The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คุณธรรม จริยธรรม พื้นฐาน และหลักคำสอนทางศาสนาของ 5 ศาสนา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by cstd, 2021-07-05 23:03:38

คุณธรรม จริยธรรม พื้นฐาน และหลักคำสอนทางศาสนาของ 5 ศาสนา

คุณธรรม จริยธรรม พื้นฐาน และหลักคำสอนทางศาสนาของ 5 ศาสนา

Keywords: คุณธรรม,จริยธรรม,หลักคำสอนทางศาสนา

คณุ ธรรม จรยิ ธรรม พ้ืนฐาน และหลกั คาสอนทางศาสนาของ ๕ ศาสนา
ที่ส่งเสรมิ ใหค้ นเป็นคนดี และเสรมิ สรา้ งสงั คมใหส้ งบสขุ ร่มเยน็

คณะผจู้ ัดทา

ทป่ี รึกษา

๑. อธบิ ดกี รมการศาสนา

๒. รองอธิบดกี รมการศาสนา

๓. นายมานัส ทารตั น์ใจ ทีป่ รึกษากรมการศาสนา

๔. นางสาวพิไล จิรไกรศริ ิ ท่ีปรกึ ษากรมการศาสนา

๕. นายชวลิต ศริ ภิ ริ มย์ ทป่ี รกึ ษากรมการศาสนา

๖. นายสารวย นกั การเรียน ผูอ้ านวยการสานักพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม

๗. นายพูลศักด์ิ สุขทรพั ย์ทวีผล ผู้อานวยการกองศาสนูปถมั ภ์

๘. นางสรุ ยี ์ เกาศล เลขานุการกรมการศาสนา

ผ้ตู รวจสอบขอ้ มลู

๑. สานกั จุฬาราชมนตรี

๒. สภาประมุขบาทหลวงโรมันคาทอลิกแหง่ ประเทศไทย

๓. มลู นธิ คิ ริสตจักรคณะแบ๊บตสิ ต์

๔. สภาคริสตจกั รในประเทศไทย

๕. สหกจิ คริสเตียนแหง่ ประเทศไทย

๖. มูลนธิ ิครสิ ตจักรเซเวน่ ธ์เดยแ์ อด๊ เวนตีสแห่งประเทศไทย

๗. เทวสถานโบสถ์พราหมณ์

๘. สมาคมฮนิ ดูสมาช

๙. สมาคมศรคี ุรุสงิ หส์ ภา

๑๐.นายสารวย นักการเรยี น ผู้อานวยการสานักพัฒนาคุณธรรมจรยิ ธรรม

๑๑. นายอนชุ า หะระหนี ผู้อานวยการสานกั งานขับเคลอ่ื นแผนแมบ่ ทส่งเสรมิ คณุ ธรรมแหง่ ชาติ

๑๒. นายวิเชียร อนนั ตศริ ิรัตน์ ผู้อานวยการกองศาสนพธิ ี

ผ้รู วบรวมและเรียบเรียง

๑. นางสาวฐติ มิ า สภุ ภัค นกั วิชาการศาสนาเชี่ยวชาญ (ผ้เู ชี่ยวชาญเฉพาะด้านการเผยแพรค่ ณุ ธรรมจรยิ ธรรม)

๒.. นางสาวฟา้ ศรีเมอื ง เจ้าหน้าทว่ี ิเคราะหโ์ ครงการฯ ผู้ประสานงานด้านขอ้ มูล

คานา

ด้วยในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ รัฐบาลได้กาหนดกรอบการพัฒนาประเทศยุทธศาสตร์ชาติระยะ ๒๐ ปี ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน
ตลอดช่วงวัยโดยยกระดบั การศกึ ษาการเรียนรใู้ หม้ คี ณุ ภาพที่เทา่ เทียม มงุ่ เนน้ ปลูกฝงั ระเบียบวินัย คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม ที่พึงประสงค์ การเสรมิ สรา้ งสุขภาวะทด่ี ี
การสร้างครอบครัวอบอุ่นอยู่ดีมีสุข รวมทั้งสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม ประกอบกับรัฐบาลมีนโยบายทานุบารุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม
โดยให้ความสาคัญกับการทานุบารุงศาสนาให้เข้มแข็ง ส่งเสริมสถาบันศาสนาทุกศาสนาให้มีบทบาทในการเผยแผ่หลักคาสอนที่ดีงาม ปลูกฝังคุณธร รม จริยธรรม และ
เสริมสร้างความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพชีวิต จิตใจ และพัฒนาสังคมให้มีความสามัคคีปรองดอง ให้พุทธศาสนิชนเข้าถึงแก่แท้คาสอนของพระพุทธเจ้าและสามารถ
นาไปปฏิบัติในชีวิตประจาวันได้ รวมทั้งส่งเสริมให้มีการปลูกฝังค่านิยม วัฒนธรรมที่ดีงามท่ีมีความหลากหลายด้านคุณธรรม จริยธรรม กตัญญู ความซ่ือสัตย์ ก ารมีวินัย
เคารพกฎหมาย มีจติ สาธารณะ และการมสี ่วนรว่ มทาประโยชนใ์ ห้ประเทศ เปน็ พลเมอื งทดี่ ี เพื่อสร้างสงั คมให้มีคณุ ภาพ คณุ ธรรม และอย่รู ว่ มกันไดอ้ ย่างมคี วามสุข

เพื่อเป็นการรบั นโยบายของรฐั บาล กระทรวงวฒั นธรรม จงึ มนี โยบายสบื สานงานวัฒนธรรมของชาติ โดยสง่ เสริม สนบั สนุนการทานบุ ารุงศาสนาใหม้ ีความ
เข้มแขง็ ส่งเสรมิ สถาบนั ศาสนาทุกศาสนาให้มีบทบาทในการเผยแพรค่ าสอนท่ีดีงาม ปลูกฝังคุณธรรมจรยิ ธรรม และเสรมิ สรา้ งความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพ จติ ใจและ
สงั คม

ดงั นั้น กรมการศาสนา จงึ ไดร้ ่วมกบั องคก์ ารศาสนา จัดทาองคค์ วามรเู้ ร่อื ง “คุณธรรม จรยิ ธรรม พ้ืนฐาน และหลกั คาสอนทางศาสนาของ ๕ ศาสนา
ที่ส่งเสริมให้คนเป็นคนดี และเสริมสรา้ งสังคมให้สงบสขุ ร่มเย็น” เพ่ือเผยแพร่องค์ความรู้ผ่านชอ่ งทางสอื่ ในรูปแบบต่าง ๆ ให้เด็ก เยาวชน ประชาชนได้นาไปปรับใชใ้ นการ
ดาเนินชวี ติ อยา่ งมคี ุณภาพ รวมท้ังส่งเสรมิ ให้ภาคเี ครอื ข่ายไดน้ าองค์ความรู้ฯ ไปเผยแพร่แกบ่ คุ ลากรและเครือขา่ ยในสงั กัด

ท้ายนี้ กรมการศาสนาขอขอบพระคุณองค์การทางศาสนาที่ได้อนุเคราะห์ร่วมเปน็ คณะทางานในการจดั ทาและตรวจสอบหลักธรรม คาสอนทางศาสนาให้
มีความถกู ต้อง ครบถ้วนสมบูรณต์ ามหลักทางศาสนา และเหมาะสมแกก่ ารเผยแพร่ส่สู าธารณชนต่อไป

กรมการศาสนา

สารบญั หนา้

๑. คุณธรรม จรยิ ธรรม พ้นื ฐานของ ๕ ศาสนา ทส่ี ง่ เสรมิ ใหค้ นเป็นคนดี ๑
๑) คุณธรรมพืน้ ฐานของ ๕ ศาสนา ๑
๒) จริยธรรมพ้ืนฐานของ ๕ ศาสนา ๑๑
๑๖
๒. หลักคาสอนทางศาสนาของ ๕ ศาสนา ที่เสรมิ สรา้ งสังคมให้สงบสุขร่มเยน็ ๑๖
๑) การทาความดลี ะเวน้ ความชว่ั ๒๓
๒) ความเมตตา ๒๕
๓) ความกตญั ญู ๒๘
๔) การเสยี สละหรอื การสงเคราะห์ ๓๐
๕) ความเพยี รส่คู วามสาเร็จ ๓๑
๖) สามคั คปี รองดอง ๓๕
๗) พอเพยี ง ๔๐
๘) วินัย ๔๓
๙) ซื่อสัตย์ สุจริต ๔๕
๑๐) จติ อาสา

๑. คุณธรรม จรยิ ธรรม พนื้ ฐานของ ๕ ศาสนา ท่ีส่งเสรมิ ให้คนเป็นคนดี
๑) คุณธรรม พน้ื ฐานของ ๕ ศาสนา

ลาดบั ศาสนา คุณธรรมพ้นื ฐาน ที่มาของข้อมลู
ท่ี

๑ พระพทุ ธศาสนา ๑. เบญจธรรม หรือ เบญจกัลยาณธรรม ( ธรรมอนั ดงี ามห้าอยา่ ง, คณุ ธรรม ๕ ประการ คู่กับเบญจศลี เปน็ ธรรม ๑.พระธรรมปิ ฎก

เกื้อกูลแก่การรักษาเบญจศีล ผู้รักษา เบญจศีลควรมีไวป้ ระจาใจ ) (ประยุทธ์ ปยุตฺโต).

๑) เมตตาและกรณุ า (ความรกั ปรารถนาให้มคี วามสุขความเจริญ และความสงสารคิดชว่ ยให้พ้นทกุ ข์) "พจนานุกรมพุ ทธ

ค่กู บั ศีลขอ้ ท่ี ๑ ศาสน์ ฉบับประมวล

๒) สัมมาอาชวี ะ (การหาเล้ยี งชพี ในทางสจุ ริต) คู่กบั ศีลข้อท่ี ๒ ศัพท"์ .

๓) กามสงั วร (ความสงั วรในกาม, ความสารวมระวังรู้จักยบั ยั้งควบคุมตนในทางกามารมณ์ ไมใ่ หห้ ลงใหล พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๑๒

ในรูป เสยี ง กลน่ิ รส และสัมผัส) ค่กู บั ศีลข้อที่ ๓ พ.ศ. ๒๕๔๖

๔) สัจจะ (ความสัตย์ ความซื่อตรง) คู่กบั ศีลข้อท่ี ๔ ๒.กรมการศาสนา.
๕) สติสัมปชญั ญะ (ระลึกได้และร้ตู วั อยูเ่ สมอ คือ ฝึกตนใหเ้ ปน็ คนร้จู ักยัง้ คิด รู้สึกตัวเสมอว่า สง่ิ ใดควรทา ความร้ศู าสนาเบ้อื งต้น
พ.ศ. ๒๕๕๔ : หน้า ๒๑
และไมค่ วรทา ระวังมใิ ห้เป็นคนมัวเมาประมาท) คู่กบั ศลี ข้อท่ี ๕ ๓.กรมการศาสนา.
๒. พรหมวิหาร ๔ คุณธรรมของผูน้ าหรือผปู้ ระเสริฐ หรือคุณธรรมทท่ี าใหส้ ังคมสงบสุข ธรรมประจาใจท่ีทาให้เป็น ก า ร ส ร้ า ง ค ว า ม

พรหมหรือใหเ้ สมอด้วยพรหมในทางปฏิบตั ิ หมายถึง คุณธรรมของผู้ใหญ่ ซ่ึงต้องมีประจาในอยู่ตลอดเวลา ปรองดองสมานฉันท์
มี ๔ ประการ ดังนี้

๑) เมตตา คือ ความปรารถนาดีต่อผู้อน่ื ปรารถนาให้ผอู้ น่ื มคี วามสขุ

๒) กรุณา คือ ความสงสาร มคี วามปรารถนาชว่ ยผู้อื่นหรอื สัตว์ทีป่ ระสบความทุกข์ ให้พน้ ทุกข์ ด้ ว ย มิ ติ ทางศ า ส น า .

๓) มทุ ติ า คือ ความยินดเี มอ่ื ผู้อน่ื ไดด้ ี ปี พ.ศ.๒๕๕๗: หน้า

๔) อุเบกขา คือ ความวางเฉย หรอื ความรูส้ ึกเปน็ กลาง ๆ ไม่ดใี จ ไม่เสียใจเม่ือเหน็ ผู้อ่นื ประสบความสขุ หรือความทุกข์ ๒๖-๒๘

-๒-

ลาดับ ศาสนา คณุ ธรรมพนื้ ฐาน ท่ีมาของข้อมลู
ที่

๓. อิทธบิ าท ๔ คุณธรรมแหง่ ความสาเร็จและหลกั การครองงาน ๔. พระธรรมกิตติวงศ์

๑) ฉนั ทะ ความพอใจ เต็มใจในเรื่องทท่ี า คือรกั ที่จะทาในสง่ิ น้ัน (ทองดี สรุ เตโช) ป.ธ.

๒) วริ ิยะ ความพากเพียรพยายาม ทาส่งิ นั้นใหส้ าเร็จ ๙ ร า ช บั ณ ฑิ ต
๓) จิตตะ ใฝ่หา ใฝร่ ู้ ใฝเ่ รียน พ จ น า นุ ก ร ม เ พ่ื อ
๔) วิมงั สา หม่นั ตริตรอง หาวิธี หาชอ่ งทาง หาเหตุผลแกป้ ัญหา จนบรรลเุ ป้าหมาย การศึกษาพุทธศาสน์
๔. สังคหวัตถุ คุณธรรมที่เป็นท่ีต้ังแห่งการสงเคราะห์กัน, ธรรมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวน้าใจกัน หมายถึง หลักการ
ชุ ด ค า วั ด , วั ด ร า ช
ครองใจคน หลักสังคมสงเคราะห์
๑) ทาน การให้ การเสยี สละ การแบง่ ปันเพื่อประโยชน์แก่คนอ่นื ชว่ ยปลูกฝังใหเ้ ปน็ คนท่ไี มเ่ ห็นแกต่ วั แบง่ ปันกนั โอรสาราม กรุงเทพฯ

๒) ปยิ วาจา การพดู จาดว้ ยถ้อยคาไพเราะอ่อนหวาน จริงใจ ไมพ่ ดู หยาบคายกา้ วร้าว พดู ในสง่ิ ทเี่ ป็นประโยชน์ พ.ศ. ๒๕๔๘
เหมาะกับกาลเทศะ พดู ดีตอ่ กนั
๓) อัตถจรยิ า ช่วยเหลือกัน มีจติ อาสาทาประโยชน์ชว่ ยสงั คม ๕ . พ ร ะ ธ ร ร ม ปิ ฎ ก

๔) สมานตั ตตา การเป็นผู้มคี วามสมา่ เสมอ โดยประพฤติตวั ใหม้ คี วามเสมอต้นเสมอปลาย วางตัวดตี ่อกัน (ประยุทธ์ ปยุตฺโต).

๕.ทฏิ ฐธมั มิกัตถประโยชน์ ๔ คุณธรรมทเี่ ปน็ ไปเพอ่ื ประโยชน์ในปัจจุบัน " พ จ น า นุ ก ร ม พุ ท ธ

๑) อฏุ ฐานสมั ปทา ถงึ พรอ้ มด้วยความหม่ัน เช่นขยันหม่นั เพยี ร เลี้ยงชพี ดว้ ยการหมั่นประกอบการงาน ศาสน์ ฉบับประมวล
๒) อารักขสัมปทา ถงึ พร้อมดว้ ยการรกั ษาโภคทรัพย์ (ท่ีหามาได้ดว้ ยความขยนั หม่ันเพียร โดยชอบธรรม) ธรรม".
๓) กลั ยาณมติ ตตา คบคนดี ผถู้ ึงพร้อมด้วยศรทั ธา ศีล จาคะ ปญั ญา

๔) สมชวี ติ า อยู่อย่างพอเพยี ง รู้ทางเจรญิ ทรพั ยแ์ ละทางเสอื่ มแห่งโภคทรัพย์ แล้วเลย้ี งชพี พอเหมาะ

๖. มัชฌิมาปฏปิ ทา คอื ปฏิบัติทางสายกลาง (อรยิ มรรค ) มี ๘ ประการ

-๓-

ลาดบั ศาสนา คณุ ธรรมพื้นฐาน ท่ีมาของข้อมลู
ที่

๑) สัมมาทิฏฐิ คอื ความเหน็ ชอบ
๒) สัมมาสังกปั ปะ คือ การดารชิ อบ
๓) สมั มาวาจา คอื เจรจาชอบ
๔) สัมมากัมมันตะ คือ การงานชอบ
๕) สัมมาอาชีวะ คือ การเลี้ยงชวี ติ ชอบ
๖) สมั มาวายามะ คือ ความเพียรพยายามชอบ
๗) สัมมาสติ คือ ตง้ั สติชอบ
๘) สัมมาสมาธิ คือ ต้ังใจชอบ

๗. หลกั การเป็นคนดีท่หี าไดย้ าก ๒ ประการ
๑) กตญั ญู รู้จักบุญคุณที่ผู้อ่นื ทาให้
๒) กตเวที รูจ้ ักตอบแทนบุญคณุ ของคนอืน่

๘. ทศิ ๖ การปฏบิ ตั ริ ะหวา่ งบคุ คลใน ๖ ฐานะ ซง่ึ เปน็ แนวทางปฏิบตั ิอันดีต่อบุคคลต่างๆ รอบตัวของทกุ ๆ คน
เพอื่ ความสงบเรยี บร้อยของสังคม ความสุขในการดาเนนิ ชีวติ ของทุกคน ความเจรญิ กา้ วหน้าและความม่นั คงในชีวติ
ของทกุ คนในสังคม

๑) ปุรัตถิมทิส หมายถึง ทิศเบื้องหนา้ คือ บิดามารดา ปู่ยา่ ตายาย และผูม้ ีอปุ การะอืน่ ๆ ท่ีเลยี้ งดเู รามา
โดยบตุ รมีหน้าทตี่ อ่ บดิ า เล้ียงดูทา่ น ดารงวงศ์สกุล ประพฤตติ นใหเ้ หมาะสมกบั ความเป็นทายาท เมื่อท่านล่วงลับให้
ทาบุญอุทศิ ให้ทา่ น ในขณะที่บิดา มารดามหี น้าท่ีตอ่ บุตร ห้ามปรามป้องกนั จากความชั่ว ดแู ลฝกึ อบรมให้ตัง้ อยใู่ น
ความดีให้การศึกษาศิลปวิทยา เปน็ ธุระเม่ือคราวจะมีคู่ครองที่สมควร และมอบทรพั ยส์ มบิตใหเ้ มอ่ื ถึงโอกาส

