The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการจัดทำผังแม่บทการฟื้นฟูย่านเมืองเก่าและการอนุรักษ์ฟื้นฟูย่านกะดีจีน- คลองสาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by cstd, 2021-07-07 00:47:43

โครงการจัดทำผังแม่บทการฟื้นฟูย่านเมืองเก่าและการอนุรักษ์ฟื้นฟูย่านกะดีจีน- คลองสาน

โครงการจัดทำผังแม่บทการฟื้นฟูย่านเมืองเก่าและการอนุรักษ์ฟื้นฟูย่านกะดีจีน- คลองสาน

Keywords: การฟื้นฟูย่านเมืองเก่า

9. เทรนดก์ ารเปลยี่ นแปลงย่านกะดีจีน-คลองสาน 2575

ในพื้นทยี่ ่านกะดจี นี -คลองสาน ได้ใช้เทคนิคการมองภาพอนาคต และกระบวนการร่วมหารือในการ
ดาเนินการ เชน่ เดยี วกับการจดั ทาผงั แม่บทการฟืน้ ฟยู ่านเมืองเก่าฯ ผลการศึกษานามาซ่ึงผลลัพธ์สาคัญ คือ
เทรนดก์ ารเปลีย่ นแปลงยา่ นกะดจี นี -คลองสาน พ.ศ.2575 จานวน 9 ประเดน็ ได้แก่

1) เทรนด์ท่ี 1 ความหลากหลายทางวัฒนธรรม
ย่านทมี่ วี ฒั นธรรมท่ีหลากหลายระดับใหม่ เกดิ พ้นื ทท่ี างวฒั นธรรมเฉพาะกลุ่มขึ้นอย่างผสมผสานกับ
วัฒนธรรมดั้งเดิมอยา่ งกลมกลืน เปน็ ตวั อยา่ งของการหลอมรวมความแตกตา่ งทางสงั คมและวัฒนธรรมเพื่อเป็น
แหล่งเรียนรูใ้ นระดับประเทศ

ภาพที่ 33 เทรนดท์ ี่ 1: ความหลากหลายทางวัฒนธรรม
(ทม่ี า: ศนู ย์ออกแบบและพฒั นาเมือง, 2558)

48
รายงานสรุปสาหรับผบู้ รหิ าร โครงการจดั ทาผังแม่บทการฟนื้ ฟูยา่ นเมอื งเกา่ และการอนรุ ักษ์ฟนื้ ฟูยา่ นกะดีจนี -คลองสาน

2) เทรนด์ที่ 2 การท่องเที่ยวแบบสรา้ งสรรค์บนพนื้ ฐานทางวัฒนธรรม
ยา่ นกะดจี ีน-คลองสาน พฒั นาเป็นแหล่งรวมอาชพี ด้านการท่องเทย่ี วและการบรกิ ารรปู แบบใหม่โดยมี
เทคโนโลยีสารสนเทศขบั เคลือ่ น เกิดเป็นศนู ย์กลางการผลติ ใหมก่ ลางเมืองโดยใช้ต้นทุนทางวัฒนธรรมเดิมมา
ตอ่ ยอดเปน็ สนิ คา้ และการบรกิ ารรูปแบบใหมใ่ นเชงิ สร้างสรรค์ และสอดคล้องกับกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิง
อนรุ กั ษ์และการท่องเทย่ี วชมุ ชน

ภาพที่ 34 เทรนด์ที่ 2 : การทองเท่ียวแบบสรา๎ งสรรคบ์ นพื้นฐานทางวัฒนธรรม
(ทมี่ า: ศนู ย์ออกแบบและพฒั นาเมือง, 2558)

3) เทรนดท์ ่ี 3 สงั คมเปิด
ความเป็นชุมชนเฉพาะจะลดลง มีคนหลากหลายเช้ือชาติเข้ามาอยู่อาศัยผสมผสานในพ้ืนท่ีและมี
รูปแบบการดารงชวี ิตแบบสมัยใหม่ เกิดการรวมกลมุ่ ทางสงั คมท่ีมคี วามหลากหลาย ตามความชอบและความ
สนใจทีแ่ ตกตา่ งกัน มีแนวโน้มจะเกิดสัดส่วนของแรงงานต่างด้าวท่ีเพิ่มข้ึนเป็นเท่าตัว สังคมมีการยอมรับ
ประเพณแี ละวฒั นธรรมจากตา่ งชาตมิ ากข้นึ เกดิ การหลอมรวมกนั เปน็ วัฒนธรรมประเพณีใหม่

ภาพที่ 35 เทรนดท์ ี่ 3 : สงั คมเปิด
(ทมี่ า: ศนู ยอ์ อกแบบและพฒั นาเมอื ง, 2558)

49
รายงานสรุปสาหรบั ผูบ้ ริหาร โครงการจดั ทาผงั แมบ่ ทการฟืน้ ฟยู า่ นเมอื งเก่า และการอนรุ ักษฟ์ ืน้ ฟูยา่ นกะดีจนี -คลองสาน

4) เทรนดท์ ี่ 4 นวัตกรรมแหง่ การใช้ประโยชน์ทดี่ ิน
การพัฒนาการระบบขนสง่ ทางราง ทาใหก้ ารใช้ประโยชน์ที่ดนิ โดยรอบสถานรี ถไฟฟา้ มีความหนาแน่น
ข้นึ เกดิ การใช้ประโยชน์อาคารแบบผสมผสานและหลากหลายรูปแบบตามความต้องการของคนในย่าน และ
ทาให้ราคาที่ดินสูงขน้ึ ส่งผลทาใหท้ อี่ ยูอ่ าศยั แบบเดมิ บางสว่ นอาจถูกไล่รอ้ื เพื่อการพัฒนาใหม่ ภาคเอกชนจะ
เขา้ มามีบทบาทในพ้นื ทจี่ านวนมากท่จี ะสรา้ งการเปลยี่ นแปลง เกดิ รปู แบบของการอยู่อาศัยที่มีกรรมสิทธิ์ร่วม
ในแนวตง้ั มากข้ึน

ภาพท่ี 36 เทรนด์ท่ี 4 : นวตั กรรมแหงการใชป๎ ระโยชนท์ ีด่ นิ
(ท่ีมา: ศูนย์ออกแบบและพฒั นาเมือง, 2558)

5) เทรนด์ที่ 5 ไลฟส์ ไตล์ใหมร่ ิมน้า
การพัฒนาพนื้ ท่สี าธารณะริมนา้ เพ่อื เป็นพื้นทจ่ี ุดเปลย่ี นถ่ายการสัญจร ศูนย์ชุมชน พ้ืนท่ีการเรียนรู้
และเปน็ พื้นท่ีสานสมั พนั ธท์ างสงั คมระหว่างชมุ ชนจะเกิดขึน้ อย่างเปน็ รปู ธรรม เส้นทางเดินริมน้าจะผสานรวม
กบั พ้ืนท่สี าธารณะริมนา้ และโครงขา่ ยเสน้ ทางสญั จรสีเขียวภายในย่าน ส่งผลทาให้เกิดการฟ้ืนฟูระบบสังคม
และเศรษฐกิจระดบั ชมุ ชน

ภาพท่ี 37 เทรนดท์ ่ี 5 : ไลฟส์ ไตล์ใหมริมน้า
(ที่มา: ศูนย์ออกแบบและพฒั นาเมือง, 2558)

50
รายงานสรปุ สาหรบั ผู้บริหาร โครงการจดั ทาผงั แมบ่ ทการฟืน้ ฟูยา่ นเมืองเกา่ และการอนุรักษ์ฟ้นื ฟูยา่ นกะดจี ีน-คลองสาน

6) เทรนดท์ ่ี 6 อาหารสาเร็จรูปเฉพาะยา่ น
ยา่ นจะเป็นแหลง่ รวมอาชพี ดา้ นการผลติ รูปแบบใหม่ เกิดการตอ่ ยอดต้นทนุ ทางวัฒนธรรมด้านอาหาร
ด้วยการจดั ตัง้ กลุ่มอตุ สาหกรรมครวั เรอื นเพ่ือผลติ สนิ คา้ ประเภทมรดกอาหารสาเร็จรูป เพื่อส่งออกสู่พ้ืนท่ีย่าน
อน่ื ๆ สรา้ งรายไดใ้ ห้แก่คนในย่าน มกี ารนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยในการประชาสัมพันธ์และกระจาย
สนิ ค้า

ภาพท่ี 38 เทรนด์ที่ 6 : อาหารสาเรจ็ รูปเฉพาะย่าน
(ที่มา: ศูนย์ออกแบบและพฒั นาเมือง, 2558)

7) เทรนด์ที่ 7 สังคมเสมอื นของยา่ น
ความกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยีสารสนเทศทาใหผ้ ู้คนตอบสนองกับความต้องการอันหลากหลายต่างๆ
ผ่านระบบอนิ เตอรเ์ นท็ และมกี ารใช้การตดิ ต่อส่ือสารภายในย่านด้วยเครอื ขา่ ยชุมชน หน่วยงานของรัฐท่ีดูแล
พื้นท่จี ะใชร้ ะบบ ICT ในการบริหารจัดการ รวมถึงการใช้แรงงานอจั ฉริยะและเทคโนโลยีในการทางาน

