The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการจัดทำผังแม่บทการฟื้นฟูย่านเมืองเก่าและการอนุรักษ์ฟื้นฟูย่านกะดีจีน- คลองสาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by cstd, 2021-07-07 00:47:43

โครงการจัดทำผังแม่บทการฟื้นฟูย่านเมืองเก่าและการอนุรักษ์ฟื้นฟูย่านกะดีจีน- คลองสาน

โครงการจัดทำผังแม่บทการฟื้นฟูย่านเมืองเก่าและการอนุรักษ์ฟื้นฟูย่านกะดีจีน- คลองสาน

Keywords: การฟื้นฟูย่านเมืองเก่า

1. วัตถปุ ระสงค์และยทุ ธศาสตร์การดาเนินโครงการ

โครงการจัดทาผังแม่บทการฟื้นฟูย่านเมืองเก่าและการอนุรักษ์ฟ้ืนฟูย่านกะดีจีน- คลองสาน (โครงการ
กรุงเทพฯ 250) เป็นโครงการซง่ึ สานักผงั เมอื ง กรุงเทพมหานคร ร่วมกับศูนย์ออกแบบและพัฒนาเมือง จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย (UddC) เป็นผดู้ าเนนิ โครงการ ถือเป็นโครงการฟ้ืนฟูเมืองโครงการแรกที่ดาเนินการในภาพรวมอย่าง
เป็นระบบ ด้วยวิธีการมองภาพอนาคต (foresight technique) และกระบวนการวางแผนแบบร่วมหารือของคน
หลากหลายกลุ่ม (deliberative process) เพ่อื ให้เกิดการเช่ือมต่อและเติมเต็มกับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร สู่เมือง
น่าอยู่ หลากหลาย และเต็มไปด้วยโอกาสสาหรับทุกคน

ช่ือโครงการ “กรงุ เทพฯ 250” มาจากหมุดหมายในการดาเนินโครงการฟ้ืนฟูเมือง คือ ปี พ.ศ.2575 ซึ่งเป็น
วาระสาคัญในการเฉลิมฉลองการสถาปนา 250 ปีกรุงรัตนโกสินทร์ และ 200 ปีประชาธิปไตยไทย โดยโครงการฯ มี
เปา้ หมายคอื การพัฒนาวิสัยทศั นแ์ ละกรอบแนวทางการฟน้ื ฟูย่านเมอื งเกา่ กรงุ เทพมหานครท่ีสอดคล้องกับทิศ
ทางการพัฒนาระดับเมอื งและระดับประเทศในอนาคต และการพฒั นาต้นแบบของกระบวนการฟ้ืนฟูเมืองผ่าน
กระบวนการร่วมหารือ

โครงการกรุงเทพฯ 250 มีวัตถปุ ระสงค์การดาเนินการ 2 ประการ คอื

1) เพ่อื พฒั นาผงั แม่บทการฟนื้ ฟยู ่านเมอื งเก่า ซงึ่ มีอาณาบรเิ วณคลอบคลุม 17 เขตพื้นท่ีการปกครอง
ในเขตเมืองชนั้ ในกรุงเทพมหานคร

2) เพื่อดาเนนิ การโครงการอนุรกั ษฟ์ ืน้ ฟเู มอื งนารอ่ ง โดยคดั เลอื กพน้ื ทีย่ ่านกะดจี ีน-คลองสาน ซ่ึงเป็น
ตัวแทนยา่ นเก่าประเภทประวตั ิศาสตรแ์ ละศิลปวัฒนธรรมทต่ี ั้งอยรู่ มิ แม่นา้ เจ้าพระยาฝ่ังธนบุรีเป็น
พน้ื ทีน่ ารอ่ งสาหรับการดาเนนิ การ

และมียุทธศาสตรใ์ นการดาเนนิ โครงการ 3 ประการ ได้แก่

1) การดาเนินการวางแผนดว้ ยกระบวนการร่วมหารือของภาคียุทธศาสตร์และผู้มีส่วนได้เสีย
(deliberative process) : เพอื่ ให้ขอบเขตของการฟื้นฟูเมืองครอบคลุมพ้ืนท่ีและประเด็นท่ี
หลา กหลา ย ร วมท้ังเพ่ือสร้า งควา มเป็น เจ้า ของร่วมกัน และเครือข่า ยเชิงสถา บัน
(institutionalized network) ในการผลกั ดนั โครงการฟ้ืนฟเู มืองให้เกิดผลเป็นรปู ธรรม

2) การดาเนินการวางแผนฟื้นฟูเมืองด้วยวิธีการมองอนาคต ( foresight technique) : เป็น
กระบวนการคาดการณ์เหตกุ ารณใ์ นอนาคตอย่างเป็นระบบ โดยคานงึ ถึงปัจจัยรอบด้านท่ีเป็นท้ัง
แรงผลักดัน อปุ สรรค และความไม่แนน่ อนทีอ่ าจพลิกผันสถานการณ์ กระบวนการวางแผนฟื้นฟู
เมอื งดว้ ยวิธกี ารมองอนาคตเปน็ ทางเลือกทช่ี ่วยเติมเต็มกระบวนการวางแผนที่ปฏิบัติต่อเนื่องกัน
มา ทาใหแ้ ผนยทุ ธศาสตรม์ คี วามสอดคล้องกบั บริบทการพัฒนาระยะยาวท่ีมีความเป็นพลวัตสูง
เหน็ ประเดน็ ความเสยี่ งในการพฒั นา และสามารถจัดอันดับความสาคัญของการดาเนินงานได้
อยา่ งมีประสิทธิภาพ อีกทั้งภาพอนาคตท่ีกาหนดได้ยังสามารถนามาแปลความหมายเป็น
ทางเลือก มปี ระโยชนใ์ นการตัดสนิ ใจ และทา้ ทายที่ต่อองค์กรในการปรับเปล่ียนกระบวนทัศน์
และกระบวนการทางานเพอ่ื การเตรียมความพร้อมสาหรบั อนาคต

3
รายงานสรุปสาหรบั ผ้บู ริหาร โครงการจดั ทาผังแมบ่ ทการฟื้นฟูย่านเมอื งเก่า และการอนรุ กั ษฟ์ น้ื ฟูยา่ นกะดีจนี -คลองสาน

3) การดาเนนิ การสอ่ื สารและประชาสัมพันธ์ที่มีประสิทธิภาพ (proactive communication) :
เพอ่ื ให้ผลลพั ธ์ของการดาเนินโครงการเกิดประโยชนส์ ูงสดุ จาเป็นต้องมีการพัฒนาเคร่ืองมือเพื่อ
การสือ่ สารและประชาสมั พนั ธ์ผลการดาเนนิ การที่เกิดขนึ้ ท้งั ในเชิงผลลัพธ์และกระบวนการสู่ผู้มี
สว่ นไดส้ ว่ นเสีย ภาคียทุ ธศาสตร์ และสาธารณะ เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง สร้าง
โอกาสในการรว่ มแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ร่วมตัดสินใจ อันจะนามาซ่ึงการยอมรับและร่วมกับ
ขบั เคลือ่ นโครงการให้ประสบผลสาเร็จในทสี่ ดุ

จากวตั ถุประสงคแ์ ละยุทธศาสตร์ในการดาเนนิ โครงการ จะเหน็ ได้ว่า เน้ือหาของโครงการกรุงเทพฯ
250 แบ่งออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ ได้แก่ การวางผังแม่บทการฟื้นฟูพื้นท่ีย่านเมืองเก่ากรุงเทพมหานคร
(รายละเอยี ดในข้อ 5) และการวางผงั แมบ่ ทการอนุรกั ษ์ฟืน้ ฟยู ่านกะดีจีน-คลองสาน (รายละเอียดในขอ้ 14)

4
รายงานสรปุ สาหรบั ผู้บรหิ าร โครงการจดั ทาผงั แม่บทการฟน้ื ฟยู า่ นเมอื งเกา่ และการอนรุ กั ษฟ์ ้ืนฟยู า่ นกะดีจนี -คลองสาน

แผนที่ 1 ขอบเขตการดาเนินงานการจดั ทาผังแมบ่ ทการฟน้ื ฟยู

5
รายงานสรุปสาหรับผบู้ รหิ าร โครงการจัดทาผังแม่บทการฟื้นฟ

ย่านเมอื งเกา่ (ท่มี า : ศนู ยอ์ อกแบบและพัฒนาเมือง, 2558)

ฟยู า่ นเมืองเก่า และการอนุรักษ์ฟื้นฟูยา่ นกะดจี ีน-คลองสาน

แผนท่ี 2 ขอบเขตเชิงพืน้ ท่ีเพ่อื การดาเนินการอนุรกั ษฟ์ ้ืนฟูย่านกะ

6
รายงานสรุปสาหรบั ผู้บรหิ าร โครงการจัดทาผังแม่บทการฟน้ื ฟ

ะดจี ีน-คลองสาน (ที่มา : ศูนย์ออกแบบและพฒั นาเมอื ง, 2558)

