The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นำเสนอแนวคิดและองค์ความรู้ที่ได้รับในการพัฒนาประเทศสู่การเป็นประเทศไทย 4.0

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by cstd, 2021-05-20 03:31:28

ติดปีกความคิด High Performance and Potential System

นำเสนอแนวคิดและองค์ความรู้ที่ได้รับในการพัฒนาประเทศสู่การเป็นประเทศไทย 4.0

Keywords: Digital Transformation,การวิเคราะห์และการใช้ข้อมูล,การบริหารเชิงกลยุทธ์,ประเทศไทย 4.0

HIPPS 4
14

ติดปก
ความคิด

High
Performance
and Potential
System

คำนำ

สำนักงาน ก.พ. ได้ดำเนินการจัดอบรมหลักสูตรการเสริมสร้างคุณลักษณะส่วนบุคคลและ
ทักษะการทำงานสำหรับข้าราชการผู้มีสัมฤทธิ์สูง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ณ ประเทศไทยและ
สาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่างสำนักงาน ก.พ. และสถาบันบัณฑิตพัฒน-
บริหารศาสตร์ โดยมวี ตั ถุประสงคเ์ พื่อพัฒนาคุณลกั ษณะที่พ่ึงประสงค์ละทักษะทจ่ี ำเปน็ สำหรับข้าราชการ
ผู้มีผลสัมฤทธิ์สูงรุ่นใหม่ให้มีความพร้อมสำหรับการปฏิบัติงานในหน้าที่และความรับผิดชอบที่สูงข้ึน
ภายใต้กรอบการเรยี นรู้ 3 หัวข้อ ได้แก่ (1) Digital Transformation (2) การวิเคราะห์และการใช้ขอ้ มูล
(Data Analytics) และ (3) การบริหารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management) ซึ่งหลักสูตรดังกล่าวจะ
ประกอบด้วย 5 โมดูล ได้แก่ (1) การเสริมสร้างทักษะการปฏิบัติงาน (Professional Skills)
(2) การพัฒนาสมรรถนะ (Competency Development) (3) การสร้างความตระหนักรู้ในการเป็น
ขา้ ราชการและผู้นำทางสงั คมท่ีดี (Public Service Attitudes) (4) การเสริมสร้างมมุ มองและประสบการณ์
ปฏิบัติงานที่เป็นสากล (Global Mindset) และ (5) การแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และการนำเสนอโครงการ
(Knowledge Sharing and Project Presentation)

หนังสือติดปีกความคิด HiPPS รุ่น 14 เล่ม 4 นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมองค์ความรู้และ
ประสบการณ์จากการศึกษาดูงาน ณ นครเฉิงตูและเมืองฉงชิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน ของผู้เข้าอบรม
กลุ่มที่ 4 เพื่อนำเสนอแนวคิดและองค์ความรู้ที่ได้รับในการพัฒนาประเทศสู่การเป็นประเทศไทย 4.0
สำนกั งาน ก.พ. หวังเปน็ อยา่ งย่ิงว่าหนงั สือเล่มน้ีจะเปน็ ประโยชนต์ ่อสว่ นราชการตอ่ ไป

* หมายเหตุ บทความทั้งหมดนี้เขียนขึ้นจากประสบการณ์ผู้รับทุน ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อถ่ายทอดความรู้และ
ประสบการณท์ ่ไี ดร้ ับจากการฝึกอบรม เน้ือหาในบทความเปน็ ความคิดเหน็ ส่วนตัวของผเู้ ขียนซึ่งไม่ผกู พนั กับหน่วยงาน
ตน้ สงั กัดและสำนกั งาน ก.พ. แตอ่ ยา่ งใด

สารบญั

การพฒั นาเมอื งที่ยง่ั ยนื เพ่ือคุณภาพชีวิตและสขุ ภาพท่ียืนยาว 1
(Healthy City for Healthy life)
6
กรวิภา ปนุ ณศิริ 11
Agile Methodology ในหน4วยงานราชการ 14

กฤษณี ศรลี างค 20
กรมวิทย6 with you 4.0
24
กอบบุญ บญุ เย็น 31
จากประสบการณส6 กู4 ารพัฒนาอตุ สาหกรรมไทย : ถอดบทเรียนนโยบายการพฒั นามหานครฉงชิ่ง 37
ศนู ย6กลางการพฒั นาจีนตะวันตก (Go West Policy) 39

จันทิมา ยาเกิน้ 45
การปฏิรูปการทำงาน เพื่อการพัฒนาศักยภาพบุคลากรในงานดMานการตรวจพสิ ูจนท6 างนิติวทิ ยาศาสตร6 49
และตอบสนองดาM นการอำนวยความยตุ ธิ รรม Work at Anywhere : W@AW 52
56
ฐิตมิ า สรรเพชุดาญาณ
การวิเคราะห6ขอM มูล (Data Analytics) เพ่อื การปฏิรูปเขตควบคุมมลพิษ

ณฏั ฐนิ พี ร สร'อยสงู เนิน
หาM มรฐั แขง4 ขนั กบั เอกชน : หรอื ประเทศไทยกำลังหลงทาง

ณัฐพชั ร ทววี รรณบูลย
สรปุ การเรยี นรจMู ากการอบรมหลกั สตู รขMาราชการผMมู ผี ลสัมฤทธสิ์ งู

ดวงตา ทองสกลุ
แนวทางการพฒั นาระบบฐานขอM มูลการดำเนนิ ความรว4 มมอื ระหว4างประเทศดาM นการอุดมศึกษา
วทิ ยาศาสตร6 วิจยั และนวตั กรรม

ตรญั รกั ร)วม
จีน : ตนM แบบการพัฒนาประเทศและทรพั ยากรบุคคล

เตชธรรม วศั รากจิ กุล
Project Made in China 2025 สู4 Thailand 4.0

ทรรศนันทน จำปา
แอปพลเิ คชัน “ONE DLT”

ทพิ ยวัลย พิศาลป,ติ
การใชเM ทคโนโลยสี ราM งระบบจัดเกบ็ และเช่ือมโยงขMอมูลบุคลากร
เพือ่ เพ่มิ ประสิทธภิ าพในการทำงาน

ธญั ลกั ษณ ฮัน่ ตระกูล

สารบัญ

แนวทางการรักษาองค6ความรMูการใชปM ระโยชน6ขอM มลู ขนาดใหญใ4 หMอยใู4 นองค6กร 60
นทั ธมน มยรุ ะสาคร 64
67
ถนนไรหM ลมุ บ4อไมไ4 ดแM คฝ4 นj ไป ! หากช4วยกนั ใชแM อพพลิเคช่ัน “iRoadMaintenance” 72
นนั ทวฒุ ิ บุญอินทร
76
ขMอเสนอในการพัฒนางานช่งั ตวงวดั จากการถอดบทเรยี นจากโครงการขาM ราชการผูมM ีผลสัมฤทธิ์สงู 80
เบญจมาส วญิ ญา 85
89
ขอM เสนอตอ4 การพฒั นางานและองคก6 รจากกรณตี ัวอย4างการพัฒนานโยบายแรงงานบนเศรษฐกิจ 93
Platform
96
ปรวนั จนั ทรังษี 100
ขอM คิดจากการพฒั นาประเทศของจนี และแนวทางการพฒั นาเพื่อรองรบั Energy 4.0
104
ปวีณธดิ า ยันตทองอย)ู 108
การปรบั ตัวของผูปM ฏิบตั งิ านส4ูการพฒั นาองค6กรอย4างย่งั ยนื 112

พรภัทรา ตนั ตยานนท
การพัฒนาเทคโนโลยที างการเกษตรเพอ่ื เกษตรกรของไทย

พรรษกร แก'วงามพรรณ
“จากสมุทรสงคราม...สู4มหานครเฉงิ ตู”

พชั นวี รรณ รอ) งซ'อ
การพัฒนาการใหMบรกิ ารประชาชนของกรมการปกครองดวM ยแนวคิด
Data-Driven Organization และ Digital Transformation

พันธยศ จนั ทรผง
ขอM เสนอการปรับปรงุ โครงการลงทะเบยี นเพอื่ สวสั ดิการแห4งรัฐ

ภารดี นาคสาย
บทบาทและความทาM ทายของกรมสรรพากรในการผลักดันประเทศไทยสู4เศรษฐกจิ ยคุ ดจิ ิทลั
(The Role and Challenges of the Revenue Department in pushing Thailand
toward Digital Economy)

รวิสรา หทัยเสรี
บุคลากรรัฐรว4 มมือ หารือปวงประชา มง4ุ พัฒนาไทยยั่งยืน

วรรณมาศ นอ' ยสวุ รรณ
Agile กับสำนักงานประกันสงั คม

วริ ิยะ ย้ิมยิง่
ความทาM ทายของการวจิ ัยและนวตั กรรมกับการพฒั นาภาคการเกษตร

ศศิพิมพ ล่ิมมณี

สารบญั

เร่ืองเล4าจากจนี ส4ูไทย…กMาวใหม4ยุคดิจิทัล 116
สราวุฒิ มูลสขุ 120
123
“การจดั ทำแหล4งรวมขMอมูลและบริการของกรมส4งเสริมอตุ สาหกรรม” 126
สลติ า ศลิ ปบดินทร
132
Information Technology : ดMานการท4องเทย่ี วในพ้ืนท่ีอุทยานแหง4 ชาติ
สคั รนิ ทธ อน' ประวตั ิ 137

การพัฒนาเกษตรกรในเขตปฏริ ปู ที่ดินเพ่ือเปvนผูปM ระกอบการธุรกจิ ในระบบพาณิชย6อิเล็กทรอนกิ ส6
(e-Commerce)

สขุ วิทย โตนาราง
การพัฒนาฐานขอM มูลระบบการประเมนิ ผลกระทบสงิ่ แวดลMอมของประเทศไทย (Big Data)
และการใชMประโยชนใ6 นการบรหิ ารจัดการคณุ ภาพส่งิ แวดลMอม (Data Analytics)