-๔-

ลาดับ ศาสนา คุณธรรมพน้ื ฐาน ที่มาของข้อมูล
ที่

2) ทักขณิ ทสิ หมายถงึ ทิศเบ้อื งขวา คือ ครูบาอาจารย์ท่พี ร่าสอนวิชา โดยศษิ ย์มหี น้าท่ตี ่อครคู ือแสดงความ
เคารพ รับคาแนะนา ช่วยบริการเรียนศลิ ปวิทยาดว้ ยความเคารพ และครมู ีหน้าท่ีตอ่ ศิษย์ คอื ฝึกอบรมให้เป็นคนดี
สอนศิลปวทิ ยาใหส้ ้ินเชิง สง่ เสริมยกย่องความดงี ามใหป้ รากฏ และสร้างความคุ้มภัยใหส้ ารทศิ

3) ปจั ฉมิ ทิส หมายถึง ทิศเบ้อื งหลัง คือ ภรรยา และสามี ผเู้ ปน็ คู่ชวี ติ ทีค่ อยให้กาลังใจ โดยสามีมีหนา้ ท่ี
ต่อภรรยา คือยกยอ่ งใหเ้ กียรตสิ มฐานะ ไม่นอกใจ มอบความเป็นใหญใ่ นบ้าน และภรรยาหนา้ ท่ีต่อสามี จดั งานบ้าน
ใหเ้ รียบร้อย สงเคราะห์ญาติมิตรท้ังสองฝา่ ย ไมน่ อกใจ รักษาทรพั ยท์ ี่หามาได้และขยนั เอาการเอางาน

๔) อุตตรทสิ หมายถึง ทิศเบอ้ื งซา้ ย คือ มิตรสหายที่คอยช่วยเหลือคร้นั เม่ือตกทุกข์ได้ยาก มติ รสหายมีหน้าท่ตี อ่
มติ ร คอื เผื่อแผแ่ บ่งปนั พูดจามนี ้าใจ ร่วมทกุ ข์ร่วมสุข ซือ่ สัตย์จริงใจ

๕) อปุ ริมทสิ หมายถึง ทิศเบ้อื งบน คอื สามเณร ภกิ ษุ ภิกษุณผี ู้มศี ีลอันสงู กว่าทีค่ อยพรา่ สอนธรรม โดยคฤหัสถ์
หรอื พทุ ธศาสนิกชนมีหน้าทตี่ ่อพระสงฆ์ คือ ทา คิด พูด ทาสงิ่ ใดดว้ ยเมตตา ต้อนรบั ด้วยความเต็มใจ อปุ ถัมภด์ ้วย
ปจั จัย ๔

๖) เหฏฐิมทิส หมายถงึ ทศิ เบ้อื งลา่ ง คือ บริวารหรอื ผู้รับใช้ท่คี อยปรนนบิ ัติต่อนายจ้าง โดยนายจ้างมีหน้าท่ี
จัดงานให้ตามความเหมาะสม ให้คา่ จ้างตามสมควร แบ่งปนั ใหม้ วี นั หยุดพักผ่อน และคนรับใช้มหี น้าทีต่ อ่ นายจ้าง คือ
เร่ิมทางานกอ่ น เลิกงานทีหลงั ซือ่ สัตย์ ทาการงานใหเ้ รยี บร้อย นาความดแี ละกิจการของนายจ้างไปเผยแพร่
๙. สปั ปรุ สิ ธรรม ๗ หมายถึง หลกั ธรรมของคนดี หรือหลกั ธรรมของสตั บุรษุ ๗ ประการ ไดแ้ ก่

๑) ธัมมญั ญตุ า เป็นผู้รู้จักเหตุ ๒) อตั ถัญญุตา เป็นผรู้ ้จู ักผล ๓) อตั ตญั ญตุ า เปน็ ผู้รู้จกั ตน
๔) มตั ตัญญตุ า เปน็ ผรู้ ู้จักประมาณ ๕) กาลญั ญตุ า เป็นผู้รู้จกั กาล ๖) ปริสญั ญุตา เป็นผู้รู้จกั บรษิ ัท
๗) ปุคคลญั ญตุ า เปน็ ผู้รู้จักบคุ คล

-๕-

ลาดบั ศาสนา คณุ ธรรมพ้ืนฐาน ทม่ี าของข้อมลู
ที่

๑๐. สาราณียธรรม ๖ คือธรรมะเป็นทตี่ ้ังแห่งการระลึกถึง ธรรมเปน็ เหตุให้ระลกึ ถึงกันธรรมทีท่ าให้เกิดความสามัคคี

หมายรวมถงึ หลักการอย่รู ่วมกัน ประกอบดว้ ย
๑) เมตตากายกรรม คือการช่วยเหลือดว้ ยความเต็มใจ แสดงกิรยิ าเคารพนับถือกันท้ังตอ่ หนา้ และลบั หลัง
๒) เมตตาวจกี รรม คอื บอกแจง้ ส่งิ ท่เี ป็นประโยชน์ สั่งสอน แนะนา ตักเตือนด้วยความหวังดี กลา่ ววาจาสุภาพ

แสดงความเคารพนับถอื กนั ทั้งต่อหน้าและลบั หลงั
๓) เมตตามโนกรรม คือต้ังจติ ปรารถนาดี คิดทาสง่ิ ทเี่ ป็นประโยชน์แก่กัน
๔) สาธารโภคิตา คือ ได้ของส่ิงใดมาโดยชอบธรรมก็แบ่งปนั กัน

๕) สลี สามัญญตา คือ มีศีลบริสุทธิ์เสมอกัน พฤติตนด้วยความสุจรติ ถูกต้องตามระเบียบ ไม่ทาตนให้เป็นทน่ี ่ารงั เกียจ
ของหมู่คณะ

๖) ทฏิ ฐิสามัญญตา คือ มีความเห็นชอบรว่ มกันเป็นหลักสาคัญในการขจดั ปัญหา

๒ อิสลาม ๑. หลกั ศรทั ธา ๖ ประการ ๑.กรมการศาสนา.

๑) ศรัทธาในอัลเลาะห์ มีความเชอ่ื มน่ั ในอัลเลาะห์เพยี งองค์เดยี ว ศาสนาในประเทศ

๒) ศรทั ธาในมะละอิกะฮ์ (เทพบริวารหรือเทวทูต) ไทย.พ.ศ.๒๕๖๑:
๓) ศรัทธาในบรรดาคมั ภรี ข์ องอัลเลาะห์ ไดแ้ ก่ คัมภรี ก์ ุรอาน คมั ภีรเ์ ตารอฮ์ (โตราห์) คัมภรี ์ ซาบูร (ซาบวั ร)์ และ หนา้ ๑๓๔-๑๓๕
คมั ภรี ์ อนิ ญีล (ไบเบิล้ ) ๒.กรมการศาสนา.
๔) ศรทั ธาต่อศาสนทูต หรือศาสดา คุตบะฮ์ (บทธรรมกถา)
๕) ศรัทธาในวันสน้ิ โลก
ว่ าด้ วยอิ สลามกั บ
๖) ศรทั ธาต่อกฎสภาวการณ์ของอัลเลาะห์

๒. หลกั คาสอนทางศาสนาอสิ ลามท่ีสง่ เสริมให้เกดิ ความเกอื้ กลู รว่ มมอื กัน ประสานประโยชนเ์ พื่อผลสาเร็จของ ความสามัคคีและความ
ตนเองและสังคมส่วนรวม (หลักคาสอนดา้ นสามัคคธี รรม)
ปรองดอง.หน้า ๔๙

และ ๕๔-๕๕

-๖-

ลาดับ ศาสนา คณุ ธรรมพื้นฐาน ที่มาของข้อมลู
ที่

๑) อิสลามเป็นศาสนาแห่งสังคม ส่งเสริมให้มุสลิมมีปฏิสัมพันธ์การติดต่อประสานงาน พบปะสังสรรค์ในรูปแบบ
ญะมาอะฮ์ (สมาคม/องค์กร/หมู่คณะ) เพ่ือสร้างสรรค์และจรรโลงสังคมด้วยการแบ่งปัน เอื้ออาทร ร่วมมือ ร่วมใจ
ร่วมคิด และร่วมรับผิดชอบ ดังอัลเลาะห์ได้ตรสั วา่ “และจงชว่ ยเหลือกนั ในสงิ่ ทีด่ ี และความยาเกรง อยา่ ชว่ ยเหลอื กัน
ในสิ่งที่ชั่วช้า และการเป็นศัตรูกัน” (ซูเราะห์ (บท) อัลมาอิดะห์ อายะฮ์ (โองการ) ที่ ๒ และอัลอัลเลาะห์ได้ตรัสว่า
“และท่านท้ังหลายจงยึดสายเชือกของอัลเลาะห์โดยพร้อมเพรียงกัน และท่านทั้งหลายอย่าแตกแยกกัน (ซูเราะห์
(บท) อาลิอิมรอน อายะฮ์ (โองการ) ที่ ๑๐๓) จาก อายะฮ์ (โองการ) กุรอ่านท้ัง ๒ จะเห็นได้ว่าศาสนาอิสลามเน้น
ความสามัคคี เพราะความสามัคคเี ป็นขมุ กาลงั ทจ่ี ะขับเคลอ่ื นให้สงั คมเกิดความสงบสขุ เกิดสนั ตภิ าพ

๒) ผู้นับถือศาสนาอิสลามต้องมีความยาเกรงต่ออัลลอฮ์ท้ังในทางท่ีลับและที่เปิดเผยเถิด การใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันใน
สังคมน้ัน ส่ิงท่ีจะขาดไม่ได้ คือ สามัคคีธรรมและการเสียสละเพื่อส่วนรวม คราใดท่ีสังคมขาดความสามัคคีธรรม ไร้
การเสียสละ ครานั้น สังคมจะเต็มไปด้วยความขัดแย้งและความเห็นแก่ตัว เป็นสังคมท่ีไม่มีความสุข ร้อนรุ่มสับสน
ความสามัคคีเป็นสิ่งสาคัญท่ีสุดในการใช้ชีวิตร่วมกัน เพราะสาเหตุของความขัดแย้งมันเกิดขึ้นได้มากกมาย จนบา งที่
เราไม่รู้กันด้วยซ้าว่ามันเกิดขึ้นและมีต้นต่อมาจากอะไร แต่นี่คือความจริง ความจริงที่คนหมู่มากย่อมหนีไม่พ้นความ
ขัดแย้ง สาคัญที่สุด คือ เมื่อความขัดแย้งเกิดข้ึน ต้องรู้จักให้อภัยผ่อนหนักผ่อนเบา และประนีประนอมรอมชอมกัน
ซ่งึ คุณสมบตั ิเหล่านี้ล้วนเป็นคาสอนท่ีมีอยู่ในศาสนาอสิ ลาม

๓) การเสริมสร้างความรัก ความสามัคคีในสังคมนั้นเป็นภารกิจท่ีทุกคนจะต้องช่วยกันทาให้สังคมมีความเป็น
น้าหน่ึงใจเดยี วกัน

๔) ความรกั ความสามัคคแี ละความปรองดองจะเกิดขึน้ ในสังคมได้ เม่ือมีความรกั อันบรสิ ุทธิ์ใจให้กันและกัน
ให้อภัยในความผิดพลาดท่ีเกิดขึ้นในอดีตกาล และห่างไกลจากการใช้คาพูดและพฤติกรรมท่ีเป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดความ
แตกแยกในสงั คม เพราะสาเหตุการขาดความไม่ระมัดระวังเก่ยี วกบั การใช้คาพูด

-๗-

ลาดบั ศาสนา คณุ ธรรมพน้ื ฐาน ทีม่ าของข้อมูล
ท่ี

๓ ครสิ ต์ บทบญั ญตั ิ ๑๐ ประการ กรมการศาสนา.

๑. คาสอนท่ีว่าดว้ ยความรัก ห นั ง สื อ วิ ถี ชี วิ ต ๕
“ทา่ นต้องรกั องค์พระผเู้ ป็นเจ้าของท่านสุดจิตใจ สุดวญิ ญาณ สดุ สติปัญญาของท่าน นี่คือบทบัญญัติเอกและเป็น ศาสนา.หน้า ๑๗๒
บทบญั ญตั ิแรก บทบญั ญัติที่ สอง คือ “ทา่ นต้องรักเพื่อนมนษุ ย์เหมือนรักตนเอง”(มัทธิว 22:37-39)

นยิ ามของความรักตามคาสอนในไบเบ้ิล อัครทูตเปาโลหรือเซนต์ปอล ได้กล่าวถงึ ความรักที่มีต่อเพื่อนมนุษย์วา่

“ความรักน้นั ย่อมอดทนและกระทาคุณให้ มีใจเอื้อเฟ้ือไม่อิจฉา ไม่โอ้อวดตนเอง ไมจ่ องหอง ไม่หยาบคาย ไม่เหน็ แก่

ตนเองฝ่ายเดียว ไมฉ่ ุนเฉยี ว ไมจ่ ดจาความผดิ ไมช่ ่นื ชมยินดเี ม่อื มีการประพฤติผดิ แต่ชื่นชมยินดีเมือ่ ประพฤติชอบ

ความรกั ให้อภัยทุกอยา่ ง เช่ือในส่วนดขี องเขาเสมอ และมีคามหวงั อยู่เสมอและอดทนทกุ อยา่ ง” (1 โครินธ์ 13:4-7)

๒. คาสอนบญั ญตั ิ ๑๐ ประการที่วา่ ด้วยการทาความดงี ามตามหลกั ศาสนา

๒.๑)นิกายคาทอลิก (Catholicism)

๑) อย่ามพี ระเจ้าอื่นนอกจากเรา อย่าทารูปเคารพสาหรับตนหรอื กราบไหว้เหลา่ นั้น

๒) อยา่ เอย่ นามของพระเจา้ โดยไมส่ มเหตผุ ล

๓) จงถือวันอาทติ ย์เปน็ วนั ศกั ด์ิสทิ ธ์ิ

๔) จงนับถอื บิดามารดา

๕) อยา่ ฆ่าคน

๖) อย่าผิดประเวณี

๗) อยา่ ลกั ทรัพย์

๘) อยา่ ใส่ความนินทา

๙) อยา่ คดิ มิชอบ

๑๐) อยา่ โลภสิ่งใดของผู้อ่ืน

ลาดับ ศาสนา -๘- ทม่ี าของข้อมูล
ที่
คณุ ธรรมพนื้ ฐาน

๒.๒) นกิ ายโปรเตสแตนต์ (Protestantism)
๑) อยา่ มพี ระเจ้าอนื่ นอกเหนือจากเรา
๒) อยา่ ทารปู เคารพสาหรบั ตนหรือกราบไหว้รปู เหลา่ นั้น
๓) อยา่ ออกพระนามของพระเจา้ อย่างไม่สมควร หรอื โดยไม่สมเหตุ
๔) จงถอื สะบาโต (วนั ทเ่ี จด็ ) เป็นวันศกั ด์ิสิทธิ์ (ไปโบสถใ์ นวันอาทติ ย์)
/สาหรบั มูลนธิ ิเซเวน่ ธเ์ ดยแ์ อ๊ดเวนตีสจะนาครสิ ตศ์ าสนิกชนมัสการพระเจา้ (สะบาโต) ในวันเสาร์
๕) จงนบั ถือบดิ ามารดา
๖) อยา่ ฆ่าคน
๗) อยา่ ลว่ งประเวณี
๘) อยา่ ลักทรัพย์
๙) อย่าคิดมิชอบโดยกล่าวมสุ า หรืออย่าเปน็ พยานเท็จใส่รา้ ยเพ่ือนบา้ น (อพยพ 20:16)
๑๐) อย่าโลภสงิ่ ใดของผู้อน่ื

-๙-

ลาดบั ศาสนา คุณธรรมพน้ื ฐาน ท่มี าของข้อมูล
ท่ี

๔ พราหมณ์-ฮนิ ดู ๑. จุดมุ่งหมายของการดาเนินชีวิตตามแนวทางของศาสนาฮนิ ดู กรมการศาสนา.คู่มือ

๑) อรถะ หรอื อรรถะ การแสวงหาทรัพยเ์ พอ่ื การดารงชีวติ ภายใตก้ รอบคาสอน ทางศาสนา ปฏิ บั ติ งานศาสนิ ก
๒) ธรมะ หรอื ธรรมะ การดารงชีวติ ภายใตก้ รอบคาสอนทางศาสนา สัมพันธ์. พ.ศ.๒๕๔๘:
๓) กามะ การแสดงหาความสุขทางโลกภายใต้กรอบคาสอนทางศาสนา หน้า ๘๒-๘๙
๔) โมกษะ ในท่ีสดุ ต้องแสวงหาความหลดุ พน้ จากการเวยี นวา่ ยตายเกดิ สิ่งท่เี ป็นนิรนั ดร คือ ความจริงสูงสุดหรือ

พระเปน็ เจา้ ซึ่งเราจะรู้ไดเ้ มื่อ เขา้ ถงึ โมกษะ

๒. สามานยธรรม (หลกั ธรรม ๑๐ ประการ)

๑) ธฤติ ได้แก่ ความมน่ั คง ความกล้าหาญ คือเพยี รพยายามจนสาเร็จ ประโยชนต์ ามท่ีประสงค์

๒) กษมาธรรม ได้แก่ ความอดทน หรืออดกล้ัน คือมีความพากเพียรพยายาม

๓) ทมะ ได้แก่ การระงับใจ การขม่ จิตใจ คือไมป่ ลอ่ ยใจให้หวัน่ ไหว

๔) อสั เตย ได้แก่ การไม่ลักขโมย ไม่ทาโจรกรรม

๕) เศาจ ไดแ้ ก่ ความบรสิ ทุ ธ์ิ การทาตนใหบ้ รสิ ทุ ธท์ิ ง้ั ทางรา่ งกายและจิตใจ

๖) อินทรียนิครห ได้แก่ การระงับอินทรีย์ ๑๐ ประการ คือ หมั่นสารวจตรวจสอบตนเองอยู่เสมอว่า อินทรีย์ทั้ง

๑๐ ได้รับการบริหารหรือใช้ไปในทางท่ีถูกท่ีควรหรือไม่ จุดประสงค์คือไม่ต้องการให้มนุษย์ ปล่อยอินทรีย์มัวเมา

จนเกินไปให้รู้จักพอ

๗) ธี ได้แก่ ปญั ญา สติ ความคดิ คอื มีความรู้ความเขา้ ใจในขนบธรรมเนยี มประเพณี ธรรมะ สงั คม และวฒั นธรรม

๘) วทิ ยา ไดแ้ ก่ ความรทู้ างปรัชญา คือ มคี วามรูล้ กึ ซึ้ง

๙) สตย ได้แก่ ความจริง ความเหน็ อันบริสทุ ธ์ิ คอื มีความจรงิ ใจให้กนั

๑๐) อโกรธ ได้แก่ ความไม่โกรธ คือมีขันติ ความอดทน และโสรัจจะ ความสงบเสงี่ยม น่ันคือ เอาชนะความโกรธ

ด้วยความไมโ่ กรธ ไม่อาฆาตมงุ่ ร้ายต่อใคร

-๑๐-

ลาดับ ศาสนา คุณธรรมพนื้ ฐาน ทมี่ าของข้อมูล
ท่ี

ซกิ ข์ ๑. หลักคาสอนของศาสนาซิกข์ สอนให้เชื่อในกฎแห่งกรรม การเวียนว่ายตายเกิดจนกว่าจะสร้างความดี บาเพ็ญ กรมการศาสนา.