ฟูยา่ นเมืองเก่า และการอนรุ กั ษ์ฟ้นื ฟูยา่ นกะดีจีน-คลองสาน

แผนภูมทิ ่ี 1 กรอบแนวคดิ การดาเนินโครงการ
(ทมี่ า: ศนู ยอ์ อกแบบและพฒั นาเมือง, 2558)

7
รายงานสรุปสาหรับผู้บริหาร โครงการจัดทาผังแม่บทการฟนื้ ฟูยา่ นเมืองเก่า และการอนุรักษ์ฟื้นฟยู ่านกะดจี นี -คลองสาน



2. ภาพอนาคตยา่ นเมืองเกา่ กรุงเทพฯ พ.ศ.2575

การศึกษาภาพอนาคตยา่ นเมอื งเก่ากรงุ เทพมหานคร ผ่านการกระบวนการร่วมหารือระหว่างภาคี
ยุทธศาสตร์และผเู้ ชี่ยวชาญ นามาซ่งึ ผลลพั ธข์ องการศึกษาสาคัญ ดงั นี้

2.1 เทรนด์การเปลยี่ นแปลงยา่ นเมอื งเกา่ กรงุ เทพฯ พ.ศ.2575
เทรนด์การเปลย่ี นแปลงท่ีคาดการณว์ ่าจะเกิดขึ้นในยา่ นเมอื งเก่ากรุงเทพฯ พ.ศ.2575 มีด้วยกันท้ังสิ้น
10 ประเด็น ได้แก่

9
รายงานสรุปสาหรับผูบ้ รหิ าร โครงการจดั ทาผงั แมบ่ ทการฟ้ืนฟยู า่ นเมืองเก่า และการอนุรกั ษฟ์ ื้นฟยู า่ นกะดีจีน-คลองสาน

เทรนดท์ ี่ 1
รางเชอื่ มเมือง (connected tracks)

 การพฒั นาพ้นื ทโ่ี ดยรอบสถานรี ถไฟฟา้ มีบทบาทสาคัญในการดงึ ดูดใหผ้ คู้ นมาใช้ระบบการขนส่งทาง
รางในชวี ิตประจาวันมากข้นึ

 การจดั การพ้ืนท่ีท่มี ีประสทิ ธิภาพทาให้กิจกรรมการเปล่ยี นถ่ายการสญั จรสู่ระบบขนสง่ กึง่ สาธารณะ
และระบบขนส่งทางน้ามปี ระสิทธภิ าพ

 ความสะดวกของระบบขนส่งส่งผลดีต่อธุรกจิ การจดั สง่ สินค้าถึงบา้ นท่จี ะไดร้ ับความนิยมมากขนึ้
ผ้คู นจะเดนิ ทางเพ่อื จบั จา่ ยใช้สอยน้อยลง

ภาพท่ี 1 รางเช่อื มเมอื ง
(ทม่ี า: http://people.reed.edu/~reyn/Bangkokrail.jpg)

10
รายงานสรุปสาหรบั ผบู้ ริหาร โครงการจัดทาผังแม่บทการฟ้ืนฟยู า่ นเมืองเกา่ และการอนุรกั ษ์ฟน้ื ฟูยา่ นกะดจี ีน-คลองสาน

เทรนดท์ ี่ 2
ชีวติ เรยี นรู้ทกุ ที่ทุกเวลา (ubiquitous life)

 วิถีชีวติ ของคนเมืองทีพ่ งึ่ พาเทคโนโลยีสารสนเทศและอุปกรณ์สื่อสารพกพาเปน็ ปจั จัยที่ 5
 การเรยี นรู้ทุกที่ทกุ เวลาโดยไมม่ เี งื่อนไขของสถานที่ ระยะทาง และเวลา
 การเกิดพ้นื ที่สาธารณะที่ปกป้องคนเมืองจากการถูกคุกคามด้วยขอ้ มลู และข่าวสารออนไลน์

ภาพที่ 2 ชีวิตเรยี นรู้ทกุ ที่ทกุ เวลา
(ท่มี า: www.coolinfographics.com)

11
รายงานสรุปสาหรับผบู้ รหิ าร โครงการจัดทาผังแม่บทการฟนื้ ฟยู า่ นเมอื งเก่า และการอนรุ ักษ์ฟื้นฟยู ่านกะดีจนี -คลองสาน

เทรนดท์ ี่ 3
อสิ ระแหง่ การทางาน (freedom of work)

 คนเมืองยคุ ใหมม่ วี ถิ กี ารทางานทย่ี ดื หยุน่ ไมย่ ึดตดิ กับกรอบเวลา องค์กร หรอื สถานท่ี
 การเพม่ิ ขนึ้ ของผูป้ ระกอบการร่นุ ใหม่ทีไ่ มต่ ้องการอยู่ภายใตก้ รอบแนวคดิ แบบเดิม
 การเพ่ิมขึ้นของพ้นื ท่สี านักงานรูปแบบใหม่ เช่น co-working space หรือ sharing office
 ธุรกจิ ที่จะประสบความสาเร็จคือ “ยดื หย่นุ ขนาดเล็ก คณุ ภาพสงู และมปี ระสทิ ธภิ าพ”
 การหวนคนื กลับของธุรกจิ และผปู้ ระกอบการขนาดเล็กในหลากหลายประเภทสู่พื้นทีใ่ จเมือง

ภาพท่ี 3 อิสระแหง่ การทางาน
(ทีม่ า: www.personneltoday.com)

12
รายงานสรุปสาหรับผูบ้ รหิ าร โครงการจดั ทาผังแมบ่ ทการฟืน้ ฟยู ่านเมืองเกา่ และการอนรุ กั ษ์ฟนื้ ฟูย่านกะดจี ีน-คลองสาน

เทรนดท์ ี่ 4
การบริการสาธารณะท่สี ะดวก (convenient public services)

 การพฒั นาจดุ บริการแบบครบวงจรบนความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน
 การบรกิ ารแบบครบวงจรและมีประสทิ ธภิ าพผา่ นเทคโนโลยีสารสนเทศ
 การมีสว่ นรว่ มของประชาชนในการตรวจสอบการบริหารงานของภาครฐั ผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ

ภาพที่ 4 การบรกิ ารสาธารณะทส่ี ะดวก
(ท่มี า: www.servicefutures.com)

13
รายงานสรปุ สาหรบั ผ้บู ริหาร โครงการจดั ทาผงั แม่บทการฟื้นฟูย่านเมอื งเกา่ และการอนรุ ักษ์ฟืน้ ฟยู า่ นกะดจี ีน-คลองสาน

เทรนดท์ ่ี 5
บรู ณาการของการท่องเท่ียวเชงิ วัฒนธรรม (integrated cultural tourism)

 การเกิดพ้ืนที่ทางวฒั นธรรมท่หี ลากหลาย สอดรบั กบั เทรนด์การทอ่ งเท่ยี วเชงิ วัฒนธรรม แนวใหม่
เน้นการสัมผัสประสบการณจ์ ริง

 การลดบทบาทลงของการท่องเท่ยี วแบบชะโงกหน้าดจู ากรถทัวร์
 ธรุ กิจทด่ี นิ ในยา่ นเมืองเก่าถีบราคาพุง่ สูง เกดิ การปรบั เปลีย่ นรูปแบบการถา่ ยโอนกรรมสิทธ์ิ จากการ

ซอื้ ขายขาด เป็นปลอ่ ยเชา่ แบบระยะยาว
 นกั ท่องเทีย่ วเปล่ียนพฤตกิ รรมการจบั จ่ายใชส้ อยในพน้ื ทเ่ี ปน็ การซื้อของทร่ี ะลกึ ผ่านแอพพลิเคช่นั

ตา่ งๆ ออนไลน์

ภาพท่ี 5 บูรณาการของการท่องเท่ียวเชงิ วฒั นธรรม
(ที่มา: www.localalike.com)

14
รายงานสรปุ สาหรับผบู้ ริหาร โครงการจัดทาผงั แมบ่ ทการฟน้ื ฟูย่านเมอื งเกา่ และการอนุรักษ์ฟน้ื ฟูย่านกะดจี นี -คลองสาน

เทรนด์ที่ 6
การผลิตใหมก่ ลางเมอื ง (new urban industries)

 การผลติ ใหม่กลางเมืองท่ีขบั เคลอื่ นโดยเทคโนโลยกี ารผลิตท่สี ะอาดและระบบการผลติ ขนาดเลก็
 เปน็ การผลติ เพือ่ ตอบสนองไลฟ์สไตลเ์ มอื งในอนาคต อาทิ อุตสาหกรรมการท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรม

และสุขภาพ อุตสาหกรรมการเกษตรทางเลือกกลางเมอื ง อตุ สาหกรรมการผลติ โดยเคร่ืองพิมพ์ 3 มิติ
ฯลฯ

ภาพท่ี 6 การผลิตใหมก่ ลางเมอื ง
(ที่มา: www.bloombleg.com)

15
รายงานสรปุ สาหรบั ผ้บู ริหาร โครงการจดั ทาผงั แมบ่ ทการฟน้ื ฟูยา่ นเมอื งเก่า และการอนรุ ักษ์ฟน้ื ฟูยา่ นกะดีจนี -คลองสาน

