แผนพฒั นาขา้ ราชการครู
และบคุ ลากรทางการศกึ ษา
ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2565
เอกสารลาดบั ท่ี 5 /2565
กลุม่ พฒั นาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
สำนักงำนเขตพนื้ ทกี่ ำรศกึ ษำประถมศกึ ษำรำชบุรี เขต 1
สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขน้ั พนื้ ฐำน กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร
บทสรุปผ้บู รหิ าร
การบริหารงานขององค์กรให้บรรลุพันธกิจและเป้าหมายที่กำหนดไว้ จำเป็นต้องบริหารทรัพยากร
บุคคล ที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยแนวทางการบริหารทรัพยากรบุคคลมีเป้าหมายสูงสุด เพื่อให้
ผู้ปฏิบัติงานสามารถปฏิบัติงานได้อย่างเต็มศักยภาพ ซึ่งสอดคล้องกับกรอบยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 –
2580 แผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 นโยบายกระทรวงศกึ ษาธกิ ารปจั จบุ นั นโยบายสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี 2565 รวมทั้งจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ และจุดเน้นของ
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ได้ใช้กระบวนการมีสว่ นร่วม การระดมสมอง รวมถึงวิเคราะห์
จากโครงสร้างองค์กร (Organization) วิสัยทัศน์ (Vision) พันธกิจ(Mission) จุดเน้นของสำนักงานเขตพื้นที่
การศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 1
สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 จงึ จัดทำขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษา ข้ึนทุกปีงบประมาณ เพื่อเป็นการกำหนดทิศทางที่ชัดเจนและเป็นแนวทางในการพัฒนาบุคลากร ให้
ครอบคลุมทุกสายงาน และตรงต่อสมรรถนะที่จำเป็นในการปฏิบัติงานแต่ละสายงาน และสอดคล้อง
ตอบสนองกับยุทธศาสตร์ชาติ นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน
พื้นฐาน และนโยบายสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 ด้วย จากการวิเคราะห์
ดังกล่าวข้างต้น จึงนํามากําหนดประเด็นยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนา และการจัดทําแผนพัฒนาบุคลากร
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 โดยการดำเนินโครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้ง
ระบบ ซงึ่ ประกอบดว้ ยกจิ กรรมในการพฒั นา 9 กจิ กรรม ดังน้ี
โครงการพฒั นาข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาทง้ั ระบบ ประกอบด้วย 10 กิจกรรม ดังนี้
กิจกรรมที่ 1 การพฒั นาศกั ยภาพและความก้าวหนา้ ทางวิชาชพี ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
กจิ กรรมท่ี 2 อบรมปฐมนเิ ทศและพฒั นาครูผชู้ ว่ ยส่มู ืออาชีพ
กิจกรรมที่ 3 การยกย่องเชดิ ชเู กียรติครูผสู้ อนและผ้บู ริหารสถานศกึ ษาดีเดน่
กจิ กรรมที่ 4 เสรมิ สร้างชุมชนการเรียนรูท้ างวชิ าชีพ PLC
กจิ กรรมท่ี 5 การพฒั นาศักยภาพผูบ้ ริหารสถานศึกษาและบคุ ลากรทางการศกึ ษา สมู่ าตรฐานสากล
อย่างมีคุณธรรมความโปรง่ ใส
กจิ กรรมท่ี 6 การพฒั นาเสริมสร้างสมรรถนะลกู จา้ งประจำและชั่วคราว
กิจกรรมท่ี 7 การพฒั นาบุคลากรกอ่ นแตง่ ตั้งเขา้ สู่ตำแหนง่
กจิ กรรมที่ 8 การพัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษารูปแบบ digital
กิจกรรมที่ 9 รายงานผลการดำเนนิ ตามโครงการ
ทั้งนี้ การดำเนินการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ ประจำปีงบประมาณ
พ.ศ. 2565 ทงั้ 9 กิจกรรม ภายใตโ้ ครงการพฒั นาขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาทงั้ ระบบ เปน็ การ
สง่ เสริม สนับสนนุ ให้ขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ทกุ คน ทกุ ตำแหน่ง ไดร้ บั การพัฒนาอยา่ งทั่วถึง
และเป็นระบบ
แผนพัฒนาขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565 ก
คำนำ
แผนพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ฉบับนี้จัดทำ
ขึ้นเพื่อใชเ้ ป็นแผนและแนวทางในการพัฒนาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ในสังกัดสำนักงานเขต
พืน้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 1 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยกำหนดให้มีโครงการในการพัฒนา
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ
นโยบายสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ยทุ ธศาสตร์จงั หวัดราชบุรี และนโยบายสำนักงานเขต
พืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 1
การดำเนินงานตามโครงการ ในแผนพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ประจำปี
งบประมาณ พ.ศ. 2565 จัดทำขึ้น 9 โครงการ/กิจกรรม ที่มุ่งการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษา ทุกตำแหน่ง ให้ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ เพื่อส่งเสริมให้มีการปฏิบัติงานในหน้าท่ี
ทไี่ ดผ้ ลดแี ละมปี ระสิทธภิ าพ
ผู้จัดทำแผนพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
หวังเปน็ อย่างยงิ่ ว่า การแผนพฒั นาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
ฉบับนี้ จะสามารถนำมาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาบุคลากรในสงั กัดได้อย่างครอบคลุมมีประสิทธิภาพและ
ประสิทธผิ ล และขอขอบคุณผู้มสี ่วนเก่ยี วขอ้ ง และใหค้ ำปรึกษาในการจดั ทำแผนฯ ทกุ คนเป็นอย่างสงู
กลุ่มพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1
แผนพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565 ข
สารบญั หนา้
บทสรปุ ผบู้ ริหาร ก
คำนำ ข
สารบัญ ค
ส่วนท่ี 1 บทนำ 1
1
ลักษณะทางกายภาพ 2
สภาพภมู ิประเทศ 3
ข้อมูลการปกครอง ประชากร 3
สภาพปัจจุบันของสำนักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 4
สญั ลักษณข์ องสำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 1 4
สภาพการจัดการศกึ ษา 5
การจดั ระเบียนบรหิ ารราชการเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษา 6
กรอบแนวคดิ การพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาของ
สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 1 7
อำนาจหนา้ ทีข่ องกลุม่ พฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศึกษา 7
วสิ ยั ทศั น์กล่มุ พัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศึกษา 7
พนั ธกิจกลมุ่ พัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา 7
เป้าประสงค์กลมุ่ พัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา 8
กล่มุ เป้าหมาย 8
โมเดลกล่มุ พัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา 9
กระบวนการขับเคล่อื นโมเดล 10
ส่วนที่ 2 ทศิ ทางการพฒั นาการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน 10
ความสอดคลอ้ งกบั แผน 3 ระดบั ตามนัยยะของคณะรัฐมนตรี เม่อื วันที่ 4 ธนั วาคม 2560 10
ยทุ ธศาสตรช์ าติ พ.ศ. 2561 – 2580 12
แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) 13
แผนการปฏิรูปประเทศ ดา้ นการศกึ ษา 15
แผนการศกึ ษาแหงชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 16
แผนปฏิบตั ริ าชการระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2564 - 2565)
ของสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน 17
แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ของสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน 18
นโยบายการจัดการศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 – 2565
แผนพฒั นาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565 ค
สารบัญ (ตอ่ )
นโยบายระยะเรง่ ดว่ น (Quick Win) ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 19
นโยบายสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน 20
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 – 2565
จดุ เน้นของสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 22
ทิศทางการดำเนนิ งานของสำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 1 23
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
สว่ นที่ 3 การดำเนนิ โครงการ 34
การพฒั นาศักยภาพและความกา้ วหน้าทางวิชาชีพครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา 36
40
อบรมปฐมนเิ ทศและพัฒนาครผู ูช้ ่วยสู่มืออาชีพ 44
49
การยกย่องเชดิ ชเู กียรติครูผ้สู อนและผบู้ รหิ ารสถานศึกษาดเี ดน่ 53
เสริมสรา้ งชุมชนการเรยี นร้ทู างวิชาชพี PLC 58
62
การพฒั นาศกั ยภาพผู้บริหารสถานศกึ ษาและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ส่มู าตรฐานสากล 66
70
อย่างมคี ณุ ธรรมความโปร่งใส
การพฒั นาเสรมิ สรา้ งสมรรถนะลูกจ้างประจำและชั่วคราว
การพัฒนาบคุ ลากรกอ่ นแต่งตงั้ เขา้ สู่ตำแหน่ง
การพัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษารูปแบบ digital
คณะผู้จัดทำ
แผนพฒั นาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ง
ส่วนท่ี 1 บทนำ
ลกั ษณะทางกายภาพ
ท่ตี ง้ั และอาณาเขต
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 ตั้งอยู่ทางภาคกลางด้านทิศตะวันตกของ
ประเทศไทย ตัง้ อยลู่ ะตจิ ูดที่ 13 องศา 09 ลิปดาเหนือ ถึง 13 องศา 57 ลปิ ดาเหนอื และลองตจิ ูด 99 องศา 10