ภาพที่ 39 เทรนดท์ ่ี 7 : โลกเสมือนกะดีจีน-คลองสาน
(ท่มี า: ศนู ยอ์ อกแบบและพฒั นาเมอื ง, 2558)

51
รายงานสรปุ สาหรับผ้บู รหิ าร โครงการจัดทาผังแม่บทการฟน้ื ฟยู ่านเมืองเกา่ และการอนุรักษ์ฟื้นฟูยา่ นกะดจี นี -คลองสาน

8) เทรนด์ท่ี 8 กฎหมายสาหรับทุกคน
การรว่ มกันกาหนดกฎหมายการควบคุมเฉพาะของพืน้ ทีต่ ่างๆ เพื่อไม่ให้ทาลายความเป็นชุมชนเดิม
และสง่ เสรมิ ภูมิทัศนท์ ี่ดแี ละสวยงาม มกี ารรว่ มปรกึ ษาหารือทุกข้ันตอนในกระบวนการฟ้ืนฟูและอนุรักษ์ชุมชน
มกี ารจดั ตงั้ ตัวแทนชุมชนรว่ มวางแผนการพัฒนาและฟื้นฟูพื้นท่ี รวมถึงบริหารจดั การพนื้ ที่ร่วมกันกับภาครัฐ มี
การจดั ทาแผนงานและแผนแม่บททีเ่ ป็นรูปธรรมอย่างมสี ่วนร่วมและสามารถนาไปปฏบิ ัติไดจ้ รงิ

ภาพท่ี 40 เทรนด์ท่ี 8 : กฎหมายสาหรบั ทุกคน
(ทม่ี า: ศนู ย์ออกแบบและพัฒนาเมือง, 2558)’

9) เทรนด์ที่ 9 ววิ ฒั นาการของสถาบันหลกั เพือ่ อนาคต
สถาบนั ทางสังคม เช่น ศาสนสถาน ศูนย์กลางชุมชน เป็นต้น จะปรับเปล่ียนบทบาทเป็นแหล่ง
ทอ่ งเทีย่ วมากกว่าการเปน็ พนื้ ทศ่ี ูนย์กลางทางสังคม สถาบนั ทางสังคมเหล่านี้จะเป็นพ้ืนที่ที่มีความปลอดภัย
และสามารถเข้าถึงไดม้ ากข้นึ และหลายชว่ งเวลา ในขณะที่สถาบันครอบครัวจะลดขนาดลงเป็นครอบครัวเด่ียว
ความเปน็ เมอื งท่มี ากขึน้ และปจั จยั ของราคาที่ดนิ และทีอ่ ยู่อาศยั ที่สูงข้ึน ทาให้ขนาดท่ีอยอู่ าศัยเล็กลง

ภาพที่ 41 เทรนดท์ ่ี 9 : ววิ ัฒนาการของสถาบนั หลักเพือ่ อนาคต
(ทมี่ า: ศนู ยอ์ อกแบบและพฒั นาเมอื ง, 2558)

52
รายงานสรุปสาหรับผ้บู รหิ าร โครงการจดั ทาผงั แม่บทการฟ้ืนฟูย่านเมืองเก่า และการอนุรักษ์ฟ้นื ฟยู ่านกะดีจนี -คลองสาน



10. วิสัยทศั น์ยา่ นกะดีจนี -คลองสาน 2575

วสิ ยั ทัศนก์ ารอนรุ ักษฟ์ ้นื ฟูยา่ นกะดจี นี -คลองสาน พ.ศ.2575 เพือ่ ให้ย่านกะดีจีน-คลองสาน เป็นย่าน
ประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมรว่ มสมยั ทสี่ ามารถปรบั ตวั เข้าสู่บริบทการเปลีย่ นแปลงท่ีมีพลวัตสูงในขณะที่
ยังคงความสมดุลในมิตติ ่างๆ โดยเฉพาะการดารงอัตลักษณ์และความหลากหลายอย่างมีคุณภาพ และมี
ศกั ยภาพในการตอบสนองความท้าทายจากการเปลีย่ นแปลงของกรงุ เทพมหานครในอนาคต ไดแ้ ก่

ย่านแหง่ ความหลากหลายทางวัฒนธรรมรมิ นา้ ที่สรา้ งสรรค์เพือ่ ทุกคน

จากวิสัยทศั น์ ไดม้ กี ารพฒั นารายละเอียดการอนรุ ักษฟ์ ้นื ฟูย่านกะดจี ีน-คลองสาน 5 ดา้ น ดังน้ี
1) เครอื ขา่ ยการท่องเทีย่ วมรดกทอ้ งถิน่ ชัน้ นา : การเป็นพื้นทจ่ี ุดหมายปลายทางของการท่องเท่ียว
เชิงมรดกวฒั นธรรมทม่ี ีความเชอื่ มโยงกับกจิ กรรมการท่องเท่ยี วเชงิ อนุรกั ษข์ องพื้นที่อ่ืนๆ โดยรอบ ตอบสนอง
ทั้งภาคการทอ่ งเท่ียวและภาคการบริการเพอ่ื รองรบั การทอ่ งเทยี่ วในพ้นื ที่อย่างสมดุล
2) ตน้ แบบธรุ กจิ จากมรดกท้องถิน่ : เปน็ วสิ ัยทศั นเ์ พือ่ สง่ เสรมิ การพฒั นาตน้ แบบธรุ กิจจากมรดกทาง
วฒั นธรรมในพน้ื ทที่ ้งั ที่จับตอ้ งได้และจับตอ้ งไม่ได้ เพ่อื ให้โอกาสในการพฒั นารูปแบบใหม่ที่เคลื่อนผ่านสู่พ้ืนที่
ไดเ้ กิดการกระจายผลประโยชน์และรายได้กลับคืนสชู่ มุ ชนดงั้ เดิม
3) ยา่ นชมุ ชนสร้างสรรคร์ ่วมสมัย : การก้าวไปสยู่ า่ นเศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์แบบร่วมสมัย โดยการนา
ศกั ยภาพด้านภมู ิปัญญาและมรดกทางวัฒนธรรมในพื้นที่มาต่อยอด เพื่อขับเคลื่อนให้เกิดการกระตุ้นระบบ
เศรษฐกจิ ของยา่ นผา่ นเศรษฐกจิ สร้างสรรค์
4) ยา่ นชุมชนประวัติศาสตรร์ ิมน้าหนาแน่นสูงคุณภาพดี : เป็นวิสัยทัศน์เพ่ือการเป็นย่านชุมชน
ละแวกบ้านชัน้ ดี มีอตั ลักษณท์ ี่มีความเชื่อมโยงกับลักษณะเชิงกายภาพของเมืองน้าธนบุรีในอดีต เป็นการ
เปลย่ี นแปลงไปสู่ยา่ นทอี่ ยอู่ าศยั แบบผสมผสานท่ีมีความหนาแนน่ เพ่ิมมากขึน้
5) พ้ืนที่สาธารณะรว่ มของหลากวัฒนธรรม : เป็นวสิ ยั ทัศน์เพอ่ื การยกระดับคุณภาพชีวิตของพื้นที่
ผา่ นการพฒั นาพน้ื ที่สาธารณะท่ีสามารถใช้ร่วมกนั ระหวา่ งหลายกลมุ่ วฒั นธรรมในพ้นื ที่

54
รายงานสรุปสาหรบั ผู้บรหิ าร โครงการจดั ทาผังแมบ่ ทการฟ้ืนฟูย่านเมืองเกา่ และการอนุรักษ์ฟน้ื ฟูย่านกะดีจีน-คลองสาน



11. ผงั แมบ่ ทเพอ่ื การอนรุ ักษฟ์ ้ืนฟยู ่านกะดีจีน-คลองสาน

ผงั แมบ่ ทเพ่ือการอนรุ ักษฟ์ ื้นฟยู า่ นกะดีจีน-คลองสาน พ.ศ.2575 (ภาพที่ 42 และแผนท่ี 4) เป็นผังที่
บรู ณาการรายละเอยี ดการอนุรักษแ์ ละฟนื้ ฟยู ่านในมติ ิต่างๆ โดยแบ่งพ้ืนที่ย่านทั้งหมดเป็น 3 ส่วน ท่ีมีความ
เช่อื มโยงซึ่งกันและกนั ไดแ้ ก่ พนื้ ทบ่ี ริเวณย่านกะดีจนี ยา่ นท่าดินแดง และย่านคลองสาน โดยแต่ละส่วนพื้นท่ีมี
รายละเอียดการออกแบบที่แตกต่างกัน แบ่งเปน็ 5 ดา้ น ไดแ้ ก่ ด้านการท่องเท่ียว ด้านมรดกทางวัฒนธรรม
และวิสาหกิจท้องถ่ิน ด้านเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ด้านท่ีอยู่อาศัย และด้านพ้ืนท่ีสาธารณะร่วมของหลาก
วัฒนธรรม (ตารางที่ 1) ดังนี้

56
รายงานสรปุ สาหรับผูบ้ ริหาร โครงการจดั ทาผังแมบ่ ทการฟ้ืนฟยู ่านเมืองเกา่ และการอนุรักษ์ฟื้นฟูยา่ นกะดีจนี -คลองสาน