เพยี รไปรวมเป็นหนงึ่ เดยี วกบั พระผู้เปน็ เจา้ ก า ร ส ร้ า ง ค ว า ม

๒.หลักปรัชญามูลมันตระ กล่าวว่าพระศาสดาสอนให้มนุษย์เข้าใจว่าทุกคนเกิดจากพระเจ้าองค์เดียวกัน มนุษย์จึง ปรองดองสมานฉันท์

เสมือนพ่ีน้องร่วมสายโลหิต ฉะน้ัน จึงไม่ควรมีฉันไม่ควรมีเธอ ควรจะมีแต่เราเท่านั้น พระองค์ยังสอนให้มนุษย์เข้าใจ ดว้ ยมติ ทิ างศาสนา. ปี

ในสัตยะ (สัจธรรม) ซึ่งเป็นหนทางไปสู่มรรคหรือความสุขนิรันดร์ พระองค์ทรงสอนว่า “หากเราหันหน้าเข้าหากันหา พ.ศ.๒๕๕๗: หนา้ ๓๖

ความจริง ความสุขจะตามมา” “มนุษย์ผู้ใดก็ตามท่ียอมรับความจริง แม้ความจริงนั้นจะข่มข่ืนเพียงใดก็ตาม

จะสามารถหาความสุขในความทกุ ขน์ ั้นได้”

๓. หลักคาสอนของพระศาสดาในพระมหาคัมภีร์คุรุครันถ์ ซาฮิบ “มนุษย์คือมวลมิตร หาใช่ศัตรู หาใช่ผู้แปลกหน้า”

ให้ชาวซิกข์ปฏิบัติตามหลักศาสนาที่ต้ังตนอยู่ในความรักและความสามัคคี ผูกมิตรกับศาสนิกชนทุกศาสนาด้วยความ

อ่อนน้อมถ่อมตน รับใช้สังคมที่ตนอยู่ด้วยจิตปวารณา จิตอันบริสุทธ์ิโดยไม่คานึงถึงเชื้อชาติ ศาสนา วรรณะหรื อ

ตาแหน่งการงาน

-๑๑-

๒) จริยธรรมพื้นฐานของ ๕ ศาสนา

ลาดบั ศาสนา จริยธรรมพื้นฐาน ท่ีมาของข้อมลู
ที่

๑ พระพุทธศาสนา ๑. เบญจศลี (ไม่ฆา่ สตั ว์ ไมล่ ักทรัพย์ ไม่ประพฤตผิ ิดในกาม ไม่พูดปด ไมเ่ สพของมึนเมา) กรมการศาสนา.ความรู้

๒. กุศลกรรมบถ ๑๐ ศาสนาเบอ้ื งตน้ .

- กายกรรม ๓ ไม่ฆ่าหรือทาลายชวี ติ ผู้อนื่ ไม่ลักขโมยหรือยึดเอาทรัพย์ของผูอ้ ื่นมาเป็นของตน ไมป่ ระพฤติผดิ ในกาม ปี พ.ศ. ๒๕๕๔: หน้า

- วจีกรรม ๔ ไม่พูดเทจ็ ไมพ่ ูดส่อเสียด ไมพ่ ูดคาหยาบคาย ไม่พดู เพ้อเจ้อ ๑๖-๒๐

- มโนกรรม ๓ ไม่โลภอยากได้ของคนอ่นื ไมค่ ิดพยาบาทปองรา้ ยผู้อืน่ เหน็ ชอบตามคลองธรรม

๒ อสิ ลาม ๑. หลักปฏิบตั ิ ๕ ประการ ได้แก่ ๑.กรมการศาสนา.

๑) การปฏิญาณตน หมายถงึ การปฏิญาณวา่ ไมม่ ีพระเจา้ อืน่ ใดนอกจากอัลเลาะหแ์ ละมูฮมั หมัดเปน็ ศาสดา ความรู้ศาสนาเบ้ืองต้น.

และศาสนทูตของอลั เลาะห์ ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ : หน้า

๒) การละหมาด หมายถึง การกม้ กราบอัลเลาะห์ ด้วยอิริยาบถท่กี าหนด ทัง้ ร่างกาย วาจา และหวั ใจ ๕๒-๖๗

๓) การจา่ ยซะกาต หมายถงึ การจา่ ยทานจากผมู้ ีทรพั ย์สินในอัตรารอ้ ยละ ๒.๕ % เมอื่ ครบพกิ ดั ท่ีกาหนดและ ๒. กรมการศาสนา.

ครบรอบ ๑ ปี ใหแ้ กผ่ ู้มีสิทธิ์รับซะกาตแปดจาพวก ได้แก่ คนอนาถา คนขดั สน ผจู้ ดั เก็บซะกาต ผเู้ ข้ารบั อิสลาม ทาส ศาสนาในประเทศไทย

คนท่ีมีหนส้ี นิ ลน้ พน้ คนทที่ างานในหนทางของอลั เลาะห์ และคนเดนิ ทาง ,๒๕๖๑ :หน้า ๑๓๗

๔) การถือศลี อด หมายถึง การงดเว้นจากการบริโภคอาหาร น้า การมีเพศสมั พันธ์และกิเลสตา่ ง ๆ ต้ังแต่แสงอรณุ

ขึ้นจนกระทัง่ แสงอาทิตยล์ ับขอบฟ้า หลังจากน้ันจึงบริโภคได้ปกติตลอดคืน การถือศลี อดโดยทวั่ ไป เรยี กว่า “ถือบวช”

๕) การประกอบพธิ ีฮจั ญ์ คือ การเดนิ ทางไปแสวงบญุ ทนี่ ครเมกกะฮ์ ราชอาณาจกั รซาอดุ อิ าระเบยี

-๑๒-

ลาดบั ศาสนา จริยธรรมพื้นฐาน ท่ีมาของข้อมูล
ที่

๒. หลักคณุ ธรรม (เอ๊ียะห์ซาน) คือ ความดีทต่ี ้องประพฤติอย่เู สมอ หนา้ ท่ี มารยาททตี่ ้องแสดงออกและคุณสมบัติ
ทางจติ ใจที่มีต่ออัลเลาะห์ พระผเู้ ป็นเจ้า บิดามารดา เพ่ือน สามี ภรยิ า ผู้นา และประชาชน
๓.ศาสนาอสิ ลามกาหนดขอ้ หา้ มหลัก คอื

๑) หา้ มรบั ประทานเนื้อหมู เลอื ดของสตั ว์ และสัตวต์ ายเองโดยมไิ ดเ้ ชอื ดด้วยการกลา่ วนามพระเจา้
๒) ห้ามให้เงินกดู้ ้วยดอกเบ้ยี
๓) หา้ มเสพสรุ าสงิ่ เสพติดทัง้ ตลอดจนบุหรี่
๔) หา้ มเล่นการพนันและการเสยี่ งทายทุกชนิด
๕) หา้ มต้งั ภาคหี รือนาสิง่ อนื่ เทียบเคยี งอลั เลาะห์พระผเู้ ปน็ เจ้า
๖) ห้ามกราบไหว้บชู ารูปปั้น วตั ถุ ต้นไม้ กอ้ นอฐิ กอ้ นหนิ ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ แมน่ า้ ภเู ขา ผสี างเทวดา
๗) ห้ามเช่ือดวง ผูกดวง หา้ มเสีย่ งทายถอื โชคลาง
๘) หา้ มผดิ ประเวณี
๙) หา้ มกกั ตนุ สินคา้
๑๐) ห้ามประกอบอาชพี ทีไ่ มถ่ ูกศีลธรรม
๑๑) หา้ มฆ่าส่ิงมชี ีวติ ทุกชนิด โดยไม่มีเหตุผลตามที่ศาสนากาหนด
๑๒) หา้ มใสร่ า้ ยปา้ ยสี นนิ ทาหรือกระทาการใด ๆ ท่จี ะสร้างความเดอื ดรอ้ นต่อตนเอง เพ่ือนบ้าน สงั คม

และประเทศชาติ

-๑๓-

ลาดบั ศาสนา จรยิ ธรรมพื้นฐาน ท่ีมาของข้อมลู
ที่

๓ ครสิ ต์ หลักธรรมทห่ี ล่อหลอมให้คริสต์ศาสนกิ ชนดาเนนิ ชวี ิตอย่างมคี วามสุขภายใต้ความศรัทธาในพระเจา้ คือการมจี ิต ๑.กรมการศาสนา.

เมตตา มคี วามรักเพ่อื นมนุษย์เหมอื นรกั ตวั เอง ศาสนาสร้างสนั ต.ิ

๑. การปฏบิ ัติตามบญั ญัติ ๑๐ ประการ พ.ศ.๒๕๔๙:หนา้

๑) ใหค้ วามเคารพในพระผ้เู ป็นเจา้ (พระยะโฮวา) ๑๑๘-๑๑๙

๒) ไมเ่ คารพ/กราบไหว้รูปปฏิมา (รูปเคารพ) ๒.กรมการศาสนา.

๓) ไมเ่ อย่ พระนามของพระเจา้ (พระเยโฮวา) อยา่ งไมเ่ หมาะสม ก า ร ส ร้ า ง ค ว า ม

๔) จงถือสะบาโต (วนั ท่เี จ็ด) เปน็ วนั ศกั ดส์ิ ทิ ธิ์ (ไปโบสถใ์ นวนั อาทิตย)์ /สาหรับมลู นิธิเซเวน่ ธ์เดย์แอด๊ เวนตสี ปรองดองสมานฉันท์

จะนาครสิ ต์ศาสนิกชนในสงั กัดนมสั การพระเจ้าในวันเสาร์ (สะบาโต) (อพยพ 20:8, กจิ การ 20:7) ด้วยมิติทางศาสนา.

๕) เคารพ กตัญญตู ่อบดิ า มารดา และผมู้ ีพระคุณ ปี พ.ศ.๒๕๕๗: หนา้

๖) มีความรกั เมตตา กรุณา ต่อเพื่อนมนุษย์ ๓๑

๗) ครองเรือนดว้ ยความซื่อสตั ย์ รักและให้อภัยกนั ๓.กรมการศาสนา.

๘) มีความซ่ือสตั ย์ สจุ ริตในการดาเนนิ ชวี ติ และประกอบสัมมาอาชีพ ความรู้ศาสนาเบื้องต้น

๙) ทาความดดี ว้ ยความรักทั้งกาย วาจาและใจ พ.ศ. ๒๕๕๔ : หนา้ ๙๗

๑๐) มคี วามพึงพอใจในสิ่งทีต่ นมี /อย่าโลภสิง่ ใดของผู้อื่น

๒. หลักความรกั ศาสนาครสิ ตไ์ ด้ชอ่ื วา่ เป็นศาสนาแหง่ ความรัก พระเยซคู ริสต์ทรงสอนใหร้ กั เพ่ือนมนษุ ยเ์ หมอื นรัก

ตวั เอง ให้รกั แม้กระท่งั ศัตรจู งรกั ศตั รู อธษิ ฐานอวยพรผู้ที่ข่มเหงเพราะเหตุแห่งความชอบธรรม

๓. วนิ ัยแห่งความเช่อื

๑) หม่ันศึกษา และอ่านพระคมั ภีร์อยู่เสมอ ๒) จงอธษิ ฐานวิงวอนอยู่เสมอ

๓) นมสั การพระเจา้ ทงั้ ทีค่ ริสตจกั รและเป็นการสว่ นตัว ๔) ประกาศและเผยแพรห่ ลกั ธรรมตามไบเบลิ้

๕) ทะนุบารุงงานของคริสตจกั รตามความสามารถ ๖) สามคั คีธรรมรว่ มกบั พ่ีน้องรว่ มความเชอ่ื

๔. พระบญั ญตั ิของพระศาสนจักรมี ๔ ประการ (ศาสนาครสิ ต์ นกิ ายโรมันคาทอลกิ )

๑) จงรว่ มมสิ ซาในวนั อาทติ ย์และวันฉลองบังคบั

๒) จงอดอาหารและอดเนอ้ื ในวนั บังคับ

๓) จงไปสารภาพบาปหรอื จงรับศลี อภัยบาปและรับศลี มหาสนิทอยา่ งน้อย ปลี ะคร้งั ในกาหนดปสั กา

๔) จงบารงุ รักษาพระศาสนาตามความสามารถ

-๑๔-

ลาดบั ศาสนา จรยิ ธรรมพื้นฐาน ท่มี าของข้อมลู
ท่ี

๔ พราหมณ์-ฮินดู ๑. นยิ มะ จริยธรรมทางกายและใจ ๑๐ ประการ กรมการศาสนา.

๑) หรี ความละอายตอ่ การทาความช่วั ศ า ส น า ส ร้ า ง สั น ติ .
๒) สันโตษะ ความสันโดษ ดารงชีวิตด้วยความพงึ พอใจราบเรียบอย่างมคี วามสขุ พ . ศ . ๒ ๕ ๔ ๙ :ห น้ า
๓) ทาน การใหโ้ ดยไมห่ วังสงิ่ ตอบแทน ๑๔๑-๑๔๙
๔) อสั ติกยะ มศี รัทธาแนบแน่น เชือ่ ในพระเจ้าโดยไมค่ วามเคลือบแคลงสงสัย เช่อื มน่ั ในเสน้ ทางที่จะดาเนนิ ไป

สู่โมกษะ ความหลดุ พน้ จากการเวยี นว่ายตายเกิด

๕) อศี วรปชู นะ ปลูกฝงั ความภักดตี ่อพระเป็นเจา้ ด้วยการบชู าและทาสมาธทิ ุกวัน

๖) สิทธานตศรวณะ ฟงั คาสอนจากคัมภีรท์ างศาสนา

๗) มติ พัฒนาจติ ใจใหส้ ูงขึ้นโดยพง่ึ อาจารย์ทางศาสนา

๘) วรตะ ปฏิบตั พิ รตทางศาสนาโดยไมพ่ ยายามหลีกเลีย่ ง

๙) ชปะ ทอ่ งมนต์เป็นประจาทุกวัน

๑๐) ตปสั บาเพญ็ ตบะตามคาแนะนาของอาจารย์

-๑๕-

ลาดบั ศาสนา จริยธรรมพ้นื ฐาน ทมี่ าของข้อมลู
ที่

๕ ซกิ ข์ ๑. ศาสนาซกิ ขก์ าหนดระเบียบวนิ ัยให้ปฏบิ ัติ ดังน้ี ๑.กรมการศาสนา.

๑) วินัยทางกาย ได้แก่ การให้บริการคนอืน่ ทางกายและทางวาจา เปน็ การให้ทาน ศาสนาในประเทศ
๒) วินยั ทางศลี ธรรม ได้แก่ การหาเลย้ี งชีพโดยชอบธรรม ไม่มีความเห็นแก่ตัว ไทย.พ.ศ.๒๕๖๑:
๓) วนิ ัยทางจิตใจ ไดแ้ ก่ ความเชอื่ มนั่ ในพระเจา้ องค์เดียว มีจติ ใจอยู่กบั พระเจา้ หนา้ ๒๐๕
ศาสนวนิ ยั (กูราเฮต็ ) ข้อหา้ มท่ไี ม่ควรปฏบิ ัติ หา้ มกระทาสิ่งใดตอ่ เกศา หา้ มรบั ประทานอาหารที่ทาจาก

สัตวท์ ีไ่ ด้รับการทรมาน หา้ มลว่ งเกินทางเพศบุคคลอ่ืนและห้ามเสพส่งิ เสพตดิ ๒.กรมการศาสนา.
๒. สจั ธรรมในพระมหาคัมภีร์ศรคี รุ คุ รนั ถซ์ าฮิบและศาสนวินัยของศาสนาซิกข์ ความรศู้ าสนาเบ้อื งต้น
พ.ศ. ๒๕๕๔ : หน้า
๑) สวดภาวนา “นาม-วาเฮ่คุรุ” ทุกขณะจติ ๑๕๑
๒) ศกึ ษาปฏิบัติตามพระธรรมในพระมหาคัมภีร์ศรคี ุรคุ รันถ์ซาฮบิ และศาสนวินัยของซิกข์
๓) ประกอบสัมมาชวี ะโดยสจุ ริตธรรมในรปู ของฆราวาส

๔) รบั ใช้บรกิ ารสังคมและเพือ่ มนษุ ย์ดว้ ยกาย วาจา ใจ และทรพั ย์โดยไมห่ วังผลตอบแทน

๕) ดารงชีวติ ในรปู ของฆราวาส ไม่ลว่ งเกินสามี ภรรยา หรอื หญงิ ผ้อู นื่

๖) นบั ถอื และเคารพในสิทธขิ องสตรีอื่นเสมือนมารดา พ่ีสาว น้องสาว บุตรขี องตน

๗) ฝกึ อบรมจิตใจ นาพระธรรมมาปฏบิ ตั ิยึดเหนย่ี วในการที่จะเอาชนะมาร (ความชัว่ รา้ ย) ท่ีจะมาครอบงาจิตใจ

และการดารงชวี ิต

๘) มารท้งั ๕ ในศาสนาซิกข์ คอื ตัณหา (กาม) ความโกรธ ความโลภ ความหลง (โมหะ) และความอหังการ

ลาดบั เร่ือง -๑๖- ทม่ี าของข้อมลู

๑ การทาความดี หลกั คาสอนทางศาสนาของ ๕ ศาสนา ที่เสริมสร้างสงั คมให้สงบสุขร่มเยน็ ๑.พระพรหมคุณาภรณ์
ละเวน้ ความชั่ว ศาสนา หลกั ธรรม/คาสอนทางศาสนา (ประยุทธ์ ปยตุ ฺโต),มรรค
มีองค์ ๘, พจนานุกรม
พระพทุ ธศาสนา ๑. เบญจศลี (ไม่ฆ่าสตั ว์ ไม่ลกั ทรพั ย์ ไม่ประพฤติผดิ ในกาม ไม่พดู ปด ไม่ด่มื ของมึนเมา) พุ ทธศาสตร์ ฉบั บ
๒. เบญจธรรม หรือ เบญจกัลยาณธรรม ( ธรรมอันดงี ามหา้ อยา่ ง, คณุ ธรรม ๕ ประการ ประมวลธรรม.
คู่กับเบญจศีล เป็นธรรมเก้อื กูลแก่การรกั ษาเบญจศลี ผรู้ กั ษาเบญจศลี ควรมีไว้ประจาใจ ๒.กรมการศาสนา.ความรู้
ศ า ส น า เ บ้ื อ ง ต้ น .
๑) เมตตาและกรณุ า คือ ความรกั ใครป่ รารถนาให้มีความสุขความเจริญ และความ ปี พ . ศ . ๒ ๕ ๕ ๔ :
สงสารคิดช่วยใหพ้ ้นทุกข์ คู่กับศลี ข้อที่ ๑ หน้า ๑๖-๒๐