สชุ าธษิ ณ วิรุฬหภิญโญ
นโยบายการพัฒนามุ4งไปทางภาคตะวนั ตกของประเทศจีน

หฤทยั กสิวฒั นาวุฒิ

การพฒั นาเมืองทยี่ ั่งยนื เพอื่ คณุ ภาพชวี ติ และสุขภาพทีย่ ืนยาว
(Healthy City for Healthy life)

กรวภิ า ปนุ ณศิริ
นกั วิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

กรมอนามัย

บทนำ
สืบเนื่องจากการพัฒนาเศรษฐกิจและประชากรที่โลกที่เพิ่มขึ้นอย!างต!อเนื่อง ส!งผลให'เกิดความเจริญเติบโต

ของเมืองอย!างรวดเร็วควบคู!กับการย'ายถิ่นของประชากรจากชนบทสู!เมือง ทำให'เกิดการขยายของเมืองขนาดใหญ!
โดยทั่วโลก ในป0 2557 มีเมืองขนาดใหญ!กว!า 28 เมืองทั่วโลกมีประชากรกว!า 10 ล'านคน และแนวโน'มในป0 2573
เศรษฐกิจโลกกว!าร'อยละ 61 จะมาจากกิจกรรมในเมืองใหญ! 750 เมือง หรือร'อยละ 22 ของจำนวนเมืองในโลก
ซ่งึ เปน: ปจ; จยั สำคัญหนึ่งทท่ี ำให'ประชาชนย'ายถิ่นเข'ามาอย!ูในเมืองมากข้นึ จากร'อยละ 50 เป:นร'อยละ 72 หรอื กว!า 2.4
พนั ล'านคน ในป0 2593 (ธนาคารแหง! ประเทศไทย,2561)

แม'ว!าการขยายสู!ความเป:นเมืองถือเป:นโอกาสของการพัฒนาประเทศอันสืบเนื่องมาจากการพัฒนาเศรษฐกจิ
แต!ยังเป:นความท'าทายต!อการจัดการสิ่งแวดล'อมและการสร'างสุขภาพที่ดีด'วย เนื่องจากหากการพัฒนาเมือง
อย!างรวดเร็วแบบไร'ทิศทาง จะส!งผลให'เกิดการกระจุกตัวในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง ป;ญหาความเหลื่อมล้ำทางสังคม
ความยากจน เกิดป;ญหาด'านสิ่งแวดล'อม และมิติสุขภาพ ซึ่งผลกระทบเหล!านี้ล'วนแต!ส!งผลต!อเศรษฐกิจ
และภาพลักษณขG องประเทศ

ประเทศไทยเป:นประเทศที่กำลังพัฒนาและกำลังเผชิญกับความท'าทายในการพัฒนาเมือง ร!วมกับการเข'าส!ู
สังคมผู'สูงอายุ การแข!งขันทางเศรษฐกิจอย!างรุนแรงในตลาดโลก ป;ญหาสิ่งแวดล'อมและคุณภาพชีวิตของคนที่อาศัย
อยู!ในสังคมเมือง ซึ่งเป:นป;จจัยที่กระตุ'นให'ประเทศไทยต'องเตรียมการรองรับการพัฒนาเมืองให'เป:นระบบ
และมปี ระสทิ ธภิ าพ

ดังนั้น จึงควรมีการพัฒนากรอบและแนวทางการพัฒนาเมืองของประเทศไทยอย!างบูรณาการและยั่งยืน
พัฒนาความพร'อมของหน!วยงานระดับพื้นที่ให'เข'าใจทิศทางและนำแนวทางนี้ไปจัดทำแผนการพัฒนา รวมทั้ง
เสริมสร'างความเข'มแข็งของภาคประชาชน โดยสร'างความรู' ความเข'าใจและการมีสว! นรว! มของประชาชน เพื่อให'เกิด
การพฒั นาเมืองอย!างย่ังยืน อนั นำไปส!ูการมีสิ่งแวดล'อมดี คนมีสขุ ภาพชวี ติ ที่ดี ภายใตก' ารบรหิ ารจัดการบ'านเมืองที่ดี
ควบค!ูไปกบั การพฒั นาเศรษฐกจิ ของประเทศ

1. แนวคิดการพัฒนาเมืองทีย่ ง่ั ยืนเพือ่ คุณภาพชีวิตสุขภาพทย่ี ืนยืน
ความเปน: เมือง หมายถึง กระบวนการที่ชมุ ชนกลายเปน: เมือง หรือการเคลอ่ื นย'ายของผ'คู นหรอื การดำเนินงาน

เพื่อเข'าสู!บริเวณเมืองหรือการขยายตัวของเมืองออกไปทางพื้นที่ การเพิ่มจำนวนประชากร หรือในการดำเนินกิจการ
งานต!าง ๆ มากขึ้น (ราชบัณฑิตยสถาน, 2524) ซึ่งเป:นผลมาจากการเพิ่มของประชากรและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ

ซึ่งแนวโน'มการขยายสู!ความเป:นเมืองมีแนวโน'มเพิ่มมากขึ้นทั่วโลก โดยเฉพาะทวีปเอเชียและแอฟริกา ซึ่งคาดว!า
จะมีอตั ราการขยายตัวส!คู วามเป:นเมืองมากทสี่ ุด (สำนกั งานบริหารและพัฒนาองคคG วามรู' องคกG ารมหาชน)

จากแนวโน'มข'างต'น นโยบายระดับโลกได'ให'ความสำคัญกับการพัฒนาเมืองอย!างยั่งยืน ทั้งเปLาหมาย
การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable development Goals, SDG) ขององคGการสหประชาชาติ ในเปLาหมายที่ 11
ได'มุ!งเน'นเปLาหมายเมืองในป0 2573 ที่มีความครอบคลุมมิติคุณภาพมากขึ้น โดยสนับสนุนการเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจ
สังคมและสิ่งแวดล'อมในทางบวก เพื่อเสริมความแข็งแกร!งของการวางแผนการพัฒนาในระดับชาติและระดับภูมิภาค
(องคGการสหประชาชาติ) นอกจากนี้ แนวคิดการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ (Smart City) ซึ่งเป:นแนวทางการบริหาร
จัดการเมืองยุคใหม!ที่มีประสิทธิภาพแก'ไขป;ญหาได'อย!างรวดเร็ว เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ให'เข'าถึงบริการมากข้ึน
ปลอดภัยและรวดเร็ว ด'วยการใช'เทคโนโลยีเข'ามาเพื่อตอบสนองต!อความต'องการของประชาชน และ Shanghai
Declaration ได'กำหนดให'การจัดการเมืองเป:น 1 ใน 3 องคGประกอบสำคัญ ร!วมกับการบริหารจัดการบ'านเมืองที่ดี
(Good Governance) และการสร'างความรอบรู'ด'านสุขภาพให'แก!ประชาชน (Health Literacy) ที่จะนำไปสู!
การสง! เสริมสขุ ภาพ สร'างสุขภาพท่ดี ขี องประชาชน อนั เปน: หวั ใจสำคัญของการพฒั นา (องคกG ารอนามยั โลก)

จะเห็นว!า หลักการการพัฒนาเมืองมีความสัมพันธGกับเศรษฐกิจ สิ่งแวดล'อม คุณภาพชีวิตและสร'างเสริม
สุขภาพที่ดีของประชาชนอย!างเชื่อมต!อแนบแน!น ผลของการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ ส!งผลให'เกิดการพัฒนาเมือง
ทั้งเชิงบวกทางเชิงลบ ในมิติเชิงบวก นอกจากจะช!วยให'เกิดการกระจายรายได' เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจในเมืองแล'ว
ยังช!วยบรรเทาความแออัดในเมืองใหญ! พัฒนาระบบสาธารณูปโภค ระบบคมนาคมขนส!ง สถานศึกษาและระบบ
บริการสาธารณสุข ทำให'คนคุณภาพชีวิตที่ดี แต!ในทางตรงกันข'าม หากมีการบริหารจัดการเมืองที่ไม!มีประสิทธิภาพ
อันไม!สอดคล'องกับการเติบโตและการขยายเมือง จะก!อให'เกิดผลกระทบทางลบต!อสังคม สิ่งแวดล'อมและสุขภาพ
ตามมา (โยธิน แสวงดี) ดังเช!นเกิดตัวอย!างในหลายพื้นที่ที่ประชาชนต'องเผชิญกับมลภาวะทางสิ่งแวดล'อม ทั้งเสียง
อากาศ นำ้ และปญ; หาการจราจร ชมุ ชนแออัด อาชญากรรม และการจราจรตดิ ขัด เป:นตน' องคกG ารอนามยั โลกได'ระบุ
การพัฒนาเมืองเป:นความท'าทายหนึ่งของระบบสุขภาพ เนื่องจากหากมีการจัดการที่ไม!ดีจะส!งผลกระทบต!อสุขภาพ
ตามมาได' โดยเฉพาะโรคไม!ติดต!อ (Non Communicable Diseases; NCDs) อันเป:นสาเหตุการเสียชีวิตที่สำคัญ
ในระดับโลก ทั้งจากพฤติกรรมเนือยนิ่ง ไม!ออกกำลังกาย และโรคอ'วน โรคระบบหัวใจและหลอดเลือดและโรคระบบ
ทางเดินหายใจอันเนื่องมาจากป;ญหามลพิษทางอากาศและโรคหอบหืดจากมลพิษทางอากาศในอาคาร และ
การเสยี ชวี ติ จากอบุ ัตเิ หตุเน่ืองจากการจัดการเมอื งทไ่ี มด! ี (องคกG ารอนามัยโลก) ซง่ึ ปรากฏการณGและผลกระทบทางลบ
เหล!าน้ี สามารถปอL งกนั จดั การไดด' 'วยการวางแผนบริการเมอื งทด่ี ี รอบดา' นและมีสว! นรว! มของทกุ ภาคสว! น