ตารางที่ 1 รายละเอยี ดสาคัญของการอนุรักษ

1.ด้านทีอ่ ยอู่ าศัย พืน้ ที่ยา่ นกะดจี นี พื้นท่ียา่
2. ดา้ นการท่องเท่ียว  การผสมผสานรวมระหว่างชมุ ชนดง้ั เดิมในพืน้ ทแ่ี ละชุมชนทอ่ี ยู่อาศัยใหม่ เพอื่
 การผสมผสานรวมระหวา่ งชมุ ชนดงั้ เดมิ ในพนื้
สะท้อนอตั ลกั ษณข์ องพน้ื ทอี่ ยู่อาศัยท่ีมีคณุ ภาพของย่านฝ่ังธนบรุ ี พื้นทอี่ ยอู่ าศัยทม่ี คี ุณภาพของย่านฝง่ั ธนบรุ ี
 การปรับปรงุ อาคารตึกแถวบริเวณถนนสายหลัก เพอื่ เป็นทอ่ี ยอู่ าศยั แบบผสมผสาน
 การอนรุ ักษฟ์ ืน้ ฟูชุมชนประวัติศาสตร์ ด้วยกา
และรองรับประชากรใหม่ สาธารณะ โดยเฉพาะบรเิ วณศาสนสถานศนู ย
 การพฒั นาทพี่ ักอาศยั ราคาตา่ กวา่ ตลาดเพือ่ สนับสนุนแรงงานของกลมุ่ เศรษฐกจิ
 การพฒั นาทพี่ กั อาศัยชั้นดีบริเวณรมิ แม่นา้ เพ
ภายในย่าน โดยการปรบั ปรุงการใชง้ านจากอาคารตกึ แถวเดมิ ท่ใี ช้งานไม่เตม็ ศกั ยภาพ
ดา้ นในบล็อค (under use)  การฟื้นฟบู รู ณะอาคารเก่า ไดแ้ ก่ ตกึ แถว โกด
งาน สาหรบั กล่มุ คนทีท่ างานด้านเศรษฐกิจสร
 การปรับปรุงภูมทิ ัศนแ์ ละเปดิ มุมมองรอบมรดกวัฒนธรรมสาคญั
 การปรับเปลี่ยนอาคารเก่าท่มี ีคณุ ค่าในพน้ื ทีใ่ หเ้ ปน็ แหล่งท่องเที่ยว และพ้นื ที่สาหรบั  การพฒั นาท่ีอย่อู าศัยใหม่โดยรอบสถานรี ถไฟ
กรอบกฎหมาย ใหม้ คี วามหนาแนน่ สูงข้ึน พร
ชุมชน
 การปรับเปลยี่ นพ้ืนที่ริมนา้ ใหส้ ามารถรองรับระบบกิจกรรมของชมุ ชนควบคไู่ ปกบั  การเช่ือมโยงเสน้ ทางการท่องเทย่ี วกับสถานท

กจิ กรรมการทอ่ งเท่ยี ว อาทิ การพัฒนาศนู ย์ข้อมลู ชมุ ชน การปรบั ปรงุ ท่าเรอื ฯลฯ  การปรับปรงุ และพฒั นาพ้นื ที่ และสง่ิ อานวยค
 การเพ่มิ เติมสงิ่ อานวยความสะดวกดา้ นการท่องเทยี่ ว
 การปรบั ปรงุ ภมู ทิ ศั น์และเปดิ มมุ มองรอบมรด

 การสรา้ งแหล่งทอ่ งเท่ียวใหม่ โดยการปรบั เป
เช่น พ้ืนท่รี มิ น้าทีม่ โี กดังเก่า เรอื นแถวไมร้ ิมค

3. ด้านเศรษฐกิจ  การฟ้ืนฟูบรู ณะอาคารเดมิ บนถนนเส้นหลกั ได้แก่ ถ.อรุณอมั รินทร์ ถ.ประชาธิปก  การปรบั ปรุงศักยภาพการเข้าถึงพืน้ ที่ทงิ้ ร้างเ
สรา้ งสรรค์ และถนนอิสรภาพ ให้มีการใชป้ ระโยชนผ์ สมผสาน เพ่อื เปน็ ที่อย่อู าศัยและแหล่งงาน งานและพื้นทท่ี างเศรษฐกิจและสงั คมของระห
ของกลุม่ คนทีท่ างานเชงิ สร้างสรรค์
 การปรับปรงุ พ้ืนท่ีโกดังเก่ารมิ น้าท่มี อี ตั ลกั ษณ
4. ด้านมรดกวัฒนธรรม  การพฒั นาหน้ารา้ นทาให้ชมุ ชนสามารถนาสินค้าออกมาขายเพ่ือดึงดูดนกั ทอ่ งเทย่ี วได้ รูปแบบต่างๆ ได้แก่ สานกั งานออกแบบ สตูด
และวสิ าหกจิ ท้องถิ่น เปน็ การสร้างต้นแบบธรุ กิจจากฐานเดมิ เช่น การเปดิ หนา้ ร้านอาหารโปรตเุ กสใน สร้างสรรค์เพ่ือสาธารณะ ไดแ้ ก่ พิพธิ ภัณฑ์ ห
ชุมชนกฎุ ีจนี การปรับปรงุ การใชง้ านตลาดคณุ หญงิ อายุยืน โรงคราม เป็นร้านคา้
ชุมชน แกลอร่ี พื้นทแ่ี สดงสินค้า และศูนยข์ ้อมลู ชุมชน  การฟนื้ ฟูบรู ณะอาคารตึกแถวเก่ารมิ ถนนสมเด
เป็นแหล่งงานในยา่ นเมืองเกา่ ของกลุ่มคนที่ท
สมเด็จเจา้ พระยา และถนนท่าดนิ แดงช่วงล่า

 การปรับปรุงถนนท่าดนิ แดงใหม้ ีภมู ทิ ศั นแ์ ละ
อาหารที่มีอัตลักษณ์ไว้

 การพฒั นาหนา้ รา้ นทาใหช้ มุ ชนสามารถนาสิน
ต้นแบบธรุ กจิ จากฐานเดมิ เชน่ การเปดิ หนา้ ใ

 การปรับปรงุ พน้ื ท่ีสาธารณะเพื่อรองรับกิจกร
สมเดจ็ ยา่

 การพัฒนาแหล่งพาณชิ ยกรรมรอบสถานรี ถไฟ
สถานีรถไฟฟา้ ประชาธปิ ก

5. ด้านพื้นที่สาธารณะ  การพัฒนาพ้นื ทรี่ มิ นา้ ควบคู่ไปกบั การเพมิ่ ศักยภาพการเขา้ ถงึ พ้นื ท่ีริมน้า ดว้ ยการ  การเชื่อมตอ่ พ้นื ท่ีริมนา้ ให้เกิดความเชื่อมโยงต
รว่ มของหลาก ฟ้นื ฟรู ะบบถนนและตรอกซอยให้เชอ่ื มโยงกันอย่างมีประสิทธภิ าพ บรเิ วณย่านคลองสานให้เกดิ การใช้งานเชงิ สา
วัฒนธรรม
 การปรบั ปรงุ พ้ืนท่ศี ูนย์กลางชมุ ชนเดิมใหเ้ ป็นพนื้ ที่สาธารณะท่ีสามารถรองรบั กิจกรรม  การพัฒนาพ้นื ที่รมิ นา้ ควบคู่ไปกบั การเพ่มิ ศักย
ทม่ี ีความหลากหลายยง่ิ ข้นึ และตรอกซอยให้เช่ือมโยงกนั อย่างมปี ระสิทธ
ทอง โกดงั เซ่งกี่ และท่าเรือท่าดินแดง
 การปรบั ปรุงภูมิทัศนร์ อบมรดกวฒั นธรรมสาคญั โดยผสานกับการปรับปรุงพ้นื ที่
สาธารณะของชมุ ชน และส่งเสรมิ กจิ กรรมการท่องเท่ยี ว  การปรับปรุงพื้นที่ศูนย์กลางชุมชนเดมิ ใหเ้ ปน็
หลากหลายย่ิงขน้ึ เชน่ สวนสมเดจ็ ยา่ ศาลเจ