๒) สัมมาอาชวี ะ คือ การหาเล้ียงชีพในทางสุจรติ คู่กับศลี ขอ้ ที่ ๒
๓) กามสังวร คอื ความสงั วรในกาม, ความสารวมระวงั รจู้ ักยบั ยั้งควบคมุ ตนในทาง

กามารมณ์ ไม่ใหห้ ลงใหลในรปู เสียง กลิ่น รส และสมั ผัส คูก่ บั ศลี ข้อที่ ๓
๔) สจั จะ คือ ความสตั ย์ ความซ่อื ตรง คู่กับศีลข้อที่ ๔
๕) สตสิ มั ปชญั ญะ คอื ระลึกไดแ้ ละรตู้ ัวอย่เู สมอ คือ ฝึกตนใหเ้ ป็นคนรจู้ ักย้ังคิด

รู้สกึ ตัวเสมอว่า สง่ิ ใดควรทา และไมค่ วรทา ระวงั มิให้เป็นคนมวั เมาประมาท
คู่กบั ศีลขอ้ ที่ ๕
๓. มรรค ๘
๑. สมั มาทฐิ ิ (ความเหน็ ทถี่ ูกตอ้ ง) หมายถงึ ความรู้ในอริยสัจ ๔
๒. สมั มาสงั กัปปะ (ความคดิ ทีถ่ กู ตอ้ ง) หมายถึง ความคิดในการออกจากกาม ความไมพ่ ยาบาท
และการไมเ่ บยี ดเบยี น
๓. สมั มาวาจา (วาจาทถี่ ูกตอ้ ง) หมายถงึ การเว้นจากการพูดเท็จ หยาบคาย สอ่ เสยี ด และเพ้อเจอ้
๔. สัมมากัมมนั ตะ (การปฏิบตั ิท่ีถกู ตอ้ ง) หมายถงึ เจตนาละเว้นจากการฆ่า โจรกรรม และ
การประพฤติผดิ ในกาม
๕. สัมมาอาชวี ะ (การหาเลยี้ งชีพที่ถกู ตอ้ ง) หมายถงึ การเว้นจากมจิ ฉาชีพ
๖.สมั มาวายามะ(ความเพยี รที่ถกู ต้อง)หมายถึงสัมมัปปธาน๔คอื ความพยายามป้องกันอกุศลที่
ยังไมเ่ กดิ ละอกุศลทีเ่ กิดข้นึ แล้วทากุศลท่ยี งั ไม่เกดิ และดารงรกั ษากศุ ลทเี่ กดิ ข้ึนแลว้
๗. สมั มาสติ (การมีสติท่ีถกู ตอ้ ง) หมายถึง สตปิ ัฏฐาน ๔
๘. สัมมาสมาธิ (การมีสมาธทิ ีถ่ ูกต้อง) หมายถึง ฌาน ๔

-๑๗-

ลาดับ เรอื่ ง ศาสนา หลักธรรม/คาสอนทางศาสนา ทม่ี าของข้อมูล
อสิ ลาม
๑. หลกั คาสอนในคมั ภรี ์อัลกุรอาน ซเู ราะห์ (บท) ท่ี ๓ โองการที่ ๑๐๕ "สเู จ้าจงทาเถดิ อลั ลอฮ์ กรมการศาสนา.
และศาสนทตู ของพระองค์ และบรรดาศรัทธาชน จะเห็นการกระทาของสเู จ้าและ สเู จ้าจะถกู นา ศาสนาในประเทศ
กลบั ไปยังพระผทู้ รงรอบรู้ในสง่ิ เร้นลับ และส่ิงเปดิ เผย แลว้ พระองคจ์ ะทรงแจ้งแกส่ เู จ้า ในสง่ิ ทสี่ เู จา้ ไทย.พ.ศ.๒๕๖๑:
ได้กระทาไว้” ซ่ึงคาสอนดงั กล่าวสอนให้มนษุ ย์ทาความดีละเวน้ ความช่วั โดยใหม้ นุษยไ์ ด้รับรวู้ า่ มีผู้ หน้า ๑๓๖
ที่คอยมองดูการกระทาของเขาตลอดเวลา จะส่งผลในแง่ของความลมุ่ ลึกในการชาระขัดเกลาการ
กระทาและเจตคตขิ องมนุษย์ ทาให้มนษุ ยม์ ีความระมัดระวงั ความประพฤตมิ ากยง่ิ ข้นึ โดยเฉพาะ
อย่างยง่ิ ถา้ รูว้ า่ อลั เลาะห์ ศาสดา และผูศ้ รัทธาเปน็ ผู้คอยดูการกระทาของตน
๒. หลกั ปฏิบตั ิ ๕ ประการ ได้แก่

๑) การปฏญิ าณตน หมายถึง การปฏิญาณวา่ ไม่มีพระเจ้าอ่ืนใดนอกจากอัลเลาะห์ และ
มูฮมั หมดั เปน็ ศาสดาและศาสนทูตของอลั เลาะห์

๒) การละหมาด หมายถึง การกม้ กราบอัลเลาะห์ ด้วยอิรยิ าบถท่กี าหนด ทงั้ รา่ งกาย
วาจา และหัวใจ

๓) การจ่ายซะกาต หมายถงึ การจา่ ยทานจากผูม้ ีทรพั ย์สินครบพกิ ัดท่ีกาหนดและ
ครบรอบปี ให้แกผ่ มู้ ีสิทธ์ิรับซะกาตแปดจาพวก ได้แก่ คนอนาถา คนขัดสน ผูจ้ ัดเก็บซะกาต
ผู้เขา้ รบั อิสลาม ทาส คนท่ีมหี นี้สนิ ล้นพน้ คนที่ทางานในหนทางของอลั เลาะห์ และคน
เดนิ ทาง

๔) การถือศีลอด หมายถึง การงดเว้นจากการบริโภคอาหาร น้า การมีเพศสัมพันธ์
และกิเลสต่าง ๆ ตั้งแต่แสงอรุณข้ึนจนกระท่ังแสงอาทิตย์ลับขอบฟ้า หลังจากนั้นจึงบริโภคได้
ปกติตลอดคนื การถอื ศีลอดโดยท่ัวไป เรยี กวา่ “ถือบวช”

๕) การประกอบพธิ ฮี ัจญ์ คือ การเดินทางไปแสวงบุญทน่ี ครเมกกะฮ์ ราชอาณาจักร
ซาอุดิอาระเบยี

ลาดับ เร่อื ง ศาสนา -๑๘- ที่มาของข้อมลู
คริสต์ หลกั ธรรม/คาสอนทางศาสนา กรมการศาสนา.
ศาสนาสร้างสนั ติ.
๑. การปฏิบตั ติ ามบญั ญตั ิ ๑๐ ประการ (อพยพ20:1-17) พ.ศ.๒๕๔๙:หน้า
๑.๑) นกิ ายคาทอลิก (Catholicism) ๑๑๘-๑๑๙
๑) อย่ามีพระเจา้ อื่นนอกจากเรา อย่าทารปู เคารพสาหรับตนหรอื กราบไหว้เหล่าน้ัน
๒) อย่าเอ่ยนามของพระเจา้ โดยไมส่ มเหตุผล
๓) จงถอื วันอาทติ ย์เปน็ วนั ศกั ด์ิสทิ ธ์ิ
๔) จงนับถอื บิดามารดา
๕) อยา่ งฆ่าคน
๖) อยา่ ผดิ ประเวณี
๗) อยา่ งลักทรัพย์
๘) อย่าใสค่ วามนินทา
๙) อย่าคิดมิชอบ
๑๐) อยา่ งโลภสิง่ ใดของผู้อ่ืน
๑.๒) นิกายโปรเตสแตนต์ (Protestantism)
๑) อยา่ มีพระเจา้ อน่ื นอกเหนือจากเรา
๒) อยา่ ทารปู เคารพสาหรับตนหรอื กราบไหวร้ ูปเหลา่ น้ัน
๓) อยา่ เอย่ พระนามของพระเจ้าอย่างไมส่ มควร หรือไมส่ มเหตผุ ล
๔) จงถือสะบาโต (วันทเ่ี จด็ ) เป็นวนั ศักดส์ิ ทิ ธ์ิ (ไปโบสถใ์ นวนั อาทติ ย์) /จงรักษาวนั สะบาโต

.

ลาดับ เรื่อง ศาสนา -๑๙- ทม่ี าของข้อมลู

หลักธรรม/คาสอนทางศาสนา

/สาหรับมูลนิธิเซเวน่ ธเ์ ดย์แอด๊ เวนตสี จะนาคริสตศ์ าสนกิ ชนนมัสการพระเจ้า (สะบาโต)
ในวันเสาร์
๕) จงนบั ถือบิดามารดา
๖) อยา่ ฆา่ คน
๗) อย่าล่วงประเวณี
๘) อยา่ ลกั ทรัพย์
๙) อย่าคิดมชิ อบโดยกล่าวมสุ า อย่าเป็นพยานเทจ็
๑๐) อย่าโลภสง่ิ ใดของผู้อ่ืน
๒. จงรกั ศัตรู อธษิ ฐานอวยพรผู้ทข่ี ่มเหงเพราะเหตุแห่งความชอบธรรม (มัทธวิ 5:43-44)
๓. การหา่ งไหลจากความชั่ว “มหี กสง่ิ ท่ีพระเจา้ ทรงเกลยี ด มีเจด็ สง่ิ ซง่ึ เปน็ ที่น่าเกลยี ดนา่ ชัง
สาหรบั พระองค์ ตายโส ลน้ิ มุสา และมือท่ที าโลหติ ไร้ผิดให้ตก จิตใจทคี่ ิดแผนงานโหดร้าย
เทา้ ซึง่ รบี วง่ิ ไปสู่ความชว่ั พยานเท็จซ่ึงหายใจออกเป็นคามสุ า และคนผูห้ ว่านความแตกร้าว
ทา่ มกลางพวกพีน่ อ้ ง” (สุภาษิต 6:16-19)

-๒๐-

ลาดบั เรือ่ ง ศาสนา หลักธรรม/คาสอนทางศาสนา ทีม่ าของข้อมลู

พราหมณ์-ฮินดู สามานยธรรม (หลักธรรม ๑๐ ประการ) ๑.กรมการศาสนา.

๑) ธฤติ ไดแ้ ก่ ความม่นั คง ความกลา้ หาญ คือเพียรพยายามจนสาเร็จ ประโยชนต์ าม คู่ มื อ ป ฏิ บั ติ ง า น

ท่ปี ระสงค์ ศาสนิกสัมพันธ์. พ.ศ.

๒) กษมา ได้แก่ ความอดทน หรืออดกลน้ั คือมีความพากเพียรพยายาม ๒๕๔๘: หน้า ๙๒-๙๓

๓) ทม ได้แก่ การระงับใจ การขม่ จติ ใจ คือไมป่ ล่อยใจใหห้ วัน่ ไหว ๒.กรมการศาสนา.

๔) อัสเตย ได้แก่ การไม่ลักขโมย ไม่ทาโจรกรรม ค ว า ม รู้ ศ า ส น า

๕) เศาจ ได้แก่ ความบริสทุ ธ์ิ การทาตนใหบ้ ริสทุ ธ์ิทั้งทางร่างกายและจิตใจ เบอ้ื งต้น. พ.ศ.๒๕๕๔:

๖) อินทรยี นิครห ไดแ้ ก่ การระงับอนิ ทรีย์ ๑๐ ประการ คอื หม่ันสารวจตรวจสอบ หน้า ๑๑๖-๑๒๓

ตนเองอยู่เสมอว่า อนิ ทรยี ท์ ัง้ ๑๐ ไดร้ ับการบรหิ ารหรือใช้ไปในทางท่ถี ูกท่คี วร

หรอื ไม่ จุดประสงค์คือไมต่ ้องการใหม้ นุษย์ ปลอ่ ยอนิ ทรีย์มัวเมาจนเกนิ ไปให้ร้จู ักพอ

๗) ธี ไดแ้ ก่ ปัญญา สติ ความคดิ คือ มีความรู้ความเข้าใจในขนบธรรมเนียมประเพณี ธรรมะ

สงั คม และวัฒนธรรม

๘) วิทยา ไดแ้ ก่ ความร้ทู างปรัชญา คอื มีความรู้ลกึ ซ้ึง

๙) สตย ไดแ้ ก่ ความจรงิ ความเห็นอันบริสทุ ธ์ิ คือมีความจรงิ ใจใหก้ ัน

๑๐) อโกรธ ไดแ้ ก่ ความไมโ่ กรธ คือมีขนั ติ ความอดทน และโสรัจจะ ความสงบเสงย่ี ม

นน่ั คือ เอาชนะความโกรธ ด้วยความไม่โกรธ ไม่อาฆาตมุง่ ร้ายตอ่ ใคร

-๒๑-

ลาดับ เร่ือง ศาสนา หลักธรรม/คาสอนทางศาสนา ที่มาของข้อมูล

๒. ยมะ คือ วนิ ยั ศลี ๑๐ ประการ
๑) อหิงสา การไม่ทาร้ายคนอ่ืนท้ังกายวาจา ใจ
๒) สัตยะ ความสัตย์ ยดึ มนั่ ในความสัตย์ งดเวน้ การพูดเท็จ
๓) อัสเตยะ ไม่ลักทรัพย์ รักษาคุณธรรมแห่งการไมล่ ักทรัพย์
๔) พรหมจรยะ หรือพรหมจรรย์ ประพฤตติ ัวเช่นพรหมจรรย์ ควบคมุ กามอารมณ์
๕) กษมา ความอดทนอดกลนั้ ความเพียร
๖) ธฤติ ความมีจิตใจแน่วแนม่ ั่นคง
๗) ทยา ความกรุณา
๘) อรชวะ ความซ่ือตรง
๙ )มิตาหาระ ควบคุมการบริโภคอาหาร
๑๐) เศาจะ ความสะอาดบริสุทธิท์ งั้ กายและใจ

๓. นยิ มะ จริยธรรมทางกายและใจ ๑๐ ประการ
๑) หรี ความละอายตอ่ การทาช่ัว
๒) สนั โตษะ ความสันโดษ ดารงชวี ติ ดว้ ยความพึงพอใจราบเรียบอย่างมคี วามสุข
๓) ทาน การใหโ้ ดยไมห่ วงั สิ่งตอบแทน
๔) อัสตกิ ยะ มีศรัทธาแนบแนน่ เช่อื ในพระเจา้ โดยไม่ความเคลือบแคลงสงสยั เชอ่ื ม่นั ใน
เสน้ ทางทจ่ี ะดาเนนิ ไปสู่โมกษะ ความหลดุ พน้ จากการเวียนว่ายตายเกดิ
๕) อีศวรปูชนะ ปลูกฝงั ความภกั ดตี ่อพระเป็นเจ้าด้วยการบชู าและทาสมาธิทุกวนั
๖) สทิ ธานตศรวณะ ฟงั คาสอนจากคัมภรี ท์ างศาสนา

-๒๒-

ลาดบั เร่ือง ศาสนา หลักธรรม/คาสอนทางศาสนา ทม่ี าของข้อมูล

๗) มติ พัฒนาจติ ใจใหส้ งู ข้ึนโดยพ่ึงอาจารย์ทางศาสนา
๘) วรตะ ปฏบิ ตั ิพรตทางศาสนาโดยไมพ่ ยายามหลกี เล่ยี ง
๙) ชปะ ท่องมนตเ์ ป็นประจาทกุ วัน
๑๐) ตปัส บาเพญ็ ตบะตามคาแนะนาของอาจารย์

ซกิ ข์ ๑. การเข้าถึงสุขอันเปน็ นิรนั ดร์ หรือนิรวาณ ๕ ประการ ๑.กรมการศาสนา.

๑) ธรรมขันฑ์ คือการประกอบกรรมดี ศาสนาในประเทศ

๒) คอิ าณขัณฑ์ คือ การมีปญั ญา ไทย.พ.ศ.๒๕๖๑:

๓) สรนั ขัณฑ์ คอื การปีติอิ่มเอบิ ใจในธรรม หน้า ๒๐๕

๔) กรรมขณั ฑ์ คือ การมกี าลังจติ แนว่ แน่มั่นคงไมห่ วาดกลวั ๒.กรมการศาสนา.

๕) สัจขณั ฑ์ คอื การเข้าถึงสจั จะ หรอื การหลอมรมเป็นอันหน่ึงอนั เดียวกนั กับพระเจ้า ค ว า ม รู้ ศ า ส น า

๒. สัจธรรมในพระมหาคัมภีร์ศรีคุรุครนั ถว์ าฮบิ และศาสนวินัยของศาสนาซกิ ข์ เบ้ืองตน้ . พ.ศ.๒๕๕๔:

๑) สวดภาวนา “นาม-วาเฮ่คุรุ” ทุกขณะจิต หน้า ๑๕๑

๒) ศกึ ษาปฏบิ ตั ิตามพระธรรมในพระมหาคมั ภรี ศ์ รคี รุ คุ รันถ์วาฮิบและศาสนวนิ ยั ของซกิ ข์

๓) ประกอบสัมมาชวี ะโดยสจุ ริตธรรมในรูปของฆราวาส

๔) รับใช้บริการสังคมและเพื่อมนุษยด์ ว้ ยกาย วาจา ใจ และทรพั ยโ์ ดยไมห่ วงั ผลตอบแทน

๕) ดารงชีวิตในรปู ของฆราวาส ไมล่ ่วงเกินสามี ภรรยา หรอื หญิงผอู้ น่ื

๖) นับถอื และเคารพในสิทธขิ องสตรอี ืน่ เสมอื นมารดา พีส่ าว นอ้ งสาว บุตรีของตน

๗) ฝึกอบรมจิตใจ นาพระธรรมมาปฏบิ ัตยิ ึดเหน่ียวในการทจ่ี ะเอาชนะมาร (ความ

ชั่วรา้ ย) ทีจ่ ะมาครอบงาจติ ใจและการดารงชวี ติ

๘) มารทงั้ ๕ ในศาสนาซิกข์ คือ ตัณหา (กาม) ความโกรธ ความโลภ ความหลง

(โมหะ) และความอหังการ

-๒๓-

ลาดับ เร่ือง ศาสนา หลักธรรม/คาสอนทางศาสนา ทม่ี าของข้อมลู
๒ ความเมตตา
พระพทุ ธศาสนา ๑. พรหมวหิ าร ๔ ในเร่อื งเมตตา (ความรัก ความปรารถนาด)ี กรณุ า (ความสงสารชว่ ยให้ กรมการศาสนา.
อสิ ลาม
พ้นทกุ ข์) มทุ ิตา (ความยนิ ดีในเมอื่ ผู้อน่ื อยดู่ ีมีสุข) และอุเบกขา (การวางใจเป็นกลาง) ก า ร ส ร้ า ง ค ว า ม

๒. สารณียธรรม ๖ ในเรอื่ งเมตากายกรรม (การช่วยเหลอื เก้ือกูลด้วยกริ ยิ าทส่ี ภุ าพ) ปรองดองสมานฉันท์

เมตตาวจกี รรม (การบอกกล่าว สัง่ สอน แนะนาด้วยความหวังดี) เมตตามโนกรรม ด้วยมิติทางศาสนา.