ตัวอย!างเช!น สาธารณรัฐประชาชนจีนได'มีการวางแผนการพัฒนาเมืองอย!างรอบด'าน โดยพบว!า ประเทศ
มีการเติบโตอย!างรวดเร็วเนื่องจากการพัฒนาเศรษฐกิจ การวางผังเมืองจึงมีความสำคัญอย!างยิ่ง ซึ่งนอกจากการวาง
ผังเมืองเพื่อการรองรับการพัฒนาเศรษฐกิจที่กระจายเมืองหลักไว'ทั่วประเทศเพื่อไม!ให'เกิดการกระจุกตัวในเมืองหลวงแล'ว
ยังคำนึงถึงมิติทางวัฒนธรรมดั้งเดิมของท'องถิ่นนั้น มิติด'านสิ่งแวดล'อม เช!น การกำหนดพื้นที่สีเขียว การใช'รถยนตG
ที่ปล!อยคารGบอนต่ำ การจำกัดเขตอุตสาหกรรม และมิติด'านสุขภาพ เช!น การสร'างพื้นที่สาธารณะเพื่อทำกิจกรรม
นันทนาการและการออกกำลังกาย เป:นต'น นอกจากนี้ ประเทศสหพันธรัฐเยอรมนี ได'มีนโยบายการขยายเมืองหลัก
ในแต!ละเมืองเพื่อไม!ให'เกิดการกระจุดตัวของการพัฒนา เน'นการพัฒนาเมืองสู! low carbon society การเพิ่มพื้นที่
สีเขียวในเมอื ง ซึง่ เปน: ตวั อย!างทด่ี ใี นการพัฒนาเมืองสำหรับประเทศต!าง ๆ

2

ความท2าทายของประเทศไทย
จากการประกาศใชแ' ผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห!งชาติ ทม่ี ุ!งกระจายความเจรญิ ไปยังเมืองหลกั ในภูมิภาค
ต!าง ๆ ทั้งศูนยGกลางราชการ การศึกษา สาธารณสุข โลจิสติกสG ทำให'เมืองต!าง ๆ มีการพัฒนาโครงสร'างพื้นฐาน และ
ทำให'เกิดการย'ายถิ่นฐานจากชนบทเข'ามาอาศัยอยู!ในเมืองมากขึ้น เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของตน ทำให'ประเทศไทย
มีอัตราส!วนความเป:นเมืองมากขึ้นและแนวโน'มการเติบโตจะทำให'เข'าสู!สังคมเมืองเพิ่มขึ้นอย!างรวดเร็ว โดยเฉพาะ
ในเมืองขนาดใหญ!และเมืองอุตสาหกรรม โดยคาดการณGว!าในอีก 20 ป0ข'างหน'า ประชากรไทยจะเพิ่มขึ้นอีกกว!า 11
ล'านคน และกว!าร'อยละ 73 จะอยู!ในเมือง (สำนักงานบริหารและพัฒนาองคGความรู' องคGการมหาชน) นอกจากนี้
ยังมีแรงกดดันทางเศรษฐกิจและสังคมทั้งการเข'าสู!สังคมผู'สูงอายุ การเพิ่มขึ้นของประชากร การแข!งขันทางเศรษฐกจิ
อย!างรุนแรงในตลาดโลก ป;ญหาสิ่งแวดล'อมและคุณภาพชีวิตของคนที่อาศัยอยู!ในสังคมเมือง ซึ่งเป:นป;จจัยที่ท'าทาย
ต!อประเทศไทย ที่ต'องกำหนดมาตรการรองรับการพัฒนาเมืองที่จะเติบโตอย!างรวดเร็วให'เป:นระบบและมี
ประสิทธิภาพ ปอL งกนั ไม!ให'เกิดผลกระทบทางลบดงั ท่ีกลา! วมาให'ข'างตน'
ถึงแม'ว!าในป;จจุบัน จะมีนโยบายเกี่ยวกับการวางแผนพัฒนาเมือง สิ่งแวดล'อมและคุณภาพชีวิตและสุขภาพ
อยู!แล'วในหน!วยงานต!าง ๆ แต!ยังขาดการบูรณาการกันอย!างแท'จริง ซึ่งหากส!วนใดส!วนหนึ่งเกิดปญ; หา ก็จะกระทรวง
กับอีกมิติหนึ่งเป:นลูกโซ! ส!งให'การจัดการเป:นไปได'ยาก และส!งผลกระทบต!อการบรรลุเปLาหมายของประเทศ
ตามยุทธศาสตรGชาติ 20 ป0 ที่ไดก' ำหนดไว' ดงั นัน้ หนว! ยงานระดับชาติและองคGกรปกครองส!วนท'องถ่ินต'องมีการเตรียม
ความพร'อม วางแผนเพื่อรับมือกับสถานการณGอย!างบูรณาการ เพื่อรองรับสถานการณGที่จะเกิดขึ้น อันเป:นหน'าท่ี
พื้นฐานของหน!วยงานรัฐที่จะสร'างหลักประกันให'ประชาชนในพื้นที่ได'รับบริการที่เหมาะสม ปลอดภัยและเป:นธรรม
โดยการมีส!วนร!วมของชุมชนและใช'เทคโนโลยีให'เกิดประโยชนGเพื่อให'เกิดการใช'ทรัพยากรที่ดิน ทรัพยากร
ทางธรรมชาติอย!างมีประสิทธิภาพ สร'างสภาพแวดล'อมที่ดี ซึ่งจะช!วยยกระดับคุณภาพชีวิตและนำไปสู!การมีสุขภาพ
ท่ดี ีของประชาชน อันเปน: พืน้ ฐานสำคญั ของการพัฒนาประเทศอยา! งยง่ั ยนื
ดังนั้น ประเทศไทยควรมีแนวทางสำหรับการพัฒนาเมืองของประเทศไทยอย!างบูรณาการ เป:นกรอบ
การพัฒนาเมืองที่เป:นมาตรฐานกลาง สำหรับองคGกรปกครองส!วนท'องถิ่นในการนำไปใช'จัดการเมือง และสำหรับ
หน!วยงานส!วนกลางเพื่อกำหนดนโยบายการพัฒนาอย!างรอบด'าน และกำกับ ดูแล เพื่อให'เกิดการจัดการ
ที่มีประสิทธิภาพ สร'างสุขภาพที่ดีของประชาชนและมีส!วนร!วมของทุกภาคส!วน ทั้งนี้ ตามหลัก Shanghai
Declaration ในการจะสร'างสุขภาพของประชาชน ควรประกอบด'วย 3 ส!วน โดยทั้ง 3 ส!วนต'องดำเนินการ
อย!างสมดลุ ดังรปู

3

ภาครัฐ

(การบรหิ ารบ2านเมืองท่ีดี)

Health

เมอื ง QOL ประชาชน
(Smart City)
จดั ระบบบรกิ ารพืน้ ฐาน ระบบบรกิ ารด2านอนามยั สง่ิ แวดล2อม (Smart Citizen)
และระบบรกิ ารด2านสง? เสรมิ สขุ ภาพและระบบสาธารณสขุ

Technology & Innovation

รปู ที่ 1 หลกั การพัฒนาเมอื งทย่ี ่ังยนื เพ่อื คณุ ภาพชีวิตและสขุ ภาพท่ียนื ยาว

รายละเอียดแตล! ะองคปG ระกอบ ดังนี้
1) การบริการจดั การบ'านเมอื งท่ดี ี เช!น การจดั หาและควบคุม กำกบั ระบบบริการท่ไี ด'มาตรฐาน เปน: ธรรม
2) การพัฒนาเมืองที่ดี เช!น การจัดการสิ่งแวดล'อม (อากาศ น้ำ ขยะ อาหาร) การจัดพื้นที่สาธารณะ
นันทนาการ สถานที่สำหรับออกกำลังกายและพื้นที่สีเขียว การจัดการโครงสร'างพื้นฐาน (ประปา ไฟฟLา
ถนน อินเทอรGเน็ต ระบบบริการสาธารณสุข) ที่เข'าถึง สะดวก และปลอดภัย และขับเคลื่อนโดยใช'
เทคโนโลยีและเนน' การปลอ! ยคารGบอนต่ำ
3) การสร'างความเข'มแข็งภาคประชาชน เช!น การสร'างความรอบรู'ด'านสุขภาพ สร'างการมีส!วนร!วม
ของประชาชนในการดูแล จัดการและติดตาม ตรวจสอบ โดยการสร'างระบบให'ประชาชนติดตาม และ
แจง' เหตไุ ด'
นอกจากนี้ ในทุกองคGประกอบต'องมีการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาร!วมกับพัฒนาเมืองในทุกด'าน

ให'เกิดการต!อยอดการดำเนินงาน และทุกภาคส!วนต'องร!วมกันดำเนินการ เพื่อประชาชนอย!ูในเมืองที่มีคุณภาพ
สิ่งแวดล'อมมีความสะอาด ปลอดภัย และประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีสุขภาพที่ดี ควบคู!ไปกับการพัฒนาเศรษฐกิจ
ของประเทศ รวมท้งั สร'างภาคลกั ษณGทดี่ ขี องประเทศด'วย

4

4. ขอ2 เสนอต?อการพัฒนา
กรมอนามัยในฐานะหน!วยงานหลักในการอภิบาลระบบส!งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล'อม ควรเป:น

หน!วยงานหลกั ในการผลกั ดันนโยบายดงั กล!าว โดย
1) พัฒนาดัชนีสำหรับเมืองที่ยั่งยืนร!วมกับหน!วยงานที่เกี่ยวข'อง และผลักดันเป:นนโยบายสำคัญของประเทศ
เพื่อคุณภาพชีวิตและสุขภาพท่ยี ืนยาว
2) เสริมสร'างความเข'มแข็งขององคGกรปกครองส!วนท'องถิ่นให'มีความพร'อมในการจัดการบริหารเมือง
ที่มปี ระสทิ ธิภาพ
3) พฒั นาฐานขอ' มูล องคคG วามรู' เครอ่ื งมือทจี่ ำเป:นสำหรับองคGกรปกครองสว! นท'องถนิ่
4) ผลกั ดนั สง! เสรมิ ยกยอ! ง เชดิ ชหู นว! ยงานท่มี ีการปฏบิ ตั ไิ ด'ดี เปน: ตวั อยา! งให'พื้นที่อ่นื ตอ! ไป