เทรนด์ที่ 7
แหล่งพลังงานหลากหลายที่เปน็ มติ รต่อสิ่งแวดล้อม
(diversified environmental - friendly energy sources)

 แนวโนม้ การลดการพึ่งพาพลงั งานจากน้ามนั มาเป็นการใชแ้ หลง่ พลังงานหลากหลายท่ีเปน็ มติ รตอ่
สิง่ แวดลอ้ ม

 ภมู ิทัศนเ์ มืองทีส่ ัมพันธก์ ับพลังงานเปลย่ี นแปลงไป เชน่ ป๊ัมนา้ มนั เชือ้ เพลงิ ฟอสซลิ ค่อยๆ ลดจานวน
ลง โดยมีสถานจี า่ ยพลังงานทางเลือกใต้อาคารเขา้ มาแทนท่ี เป็นตน้

 การพัฒนาแหล่งพลังงานทางเลอื กระดบั ชมุ ชน อาทิ พลงั งานขยะ พลงั งานแสงแดด รวมถงึ พลังงาน
ทไ่ี ด้จากการเดนิ เทา้ หรอื ออกกาลังกาย ฯลฯ

ภาพที่ 7 แหล่งพลงั งานหลากหลายทีเ่ ป็นมิตรตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม
(ท่มี า: http://assets.bwbx.io/images/ilti9mXqJSv0/v0/628x-1.jpg)

16
รายงานสรปุ สาหรับผ้บู ริหาร โครงการจดั ทาผังแมบ่ ทการฟน้ื ฟยู ่านเมอื งเกา่ และการอนุรกั ษฟ์ ื้นฟูย่านกะดจี นี -คลองสาน

เทรนด์ท่ี 8
การใช้ประโยชนท์ ่ีดนิ และพื้นท่ีรองรับโครงสรา้ งประชากรกทม. ใหม่

(Land & space for new Bangkokians)

 การพัฒนาอาคารเกา่ เพื่อเป็นท่ีพกั อาศัยรวมแบบ Sharing housing หรือดัดแปลงอาคารเกา่ ขนาด
เลก็ เพ่ือเป็นที่อย่อู าศยั และทท่ี างานในรปู แบบ SOHO (small office home office) มากขึ้น

 การพฒั นาพื้นทีส่ าธารณะทางแนวตงั้ อาทิ สวนสาธารณะลอยฟา้ หอศลิ ป์ลอยฟ้า โบสถ์ ลอยฟ้า
ฯลฯ

 การเปล่ียนแปลงการใชป้ ระโยชน์ทดี่ ินของยา่ นศูนย์ราชการเดิมเพื่อประโยชน์ใชส้ อยใหม่ท่ีเหมาะสม
กบั บรบิ ทการพฒั นารว่ มสมัย

 การขบั เคลอื่ นและสร้างอตั ลกั ษณใ์ หมจ่ ากการแทนทขี่ องกิจกรรมใหม่และคนกลุ่มเลก็ ที่มบี ทบาท
ชัดเจนข้ึนในสงั คม เชน่ กลุ่มศิลปิน หรือชาวต่างชาติ เปน็ ตน้

ภาพที่ 8 การใช้ประโยชน์ทีด่ ินและพน้ื ทร่ี องรบั โครงสร้างประชากรใหม่
(ท่ีมา: www.posttoday.com)

17
รายงานสรุปสาหรบั ผบู้ รหิ าร โครงการจดั ทาผงั แม่บทการฟืน้ ฟูย่านเมืองเกา่ และการอนุรักษ์ฟื้นฟยู ่านกะดีจนี -คลองสาน

เทรนดท์ ี่ 9
ความปกตใิ หม่ของชวี ติ คนเมือง (urbanites’ new normal)

 การหลอ่ หลอมรวมกันของวัฒนธรรมหลากหลายอยา่ งสรา้ งสรรค์
 รปู แบบการดาเนนิ ชวี ติ ท่ีแตกต่างกันมากขนึ้ ตามรายได้ รสนยิ ม และอุดมคติ
 การพฒั นาพ้ืนท่สี าธารณะเฉพาะกล่มุ สะท้อนให้เห็นความเหลื่อมล้าของสงั คมรปู แบบใหม่
 ความขดั แยง้ จากการกดี กัน ความเหลอื่ มล้า และความผูกพันท่ลี ดนอ้ ยลงระหวา่ งกลุ่มคนกบั พืน้ ท่ี

จะนาไปสกู่ ารแสวงหาสมดุลเพ่ือการอยู่รว่ มกันอยา่ งมคี วามสุข

ภาพที่ 9 ความปกติใหมข่ องชวี ติ เมือง
(ทม่ี า: www.e27.com)

18
รายงานสรุปสาหรบั ผบู้ รหิ าร โครงการจดั ทาผงั แม่บทการฟ้ืนฟยู า่ นเมอื งเก่า และการอนุรักษฟ์ ื้นฟยู า่ นกะดีจนี -คลองสาน

เทรนดท์ ่ี 10
การพฒั นาอย่างทว่ั ถงึ (inclusive development)

 การพฒั นาบนพื้นฐานในการสรา้ งโอกาสใหก้ บั คนทกุ กลมุ่ ในสงั คมอยา่ งเสมอภาค
 การแลกเปลยี่ นเรียนรู้ระหวา่ งกลมุ่ คน เพื่อลดปญั หาทางสังคมทีอ่ าจเกดิ ในภายหนา้
 การให้สิทธิประชาชนต่อพลเมอื งพลดั ถิน่ ในระดับท่ีเท่าเทยี มกับพลเมืองไทย
 การพัฒนาธรุ กจิ ทีม่ ีความแตกตา่ งหลากหลายเฉพาะทาง เพือ่ รองรบั กลมุ่ ประชากรประเภทตา่ งๆ ใน

สังคมเมอื ง

ภาพท่ี 10 การพฒั นาอยา่ งทว่ั ถึง
(ที่มา: http://e27.co/wp-content/uploads/2015/03/Bangkok.jpg)

19
รายงานสรปุ สาหรบั ผู้บรหิ าร โครงการจัดทาผังแม่บทการฟ้ืนฟยู า่ นเมอื งเก่า และการอนุรักษ์ฟื้นฟูย่านกะดจี ีน-คลองสาน

2.2 ประเภทของย่านในอนาคต

ประเภทของยา่ นในกรงุ เทพมหานคร ท่ีคาดว่าจะเกิดข้ึนในอนาคต แบ่งได้เป็น 2 ประเภทหลัก 8
ประเภทยอ่ ย ได้แก่

1) ย่านเกา่ ตามรปู แบบคานิยามเดมิ (conventional districts) หมายถึง กลุ่มพ้ืนท่ีที่ถูกกาหนด
ขน้ึ ด้วยคุณลกั ษณะบางประการที่มคี วามสอดคล้องและคล้ายคลึงกัน อาทิ ที่ต้ังเชิงภูมิศาสตร์
ระบบกจิ กรรม อตั ลักษณ์ ฯลฯ และมกี ารใช้ประโยชน์ท่ีดินเพ่ือวัตถุประสงค์หลักอย่างใดอย่าง
หนง่ึ มาเป็นระยะเวลานาน ประกอบด้วย

(1) ยา่ นประวตั ศิ าสตร์และศิลปวัฒนธรรม (historical and cultural districts) : ย่าน
ที่มีปร ะวัติกา รตั้งถ่ิน ฐา นมาเป็นร ะยะเวลา นา น มีองค์ปร ะกอบที่มีคุณค่าเชิง
ประวัติศาสตร์ และวฒั นธรรมหลงเหลอื อยู่ โดยสว่ นใหญม่ สี ัณฐานเชิงกายภาพท่ีสัมพันธ์
กบั ภูมิศาสตรด์ ้งั เดิมของพื้นที่เมือง และยงั คงมีระบบกจิ กรรมทางเศรษฐกิจ สังคม และ
วัฒนธรรมทีส่ บื ต่อกันมา

(2) ย่านศูนย์กลางเศรษฐกิจ (central business districts) : ย่านที่เป็นพ้ืนท่ีศูนย์กลาง
ทางธรุ กิจและกิจกรรมทางการค้าท้งั ในอดตี และปัจจบุ นั มกั มีความหนาแน่นของระบบ
กายภาพและกจิ กรรมสงู กวา่ พืน้ ทเี่ มอื งบรเิ วณอื่นๆ ประกอบไปด้วยกลุ่มอาคารที่มีความ
หลากหลาย เชน่ อาคารแถว สานักงาน อาคารสูง ห้างสรรพสินคา้ เป็นตน้

(3) ย่านศูนยร์ าชการ (government districts) : ยา่ นท่มี ีการใช้ประโยชน์ที่ดินส่วนใหญ่
โดยภาครฐั เพื่อเป็นทีต่ ง้ั ของกล่มุ อาคารสานกั งานของภาครฐั และอืน่ ๆ เช่น ที่พักอาศัย
เปน็ ต้น