ลิปดาตะวันออกถึง 100 องศา03 ลิปดาตะวันออก มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 4,030.03 ตารางกิโลเมตร มี
อาณาเขตติดตอ่ กับจังหวดั และอำเภอ ดังน้ี
ทิศเหนอื ติดต่อกบั อำเภอโพธาราม จังหวดั ราชบุรี อำเภอดา่ นมะขามเต้ีย และ
อำเภอทา่ ม่วง จงั หวดั กาญจนบุรี
ทิศใต้ ตดิ ต่อกับอำเภอเขายอ้ ย อำเภอหนองหญ้าปลอ้ ง จังหวดั เพชรบุรี
ทศิ ตะวันออก ติดต่อกับอำเภอดำเนินสะดวก จงั หวัดราชบรุ ี อำเภอบางคนที และอำเภออัมพวา
จงั หวดั สมุทรสงคราม
ทศิ ตะวันตก ติดตอ่ กบั ตำบลบางคายู อำเภอเมตตา จังหวัดทะวาย ประเทศสหภาพเมียนมาร์
(พมา่ )
แผนพัฒนาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ปงี บประมาณ พ.ศ.2565 1
แผนภมู ิ : ท่ีต้ังและอาณาเขตของสำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 1
สภาพภมู ปิ ระเทศ
สภาพภูมิประเทศของสำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1 แบ่งตามระดับความ
สูงของพื้นที่ โดยพื้นที่สว่ นใหญ่ ร้อยละ 60 เป็นพื้นที่ราบและราบลุ่ม ระดับความสงู ต่ำกวา่ 100 เมตร เหนือ
ระดับน้ำทะเลปานกลาง พบมากทางด้านตะวันออกบริเวณสองฝั่งแม่น้ำแม่กลองในเขตอำเภอเมืองราชบุรี
อำเภอปากทอ่ และอำเภอวัดเพลง ส่วนพ้นื ท่ีทางตอนกลางลาดมาทางตะวันตกเปน็ ที่ลาดเชิงเนนิ และท่ีลาดเชิง
เขา ระดับความสูงของพืน้ ทีอ่ ยูร่ ะหว่าง 100-750 เมตร เหนือระดับน้ำทะเลปานกลาง มีแม่น้ำภาชีและลำ
ห้วยสาขาเป็นสายนำ้ หลกั พบในเขตอำเภอสวนผง้ึ อำเภอบ้านคา อำเภอจอมบึง และดา้ นตะวนั ตกของอำเภอ
ปากท่อ และอำเภอเมืองราชบุรี สำหรับพื้นท่ีภูเขาสงู ระดับความสงู ตั้งแต่ 750 เมตรขึ้นไป พบกระจายเปน็
กลุ่มทางด้านตะวันตก เฉยี งใตบ้ ริเวณชายแดนมีเทอื กเขาตะนาวศรีท่ีสูงชันดา้ นตะวันตกติดกบั สาธารณรัฐแห่ง
สหภาพเมียนมาร์ และเขตแดนด้านใต้ติดกับจังหวัดเพชรบุรี มีสภาพ เป็นเทือกเขาสูงอุดมด้วยป่าดิบ ป่า
เบญจพรรณ ปา่ เตง็ รัง และปา่ ไผ่ พบในเขตอำเภอสวนผึ้ง อำเภอบ้านคา และอำเภอปากทอ่ ด้านตะวนั ตก ซึ่ง
เมื่อพิจารณาในมุมมองของยุทธศาสตร์พบว่าความสำคัญของภูมิประเทศสามารถน้ามาใช้ประโยชน์ในทาง
ยุทธศาสตร์ โดยเฉพาะในด้านการมีแม่น้ำหลักของจงั หวัด ทำให้เป็นพื้นทีร่ าบ และราบลุ่ม ซึ่งเหมาะต่อการ
ส่งเสริมการเกษตร และในตะวนั ตกเฉียงใตท้ ี่เป็นพ้ืนที่ปา่ เขา ซึ่งจะเชื่อมโยงกบั การพัฒนาในด้านการส่งเสรมิ
การท่องเทย่ี ว และการจดั การพน้ื ท่ปี ่าตน้ นำ้ เพื่อเปน็ หลักประกันการพัฒนาทยี่ งั่ ยนื ต่อไป
แผนพฒั นาข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ปงี บประมาณ พ.ศ.2565 2
ขอ้ มลู การปกครอง/ ประชากร
สำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 1 มีเขตการปกครองแบง่ ออกเป็น 6 อำเภอ
56 ตำบล 533 หมู่บา้ น องค์การบรหิ ารสว่ นจังหวดั 1 แหง่ เทศบาลเมอื ง 1 แห่ง เทศบาลตำบล 13 แหง่ และ
องค์การบรหิ ารสว่ นตำบล 47 แห่ง (ที่มา: ทีท่ ำการปกครองจังหวัดราชบรุ ี)
จำนวนประชากรของแต่ละอำเภอในเขตพื้นที่ 6 อำเภอ มีทั้งสิ้น 426,043 คน ส่วนใหญ่ เป็นเพศ
หญิง จำนวน 214,701 คน คิดเป็นร้อยละ 50.39 เพศชาย จำนวน 211,342 คน คิดเป็นร้อยละ 49.61
แยกเป็น
1. อำเภอเมืองราชบุรี ประชากรเพศชาย 100,285 คน เพศหญิง 103,464 คน จำนวนครัวเรือน
77,118 ครวั เรือน
2. อำเภอปากท่อ ประชากรเพศชาย 33,240 คน เพศหญิง 34,571 คน จำนวนครัวเรือน 23,325
ครวั เรือน
3. อำเภอจอมบึง ประชากรเพศชาย 31,543 คน เพศหญิง 32,506 คน จำนวนครัวเรือน 22,879
ครวั เรอื น
4. อำเภอวัดเพลง ประชากรเพศชาย 5,841 คน เพศหญิง 6,350 คน จำนวนครัวเรือน 4,064
ครวั เรือน
5. อำเภอสวนผึ้ง ประชากรเพศชาย 27,532 คน เพศหญิง 25,472 คน จำนวนครัวเรือน 17,616
ครัวเรอื น
6. อำเภอบ้านคา ประชากรเพศชาย 12,901 คน เพศหญิง 12,338 คน จำนวนครัวเรือน 9,364
ครวั เรือน
ทีม่ า: ท่ีทำการปกครองจงั หวัดราชบุรี ณ ธนั วาคม พ.ศ.2561
สภาพปจั จุบันของสำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 ตั้งอยู่หมู่ที่ 10 ถนนเสือป่า ตำบล
ดอนตะโก อำเภอเมือง จงั หวัดราชบรุ ี มีพน้ื ทีใ่ นความรบั ผิดชอบ 6 อำเภอ รวม 172 โรงเรียน 1 สาขา ได้แก่
อำเภอเมืองราชบุรี จำนวน 48 โรงเรียน อำเภอปากท่อ จำนวน 45 โรงเรียน 1 สาขา อำเภอจอมบึง จำนวน
37 โรงเรียน อำเภอวัดเพลง จำนวน 5 โรงเรียน อำเภอสวนผึ้ง จำนวน 20 โรงเรียน และอำเภอบ้านคา
จำนวน 17 โรงเรียน (ขอ้ มลู ณ วนั ที่ 25 ม.ิ ย. 2564)
แผนพัฒนาข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 3
สญั ลกั ษณข์ องสำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 1
ตราประจำสำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1
สภาพการจดั การศกึ ษา
อำนาจหน้าท่ขี องสำนักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1
ให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามีอำนาจหน้าที่ดำเนินการให้เป็นไปตามอำนาจหน้าที่ของสำนักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ และมีอำนาจหน้าที่
ดงั ต่อไปน้ี
1. จดั ทำนโยบาย แผนพฒั นา และมาตรฐานการศึกษาของเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาให้สอดคลอ้ งกับ
นโยบาย มาตรฐานการศกึ ษา แผนการศกึ ษา แผนพัฒนาการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐานและความตอ้ งการของทอ้ งถ่นิ
2. วิเคราะห์การจัดตั้งงบประมาณเงินอุดหนุนทั่วไปของสถานศึกษาและหน่วยงานในเขตพื้นท่ี
การศึกษา และแจ้งการจัดสรรงบประมาณที่ได้รบั ใหห้ น่วยงานขา้ งต้นทราบ รวมทั้งกำกบั ตรวจสอบ ติดตาม
การใช้จ่ายงบประมาณของหน่วยงานดังกล่าว
3. ประสาน ส่งเสรมิ สนับสนุน และพัฒนาหลกั สูตรร่วมกับสถานศกึ ษาในเขตพื้นทกี่ ารศึกษา
4. กำกับ ดูแล ติดตาม และประเมินผลสถานศึกษาขน้ั พื้นฐานและในเขตพื้นท่กี ารศกึ ษา
5. ศึกษาวเิ คราะห์ วจิ ยั และรวบรวมขอ้ มูลสารสนเทศด้านการศกึ ษาในเขตพ้นื ท่ีการศึกษา
6. ประสานการระดมทรพั ยากรดา้ นต่าง ๆ รวมทั้งทรพั ยากรบุคคล เพอื่ ส่งเสรมิ สนับสนุนการจัด และ
พัฒนาการศึกษาในเขตพ้นื ที่การศกึ ษา
7. จัดระบบการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา และประเมนิ ผลสถานศึกษาในเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษา
8. ประสาน ส่งเสรมิ สนบั สนนุ การจดั การศึกษาของสถานศึกษาเอกชน องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน
รวมทั้งบุคคล องค์กรชุมชน องคก์ รวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบนั อืน่ ท่ีจดั รูปแบบที่
หลากหลายในเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษา
9. ดำเนนิ การและประสาน ส่งเสรมิ สนับสนนุ การวิจยั และพฒั นาการศึกษาในเขตพ้นื ที่การศึกษา
10. ประสาน สง่ เสรมิ การดำเนนิ งานของคณะอนุกรรมการและคณะทำงานด้านการศึกษา
11. ประสานการปฏิบัติราชการทั่วไปกบั องค์กรหรือหน่วยงานต่าง ๆ ทัง้ ภาครัฐ ภาคเอกชน และองคก์ ร
ปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ ในฐานะสำนักงานผแู้ ทนกระทรวงศกึ ษาธกิ ารในเขตพนื้ ที่การศกึ ษา
12. ปฏิบัตงิ านร่วมกบั หรอื สนับสนุนการปฏิบัตงิ านของหน่วยงานอนื่ ที่เกย่ี วขอ้ งหรือทไี่ ด้รบั มอบหมาย
แผนพฒั นาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 4
การจดั ระเบยี บบรหิ ารราชการเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา
การบริหารและการจัดการศกึ ษาขั้นพื้นฐานให้ยึดเขตพื้นที่การศึกษา โดยคำนึงถึงระดับของการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน จำนวนสถานศกึ ษา จำนวนประชากร วัฒนธรรม และความเหมาะสมด้านอื่นด้วย เว้นแต่การจัด
การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการอาชีวศึกษา ทงั้ น้ี ใหร้ ฐั มนตรโี ดยคำแนะนำของสภาการศึกษา มี
อำนาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากำหนดเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อการบริหารและการจัดการศึกษาขั้น
พื้นฐาน แบ่งเป็นเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาและเขตพื้นที่มัธยมศึกษา ซึ่งกระทรวงศึกษาธกิ ารได้ออก
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ กำหนดให้มีสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จำนวน 183 เขต และ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา จำนวน 42 เขต โดยให้จัดระเบียบบริหารราชการของเขตพื้นที่
การศกึ ษา ดงั นี้
1. สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษา
การแบ่งส่วนราชการภายในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ให้จัดทำเป็นประกาศกระทรวงและให้
ระบุอำนาจหน้าที่ของแต่ละส่วนราชการไว้ในประกาศกระทรวง ทั้งนี้ โดยคำแนะนำของคณะกรรมการ
การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน
2. สถานศึกษาที่จัดการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอ่ืน (เฉพาะที่เป็นโรงเรยี น
มีฐานะเปน็ นติ ิบคุ คล)
การแบ่งสว่ นราชการภายในสถานศึกษาและอำนาจหน้าท่ีของสถานศึกษาหรือส่วนราชการ ท่เี รยี กช่ือ
อย่างอื่นให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาแต่ละเขตพื้นที่การศึกษากำหนด ซึ่งใน
ปัจจบุ นั ได้โอนใหเ้ ป็นอำนาจหนา้ ทีข่ องคณะกรรมการศกึ ษาธิการจังหวดั กำหนด
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การแบ่งส่วนราชการภายในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา พ.ศ.