5. เอกสารอ2างองิ
ธนาคารแหง! ประเทศไทย.2561. ความเปHนเมือง (Urbanization) และนยั เชงิ นโยบายของไทย.สืบค'นจาก

https://www.bot.or.th/Thai/MonetaryPolicy/ArticleAndResearch/FAQ/FAQ_128.pdf
โยธนิ แสวงดี และคณะ. การเติบโตของเมืองชมุ ทาง: กรณีวเิ คราะหMอำเภอนางรอง จงั หวดั บุรีรัมยM. สบื คน' จาก

http://www.ipsr.mahidol.ac.th/ipsr/annualconference/conferenceiii/Articles/Download/Articl
e03.pdf
สำนกั งานบริหารและพัฒนาองคคG วามรู' (องคGการมหาชน).Urbanization การขยายตัวของความเปHนเมอื ง สืบคน'
จาก http://www.okmd.or.th/okmd-opportunity/urbanization/256/
องคGการสหประชาชาต.ิ The Global goals for Sustainable Development. สบื ค'นจาก
https://www.un.or.th/globalgoals/th/the-goals/
องคGการอนามัยโลก. Health impacts. Urban health. From https://www.who.int/sustainable-
development/cities/health-risks/about/en/s

5

Agile Methodology ในหนวยงานราชการ

กฤษณี ศรีลางค
นกั วิชาการตรวจสอบบญั ชีชำนาญการ

กรมตรวจบญั ชสี หกรณ

บทนำ
ในเวลาน้ีคงไมมีใครหรือองคการไหนจะปฏิเสธไดวา โลกปจจุบันกำลังเปล่ียนไปเป'นโลกยุคดิจิทัล

ท่ีเต็มไปดวยการใชเทคโนโลยีดิจิทัลมาชวยใหการดำเนินงานมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล หรือทำใหการดำเนินชีวิต
สะดวกสบายและรวดเร็วมากข้ึน ยกตัวอยางเทคโนโลยี เชน ระบบ Cloud Computing, Big Data, Internet of Things
(IoT), Smart Phone และ Social Media ซึ่งปรากฏการณ Digital Disruption น้ี สงผลกระทบใหองคการตาง ๆ
ตองปรับเปลี่ยนองคการใหทนั กบั เทคโนโลยีทีก่ าวหนา และพฤติกรรมของผบู รโิ ภคทชี่ อบความสะดวกสบายและรวดเร็ว
เพื่อใหองคการสามารถอยูรอดและเติบโตอยางย่ังยืน เพราะในยุคนี้การแขงขันทางธุรกิจไมไดวัดที่ขนาดขององคการ
อีกตอไป แตจะวัดกันท่ีความเร็วในการตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงของโลก หมดยุค “ปลาใหญกินปลาเล็ก” เขาสู
ยุค “ปลาเร็วกินปลาชา” ดังน้ันหลาย ๆ องคการจึงใหความสนใจกับการปรับเปล่ียนองคการใหเขาสูยุคดิจิทัล หรือ
Digital Transformation ซึ่งการปรับเปลี่ยนองคการใหอยูไดในโลกดิจิทัลน้ันข้ึนอยูกับหลายปจจัย เชน วัฒนธรรม
ขององคการ การพัฒนาบุคลากร การนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช และการเขาถงึ ความตองการของลกู คา

เม่ือองคการตาง ๆ เริ่มมองหาวิธีการในการปรับเปลี่ยนองคการใหคงอยูในโลกดิจิทัล แนวคิด
การทำงานแบบ Agile ก็เป'นหนึ่งในวิธีการหน่ึงที่หลากหลายองคการนำไปใชเพื่อทำใหการดำเนินงานขององคการ
รวดเร็วมากขน้ึ เหมือนกับความหมายของ Agile ท่ีแปลวา กระฉับกระเฉง วองไว ในขณะท่ีหลากหลายองคการพูดถึง
แนวคิด Agile กันอยางแพรหลาย แตยังคงมีคนอีกหลายกลุมที่ยังไมเคยไดยินคำน้ี อยางเชนขาพเจาท่ีไดยินคำวา
Agile ครั้งแรกในการเรียนรูหัวขอวิชา Data Transformation ขณะเขารับการฝ[กอบรม หลักสูตรการเสริมสราง
คณุ ลกั ษณะสวนบุคคล และทักษะการทำงานสำหรับขาราชการผูมีผลสมั ฤทธิส์ ูง ประจำป^งบประมาณ 2562 บทความ
นีจ้ งึ จะอธบิ ายเก่ียวกับ Agile Methodology และการประยกุ ตใชแนวคิดนใี้ นหนวยงานราชการ

Agile คืออะไร
แนวคิด Agile มาจากการประชุมของนักพัฒนาซอฟตแวร 17 ทาน เมื่อป^ ค.ศ. 2001 ณ ประเทศ

สหรัฐอเมริกา เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเก่ียวกับเร่ือง Lightweight Software Development หรือการพัฒนา
ซอฟตแวรแบบไมยุงยาก หลังจากการประชุมไดมีการประกาศอุดมการณแหง Agile Software Development และ
หลักการ 12 ประการ ซงึ่ อดุ มการณนี้ใหความสำคญั กบั

1. คนและการมปี ฏสิ มั พนั ธกัน มากกวาการทำตามขั้นตอนและเคร่ืองมือ
2. ซอฟตแวรทนี่ ำไปใชงานไดจรงิ มากกวาเอกสารท่ีครบถวนสมบูรณ
3. รวมมอื ทำงานกับลกู คา มากกวาการตอรองใหเป'นไปตามสัญญา
4. การตอบรบั กบั การเปลี่ยนแปลง มากกวาการทำตามแผนทวี่ างไว

6

หลักการ 12 ประการเบอื้ งหลังอุดมการณ มดี งั นี้
1. ความสำคัญสูงสุดของพวกเราคือความพึงพอใจของลูกคาท่ีมีตอการสงมอบซอฟทแวรท่ีมีคุณคา
ตอลกู คา ตั้งแตตนอยางตอเน่อื ง
2. ยอมรับการเปล่ียนแปลงความตองการของลูกคาแมในชวงทายของการพัฒนาเพราะ Agile สามารถ
แปรเอาความเปล่ยี นแปลง มาเป'นความไดเปรียบในการแขงขนั ของลูกคา
3. สงมอบซอฟทแวรที่ใชงานไดจริงอยางสม่ำเสมออาจเป'นทุกสองถึงสามสัปดาหหรือทุกสองถึงสามเดือน
โดยควรทำใหระยะเวลาระหวางการสงมอบนั้นสน้ั ทสี่ ุดเทาทีเ่ ป'นไปได
4. ตัวแทนจากฝาn ยธุรกจิ และนักพัฒนาจะตองทำงานรวมกันเปน' ประจำทุกวันตลอดโครงการ
5. ทำใหแนใจวาสมาชกิ โครงการเขาใจและมีจดุ มงุ หมายของโครงการรวมกันสรางสภาวะแวดลอมและใหการ
สนบั สนุนในสิ่งท่ีพวกเขาตองการและใหความไววางใจแกพวกเขาในการที่จะทำงานใหบรรลเุ ปาo หมายนั้น
6. วธิ ีท่ีมีประสิทธิภาพและประสิทธผิ ลสูงสุดในการถายทอดขอมลู ตาง ๆ ไปสูทีมพัฒนาและภายในทีมพัฒนา
เองคอื การพูดคยุ แบบซึ่งหนา
7. ซอฟทแวรท่ใี ชงานไดจรงิ เป'นตวั หลักในการวดั ความกาวหนาของโครงการ
8. กระบวนการ Agile สนับสนุนใหเกิดการพัฒนาแบบยั่งยนื กลาวคือผูสนับสนุนนักพัฒนา และตัวแทนผูใช
ควรจะสามารถรักษาอตั ราเร็วในการทำงานรวมกนั ใหคงท่ไี ดตลอดไป
9. การใสใจในความเป'นเลศิ ทางเทคนคิ และงานออกแบบที่ดีอยางตอเน่ืองจะชวยเพิ่มความเปน' Agile
10. ความเรยี บงาย หรอื ศิลปะในการทำงานอยางพอเพียง น้ันสำคญั ย่ิง
11. สถาปตยกรรมซอฟตแวร ความตองการของลูกคา และงานออกแบบที่ดีที่สุด เกดิ จากทีมทบี่ ริหารจัดการ
ตวั เองได
12. ทุกชวงเวลาหนึ่งเป'นประจำ ทีมจะตองยอนกลับไปตรองดูสิ่งท่ีผานมาเพ่ือหาทางท่ีจะพัฒนาความ
มีประสทิ ธิผลของทีมแลวนำสง่ิ เหลานัน้ มาปรบั ปรุงและเปล่ยี นแปลงพฤติกรรมของทมี
หรืออาจสรุปไดวา Agile เป'นแนวคิดการทำงานที่จะชวยใหทำงานไดเร็วข้ึน โดยลดการทำงาน
ที่เป'นขั้นตอนและงานดานเอกสารลง และมุงเนนเร่อื งการส่ือสารกันในทีมใหมากข้ึน มีการทำงานรวมกันระหวางฝnาย
ธุรกิจหลักขององคการและฝnายพัฒนาซอฟตแวร พรอมนำผลิตภัณฑมาทดสอบ และเก็บผลตอบรับตาง ๆ
จากผูใชงานและผูที่เกี่ยวของ เพื่อแกไขปรับปรุงสงผลใหสามารถพัฒนาผลิตภัณฑไดรวดเร็วและตอบโจทยผูใชงาน
มากข้ึนนน่ั เอง

การใช Agile Methodology ในองคการตาง ๆ
กอนหนานี้องคการดานเทคโนโลยีสวนใหญมีรูปแบบการทำงานแบบ Waterfall Process คือ มีการ