(4) ย่านท่ีอยอู่ าศัย (residential districts) : ยา่ นท่ีมีการใช้ประโยชน์ท่ีดินส่วนใหญ่เพื่อ
การอยอู่ าศยั มีรปู แบบทมี่ คี วามหลากหลาย คลอบคลมุ ทั้งย่านที่อยู่อาศัยแนวราบและ
แนวต้งั

2) พ้ืนทอี่ บุ ตั ิใหมใ่ นยา่ นเก่า (emerging districts) หมายถึง กลุ่มพ้ืนที่ที่มิได้ถูกกาหนดขึ้นโดย
คุณลกั ษณะดงั้ เดมิ เช่นกลมุ่ ย่านเก่าข้างต้น แต่เกิดขึ้นจากคุณลักษณะเชิงประเด็นอุบัติใหม่ ซึ่ง
กาหนดได้จากการศึกษาสัญญาณการเปลี่ยนแปลงเชิงระบบ เช่น สังคมคนชรา เศรษฐกิจ
ออนไลน์ เปน็ ต้น ประกอบด้วย

(1) ยา่ นการผลิตใหม่กลางเมือง (new industrial districts) : ย่านเก่าท่ีขับเคล่ือนใหม่
ดว้ ยระบบการผลิตรูปแบบใหม่ โดยมแี นวโนม้ เปน็ เปน็ อตุ สาหกรรมสีเขียวท่ีมีระบบการ
ผลิตขนาดเล็กลงดว้ ยระบบนวัตกรรมและเทคโนโลยที างการผลิตในอนาคต

(2) ย่านสรา้ งสรรค์ (creative districts) : ยา่ นเกา่ ทกี่ ารขบั เคล่อื นใหมด่ ว้ ยกลุ่มคนทางาน
ด้านศิลปะและงานสรา้ งสรรค์ เป็นพน้ื ทีย่ ่านที่ผสมผสานระหว่างที่พักอาศัยและพื้นท่ี
สร้างสรรคง์ าน สามารถสร้างแรงบันดาลใจให้กับชวี ติ ได้ดีในขณะที่มีต้นทนุ ทางราคาท่ีตา่

20
รายงานสรุปสาหรบั ผบู้ ริหาร โครงการจดั ทาผงั แม่บทการฟ้นื ฟยู ่านเมืองเก่า และการอนุรกั ษ์ฟ้นื ฟูยา่ นกะดีจนี -คลองสาน

(3) ยา่ นนานาชาติ (international districts) : ย่านเก่าทไ่ี ดร้ ับการขับเคล่อื นใหม่จากการ
รวมตวั กนั ของประชากรต่างด้าวทอ่ี พยพเข้ามาอาศัยอยู่ในประเทศไทย โดยมีขอบเขต
ครอบคลุมทั้งย่านเก่าท่พี ฒั นามานานแลว้ และยา่ นใหม่ท่ีกาลงั อย่ใู นระหว่างการก่อรูป

(4) ย่านอัจฉริยะ (smart districts) : ย่านอัจฉริยะซ่ึงขับเคล่ือนโดยระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศและระบบการสือ่ สารบนโครงข่ายอิเลคโทรนิคส์ เป็นย่านที่มีขอบเขตของ
พ้นื ที่และประชากรทีไ่ หลลน่ื ไม่ยึดติดกับพืน้ ทท่ี างภมู ศิ าสตร์

21
รายงานสรปุ สาหรับผู้บริหาร โครงการจดั ทาผงั แมบ่ ทการฟ้นื ฟูยา่ นเมอื งเก่า และการอนุรกั ษ์ฟน้ื ฟูย่านกะดจี นี -คลองสาน



3. วสิ ัยทัศน์การฟนื้ ฟูยา่ นเมืองเก่ากรงุ เทพฯ พ.ศ.2575

จากภาพอนาคตย่านเมอื งเกา่ กรงุ เทพฯ พ.ศ.2575 สามารถพัฒนาเป็นวิสัยทัศน์ของการฟ้ืนฟูย่าน
เมืองเกา่ ไดด้ งั นี้

กรงุ เทพฯ 250 อนาคต โอกาส ความหลากหลายของทกุ คน

วิสยั ทัศน์น้ีสะทอ้ นให้เหน็ ภาพอนาคตของย่านเมืองเก่ากรุงเทพมหานคร ที่ถูกขับเคล่ือนและสร้าง
โอกาสในการพฒั นาและเปล่ยี นแปลงในมติ ติ า่ งๆ ทัง้ ในเชงิ กายภาพ และไมใ่ ชก่ ายภาพ ผ่านความหลากหลาย
ระดับใหม่ของเมอื งและผู้คน เป็นวสิ ยั ทศั นก์ ารฟืน้ ฟเู มอื งทน่ี าขอ้ มูลภาพอนาคตกรุงเทพฯ ปี พ.ศ.2575 มาถ่าย
สู่กระบวนการวางแผนฟ้ืนฟูเมืองอย่างเป็นรูปธรรม ผ่านคาสาคัญ 2 คา คือ “โอกาส” และ “ความ
หลากหลาย”

23
รายงานสรปุ สาหรบั ผบู้ ริหาร โครงการจัดทาผังแมบ่ ทการฟนื้ ฟยู า่ นเมืองเก่า และการอนุรกั ษฟ์ ้นื ฟยู ่านกะดีจีน-คลองสาน



4. แนวคดิ การฟื้นฟูย่านเมอื งเกา่ กรงุ เทพฯ พ.ศ.2575

แนวคิดการฟนื้ ฟยู า่ นเมืองเก่ากรงุ เทพฯ พ.ศ.2575 คือ “เช่อื มย่านสู่เมือง สร้างเมืองสู่วิถีชีวิตใหม่
(Strategic Connectivity for Synergic Diversity)” ซึ่งต้ังอยู่บนสมมติฐานที่ว่า การเช่ือมโยงความ
หลากหลายซง่ึ เปน็ อัตลกั ษณท์ สี่ าคัญของกรุงเทพมหานครอย่างมียุทธศาสตร์ จะทาให้เกิดโอกาสใหม่ต่อ
ประชาชนทอี่ ยูอ่ าศยั ในเมอื งใหด้ ียงิ่ ขึ้น ทั้งในเชิงเศรษฐกจิ สงั คม วัฒนธรรม และสิง่ แวดล้อม โดยการเชื่อมโยง
ท่ีกล่าวถงึ นี้ แบง่ เปน็ 3 ระดับ คือ

ภาพท่ี 11 แนวคิดการฟื้นฟูย่านเมืองเกา่ กรุงเทพฯ 2575
(ที่มา : ศนู ยอ์ อกแบบและพฒั นาเมือง, 2558)

1) การเชื่อม โยง ภายใ นย่าน (การเช่ือมโยง แบบอัลฟา (α): Alpha Connectivity) :
ด้วยการปรบั ปรงุ ศกั ยภาพการเข้าถงึ พนื้ ทร่ี ะดับภายในย่าน จากการ ต่อเชื่อมระบบถนน การ
ปรับปรุงเสน้ ทางการสญั จรทางเทา้ และจักรยาน ตลอดจนการทาปา้ ยสญั ลกั ษณ์บอกเส้นทางเพื่อ
อานวยความสะดวกตอ่ การเข้าถึงของกลุ่มคนภายนอก เป็นต้น

2) การเช่ือม โยงระหว่าง ย่าน (การเช่ือมโยง แบบเบตา (β): Beta Connectivity) :
ด้วยการพัฒนาและปรบั ปรุงระบบขนส่งมวลชนสาธารณะประเภทตา่ งๆ ใหเ้ กิดการเช่ือมโยงอย่าง
มีประสทิ ธิภาพ

3) การเช่ือมโยงระหว่างเมือง (การเช่ือมโยงแบบแกมมา (γ): Gamma Connectivity) :
ด้วยการเชือ่ มโยงระบบขนส่งในภาพใหญ่ เชน่ การเชือ่ มโยงด้วยระบบทางหลวง ทางพิเศษ หรือ
เส้นทางรถไฟ ทีส่ ามารถต่อเช่ือมจากกรงุ เทพมหานครไปยงั เมืองต่างๆ

ในปัจจุบัน ย่านเมืองเก่า กรุงเทพมหา นครยังขาดยุทธศาสตร์กา รเช่ือมโยงร ะหว่างย่าน (β
Connectivity) อยา่ งมีประสิทธภิ าพ กล่าวคือ ถงึ แม้ว่านโยบายการพัฒนาระบบขนส่งมวลชนทางราง จะเอ้ือ
ให้เกิดการเปล่ยี นแปลงเชิงบวกต่อเช่อื มโยงเชิงกายภาพและการวางแผนการฟ้ืนฟูเมือง แต่มีการดาเนินการ
ล่าชา้ รวมถึงไมม่ กี ารวางแผนเพอ่ื บรู ณาการระบบการขนสง่ ทางรางสู่ระบบขนส่งสาธารณะระดับรอง อาทิ
ระบบขนส่งทางน้า ระบบขนส่งกึ่งสาธารณะ ฯลฯ ที่ให้บริการอย่างแยกส่วนในปัจจุบัน การเดินทางของ
ชาวกรุงเทพฯ ในชวี ติ ประจาวนั จงึ ยังคงเตม็ ไปด้วยปัญหา อุปสรรค และขาดความสะดวกสบาย เป็นเหตุสาคัญ