 การปรบั ปรุงภมู ทิ ศั น์รอบมรดกวัฒนธรรมสาค
และส่งเสรมิ กจิ กรรมการท่องเทีย่ ว

57
รายงานสรุปสาหรับผูบ้ รหิ าร โครงการจดั ทาผงั แม่บทการฟนื้ ฟ

ษฟ์ ้นื ฟพู ้นื ที่บริเวณยา่ นกะดีจีน-คลองสาน พ้นื ท่ยี า่ นคลองสาน

านท่าดินแดง  การอนุรกั ษฟ์ ื้นฟูชุมชนประวัติศาสตร์ริมน้า โดยเฉพาะบรเิ วณศาสนสถานศูนย์กลางชมุ ชน
นทีแ่ ละชมุ ชนท่อี ยู่อาศยั ใหม่ เพอ่ื สะท้อนอัตลักษณข์ อง
 การพฒั นาทพ่ี กั อาศยั ราคาต่ากว่าตลาดเพ่อื สนบั สนุนแรงงานของกล่มุ เศรษฐกจิ ภายในย่าน โดยการ
ารปรับปรุงสภาพอาคาร เส้นทางเดินในชมุ ชน และพื้นที่ ปรบั ปรงุ การใชง้ านจากอาคารตึกแถวเดมิ ทีใ่ ชง้ านไมเ่ ต็มศักยภาพด้านในบล็อค (under use)
ยก์ ลางชมุ ชน
พือ่ ผอู้ าศัยกลมุ่ ใหม่ ความหนาแนน่ ปานกลาง  การพัฒนาที่พักอาศัยชนั้ ดบี ริเวณรมิ แมน่ ้า เพื่อผูอ้ าศัยกลมุ่ ใหม่ ความหนาแน่นปานกลาง
ดัง และคลงั สินคา้ ใหเ้ ปน็ ทอี่ ยู่อาศยั คณุ ภาพดี ใกลแ้ หลง่
ร้างสรรคท์ ีแ่ ทรกซมึ อย่ใู นพืน้ ทช่ี มุ ชนเดิม  การฟื้นฟู บูรณะอาคารเก่า ไดแ้ ก่ ตึกแถว โกดัง และคลังสนิ คา้ ให้เป็นที่อยู่อาศัยคุณภาพดี ใกล้
ฟฟ้า เพอ่ื เพมิ่ ประสิทธิภาพการใชป้ ระโยชนพ์ ้นื ท่ีดินตาม แหลง่ งาน สาหรบั กลุ่มคนทที่ างานดา้ นเศรษฐกจิ สร้างสรรคท์ แี่ ทรกซึมอยูใ่ นพืน้ ท่ชี ุมชนเดมิ
รอ้ มกบั การยกระดับของคณุ ภาพชวี ิต
ท่ตี ัง้ ของชุมชน  การพัฒนาทอ่ี ยอู่ าศัยใหม่ เกิดขึน้ โดยรอบสถานรี ถไฟฟา้ สถานีคลองสาน รมิ ถนนลาดหญ้า และถนน
ความสะดวกด้านการท่องเทีย่ ว สมเดจ็ เจา้ พระยา เพอ่ื เพ่ิมประสิทธภิ าพการใช้ประโยชนพ์ ื้นท่ีดินตามกรอบกฎหมาย ให้มีความ
ดกวัฒนธรรมสาคญั หนาแนน่ สงู ข้ึน พรอ้ มกบั การยกระดบั ของคุณภาพชีวิต
ปลย่ี นอาคารเก่าทมี่ คี ณุ คา่ ในพื้นที่ให้เป็นแหล่งท่องเท่ียว
คลองวดั อนงค์ เป็นต้น  การปรับปรุงและพฒั นาพ้ืนที่ และสง่ิ อานวยความสะดวกด้านการทอ่ งเทย่ี ว

เดิมและโกดงั เก่า เพื่อให้เกดิ การปรบั ปรุงฟ้นื ฟูเป็นแหล่ง  การปรับปรงุ ภมู ทิ ัศน์และเปิดมุมมองรอบมรดกวฒั นธรรมสาคญั
หว่างภายในและนอกพน้ื ที่
ณใ์ หเ้ ปน็ พื้นทท่ี สี่ ามารถตอบสนองเศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์ใน  การสร้างแหล่งทอ่ งเท่ียวใหม่ โดยการปรับเปลีย่ นอาคารเก่าทม่ี ีคณุ คา่ ในพ้นื ที่ใหเ้ ป็นแหลง่ ท่องเที่ยว
ดโิ อ แกลอร่ี รา้ นอาหารฟวิ ชน่ั และกิจกรรมส่งเสริมความ เชน่ พนื้ ทร่ี ิมน้าฮ่วยจุ่งโล่ง ตอ่ เนือ่ งไปจนถงึ สมาคมเตก็ ก่าจีจินเกาะ ยา่ นกินด่มื รมิ น้าบริเวณท่าเรือ
หอ้ งสมดุ ลานกิจกรรม เปน็ ตน้ ทา่ ดินแดง
ด็จเจ้าพระยาเพื่อเปน็ ร้านค้า สานักงานขนาดเล็ก เพ่ือ
ทางานเชงิ สร้างสรรค์ ได้แก่ ตึกแถวเก่าบริเวณถนน  การพฒั นาโรงแรมราคาประหยัดบรเิ วณถนนทา่ ดินแดงชว่ งล่าง เพ่อื รองรับความหลากหลายของ
าง นักทอ่ งเท่ยี ว โดยการฟื้นฟูบรู ณะอาคารตกึ แถวเกา่ เป็นโรงแรมขนาดเล็ก
ะการสญั จรท่ดี ขี นึ้ โดยยังคงกิจกรรมการเป็นถนนสาย
 การปรบั ปรุงพืน้ ท่ีโกดังเก่าริมน้าที่มอี ัตลักษณใ์ หเ้ ปน็ พ้ืนท่ีเพ่ือระบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ได้แก่
นค้าออกมาขายเพ่ือดงึ ดูดนกั ทอ่ งเทยี่ วได้ เป็นการสร้าง สานักงานออกแบบ สตูดโิ อ แกลอร่ี รา้ นอาหารฟวิ ชัน่ และกิจกรรมส่งเสริมความสร้างสรรค์เพ่ือ
ในตรอกชา่ งนาคสะพานยาว สาธารณะ ได้แก่ พพิ ธิ ภัณฑ์ ห้องสมดุ ลานกจิ กรรม เป็นตน้
รรมการคา้ ในชมุ ชนตามเทศกาล เช่น ลานบริเวณสวน
 การฟืน้ ฟบู ูรณะอาคารเดิมบนถนนเส้นหลัก ไดแ้ ก่ ถนนสมเด็จเจา้ พระยา และถนนลาดหญ้า ให้มี
ฟฟา้ ในย่านเก่า สานกั งาน รา้ นคา้ และการบรกิ าร รอบ การใชป้ ระโยชน์ผสมผสาน เพอ่ื เป็นท่ีอยอู่ าศัยและแหลง่ งานของกลมุ่ คนท่ีทางานเชงิ สร้างสรรค์

ตง้ั แตย่ า่ นกะดจี นี ผา่ นพ้นื ท่บี ริเวณทา่ ดนิ แดงจนไปจรดที่  การพฒั นาแหล่งงานใหม่ ในพ้ืนที่รอบสถานีรถไฟฟา้ ความเขม้ ข้นสูง ซ่ึงผสานรวมกับพน้ื ที่พาณิชยก
าธารณะ รรมใหมใ่ นรูปแบบกลมุ่ อาคารสูงโดยรอบสถานีคลองสาน ประกอบด้วย ห้างสรรพสินคา้ สานักงาน
ยภาพการเข้าถงึ พ้ืนที่ริมน้า ด้วยการฟ้ืนฟูระบบถนน โรงแรม คอนโดมเิ นยี ม ฯลฯ ทาใหเ้ กดิ ความหลากหลายและคึกคักหลายช่วงเวลา
ธภิ าพ โดยเฉพาะบริเวณศาลเจ้ากวนอู โกดังเกลือแหลม
 การพัฒนาพื้นท่ีตลาดรมิ นา้ บริเวณทา่ เรอื ท่าดินแดง เพ่ือรองรับนักท่องเท่ียวในอนาคต เพื่อเป็น
นพน้ื ที่สาธารณะที่สามารถรองรับกิจกรรมท่ีมีความ พนื้ ท่แี สดงสินคา้ จากมรดกวฒั นธรรมในชมุ ชน ผสานกับแหลง่ อานวยความสะดวกย่านท่องเท่ียว
จา้ พ่อเสอื และมัสยดิ กูวตลิ เปน็ ตน้
คัญ โดยผสานกบั การปรับปรงุ พน้ื ท่ีสาธารณะของชุมชน ริมน้าใหม่ ได้แก่ โรงแรม ร้านคา้ และร้านอาหาร

 การพัฒนาพ้ืนท่พี าณิชยกรรมทง้ั รูปแบบตลาดและสมยั ใหม่ เพอ่ื รองรบั กจิ กรรมการอยู่อาศัยและ

การทอ่ งเทย่ี วที่มีแนวโน้มเข้มขน้ ขนึ้ จากการพฒั นาสถานีขึ้น-ลงรถไฟฟา้ คลองสาน

 การปรับปรงุ พน้ื ทต่ี อ่ เนือ่ งจากถนนท่าดินแดง บริเวณถนนท่าดินแดง14 เพ่ือเป็นพ้ืนท่ีการเรียนรู้

การทาอาหารจนี และกระตุ้นใหเ้ กดิ การปรับปรงุ สภาพแวดลอ้ มของสถานทปี่ ระกอบอาหารในพ้ืนที่
ชุมชน

 การปรบั ปรุงพืน้ ที่โดยรอบป้อมปอ้ งปัจจามิตร ซง่ึ เป็นพนื้ ท่รี กร้างใหเ้ ป็นพ้นื ท่ีวิสาหกิจชุ มชน เช่น
ตลาดนดั ของดีชุมชน พื้นทแ่ี สดงงานชุมชน หรอื ออกร้านตามเทศกาลของชุมชนโดยรอบ