วางแผนการทำงานตั้งแตตนจนจบโครงการครั้งเดยี ว ซ่ึงวิธีการทำงานดังกลาวทำใหองคการตองประสบกับปญหาหลัก
คอื กวาจะเจอความผิดพลาดก็อาจจะสายไปเสียแลว นอกจากน้ีการทำงานแบบเดิม ๆ ขององคการใหญยังมีลักษณะ
ของการทำงานแยกสวนตามสายงาน ท่ีเรียกวา Silo หรือ Function ทำใหการประสานงานระหวางกันเป'นไปได
ลำบาก ดังน้ันหลายองคการจึงนำแนวคิด Agile Methodology มาใช ซ่ึงเนนการทำงานในทีมท่ีประกอบไปดวย
บุคลากรจากหลายสายงาน (Cross-functional Team) ที่เรียกวา Agile Squad และเปลี่ยนวิธีการทำงานจากการ

7

กำหนดเปoาหมายแบบมุงไปคร้ังเดียวเป'นการวางแผนและสงมอบงานทีละชิ้นเล็ก ๆ เพ่ือใหสามารถรับมือกับปญหา
หรอื ขอผิดพลาดท่ีเกิดข้นึ เล็ก ๆ นอย ๆ ได และสามารถแกไขไดทันทวงที

Agile Methodology มีหลายกรอบการทำงาน (Framework) ซึ่ง Scrum เป'น Framework ท่ีไดรับความ
นยิ มอยางมากในองคการท่ีทำธรุ กจิ เทคโนโลยีหรอื การพฒั นาซอฟตแวร กระบวนการของ Scrum ที่นาสนใจมดี ังนี้

1. Backlog: เป'นบอรดท่ีรวบรวม Task หรืองานที่ตองทำท้ังหมดในการพัฒนาผลิตภัณฑ ท้ังท่ีมาจากความ
ตองการ (Requirement) ของลูกคาและมาจากทีม โดยจะมีคนที่มีหนาที่เป'น Product Owner เป'นคนตัดสินใจนำ
Task ตาง ๆ เหลาน้ีเขาไปใน Sprint ตามลำดบั ความสำคัญ

2. Sprint Phase: อยางท่ีทราบวา Agile นั้นเนนการสงงานใหเร็วและบอย ซึ่งรอบการดำเนินงาน
ในระยะเวลาส้ัน ๆ จะเรียกวา Sprint โดยมีกำหนดประมาณ 2-4 สัปดาห โดยเปoาหมายของ Sprint คือการสงมอบ
งานแตละรอบใหสำเร็จ ซ่ึงเมื่อจบ Sprint ก็จะมีการทบทวนผลงาน (Sprint Review) ใหกับคนอ่ืน ๆ ที่เก่ียวของอาจจะ
เป'นทีมฝาn ยขาย ผูใชงาน หรอื ลกู คา เพอ่ื ใหรับทราบถงึ ความคืบหนาของโครงการ (Project) เปน' ระยะ

3. Daily Scrum Meeting : ในทุก ๆ เชาทีมจะมีการประชุมส้ัน ๆ 10-15 นาที เพื่อบอกวาใคร
ทำอะไรไปแลว มีแผนจะทำอะไรตอ และพบปญหาอะไรบาง เพ่ือใหการทำงานในทุก ๆ วันเป'นไปอยางราบรื่น
ทำใหทุกคนทราบวาทีมกำลังเดนิ ไปในทิศทางท่ีถูกตองหรือไม และมีการแกไขปญหาอยางตอเน่ือง

แมวาแนวคิด Agile จะเร่ิมมาจากการพัฒนาซอฟตแวร หรือธุรกิจเทคโนโลยี แตแนวคิดน้ีก็สามารถนำไป
ประยุกตใชกับธุรกิจดานอื่น ๆ ได โดยนำแนวคิดและหลักการของ Agile ไปใช เชนการใหความสำคัญ
ในการสื่อสารกับบุคลากรในทีมและผูเก่ียวของทุกฝnาย การทำงานรวมกันระหวางบุคคลจากหลากหลายสายงาน
การแบงปนขอมูลใหกับบุคลากรในองคการ และการรับฟงผลตอบรับเพ่ือนำมาปรับปรุงพัฒนาผลิตภัณฑ
มงุ ไปสูการตอบสนองความตองการของลกู คาใหดยี ่งิ ขนึ้

ขอเสนอเพื่อการพัฒนาการปฏิบัตงิ าน
ในยุคดิจิทัลนี้ องคการทุกรูปแบบตางสรางสรรคนวัตกรรมมาเพื่อใหบริการแกลูกคา และเพื่อทำให

การดำเนินงานขององคการมีประสิทธิภาพและรวดเร็วขึ้น ไมเวนแมแตองคการภาครัฐท่ีสรางนวัตกรรม
เพื่อใหบริการแกประชาชน ยกตัวอยางเชน Application ตาง ๆ ขององคการในภาครัฐ หรือการบริการเบ็ดเสร็จ ณ
จุดเดียว (One Stop Service) ซ่ึงการพัฒนานวัตกรรมของภาครัฐน้ัน พัฒนาเพ่ือตอบสนองความตองการของ
ประชาชน ซงึ่ ในยุคปจจุบันน้ีความตองการของประชาชนอาจเปลยี่ นแปลงไดงายตาม การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
ในยุคดิจิทัล ดังน้นั หากหนวยงานราชการประยุกตแนวคดิ Agile Methodology ไปใชในการพฒั นานวัตกรรมอาจจะ
สงผลใหนวตั กรรมนนั้ มีประโยชน มคี ุณคา และตอบสนองตอความตองการของประชาชนไดดีมากย่ิงขน้ึ

โดยขอเสนอของขาพเจาในการประยุกตใช Agile Methodology ในหนวยงานราชการ คือใหเริ่มจากกลุม
งานขนาดเล็ก ที่มีความพรอมและเป'นหนวยงานท่ีมีโครงการสรางผลิตภัณฑหรือนวัตกรรมเพ่ือใหบริการประชาชน
หรือนวัตกรรมเพ่ือปรับปรุงการดำเนินงานของหนวยงานใหดีขึ้น โดยขอยกกรณีศึกษาของกรมตรวจบัญชีสหกรณ
ซ่ึงเปน' หนวยงานตนสังกัดของขาพเจาในการนำแนวคดิ Agile มาประยกุ ตใช มขี อเสนอดงั ตอไปนี้

1. ประยุกตใช Agile Methodology กับกลุมงานในศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำหรับกลุม
งานท่ีมีโครงการพัฒนาซอฟตแวรหรือแอปพลิเคชัน เพ่ือใหบริการประชาชนหรือบุคลากรในหนวยงาน ซึ่งมักจะ
ประสบปญหาการเปลี่ยนแปลงของความตองการผูใชงาน หรอื Requirement

8

2. นำกรอบการทำงานแบบ Scrum มาประยุกตใชใหเหมาะสมกบั หนวยงาน เชน มีการแบงงานของโครงการ
เป'นหลาย ๆ Sprint เพื่อสามารถสงมอบงานใหผูท่ีเก่ียวของไดรวดเร็วและสม่ำเสมอ เป'นประโยชนในการปรับปรุง
แกไขใหตรงกบั ความตองการของผใู ชงานมากข้ึน

3. จัดประชุมสั้น ๆ ในแตละวันเพื่อทราบถึงความคืบหนาและปญหาในการพัฒนานวัตกรรม พรอมหา
แนวทางแกไขปญหานนั้ ๆ เพอ่ื ใหงานสามารถดำเนินตอได และสงเสรมิ การสื่อสารระหวางทีม

4. นำเทคโนโลยีตาง ๆ มาใชในการทำงานหรือการพัฒนาซอฟตแวร สำหรับขั้นตอนที่สามารถ
ใชเทคโนโลยีชวยไดเพ่ือทำใหคนมีเวลาทำงานอื่น ๆ ท่ีสำคัญมากขึ้น เชน การใชเครื่องมือชวยในการทดสอบ หรือ
Automation Testing Tool มาชวยทดสอบระบบเพื่อลดเวลาการทดสอบระบบในปญหาท่ีเกดิ ขึน้ ซำ้ ๆ

5. สำหรับการจัดบุคลากรในทีมอาจไมสามารถทำแบบรวมหลายสายงานอยูในทีมเดียวกัน หรือ
Cross-functional ที่เป'นหลักการของ Agile ไดท้ังหมด เน่ืองดวยในระบบราชการเป'นการแบงสวนงานแบบตาม
สายงาน Function หรือ Silo และมีสายบังคับบัญชาเป'นลำดับข้ัน ดังน้ันจึงอาจประยุกตแนวคิดของ Agile มาใชได
โดยในการสรางนวตั กรรมหนึ่ง ๆ นั้น ตองมีการประชุมหารือกันระหวางหนวยงานที่เก่ยี วของกับการใชนวัตกรรมนั้น ๆ
และทีมพัฒนาซอฟตแวร เชน การประชุมระหวางสำนักมาตรฐานการบัญชีและการสอบบัญชี ซ่ึงเป'นหนวยงานภารกิจ
หลักของกรมและศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ตั้งแตข้ันตอนการเก็บขอมูลความตองการ การออกแบบ
การใหผลตอบรับงานแตละ Sprint หรืออาจจะชวยในขั้นตอนทดสอบบางสวน เพราะหนวยงานภารกิจหลักจะทราบ
ถึงมาตรฐานและหลักการการทำงานตามภารกิจของกรมมากกวา และบางครั้งอาจเป'นผูสื่อสารนวัตกรรมใหกับ
บุคลากรของกรมในสวนภมู ภิ าคและพน้ื ที่ รวมท้ังตอบคำถามกบั ประชาชน

6. จัดประชุมเพ่ือทบทวนงานของแตละ Sprint รวมกับผูเก่ียวของทุกฝnาย เพ่ือใหผูที่เก่ียวของไดทราบถึง
ความกาวหนาของโครงการ ไดทดลองใชผลงานช้ินน้ัน และมีผลตอบรับใหกับทีมพัฒนา ทำใหทีมพัฒนา
ไดทราบถึงปญหา ขอบกพรองตาง ๆ และสามารถนำมาแกไขปรบั เปลีย่ นแผนโครงการไดทนั ทวงที