2560 และฉบบั ที่ 2 (พ.ศ. 2561) ให้แบง่ ส่วนราชการภายในสำนกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษา ดงั ต่อไปน้ี
1. กลมุ่ อำนวยการ
2. กลุ่มนโยบายและแผน
3. กลมุ่ ส่งเสริมการศกึ ษาทางไกล เทคโนโลยสี ารสนเทศ และการส่ือสาร
4. กลมุ่ บริหารงานการเงนิ และสนิ ทรพั ย์
5. กลมุ่ บรหิ ารงานบคุ คล
6. กลุ่มพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
7. กลมุ่ นิเทศตดิ ตามและประเมินผลการจดั การศกึ ษา
8. กลุ่มสง่ เสรมิ การจดั การศกึ ษา
9. กลุ่มกฎหมายและคดี
10. หน่วยตรวจสอบภายใน
แผนพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 5
กรอบแนวคดิ การพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของสำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 1
แนวทางในการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาของสำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 1
มุ่งเน้นให้การปฏิบัติงานมีความโปร่งใส เที่ยงธรรม เกิดประสิทธิผล และคนมีความสุข เชื่อมโยงกับนโยบาย
ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน และไดก้ ำหนดวสิ ยั ทศั นใ์ นการพฒั นาไวว้ า่ “สำนกั งานเขต
พนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 มีคณุ ภาพและมาตรฐาน บริหารงาน ด้วยความโปร่งใส เท่ียงธรรม
ตามหลกั ธรรมาภิบาล มงุ่ สกู่ ารเป็นเมอื งแหง่ คนดีและมีคุณภาพ” ภายใต้กรอบแนวคิด “เมอื งแหง่ คนดี และมี
คณุ ภาพ” ตามโมเดล CROP & EQ MODEL
C-CROP & EQ Model
แผนพฒั นาขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 6
บทบาท อำนาจหนา้ ท่ขี องกลมุ่ พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
กลุ่มพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา มีบทบาท อำนาจหน้าที่ ตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ
เรอื่ ง การแบง่ ส่วนราชการภายในสาํ นักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษา พ.ศ. 2560 ดงั น้ี
1. ดำเนินงานฝกึ อบรมการพัฒนาก่อนแต่งตง้ั
2. ดำเนินงานฝึกอบรมพฒั นาเพ่อื เพิม่ ศกั ยภาพการปฏิบัติงาน
3. ดำเนินงานพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นไป ตามมาตรฐานวิชาชีพและ
จรรยาบรรณ
4. ปฏิบตั งิ านสง่ เสรมิ สนับสนุน และยกย่องเชดิ ชูเกียรตขิ า้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
5.. ดำเนินการเกย่ี วกับการลาศกึ ษาต่อ ฝึกอบรมหรอื ปฏบิ ตั กิ ารวจิ ัยภายในประเทศหรอื ต่างประเทศ
6. ศกึ ษา วเิ คราะห์ วิจยั และเสริมสร้างระบบเครือข่ายการพฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษา
7. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนว่ ยงานอืน่ ท่ีเกีย่ วข้อง หรือที่ได้รบั มอบหมาย
วสิ ยั ทศั น์กลุ่มพัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
กลุ่มพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา พัฒนาองค์ความรู้ เคียงคู่คุณธรรม นำสู่คุณภาพอย่างมี
คณุ คา่
พันธกิจกลุม่ พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
1. พัฒนาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ให้มีศักยภาพตรงตามมาตรฐานวิชาชีพ
2. พัฒนาข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ใหม้ ีคณุ ธรรมจรยิ ธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
3. พัฒนาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ให้มีทักษะที่เหมาะสมในการปฏบิ ัติหนา้ ท่ีและการ
ดำรงชวี ิตในศตวรรษท่2ี 1
4. ยกย่องเชดิ ชเู กียรติผู้สมควรเป็นแบบอยา่ งในการประพฤตปิ ฏิบัตติ นและปฏิบัติงาน
เปา้ ประสงค์กลุ่มพัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
ขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา เปน็ บคุ คลมีคุณภาพ เป็นคนดี มคี ณุ ธรรมจริยธรรม พร้อม
ดว้ ยมที ักษะตา่ งๆ ตรงตามสมรรถนะของแต่ละสายงาน และมที กั ษะชีวิตที่เหมาะสมกบั โลกยุคศตวรรษที่ 21
โดยใช้กระบวนการพฒั นาทม่ี ปี ระสิทธภิ าพและเกดิ ประสทิ ธผิ ล
แผนพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 7
กลมุ่ เปา้ หมาย
1. ครู
2. ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา
3. บุคลากรทางการศกึ ษา
4. ลกู จา้ ง
โมเดลกล่มุ พัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
แผนพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ปงี บประมาณ พ.ศ.2565 8
กระบวนการขบั เคลื่อนโมเดล
กระบวนการในการพฒั นา มุง่ เน้น 7 ประการ (DEVELOP Model) คือ
• D Demand –การจัดรูปแบบการพัฒนาเป็นไปตามความต้องการจำเป็น ที่เหมาะสมกับสมรรถนะ
ของ แต่ละสายงาน
• E Effective - การพฒั นามีกระบวนการดำเนินงานท่ีมปี ระสิทธภิ าพ
• V Value – เนน้ การพัฒนาทเ่ี ปน็ ประโยชน์ สง่ ผลลพั ธท์ ี่มีคณุ ค่า
• E E-learning – การพฒั นาโดยใช้การเรียนรูผ้ ่านสื่ออิเลก็ ทรอนกิ ส์
• L Loyal – การพัฒนาโดยสร้างจิตสำนึกในความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์
และม่งุ เน้นความซ่อื สตั ย์
• O Outstanding – รปู แบบการพฒั นามคี วามโดดเดน่ เน้นเนอ้ื หาสาระ มจี ดุ มงุ่ หมายท่ชี ัดเจน
• P Planning –วางแผนการทำงานทชี่ ัดเจน มุ่งสผู่ ลลพั ธ์ทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ล
แผนพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ปงี บประมาณ พ.ศ.2565 9
ส่วนที่ 2
ทศิ ทางการพฒั นาการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน
ความสอดคลอ้ งกบั แผน 3 ระดบั ตามนยั ยะของคณะรัฐมนตรี เมือ่ วันท่ี 4 ธนั วาคม 2560
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 ได้วิเคราะห์ความสอดคล้องของแผน
ในระดบั ต่าง ๆ ตามมตคิ ณะรัฐมนตรี เม่อื วันที่ 4 ธันวาคม 2560 ในการแบ่งแผนออกเป็น 3 ระดบั ไดแ้ ก่
แผนระดับที่ 1 ยทุ ธศาสตร์ชาติ เป็นเปา้ หมายการพฒั นาประเทศอย่างย่งั ยืน ตามหลัก ธรร
มาภิบาลเพื่อใช้เป็นกรอบในการจัดทำแผนต่าง ๆ ให้สอดคล้องและบูรณาการกันเพื่อให้เกิดเป็นพลังผลักดัน
ร่วมกนั ไปสูเ่ ป้าหมายดังกลา่ ว
แผนระดับท่ี 2 หมายถึง แผนซึ่งเป็นแนวทางการขับเคลื่อนประเทศในมิติต่าง ๆ เพื่อบรรลุตาม
เป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติ และถ่ายทอดไปสู่แนวทางในการปฏิบัติในแผนระดับท่ี 3 ซึ่งประกอบไปด้วย
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนการปฏิรูปประเทศ
ดา้ นการศกึ ษา และนโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมัน่ คงแห่งชาติ
แผนระดับที่ 3 คือ แผนที่จัดทำขึ้นโดยหน่วยงานของรัฐ เพื่อถ่ายทอดเป้าหมายและประเด็น
การพัฒนาของแผนระดับท่ี 1 และ 2 ไปสู่การปฏบิ ัติ ซ่งึ รวมถึงแผนการศึกษาแหง่ ชาติ แผนปฏบิ ตั ริ าชการ....