25
รายงานสรปุ สาหรบั ผบู้ รหิ าร โครงการจดั ทาผงั แม่บทการฟืน้ ฟยู า่ นเมืองเก่า และการอนุรักษ์ฟื้นฟยู ่านกะดจี ีน-คลองสาน

ท่ที าให้ตอ้ งสูญเสยี เวลาและพลังงานเป็นจานวนมากในการเดนิ ทาง รวมถึงสูญเสียโอกาสในการแลกเปลี่ยน
หมุนเวียนของระบบเศรษฐกจิ ในระดบั เมือง

จากเหตุผลดงั กลา่ ว ผงั แมบ่ ทการฟนื้ ฟูพนื้ ท่ียา่ นเมอื งเก่ากรุงเทพฯ พ.ศ.2575 จึงให้ความสาคัญต่อ
การพัฒนาประสิทธิภาพการเชอ่ื มโยงเชงิ กายภาพในระดบั ระหวา่ งย่าน ใหเ้ ป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพย่ิงขน้ึ

26
รายงานสรปุ สาหรบั ผูบ้ ริหาร โครงการจดั ทาผังแม่บทการฟ้นื ฟยู ่านเมอื งเก่า และการอนรุ ักษ์ฟ้ืนฟูยา่ นกะดจี นี -คลองสาน



5. ผังแมบ่ ทการฟน้ื ฟูยา่ นเมอื งเกา่ กรุงเทพฯ พ.ศ.2575

ผังแม่บทการฟ้ืนฟยู ่านเมอื งเก่ากรงุ เทพฯ พ.ศ.2575 ประกอบด้วยข้อเสนอแนะเชิงยุทธศาสตร์ 3
ประเดน็ ได้แก่

1) การกาหนดจุดยทุ ธศาสตร์เพ่ือการฟื้นฟยู า่ นเมอื งเก่าเพือ่ ชี้นาการฟ้ืนฟเู มืองในภาพรวม
แบ่งเปน็ จดุ ยุทธศาสตรเ์ พือ่ สง่ เสริมกิจกรรมเชิงพาณิชยกรรม และเพื่อกิจกรรมการสัญจร พื้นที่

ยุทธศาสตร์นี้คอื ยา่ นทมี่ ีศกั ยภาพสงู ในการเปน็ ศนู ยร์ วมกิจกรรม และกระจายการสัญจรของผู้คนสู่
ระบบต่างๆ จึงเป็นพ้นื ทที่ ่ีมีความจาเปน็ ในดาเนินโครงการฟ้ืนฟเู มอื งในลาดบั ตน้

2) การเช่ือมโยงจุดยุทธศาสตรด์ ้วยโครงข่ายการสัญจรทมี่ ีประสทิ ธิภาพและพน้ื ที่สีเขยี ว
ประกอบดว้ ย
 โครงขา่ ยการสญั จรทางราง
 โครงข่ายการสญั จรทางนา้ โดยมีแม่น้าเจา้ พระยาเป็นแกนหลัก และส่งเสริมให้มีการ
เดนิ เรอื เพ่ิมเติมจากคลองแสนแสบและคลองภาษีเจริญท่ีมีอยู่ในปัจจุบันในคลองอื่นๆ
โดยเนน้ การต่อเชอ่ื มกบั ระบบการสญั จรทางรางทมี่ ีประสิทธิภาพ
 การเชื่อมโยงพ้ืนท่ีจากจดุ ยทุ ธศาสตร์โดยระบบสญั จรรองที่มีประสิทธิภาพ เป็นการสร้าง
ความคมุ้ คา่ ให้กบั การลงทุนโครงการการขนส่งสาธารณะ
 การเชอื่ มโยงพื้นที่ใต้ทางยกระดับ โดยเฉพาะพ้ืนท่ีใต้ทางยกระดับศรีรัช เนื่องจาก
สามารถเชอ่ื มตอ่ พื้นที่ตา่ งๆ เข้าสู่พ้ืนท่ีพาณิชยกรรมศนู ยก์ ลางเมืองได้โดยตรง โดยอาจ
พัฒนาเปน็ ทางจกั รยาน
 โครงขา่ ยพนื้ ทสี่ ีเขียวระดับเมือง โดยกาหนดแกนส่งเสริมพ้ืนท่ีสีเขียวระดับหลัก ได้แก่
ตามแนวทางรถไฟช่วงหัวลาโพง-บางซ่ือ ที่กาลังจะลดบทบาทภายหลังการพัฒนา
รถไฟฟ้า ตามแนวทางรถไฟสายแมน่ ้า และแกนพนื้ ท่ีสีเขียวระหว่างหัวลาโพง-โรงงาน
ยาสูบ ท่มี พี ืน้ ทส่ี เี ขียวขนาดใหญ่จานวนมาก นอกจากน้ันได้มีการกาหนดแกนส่งเสริม
พ้ืนท่สี เี ขียวระดบั รอง ตามแนวคลองต่างๆ ทม่ี ีความสาคญั ไวด้ ว้ ย ฯลฯ

3) การฟ้ืนฟูพ้ืนท่ีย่านท่ีมีเอกลักษณ์เพ่ือส่งเสริมและสืบทอดเอกลักษณ์ของพ้ืนที่ เช่น พ้ืนท่ี
ประวตั ิศาสตรธ์ นบรุ ี-รัตนโกสนิ ทร์ พนื้ ทสี่ ่งเสริมการพฒั นาทอี่ ยู่อาศยั หนาแนน่ สงู ชน้ั ดี เปน็ ตน้

28
รายงานสรปุ สาหรับผู้บริหาร โครงการจัดทาผังแม่บทการฟนื้ ฟูยา่ นเมอื งเกา่ และการอนรุ กั ษ์ฟ้นื ฟูยา่ นกะดีจีน-คลองสาน

แผนที่ 3 ผงั แมบ่ ท (ยุทธศาสตร์) การฟ้ืนฟยู า่ นเมอื งเกา่
(ทีม่ า : ศนู ยอ์ อกแบบและพัฒนาเมือง, 2558)

29
รายงานสรปุ สาหรับผู้บริหาร โครงการจดั ทาผงั แม่บทการฟน้ื ฟูยา่ นเมืองเก่า และการอนุรักษ์ฟ้นื ฟูยา่ นกะดีจีน-คลองสาน



6. กล่มุ พน้ื ทย่ี ทุ ธศาสตร์เพอ่ื การฟน้ื ฟูยา่ นเมืองเกา่ กรงุ เทพฯ พ.ศ.2575

จากผงั แม่บทการฟืน้ ฟยู า่ นเมืองเกา่ ฯ สามารถแบง่ พ้นื ท่ียทุ ธศาสตร์ฯ ได้เปน็ 7 กลมุ่ พน้ื ท่ี ดังนี้

1) กล่มุ พนื้ ที่รตั นโกสินทร์

ไดแ้ ก่ พ้นื ทก่ี รุงรตั นโกสนิ ทร์ท้ังหมด ตง้ั แตแ่ ม่น้าเจ้าพระยาเร่ือยมาจนถึงคลองผดุงกรุงเกษม การ
เชอื่ มโยงในพ้ืนท่ีเน้นที่ระบบการเดินเท้าและทางจกั รยานเปน็ หลกั มีรายละเอียดของยุทธศาสตร์การเชื่อมโยง
ดังนี้

 การปรับปรุงโครงข่ายถนนเดิม
 การปรับปรุงการเขา้ ถึงพนื้ ทร่ี มิ แม่นา้ เจ้าพระยาเพื่อให้การเช่ือมต่อกับกลุ่มพ้ืนท่ีเมืองเก่า

ธนบุรเี ป็นไปอย่างมีประสิทธภิ าพและสะดวกสบายยงิ่ ข้นึ
 การเช่ือมโยงภายในพื้นท่ีด้วยการฟ้ืนฟูระบบขนส่งทางน้าในคลองผดุงกรุงเกษม เพื่อ

เชื่อมโยงย่านต่างๆ เขา้ ดว้ ยกัน ซึง่ จะไดป้ ระโยชนท์ งั้ ในเชงิ การอยู่อาศัย เศรษฐกิจ และการ
ทอ่ งเทยี่ ว

2) กลุ่มพ้นื ทธี่ นบรุ ี

อยู่บริเวณริมแม่น้าเจา้ พระยา ต้ังแต่เชิงสะพานพระราม 8 เร่ือยมาจนถงึ ย่านคลองสาน มีรายละเอียด
ของยุทธศาสตร์การเช่อื มโยง ดงั น้ี

 การเช่อื มโยงพื้นที่รมิ น้าเขา้ ดว้ ยกนั ผ่านเสน้ ทางเดินรมิ นา้ และภายในชุมชน
 การพฒั นาพืน้ ท่ที ่าเรอื โดยสาร เพอื่ เป็นพนื้ ทตี่ ่อเช่ือมกลุ่มพ้ืนท่ีน้ีเข้ากับย่านอื่นๆ ตามแนว