7. ผบู รหิ ารในทกุ ระดบั ของกรมตองเขาใจถงึ เปoาหมายของโครงการอยางชัดเจน และสอื่ สารใหทกุ คนทราบวา
ทำไปเพือ่ อะไร ทำใหบคุ ลากรในทีมและผทู ี่เกี่ยวของปฏิบตั ิงานไปในทศิ ทางเดียวกนั มงุ สูเปoาหมาย

8. ใหอำนาจในการตัดสินใจตามความขอบเขตงานอยางเหมาะสมกับเจาหนาท่ีระดับปฏิบัติการ ใหสามารถ
เปล่ียนแปลง ปรับปรุงโครงการไดดวยตัวเอง ไมตองรอใหผูบริหารตัดสินใจทั้งหมด ในกรณีของการพัฒนาซอฟตแวร
เจาหนาท่ีระดับปฏิบัติการก็คือศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร และหนวยงานท่ีตองใชหรือเก่ียวของกับ
ซอฟตแวรน้ัน ๆ ทำใหการพฒั นาซอฟตแวรหรือนวตั กรรมรวดเร็วคลองตัวมากข้ึน

9. แบงปนขอมูลระหวางกลุมงาน เพื่อใหกลุมงานอื่นทราบถึงเทคโนโลยีท่ีชวยในการปฏิบัติงาน
การแกไขปญหาในการทำงาน ซึ่งอาจจะมีรูปแบบคลาย ๆ กัน เพราะเป'นการพัฒนานวัตกรรมดานเทคโนโลยี
เหมอื นกนั และแบงปนขอมูลใหบคุ ลากรท้ังกรมหากมีเทคโนโลยีทช่ี วยใหการทำงานมีประสทิ ธิภาพมากข้ึน

ในชวงแรกท่ีเร่ิมประยุกตแนวคิด Agile มาใชในการทำงานอาจจะไมไดเห็นผลงานเร็วอยางที่คิด เพราะอยู
ในชวงปรับตัว ตองรอใหทุกคนในทีมและหนวยงานคุนชินกับการทำงานแบบใหมกอนถึงจะเห็นผลของการใช Agile
Methodology จึงอาจกลาวไดวาการประยุกตใชแนวคิด Agile เป'นการลงทุนระยะยาวที่ตองใชเวลากอนจะได
ผลตอบแทน แตถึงอยางไรก็ตามประโยชนของการใชประยุกตใชแนวคิด Agile ก็มมี ากมาย เชน การท่ีคอย ๆ สงมอบ
งานทีละนิดทำใหมีความยืดหยุนในการทำงานสูง สามารถปรับเปลี่ยนใหตรงตามความตองการของผูใชงานมากข้ึน

9

บุคลากรของหนวยงานไดเรียนรูท่ีจะทำงานรวมกันกับคนในฝnายอ่ืนที่เกี่ยวของกับนวัตกรรมนั้น ๆ ซึ่งมาจากคนละ
สายงาน ไดรับฟงความคิดและมุมใหม ๆ แลกเปลีย่ นความรแู ละประสบการณกัน สงผลใหหนวยงานสามารถใหบริการ
ประชาชนไดดีมากขึ้นและหนวยงานเตบิ โตอยางยงั่ ยนื
แหลงอางอิง
https://blog.ourgreenfish.com/th/what-is-digital-transformation-business-world
http://agilemanifesto.org/
http://www.riverpark.co.th/blog/agilesdlc.html
https://medium.com/fastwork-engineering/scrum-คืออะไร-เริ่มใชงานอยางไร-2483e761a47e
http://www.notaboutcode.com/post/25-advices-for-adopting-agile/
https://brandinside.asia/agile-and-scrum-for-new-business/
https://www.marketingoops.com/news/agile-working/
https://www.g-able.com/digital-review/agile-ใชอยางไรใหสำเรจ็ /
https://forbesthailand.com/commentaries/insights/สรางองคกร-การทำงานแบบ.html
https://www.brandbuffet.in.th/2018/09/sansiri-agile-transformation-to-dream-place-to-work/
https://web.facebook.com/ETDA.Thailand/posts/2720756517937907/?_rdc=1&_rdr
https://www.prachachat.net/facebook-instant-article/news-182372
https://www.scbeic.com/th/detail/product/4327

10

กรมวิทย with you 4.0

กอบบญุ บญุ เยน็
เภสชั กรปฏิบัตกิ าร
กรมวทิ ยาศาสตรการแพทย

ในปจจุบันปฏิเสธไมไดวาอินเทอรเน็ต เขามามีบทบาทสำคัญ ดั่งปจจัยที่ 6 ของประชากรในสมัยนี้
โดยเฉพาะอยางยิง่ คนไทย ท่ีใชอินเทอรเน็ตเฉลี่ย วันละ 9 ช่วั โมง 11 นาที เปน/ อันดับ 3 ของโลก รองจากฟ2ลิปป2นส
และบราซิล และใชเวลาไปกับสื่อสังคมออนไลน 3 ชั่วโมง 30 นาที โดยเฉลี่ยตอวัน ซึ่งอินเทอรเน็ตเป/นหนึ่งใน
เทคโนโลยีที่มีการเปลีย่ นแปลงอยางรวดเร็ว ภายใน 40 ป; จากยุค 1G มาถึงปจจุบันที่กำลังจะกาวเขาสูยุค 5G ทำให
การตดิ ตอส่ือสาร และการเผยแพรขาวสาร ความรู สามารถกระจายไปไดอยางรวดเร็ว พรอมกับการมาของเทคโนโลยี
และนวัตกรรมใหม ๆ ดงั นั้น รฐั บาลจึงตองปรับตัวใหทันสมัย รองรับการเปล่ยี นแปลงของสังคม เขาสูยุครัฐบาลดิจิทัล
ตามแผนพฒั นารฐั บาลดจิ ิทลั ของประเทศไทย พ.ศ. 2560-2564 ประกอบไปดวย 1.การบูรณาการเช่ือมโยงขอมูลและ
การดำเนินงานระหวางหนวยงาน 2.การนำเทคโนโลยีและอุปกรณดิจิทัลมาสนับสนุนการปฏิบัติงานที่มีการใช
เทคโนโลยีดิจิทัลอยางเหมาะสม 3.การยกระดับบริการภาครัฐใหตรงกับความตองการของประชาชนที่เปลี่ยนแปลง
อยูตลอดเวลา 4.ขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงสูรัฐบาลดิจิทัลในทุกระดับของบุคลากรภาครัฐ และมีความเชื่อมโยง
กับแผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม โดยใชเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน นวัตกรรม มนุษย
และสังคม เพอื่ ขับเคลอื่ นการเศรษฐกจิ และสังคมของประเทศไปสคู วามม่ันคง มงั่ ค่งั และยง่ั ยืน

กรมวิทยาศาสตรการแพทย สังกัดกระทรวงสาธารณสุข เป/นองคกรชั้นนำดานวิทยาศาสตรการแพทยและ
สาธารณสุข หนึ่งในพันธกิจสำคัญ คือการเฝKาระวัง ประเมิน สื่อสารแจงเตือนภัย และกำหนดมาตรการ การจัดการ
ความเสี่ยงจากโรคและภัยสุขภาพ ณ ปจจุบัน กรมวิทยาศาสตรการแพทยไดจัดทำ "กรมวิทย with you" มาตั้งแต
พ.ศ. 2552 (เดิมชอื่ วา Single window) เป/นฐานขอมลู ทร่ี วบรวมเกยี่ วกบั การแจงเตือนภัยผลิตภัณฑอันตราย ความรู
ขอมูล และขาวสารตาง ๆ ที่เกี่ยวกับเรื่องสุขภาพและผลิตภัณฑสุขภาพ เป/นตน เผยแพรผานทางเว็บไซต
http://alert.dmsc.moph.go.th/ และยังมีการประชาสัมพนั ธผานชองทางส่ือสังคมออนไลนอื่น ๆ เชน Facebook
Youtube และ twitter ในชื่อบัญชีวา กรมวิทย with you อีกดวย ซึ่งโครงการน้ี สอดคลองกับการเปน/ รัฐบาลดิจิทัล
ที่มีการเชื่อมโยงขอมูลดิจิทัลจากศูนยวิทยาศาสตรการแพทยทั่วประเทศ เกี่ยวกับขอมูลผลการตรวจวิเคราะห
ผลิตภัณฑสุขภาพตาง ๆ และการรับเรื่องแจงเตือนภัยผลิตภัณฑสุขภาพจากเจาหนาที่โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ
ตำบล ที่ทำการลงทะเบียนกับกรมวิทยศาสตรการแพทย เป/นตน เพื่อเป/นเครื่องมือหนึ่งในการคุมครองผูบริโภค
ยุคปจจุบัน ซึ่งกลุมคนท่ีใชงานกรมวิทย with you หลัก ๆ คือเจาหนาที่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมูบาน และ
เจาหนาที่โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลที่ผานการอบรมเกี่ยวกับโครงการนี้ ดังนั้นจึงอยากเสนอแนะ เพื่อพัฒนา
กรมวิทย with you ให เป/นที่รูจักแพรหลายมากขึ้น และเป/นเครื่องมือใหความรู และชวยเหลือประชาชนไทย
อยางทง่ั ถงึ ในการบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพอยางถูกตองและเหมาะสม

อยางแรก ตองทำให กรมวิทย with you ตองเป/นที่รูจักในวงกวาง และมีการอัพเดทขอมูลอยางสม่ำเสมอ
พบวา ณ ปจจุบัน ชองทาง Facebook กรมวิทย with you เป/นชองทางเดียวที่มีการอัพเดทขอมูลอยางสม่ำเสมอ

