ที ัง้ หมด

 จากน้ันการตอยอด เชน www.visit.chiangkhong.thailand.go.th
หรือของอําเภอตา งๆ กจ็ ะเกดิ ขึ้น

ระบบการต้ังช่ือ website ในลักษณะดังกลาวก็จะเปนการอํานวยความ
สะดวกใหกับนักทองเที่ยวในการสืบคนขอมูล และเมื่อมีจํานวนผูเขาใชงานจํานวน
มาก ในที่สุด Website ดังกลาวอาจพัฒนาตอยอดเปน e-commerce ในการจอง
โรงแรม รา นอาหาร ซอื้ และขายของฝากของทร่ี ะลกึ ฯลฯ ไดอีกมากมาย

94


Click to View FlipBook Version