แม่นา้ เจา้ พระยา และคลองตา่ งๆ ท่ีจะมกี ารส่งเสรมิ การเดนิ เรอื โดยสาร
 การพัฒนาจดุ เปลี่ยนถา่ ยการสญั จรและระบบการขนส่งสาธารณะระดบั รองเพื่อกระจายผู้คน

จากสถานรี ถไฟสูพ่ ื้นที่ปลายทางได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

3) กลมุ่ พ้นื ทบ่ี างรัก-ปทมุ วนั

เปน็ พืน้ ทศี่ นู ย์กลางเศรษฐกจิ ในปัจจบุ ัน การเช่ือมโยงระหวา่ งกล่มุ พ้นื ท่ีนี้กับพนื้ ทีย่ า่ นอ่ืนๆ ในปัจจุบัน
พบว่าอยูใ่ นระดับที่ดีมาก สามารถเชอื่ มต่อกับย่านเศรษฐกิจสาคัญอื่นๆ ของเมือง เช่น ย่านสุขุมวิท ย่าน
รัชดาภเิ ษก ฯลฯ ไดด้ ้วยระบบรถไฟฟา้ ทใ่ี หบ้ ริการอยใู่ นปัจจุบนั และจะมีศักยภาพในการเชื่อมต่อไปยังกลุ่ม
พ้ืนท่เี มอื งเกา่ รัตนโกสนิ ทร์ และพนื้ ทีเ่ มืองเกา่ ธนบุรี ยุทธศาสตร์การเชื่อมโยงของพื้นท่ีกลุ่มน้ีจึงเน้นที่การ
พัฒนาระบบขนสง่ ระดบั รอง และการพฒั นาแกนสเี ขียวระดับเมือง ดังน้ี

 การพฒั นาประสทิ ธภิ าพการเชื่อมต่อจากระบบขนสง่ ทางรางส่รู ะบบขนส่งระดับรองในพ้ืนท่ี
เชน่ รถโดยสารประจาทาง รถตู้ แทก็ ซ่ี มอเตอรไ์ ซค์รับจ้าง ฯลฯ เพื่อการสัญจรที่สะดวกและ
มปี ระสทิ ธภิ าพ อันจะทาให้เกิดการหมนุ เวยี นของระบบกิจกรรมทางเศรษฐกจิ ที่ดียิ่งขน้ึ

 การพฒั นาแกนสีเขยี วขนาดใหญข่ องเมอื ง เริ่มต้นต้ังแต่บริเวณหัวลาโพง ต่อเนื่องเรื่อยมา
ผ่านจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ราชกรฑี าสโมสร สสู่ วนลุมพินี ทผ่ี สานเข้ากับการพัฒนาพ้ืนที่

31
รายงานสรปุ สาหรับผบู้ ริหาร โครงการจัดทาผงั แมบ่ ทการฟน้ื ฟยู า่ นเมอื งเก่า และการอนุรักษ์ฟน้ื ฟยู ่านกะดจี นี -คลองสาน

สเี ขียวตามแนวเสน้ ทางสัญจร สวนแนวต้ัง และสวนหย่อมตามพืน้ ทบ่ี ริเวณต่างๆ เพื่อพัฒนา
คุณภาพของพ้ืนท่ีวา่ งสาธารณะและทางสัญจรให้มคี วามสวยงามร่มร่ืน เอื้อให้เกิดกิจกรรม
การเดินเทา้ และใช้จักรยานในการเดนิ ทางระดบั ภายในยา่ น ซ่ึงจะส่งผลดีตอ่ ธุรกจิ ท้องถิ่นและ
ความมีชีวิตชวี าของยา่ น เป็นปัจจยั สาคญั ทจ่ี ะชว่ ยกระตุน้ เศรษฐกจิ ระดับภายในพน้ื ท่ีให้ดีขนึ้

4) กลุม่ พ้ืนท่บี างคอแหลม-ยานนาวา

อยทู่ างด้านทิศใตข้ องถนนสาทรและถนนพระรามที่ 4 พืน้ ท่ีสว่ นใหญเ่ ป็นที่อยู่อาศัย มีถนนขนานกับ
แนวแมน่ ้าเจ้าพระยาไดแ้ ก่ ถนนเจริญกรงุ และถนนพระรามท่ี 3 ศักยภาพสาคัญของพน้ื ทก่ี ลมุ่ น้ี คือ ทาเลที่ต้ัง
ทอี่ ยตู่ ดิ กบั พืน้ ทพ่ี าณิชยกรรมศูนยก์ ลางเมือง หากมกี ารพัฒนาระบบโครงสร้างพนื้ ฐานและพ้ืนที่สาธารณะให้ดี
ย่งิ ข้ึน จะเปน็ ยา่ นที่อยู่อาศัยหนาแนน่ สูงคุณภาพดีได้ เช่นเดียวกับพ้ืนท่ีพระราม 3 ท่ีมีศักยภาพในการเป็น
พน้ื ทศี่ ูนยก์ ลางพาณชิ ยกรรมใหม่ ยุทธศาสตรส์ าคญั ในการเชื่อมโยงของกลุ่มพื้นที่นี้ คือ การเช่ือมโยงระดับ
ภายในยา่ น มรี ายละเอียด ดงั นี้

 การพฒั นาระบบถนนใหม้ ขี นาดของโครงขา่ ยทเี่ ล็กลงเพื่อแก้ไขปัญหาการเข้าถึงพ้ืนที่ด้านใน
บล็อคขนาดใหญ่ (super block) ซ่ึงทาให้การเขา้ ถึงพืน้ ทีด่ ้านในไมม่ ีประสิทธภิ าพ

 การพัฒนาระบบขนสง่ มวลชนระดบั รอง เพ่อื กระจายผู้โดยสารจากสถานีรถโดยสารด่วน
พเิ ศษ (BRT) ท่ที าหนา้ ท่ีเป็นกระดกู สนั หลังในปจั จุบันสูพ่ ื้นที่บรเิ วณโดยรอบ

 การขยายเสน้ ทางการใหบ้ รกิ ารเรอื โดยสารในแมน่ ้าเจ้าพระยาให้ครอบคลุมพื้นท่ี รวมถึง
ปรับปรงุ ระบบการสัญจรเพ่อื การเข้าถงึ พน้ื ท่ีรมิ น้า เพื่อใหเ้ กิดการเชอ่ื มโยงกบั พ้ืนที่ย่านอื่นๆ
ที่มีประสทิ ธภิ าพย่ิงขึ้น

5) กลมุ่ พ้ืนท่ตี ากสนิ

เป็นพ้นื ท่ีตอนใต้ของฝัง่ ธนบุรีเรือ่ ยมาต้ังแต่ยา่ นทา่ พระถงึ ย่านดาวคะนอง การเช่ือมโยงระหว่างกลุ่ม
พนื้ ทีต่ ากสินกบั กลุม่ พน้ื ที่อื่นๆ ของกรุงเทพมหานครคอ่ นข้างมีประสิทธิภาพ เน่ืองจากปัจจุบันมีทางรถไฟสาย
วงเวียนใหญ่-มหาชัย และรถไฟฟ้าสายสเี ขียวให้บรกิ าร และในอนาคตมแี ผนการพัฒนารถไฟฟา้ สายสีม่วง สาย
สนี ้าเงิน และสายสแี ดงเพ่ิมเติม จึงวิเคราะห์ไดว้ ่าพนื้ ทกี่ ลุ่มตากสนิ จะมบี ทบาทเป็นจุดเปล่ียนถ่ายการสัญจรที่
สาคญั ในอนาคต และมโี อกาสพัฒนาเปน็ พนื้ ที่ศนู ย์กลางเศรษฐกิจของฝั่งธนบุรีท่ียังขาดความชัดเจนอยู่ใน
ปัจจบุ นั มรี ายละเอียดของยุทธศาสตรก์ ารเช่ือมโยงเพ่ือส่งเสริมระบบการขนสง่ ทางราง ดังน้ี

 การสง่ เสริมการเปลีย่ นถา่ ยการสญั จรเขา้ สรู่ ะบบขนส่งสาธารณะระดับรองของพนื้ ท่ี
 การเชือ่ มโยงสู่ระบบการขนส่งทางน้าที่มปี ระสิทธิภาพ

6) กลุ่มพน้ื ที่จรัญสนิทวงศ์

มถี นนจรัญสนิทวงศ์เป็นถนนสายหลกั ของพน้ื ท่ี สว่ นใหญ่เป็นที่อยอู่ าศัย โครงการพัฒนารถไฟฟ้าสาย
สนี า้ เงนิ และสถานีขน้ึ -ลงรถไฟฟ้าท่กี าลังดาเนินการกอ่ สรา้ งอยู่ในปัจจบุ นั จะเป็นปจั จัยสาคัญท่ีทาให้พ้ืนท่ีรอบ
สถานีรถไฟฟ้าทีจ่ ะเกดิ ขึน้ เปน็ จานวนมาก ตามแนวถนนจรญั สนทิ วงศ์มีบทบาทสาคญั ในอนาคต มีรายละเอียด
ของยุทธศาสตร์การเช่อื มโยง ดังนี้