 การเพิม่ เตมิ โครงข่ายการสญั จรประเภทตา่ งๆ ทัง้ ทางเดนิ เท้า ทางจกั รยาน ถนน และการสัญจรทาง
นา้ ในบรเิ วณพนื้ ท่ดี ้านในโดยเฉพาะแปลงท่ีดนิ รมิ น้า เพอ่ื สนับสนุนให้เกิดการฟื้นฟูพ้ืนท่ีที่เสื่อม
โทรมหรอื ถูกปลอ่ ยให้ทิ้งรา้ ง โดยสอดประสานกบั โครงข่ายทีม่ ีอยเู่ ดมิ

 การเชอ่ื มตอ่ พน้ื ที่รมิ น้าภายในพื้นท่ีส่พู ืน้ ท่รี ิมน้าบริเวณอน่ื ๆ โดยเฉพาะพื้นทร่ี ิมนา้ บรเิ วณยา่ นตลาด
นอ้ ยซ่งึ ตัง้ อยู่บนฝ่ังตรงข้ามของแมน่ า้ เจ้าพระยา ผา่ นการเช่ือมโยงโดยเรอื ข้ามฟากที่บริเวณท่าเรือ
คลองสาน

ฟยู า่ นเมอื งเกา่ และการอนรุ ักษ์ฟืน้ ฟูย่านกะดจี ีน-คลองสาน

ภาพที่ 42 ทัศนยี ภาพมมุ สงู ของย่า
(ท่ีมา : ศูนยอ์ อกแบบแล

58
รายงานสรุปสาหรับผู้บรหิ าร โครงการจดั ทาผงั แมบ่ ทการฟื้นฟ

านกะดีจีน-คลองสาน พ.ศ.2575
ละพฒั นาเมือง, 2558)

8
ฟูย่านเมอื งเกา่ และการอนรุ กั ษ์ฟ้ืนฟยู า่ นกะดจี ีน-คลองสาน

แผนท่ี 4 ผังแม่บทอนรุ กั ษฟ์ ื้นฟยู า่ นกะดจี นี -คลองสา

59
รายงานสรปุ สาหรบั ผ้บู ริหาร โครงการจดั ทาผงั แม่บทการฟื้นฟ

าน (ที่มา : ศูนยอ์ อกแบบและพฒั นาเมือง, 2558)

9
ฟูยา่ นเมอื งเก่า และการอนุรักษ์ฟ้นื ฟูย่านกะดจี ีน-คลองสาน



12. ผังแม่บทเพื่อการสง่ เสริมภูมิทัศนย์ ่านกะดีจีน-คลองสาน

การฟ้ืนฟเู มืองในพ้นื ทย่ี ่านประวตั ิศาสตร์ นอกจากผังแม่บทเพือ่ การฟืน้ ฟูเมือง ซึ่งเป็นพื้นฐานสาหรับ
การดาเนินโครงการต่างๆ ยังจาเป็นต้องมีผังแม่บทเพ่ือการส่งเสริมภูมิทัศน์ ( landscape enhancement
master plan) เพอ่ื เปน็ กรอบการพฒั นาอาคารและสิ่งปลูกสร้างที่จะเกิดข้ึน มีความสอดคล้องกลมกลืนกับ
บริบทของพ้นื ท่ี และรักษาคุณคา่ และความสาคัญของมรดกวัฒนธรรม
การอนรุ กั ษฟ์ ้ืนฟูย่านกะดีจนี -คลองสาน จาเป็นตอ้ งใชเ้ ครื่องมือการควบคมุ และการสง่ เสริมภูมิทัศน์พื้นที่ควบคู่
กัน การควบคุมภมู ทิ ศั น์เป็นการรกั ษาภมู ิทัศน์ของยา่ นโดยการบงั คับใชใ้ นรูปแบบของกฎหมาย ในขณะท่ีการ
ส่งเสรมิ ภมู ิทัศน์ คอื การกาหนดองค์ประกอบของอาคารและพ้ืนที่เก่ียวเน่ือง ซึ่งอาจใช้บังคับด้วยกฎหมาย
หรอื ไมก่ ็ได้ โดยมากมักจดั ทาเป็นแนวทางเพื่อให้ภาคเอกชนปฏบิ ัตติ าม เพอ่ื ประโยชน์ในการสร้างบรรยากาศ
และเกบ็ รักษาคุณค่าเชิงสนุ ทรียภาพของพืน้ ที่

12.1 แนวทางการควบคมุ ทางภูมิทัศน์

การควบคุมทางภมู ทิ ัศน์แบง่ การพจิ ารณาเปน็ 3 กลมุ่ พนื้ ที่ คอื ภูมิทศั น์พ้ืนท่รี ิมนา้ ภูมิทัศน์รอบศาสน
สถานและโบราณสถาน และภมู ทิ ศั นท์ างสญั จรทีส่ าคญั โดยมรี ายละเอยี ด ดงั น้ี

1) ภมู ทิ ัศน์พนื้ ที่ริมน้า
เสนอใหม้ ีการควบคมุ ระดับความสูงอาคารให้เกดิ การลดหล่ันกันอยา่ งเปน็ ระดับ โดยกาหนดให้ขยาย
เขตควบคมุ ความสูงโดยรอบอุทยานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระบรมราชชนนีให้ครอบคลุมมากขึ้น รวมถึง
กาหนดเขตควบคมุ ความสูงใหมท่ ีร่ ะดับ 24 เมตร ต่อเนือ่ งจากเขตควบคุมความสูงโดยรอบอุทยานฯ ถึงแนว
ถนนเชยี งใหม่ ซึ่งจะทาให้พ้ืนที่บรเิ วณนไี้ มส่ ามารถก่อสรา้ งอาคารสูงได้ ซ่ึงจะช่วยให้ภูมิทัศน์พ้ืนที่ริมน้าเม่ือ
มองจากแม่นา้ เจา้ พระยาเข้าสู่พ้นื ที่เกิดการลดหลั่นลงจากพื้นที่ท่ีมีความสูงมากในย่านคลองสาน ลงมาเป็น
พื้นทที่ ่มี คี วามสูงอาคารปานกลาง ก่อนจะเข้าสูพ่ ้นื ท่ีประวตั ศิ าสตร์เขม้ ข้น (ภาพที่ 44)

ภาพที่ 44 รปู ด้านแสดงแนวคิดการควบคุมภูมทิ ัศนค์ วามสงู ของอาคารและสิง่ ปลูกสร้างเพอ่ื รักษาเสน้ ขอบฟ้าของย่าน
(ทีม่ า : ศูนย์ออกแบบและพัฒนาเมือง, 2558)

61
รายงานสรุปสาหรับผู้บริหาร โครงการจดั ทาผงั แมบ่ ทการฟื้นฟยู า่ นเมอื งเก่า และการอนรุ ักษฟ์ ้นื ฟูยา่ นกะดีจนี -คลองสาน

2) ภมู ทิ ศั น์รอบศาสนสถานและโบราณสถาน

การควบคมุ ภูมิทัศน์รอบศาสนสถานและโบราณสถานในยา่ นกะดีจีน-คลองสาน เป็นการควบคุมภูมิ
ทัศนจ์ ากมุมมองสาคญั เพื่อควบคุมเฉพาะการพัฒนาที่จะทาลายคุณคา่ ของมมุ มองท่ีกาหนดไว้ เช่น การพัฒนา
ท่จี ะทาใหฉ้ ากหลังของอาคารสาคญั ถูกบดบงั ไป หรือการพฒั นาทีจ่ ะมาบดบังอาคารสาคัญเท่านั้น โดยมุมมอง
ทีส่ าคญั ลว้ นแล้วแต่เปน็ มมุ มองจากด้านหนา้ ศาสนสถานและโบราณสถาน จงึ กาหนดให้มีการควบคุมความสูง
เพยี ง 3 ด้าน ได้แก่ ด้านข้างและดา้ นหลังของศาสนสถานและโบราณสถาน เพื่อไม่ให้เกิดอาคารที่มีความสูง
เป็นโทษตอ่ ทัศนยี ภาพจากมุมมองสาคัญที่ได้กาหนดไว้ดงั กลา่ ว (ภาพท่ี 45)

ภาพที่ 45 แนวคิดการควบคมุ ภมู ทิ ัศน์รอบศาสนสถานและโบราณสถาน
(ที่มา : ศูนย์ออกแบบและพฒั นาเมือง, 2558)

3) ภูมิทัศน์ทางสญั จรท่สี าคัญ
เส้นทางสญั จรสาคญั ที่มเี อกลกั ษณ์ ทคี่ วรไดร้ ับการควบคุมและส่งเสริมภูมิทัศน์ โดยเฉพาะอย่างย่ิง
การควบคมุ ความสูงของอาคาร มีดังน้ี

 ถนนเชียงใหม่ เปน็ ถนนที่มีเอกลักษณ์ในเชงิ ความซ้าของอาคารแถว ซึ่งสว่ นใหญ่มีความสูง 2
ชั้น ถงึ แมอ้ าคารจะไม่มีคุณค่าในการอนุรักษ์มาก แต่การรวมกลุ่มของอาคารทาให้เกิด
บรรยากาศของการสัญจรที่ดี น่าสัญจร จงึ กาหนดใหม้ ีการควบคุมความสูงอาคารตามแนว
ถนนเชียงใหม่ใหไ้ มเ่ กนิ 10 เมตร