แผนปฏิบัติการประจำปี ซึ่งวิเคราะห์ความสอดคล้องของแผนท้ัง 3 ระดับทีเ่ กี่ยวข้องกับการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน
ได้ดังนี้
แผนระดบั ท่ี 1
ยทุ ธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 - 2580
วสิ ัยทัศนป์ ระเทศไทย
“ประเทศไทยมีความมนั่ คง มง่ั คงั่ ย่งั ยนื เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ดว้ ยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง” หรอื เป็นคตพิ จน์ประจำชาตวิ ่า “มั่นคง มั่งคั่ง ยัง่ ยนื ”
1. ยทุ ธศาสตรช์ าติด้านการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ (หลกั )
1.1 เป้าหมาย
1. คนไทยเปน็ คนดี คนเกง่ มคี ณุ ภาพ พร้อมสำหรบั วถิ ีชีวติ ในศตวรรษท่ี 21
2. สงั คมไทยมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อและสนับสนุนต่อการพฒั นาคนตลอดช่วงชวี ิต
1.2 ประเดน็ ยุทธศาสตร์
1. การปรบั เปลย่ี นคา่ นยิ มและวฒั นธรรม
2. การพฒั นาศกั ยภาพคนตลอดช่วงชวี ติ
3. ปฏิรูปกระบวนการเรยี นรู้ทีต่ อบสนองตอ่ การเปลยี่ นแปลงในศตวรรษท่ี 21
4. การตระหนกั ถงึ พหปุ ญั ญาของมนษุ ยท์ ่หี ลากหลาย
แผนพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ปงี บประมาณ พ.ศ.2565 10
1.3 การบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ชาติ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 มีวิสัยทัศน์คือ สำนักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1 มีคุณภาพและมาตรฐาน บรหิ ารงานดว้ ยความโปร่งใส เทยี่ งธรรม ตาม
หลกั ธรรมาภิบาล มงุ่ สูก่ ารเป็นเมืองแหง่ คนดี และมีคุณภาพ ซง่ึ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ด้านการพัฒนา
และเสริมสร้างศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ นอกจากนี้ ยังพัฒนาและเสรมิ สร้างศักยภาพผู้เรียน ที่หลากหลาย
ทั้งในระดับต่าง ๆ ตั้งแต่ระดับกอ่ นประถมศึกษา ระดับการศึกษาภาคบังคับ ผู้เรียนพิการ ผู้เรียนด้อยโอกาส
ผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษ มีการขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษา การพัฒนาหลักสูตรกระบวนการจัดการ
เรียนการสอน การวัดและประเมินผล การพัฒนาการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศ และเสริมสร้าง
ศักยภาพครู การยกระดับคณุ ภาพสถานศึกษาต่าง ๆ ในทุกโรงเรียน ให้สามารถจัดการเรียนรูใ้ ห้แกผ่ ู้เรียนได้
เต็มตามศกั ยภาพ ทัง้ ความรดู้ า้ นวชิ าการ ทกั ษะอาชพี ทกั ษะชีวิต และมีคุณลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์
2. ยทุ ธศาสตรช์ าตดิ ้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม (รอง)
2.1.2.1 เป้าหมาย
สรา้ งความเป็นธรรม และลดความเหลื่อมลำ้ ในทกุ มิติ
2.1.2.2 ประเดน็ ยุทธศาสตร์
การลดความเหลอ่ื มล้ำ สร้างความเปน็ ธรรมในทุกมติ ิ
2.1.2.3 การบรรลุเปา้ หมายตามยทุ ธศาสตร์ชาติ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 มีการสร้างความเสมอภาค
ทางการศึกษา ด้วยการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจดั การศกึ ษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน
ในรายการพน้ื ฐาน 5 รายการ ได้แก่ 1) ค่าจดั การเรยี นการสอน 2) ค่าหนังสอื เรยี น 3) คา่ อปุ กรณ์การเรียน 4)
ค่าเครื่องแบบนักเรียน และ 5) ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียน ซึ่งการสนับสนุนค่าใช้จ่ายดังกล่าวเป็นการ
สร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการการศึกษา สำหรับผู้มีรายได้น้อยและกลุ่มผู้ด้อยโอกาส รวมทั้งการ
สร้างโอกาสและลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาในระดับพื้นท่ีพิเศษ ได้แก่ โรงเรียนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร
ให้ได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ และการพัฒนาสื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือ
การศึกษา โดยการส่งเสริมการจัดการศึกษาด้านเทคโนโลยีทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) และเทคโนโลยี
ทางไกลผา่ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ (DLIT) เพอ่ื สรา้ งความเปน็ ธรรม และลดความเหลอื่ มลำ้ ในการเขา้ ถึงบริการ
ทางการศึกษาทม่ี ีคณุ ภาพ
3. ยทุ ธศาสตร์ชาติดา้ นความมัน่ คง (รอง)
3.1 เป้าหมาย บา้ นเมอื งมีความมั่นคงในทุกมติ แิ ละทุกระดบั
3.2 ประเดน็ ยุทธศาสตร์ การปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หาทม่ี ีผลกระทบตอ่ ความมน่ั คง
3.3 การบรรลเุ ป้าหมายตามยทุ ธศาสตรช์ าติ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 มีแผนการพัฒนาการศึกษา
และแผนการเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน เพื่อให้การจัดการศึกษาพื้นที่ดังกล่าวสอดคล้องกับอัตลักษณ์วิถีชีวิต
วฒั นธรรม อาชีพใหเ้ กิดความสมานฉนั ท์ และร้รู กั สามคั คี มีความเข้าใจซึ่งกันและกัน อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
มีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ผู้เรียนได้รับโอกาสทาการศึกษาข้ันพ้ืนฐานอยา่ งทั่วถึง บุคลากร
ทางการศึกษามีความปลอดภัยในชีวิตทรัพย์สินและมีขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงาน และแผนการป้องกันและ
แผนพัฒนาข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 11
แก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันป้องกันยาเสพติด ในกลุ่มเด็กและเยาวชนมิใหเ้ ปน็ ผู้
เสพรายใหม่ พัฒนากระบวนการระบบติดตาม ดูแล ช่วยเหลือกลุ่มเด็กและเยาวชนท่ีมีปญั หายาเสพตดิ สร้าง
และพัฒนาระบบรองรับสนับสนุนการคืนเดก็ ดี สู่สังคม เสริมสร้างมาตรฐานในการป้องกันและแก้ไขปัญหาใน
กลมุ่ เป้าหมาย ซ่งึ จะส่งผลให้ประเทศไทย มคี วามมั่นคง ในระยะยาวตอ่ ไป
4. ยทุ ธศาร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจดั การภาครฐั (รอง)
4.1 เปา้ หมาย
1. ภาครฐั มวี ัฒนธรรมการทำงานทม่ี งุ่ ผลสัมฤทธแ์ิ ละผลประโยชนส์ ่วนรวม ตอบสนองความ
ต้องการของประชาชนไดอ้ ยา่ งสะดวก รวดเรว็ โปร่งใส
2. ภาครฐั มีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมชิ อบ
4.2 ประเด็นยทุ ธศาสตร์
1. ภาครัฐทย่ี ดึ ประชาชนเปน็ ศนู ยก์ ลาง ตอบสนองความตอ้ งการ และใหบ้ ริการอย่างสะดวก
รวดเรว็ โปรง่ ใส
2. ภาครัฐบรหิ ารงานแบบบรู ณาการโดยมยี ุทธศาสตรช์ าติเป็นเป้าหมายและเชื่อมโยง การ
พัฒนาในทุกระดับ ทุกประเดน็ ทุกภารกิจ และทุกพ้ืนที่
3. ภาครฐั มคี วามโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ
4.3 การบรรลเุ ป้าหมายตามยุทธศาสตร์ชาติ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 มีแผนในการบริหารจัดการศึกษา
ให้มปี ระสิทธิภาพตามหลกั ธรรมาภิบาล ทันสมยั มกี ารนำนวตั กรรม เทคโนโลยีมาใชใ้ นการปฏิบัตงิ าน มี
การพัฒนานวัตกรรมเทคนิคการเรียนการสอน การป้องกันและปราบปรามการทจุ ริตสำหรบั นักเรียน พัฒนา
ผนู้ ำเยาวชนต่อตา้ นการทุจริต พัฒนานวตั กรรมการสรา้ งเครือขา่ ยและการมีส่วนร่วม ในการต่อต้านการทุจริต
และพัฒนาผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา มีการบริหารงานที่มีธรรมาภิบาล ซื่อสัตย์สุจริตและ
ปอ้ งกนั การทุจริตทุกรูปแบบ
แผนระดับที่ 2 (ฉพาะที่เกีย่ วขอ้ ง)
แผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ (พ.ศ. 2561 – 2580)
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติเป็นส่วนสำคัญในการถ่ายทอดเป้าหมายและประเด็นยุทธศาสตร์
ของยุทธศาสตร์ชาติลงสู่แผนระดับต่าง ๆ ต่อไป ซึ่งได้คำนึงถึงประเด็นร่วมหรือประเด็นตัดข้ามยุทธศาสตร์
และการประสานเชื่อมโยงเป้าหมายของแต่ละแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติให้มีความสอ ดคล้อง
ไปในทิศทางเดียวกัน โดยแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติจะประกอบด้วยสถานการณ์และแนวโน้ม ท่ี
เก่ยี วขอ้ ง ของแผนแม่บท เปา้ หมายและตัวชี้วัดในการดำเนินการซ่งึ แบ่งชว่ งเวลาออกเป็น 4 ช่วง ชว่ งละ 5 ปี
รวมทัง้ กำหนดแนวทางการพัฒนา และแผนงาน/ โครงการท่ีสำคญั ของแผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ เพื่อ
เป็นกรอบในการดำเนินการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้บรรลุเป้าหมายการพัฒนาประเทศที่กำหนดไว้ใน
ยุทธศาสตร์ชาติว่า “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนา อย่างตอ่ เน่ือง สังคมเป็นธรรม
ฐานทรัพยากรธรรมชาตยิ ง่ั ยืน” โดยยกระดับศกั ยภาพของประเทศ ในหลากหลายมิติ พฒั นาคนในทกุ มิติและ
แผนพัฒนาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 12
ในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ สร้างโอกาสและ ความเสมอภาคทางสังคม สร้างการเติบโตบน
คณุ ภาพชีวติ ท่ีเป็นมติ รกบั สิ่งแวดล้อม และมภี าครฐั ของประชาชนเพือ่ ประชาชนและประโยชนส์ ว่ นรวม”
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ มีจำนวนรวม 23 ฉบับ ประกอบด้วย (1) ความมั่นคง (2) การ
ต่างประเทศ (3) การเกษตร (4) อุตสาหกรรรมและบริการแหง่ อนาคต (5) การท่องเทย่ี ว (6) พนื้ ทีแ่ ละเมอื งน่า