(การ ต้งั จิตปรารถนาดีตอ่ กนั ) สาธารณโภคติ า ( การแบง่ ปันโดยชอบธรรม) และทฏิ ฐิ- ปี พ . ศ . ๒ ๕ ๕ ๗ :

สามญั ญตา (การเหน็ ชอบรว่ มกัน) หน้า ๒๗-๒๘

๑. หลกั เมตตาธรรมในกรอบอลั -กุรอาน ปรญิ ญา ประหยดั

ในซูเราะฮ์ อัล-อมั บยี าอ์ อายะฮท์ ี่ ๑๐๗ อลั เลาะฮ์ (ซ.บ.) ทรงตรสั วา่ ความวา่ : ทรพั ย์ .เมตตาธรรม

“เรามไิ ด้สง่ เจา้ มาเพ่ืออน่ื ใดเลยนอกจากเพื่อเปน็ ความเมตตาแกโ่ ลกทั้งผองเท่านั้น” หนึง่ ในคุณสมบตั ิของ

๒. หลักเมตตาธรรมในกรอบของอัล-หะดีษ ๑) ท่านนบีมูฮาหมัด (ซ.ล.) ได้กล่าวว่า มสุ ลมิ ที่แท้จริง
: “ผใู้ ดไมเ่ มตตาต่อเพ่ือนมนุษย์ อลั เลาะฮ์จะไม่เมตตาแก่เขาเช่นกัน” (รายงานโดยบุคอรีย์ เมตตาธรรม หน่ึงใน
คุณสมบัตขิ องมสุ ลมิ ท่ี
และมุสลิม)
แทจ้ รงิ . ๒๕๕๕

๒) ทา่ นนบมี ฮู าหมดั (ซ.ล.) ไดก้ ลา่ วว่า : “ผใู้ ดไร้เมตตาธรรม ผู้นั้นย่อมมไิ ด้รบั เมตตา (https://quran73.wordp

ตอบ” (รายงานโดย บุคอรีย์และมสุ ลิม) ress.com)

๓) ท่านนบีมูฮาหมัด (ซ.ล.) ได้กลา่ ววา่ : “พวกท่านจงมเี มตตาต่อผู้ท่ีอยู่ในผืนแผ่นดิน

เถดิ ผ้ทู อ่ี ย่ใู นฟากฟ้าจะทรงเมตตาต่อพวกท่าน” (รายงานโดย อัฏ-เฏาะบะรอนยี แ์ ละอัล-ฮากีม

๔) ทา่ นนบีมฮู าหมัด (ซ.ล.) ไดก้ ลา่ วว่า : “ผ้ใู ดไมเ่ มตตาต่อเพื่อนมนุษย์ อลั เลาะฮ์จะไม่

เมตตาแกเ่ ขาเช่นกัน” (รายงานโดยบคุ อรียแ์ ละมุสลิม)

-๒๔-

ลาดับ เร่ือง ศาสนา หลักธรรม/คาสอนทางศาสนา ทีม่ าของข้อมลู

คริสต์ ๑.หลักความรัก (ความเมตตา) พระเยซูคริสต์ทรงสอน “ให้รักเพ่ือนมนุษย์เหมือนรัก กรมการศาสนา.

พราหมณ์-ฮนิ ดู ตัวเอง ให้รักแมก้ ระทัง่ ศัตรู” เชน่ จงรกั เพ่ือนบา้ นเหมอื นรกั ตนเอง ศาสนาในประเทศ
ซิกข์
๒. คาเทศนาของพระเยซู เรื่องผู้เป็นสุข “ บุคคลใดมีใจเมตตากรุณา ผู้น้ันเป็นสุข ไทย.พ.ศ.๒๕๖๑:

เพราะวา่ เขาจะได้รบั ความเมตตากรณุ าตอบ” หน้า ๑๖๒-๑๖๓

๓.การเผ่ือแผ่เจอื จาน (1ยอหน์ 3:17)

“แต่ถ้าใครมีทรัพย์สมบัติในโลกนี้ และเห็นพ่ีน้องของตนขัดสน แล้วยังไม่เปิดใจช่วยเขา

ความรกั ของพระเจา้ จะดารงอยู่ในคนนนั้ ได้อยา่ งไร?”

๔. การผดงุ ความยตุ ิธรรม (ยากอบ 1:27)

“ธรรมะทบ่ี ริสทุ ธิ์ไรม้ ลทินเฉพาะพระพักตร์พระเจ้าพระบิดาน้ันคือการชว่ ยเหลือเด็กกาพร้า

และหญิงม่ายทม่ี คี วามทกุ ข์ร้อน และการรกั ษาตวั ให้พ้นจากราคีของโลก”

(หญิงหม้ายและเด็กกาพร้า เป็นบุคคล เชิงสัญลักษณ์ของผู้ท่ีถูกเอาเปรียบในสังคมสมัย

พระคมั ภีร)์

๑. สามานยธรรม ในเร่อื ง กษมา การให้อภยั ผอู้ น่ื โดยถอื เอาเมตตาเปน็ ทีต่ งั้ กรมการศาสนา.คู่มือ

๒. หลกั ยมะ (ศลี ๑๐ ข้อ) ในเรื่องของ “ทยา” ความเมตตา กรุณา ให้อภัย ต่อเพอ่ื น ปฏิบัติงานศาสนิก

มนษุ ย์ “ทมะ” มสี ติ ระงับจิตใจด้วยสานึกในเมตตา และ “อหิงสา” การไม่เบยี ดเบียน สัมพันธ์. พ.ศ.๒๕๔๘:

ทาร้ายผูอ้ ่ืนทงั้ กาย วาจา ใจ ดาเนนิ ชวี ิตเต็มไปด้วยความกรุณาใหค้ วามเคารพต่อสิง่ มชี ีวิต หนา้ ๙๒-๙๓

ทกุ ชนดิ

การทาเซว่า เปน็ หลักปฏิบัติท่สี าคญั ในการดาเนินชีวิตของชาวซิกข์ คอื การรับใช้และ กรมการศาสนา.

บริการชมุ ชน สังคมดว้ ยทางกาย วาจาและใจ โดยไมห่ วังผลตอบแทน แสดงออกถึง ศาสนาในประเทศ

ความเสียสละและอ่อนน้อมถ่อมตน ไทย.พ.ศ.๒๕๖๑:

หนา้ ๒๐๕

-๒๕-

ลาดับ เรื่อง ศาสนา หลกั ธรรม/คาสอนทางศาสนา ท่มี าของข้อมลู

๓ ความกตัญญู พระพุทธศาสนา ๑. ทิศ ๖ การปฏิบัติระหว่างบุคคลใน ๖ ฐานะ ซ่ึงเป็นแนวทางปฏิบัติอันดีต่อบุคคลต่างๆ รอบตัวของ ๑. กรมการศาสนา.

ทุกๆ คนเพื่อความสงบเรียบร้อยของสังคม ความสุขในการดาเนินชีวิตของทุกคน ความเจริญก้าวหน้า ค ว า ม รู้ ศ า ส น า

และความมน่ั คงในชีวติ ของทุกคนในสงั คม เบื้องต้น พ.ศ. ๒๕๕๔

๑) ปุรัตถิมทิส หมายถึง ทิศเบื้องหน้า คือ บิดามารดา ปู่ย่า ตายาย และผู้มีอุปการะอ่ืนๆ ท่ีเล้ียงดู : หนา้ ๓๕-๓๖
เรามา โดยบุตรมีหนา้ ท่ีต่อบดิ า เลย้ี งดทู า่ น ดารงวงศส์ กุล ประพฤติตนใหเ้ หมาะสมกบั ความเป็นทายาท

เม่ือท่านล่วงลับให้ทาบุญอุทิศให้ท่าน ในขณะที่บิดา มารดามีหน้าท่ีต่อบุตร ห้ามปรามป้องกันจาก ๒. สืบค้นใน

ความช่ัว ดูแลฝกึ อบรมให้ตั้งอยู่ในความดีให้การศึกษาศิลปวิทยา เป็นธุระเมอ่ื คราวจะมีคู่ครองท่สี มควร www.kalyanamitra.
และมอบทรัพย์สมบิตให้เมอื่ ถงึ โอกาส
org/ u-ni-
๒) ทักขิณทิส หมายถึง ทิศเบื้องขวา คือ ครูบาอาจารย์ท่ีพร่าสอนวิชา โดยศิษย์มีหน้าท่ีต่อครูคือ
แสดงความเคารพ รับคาแนะนา ช่วยบริการเรียนศิลปวิทยาด้วยความเคารพ และครูมีหน้าท่ีต่อศิษย์ boon/mar48/

คอื ฝกึ อบรมให้เปน็ คนดี สอนศลิ ปวทิ ยาให้สน้ิ เชิง ส่งเสริมยกย่องความดงี ามให้ปรากฏ และสรา้ งความ p57/c57.htm)

คุ้มภัยให้สารทศิ

๓) ปัจฉิมทิส หมายถึง ทิศเบ้ืองหลัง คือ ภรรยา และสามี ผู้เป็นคู่ชีวิต ที่คอยให้กาลังใจ โดยสามี

มหี น้าที่ต่อภรรยา คอื ยกย่องให้เกยี รตสิ มฐานะ ไมน่ อกใจ มอบความเป็นใหญ่ในบ้าน และภรรยาหน้าที่

ต่อสามี จัดงานบ้านให้เรียบร้อย สงเคราะห์ญาติมิตรท้ังสองฝ่าย ไม่นอกใจ รักษาทรัพย์ท่ีหามาได้และ

ขยันเอาการเอางาน

๔) อตุ ตรทิส หมายถงึ ทศิ เบ้อื งซา้ ย คอื มิตรสหายที่คอยช่วยเหลือครัน้ เมือ่ ตกทกุ ข์ได้ยาก มติ รสหาย

มีหน้าทตี่ อ่ มิตร คือเผอื่ แผแ่ บง่ ปนั พูดจามีนา้ ใจ รว่ มทกุ ข์รว่ มสขุ ซอื่ สตั ยจ์ ริงใจ

-๒๖-

ลาดับ เร่ือง ศาสนา หลกั ธรรม/คาสอนทางศาสนา ทม่ี าของข้อมูล
อิสลาม
๕) อุปรมิ ทสิ หมายถึง ทิศเบอื้ งบน คือ สามเณร ภิกษุ ภกิ ษณุ ผี ูม้ ศี ีลอันสงู กวา่ ทคี่ อยพร่า กรมการศาสนา.
สอนธรรม โดยคฤหัสถ์หรอื พุทธศาสนกิ ชนมหี นา้ ทีต่ ่อพระสงฆ์ คือ ทา คิด พูด ทาสงิ่ ใดด้วย วถิ ศี าสนกิ ใน
เมตตา ต้อนรับดว้ ยความเตม็ ใจ อุปถัมภด์ ้วยปจั จยั ๔ ประเทศไทย.
๒๕๖๑:หนา้ ๑๐๒
๖) เหฏฐมิ ทสิ หมายถึง ทศิ เบื้องลา่ ง คือ บริวารหรือผู้รับใชท้ ี่คอยปรนนิบัติตอ่ นายจ้าง โดย
นายจา้ งมหี น้าที่จดั งานให้ตามความเหมาะสม ใหค้ ่าจ้างตามสมควร แบ่งปันใหม้ วี ันหยดุ
พกั ผ่อน และคนรับใช้มีหน้าที่ต่อนายจ้าง คือ เร่ิมทางานก่อน เลิกงานทหี ลงั ซ่อื สตั ย์ ทาการ
งานให้เรยี บร้อย นาความดแี ละกจิ การของนายจา้ งไปเผยแพร่
๒. มงคล ๓๘ ประการ ในขอ้ มงคลที่ ๒๕ มคี วามกตัญญู รู้บุญคุณ พ่อ แม่ คนเฒ่าแกแ่ ล
อาจารย์ ท่านทรงศีลจอมมนุ ินทร์ ป่ินเกล้า เจา้ ธานหี าวิธี แทนคณุ สมดุลกัน
๑.โองการในคมั ภีร์อัลกุรอาน

๑) กล่าวยอ่ ว่าหัวใจของศาสนาอิสลามคือ การยดึ ม่ันในอัลลอฮ์ปฏเิ สธการยดึ มน่ั สิ่งอื่นใด
เป็นพระเจา้ ควบคกู่ บั การย้าถึงความเคารพเช่ือฟงั และปฏิบัติดีต่อบดิ ามารดา (๑๗:๒๓-๒๔)

๒) ใหบ้ ุตรมีสัมมาคารวะและดอุ าอใ์ ห้แก่ท่านดว้ ยความเมตตาและความอ่อนโยนเช่นที่ทา่ น
ไดเ้ มตตาเอน็ ดูตนเมอ่ื ตนยงั เยาว์ ไม่แสดงกิริยาและวาจาทห่ี ยาบคายหรอื แสดงกิริยาข่นุ เคือง
ต่อทา่ น (๔:๓๖,๖:๑๕๒,๑๗:๒๓)

-๒๗-

ลาดบั เรอ่ื ง ศาสนา หลกั ธรรม/คาสอนทางศาสนา ที่มาของข้อมลู
คริสต์
๒.ท่านนบีมูฮาหมัด ได้กลา่ ววา่ : สวรรคอ์ ยู่ใตเ้ ทา้ ของมารดา และสอนวา่ “ บคุ คลพึง ๑.กรมการศาสนา.
แสดงความเคารพและอาทรตอ่ พ่อแม่ของตนด้วยการกระทา ๔ อยา่ ง วิ ถี ศ า ส นิ ก ใ น
๑) ดุอาอ์ และอภัยบาปให้แกท่ ่าน ๒) ปฏิบตั ติ ามสัญญาทท่ี า่ นทาไวใ้ หค้ รบถว้ น ประเทศไทย.
๓) รักษาความสมั พันธก์ ับญาติ เพราะญาติเกิดขน้ึ เน่ืองจากพ่อแม่ ๒๕๖๑:หนา้ ๑๐๒
๔) ให้ความเคารพต่อมติ รสหายของทา่ น ๒.กรมการศาสนา.
๑. บญั ญตั ิ ๑๐ ประการข้อ ๕ จงนับถอื บดิ ามารดา (อพยพ 20:12) วิ ถี ศ า ส นิ ก ใ น
๒. บัญญตั ิพระเจ้า “จงนบั ถือใหเ้ กียรติบดิ ามารดาของเจา้ เพือ่ อายุของเจา้ จะไดย้ นื นาน ประเทศไทย.
บนแผน่ ดิน ซึง่ พระเจ้าของเจา้ ประทานให้เจา้ ” (อพยพ 20:12) “จงนับถือบิดาของเจ้าดว้ ย ๒๕๖๑:หน้า ๑๖๘-
ความเคารพเหนอื เกล้า อยา่ ลืมมารดาผู้ให้กาเนิดดว้ ยความเจบ็ ปวด อย่าลืมทา่ นทั้งสองเป็นผู้ ๑๖๙
บงั เกิดเกลา้ พระคณุ ท่านตอ่ เจ้าจะเอาอะไรมาตอบแทนได้” (บุตรสริ า ๗ :๒๗-๒๘)
๓. ลกู รกั จงฟงั บิดาของเจา้ ผ้ใู หก้ าเนดิ เจา้ และอย่าดูหม่นิ คาสอนของมารดาของเจ้าเมื่อนาง
แก่ (สุภาษติ 23.22)
๔. การเล้ยี งดคู นในครอบครวั (1 ทโิ มธี 5:8)

“ถา้ ใครไมเ่ ลย้ี งดูญาตพิ ี่นอ้ ง และโดยเฉพาะคนในครอบครวั แลว้ คนนนั้ ก็ปฏเิ สธความเช่ือ
และชวั่ ย่ิงกวา่ คนที่ไมเ่ ชือ่ เสยี อกี ”

พราหมณ์-ฮินดู ๑. นยิ ม ในเรอื่ งชยา การเคารพบูชา บิดารมารดา ครูอาจารย์ พระธรรม คมั ภรี ์พระเวท พระพรหม กรมการศาสนา.คมู่ ือ

๒. อาศรมธรรม หลกั คาสอนที่ครอู าจารย์มีต่อศษิ ย์ที่จะออกจากอาศรม ข้อ ๑๑ มาตฤเทโว ปฏบิ ตั ิงานศาสนิก

ภว จงถือว่ามารดาเปน็ เสมือนพระเจ้าองคห์ น่ึง ขอ้ ๑๒. ปติ ฤเทโว ภว จงถอื ว่าบิดาเปน็ เสมือน สัมพันธ์. พ.ศ.๒๕๔๘:

พระเจา้ องค์หนึ่ง หน้า ๗๔ ๘๑ และ

๓.บญั ญัตกิ ารปฏบิ ตั ริ ะหวา่ งบคุ คล ขอ้ ๔. บตุ รธรรมและศษิ ยธรรม การปฏิบัติหนา้ ท่ีของบุตร ๙๓

ตอ่ บิดามารดาและครูอาจารย์ได้บญั ญตั ิไววา่ บุคคลที่จงรักภักดตี ่อบดิ ามารดา ผ้นู ้นั เป็นผูช้ นะ

โลก บุคคลท่จี งรกั ภกั ดตี ่อครูอาจารย์ ผูน้ ้นั ชนะพรหมโลก บุคคลทไี่ ด้ทาความเคารพบดิ า

-๒๘-

ลาดับ เรอื่ ง ศาสนา หลักธรรม/คาสอนทางศาสนา ทม่ี าของข้อมูล

มารดา ครอู าจารย์ ผูน้ ้ันไดป้ ฏิบตั ธิ รรมทกุ ประการ แตผ่ ทู้ ่ีดถู ูกสถานะแห่ง

ท้ังสามนีแ้ ล้ว ผนู้ ั้นยอ่ มไมถ่ ึงซึ่งความสาเรจ็ ผูต้ อ้ งการความสาเรจ็ ต้องและ

มีความสขุ ชวี ติ น้หี รือชวี ติ หน้า บคุ คลน้นั ตอ้ งเคารพบิดา มารดาและครู

อาจารย์อยา่ งจริงใจ ต้องอยู่ในโอวาทเช่อื ฟังถ้อยคาปฏิบตั ิตามคาสง่ั สอน

ของท่านอย่างเครง่ ครดั

ซกิ ข์ ขอ้ เชือ่ ของชาวซิกข์ เชอ่ื ว่า การเช่อื ฟงั บุพการเี ป็นการแสดงออกซึ่ง ๑. Sri Guru

ความกตัญญูกตเวทีทด่ี ีทสี่ ดุ และเปน็ ท่ีพงึ ปรารถนาของบิดามารดา เปน็ Grantha Sahib,

ของขวญั ท่ดี ีท่สี ดุ ท่ีบดิ ามารดาตอ้ งการจะไดร้ ับจากบตุ รผู้กตัญญู Sarang, Fourth

Mehl, p.๑,๒๐๐

๒.กรมการศาสนา.