 ถนนท่าดินแดง และถนนสมเดจ็ เจ้าพระยา เป็นถนนท่ีมีความสาคัญในเชิงกิจกรรมการค้า
ขาย อาคารส่วนใหญ่ในปจั จบุ ันทอ่ี ยตู่ ามแนวถนนเป็นอาคารพาณชิ ยแ์ ละตกึ แถวที่มีความสูง
3-5 ชั้น เพ่ือรกั ษาบรรยากาศทดี่ ขี องพืน้ ท่ี จงึ กาหนดใหม้ ีการควบคมุ ความสูงอาคารตามแนว
ถนนทงั้ สองเสน้ ใหไ้ ม่เกิน 16 เมตร

การกาหนดการควบคมุ ความสงู เช่นน้ี จะชว่ ยในการรักษาบรรยากาศของเส้นทางสัญจรในสภาพ
ปจั จุบัน ไม่ให้เกดิ การพฒั นาอาคารสงู ข้นึ ในระยะประชดิ ถนนซ่ึงจะทาให้เกดิ ความไมต่ อ่ เนื่องของกิจกรรมและ
ภูมทิ ัศน์

62
รายงานสรุปสาหรับผู้บริหาร โครงการจัดทาผังแม่บทการฟน้ื ฟยู ่านเมอื งเก่า และการอนรุ ักษฟ์ ื้นฟยู า่ นกะดจี ีน-คลองสาน

ภาพท่ี 46 ภาพจาลองการพฒั นาในอนาคตตามศักยภาพของผังเมอื งรวม
(ทีม่ า : ศูนยอ์ อกแบบและพัฒนาเมอื ง, 2558)

ภาพที่ 47 ภาพจาลองการพฒั นาในอนาคตหากมีขอ้ กาหนดการควบคมุ ความสูงตามขอ้ เสนอ
(ทมี่ า : ศนู ยอ์ อกแบบและพฒั นาเมอื ง, 2558)

63
รายงานสรุปสาหรบั ผู้บริหาร โครงการจดั ทาผังแม่บทการฟน้ื ฟูยา่ นเมืองเก่า และการอนุรกั ษ์ฟ้นื ฟูยา่ นกะดีจนี -คลองสาน

12.2 แนวทางการสง่ เสริมทางภมู ทิ ศั น์

นอกจากการควบคุมภมู ิทัศนท์ ี่สมควรใหใ้ ชบ้ ังคับเป็นกฎหมายแล้ว ในพ้ืนที่ย่านกะดีจีน -คลองสาน
ยงั คงมีหลายพื้นทีท่ ่มี ลี กั ษณะทางสถาปตั ยกรรมและองค์ประกอบของอาคารท่ีเป็นเอกลักษณ์ ควรค่าแก่การ
ส่งเสรมิ ใหค้ งอยูส่ ืบไป โดยการพัฒนาแนวทางการสง่ เสริมภูมิทัศน์ท่ีเป็นข้อตกลงร่วมกันภายในชุมชน เพื่อ
ประโยชนใ์ นการส่งเสรมิ ภมู ทิ ศั น์อันดขี องยา่ น

พน้ื ท่ที ่สี มควรใหม้ กี ารสง่ เสรมิ ภมู ทิ ศั น์ สว่ นใหญ่จะเป็นพื้นที่เสน้ ทางสัญจรที่สาคัญ อาทิ ถนนสมเด็จ
เจา้ พระยา ถนนท่าดินแดง ถนนเชียงใหม่ ฯลฯ รวมถึงพ้นื ท่ีภายในชมุ ชนบางส่วน อาทิ ชุมชนซอยช่างนาค-
สะพานยาว ชมุ ชนกฎุ ีจนี ฯลฯ (ภาพที่ 48, 49)

ภาพที่ 48 รปู ดา้ นแสดงอตั ลักษณ์ภูมิทศั น์ทางสญั จร ถนนสมเดจ็ เจา้ พระยา
(ทม่ี า : ศูนย์ออกแบบและพัฒนาเมือง, 2558)

64
รายงานสรปุ สาหรบั ผู้บริหาร โครงการจัดทาผังแมบ่ ทการฟ้ืนฟยู ่านเมอื งเกา่ และการอนุรักษฟ์ ื้นฟยู ่านกะดจี นี -คลองสาน

ภาพท่ี 49 การอนุรกั ษ์ฟ้ืนฟูภมู ิทัศน์ทางสัญจร ถนนสมเด็จเจา้ พระ

65
รายงานสรุปสาหรับผ้บู ริหาร โครงการจดั ทาผงั แมบ่ ทการฟื้นฟ

ยา ย่านคลองสาน (ทม่ี า: ศูนย์ออกแบบและพฒั นาเมือง, 2558)

5
ฟยู ่านเมืองเก่า และการอนุรักษฟ์ ื้นฟูย่านกะดจี นี -คลองสาน



13. โครงการนารอ่ ง ภายใตผ้ ังแมบ่ ทเพอ่ื การอนุรักษฟ์ ื้นฟูยา่ นกะดีจนี -คลองสาน

โครงการนารอ่ งเพอื่ การฟ้ืนฟพู ้ืนทีเ่ ชงิ กายภาพ ภายใต้ผังแม่บทเพื่อการอนุรักษ์ฟื้นฟูย่านกะดีจีน -
คลองสาน มีจานวน 5 โครงการ ไดแ้ ก่

1) โครงการปรบั ปรงุ ทางเดินรมิ นา้ ยา่ นกะดีจนี
เป็นโครงการปรับปรงุ ทางเดินริมนา้ เดมิ รวมถึงพนื้ ทตี่ อ่ เนื่องริมนา้ ตั้งแต่บริเวณหน้าวัดกัลยาณมิตร
ถงึ หน้าอาคารเทศกิจ ระยะทาง 550 เมตร และการปรบั ปรงุ จดุ เช่ือมต่อทางเดนิ ริมน้ากับพื้นที่ด้านในทั้งหน้า
วัด ท่าเรือ และคลองสายสาคญั

ภาพท่ี 50 ลานรมิ น้าวดั กลั ยาณมติ ร (ท่ีมา : ศูนย์ออกแบบและพฒั นาเมือง, 2558)

2) โครงการศนู ย์ขอ้ มลู ท่องเท่ียวทางน้า-จักรยาน สะพานปฐมบรมราชานสุ รณ์
เป็นโครงการพัฒนาจุดเช่ือมต่อระหว่างย่านกะดีจีน -คลองสาน และจุดเปล่ียนถ่ายการสัญจรท่ี
เปรยี บเสมอื นเป็นประตูสูย่ า่ น ขอบเขตโครงการเรม่ิ ต้ังแตศ่ าลาวดั ประยุรวงศาวาส ถึงใต้สะพานพระปกเกล้าฯ
ประกอบดว้ ย การพัฒนาอาคารศูนย์ท่องเที่ยว ทา่ เรือ ทางเดินริมน้าต่อเน่ืองลานริมน้า และลานเปล่ียนถ่าย
การสญั จรทางเรือ-จกั รยาน

ภาพท่ี 51 โครงการศนู ย์ขอ้ มูลทอ่ งเท่ียวทางนา้ -จักรยาน สะพานปฐมบรมราชานสุ รณ์
(ทมี่ า : ศูนยอ์ อกแบบและพัฒนาเมอื ง, 2558)

67
รายงานสรปุ สาหรับผบู้ รหิ าร โครงการจัดทาผงั แมบ่ ทการฟนื้ ฟยู า่ นเมืองเกา่ และการอนุรกั ษ์ฟืน้ ฟยู า่ นกะดีจนี -คลองสาน

3) โครงการพัฒนาทางเดินรมิ นา้ ย่านคลองสาน
เปน็ โครงการพัฒนาทางเดินรมิ น้าใหมร่ วมถงึ พ้ืนทต่ี ่อเนื่องรมิ นา้ ต้งั แตบ่ รเิ วณใตส้ ะพานพระปกเกล้าฯ
ถึงทา่ เรอื ทา่ ดินแดง ระยะทางรวม 650 เมตร และการปรับปรงุ จดุ เช่อื มต่อทางเดินริมน้ากับพื้นที่ด้านใน ท้ัง
ด้านหน้าศาสนสถาน ท่าเรอื และคลองสายสาคญั

ภาพที่ 52 สวนลอยนา้ โครงการทางเดินรมิ นา้ ยา่ นคลองสาน
(ทมี่ า : ศูนย์ออกแบบและพัฒนาเมอื ง, 2558)

4) โครงการถนนโอชาท่าดนิ แดง
เปน็ โครงการปรบั ปรุงภูมิทัศน์ทางเท้าถนนท่าดินแดงซึ่งเป็นแหล่งอาหารดังของย่าน มีขอบเขต
โครงการตงั้ แต่ทา่ เรือทา่ ดนิ แดงจนถึงสดุ ถนนสมเด็จเจ้าพระยา ระยะทางรวม 500 เมตร เป็นการปรับปรุง
สภาพทางเท้าให้ผคู้ า้ แผงลอยสามารถใช้พ้ืนทีส่ าธารณะอยา่ งมีสดั ส่วน โดยไม่เบียดเบียนสิทธิของผู้ใช้ทางเท้า
ผู้อาศัยและสง่ เสรมิ บรรยากาศถนนสายการคา้ ท่ีคึกคัก