อยู่อจั ฉรยิ ะ (7) โครงสรา้ งพนื้ ฐาน ระบบโลจิสตกิ ส์ และดิจทิ ลั (8) ผปู้ ระกอบการและวสิ าหกิจขนาดกลาง และ
ขนาดย่อมยุคใหม่ (9) เขตเศรษฐกิจพิเศษ (10) การปรับเปลี่ยนค่านิยม และวัฒนธรรม (11) ศักยภาพคน
ตลอดช่วงชวี ิต (12) การพฒั นาการเรยี นรู้ (13) การเสรมิ สรา้ งให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดี (14) ศักยภาพการกีฬา
(15) พลังทางสังคม (16) เศรษฐกิจฐานราก (17) ความเสมอภาคและหลักประกันทางสงั คม (18) การเติบโต
อย่างยั่งยืน (19) การบรหิ ารจดั การน้ำทัง้ ระบบ (20) การบรกิ ารประชาชนและประสิทธิภาพภาครัฐ (21) การ
ต่อต้านการทจุ ริตและประพฤติมิชอบ (22) กฎหมายและกระบวนการยุติธรรม และ (23) การวจิ ยั และพัฒนา
นวตั กรรม
โครงสร้างของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติทั้ง 23 ฉบับมีองค์ประกอบหลัก 2 ส่วน ได้แก่ (1)
ประเด็นแผนแม่บท ประกอบด้วย เป้าหมาย ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมายในระดับประเด็น เพื่อใช้ติดตาม
ประเมินผลการดำเนินงานในระดับผลลัพธ์ขั้นกลาง และ (2) แผนย่อยของแผนแม่บทฯ ประกอบด้วย
เปา้ หมาย ตวั ชีว้ ดั และค่าเปา้ หมายในระดับ เพื่อใชต้ ดิ ตามประเมนิ ผลการดำเนินงานในระดบั ผลลัพธข์ นั้ ต้น
การดำเนินการขับเคลื่อนแผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 23 ประเด็น ที่กระทรวงศึกษาธิการเปน็
หน่วยงานเจ้าภาพ ได้แก่ ประเด็นที่ 11 การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต และประเด็นที่ 12 การ
พัฒนาการเรยี นรู้
แผนการปฏริ ปู ประเทศ ด้านการศกึ ษา
1. เรอ่ื งการปฏิรปู การพฒั นาเด็กเล็กและเดก็ กอ่ นวัยเรียน
1.1 ประเด็นการพัฒนาระบบดูแล พัฒนา และจัดการเรียนรู้ เพื่อให้เด็กปฐมวัยได้รับการพัฒนา
รา่ งกาย จติ ใจ วนิ ยั อารมณ์ สังคม และสติปญั ญาใหส้ มกับวัย
1.2 กิจกรรมและเป้าหมายกิจกรรม : การสนับสนุนการยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา
ก่อนประถมศึกษาในพื้นที่ การดำเนินโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย เพื่อจัดการศึกษา
ให้นกั เรียนในระดับกอ่ นประถมศกึ ษา
2. เรอื่ งการปฏริ ปู เพ่ือลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา
2.1 ประเดน็
1) การจัดการศึกษาสำหรับบุคคลพิการ บุคคลที่มีความสามารถพิเศษ และบุคคลท่ีมีความ
ตอ้ งการจำเปน็ พเิ ศษ
2) การดำเนินการเพอ่ื ลดความเหลือ่ มลำ้ ทางการศกึ ษา
3) การยกระดบั คุณภาพการจดั การศึกษาในพน้ื ทีห่ า่ งไกล หรอื สถานศึกษาท่ตี ้องมีการยกระดับ
คณุ ภาพอยา่ งเร่งดว่ น
2.2 กจิ กรรมและเป้าหมายกิจกรรม
แผนพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 13
1) การจัดการศึกษาและพัฒนาสมรรถภาพเด็กพิการในโรงเรียนเฉพาะความพิการในศูนย์
การศึกษาพเิ ศษ ในโรงเรียนเรียนรว่ ม เพ่ือใหเ้ ดก็ พกิ ารได้รับการศึกษาและพฒั นาสมรรถภาพ
2) การจัดการศึกษาสำหรับเด็กด้อยโอกาสในโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ เพื่อให้เด็ก
ด้อยโอกาสไดร้ ับการศึกษา
3) การสนับสนนุ คา่ ใช้จา่ ยในการจัดการศึกษาตั้งแตร่ ะดบั อนุบาลจนจบการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน
4) การสง่ เสริมให้เกิดการพัฒนานกั เรยี นในพื้นท่ีพเิ ศษ ไดแ้ ก่ โรงเรยี นพื้นท่ีสูงในถิ่นทุรกันดาร
โรงเรียนพื้นที่เกาะแก่ง และโรงเรียนในพื้นที่ข้างเคียงโครงการพัฒนาดอยตุง อันเนื่องมาจาก
พระราชดำริใหไ้ ด้รับโอกาสทางการศึกษาอยา่ งทั่วถงึ และมคี ุณภาพ
5) การส่งเสริมการจัดการศึกษาด้านเทคโนโลยีทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) และเทคโนโลยี
ทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ (DLIT)
2.3 เป้าหมายกิจกรรม : จัดการศึกษาให้นักเรียนในระดับก่อนประถมศึกษาจนจบการศึกษาขั้น
พ้นื ฐาน
3. เร่อื งการปฏริ ปู กลไกและระบบการผลิต คัดกรอง และพฒั นาผปู้ ระกอบวิชาชพี ครแู ละอาจารย์
3.1 ประเดน็ การพัฒนาวิชาชีพครู
3.2 กิจกรรมและเป้าหมายกิจกรรม การพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศและ
พฒั นาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพครู เพอ่ื พัฒนาศักยภาพครใู หม้ ีความพร้อมในการจดั การเรยี นการสอน สอดรับ
กบั ทกั ษะทจี่ ำเป็นในศตวรรษที่ 21
4. เรอื่ งการปฏิรูปการจดั การเรียนการสอนเพอื่ ตอบสนองการเปลย่ี นแปลงในศตวรรษที่ 21
4.1 ประเด็น
1) การปรบั หลกั สูตร พรอ้ มกระบวนการจัดการเรยี นการสอน และการประเมินเพ่อื พฒั นาการ
เรยี นรู้ เป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะ
2) ระบบการประกนั การประเมิน และการรับรองคุณภาพการศึกษา
3) ระบบความปลอดภัย และระบบสวสั ดิภาพของผเู้ รียน
4) การจดั การศกึ ษาเพ่อื เสริมสรา้ งคณุ ธรรมและจริยธรรม
4.2 กิจกรรมและเป้าหมายกิจกรรม
1) การพัฒนาหลักสูตรกระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล เพื่อให้ผู้เรียนและ
ประชาชนได้รบั การศึกษาท่ีมีคุณภาพและมีมาตรฐาน เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างทั่วถึง พร้อมทั้งมีทักษะ
และศกั ยภาพในการประกอบอาชพี ทส่ี อดคล้องกับความตอ้ งการของประเทศ
2) การขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน การพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ทั้งโรงเรียน
คุณภาพประจำตำบล โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจ ภาคตะวันออก การจ้างครู
คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ในโรงเรียนประถมศึกษา โรงเรียนขยายโอกาส โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็ก เพ่ือ
พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาให้เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ ที่หลากหลาย รวมถึงแนวโน้มของสังคมท่ี
เปล่ียนแปลงไปและสอดคล้องกบั การพฒั นาของประเทศ
3) การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันป้องกัน
ยาเสพตดิ ในกลุ่มเด็กและเยาวชนมิใหเ้ ป็นผู้เสพรายใหม่ พฒั นากระบวนการระบบติดตาม ดูแล ชว่ ยเหลือกลุ่ม
เด็กและเยาวชนที่มีปัญหายาเสพติด สร้างและพัฒนาระบบรองรับสนับสนุนการคืนเด็กดี สู่สังคม เสริมสร้าง
มาตรฐานในการปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หาในกลุม่ เป้าหมาย ซ่ึงจะส่งผลใหป้ ระเทศไทย มคี วามมนั่ คง
แผนพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ปงี บประมาณ พ.ศ.2565 14
4) การเสริมสร้างระเบียบวินัย คุณธรรม และจริยธรรม เพื่อให้ นักเรียน ครู ผู้บริหาร และ
บุคลากรทางการศกึ ษาตระหนักรู้ เขา้ ใจ และมีกระบวนการคดิ อย่างมเี หตุผล ซึมซบั คุณคา่ แหง่ คุณธรรมความ
ดีอย่างเปน็ ธรรมชาติและสร้างความร้สู กึ ผดิ ชอบชวั่ ดี ภูมิใจในการทำความดี อกี ทัง้ สร้างเครือข่ายชุมชนองค์กร
แหง่ คณุ ธรรม โดยขอความร่วมมอื จากหนว่ ยงาน และองค์กรทท่ี ำงานด้านคุณธรรมอย่างเปน็ รปู ธรรม
5. เรอื่ งการปฏริ ูปการศกึ ษาและการเรยี นร้โู ดยการพลิกโฉมดว้ ยระบบดจิ ทิ ลั
5.1 ประเด็นการปฏริ ปู การเรยี นรู้ด้วยดิจิทัลผ่านแพลตฟอร์มการเรียนร้ดู ว้ ยดจิ ิทัลแห่งชาติ
5.2 กิจกรรมและเป้าหมายกิจกรรม การพัฒนาสื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา เพื่อ
สง่ เสริมการจัดการศึกษาดา้ นเทคโนโลยที างไกลผา่ นดาวเทียม (DLTV) และเทคโนโลยีทางไกล
แผนระดับที่ 3
แผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2560 – 2579
เป็นแผนยุทธศาสตร์ด้านการศึกษาระยะยาว โดยมุ่งจัดการศึกษาให้คนไทยทุกคนสามารถเข้าถึง
โอกาสและความเสมอภาคในการศึกษาที่มีคุณภาพ พัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ
พัฒนากำลังคนให้มีสมรรถนะในการทำงานที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดงาน และการพัฒนา
ประเทศ เพอ่ื ให้หน่วยงานทเ่ี กี่ยวข้องกับการจัดการศกึ ษาไดน้ ำไปเป็นกรอบและแนวทาง การพฒั นาการศึกษา
และการเรียนรู้สำหรับพลเมืองทุกช่วงวัยตั้งแต่แรกเกิดจนตลอดชีวิต ภายใต้บริบทเศรษฐกิจและสังคม ของ
ประเทศและของโลกที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ รวมทั้งความเป็นพลวัตร เพื่อให้
ประเทศไทยสามารถก้าวข้ามกับดักประเทศที่มีรายได้ปานกลางไปสู่ประเทศ ที่พัฒนาแล้ว ซึ่งภายใต้กรอบ
แผนการศึกษาแห่งชำติ พ.ศ. 2560 - 2579 ได้กำหนดสาระสำคัญสำหรับบรรลุเป้าหมาย ของการพัฒนา
การศึกษาใน 5 ประการ ได้แก่ การเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา (Access) ความเท่าเทียมทางการศึกษา
(Equity) คุณภาพการศึกษา (Quality) ประสิทธิภาพ (Efficiency) และตอบโจทย์บริบทเปลี่ยนแปลง
(Relevancy) ในระยะ 20 ปีข้างหน้า และมียุทธศาสตร์ 6 ประการ คือ 1) การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคง
ของสังคม และประเทศชาติ 2) การผลติ และพัฒนากำลังคน การวจิ ัยและนวัตกรรม เพ่ือสร้างขดี ความสามารถ
ในการแข่งขันของประเทศ 3) การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 4) การ
สร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา 5) การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพ
ชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 6) การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา และแผนแม่บท
ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติได้กำหนดประเด็นการพัฒนาไว้ 23 ประเด็น มีประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา
โดยเฉพาะ คือ ประเดน็ ท่ี 11 การพัฒนาศักยภาพคนตลอดชว่ งชีวติ และประเดน็ ท่ี 12 การพฒั นาการเรียนรู้
แผนปฏิบตั ิราชการ ระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563 - 2565) ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
กระทรวงศึกษาธิการ ได้จัดทำแผนปฏิบัติราชการระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563 - 2565) ที่สอดคล้อง
เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 - 2580 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรูปประเทศ
แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) นโยบายและแผนระดับชาติ ว่าด้วย
ความม่นั คง เพ่ือใหท้ กุ ส่วนราชการในสังกดั กระทรวงศึกษาธิการ ใชเ้ ปน็ กรอบแนวทางในการจดั ทำแผนปฏิบัติ
ราชการ ซ่งึ มสี าระสาคัญ 5 เร่อื ง ไดแ้ ก่
1) การจดั การศกึ ษาเพ่ือความมน่ั คงของสงั คมและประเทศชาติ
แผนพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 15
2) การผลิตและพัฒนากำลังคน การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อสร้างขีดความสามารถในการแขง่ ขันของ
ประเทศ
3) การพัฒนาศกั ยภาพคน ทุกชว่ งวัยและการสรา้ งสังคมแหง่ การเรียนรู้
4) การสร้างโอกาสความเสมอภาคและความเท่าเทยี มทางการศกึ ษา และ
5) การพฒั นาประสิทธิภาพของระบบบรหิ ารจัดการศกึ ษา
แผนพฒั นาการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน (พ.ศ. 2564 - 2565) สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน
การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นการศึกษาเพื่อเป็นรากฐานในการพัฒนาประเทศให้ผู้เรียน มี
โอกาสไดร้ ับการศกึ ษาขั้นพื้นฐานอยา่ งทัว่ ถงึ และมีคณุ ภาพตามมาตรฐาน มที ักษะทีจ่ ำเปน็ สามารถแก้ปัญหา
ปรบั ตัว สื่อสาร และทำงานร่วมกับผู้อนื่ ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิผล มวี ินัย มนี ิสยั ใฝก่ ารเรียนรู้ และเป็นพลเมืองที่รู้
สิทธิและหน้าที่ มีความรับผิดชอบ มีจิตสาธารณะ มีความรักและความภาคภูมิใจในความเป็นไทย สำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน ซึ่งเป็นหนึ่งในหนว่ ยงานของรัฐ ที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงได้กำหนด
ทิศทางในการพัฒนาการศึกษาข้ันพื้นฐานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 - 2565 ซึ่งประกอบด้วย วิสัยทัศน์
พันธกิจ เป้าประสงค์ และกลยทุ ธ์ ดงั นี้
วสิ ยั ทศั น์ สร้างคุณภาพทุนมนษุ ย์ สู่สังคมอนาคตทยี่ ง่ั ยนื
พนั ธกจิ
1. จัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติ และการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตย อนั มพี ระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ
2. จัดการศึกษาให้ผู้เรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา และสถานศึกษา ได้รับความปลอดภัย
จากภยั พบิ ัติ ภยั คกุ คามทกุ รูปแบบ เพื่อรองรบั วถิ ีชีวติ ใหม่
3. พัฒนาศักยภาพและคณุ ภาพผู้เรียนให้มีสมรรถนะตามหลกั สตู รและคุณลกั ษณะในศตวรรษท่ี 21
4. พฒั นาผเู้ รียนให้มคี วามสามารถและมีความเป็นเลิศทางวิชาการ เพ่อื สร้างขีดความสามารถ ใน
การแขง่ ขนั
5. สร้างโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหลื่อมล้ำ ให้ผู้เรียนทุกคนได้รับบริการทางการศึกษา
อย่างทั่วถงึ และเท่าเทียม
6. พัฒนาผู้บรหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาให้เป็นมอื อาชีพ มสี มรรถนะด้านภาษา และการ
ใช้เทคโนโลยีดจิ ทิ ัล
7. จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง และเป้าหมายการพัฒนาทีย่ ่ังยืน (Sustainable Development Goals: SDGs)
8. พัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาทุกระดับ และจัดการศึกษา โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
(Digital Technology)
เปา้ ประสงค์
1. ผู้เรียนทุกช่วงวัยในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดม่ัน
การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ เป็นพลเมอื งท่ีรู้สทิ ธแิ ละหนา้ ที่ อย่างมี
ความรับผิดชอบ มีจิตสาธารณะ มคี วามรกั และความภูมิใจในความเป็นไทย
แผนพัฒนาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 16
2. ผู้เรียนทุกช่วงวัยในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพ ตามมาตรฐาน
สอดคล้องกับศักยภาพ ให้เป็นผู้มีสมรรถนะและทักษะที่จำเป็นสำหรับอนาคต มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถ
วางแผนในการศึกษาตอ่ เพื่อการมีงานทำ และสามารถปรับตัวในการดำรงชีวิตอย่ใู นสงั คมอย่างมคี วามสขุ
3. ผู้เรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา และสถานศึกษา ได้รับการดูแลความปลอดภัย
จากภัยพิบัติและภัยคุกคามทุกรูปแบบ สามารถปรับตัวต่อโรคอุบัติใหม่ โรคอุบัติซ้ำ และรองรับวิถีชีวิตใหม่
รวมถงึ การจดั สภาพแวดลอ้ มทีเ่ อื้อตอ่ การมีสขุ ภาวะทด่ี ี 16
4. ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ มีสมรรถนะ ความรู้ ความ
เช่ยี วชาญ และจรรยาบรรณตามมาตรฐานวชิ าชีพ
5. สถานศึกษาจัดการศึกษาเพื่อการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable
Development Goals : SDGs) และสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกบั สิ่งแวดล้อม ตามหลักปรัชญา ของ
เศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาครูให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี เชื่อมโยงนโยบายด้านดิจิทัล ของ
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร และนโยบายดา้ นปญั ญาประดษิ ฐ์
6. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา สถานศึกษา มี
สมดุลในการบริหารจัดการเชิงบูรณาการ มีการกำกับ ติดตาม ประเมินผล มีระบบข้อมูลสารสนเทศ ที่มี
ประสิทธิภาพ และการรายงานผลอย่างเป็นระบบใช้งานวิจัย เทคโนโลยี และนวัตกรรมในการขับเคลื่อน
คณุ ภาพการศกึ ษา
แผนปฏบิ ตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน
แผนปฏิบตั กิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน มี
สาระสำคัญภาพรวม ประกอบด้วย วิสยั ทศั น์ พันธกจิ ผลสมั ฤทธ์ิและเป้าหมายการใหบ้ ริการหน่วยงาน และกล
ยทุ ธ์หนว่ ยงาน 4 เร่อื ง ดงั น้ี
ภาพรวม
วิสัยทัศน์ “สรา้ งคณุ ภาพทุนมนุษย์ สู่สงั คมอนาคตทีย่ ่งั ยืน”
พันธกจิ
1. จัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติและการปกครอง ในระบอบ
ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
2. พัฒนาผู้เรยี นให้มคี วามสามารถความเปน็ เลศิ ทางวชิ าการเพ่อื สรา้ งขดี ความสามารถในการแข่งขนั
3. พัฒนาศักยภาพและคณุ ภาพผูเ้ รยี นใหม้ ีสมรรถนะตามหลกั สูตรและคุณลักษณะ ในศตวรรษ ที่ 21
4. สร้างโอกาสความเสมอภาค ลดความเหลื่อมล้ำให้ผู้เรียนทุกคนได้รับบริการทางการศึกษา
อย่างท่ัวถึงและเทา่ เทียม
5. พัฒนาผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษาให้เปน็ มืออาชีพ
6. จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง และเปา้ หมายการพัฒนาทย่ี ง่ั ยืน (Sustainable Development Goals : SDGs)
7. ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการศกึ ษาทกุ ระดับ และจัดการศกึ ษา โดยใช้เทคโนโลยี
ดิจทิ ลั
แผนพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 17
ผลสมั ฤทธ์ิและเปา้ หมายการให้บรกิ ารหน่วยงาน
1. ผู้เรยี นมีความพรอ้ มในการรับมือกับภัยคุกคามรูปแบบใหม่ทุกรปู แบบ รวมถึงผูเ้ รียน ในเขตพัฒนา
พเิ ศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้รบั การศึกษาสอดคลอ้ งกับอตั ลักษณข์ องจังหวัดชายแดนภาคใต้
2. ผู้เรียนได้รับการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพชีวิตที่มีคุณภาพ และส่งเสริมทักษะ ที่จำเป็น
ในศตวรรษที่ 21
3. ประชากรทกุ กลุ่มเป้าหมายได้รบั โอกาสในการเข้าถึงบรหิ ารการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน ที่มีคุณภาพและมี
มาตรฐาน อยา่ งเสมอภาคและเทา่ เทียมกนั
4. ผู้เรียนได้รับการพฒั นาใหม้ คี วามรู้ มที กั ษะ ความเปน็ เลิศทางวิชาการ เพ่ือตอบสนองความต้องการ
ของประเทศ
5. พัฒนาระบบบริหารจัดการเพอ่ื เพ่ิมประสิทธิภาพใหส้ งู ข้นึ
กลยทุ ธห์ น่วยงาน
กลยุทธ์ที่ 1 สง่ เสริมการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมคี วามปลอดภัยจากภัยทกุ รปู แบบ
กลยุทธท์ ี่ 2 สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาใหก้ ับประชากรวยั เรยี นทกุ คน
กลยุทธท์ ่ี 3 ยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษาให้สอดคล้องกบั การเปลีย่ นแปลงในศตวรรษท่ี 21
กลยุทธ์ท่ี 4 เพิม่ ประสิทธภิ าพการบริหารจัดการศึกษา
นโยบายการจัดการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 - 2565
นโยบายการจดั การศกึ ษา 12 ข้อ ดังน้ี
ขอ้ 1 การปรบั ปรุงหลักสตู รและกระบวนการเรียนร้ใู ห้ทันสมัย และทนั การเปล่ียนแปลงของโลก ใน
ศตวรรษท่ี 21 โดยมุ่งพัฒนาผเู้ รียนทกุ ระดับการศึกษาใหม้ ีความรู้ ทกั ษะและคณุ ลักษณะท่ีเหมาะสมกับบริบท
สังคมไทย
ข้อ 2 การพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครูและอาจารย์ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ
อาชีวศึกษาให้มีสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัล เพื่อให้ครูและอาจารย์ได้รับการพัฒนาให้มีสมรรถนะ
ท้งั ดา้ นการจดั การเรยี นรู้ ด้วยภาษาและดจิ ิทัล สามารถปรบั วธิ ีการเรียนการสอนและการใช้สือ่ ทันสมัย และมี
ความรบั ผดิ ชอบต่อผลลพั ธ์ทางการศกึ ษาท่ีเกิดกบั ผู้เรยี น
ข้อ 3 การปฏริ ูปการเรียนรดู้ ว้ ยดิจทิ ัลผ่านแพลตฟอรม์ การเรียนรูด้ ว้ ยดิจิทัลแหง่ ชาติ (NDLP) และการ
ส่งเสริมการฝกึ ทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน เพื่อให้มีหน่วยงานรับผิดชอบพัฒนาแพลตฟอร์มการเรียนรู้ดว้ ย
ดิจิทัลแห่งชาติ ที่สามารถนำไปใช้ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่ทันสมัยและเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ ได้อย่าง
กว้างขวางผ่านระบบออนไลน์ และการนำฐานข้อมูลกลางทางการศึกษามาใช้ประโยชน์ในการพัฒนา
ประสิทธิภาพการบริหารและการจดั การศึกษา
ข้อ 4 การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารและการจัดการศึกษา โดยการส่งเสริมสนับสนุน
สถานศึกษาให้มีความเป็นอิสระและคล่องตัว การกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษาโดยใช้
จังหวัดเป็นฐาน โดยอาศัยอำนาจตามกฎหมายการศึกษาแห่งชำติที่ได้รับการปรับปรุงเพื่อกำหนดให้มีระบบ
บริหารและการจัดการ รวมถึงการจัดโครงสร้างหน่วยงานให้เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนให้มีคุณภาพ
แผนพัฒนาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ปงี บประมาณ พ.ศ.2565 18
สถานศึกษาให้มีความเป็นอิสระและคล่องตัว การบริหารและการจัดการศึกษาโดยใช้จังหวัดเป็นฐาน
มรี ะบบการบริหารงานบุคคลโดยยดึ หลักธรรมาภิบาล
ข้อ 5 การปรับระบบการประเมินผลการศึกษาและการประกันคุณภาพ พร้อมจัดทดสอบ วัดความรู้
และทักษะที่จำเป็นในการศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาทั้งสายวิชาการและสายวิชาชีพ เพื่อให้ระบบ
การประเมินผลการศึกษาทุกระดับและระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ได้รับการปรับปรุงให้ทันสมัย
ตอบสนองผลลัพธท์ างการศกึ ษาไดอ้ ย่างเหมาะสม
ขอ้ 6 การจัดสรรและการกระจายทรพั ยากรใหท้ ่วั ถึงทกุ กลุ่มเป้าหมาย รวมถงึ การระดมทรัพยากรทาง
การศกึ ษาจากความรว่ มมือทกุ ภาคส่วน เพอื่ ใหก้ ารจดั สรรทรพั ยากรทางการศึกษา มคี วามเปน็ ธรรมและสร้าง
โอกาสให้กลุ่มเป้าหมายได้เข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพทัดเทียมกลุ่มอื่น ๆ กระจายทรัพยากร ทั้งบุคลากร
ทางการศึกษา งบประมาณ และส่อื เทคโนโลยไี ด้อยา่ งทัว่ ถึง
ข้อ 7 การนำกรอบคุณวฒุ แิ ห่งชาติ (NQF) และกรอบคุณวุฒิอา้ งอิงอาเซยี น (AQRF) สูก่ ารปฏบิ ัติ เป็น
การผลิตและการพัฒนากำลังคนเพื่อการพัฒนาประเทศโดยใช้กรอบคุณวุฒิแห่งชาติเชื่อมโยงระบบ
การศึกษาและการอาชีพโดยใช้กลไกการเทียบโอนประสบการณ์ด้วยธนาคารหน่วยกิต และการจัดทำ
มาตรฐานอาชีพในสาขาที่สามารถอา้ งองิ อาเซยี นได้
ข้อ 8 การพฒั นาเด็กปฐมวัยให้ได้รับการดูแลและพัฒนากอ่ นเข้ารบั การศึกษาเพอ่ื พัฒนารา่ งกาย จิตใจ
วนิ ยั อารมณ์ สงั คม และสติปญั ญาให้สมกับวยั เพ่อื เป็นการขับเคล่อื นแผนบรู ณาการการพฒั นา เด็กปฐมวัย
ตามพระราชบัญญัติการพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2562 สู่การปฏิบัติเป็นรูปธรรม โดยหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง
นำไปเปน็ กรอบในการจดั ทำแผนปฏบิ ตั ิการเพื่อพฒั นาเด็กปฐมวัย และมกี ารตดิ ตามความกา้ วหนา้ เป็นระยะ
ข้อ 9 การศึกษาเพื่ออาชีพและสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ เพื่อให้ผู้จบ
การศึกษาระดับปริญญา และอาชีวศึกษามอี าชีพและรายได้ที่เหมาะสมกบั การดำรงชพี และคุณภาพชีวิตท่ดี ีมี
ส่วนชว่ ยเพิม่ ขีดความสามารถในการแชง่ ขนั ในเวทีโลกได้
ข้อ 10 การพลิกโฉมระบบการศึกษาไทยด้วยการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้
ในการจัดการศึกษาทกุ ระดับการศึกษา เพ่ือใหส้ ถาบนั การศกึ ษาทุกแหง่ นำนวัตกรรมและเทคโนโลยีท่ีทันสมัย
มาใชใ้ นการจัดการศึกษาผ่านระบบดิจิทัล
ข้อ 11 การเพิ่มโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาท่ีมคี ุณภาพของกลุ่มผู้ด้อยโอกาสทางการศึกษา และ
ผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ เพื่อเพิ่มโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพของกลุ่ม
ผู้ดอ้ ยโอกาสทางการศึกษา และผเู้ รยี นทีม่ คี วามตอ้ งการจำเป็นพิเศษ
ข้อ 12 การจดั การศกึ ษาในระบบ นอกระบบ และตามอธั ยาศัย โดยยืดหลักการเรียนรู้ตลอดชีวิตและ
การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อเพิ่มโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ ของกลุ่ม
ผดู้ ้อยโอกาสทางการศึกษาและผู้เรียนท่มี คี วามต้องการจำเปน็ พิเศษ
นโยบายระยะเรง่ ดว่ น (Quick Win) ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
1. ความปลอดภัยของผู้เรียน โดยจัดให้มีรูปแบบ วิธีการ หรือกระบวนการในการดูแลช่วยเหลือ
นกั เรียน เพือ่ ใหผ้ ้เู รยี นเกิดการเรียนรูอ้ ย่างมีคุณภาพ มคี วามสุข และไดร้ ับการปกป้องคมุ้ ครองความปลอดภัย
ทั้งด้านร่างกายและจิตใจ รวมถึงการสร้างทักษะให้ผู้เรียนมีความสามารถในการดูแลตนเองจากภัยอันตราย
ต่าง ๆ ท่ามกลางสภาพแวดล้อมทางสังคม
แผนพฒั นาข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 19
2. หลกั สตู รฐานสมรรถนะ มงุ่ เนน้ การจัดการเรยี นร้ทู หี่ ลากหลายโดยยึดความสามารถของผู้เรียนเป็น
หลกั และพฒั นาผูเ้ รยี นใหเ้ กิดสมรรถนะทต่ี อ้ งการ
3. ฐานข้อมูล Big Data พัฒนาการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบและไม่ซ้ำช้อน เพื่อให้ได้ข้อมูลภาพ
รวมการศึกษาของประเทศที่มีความครบถ้วน สมบูรณ์ ถูกต้องเป็นปัจจุบัน และสำมารถนำมาใช้ประโยชนไ์ ด้
อย่างแท้จริง
4. ขับเคลื่อนศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) สนับสนุนการดำเนินงาน
ของศูนย์ความเปน็ เลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) ตามความเป็นเลิศของแต่ละสถานศึกษาและ
ตามบริบทของพื้นที่สอดคล้องกับความต้องการของประเทศทั้งในปัจจุบันและอนาคต ตลอดจนมีการจัดการ
เรียนการสอนดว้ ยเคร่ืองมอื ทท่ี นั สมยั สอดคลอ้ งกับเทคโนโลยปี ัจจุบัน
5. พัฒนาทักษะทางอาชีพ ส่งเสริมการจัดการศึกษาที่เน้นพัฒนาทักษะอาชีพของผู้เรียนเพื่อพัฒนา
คณุ ภาพชีวิต สร้างอาชีพและรายได้ทเ่ี หมาะสมและเพิม่ ขดี ความสำมารถในการแขง่ ขันของประเทศ
6. การศึกษาตลอดชีวิต การจัดเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับประชาชนทุกช่วงวัยให้มีคุณภาพและ
มาตรฐาน ประชาชนในแต่ละชว่ งวัยได้รับการศึกษาตามความต้องการอย่างมีมาตรฐาน เหมาะสม และเต็ม
ตามศักยภาพตั้งแต่วัยเด็กจนถึงวัยชรา และพัฒนาหลักสูตรที่เหมาะสมเพื่อเตรียมความพร้อม ในการเข้าสู่
สังคมผสู้ ูงวยั
7. การจัดการศึกษาสำหรับผู้ที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้ผู้ที่มีความ
ต้องการจำเป็นพิเศษได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ สำมารถดำรงชีวิตในสังคม อย่างมีเกียรติศักดิ์ศรี
เท่าเทียมกบั ผูอ้ ืน่ ในสังคม สามารถช่วยเหลือตนเอง และมสี ว่ นรว่ มในการพัฒนาประเทศ
นโยบายสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 - 2565
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตระหนักถึงนโยบายด้านการศึกษา ซึ่งถือเป็นส่วน
สำคญั ยิ่งในการพฒั นาประเทศใหบ้ รรลุเปา้ หมายอยา่ งยง่ั ยืน เป็นประเทศท่ีพฒั นาแล้วในทกุ ด้าน ดงั นัน้ เพอื่ ให้
การดำเนินการเกดิ ผลสัมฤทธ์ิและสอดคล้องกบั แผนการปฏริ ปู ประเทศ โดยเฉพาะกจิ กรรมปฏริ ปู ประเทศท่ีจะ
ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อประชาชนอยา่ งมีนัยสำคัญ (Big Rock) ที่มีความสำคัญเร่งดว่ น และสามารถ
ดำเนินการ และวัดผลได้อย่างเป็นรูปธรรมในช่วงปี พ.ศ. 2564 - 2565 ซึ่งเกี่ยวข้องกับสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้แก่ 1) การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาตั้งแต่ระดบั
ปฐมวัย 2) การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนสู่การเรียนรูฐ้ านสมรรถนะ เพื่อตอบสนองการเปลีย่ นแปลงใน
ศตวรรษที่ 21 และ 3) การสรา้ งระบบการผลติ และพฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาท่มี ีคุณภาพ จงึ กำหนด
นโยบายสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 - 2565 ดงั นี้
1. ด้านความปลอดภัย พัฒนาระบบและกลไกในการดูแลความปลอดภัยให้กับผู้เรียน ครู และ