วิ ถี ศ า ส นิ ก ใ น

ประเทศไทย.

๒๕๖๑:หนา้ ๒๘๘

๔ การเสยี สละหรือการสงเคราะห์ พระพทุ ธศาสนา ๑. สังคหวัตถุธรรม ในเร่ือง ทาน (การให้) และ อัตถจริยา (การบาเพ็ญ กรมการศาสนา.

ประโยชน์) ก า ร ส ร้ า ง ค ว า ม

๒. มงคล ๓๘ ประการ ในขอ้ มงคลที่ ๑๒ การสงเคราะหภ์ ริยา มงคลที่ ๑๓ ปรองดองสมานฉันท์

การสงเคราะหบ์ ตุ ร และมงคลที่ ๑๙ การสงเคราะห์ญาตทิ ง้ั หลาย ด้วยมิติทางศาสนา.

ปี พ . ศ . ๒ ๕ ๕ ๗ :

หนา้ ๒๖

-๒๙-

ลาดับ เรอื่ ง ศาสนา หลกั ธรรม/คาสอนทางศาสนา ท่มี าของข้อมลู

อสิ ลาม การจ่ายซะกาต การจ่ายซะกาต หมายถึง การจ่ายทานจากผู้มีทรัพยส์ ินในอัตรา กรมการศาสนา.

รอ้ ยละ ๒.๕ % เม่อื ครบพกิ ดั ท่ีกาหนดและครบรอบ ๑ ปี ให้แกผ่ ู้มสี ิทธ์ริ บั ซะ ศาสนาในประเทศ

กาต แปดจาพวก ได้แก่ คนอนาถา คนขัดสน ผู้จัดเก็บซะกาต ผู้เข้ารับอิสลาม ไทย.พ.ศ.๒๕๖๑:

ทาส คนท่ีมีหน้ีสินล้นพ้น คนท่ีทางานในหนทางของอัลเลาะห์ และคนเดินทาง หน้า ๑๓๖

การจ่ายซะกาตเป็นข้อบังคับท่ีต้องปฏิบัติ ชาวมุสลิมถือว่าเป็นหน้าท่ีท่ีจะต้อง

สละทรพั ย์ของตนในอัตราร้อยละ ๒.๕ เพ่อื แบง่ ปนั ให้แกผ่ ู้อืน่ เปน็ การกล่อมเกลา

จติ ใจให้เปน็ คนเออ้ื เฟอื้ เผือ่ แผ่ ช่วยเหลือซึง่ กันและกนั

ครสิ ต์ ๑.หลักความรัก (การให้ทาน) พระเยซูคริสต์ทรงสอน “ให้รักเพ่ือนมนุษย์ กรมการศาสนา.

เหมือนรักตัวเอง ให้รักแม้กระท่ังศัตรู” เช่น รู้จักการให้อภัยและเสียสละ ท่าน ค ว า ม รู้ ศ า ส น า

ทาสิ่งใดต่อพ่ีน้องผู้ต่าต้อยที่สุดของเราคนหน่ึง ท่านก็ทาส่ิงน้ันต่อเรา (มัทธิว เบอ้ื งต้น. พ.ศ.๒๕๕๔:

25:40) หน้า ๙๓

๒.“ถา้ พ่ีนอ้ งชายหญงิ คนไหนขาดแคลนเสอ้ื ผ้าและอาหารประจาวัน แลว้ มใี ครใน

พวกท่านกล่าวกับเขาท้ังหลายว่า “ขอให้กลับไปอย่างเป็นสุข ให้อบอุ่น และอ่ิม

หนาสาราญเถิด”แตไ่ มไ่ ดใ้ หส้ ิง่ จาเปน็ ฝา่ ยกายแกพ่ วกเขาจะมปี ระโยชนอ์ ะไร?”(ยากอบ2:16)

พราหมณ์-ฮนิ ดู หลักนิยมะ (จรยิ ธรรมทางกายและใจ ๑๐ ประการ) ในเรื่องของทานการให้โดย กรมการศาสนา.

ไมห่ วังสง่ิ ตอบแทน ค ว า ม รู้ ศ า ส น า

เบอ้ื งต้น. พ.ศ.๒๕๕๔:

หน้า ๑๑๖

ซิกข์ ๑.ระเบียบวนิ ัยในการปฏบิ ตั ติ น ในเร่อื งของ วินยั ทางกาย คือ การบริการผอู้ นื่ ทาง กรมการศาสนา.

กายและวาจา เช่น การให้ทาน ค ว า ม รู้ ศ า ส น า

๒. หลกั สัจธรรมในพระมหาคัมภีรศ์ รีคุรคุ รันถ์ซาฮบิ และศาสนวนิ ัยของศาสนา เบ้อื งตน้ . พ.ศ.๒๕๕๔:

ซกิ ข์ ในขอ้ ท่ี ๔ รับใช้บริการสังคมและเพื่อมนุษย์ด้วยกาย วาจา ใจ และทรัพย์โดยไม่ หนา้ ๑๕๑

หวังผลตอบแทน

-๓๐-

ลาดับ เรื่อง ศาสนา หลกั ธรรม/คาสอนทางศาสนา ทม่ี าของข้อมูล

๕ ความเพียรสูค่ วามสาเร็จ พระพทุ ธศาสนา อทิ ธิบาท ๔ ประกอบด้วย กรมการศาสนา.

๑) ฉนั ทะ ความเต็มใจ พอใจท่ีจะทา ค ว า ม รู้ ศ า ส น า

๒) วริ ยิ ะ ความเพียรพยายามสิ่งน้นั ใหส้ าเร็จ เบอ้ื งตน้ . พ.ศ.๒๕๕๔:

๓) จติ ตะ ใฝ่หา ใฝ่รู้ ใฝ่เรยี น หน้า ๒๑

๔) วมิ งั สา หม่ันตริตรอง หาวิธี หาเหตผุ ลแก้ไขปญั หาจนบรรลเุ ปา้ หมาย

อสิ ลาม การละหมาด หมายถึง การก้มกราบอัลเลาะห์ ด้วยอิริยาบถท่ีกาหนด กรมการศาสนา.

ทั้งร่างกาย วาจา และหัวใจ โดยมุสลิมต้องละหมาดวันละ ๕ ครั้ง ผู้ทา ค ว า ม รู้ ศ า ส น า

ละหมาดอย่างสม่าเสมอแสดงถึงความอดทน มุ่งมั่นเพียรในการระลึกถึง เบอื้ งตน้ . พ.ศ.๒๕๕๔:

พระเจ้า การทาความดีเพ่ือขจัดความหมองหม่นทางอารมณ์ ฝึกระเบียบ หนา้ ๖๒

วนิ ยั และซื่อสัตยส์ ุจรติ

คริสต์ ๑) จงสงบอยูต่ ่อพระเจา้ , และเพียรรอคอยพระองค์อยู่ ( สดุดี 37:7-8) ww.lds.org/scriptur

๒) เราจะไดม้ ีความหวงั โดยความเพียรและความชูใจด้วยพระคัมภีร์ (โรม 15:4) es/gs/endure_pati

๓) ให้ตามเย่ยี งอย่างแห่งคนเหล่านน้ั ท่ีอาศัยความเช่ือและความเพยี รจึงไดร้ ับ ence?lang=tha

ตามพระสญั ญาเป็นมรดก, ฮบ. 6:12–15

๔) ลืมสิ่งทผ่ี า่ นไปแล้วเสยี และโน้มตัวบากบ่ันไปสหู่ ลักชยั ท่ีอยูข่ า้ งหน้า

( ฟลี ิปปี 3:12-15)

พราหมณ์-ฮินดู ๑. สามานยธรรม ๑๐ ประการ ในข้อ ธฤติ คือ การมจี ติ ใจมงุ่ ม่นั กรมการศาสนา.คู่มือ
พยายามไปสู่เป้าหมาย สรา้ งพลังใจให้เข้มแข็ง มีความขยันเอาชนะ ปฏิ บั ติ งานศา สนิ ก
อปุ สรรค สัมพันธ์. พ.ศ.๒๕๔๘:
๒. หลักยมะ ในข้อ กษานติ ไดแ้ กข่ นั ติ คือความเพยี ร ความอดกล้ันหรือ หน้า ๘๒-๘๓ และ
ความอดทน ๙๒-๙๓

-๓๑-

ลาดับ เรือ่ ง ศาสนา หลักธรรม/คาสอนทางศาสนา ทม่ี าของข้อมูล

ซิกข์ หลักคาสอนการบรรลุเป้าหมายสูงสุดเรื่องการเขา้ ถงึ สขุ อันเป็นนริ นั ดร์ หรอื กรมการศาสนา.

นริ วฺ าณ ข้อที่ ๔ กรรมขณั ฑ์ การมกี าลังจติ แน่วแน่มงุ่ ม่ันมั่นคงไมห่ วาดกลัวใน ศาสนาในประเทศ

การทากรรมดีดว้ ยปัญญา เพ่ือเป็นหนงึ่ เดยี วกบั พระผู้เปน็ เจา้ ไทย.พ.ศ.๒๕๖๑:

หนา้ ๒๐๕

๖ สามคั คปี รองดอง พระพทุ ธศาสนา ๑. สาราณียธรรม ๖ หลักธรรมอนั เปน็ ที่ต้ังแห่งความระลึกถึง เปน็ หลักธรรมที่ ๑.กรมการศาสนา.

จะเสริมสรา้ งความรู้สึกท่ีดใี หเ้ กิดข้ึนต่อกนั และกันอยเู่ สมอในยามทร่ี ะลึกถึงกนั ค ว า ม รู้ ศ า ส น า

ซ่ึงจะเปน็ เคร่ืองมอื ในการเสริมสร้างความสามัคคีมนี ้าหนง่ึ ใจเดยี วกนั ใหเ้ กดิ ข้นึ เ บ้ื อ ง ต้ น . พ . ศ .

ประกอบดว้ ย ๒๕๕๔: หนา้ ๒๒

๑) เมตตากายกรรม คือการชว่ ยเหลอื ดว้ ยความเต็มใจ ๒. พจนานุกรม

๒) เมตตาวจกี รรม คอื บอกแจง้ สง่ิ ทเ่ี ป็นประโยชน์ สง่ั สอน แนะนา ตักเตือน พุทธศาสตร์ ฉบับ

ด้วยความหวังดี ประมวลธรรม

๓) เมตตามโนกรรม คือตัง้ จิตปรารถนาดี คดิ ทาส่ิงทเี่ ปน็ ประโยชนแ์ ก่กัน พิ ม พ์ ค ร้ั ง ที่ ๑ ๒

๔) สาธารโภคีตา คือ ได้ของสงิ่ ใดมาโดยชอบธรรมก็แบ่งปันกัน พ.ศ. ๒๕๔๖

๕) สีลสามญั ญตา คือ มศี ีลบรสิ ทุ ธเ์ิ สมอกัน พฤติตนด้วยความสจุ รติ ถกู ต้อง http://www.840

ตามระเบียบ ไม่ทาตนให้เปน็ ที่น่ารังเกียจของหมู่คณะ 0 0 . org/tipitaka/

๖) ทิฏฐสิ ามญั ญตา คอื มีความเหน็ ชอบรว่ มกนั เปน็ หลักสาคัญในการขจดั dic/d_item.php

ปญั หา ?i=289

๒.อปริหานิยธรรม หมายถึง ธรรมไมเ่ ป็นทตี่ ้ังแหง่ ความเสือ่ ม แต่เปน็ ธรรมเพือ่

ความเจริญ ซงึ่ บุคคล ปฏบิ ัติตามอปรหิ านยิ ธรรม บุคคลน้นั จะมแี ต่ความเจริญ

ความก้าวหน้าในชวี ติ ไม่มคี วามเสือ่ ม ความเสียหาย อนั เป็นอปุ การะมากสาหรับ

ผู้ปฏิบัติ ผูบ้ รหิ าร หมชู่ น และคนในสังคม

๑) จดั ประชุม และหารือกันเพือ่ แลกเปลี่ยนความรเู้ ป็นนิตย์

๒) การประชุมต้องให้หมู่คณะพร้อมเพรยี งกนั รวมถึงการเลกิ ประชมุ และการ

ทากจิ อันสมควรให้พร้อมเพรยี ง

-๓๒-

ลาดับ เรอื่ ง ศาสนา หลกั ธรรม/คาสอนทางศาสนา ทม่ี าของข้อมลู
อสิ ลาม
๓) บัญญัติหรือมีมติในสิ่งในเรื่องใหม่ และข้อบัญญัติไม่ขัดหรือตัดรอนบัญญัติ

ก่อน พร้อมยอมรบั และศกึ ษาในธรรมะของชาววชั ชีทีไ่ ด้บญั ญตั กิ อ่ น

๔) ให้เคารพนับถือคากล่าวของผอู้ าวุโส

๕) ไม่ลว่ งละเมิดทางใจ และกายในสตรที ่มี สี ามีหรือสตรีสาวในชาววชั ชี

๖) ให้ความเคารพ และสักการะ รวมถึงการบูรณะเจดีย์หรือพุทธสถานท่ีปลูก

สรา้ งไว้

๗) ให้การสงเคราะห์ และอปุ การะแก่สงฆท์ งั้ หลาย

๑. พวกเจ้าจงภกั ดีต่ออัลเลาะหแ์ ละศาสนทูตของพระองคแ์ ละพวกเจ้าอยา่ แตก ก ร ม ก า ร ศ า ส น า .

สามคั คีกัน แลว้ พวกเจา้ จะล้มเหลวและขาดพลังเขม้ แข็งในหมพู่ วกเจ้า(ซเู ราะห์ คุ ต บ ะ ฮ์ ( บ ท

อัน-อัมฟาล อายะฮ์ ท่ี ๔๖) ธรรมกถา) ว่าด้วย

๒. อนั ทจ่ี รงิ บรรดาผ้ศู รัทธานั้นคอื พน่ี ้องกัน ดงั น้ัน พวกท่านจงสมานฉนั ท์ อิ ส ล า ม กั บ ค ว า ม

ระหวา่ งพ่ีน้องของพวกท่าน และพวกท่านจงยาเกรงอลั เลาะหเ์ ถิด หวังว่าพวก สามัคคีธรรม.หน้า

ท่านจะได้รบั พระเมตตา (ซเู ราะห์ อัล-หุญุรอต อายะฮ์ ท่ี ๑๐) ๑๐ และ ๖๔

๓. หลกั คาสอนทางศาสนาอสิ ลามทส่ี ง่ เสริมใหเ้ กดิ ความเกื้อกูลรว่ มมือกัน ๒.กรมการศาสนา.

ประสานประโยชน์เพื่อผลสาเรจ็ ของตนเองและสงั คมสว่ นรวม (หลักคาสอนด้าน คุ ต บ ะ ฮ์ ( บ ท

สามคั คีธรรม) ธรรมกถา) ว่าด้วย

ศาสนาอิสลามสอนให้มีความยาเกรงต่ออัลลอฮ์ท้ังในทางท่ีลับและที่เปิด อิ ส ล า ม กั บ ค ว า ม

เผยเถิด การใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมน้ัน สิ่งท่ีจะขาดไม่ได้ คือ ความสามัคคี สามัคคีและคว าม

ธรรมและการเสียสละเพ่ือส่วนรวม คราใดท่ีสังคมขาดความสามัคคีธรรม ไร้การ ปรองดอง.หน้า ๔๙

เสียสละครานั้น สังคมจะเต็มไปด้วยความขัดแย้งและความเห็นแก่ตัว เป็นสังคม

ทไ่ี ม่มีความสขุ ร้อนรุม่ สับสน ความสามคั คีเปน็ ส่ิงสาคญั ท่ีสดุ ในการใชช้ ีวติ รว่ มกัน

เพราะสาเหตุของความขัดแย้งมันเกิดข้ึนได้มากกมาย จนบางทีเราไม่รู้กันด้วยซา้

วา่ มนั เกดิ ขน้ึ และมีต้นต่อมาจากอะไร แต่นคี่ อื ความจรงิ ความจริงท่ีคนหมู่

-๓๓-

ลาดับ เรอ่ื ง ศาสนา หลักธรรม/คาสอนทางศาสนา ที่มาของข้อมลู
ครสิ ต์
มากย่อมหนีไม่พ้นความขัดแย้ง สาคัญท่ีสดุ คือ เมือ่ ความขัดแยง้ เกิดข้ึน ตอ้ งรจู้ ักให้
พราหมณ์-
ฮินดู อภยั ผอ่ นหนักผ่อนเบา และประนปี ระนอมรอมชอมกัน ซึ่งคณุ สมบัติเหลา่ น้ี ล้วน

เป็นคาสอนที่มีอยู่ในศาสนาอิสลาม

๑.บัญญัตริ ัก ข้อที่ ๒ ท่านจะต้องรกั เพ่ือนมนุษย์เหมือนรักตนเอง” ซึ่งการรักเพื่อน กรมการศาสนา.