11

ควรใช Platform อ่ืน เชน Hootsuit เขามาชวยเหลอื จัดการดานส่ือสังคมออนไลน เพอื่ เกิดความสะดวกรวดเร็ว และ
มีประสิทธิภาพในการสื่อสารขอมูล ซึ่งความสามารถของ Platform คือ การรวบรวมสื่อสังคมออนไลนตาง ๆ เชน
Facebook YouTube และ Twitter ไดในที่เดียวกัน เพื่อความสะดวกและรวดเร็วในการจัดการขอมูล ขาวสาร
การประชาสัมพันธ นอกจากนี้ Platform ยังสามารถตั้งเวลาและความถี่ของขาวสารที่เราเตรียมไวเพื่อโพสต
การโฆษณาและประชาสมั พันธเพจกรมวิทยใหเป/นที่รูจกั การวิเคราะหขอมูลเก่ียวกบั โพสตของเราวาไดรับความนยิ ม
หรือไม รวมไปถึงการติดตามประเด็นที่นาที่สนใจในสังคมออนไลน เป/นตน ซึ่งหากเป/นประเด็นเกี่ยวกับผลิตภัณฑ
สขุ ภาพหรอื การคุมครองผบู ริโภคเราจะไดเตรียมตัวรับมอื ไดอยางรวดเรว็

อยางที่สอง การปรับปรุงเว็บไซตใหมีความเรียบงาย เพื่อความสะดวกและรวดเร็วในการใชงาน และ
มี application ใน Play store และ App store เพื่อรองรับการใชงานบนมือถือไดอยางเหมาะสม ซึ่งจากการใชงาน
เวปไซตกรมวิทย with you พบปญหาในขั้นตอนการคนหาผลิตภัณฑอันตรายจากการพิมพชื่อผลิตภัณฑ หากเวน
วรรคชื่อผิด หรือพิมพคำสำคัญไมถูกตอง ระบบจะแจงเตือนวาไมพบผลิตภัณฑ ทั้งที่จริงแลวมีผลิตภัณฑอันตรายน้ี
ปรากฏอยูในฐานขอมูล จึงอยากใหใชเทคโนโลยี การคนหาโดยรูปภาพหรือการพิมพดวยเสียงรวมดวย เพื่อความ
สะดวกและแมนยำในการคนหา นอกจากนี้ ขอมูลที่ประชาชนนำมาคนหาในกรมวิทย with you สามารถเก็บไวเป/น
ฐานขอมูล ยิ่งประชาคนหามากเทาไหร ปริมาณขอมูลในฐานขอมูลก็มีมากเทานั้น ขอมูลเหลานี้เราสามารถนำมา
วิเคราะหวา ผลิตภัณฑสุขภาพประเภทใด กำลังไดรับความสนใจและเป/นที่ตองสงสัยของประชาชน เพื่อทำการ
ตรวจสอบเบื้องตน หากเป/นผลิตภัณฑที่อันตรายตอสุขภาพประชาชน เราจะไดทำการแจงเตือนไปยังองคการอาหาร
และยา เพื่อหาแนวทางและมาตรการในการปKองกันและคุมครองประชาชน พรอมกับการแจงเตือนไปยังประชาชน
ผานชองทางสอื่ สงั คมออนไลน กรมวิทย with you อีกดวย

อยางที่สาม ผูดูแลเว็บไซตและสื่อสังคมออนไลน กรมวิทย with you มีหนาที่ผลัดเปลี่ยนกันดูแล
ความเรียบรอยของระบบ การอัพเดทขอมูล ความรู ขาวสาร และการรับเรื่องจากประชาชนทั่วไปโดยตรง
ผานชองทางสื่อสังคมออนไลน ทำการคัดกรองและตรวจสอบเบื้องตน พรอมใหความรูและความชวยเหลือ โดยคนท่ี
รับหนาที่ตรงนี้ ตองเป/นคนที่มีความละเอียดรอบคอบ เป2ดกวางตอขอคิดเห็นทั้งในแงบวกและแงลบ และมีจิต
สาธารณะในการบรกิ ารประชาชน เพ่อื ตอบสนองความตองการของประชาชนทเี่ ปลี่ยนแปลงอยตู ลอดเวลา

อยางที่สี่ อยากใหมีการทำงานรวมกนั กับตางหนวยงาน ท่ีสงั กดั กระทรวงสาธารณสขุ โดยจดั เป/นคณะทำงาน
มีการแบงปนฐานขอมูล และขาวสารประชาสัมพันธซึ่งเชื่อมโยงผานทางสังคมออนไลน เชน ฐานขอมูล
เกย่ี วกบั การคนหาเลขที่ผลติ ภัณฑ ขาวสารจากอย.เชค็ ชวั รแชร เป/นตน ชวยประชาสมั พนั ธหนวยงานอนื่ ๆ ไปในตัว

ซึ่งแตละหนวยงานตางมีขอมูลทีเ่ กี่ยวของกับโครงการในการดูแลสุขภาพประชาชน หากเรานำขอมูลทั้งหมด
มารวมกัน จะกลายเป/นขอมูลจำนวนมหาศาล (Big data) เราสามารถนำขอมูลเหลามาใชไดเพื่อเกิดประโยชนได
แตการจะนำขอมูลมาใชไดนัน้ จะตองอาศัยบุคคลที่มคี วามสามารถในการจัดการขอมูล การวิเคราะห และสังเคราะห
ขอมูล ออกมาในแงมุมใหม ๆ ซึ่งนักวิจัยผูรับผิดชอบโครงการอาจจะยังมองไมเหน็ ตำแหนงที่วา คือ นักวิทยาศาสตร
ขอมูล (Data scientist) มีหนาที่นำขอมูลจากหลาย ๆ แหลง มาผานวิธีการตาง ๆ เชน Data Mining, Machine
Learning, Optimization เพื่อหามุมมอง และคำตอบใหม ๆ หรือทางออกที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด เกิดเป/น
องคความรู นำไปพฒั นาตอยอด เป/นนวตั กรรมทต่ี อบสนองความตองการของประชาชน นักวทิ ยาศาสตรขอมูล จะตอง
ทำงานรวมกับนักวิชาการคอมพิวเตอร ผูซึ่งออกแบบวิธีการจัดเก็บและเรียกใชงานขอมูล และนักวิจัย ผูที่นำขอมูล

12

ไปใชใหเหน็ เป/นรูปธรรมในโครงการ นอกจากน้ีนกั วิทยาศาสตรขอมลู ยังมีความเช่อื มโยงเกีย่ วกบั ปญญาประดิษฐ (AI)
และสมองปญญาประดิษฐ (Machine learning) โดยนักวิทยาศาสตรขอมูล เขียนชุดคำสั่งการเรียนรูแก
ปญญาประดิษฐ เพื่อใหสมองปญญาประดิษฐเรียนรูจากขอมูลที่ปKอนให จะไดขอมูลคาดการณสิ่งที่จะเกิดข้ึน
ยกตัวอยางเชน ใหขอมูลปญญาประดิษฐเกี่ยวกับการระบาดของโรคไขหวัดนก ไดแก พื้นที่ที่เกิดการระบาด จำนวน
ผูปwวย สายพันธุที่ระบาด ชนิดของสัตวที่เป/นพาหะ จำนวนสัตวป;กที่เสียชีวิต ปญญาประดิษฐวิเคราะหขอมูลออกมา
เกี่ยวกับความเป/นไปไดของอุบัติการณที่จะเกิดการระบาดซ้ำ พื้นที่การระบาดใหม และโรคระบาดชนิดอื่นที่จะเกิด
ตามมาจากสัตวพาหะ เป/นตน ยิ่งปKอนขอมูลมากเทาไหรผลการคาดคะเนก็ยิ่งแมนยำมากขึ้นเทานั้น ดังนั้น รัฐบาล
สามารถวางแผนปKองกันกอนที่จะเกิดอุบัติการการระบาดซ้ำของไขหวัดนก และมีความพรอมในการรับมือหากเกิด
การระบาดได และยังสามารถนำมาประยุกตในงานคุมครองผูบริโภคไดดวย เชน ปญญาประดิษฐออกแบบกลยุทธ
บนสือ่ สงั คมออนไลน เพอ่ื ชักจูงหญงิ สาววยั รนุ ใหหันมาออกกำลังกาย แทนทีจ่ ะซอื้ อาหารเสรมิ ลดนำ้ หนกั เปน/ ตน

จะเห็นไดวานักวิทยาศาสตรขอมูลมีความสำคัญในยุคดิจิทัลอยางมาก ณ ปจจุบัน ยังไมมีการเป2ดบรรจุ
ตำแหนงนกั วทิ ยาศาสตรขอมูลในระบบราชการ แตเทคโนโลยนี ้นั ไมเคยหยดุ พฒั นา ทางหนวยงานราชการควรสงเสริม
ใหกลุมบุคลากรในหนวยงานซึ่งมีความสนใจในและมีความสามารถในดานนี้ ไดเรียนรูเกี่ยวกับศาสตรในแขนง
วิทยาศาสตรขอมูลไมวาจะเป/นภาษา python ภาษา R คณิตศาสตร สถิติ และความนาจะเป/น การจัดการขอมูล
เป/นตน ผานหลักสูตรอบรมระยะสั้น จากนั้นเขาไปมีสวนรวมในโครงการหรืองานวิจัยขนาดเล็ก ทำงานรวมนักวิจัย
และนักวิชาการคอมพิวเตอร เพื่อประมวลผลขอมูลออกมา ประเมินผลงานวาเป/นที่พึงพอใจหรือไม ตองปรับปรุง
หลักสูตร/การทำงานในเรื่องใดบาง เพื่อนำกลับไปพัฒนาตอไป เมื่อประสบความสำเร็จ จะไดทำการสงเสริม
กลุมบุคลากร รูปแบบทุนการศึกษาในหลักสูตรระดับปริญญา ใหมีความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง สามารถนำความรูที่ได
รับมาจัดการกับขอมูลงานวิจัยที่มีในหนวยงาน ขอมูลระหวางหนวยงาน หรือแมกระทั่งขอมูลมหาศาลของภาครัฐ
นำตอยอดเปน/ องคความรู เทคโนโลยี นวตั กรรม เพื่อดูแลประชาชนไทยใหมีสขุ ภาพและคณุ ภาพชีวติ ที่ดีตอไป