ภาพที่ 53 ประตสู ู่ถนนโอชาทา่ ดนิ แดง
(ท่ีมา : ศูนยอ์ อกแบบและพฒั นาเมอื ง, 2558)

68
รายงานสรุปสาหรบั ผ้บู รหิ าร โครงการจัดทาผงั แมบ่ ทการฟื้นฟยู ่านเมืองเก่า และการอนรุ ักษ์ฟ้ืนฟยู ่านกะดจี ีน-คลองสาน

5) โครงการปรบั ปรุงสะพานทางเดิน-ทางจักรยานข้ามแมน่ ้าเจา้ พระยา
เปน็ โครงการปรบั ปรงุ สะพานรถไฟฟา้ ลาวาลนิ เดมิ หรือท่ีเรยี กกนั วา่ “สะพานดว้ น” ให้เป็นหมุดหมาย
ทใี่ หม่ของยา่ นกะดีจีน-คลองสาน ประกอบด้วยสวนสาธารณะ ทางเดิน และทางจักรยานข้ามฝ่ังแม่น้า
เจา้ พระยา ขอบเขตของโครงการเรมิ่ ตัง้ แต่ปลายสะพานฝั่งธนบรุ ีเหนอื สวนปา่ เฉลิมพระเกียรติ ถึงปลายสะพาน
ฝ่งั พระนคร ระยะทางประมาณ 230 เมตร แนวทางการปรับปรุงสวนลอยฟา้ นจ้ี งึ มกี ารปรับระดับทางเดิน ทาง
จักรยานบางช่วงใหส้ งู ขนึ้ เพอื่ เปิดมมุ มองสู่แมน่ า้ และออกแบบแผงดา้ นขา้ งสะพานนาสายตาเป็นระรอกคล่ืน
สลับกบั แนวต้นไมส้ รา้ งความรม่ รืน่ ตลอดทาง

ภาพที่ 54 โครงการปรับปรงุ สะพานทางเดิน-ทางจกั รยานขา้ มแม่นา้ เจ้าพระยา
(ทมี่ า: ศนู ยอ์ อกแบบและพัฒนาเมอื ง, 2558)

69
รายงานสรปุ สาหรบั ผู้บริหาร โครงการจดั ทาผังแมบ่ ทการฟืน้ ฟยู ่านเมอื งเกา่ และการอนุรกั ษ์ฟนื้ ฟูย่านกะดีจนี -คลองสาน



14. การลงทนุ และผลลพั ธจ์ ากการพัฒนา

ในการดาเนนิ โครงการตามผงั แม่บทการอนุรักษฟ์ ้นื ฟูย่านกะดีจีน -คลองสาน จะมีการลงทุนพัฒนา
พ้นื ที่สาธารณะโดยกรงุ เทพมหานครเปน็ มูลค่าระหวา่ ง 6,500 – 14,300 ลา้ นบาท ท้ังนีข้ ้ึนอยู่กับรูปแบบและ
วธิ กี ารดาเนินการพัฒนา ซงึ่ การลงทนุ พัฒนาพืน้ ทีส่ าธารณะในโครงการน้ีจะช่วยกระตุ้นใหเ้ กดิ การพัฒนาพ้ืนท่ี
โดยภาคเอกชนคดิ เป็นมลู คา่ ลงทนุ กว่า 51,000 ลา้ นบาท และส่งผลให้เกิดมูลค่าเศรษฐกิจภายในประเทศได้
สงู ถึง 2.23 - 2.32 แสนล้านบาท

สดั ส่วนภาษีทก่ี รงุ เทพมหานครจะได้รับภายหลงั ดาเนินการก่อสร้างเสร็จสิ้น มีมูลค่าประมาณปีละ
5,223 ลา้ นบาท นอกจากน้ันการพัฒนาจะนามาสู่ผลลพั ธ์ท่ีดีทางสงั คม อาทิ สง่ ผลใหเ้ กิดการจ้างงานในพ้ืนท่ี
อกี กวา่ 25,000 ตาแหน่ง เปน็ การพัฒนาท่ีอยอู่ าศยั ทีไ่ ด้มาตรฐานจานวน 13,000 หลังให้เกิดข้ึนในพื้นที่
ก่อให้เกิดต้นแบบการอนุรักษ์ชุมชนประวัติศาสตร์และสถานท่ีสาคัญท่ีมีคุณค่าทา งประวัติศาสตร์ของ
กรุงเทพมหานคร เปน็ การพฒั นาพื้นท่ตี ่อเนือ่ งกบั แหลง่ ท่องเทยี่ วริมน้าระดับโลกทางฝ่ังพระนครซึ่งจะนามาสู่
การยกระดบั คณุ ภาพการท่องเที่ยวของกรงุ เทพมหานครใหส้ งู ข้ึน และเปน็ การปรับปรุงเชิงกายภาพพื้นท่ีเมือง
ช้นั ในของกรุงเทพมหานครให้มีคุณภาพดีย่ิงข้ึน

71
รายงานสรปุ สาหรับผ้บู ริหาร โครงการจัดทาผงั แมบ่ ทการฟืน้ ฟูยา่ นเมืองเก่า และการอนรุ ักษ์ฟ้นื ฟยู ่านกะดีจนี -คลองสาน



15. แผนการบรหิ ารจดั การส่กู ารปฏบิ ัติ

ลาดับการพฒั นาโครงการตามผงั แมบ่ ทเพอื่ การอนุรกั ษ์ฟ้นื ฟยู า่ นกะดจี ีน – คลองสานพิจารณาจากผล
การวเิ คราะหค์ วามพร้อมในการดาเนินโครงการและช่วงเวลาของการพัฒนาระบบขนส่งมวลชนทางรางที่จะ
เกิดขนึ้ ในอนาคต ซง่ึ ทาให้กรอบระยะเวลาของแผนการบรหิ ารจดั การโครงการสามารถแบ่งออกเป็น 4 ระยะ
และมีรายละเอียดการดาเนินการดังน้ี

1) การพฒั นาระยะท่ี 1 พ.ศ.2559 – 2560

การพฒั นาระยะที่ 1 ม่งุ เน้นการพฒั นาโครงการท่ีมีความพรอ้ มในการดาเนินการและส่งผลลัพธ์สูงต่อ
การอนรุ ักษฟ์ ืน้ ฟูยา่ นกะดีจนี – คลองสาน อาทิ โครงการปรบั ปรุงภมู ิทศั นแ์ ละพฒั นาทางเดนิ ริมนา้ ยา่ นกะดีจีน
– คลองสาน โครงการบา้ นฝรั่งโปรตเุ กส โครงการมวิ เซียมธนบุรี และมุ่งเน้นการฟื้นฟูพื้นท่ีสาธารณะ อาทิ
ถนน ทางเดินเท้า สวนสาธารณะ และทางเดินรมิ น้า เพ่ือรองรับการพัฒนาสถานีอิสรภาพ (รถไฟฟ้าสา ยสีน้า
เงนิ ) ในปพี .ศ. 2560 ด้วยเหตุดังกลา่ ว การพฒั นาในระยะที่ 1 จงึ มงุ่ เนน้ การพัฒนาพื้นท่ีริมน้าย่านกะดีจีน –
คลองสาน พ้นื ทใี่ ต้สะพานพทุ ธ การพัฒนาโครงการนารอ่ งและพน้ื ทส่ี าธารณะในยา่ นกะดจี ีนฝ่ังตะวันตก (ภาพ
ที่ 55)

2) การพฒั นาระยะท่ี 2 พ.ศ.2561 – 2565

การพัฒนาในระยะท่ี 2 มงุ่ เนน้ การขยายโครงการอนุรักษ์และฟ้ืนฟูพ้ืนท่ีออกไปให้มากท่ีสุด เพ่ือ
เรง่ รัดการปรับปรงุ ยา่ นกะดจี นี – คลองสานไปสพู่ ้ืนทต่ี วั อย่างของการฟ้ืนฟูเมืองชั้นในของกรุงเทพมหานคร
โดยเริ่มดาเนนิ การโครงการท่มี ีความพร้อมสูงและปานกลางไปพร้อมกัน อาทิ โครงการพัฒนาลานริมน้า
โครงการปรบั ปรุงภมู ทิ ศั นร์ มิ คลองสมเด็จเจา้ พระยา โครงการปรบั ปรงุ ภูมิทัศน์ริมคลองสาน โครงการถนน
โอชาทา่ ดนิ แดง โครงการปรบั ปรุงภมู ทิ ศั นถ์ นนเชยี งใหม่ เป็นต้น ในขณะเดียวกันโครงการอนุรักษ์ฟ้ืนฟูที่
ไดร้ ับการดาเนนิ การในระยะที่ 1 จะเข้าสขู่ ั้นตอนการบรหิ ารจัดการพ้ืนที่โดยผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง สาหรับการ
พัฒนาพื้นที่สาธารณะ อาทิ การพัฒนาโครงขา่ ยถนน ทางเดนิ เทา้ ทางจักรยาน สวนสาธารณะ จะมุ่งเน้นการ
พัฒนาใน 3 พน้ื ท่ี ได้แก่ เส้นทางเชือ่ มโยงพนื้ ท่รี มิ น้ากับพ้นื ท่ีภายในย่านคลองสาน พนื้ ท่โี ดยรอบโครงการเพื่อ
การอนรุ กั ษแ์ ละฟน้ื ฟูย่านคลองสาน และพ้นื ทีเ่ พือ่ รองรบั การพัฒนาสถานีประชาธปิ ก (รถไฟฟ้าสายสีม่วง) ใน
ปี พ.ศ. 2562 การดาเนินโครงการในระยะน้ีจึงกระจุกตัวอยู่ในบริเวณย่านคลองสานต้ังแต่บริเวณถนน
ประชาธปิ กจนถงึ บรเิ วณถนนท่าดนิ แดง รวมถงึ พน้ื ทีร่ ิมนา้ ตลอดแนวตั้งแต่ท่าดนิ แดงจนถึงท่าคลองสาน (ภาพ
ที่ 56)