32
รายงานสรุปสาหรับผู้บรหิ าร โครงการจัดทาผังแมบ่ ทการฟื้นฟยู า่ นเมอื งเกา่ และการอนรุ ักษ์ฟืน้ ฟยู ่านกะดีจีน-คลองสาน

 การพัฒนาโดยรอบสถานีรถไฟฟา้ ตามแนวถนนจรญั สนิทวงศ์เป็นจดุ เปลี่ยนถ่ายการสัญจรสู่
ระบบขนส่งสาธารณะระดบั รองของพืน้ ท่ี

 การส่งเสรมิ การเชื่อมโยงสพู่ ้นื ทรี่ มิ น้าและท่าเรอื โดยสาร เน่อื งจากจะทาให้สามารถเช่ือมโยง
กับกลมุ่ พ้นื ที่อน่ื ๆ ไดก้ วา้ งขวางขน้ึ

7) กลุม่ พ้ืนทดี่ สุ ิต-พญาไท
เป็นพน้ื ทีอ่ ยอู่ าศัย โดยมีแหล่งงานซ่ึงส่วนใหญเ่ ป็นพืน้ ที่ราชการปะปนอยู่บนพ้ืนท่ีถนนสายหลัก การ
เชอ่ื มโยงพ้นื ท่ีอย่อู าศยั กบั แหลง่ งานจงึ เปน็ ประเดน็ สาคัญในการพจิ ารณาความเชอ่ื มโยงระหว่างย่าน ซึ่งพ้ืนที่น้ี
คอ่ นข้างไดเ้ ปรยี บ เน่อื งจากมีลักษณะเชิงสัณฐานเป็นตาตาราง (grid) มีถนนสายหลักที่เชื่อมโยงกับกลุ่มพ้ืนท่ี
เมอื งเกา่ รตั นโกสนิ ทรแ์ ละพ้นื ทศ่ี ูนยก์ ลางเศรษฐกิจอยแู่ ล้ว อกี ท้งั ยังมีโครงข่ายรถไฟฟ้าขน ส่งมวลชนท่ีมีอยู่ใน
ปัจจุบัน และที่กาลงั จะก่อสร้างในอนาคตทจ่ี ะเช่ือมโยงพืน้ ท่ใี นแนวเหนือ-ใต้อย่างสมบูรณ์ รายละเอียดการ
สร้างความเช่ือมโยงระหวา่ งย่านของกลุ่มพ้นื ทนี่ ้ี ประกอบด้วย

 การพัฒนาจุดเปลี่ยนถ่ายรอบสถานี
 การพฒั นาระบบขนส่งมวลชนระดับรองเพ่ือเช่ือมโยงพ้ืนท่ี ในแนวตะวันออก-ตะวันตก

เนื่องจากมีศักยภาพพัฒนาเป็นแกนพื้นที่อยู่อาศัยชั้นดี อีกทั้งยังสามารถเข้าถึงแม่น้า
เจา้ พระยา ซง่ึ จะมีหน้าท่ีเป็นพื้นทส่ี าธารณะที่สาคญั และเป็นเส้นทางการขนส่งทางน้าสาย
หลักของเมืองท่ีสามารถเช่ือมโยงไปยังพ้ืน ที่อ่ืนๆ อาทิ กลุ่มพื้นท่ีเมื องเก่าธนบุรี กลุ่ม
พน้ื ทีจ่ รญั สนิทวงศ์ ฯลฯ ได้

33
รายงานสรุปสาหรับผู้บรหิ าร โครงการจัดทาผังแมบ่ ทการฟืน้ ฟูยา่ นเมืองเกา่ และการอนุรักษฟ์ ืน้ ฟยู ่านกะดีจีน-คลองสาน

แผนที่ 4 7 กลุม่ พื้นทเ่ี ชงิ ยุทธศาสตรเ์ พอื่ การดาเนินโครงการฟืน้ ฟเู มือง
(ท่มี า : ศูนย์ออกแบบและพัฒนาเมอื ง, 2558

34
รายงานสรปุ สาหรับผ้บู ริหาร โครงการจดั ทาผงั แม่บทการฟ้นื ฟยู า่ นเมืองเกา่ และการอนุรกั ษ์ฟ้ืนฟยู า่ นกะดีจนี -คลองสาน

กลมุ่ พ้ืนที่ 1

เมืองเกา่ รตั นโกสนิ ทร์

ภาพที่ 12 ย่านราชดาเนนิ กลาง

ภาพท่ี 13 ย่านทา่ ชา้ ง/ทา่ พระจันทร์/สนามหลวง ภาพที่ 14 ย่านเยาวราช

ภาพที่ 15 ยา่ นบา้ นหม้อ/พาหรุ ัด ภาพที่ 16 ย่านบ้านหม้อ/พาหรุ ัด

35
รายงานสรปุ สาหรับผู้บรหิ าร โครงการจดั ทาผังแม่บทการฟืน้ ฟูย่านเมอื งเก่า และการอนุรกั ษฟ์ น้ื ฟูย่านกะดจี นี -คลองสาน

กล่มุ พ้ืนท่ี 2

เมอื งเก่าธนบรุ ี

ภาพที่ 17 ยา่ นวังเดมิ /กรมอู่

ภาพท่ี 18 ยา่ นกะดีจนี /วดั กลั ยาณ์

36
รายงานสรุปสาหรับผบู้ รหิ าร โครงการจดั ทาผงั แม่บทการฟน้ื ฟยู า่ นเมืองเกา่ และการอนรุ กั ษฟ์ ้นื ฟยู า่ นกะดจี นี -คลองสาน

กลุม่ พน้ื ท่ี 3

กลุ่มพน้ื ทีศ่ นู ยก์ ลางเศรษฐกจิ
(พระราม 1/พระราม 4)

ภาพที่ 19 สลี ม/สาทร

ภาพท่ี 20 ยา่ นมกั กะสัน

ภาพที่ 21 ยา่ นหวั ลาโพง/รองเมือง

37
รายงานสรปุ สาหรบั ผ้บู รหิ าร โครงการจัดทาผงั แมบ่ ทการฟื้นฟยู า่ นเมอื งเก่า และการอนรุ กั ษฟ์ ้นื ฟยู ่านกะดจี นี -คลองสาน

กลมุ่ พนื้ ท่ี 4

บางคอแหลม-ยานนาวา

ภาพที่ 22 ย่านสะพานปลา/ยานนาวา

ภาพที่ 23 ย่านสถานีแม่นา้

ภาพที่ 24 ยา่ นถนนตก

38
รายงานสรุปสาหรับผู้บรหิ าร โครงการจัดทาผงั แม่บทการฟ้ืนฟูยา่ นเมืองเก่า และการอนุรกั ษ์ฟืน้ ฟูยา่ นกะดีจนี -คลองสาน

กลุม่ พน้ื ที่ 5

ตากสนิ

ภาพท่ี 25 ยา่ นสะพานปลา/ยานนาวา

ภาพที่ 26 ย่านสถานแี มน่ า้

39
รายงานสรุปสาหรบั ผ้บู ริหาร โครงการจดั ทาผังแม่บทการฟื้นฟูยา่ นเมอื งเกา่ และการอนุรกั ษฟ์ ้ืนฟูยา่ นกะดจี นี -คลองสาน

กล่มุ พนื้ ท่ี 6

จรญั สนทิ วงศ์

ภาพท่ี 27 ยา่ นราชดาเนนิ กลาง

ภาพท่ี 28 ย่านทา่ ชา้ ง/ทา่ พระจันทร/์ สนามหลวง

40
รายงานสรุปสาหรบั ผบู้ ริหาร โครงการจดั ทาผังแมบ่ ทการฟ้ืนฟยู า่ นเมืองเก่า และการอนรุ กั ษ์ฟื้นฟยู า่ นกะดีจีน-คลองสาน

กลุม่ พนื้ ที่ 7

ดุสติ -พญาไท

ภาพท่ี 29 ยา่ นสนามเปา้

ภาพท่ี 30 ยา่ นสนามเปา้

ภาพท่ี 31 ย่านอนุสาวรีย์ชยั สมรภมู ิ ภาพท่ี 32 ย่านถนนโยธี/ราชวถิ ี

41
รายงานสรุปสาหรับผ้บู ริหาร โครงการจัดทาผงั แมบ่ ทการฟ้นื ฟูย่านเมอื งเกา่ และการอนุรกั ษฟ์ ื้นฟยู ่านกะดีจนี -คลองสาน



7. มาตรการสูก่ ารปฏิบตั ติ ามผงั แมบ่ ทเพือ่ การฟน้ื ฟูยา่ นเมืองเกา่

การนาผงั แม่บทเพ่อื การฟนื้ ฟยู า่ นเมอื งเก่าสู่การปฏบิ ตั ิ จาเป็นต้องมีการดาเนินการสองส่วนคือ การ
ดาเนินการโครงการฟนื้ ฟเู มือง และการกาหนดมาตรการเพื่อควบคุมและส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาตามท่ีได้
วางแผนเอาไว้ โดยมีรายละเอียดตามแผนภมู ทิ ่ี x ซ่งึ จาเปน็ ต้องมกี ารดาเนินการควบคู่กันไป