บา้ นเหมือนรักตนเองน้นั ยดึ หลัก ๒ ประการ (โรม 12:18) ค ว า ม รู้ ศ า ส น า

๑) การทาอะไรต้องนกึ ถงึ คนอ่ืนไม่ใช่เอาตวั เองเปน็ จุดศูนย์กลาง คดิ เสมอวา่ การ เบือ้ งตน้ . พ.ศ.๒๕๕๔:

ทเี่ ราจะทาอะไรจะละเมดิ สทิ ธขิ องคนอนื่ หรือไม่ หรอื ไปรบกวนคนอื่นหรือไม่ หนา้ ๙๓

๒) ต้องนาหลกั คาสอนในพระคัมภรี ์มาใช้ในชีวติ ประจาวันกบั ผอู้ นื่ เชน่ พระ

คัมภีร์สอนให้เราอภัยกันและกนั หรือช่วยเหลือกันและกันเห็นอกเหน็ ใจกัน

หรือจงยอมฟงั กนั และกนั เม่ือเรานาหลกั คาสอนในพระคัมภีรม์ าปฏิบตั ิใน

การดาเนินชีวติ อย่างจรงิ จัง แสดงใหเ้ ห็นวา่ เรารักเพ่ือนมนุษย์เหมือนรัก

ตนเองอย่างแทจ้ ริง

๒. “เหตุฉะนนั้ ให้เรามุ่งประพฤติในส่ิงซงึ่ ทาใหเ้ กิดความสงบสุขแก่กนั และกนั และ

ทาให้เกดิ ความเจริญแกก่ ันและกนั ” (โรม 14:19)

สามานยธรรม ๑๐ คือ หลักธรรม ๑๐ ประการ ได้แก่ กรมการศาสนา.คู่มือ

๑) ธฤติ ได้แก่ ขนั ติ พอใจ ความมน่ั คง กล้าหาญ เพียรพยายามจนสาเร็จ ปฏิ บั ติ งานศา สนิ ก

ประโยชน์ตามที่ประสงค์ สัมพันธ์. พ.ศ.๒๕๔๘:

๒) กษมาธรรม ได้แก่ การให้อภัยโดยถือความเมตตา หน้า ๙๒-๙๓

๓) ทมะ ได้แก่ การระงบั ใจ การขม่ จติ ใจ คือไมป่ ล่อยใจให้หว่นั ไหว

๔) อสั เตย ได้แก่ การไม่ลักขโมย ไม่ทาโจรกรรม

-๓๔-

ลาดับ เรอื่ ง ศาสนา หลกั ธรรม/คาสอนทางศาสนา ทีม่ าของข้อมลู
ซิกข์
๕) เศาจ ได้แก่ ความบรสิ ทุ ธ์ิ การทาตนให้บรสิ ุทธิท์ ง้ั ทางร่างกายและจติ ใจ
๖) อนิ ทรียนิครห ได้แก่ การระงบั อินทรีย์ ๑๐ ประการ คือ หม่ันสารวจ
ตรวจสอบตนเองอยูเ่ สมอว่า อินทรีย์ท้ัง ๑๐ ไดร้ ับการบรหิ ารหรือใช้
ไปในทางทถ่ี ูกท่ีควรหรือไม่ จุดประสงค์คอื ไมต่ ้องการใหม้ นุษย์ ปลอ่ ย
อนิ ทรีย์มวั เมาจนเกนิ ไปใหร้ ูจ้ ักพอ
๗) ธี ไดแ้ ก่ ปญั ญา สติ ความคิด คือ มีความรคู้ วามเขา้ ใจในขนบธรรมเนียม
ประเพณี ธรรมะ สังคม และวัฒนธรรม
๘) วิทยา ได้แก่ ความรู้ทางปรัชญา คอื มคี วามรลู้ ึกซงึ้
๙) สตย ไดแ้ ก่ ความจริง ความเห็นอันบริสุทธ์ิ คือมคี วามจรงิ ใจให้กัน
๑๐) อโกรธ ได้แก่ ความไม่โกรธ คือมีขันติ ความอดทน และโสรัจจะ
ความสงบเสง่ียม นั่นคอื เอาชนะความโกรธ ดว้ ยความไม่โกรธ ไม่อาฆาตมุ่ง
ร้ายตอ่ ใคร
๑. หลักคาสอนของพระศาสดาคุรุนานักในพระมหาคัมภีร์คุรุครันถ์ ซาฮิบ กรมการศาสนา.
“มนุษย์คือมวลมิตร หาใช่ศัตรู หาใช่ผู้แปลกหน้า” ให้ชาวซิกข์ปฏิบัติตาม ก า ร ส ร้ า ง ค ว า ม
หลักศาสนาที่ต้ังตนอยู่ในความรักและความสามัคคี ผูกมิตรกับศาสนิกชน ปรองดองสมานฉันท์
ทุกศาสนาด้วยความอ่อนน้อมถ่อมตน รับใช้สังคมที่ตนอยู่ด้วยจิตปวารณา ด้วยมิติทางศาสนา.
จิตอนั บริสุทธิโ์ ยไม่คานงึ ถึงเช้ือชาติ ศาสนา วรรณะหรอื ตาแหนง่ การงาน ปี พ . ศ . ๒ ๕ ๕ ๗ :
๒.หลักปรัชญามลู มันตระ กล่าววา่ พระศาสดาสอนใหม้ นษุ ย์เขา้ ใจว่าทุกคน หนา้ ๓๖
เกิดจากพระเจ้าองค์เดียวกัน มนุษย์จึงเสมือนพ่ีน้องร่วมสายโลหิต ฉะน้ัน
จงึ ไม่ควรมฉี นั ไม่ควรมีเธอ ควรจะมแี ตเ่ ราเท่านั้น

-๓๕-

ลาดับ เรื่อง ศาสนา หลักธรรม/คาสอนทางศาสนา ท่ีมาของข้อมลู
๗ พอเพยี ง
พระพุทธศาสนา ๑. หลกั ธรรมในพระพุทธศาสนา ทีส่ อนในเรอ่ื งการพึ่งตนเอง ๑.กรมการศาสนา.

อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ ตนแลเป็นทีพ่ ่งึ ของตน ปรัชญาเศรษฐกิจ

๒. หลักธรรมท่ีว่าด้วย “มัชฌิมาปฏิปทา” ทางสายกลาง คือความพอดี ความ พอเพยี งในหลัก

พอเพียง ไม่เบียดเบียนตนเองและไมเ่ บียดเบียนผอู้ ื่น ศาสนา.พ.ศ.

๓. ทฏิ ฐธมั มิกตั ถะประโยชน์ ธรรมะสาหรับการดารงชีพ ๔ ประการ คอื ๒๕๕๙:หนา้ ๔๗-

๑) ขยนั หมั่นเพยี ร (อุฏฐานสัมปทา) ๕๐

๒) รู้จกั รักษาและคุ้มครองโภคทรัพย์ (อารกั ขสมั ปทา) ๒. พระธรรมกติ ติ

๓) ร้จู ักคบคนดี (กัลยาณมิตตา) วงศ์ (ทองดี สรุ

๔) สมชีวิตา คือความเป็นอยู่ท่ีเหมาะสม คือรู้จักกาหนดรายได้และรายจ่าย เล้ียง เตโช) ป.ธ. ๙ ราช

ชวี ิตพอดี มใิ หฝ้ ดื เคืองหรือฟุ่มเฟือย บัณฑิตพจนานกุ รม

๔. สันโดษ ความยินดี ความพอใจ คือความรู้จักพอดี ความรู้จักพอเพียง มีลักษณะ เพ่ือการศึกษาพทุ ธ

๓ อยา่ ง คือ ศาสน์ ชดุ คาวดั ,

๑) ยนิ ดีพอใจในสิ่งที่มที ่ีได้มา ดว้ ยเร่ยี วแรงของตนในทางชอบธรรม ไม่ดิ้นรนอยาก วัดราชโอรสาราม

ได้จนทาใหเ้ กิดความเดือดร้อนจริงๆ กรงุ เทพฯ พ.ศ.

๒) ยินดีพอใจกาลังของตน ใช้กาลังที่มีอยู่ เช่นความรู้ ความสามารถให้เกิดผล ๒๕๔๘

เต็มที่ ไมย่ อ่ หย่อนบกพร่อง ๓. พระไตรปิฎก

๓) ยินดีพอใจแต่ไม่เกินเลย คือรู้จักพอเป็น อ่ิมเป็น และแบ่งปันส่วนท่ีเกินเลยไป บท ขทุ ทกนกิ าย

เอ้อื เฟอื้ ผ้อู นื่ ตามสมควร เลม่ ท่ี ๒๕ หนา้ ท่ี

ยนิ ดีพอใจแต่ไม่เกินเลย คือรู้จักพอเปน็ อิ่มเปน็ และแบ่งปันส่วนท่ีเกนิ เลยไปเอ้ือเฟ้ือ ๓๕ .๓๖

ผู้อ่ืนตามสมควรสันโดษ เป็นแนวปฏิบัติเพ่ือให้เกิดความพอดีในชีวิตประจาวัน ไม่ ๔. กรมการศาสนา.

ฟ้งุ เฟ้อเกินไป ไม่เขียมเกนิ ไป ไมฟ่ ุ้งซ่านจนเกิดความเดือดร้อน เป็นต้น เป็นแนว คูม่ ือปฏิบตั งิ าน

ปฏบิ ตั ิกลางๆ เพื่อใหช้ ีวติ มคี วามอมิ่ ไม่พรอ่ ง อันเป็นเหตใุ ห้มีความสุขดงั คา ศาสนกิ สัมพันธ์.

กล่าวทวี่ า่ "รจู้ ักพอกอ่ สุขทุกสถาน" พ.ศ.๒๕๔๘: หนา้

๗๐

-๓๖-

ลาดับ เร่อื ง ศาสนา หลักธรรม/คาสอนทางศาสนา ท่ีมาของข้อมูล
อสิ ลาม
๕. พระพทุ ธศาสนาสอนให้มนษุ ยท์ ากจิ กรรมทางเศรษฐกิจเพอื่ ความสุข

ในชีวิต ๔ ประการ

๑) อตั ถสิ ุข ความสุขที่เกดิ จากการแสวงหาทรัพยเ์ พื่อกาจัดความขาด

แคลน เพราะความขาดแคลนเป็นทกุ ข์

๒) โภคสุข ความสุขท่ีเกิดจากการใช้สอยอยา่ งมเี หตุผล มมี ัตตัญญตุ า

คือรจู้ ักพอประมาณในการบริโภคใชส้ อบทรัพยากร

๓) อนณสขุ ความสุขจากการไมเ่ ปน็ หน้ี เพราะการเป็นลกู หนท้ี าใหไ้ ม่

มีความเปน็ ไท ดงั ที่พระพทุ ธเจา้ ตรีสวา่ “อิณาทานงั ทุกขัง โลเก การเป็นหนี้

เป็นทกุ ขโ์ ลก”

๔) อนวัชชสุข ความสขุ เกิดจากการทางานทีส่ จุ ริตปราจากโทษภยั

๖. สปั ปรุ สิ ธรรม ในข้อ ธัมมัญญุตา (การรู้จักเหต)ุ อัตตัญญตุ า (รจู้ กั ผล)

อตั ตัญตุ า (รูจ้ ักตน) และมตั ตัญญุตา (ร้จู กั ประมาณ)

๑. “ทา่ นท้ังหลายจงกิน จงด่ืม และอย่าได้ฟุ่มเฟือย แท้จริงอลั เลาะห์ไมท่ รง ๑.กรมการศาสนา.

รกั บรรดาผ้ทู ่ฟี ุ่มเฟือย” บทอัลอะร๊อฟ โองการท่ี ๓๑ ป รั ช ญ า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ

๒. “ท่านท้งั หลายจงกนิ จงดื่ม จากริสกี (ปจั จยั ยังชพี ) ท่ีอัลเลาะห์ทรง พอเพียงในหลักศาสนา.

ประทานมาให้และอย่าไดส้ รา้ งความเส่อื มเสียบนหน้าแผน่ ดิน”บทอัลบะเกาะ พ.ศ.๒๕๕๙:หนา้ ๕๑

เราะห์ โองการที่ ๖๐ ๒. ศนู ย์คุณธรรมองค์การ

๓. การสร้างสมดุลทเี่ รยี กว่า วาสะฎียะฮ์ รจู้ ักการให้เอ้ือเฟ้ือเผ่อื แผ่ เชน่ มหาชน. การส่งเสริม

การออกซากาต (การบริจาคตามทีศ่ าสนากาหนด) คุณธรรม “พอเพียงวินัย

๔. หลกั การของศาสนาอิสลามยดึ ทางสายกลาง ดังหลักคาสอนทว่ี ่า “ท่ีดี สุจริตจิตอาสา”สร้างคน

ท่ีสดุ ของกจิ การงานทง้ั หลาย คือ การดาเนินกจิ การในทางสายกลาง” ดีสู่สังคม” พ.ศ. ๒๕๖๑”

หนา้ ๓๑

-๓๗-

ลาดับ เรื่อง ศาสนา หลักธรรม/คาสอนทางศาสนา ท่มี าของข้อมูล
คริสต์
๑.พระคริสตธรรมคัมภีร์ พระเจา้ สอนให้ดาเนนิ ชีวิตเหมาะสมกับฐานะของ ๑.กรมการศาสนา.

ตนเอง ไม่ละโมบโลภมาก อยากได้ในส่ิงที่ไม่ใช่ของตน พระองค์ตรัสว่า “ทา่ น ปรั ชญาเศรษฐกิ จ

จงอย่าเปน็ คนเหน็ แก่เงิน จงพอใจในสิ่งท่ีท่านมีอยู่ เพราะว่าเราจะไม่ละท่าน พอเพียงในหลักศาสนา.
หรือทอดทิ้งท่านเลย (ฮีบรู 13: 5 TH 1971) และ”จงระวังและเวน้ เสยี ให้พ้น
จากความโลภทุกประการ เพราะวา่ ชวี ติ ของคนเราไม่ได้ขึ้นกับทรัพยส์ มบัติของ พ.ศ.๒๕๕๙:หน้า ๕๓-

เขา แมว้ ่าเขาจะม่ังมีมากเพียงใดก็ตาม (ลูกา:12:14) ๕๖

๒. หลักคาสอนความรักทาให้เกดิ ความพอเพียง ๒. กรมการศาสนา.

๑) “คนท้ังปวงที่เชือ่ น้ันเป็นนา้ หนึง่ ใจเดียวกันและไม่มีใครอ้างว่าส่ิงของที่ ความรู้ศาสนาเบ้ืองต้น.

ตนมีอยู่เป็นของตน แตท่ ั้งหมดเป็นของกลาง” (กจ 472) พ.ศ.๒๕๕๔: หน้า ๒๒

๒) “อยา่ ส่ังสมทรัพย์สมบัติไว้สาหรับตวั ในโลก แต่จงสะสมทรัพย์ สมบัติใน ๓ . ศู น ย์ คุ ณ ธ ร ร ม
สวรรค์” (มธ 6 : 19-20)
อ ง ค์ ก า ร ม ห า ช น .
๓) “ทรัพยส์ มบตั ิของท่านอยทู่ ีใ่ ด ใจของท่านก็อยู่ทน่ี ้ันดว้ ย” (ลก 12: 34)
๓. คุณธรรมพืน้ ฐาน ๔ ประการ การส่งเสริมคุณธรรม
“พอเพียงวินัยสุจริต
๑) รอบคอบ
จิตอาสา” สร้างคนดี
๒) ยุติธรรม

๓) กลา้ หาญ สู่ สั ง ค ม ” พ . ศ .

๔) มธั ยัสถ์หรือพอเพยี ง ๒๕๖๑” หนา้ ๓๑

-๓๘-

ลาดับ เร่อื ง ศาสนา หลกั ธรรม/คาสอนทางศาสนา ทีม่ าของข้อมูล

พราหมณ์-ฮินดู ๑.สามานยธรรม (หลักธรรม ๑๐ ประการ) ๑. กรมการศาสนา.คู่มือ

๑) ธฤติ ได้แก่ ขันติ พอใจ ความมั่นคง กลา้ หาญ เพยี รพยายามจน ปฏิ บั ติ งานศาสนิ ก
สาเรจ็ ประโยชน์ตามทีป่ ระสงค์ สัมพันธ์. พ.ศ.๒๕๔๘:
หนา้ ๙๒-๙๓
๒) กษมาธรรม ได้แก่ การให้อภยั โดยถือความเมตตา ๒. กรมการศาสนา.
๓) ทมะ ได้แก่ การระงับใจ การข่มจิตใจ คือไม่ปล่อยใจใหห้ วั่นไหว ความรู้ศาสนาเบื้องต้น.
๔) อสั เตย ไดแ้ ก่ การไม่ลักขโมย ไม่ทาโจรกรรม
๕) เศาจ ได้แก่ ความบรสิ ทุ ธ์ิ การทาตนใหบ้ ริสุทธิ์ท้ังทางรา่ งกายและจิตใจ

๖) อินทรยี นคิ รห ไดแ้ ก่ การระงบั อนิ ทรยี ์ ๑๐ ประการ คอื หมั่นสารวจ พ.ศ.๒๕๕๔: หนา้ ๑๑๖

ตรวจสอบตนเองอยู่เสมอว่า อินทรีย์ท้ัง ๑๐ ได้รับการบริหารหรือใช้ไป

ในทางท่ีถูกท่ีควรหรือไม่ จุดประสงค์คือไม่ต้องการให้มนุษย์ ปล่อยอินทรีย์

มวั เมาจนเกนิ ไปใหร้ ู้จักพอ

๗) ธี ได้แก่ ปัญญา สติ ความคิด คือ มีความรู้ความเข้าใจในขนบธรรมเนียม

ประเพณี ธรรมะ สงั คม และวัฒนธรรม

๘) วิทยา ได้แก่ ความรู้ทางปรชั ญา คือ มคี วามรลู้ กึ ซง้ึ

๙) สตย ไดแ้ ก่ ความจรงิ ความเหน็ อันบริสทุ ธิ์ คือมีความจริงใจให้กัน

๑๐) อโกรธ ไดแ้ ก่ ความไมโ่ กรธ คอื มีขนั ติ ความอดทน และโสรัจจะ

ความสงบเสงี่ยม น่นั คือ เอาชนะความโกรธ ดว้ ยความไมโ่ กรธ ไมอ่ าฆาตมุ่ง

รา้ ยตอ่ ใคร

๒.นิยม ในเรื่อง สันโตษะ ความสันโดษ คอื การดาเนนิ ชวี ติ ด้วยความพึง

พอใจ ดาเนนิ ชีวติ ท่รี าบเรียบ อย่างมีความสุข

-๓๙-

ลาดับ เร่อื ง ศาสนา หลักธรรม/คาสอนทางศาสนา ท่ีมาของข้อมูล
ซกิ ข์
หลกั คาสอนของพระศาสดาคุรุนานักเรื่องการรักความสัจ การขม่ ใจตนเอง การ กรมการศาสนา.

อดทนอดกลั้น การละวางความชว่ั ปรั ชญาเศรษฐกิ จ

๑) “สัจธรรมเป็นธรรมอันประเสริฐสูงสุด แต่การดารงชีวิตท่ีเปี่ยมด้วยสัจธรรม พอเพี ยงในหลั ก

สงู ส่งยงิ่ กวา่ ” ศาสนา.พ.ศ.๒๕๕๙:

๒) มนุษย์ผรู้ กั ษาสัจความดี ฝึกใจตนเองให้อยู่ในสัจจความดี มคี วามสันโดษ ความ หน้า๖๐-๖๒

พอใจ มีความรู้แจ้งในสัจธรรมท่ีตนรักษา สวดภาวนาและมีการให้อภัยเสมือน

ลูกปดั ที่ตนกาลงั สวดภาวนา

๓) ด้วยความพยายามอย่างล้นหลามและแรงกายอย่างไร้ขอบเขต มนุษย์ผู้โลภจะ

กอบโกยกายาแหง่ ความมงั่ ค่ัง เข้าจะไมแ่ บ่งปนั บริจาค หรือชว่ ยเหลอื และรับใช้

สาธุชน ทรพั ย์สมบตั ิของเขาจะไม่นามาซ่ึงความสุขและสันตปิ ระการใดเลย

๓) เขาผู้น้ันเท่านั้น โอ้ นานัก จะเข้าใจและรู้หนทางแห่งสัจธรรม เขาประกอบ

สมั มาอาชวี ะด้วยหยาดเหง่อื ของตนเองและแบง่ ปันส่งิ ทหี่ ามานน้ั กับผู้อน่ื

-๔๐-

ลาดบั เรื่อง ศาสนา หลกั ธรรม/คาสอนทางศาสนา ที่มาของข้อมลู

๘ วนิ ยั พระพุทธศาสนา ๑. เบญจศีล (ไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ประพฤติผิดในกาม ไม่พูดปด กรมการศาสนา.