3) การพฒั นาระยะที่ 3 พ.ศ.2566 – 2572

ในการพัฒนาระยะที่ 3 กรุงเทพมหานครจะสามารถดาเนนิ การพัฒนาโครงการมีความซับซ้อนสูงได้
สะดวกย่งิ ข้นึ เนือ่ งจากผลจากการพัฒนาโครงการและพ้ืนท่ีสาธารณะใน 2 ระยะที่ผ่านมาจะส่งผลให้
ภาคเอกชนเห็นโอกาสการพฒั นาได้ชัดเจนและรปู ธรรมมากยง่ิ ขึ้น ในระยะน้ีกรุงเทพมหานครจึงควรเตรียม
มาตรการผลกั ดนั โครงการท่ีจาเป็นต้องพฒั นาในพน้ื ทเ่ี อกชนหรือควรสง่ เสริมให้เอกชน เป็นผู้ดาเนินการหลัก
อาทิ โครงการโกดงั โรงเกลือ โครงการทา่ เรอื ฮ่วยจลู่ ง่ โครงการครัวท่าดนิ แดง เป็นต้น สาหรับการปรับปรุง
พน้ื ทส่ี าธารณะมุง่ เนน้ การฟ้นื ฟูพืน้ ท่ีเพื่อตอบรบั การพัฒนาสถานีคลองสาน (สายสีแดงเข้ม) ในปี พ.ศ. 2572

73
รายงานสรปุ สาหรับผู้บรหิ าร โครงการจัดทาผงั แมบ่ ทการฟ้ืนฟยู า่ นเมอื งเกา่ และการอนุรักษฟ์ นื้ ฟยู ่านกะดจี นี -คลองสาน

การดาเนนิ โครงการในระยะนีจ้ งึ เป็นการฟื้นฟูพื้นทใ่ี นบริเวณตั้งแต่ถนนท่าดินแดงจนถึงขอบพื้นท่ีโครงการ
ทางด้านตะวนั ออกบรเิ วณทา่ เรอื คลองสาน ซึ่งในระยะที่ 3 นี้ การพัฒนาพืน้ ทส่ี าธารณะโดยกรงุ เทพมหานคร
ตามผงั แมบ่ ทเพื่อการอนุรักษฟ์ น้ื ฟูยา่ นกะดีจนี – คลองสานจะเสร็จสน้ิ สมบรู ณ์ (ภาพที่ 57)

4) การพฒั นาระยะที่ 4 พ.ศ.2572 – 2575
การดาเนนิ โครงการในระยะที่ 4 มุง่ เน้นการบรหิ ารจดั การพ้ืนที่ทไี่ ดร้ ับการฟ้ืนฟู โดยการกระตุ้นให้
ภาคเอกชนและประชาชนร่วมมอื ในการพัฒนาโครงการต่างๆ ให้บรรลุผลตามผังแม่บทอย่างมีประสิทธิภาพ
นอกจากนนั้ การบริหารจดั การพื้นทอี่ ย่างต่อเนือ่ งตงั้ แต่การพัฒนาระยะท่ี 1 เป็นต้นมา จะส่งผลให้เกิดการ
ฟ้ืนฟูพืน้ ทีโ่ ดยภาคเอกชนอยา่ งต่อเนอื่ ง ซึง่ ช่วยส่งเสริมให้โครงการอนุรักษ์ฟื้นฟูย่านกะดีจีน – คลองสาน
สามารถบรรลุเป้าหมายตามผังแม่บทในปี 2575 (ภาพที่ 58)

74
รายงานสรุปสาหรับผบู้ รหิ าร โครงการจัดทาผังแม่บทการฟน้ื ฟยู า่ นเมืองเก่า และการอนรุ กั ษ์ฟ้ืนฟูยา่ นกะดจี ีน-คลองสาน

ภาพท่ี 55 การพฒั นาระยะท่ี 1 ภาพท่ี 56 การพัฒนาระยะที่ 2

ภาพท่ี 57 การพัฒนาระยะที่ 3 ภาพที่ 58 การพฒั นาระยะท่ี 4

75
รายงานสรปุ สาหรบั ผู้บริหาร โครงการจัดทาผงั แม่บทการฟ้นื ฟูยา่ นเมืองเกา่ และการอนุรกั ษ์ฟ้ืนฟยู ่านกะดจี นี -คลองสาน



16. สรุป

โครงการกรุงเทพฯ 250 มวี ัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาผังแม่บทการฟื้นฟูย่านเมืองเก่าซ่ึงมีอาณาบริเวณคลอบ
คลุม 17 เขตพน้ื ทก่ี ารปกครองในเขตเมืองช้ันในกรุงเทพมหานคร และเพื่อดาเนินการโครงการอนุรักษ์ฟ้ืนฟูเมืองนา
ร่อง โดยคัดเลอื กพ้ืนทีย่ ่านกะดีจนี -คลองสาน เปน็ พืน้ ที่นารอ่ งสาหรับการดาเนินการ

จากการศึกษาพบว่า แนวคิดในการฟืน้ ฟูย่านเมืองเก่ากรุงเทพฯ คือ “เช่ือมย่านสู่เมือง สร้างเมืองสู่วิถี
ชีวิตใหม่” ซึ่งสมควรเน้นการเช่ือมโยงระหว่างย่านเปน็ สาคญั เพอ่ื เพม่ิ ประสิทธิภาพในการคมนาคมขนส่ง และ
ติดตอ่ สื่อสาร ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม โดยได้แบ่งพ้ืนที่
ยุทธศาสตร์ออกเปน็ 7 กลุม่ พ้ืนที่ ซง่ึ จะใชย้ ุทธศาสตรเ์ พือ่ การเช่อื มโยงที่มีประสทิ ธภิ าพแตกตา่ งกนั ไป

สาหรับการอนุรกั ษฟ์ น้ื ฟยู า่ นกะดจี ีน-คลองสานน้ัน จากการศึกษาได้กาหนดวิสัยทัศน์ของการฟื้นฟูย่าน คือ
“ย่านแห่งความหลากหลายทางวัฒนธรรมริมน้า ท่ีสร้างสรรค์เพื่อทุกคน” ซึ่งมีการกาหนดรายละเอียดการอนุรักษ์
ฟ้นื ฟทู ้ังสนิ้ 5 ด้าน ได้แก่ ด้านการท่องเท่ียว ด้านมรดกวัฒนธรรมและวิสาหกิจท้องถิ่น ด้านเศรษฐกิจสร้างสรรค์
ด้านทอ่ี ยู่อาศยั และด้านพน้ื ท่สี าธารณะร่วมของหลากวัฒนธรรม

นอกเหนือจากผงั แมบ่ ทการอนรุ ักษ์ฟ้นื ฟยู ่านฯ ยังได้จัดทาผังแม่บทเพ่ือการส่งเสริมภูมิทัศน์ย่านกะดีจีน-
คลองสาน โดยได้เสนอแนวทางการควบคุม และแนวทางการส่งเสริมภูมิทัศน์ ใน 3 กลุ่มพ้ืนท่ีสาคัญ ได้แก่ พื้นที่
ริมนา้ ศาสนสถาน-โบราณสถาน และทางสัญจรท่สี าคัญ และได้จัดทารายละเอียดโครงการนาร่องเพ่ือการฟ้ืนฟูพื้นท่ี
เชงิ กายภาพ ภายใต้ผังแมบ่ ทการอนรุ กั ษ์ฟ้นื ฟยู า่ นฯ จานวน 5 โครงการ ได้แก่ โครงการปรับปรุงทางเดินริมน้า ย่าน
กะดีจนี โครงการศูนยข์ อ้ มูลทอ่ งเท่ียวทางนา้ -จักรยาน ใต้สะพานพุทธฯ โครงการพัฒนาทางเดินริมน้า ย่านคลองสาน
โครงการถนนโอชาท่าดินแดง และโครงการสวนลอยฟ้า สะพานพระปกเกล้าฯ

77
รายงานสรปุ สาหรบั ผบู้ รหิ าร โครงการจดั ทาผงั แมบ่ ทการฟ้นื ฟูย่านเมืองเกา่ และการอนุรกั ษฟ์ ้ืนฟยู ่านกะดจี นี -คลองสาน




Click to View FlipBook Version