แผนภมู ิที่ 1 การนาผังแม่บทเพ่อื การฟนื้ ฟูยา่ นเมอื งเกา่ สกู่ ารปฏิบตั ิ
(ทมี่ า : ศนู ยอ์ อกแบบและพัฒนาเมือง, 2558)

รายละเอียดของการดาเนนิ โครงการฟนื้ ฟูเมือง จะอธบิ ายในหวั ข้อถัดไปผ่านโครงการนาร่องในย่าน
กะดีจีน – คลองสาน สว่ นมาตรการการนาผงั แมบ่ ทการฟื้นฟูยา่ นเมืองเก่ากรุงเทพมหานครสู่การปฏิบัติน้ัน
สามารถแบง่ ได้เปน็ มาตรการเชงิ กฎหมายและเชิงงบประมาณ โดยมาตรการท่ีจาเป็นสาหรับ การฟื้นฟูย่าน
เมืองเกา่ ท้งั ทีม่ ีอย่ใู นบริบทในปัจจบุ ันและเปน็ กลไกที่ควรมีเพ่ิมเติมในอนาคต สรุปไดด้ งั นี้

43
รายงานสรปุ สาหรับผู้บรหิ าร โครงการจดั ทาผังแม่บทการฟ้นื ฟยู า่ นเมอื งเกา่ และการอนุรักษฟ์ นื้ ฟยู า่ นกะดีจีน-คลองสาน

7.1 มาตรการเชงิ กฎหมาย
มาตรการเชิงกฎหมายเปน็ เครื่องมือสาคัญทง้ั ในเชิงการถ่ายทอดนโยบายสูก่ ารปฏิบัติ และการดาเนิน
โครงการ โดยเนอ้ื หาสามารถแบ่งเปน็ 2 ส่วน ไดแ้ ก่
1) เคร่อื งมอื เชิงนโยบายเพ่ือช้นี าและกากับการพัฒนา : ปัจจุบันมีการใช้เครื่องมือทางกฎหมาย

2 ประเภท ควบคกู่ นั ไดแ้ ก่ ผังเมอื งรวม และข้อบญั ญัตกิ รุงเทพมหานคร
2) เครอื่ งมือในการดาเนินโครงการฟ้ืนฟูเมือง : ประกอบด้วย ผังเมืองเฉพาะ และการกาหนด

เง่อื นไขใหส้ ามารถเพมิ่ อตั ราส่วนพืน้ ทอี่ าคารรวมต่อพ้ืนท่ีดิน (FAR Bonus) ซ่ึงเป็นกลไกท่ีใช้อยู่
ในปัจจบุ นั นอกจากนี้ยังมี การจัดสรรกรรมสิทธ์ิเพื่อการฟ้ืนฟูเมือง (urban redevelopment)
การถา่ ยโอนสทิ ธ์ิในการพฒั นา และบรรษัทพัฒนาเมือง ท่ีเป็นกลไกที่ควรจะต้องมีเพ่ิมเติมใน
อนาคต
7.2 มาตรการเชิงงบประมาณ
มาตรการเชงิ งบประมาณเป็นสิง่ จาอย่างยง่ิ ในการผลักดนั ให้เกดิ การใช้ประโยชน์ที่ดินตามที่ผังแม่บท
กาหนดไว้ หรือกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาบริการสาธารณะโดยที่ไม่เป็นภาระของภาครัฐเพียงฝ่ายเดียว
ประกอบด้วย ภาษีที่ดินและส่งิ ปลูกสร้าง การรว่ มทนุ ของภาครัฐและเอกชน และกองทุนพัฒนาเมอื ง
การดาเนนิ โครงการฟื้นฟูเมอื งจาเปน็ ต้องใชม้ าตรการเชิงกฎหมายและมาตรการเชิงงบประมาณเป็น
เครื่องมอื ในการดาเนนิ การควบคู่กนั สาหรับการดาเนนิ โครงการในพืน้ ทข่ี องรฐั หนว่ ยงานที่เกี่ยวข้องท้ังที่เป็น
เจ้าของที่ดนิ ผใู้ ชง้ าน และหน่วยงานที่มีหน้าที่ดาเนินโครงการควรหารือร่วมกัน และดาเนินการโดยใช้
เครื่องมือทางกฎหมายและงบประมาณทีม่ ีอยู่ในปจั จุบัน โดยตอ้ งดาเนินโครงการฟื้นฟูเมืองในพื้นที่ท่ีเป็นจุด
ยทุ ธศาสตรก์ อ่ นเนอ่ื งจากสามารถเปน็ ตัวกระตุ้นใหเ้ กิดการฟ้นื ฟเู มอื งโดยภาคเอกชน และก่อให้เกิดประโยชน์
แกส่ าธารณะทั้งทางด้านเศรษฐกจิ สงั คม และสง่ิ แวดล้อม
สาหรับการดาเนนิ โครงการโดยภาคเอกชน ภาครฐั ตอ้ งมนี โยบายในการพัฒนาพื้นที่ท่ีชัดเจน และทา
หน้าทช่ี นี้ า โดยอาจใชก้ ารสร้างแรงจูงใจเป็นเครอื่ งมือในการดึงดูดการพฒั นาในรูปแบบท่พี งึ ประสงค์ และเป็น
ประโยชนแ์ กส่ าธารณะ หรืออาจจาเป็นตอ้ งใช้กลไกเชิงกฎหมาย และกลไกเชิงงบประมาณ ในการสร้างความ
เป็นธรรมใหก้ ับสังคมไปพรอ้ มๆ กนั ดว้ ย

44
รายงานสรุปสาหรับผบู้ รหิ าร โครงการจดั ทาผังแมบ่ ทการฟื้นฟยู ่านเมอื งเก่า และการอนุรักษฟ์ น้ื ฟยู ่านกะดีจนี -คลองสาน



8. พนื้ ทด่ี าเนินโครงการฟนื้ ฟูเมอื งนารอ่ ง : ย่านกะดจี ีน-คลองสาน

โครงการกรุงเทพฯ 250 ไดค้ ดั เลอื กพื้นที่ย่านกะดีจีน-คลองสาน เพ่ือเป็นพ้ืนท่ีสาหรับการดาเนิน
โครงการฟืน้ ฟูเมืองนาร่องโดยการอนรุ ักษ์ฟ้นื ฟูพ้นื ท่ีย่าน ท้ังนี้ ดว้ ยเหตผุ ลสาคัญ 3 ประการ ได้แก่

1) ย่านกะดีจนี -คลองสาน เป็นหนงึ่ ในย่านประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมท่ีเก่า แก่ท่ีสุดแห่ง
หนึง่ ของกรงุ เทพมหานคร ที่ยังคงหลงเหลือมรดกทางวัฒนธรรมท้ังท่ีจับต้องได้และไม่ได้ที่
ทรงคุณค่าจานวนมาก ตลอดจนตั้งอยบู่ นทาเลท่ีต้ังยุทธศาสตร์ริมแม่น้าเจ้าพระยาฝ่ังตรงข้าม
กรุงรัตนโกสินทร์ ซ่ึงมผี ลดี คือ กระบวนการวางแผนและกจิ กรรมต่างๆ นั้น สามารถรับรู้ได้ง่าย
และเป็นทสี่ นใจของสาธารณะ

2) ย่านกะดีจีน-คลองสาน เปน็ พ้ืนที่ทีม่ ีระดบั ของต้นทุนทางสังคมสูง ตลอดจนมีสถาบันหลักทาง
สงั คมภายในย่าน อาทิ บ้าน วดั โรงเรยี น ราชการ ตลอดจนผูน้ าท้องถ่นิ และประชาชนที่มีความ
กระตอื รอื รน้ มีประสบการณ์ และความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับกระบวนการมีส่วนร่วมในการฟ้ืนฟู
ยา่ นเก่าเป็นอย่างดี เปน็ ศักยภาพในการผลกั ดันและขบั เคล่ือนโครงการฟื้นฟูเมืองให้สาเร็จเป็น
รูปธรรม

3) ยา่ นกะดจี นี -คลองสาน เปน็ หนึง่ ในเขตย่านเกา่ ทกี่ าลังเผชิญกับแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงด้าน

ตา่ งๆ โดยมีปัจจัยขบั เคล่ือน คือ การพัฒนาและเปิดใช้ระบบขนส่งมวลชนทางราง การเร่งพัฒนา
ภาคอสงั หาริมทรพั ย์บนพื้นทร่ี ิมนา้ ตลอดจนการเจริญเติบโตของธุรกิจการท่องเท่ียวและการ
บริการ จึงทาให้เห็นปจั จยั ของความไมย่ ง่ั ยืนและความเปลี่ยนแปลงในช่วงระยะเวลาอนั ใกลน้ ้ี

46
รายงานสรปุ สาหรบั ผู้บรหิ าร โครงการจดั ทาผังแม่บทการฟ้นื ฟยู า่ นเมอื งเก่า และการอนุรกั ษฟ์ ้นื ฟูย่านกะดีจีน-คลองสาน


Click to View FlipBook Version