ไม่ดืม่ ของมึนเมา) ค ว า ม รู้ ศ า ส น า

๒. กุศลกรรมบถ ๑๐ เบื้ องต้ น.ปี พ.ศ.

- กายกรรม ๓ ไม่ฆ่าหรือทาลายชีวิตผู้อ่ืน ไม่ลักขโมย หรือยึดเอา ๒๕๕๔: หน้า๑๖-๒๐

ทรพั ยข์ องผอู้ ่ืนมาเป็นของตน ไม่ประพฤตผิ ิดในกาม

- วจีกรรม ๔ ไมพ่ ูดเทจ็ ไม่พดู ส่อเสียด ไม่พดู คาหยาบคาย ไม่พดู เพอ้ เจอ้

- มโนกรรม ๓ ไมโ่ ลภอยากไดข้ องคนอืน่ ไมค่ ดิ พยาบาทปองรา้ ยผู้อื่น

เห็นชอบตามคลองธรรม

๓. มงคลชีวิต ๓๘ ประการ ในขอ้ มงคลท่ี ๙ มวี ินยั ทด่ี ี

อนั วนิ ัยนาระเบยี บสูเ่ รยี บรอ้ ย คนใหญ่นอ้ ยเปรมปรดี ดิ์ ีนักหนา

วินัยสร้างกระจ่างข้อก่อศรัทธา เพราะรักษากติกาพาร่วมมือ ไม่พูดเท็จ

พูดสอดเสียดและพูดมาก ละความยากสร้างวิบากฝากยึดถือคนหมู่มาก

มักถางถากปากข่าวลอื ต้องสัตย์ซือ่ ถือวนิ ยั ใช้รว่ มกัน

-๔๑-

ลาดบั เร่ือง ศาสนา หลกั ธรรม/คาสอนทางศาสนา ที่มาของข้อมลู
อสิ ลาม
หลกั ปฏิบัติ ๕ ประการ ได้แก่ กรมการศาสนา.
ครสิ ต์
๑) การปฏิญาณตน หมายถึง การปฏิญาณวา่ ไม่มีพระเจ้าอน่ื ใดนอกจากอัลเลาะหแ์ ละ ความรู้ ศาสนา
มูฮัมหมัดเปน็ ศาสดาและศาสนทูตของอัลเลาะห์ เบื้องต้น.ปี พ.ศ.
๒๕๕๔ :หน้า ๕๒-
๒) การละหมาด หมายถึง การก้มกราบอลั เลาะห์ ดว้ ยอริ ิยาบถที่กาหนด ทัง้ ร่างกาย ๖๗
วาจา และหัวใจ

๓) การจ่ายซะกาต หมายถึง การจ่ายทานจากผู้มีทรัพย์สินในอัตราร้อยละ ๒.๕ % เม่ือ

ครบพิกัดทก่ี าหนดและครบรอบ ๑ ปี ใหแ้ ก่ผูม้ สี ิทธิร์ บั ซะกาต แปดจาพวก ไดแ้ ก่ คน

อนาถา คนขัดสน ผู้จัดเก็บซะกาต ผเู้ ข้ารับอิสลาม ทาส คนท่ีมหี นสี้ ินล้นพ้น คนท่ที างานใน

หนทางของอัลเลาะห์ และคนเดนิ ทาง

๔) การถือศีลอดหมายถึง การงดเว้นจากการบริโภคอาหาร นา้ การมีเพศสัมพันธ์และกิเลสตา่ ง ๆ

ตัง้ แต่แสงอรณุ ข้ึนจนกระทั่งแสงอาทิตย์ลบั ขอบฟ้า หลงั จากน้ันจึงบริโภคได้ปกติตลอดคนื การถือ

ศลี อดโดยทว่ั ไป เรยี กว่า “ถอื บวช”

๕) การประกอบพิธฮี ัจญ์ คือ การเดินทางไปแสวงบุญท่ีนครเมกกะฮ์ ราชอาณาจักราอุดิอาระเบีย

๑. การปฏิบัตติ ามบัญญัติ ๑๐ ประการ กรมการศาสนา.

๑) ใหค้ วามเคารพในพระผู้เป็นเจา้ ๒) ไมเ่ คารพ/กราบไหว้รปู เคารพ ศาสนาสร้าง
๓) ไมเ่ อ่ยพระนามของพระเจ้าโดยไมส่ มควร ๔) จงถอื สะบาโต (วนั ท่เี จด็ ) เปน็ วนั สันติ.พ.ศ.
ศกั ดิ์สทิ ธิ์ (ไปโบสถใ์ นวันอาทิตย)์ /มลู นธิ ิเซเวน่ ธเ์ ดย์แอด๊ เวนตีสจะนาสมาชกิ นมัสการพระเจา้ ๒๕๔๙:หน้า
(สะบาโต) ในวนั เสาร์ ๑๑๘-๑๑๙
๕) เคารพ กตัญญตู ่อบิดา มารดา และผู้มีพระคณุ

๖) มีความรักเมตตา กรุณา ต่อเพ่ือนมนุษย์ /มคี วามรกั บริสทุ ธ์ทิ ั้งกาย วาจา ใจตอ่

เพื่อนมนษุ ย์

๗) ครองเรือนดว้ ยความซ่ือสตั ย์ รักและให้อภัยกัน

-๔๒-

ลาดับ เรื่อง ศาสนา หลกั ธรรม/คาสอนทางศาสนา ทมี่ าของข้อมูล

๘) มคี วามซื่อสัตย์ สุจริตในการดาเนินชวี ติ และประกอบสัมมาอาชพี

๙) ทาความดดี ว้ ยความรักท้ังกาย วาจาและใจ /คิดดแี ละมีเจตนาบรสิ ุทธ์ิ

๑๐) มีความพึงพอใจในสิ่งทีต่ นมี

๒. ความมีวินยั ในตนเอง “จงยึดวินยั ไว้และอยา่ ปลอ่ ยไป จงดแู ลรักษาไว้

อยา่ งดี เพราะเป็นความรอดพ้นของท่าน” (สุภาษิต 4:13)

พราหมณ์-ฮินดู หลักอาศรมธรรม ๔ ๑. กรมการศาสนา.

๑) พรหมจารธี รรม ศกึ ษาไปตามวรรณะของตน ถือพรหมจรรย์ เชือ่ ฟงั คู่ มื อ ป ฏิ บั ติ ง า น

คาสงั่ สอนของครู อาจารย์ ศาสนิกสัมพันธ์. พ.ศ.

๒) คฤหสั ถธรรม เม่อื สาเร็จการศึกษา ดแู ลช่วยเหลอื งานบิดามารดา ๒๕๔๘: หนา้ ๘๐-๘๑

เลีย้ งชพี ตามวรรณะของตน จัดแจงพธิ ีสมรสเพ่ือสืบทอดวงศ์ตระกลู ๒. กรมการศาสนา.

๓) วานปรัสถธรรม เม่ือบตุ รธดิ าสาเร็จออกเป็นคฤหัส บิดา มารดา หลักธรรมในศาสนา

เสยี สละ มจี ติ สาธารณะ อุทิศกาลงั กาย ใจ เพ่อื สงั คมสว่ นรวม ใหบ้ ริการผู้อน่ื พราหมณ์-ฮินดู พ.ศ.

และตนเอง ๒๕๑๙. หน้า ๔๑-๔๗

๔) สันนยาสี ปฏิบตั ิธรรม บาเพ็ญสมาธิ เพ่อื แสวงหาโมกษธรรม

(ความจรงิ ในชวี ิต)

ซิกข์ ๑. ศาสนาซกิ ข์กาหนดระเบียบวนิ ัยใหป้ ฏบิ ตั ิ ดังน้ี กรมการศาสนา.

๑) วินยั ทางกาย ได้แก่ การใหบ้ ริการคนอ่ืนทางกายและทางวาจา เป็นการให้ทาน ศาสนาในประเทศ

๒) วินยั ทางศีลธรรม ได้แก่ การหาเลีย้ งชพี โดยชอบธรรมไม่มีความเหน็ แก่ตัว ไทย.พ.ศ.๒๕๖๑:

๓) วินยั ทางจิตใจ ได้แก่ ความเชื่อมนั่ ในพระเจ้าองค์เดียว มจี ิตใจอยู่กับพระเจา้ หน้า ๒๐๕

ศาสนวินยั (กูราเฮต็ ) ขอ้ หา้ มทไ่ี ม่ควรปฏบิ ตั ิ หา้ มกระทาส่ิงใดตอ่ เกศา ห้าม

รบั ประทานอาหารที่ทาจากสัตว์ท่ไี ด้รบั การทรมาน หา้ มล่วงเกนิ ทางเพศ

บุคคลอื่นและหา้ มเสพส่งิ เสพติด

-๔๓-

ลาดับ เรอ่ื ง ศาสนา หลักธรรม/คาสอนทางศาสนา ทม่ี าของข้อมูล

๙ ซื่อสัตย์ สุจริต พระพทุ ธศาสนา ๑. เบญจธรรม ในเรื่อง สัมมาอาชีวะ คอื การหาเล้ยี งชีพในทางสุจรติ ๑. กรมการศาสนา.

สัจจะ คอื ความสัตย์ ความซื่อตรง และ สติสัมปชญั ญะ คือ ระลกึ ไดแ้ ละรู้ตวั ค ว า ม รู้ ศ า ส น า

อยเู่ สมอวา่ สง่ิ ใดควรทา และไมค่ วรทา ระวังมิใหเ้ ปน็ คนมัวเมาประมาท เบ้ื องต้ น. ปี พ.ศ.

๒. ฆราวาสธรรม หลักการครองชีวิตของคฤหสั ถ์ ๔ ประการ ๒๕๕๔: หน้า ๑๖-๒๐

๑) สัจจะ ความจริง ซ่ือตรง ซอื่ สัตย์ จริงใจ พูดจริง ทาจริง ๒.กรมการศาสนา.

๒) ทมะ การฝึกฝน การข่มใจ ฝกึ นสิ ยั ปรับตัว ร้จู ักควบคุมจิตใจ ฝกึ หัด คู่ มื อ ป ฏิ บั ติ ง า น

ดดั นสิ ัยแก้ไขข้อบกพร่อง ปรบั ปรตุ นใหเ้ จรญิ ก้าวหนา้ ดว้ ยสตปิ ญั ญา ศาสนิกสัมพันธ์. พ.ศ.

๓) ขนั ติ ความอดทน ต้ังหน้าทาหน้าท่กี ารงานดว้ ยความขยันหมั่นเพียร ๒๕๔๘: หนา้ ๖๘

เขม้ แข็ง ไม่หวั่นไหว ม่นั ในจุดหมาย ไม่ท้อถอย

๔) จาคะ ความเสียสละ สละกิเลส สละความสุขสบายและผลประโยชน์

สว่ นตนได้ ใจกว้างพร้อมท่จี ะรับฟงั ความทกุ ข์ ความคดิ เห็น ความตอ้ งการ

ของผู้อ่นื พร้อมที่จะร่วมมือ ช่วยเหลือเออ้ื เฟื้อ เผ่ือแผ่ไม่คับแคบเห็นแก่ตวั

หรอื เอาแต่ใจตัว

๓. สุจริต ๓ หมายถงึ การประพฤติชอบทางกาย (กายสุจริต) การประพฤติ

ชอบทางวาจา (วจีสุจริต) และการประพฤตชิ อบทางใจ (มโนสจุ ริต)

๑) การประพฤติชอบทางกาย ไดแ้ ก่ มคี วามเมตตากรุณา เคารพในสทิ ธิ/

ทรพั ยส์ ินของผอู้ ืน่ และสารวมในกาม

๒) การประพฤติชอบทางวาจา ได้แก่ พูดความจรงิ พดู ในทางสง่ เสรมิ พดู

คาไพเราะสภุ าพ และพูดแต่เรื่องทม่ี ีประโยชน์

๓) การประพฤตชิ อบทางใจ ได้แก่ พอใจในสงิ่ ของที่ไดม้ าโดยถูกต้อง

มีเมตตาต่อผอู้ ่นื ไมค่ ิดร้ายตอ่ ใคร และเห็นชอบตามทานองคลองธรรม

ลาดับ เรอื่ ง -๔๔- หลักธรรม/คาสอนทางศาสนา ที่มาของข้อมูล
ศาสนา

อิสลาม ศาสดามฮุ ัมหมัด (ซ.ล.) ได้กล่าวถงึ ความสัมพันธ์ระหวา่ งความศรัทธา ศูนย์คุณธรรมองค์การ

คณุ ธรรมความซ่อื สตั ย์ ว่า “ไมถ่ ือว่ามีศรัทธา (ทสี่ มบรู ณ)์ สาหรบั ผทู้ ไ่ี มม่ ี มหาชน. การส่งเสริม

ความซือ่ สตั ย์ และไมถ่ ือว่ามีศาสนา (ท่สี มบูรณ์) สาหรบั ผู้ท่ีไมร่ กั ษาสัญญา” คุณธรรม “พอเพียงวินัย

สุจริตจิตอาสา” สร้างคน

ดีสู่สังคม” พ.ศ. ๒๕๖๑”

หน้า ๗๒

ครสิ ต์ ศาสนาคริสต์ ได้ให้ความสาคัญกับความสจุ ริต ไวว้ ่า (มทั ธวิ 5:37) ศู นย์ คุ ณธรรมองค์ การ

๑) ผู้ท่ีดาเนินชีวติ ดว้ ยความสุจรติ แม้จะยากจนก็ดีกวา่ คนทต่ี ลบตะแลง มหาชน.การส่ งเสริ ม

๒) ผู้ท่ีดาเนินชวี ติ ด้วยความสุจรติ แม้ยากจนกด็ ีกวา่ คนทร่ี ่ารวยแต่มี คุณธรรม “พอเพียงวินัย

ความประพฤติคดโกง สุจริตจิตอาสา” สร้างคน

๓) เพอ่ื นซ่ือสตั ยน์ ั้นประเมนิ คา่ ไมไ่ ด้ ดีสู่สังคม” พ.ศ. ๒๕๖๑”

๔) เพ่ือนซื่อสัตยเ์ ป็นเสมือนยาอายุวฒั นะ หน้า ๗๓

พราหมณ์-ฮนิ ดู หลักศาสนบัญญตั กิ ารปฏบิ ัติธรรมระหวา่ งบคุ คลต่อบคุ คล กรมการศาสนา . คู่ มื อ

๑. “มานวธรรม” การปฏบิ ัติตนของมนษุ ย์ต่อมนุษย์ โดยมีคตวิ า่ “หากเกดิ ป ฏิ บั ติ ง า น ศ า ส นิ ก

เป็นมนษุ ย์ จงปฏิบตั แิ ต่ทางกุศล” เชน่ สัมพันธ์. พ.ศ.๒๕๔๘:

๑) บคุ คลใดไม่ซ่ือตรงต่อมติ ร ไม่รู้จักบญุ คุณ หักหลังผู้อ่ืน ต้องไปตกนรก หน้า ๗๗-๗๘

๒) บคุ คลใดคิดแตท่ รัพยส์ มบัติของผูอ้ ื่น คิดแตก่ ารทาเสยี ประโยชนผ์ อู้ ่นื

เปน็ โทษทางจติ จงอยา่ ทา

๓) บคุ คลใดถอื เอาทรัพย์ของผู้อ่นื โดยเข้าไม่รเู้ ขายังไม่ทนั ใหห้ รอื ใช้

อานาจฆา่ ทาร้ายร่างกายผู้อ่ืน โดยทางกายจึงต้องไมก่ ระทา

-๔๕-

ลาดับ เรอื่ ง ศาสนา หลักธรรม/คาสอนทางศาสนา ทีม่ าของข้อมลู

๒. อาจารยธรรม การปฏิบตั หิ น้าทีข่ องครู อาจารย์ต่อศิษย์ โดยมีคตวิ า่

ครู อาจารยต์ ้องรบั หนา้ ท่ีถ่ายทอดความร้ใู ห้แก่ศษิ ย์อย่างถูกต้องและยตุ ิธรรม

๓. ปตนธี รรม การปฏบิ ัติหน้าท่ขี องภรรยาตอ่ สามี โดยมีคติว่า ภรรยาต้อง

ปฏิบัตติ ่อสามีดว้ ยความซือ่ สัตยส์ จุ รติ

ซิกข์ พระศาสดาครุ ุนานกั ตรัสสอนเกยี่ วกบั ความซ่อื สัตยส์ ุจรติ ว่า กรมการศาสนา.

๑) สจั ธรรมเป็นธรรมอันประเสรฐิ สูงสดุ แต่การดารงชวี ิตทเี่ ปี่ยมไปด้วย ปรัชญาเศรษฐกิจ

สจั ธรรมสูงสง่ ย่งิ กว่า พอเพี ยงในหลั ก

๒) จงปฏบิ ัติตนเปน็ ชาวนา ผู้ซง่ึ เอาความดี (ความซอ่ื สัตย์ กรรมดี) ศาสนา.พ.ศ.๒๕๕๙:

ประดุจดังแผ่นดินที่เจ้าจะทาการเพาะปลูก เอานามธรรม (คาส่ังสอน บท หนา้ ๖๐-๖๑

พระธรรม) ดุจดงั เมลด็ พชื ท่เี จา้ จะปลกู ลงในดนิ พืชผลจะแตกหนอ่ (การ

กระทาและความขยันหมั่นเพียรน้ีจะออกดอกออกผล) เจ้าจะเข้าใจและความรู้ของ

นรกและสวรรค์ (เข้าใจในความเปน็ จริงของการดารงหาเลี้ยงชีพทสี่ ุจริต)

๑๐ จติ อาสา พระพทุ ธศาสนา ๑.พรหมวิหาร ๔ ธรรมในข้อ ศู น ย์ คุ ณ ธ ร ร ม

๑) เมตตา คือความรัก ความปรารถนาใหผ้ ู้อนื่ มคี วามสขุ องค์ การมหาชน.

๒) กรณุ า ความสงสาร ความปรารถนาชว่ ยใหค้ นอืน่ พน้ ทุกข์ การส่งเสริมคุณธรรม

๓) มุทติ า ความพลอยยนิ ดีทเ่ี ห็นคนอนื่ ได้มีความสขุ จากความเจริญ “พอเพียงวินัยสุจริต

๒. สังคหวัตถุ ๔ ธรรมะ ในข้อ จิตอาสา” สร้างคนดี

๑) ทาน คอื การใหแ้ ละแบ่งปัน สู่ สั ง ค ม ” พ . ศ .

๒) ปยิ วาจา คือการพูดจาสภุ าพอ่อนหวานเพ่ือให้กาลงั ใจ คาแนะนาตักเตือน ๒๕๖๑” หนา้ ๙๒-๙๓


Click to View FlipBook Version