13

จากประสบการณสูการพัฒนาอตุ สาหกรรมไทย : ถอดบทเรียนนโยบายการพฒั นามหานครฉงชง่ิ
ศนู ยกลางการพฒั นาจีนตะวนั ตก (Go West Policy)

จนั ทิมา ยาเกิ้น
นกั วเิ คราะหนโยบายและแผนชำนาญการ

สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

การเขารับการฝกอบรมหลักสูตรการเสริมสรางคุณลักษณะสวนบุคคล และทักษะการทำงานสำหรับ
ขาราชการผูมีผลสัมฤทธิ์สูง (High Performance and Potential System : HiPPS) รุนที่ 14 ประจำปAงบประมาณ
พ.ศ. 2562 เปHนการอบรมหลักสูตรการเรียนรูตอเนื่อง โดยมีกรอบการเรียนรูเพื่อเพิ่มทักษะ 2 ทักษะหลัก ไดแก
1) ทักษะการปฏิบัติงานและการพัฒนาสมรรถนะสวนบุคคล และ 2) ทักษะสำหรับการทำงาน ผานการลงพื้นที่และ
ศึกษาดูงาน ซึ่งจากการศึกษาดูงานสถานที่ตาง ๆ ณ นครเฉิงตูและเมืองฉงชิ่ง ทำใหเห็นวา จีนใหความสำคัญ
กับการกำหนดเปYาหมายหรือยุทธศาสตรZในการพัฒนาประเทศที่ชัดเจน ทั้งในเชิงนโยบายและกรอบระยะเวลา
โดยหนึ่งในนโยบายทีส่ ำคัญ คือ “นโยบาย Made in China 2025 (MiC 2025) หรอื Industry 4.0” ซึ่งเนนการ
ปรับเปลี่ยนรูปแบบการผลิตโดยการนำเทคโนโลยีมาสรางนวัตกรรมใหม ๆ เพื่อยกระดับขีดความสามารถในการ
แขงขันของประเทศใหทัดเทียมกับประเทศมหาอำนาจ โดยจากการปรับเปลี่ยนรูปแบบการผลิตของจีน อาจจะสงผล
ตอการคาและการลงทุนในหวงโซอุปทานในภูมิภาค สำหรับไทย ซึ่งเปHนหนึ่งในหวงโซอุปทานของจีน ควรปรับตัวตอ
การเปลีย่ นแปลงดังกลาวอยางไร...

ถอดบทเรยี นนโยบายการพฒั นาจีนตะวันตก (Go West Policy)
นโยบาย Made in China 2025 (MiC 2025) หรอื Industry 4.0 ภายใตแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

แหงชาติ ฉบับที่ 12 ระยะ 5 ปA (2554-2558) ที่มุงปรับเปลี่ยนภาพลักษณZของสินคาจีนใหไดรับการยอมรับ
ดานคณุ ภาพจากผูบรโิ ภคทัว่ โลก และพัฒนาจีนจากประเทศการผลิตยักษใZ หญ หรือ “โรงงานของโลก” ท่เี นนการผลิต
เชิงปริมาณสูการเปHน “แหลงผลิตสินคานวัตกรรมของโลก” ที่เนนการผลิตเชิงคุณภาพ โดยใชเทคโนโลยีชั้นสูง
ในการผลิต ซึ่งเปHนเทคโนโลยีที่เกิดจากการสรางนวัตกรรมภายในประเทศทดแทนการนำเทคโนโลยีจากตางประเทศ
เพื่อยกระดับการผลิตในภาคอุตสาหกรรมและสงเสริมการพึ่งตนเอง รวมทั้งยังเปHนการปูทางใหเทคโนโลยีของบริษัท
จีนกาวสูตลาดโลก โดยเนนการพัฒนาอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพในการตอยอดในอนาคต 10 อุตสาหกรรม ไดแก 1)
สารสนเทศ 2) หนุ ยนตคZ วบคมุ ดวยระบบดิจิทลั 3) การผลติ อุปกรณZอากาศยาน 4) การตอเรอื ไฮเทค 5) การผลิตรถไฟ
6) การผลิตรถยนตZใชพลังงานรูปแบบใหม 7) การผลิตอุปกรณZพลังงาน 8) การผลิตเครื่องมือ/อุปกรณZสำหรับผลิต
วตั ถุดิบใหม 9) ยาและอปุ กรณกZ ารผลิตยา และ 10) เครื่องมอื ทางการเกษตร และมีหนวยงานภาครัฐเปนH Facilitator
ใหกับผูประกอบการใหสามารถกาวเขาสูอุตสาหกรรมแหงอนาคตไดอยางเต็มรูปแบบ นอกจากนี้ แนวทางการพัฒนา
อุตสาหกรรมแหงอนาคตของจีน จะเนนกลยุทธZการรวมกันในแนวดิ่ง (Vertical integration) ดวยการสรางหวงโซ
การผลิต ซึ่งจะชวยพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุน เพื่อสรางความเข็มแข็งใหหวงโซการผลิตดวย รวมถึงภายใต
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 13 ระยะ 5 ปA (2559-2564) จีนไดประกาศนโยบายปฏิรูปโครงสราง

14





























































จนี : ตนแบบการพฒั นาประเทศและทรัพยากรบุคคล

เตชธรรม วศั รากิจกุล
นกั วชิ าการศลุ กากรปฏบิ ัติการ

กรมศลุ กากร
บทนำ

การอบรมหลักสูตรการเสริมสรางคุณลักษณะสวนบุคคลและทักษะการทำงานสำหรับขาราชการผูมีผลสัมฤทธ์ิสูง
(High Performance and Potential System: HiPPS) รุนท่ี 14 ป?งบประมาณ พ.ศ.2562 เปEนการอบรมตอเน่ือง
ท่ีบูรณาการหลักสูตรการเรียนรูตาง ๆ ตามกรอบการฝJกอบรมและพัฒนาสำหรับขาราชการผูมีผลสัมฤทธิ์สูง
ในระดับพื้นฐานและระดับตอยอดอยางเปEนระบบ เนนการเสริมสรางคุณลักษณะ ทักษะที่จำเปEน องคQความรู และ
ประสบการณQที่สอดคลองกับภาระหนาท่ีความรับผิดชอบในการปฏิบัติงาน ท้ังในบริบทระดับประเทศและสากล
ประกอบดวย การปฐมนิเทศหลักสูตรการอบรมและการเรียนรู 5 Modules ท่ีจัดขึ้นท้ังในประเทศและตางประเทศ
ระหวางเดอื นพฤษภาคมถึงเดือนมถิ ุนายน 2562 รวมระยะเวลาทัง้ ส้ิน 17 วนั ดงั นี้

1. การปฐมนิเทศหลักสูตรการอบรม ระหวางวันที่ 28 - 30 พฤศจิกายน 2561 ณ สำนักงาน ก.พ. จังหวัด
นนทบุรี โรงเรยี นนายรอยพระจลุ จอมเกลา และ โรงแรมรอยลั ฮลิ สQ กอลQฟ รีสอรQท แอนดQ สปา จังหวัดนครนายก

2. การเรียนรู Module 1 เกีย่ วกับการเสริมสรางทกั ษะการปฏบิ ัตงิ าน (Professional Skills) และการเรยี นรู
Module 2 เก่ียวกบั การพัฒนาสมรรถนะ (Competency Development) ระหวางวันที่ 13 – 16 พฤษภาคม 2562
ณ โรงแรมสุโกศล กรงุ เทพมหานคร

4. การเรียนรู Module 3 เก่ียวกับการสรางความตระหนักรูในการเปEนขาราชการท่ีดี (Public Service
Attitude) ระหวางวันที่ 17 – 19 พฤษภาคม 2562 ณ จงั หวัดสมุทรสงคราม

5. การเรียนรู Module 4 เกี่ยวกับการเสริมสรางมุมมองและประสบการณQที่เปEนสากล (Global mindset)
ระหวางวนั ที่ 27 – 31 พฤษภาคม 2562 ณ สาธารณรัฐประชาชนจนี

6. การเรียนรู Module 5 เก่ียวกับการสรุปองคQความรูและการนำเสนอการเรียนรู (Knowledge Sharing
and Presentation) ระหวางวนั ท่ี 27 – 28 มถิ ุนายน 2562 ณ โรงแรมสโุ กศล กรงุ เทพมหานคร

องคความรู
จากการลงพื้นท่ี ณ จังหวัดสมุทรสงคราม ขาพเจาไดศึกษาดูงานกระบวนการจัดการน้ำในคลองตำบลแพรก

หนามแดง อำเภออัมพวา ทำใหไดรับทราบถึงปmญหาของชุมชนดังกลาววา จากการที่ภาครัฐมีโครงสรางการบริหาร
ทใี่ หญทำใหเกิดความไมคลองตวั การดำเนินการจดั การกบั ปญm หาจงึ มักมองในภาพรวมระดับประเทศมากกวาทจ่ี ะมอง
ปmญหาในระดับทองถิ่น รวมกับในกรณีท่ีเจาหนาที่ที่มีความรับผิดชอบในการแกปmญหาดังกลาวในบางกรณีไมไดเปEน
ผูที่รูและศึกษาถึงตนเหตุของปmญหาที่แทจริง ทำใหการจัดการปmญหาไมสามารถแกไขไดอยางทันทวงทีและตรงกับ
ความตองการของชาวบานในพ้ืนท่ี ในท่ีสุดแลวชาวบานก็จะไมเช่ือในประสิทธิภาพการทำงานของภาครัฐ ซ่ึงในกรณี
ที่ชุมชนมีผูนำชุมชนท่ีมีความสามารถ คนในชุมชนก็สามารถที่จะรวมกันหาแนวทางการแกไขในวิธีการของตัวเอง
จากนั้นประสานงานเจาหนาท่ีเพ่ือมาชวยในเรื่องการติดตามผลการดำเนินการตอไป แตในกรณีที่ชุมชนนั้น
ไมไดเปEนชุมชนทเี่ ขมแข็ง ก็จะทำใหปmญหาไมไดรับการแกไขและกลายเปนE ปmญหาเร้ือรงั ได

45


Click to View FlipBook Version