บคุ ลากรทางการศกึ ษาและสถานศกึ ษา จากภยั พิบัตแิ ละภัยคุกคามทุกรูปแบบ รวมถึงการจัดสภาพแวดล้อมท่ี
เอ้อื ตอ่ การมีสุขภาวะทีด่ ี สามารถปรับตวั ตอ่ โรคอุบัติใหมแ่ ละโรคอบุ ตั ซิ ำ้
2. ด้านโอกาส
2.1 สนับสนุน ใหเ้ ดก็ ปฐมวัยได้เข้าเรยี นทุกคน มีพัฒนาการทด่ี ี ทั้งทางรา่ งกาย จติ ใจ วนิ ยั อารมณ์
สังคม และสตปิ ัญญา ใหส้ มกบั วยั
แผนพัฒนาขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ปงี บประมาณ พ.ศ.2565 20
2.2 ดำเนินการ ให้เด็กและเยาวชนได้รับการศึกษาจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน อย่างมีคุณภาพ
ตามมาตรฐาน วางรากฐานการศกึ ษาเพ่ืออาชีพ สามารถวิเคราะห์ตนเองเพอื่ การศกึ ษาตอ่ และประกอบอาชีพ
ตรงตามศักยภาพและความถนัดของตนเอง รวมทงั้ ส่งเสริมและพฒั นาผ้เู รียนทีม่ ีความสามารถพิเศษ สู่ความ
เป็นเลศิ เพ่อื เพิ่มขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ
2.3 พัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือเด็กและเยาวชนที่อยู่ในการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อป้องกัน ไม่ให้
ออกจากระบบการศึกษา รวมท้ังชว่ ยเหลอื เดก็ ตกหลน่ และเด็กออกกลางคนั ใหไ้ ด้รบั การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน อย่าง
เทา่ เทยี มกนั
2.4 ส่งเสริมให้เดก็ พิการและผูด้ อ้ ยโอกาส ใหไ้ ดร้ ับโอกาสทางการศกึ ษาทมี่ ีคณุ ภาพ มีทกั ษะในการ
ดำเนินชีวิต มีพื้นฐานในการประกอบอาชีพ พึ่งตนเองได้อย่างมีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง
3. ดา้ นคณุ ภาพ
3.1 ส่งเสริมการจดั การศึกษาให้ผู้เรียนมีความรู้ มีทักษะการเรียนรู้และทักษะท่ีจำเป็น ของโลกใน
ศตวรรษที่ 21 อยา่ งครบถ้วน เปน็ คนดี มวี ินยั มีความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดมนั่ การปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมุข มที ัศนคตทิ ถ่ี ูกต้องตอ่ บ้านเมอื ง
3.2 พัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ การคิดขั้นสูง นวัตกรรม
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีดิจิทัล และภาษาต่างประเทศ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
และการเลือกศกึ ษาต่อ เพื่อการมงี านทำ
3.3 ปรับหลักสูตรเป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะ ที่เน้นการพัฒนาสมรรถนะหลักที่จำเป็น ในแต่ละ
ระดับ จัดกระบวนการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติจริง รวมทั้งส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่สร้างสมดุลทุกด้าน
สง่ เสริมการจดั การศึกษาเพอ่ื พฒั นาพหุปัญญา พัฒนาระบบการวดั และประเมนิ ผลผเู้ รยี นทุกระดับ
3.4 พัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ให้เปน็ ครูยุคใหม่ มศี ักยภาพในการจัดการเรียนการสอน
ตามหลักสตู รฐานสมรรถนะ มที ักษะในการปฏิบตั ิหนา้ ที่ไดด้ ี มีความร้คู วามสามารถในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
มีการพัฒนาตนเองทางวิชาชพี อยา่ งตอ่ เนื่อง รวมทง้ั มจี ิตวิญญาณความเปน็ ครู
4. ดา้ นประสทิ ธภิ าพ
4.1 พฒั นาระบบบริหารจดั การโดยใชพ้ นื้ ท่ีเป็นฐาน มีนวัตกรรมเปน็ กลไกหลกั ในการขบั เคล่อื น บน
ฐานขอ้ มลู สารสนเทศทีถ่ ูกต้อง ทันสมัย และการมีสว่ นร่วมของทกุ ภาคส่วน
4.2 พัฒนาโรงเรียนมัธยมดีสี่มุมเมือง โรงเรียนคุณภาพของชุมชน โรงเรียนขนาดเล็ก
และโรงเรียน ที่สามารถดำรงอยู่ได้อย่างมีคุณภาพ (Stand Alone) ให้มีคุณภาพอย่างยั่งยืน สอดคล้องกับ
บรบิ ทของพ้ืนที่
4.3 บริหารจัดการโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ที่มีจำนวนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ปที ี่ 1-3 น้อยกวา่ 20 คน ใหไ้ ดร้ บั การศึกษาอยา่ งมคี ณุ ภาพ สอดคล้องกบั นโยบายโรงเรยี นคุณภาพของชมุ ชน
4.4 ส่งเสริมการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพในสถานศึกษาที่มีวัตถุประสงค์เฉพาะ และสถานศึกษา
ที่ต้ังในพืน้ ที่ลักษณะพเิ ศษ
แผนพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 21
4.5 สนับสนุนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาให้เป็นต้นแบบการพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
และการเพิม่ ความคลอ่ งตัวในการบรหิ ารและการจดั การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน
4.6 เพ่มิ ประสิทธภิ าพการนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผลการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน
จดุ เน้นของสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
จดุ เน้นท่ี 1 เรง่ แก้ปัญหากลุ่มผู้เรียนทไี่ ดร้ ับผลกระทบจากสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคโควิด-
19 โดย เพิ่มโอกาสในการเข้าถึงการศึกษา ฟื้นฟูภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ (Learning Loss Recovery)
ใหก้ ับผเู้ รยี นทกุ ระดับ รวมทั้งลดความเครยี ดและสขุ ภาพจิตของผเู้ รยี น
จุดเนน้ ที่ 2 เสรมิ สร้างระบบและกลไกในการดแู ล ความปลอดภยั นักเรียน ด้วยระบบมาตรฐานความ
ปลอดภัยกระทรวงศกึ ษาธกิ าร (MOE Safety Platform)
จุดเน้นที่ 3 ส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยที่มีอายุ 3 - 6 ปี และผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เข้าถึง
โอกาสทางการศึกษา และป้องกนั การหลุดออกจากระบบ รวมท้งั ช่วยเหลือเด็กตกหลน่ เดก็ ออกกลางคัน และ
เดก็ พิการ ท่ีคน้ พบจากการปักหมุดบา้ นเด็กพกิ าร ใหก้ ลบั เขา้ สรู่ ะบบการศกึ ษา
จุดเน้นที่ 4 พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่เน้นสมรรถนะ และการจัดทำกรอบหลักสูตร รวมทั้งจัด
กระบวนการเรยี นรทู้ างประวัติศาสตร์ หนา้ ทพ่ี ลเมอื งและศีลธรรม ให้เหมาะสมตามวัยของผเู้ รยี น
จดุ เน้นที่ 5 จัดการอบรมครูโดยใช้พ้ืนที่เปน็ ฐานควบคกู่ ับการให้ความรู้ดา้ นการวางแผนและการสร้าง
วินยั ดา้ นการเงินและการออม เพอื่ แกไ้ ขปญั หาหนี้สินครู
จุดเน้นที่ 6 ส่งเสรมิ การจดั การเรียนรู้ ผ่านกระบวนการเรียนการสอนที่เนน้ ใหผ้ ู้เรียนมสี ่วนรว่ ม และมี
ปฏิสัมพันธ์ กับกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติ ที่หลากหลายรูปแบบ (Active Learning) มีการวัดและ
ประเมินผล เพื่อพัฒนาการเรยี นรู้ของผู้เรยี น (Assessment for learning) เพอ่ื ให้เกดิ สมรรถนะกับผู้เรียนทุก
ระดับ
จุดเน้นที่ 7 ยกระดับคุณภาพของนักเรียนประจำพักนอน สำหรับโรงเรียนที่อยู่ในพื้นที่สูง ห่างไกล
และถิน่ ทรุ กันดาร
จุดเน้นที่ 8 มงุ่ เน้นการใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ิทลั เพอ่ื การเรียนรู้ทุกระดับ
จุดเน้นที่ 9 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา โดยการกระจายอำนาจและใช้พื้นที่เป็นฐาน
เพ่ือสร้างความเข้มแข็ง โดยการจัดสรรกรอบวงเงินงบประมาณ (Block Grant) ตามหลักธรรมาภิบาล ให้กับ
สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา และสถานศึกษา
แผนพัฒนาขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ปงี บประมาณ พ.ศ.2565 22
ทิศทางการดำเนินงานของสำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 1
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 1 ได้กำหนดทิศทางการดำเนินงานประจำปี
งบประมาณ พ.ศ. 2565 เพื่อใชเ้ ปน็ กรอบทศิ ทางในการดำเนินงานของหนว่ ยงานใหบ้ รรลุเป้าหมายทีก่ ำหนดไว้
อย่างมีประสิทธิภาพและประสทิ ธิผล เชื่อมโยงสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 - 2580 แผนแม่บท
ภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ แผนแมบ่ ทเฉพาะกิจภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาตอิ นั เปน็ ผลมาจากสถานการณ์โควดิ -19 พ.ศ.
2564 - 2565 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 แผนปฏิรูปประเทศ ด้านการศกึ ษา (ฉบับ
ปรับปรุง) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 แผนปฏิบัติราชการระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563 - 2565)
กระทรวงศึกษาธิการ 12 นโยบายการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการวาระเร่งด่วนของ
กระทรวงศึกษาธิการ (Quick Win) แผนปฏิบัติราชการระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563 - 2565) สำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน (พ.ศ. 2564 - 2565) สำนักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ.
2564 - 2565 แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พ.ศ. 2563 - 2565 (ฉบบั ทบทวน พ.ศ. 2565) ของสำนักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 และนโยบายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งใช้รายงานผลการ
ดำเนนิ งานในระบบติดตาม และประเมินผลแหง่ ชาติ (eMENSCR) ดังนี้
3.1 ภาพรวม
3.1.1 วิสัยทัศน์
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 1 มีคุณภาพและมาตรฐาน บรหิ ารงาน
ดว้ ยความโปร่งใส เท่ียงธรรม ตามหลกั ธรรมาภิบาล มุ่งสู่การเปน็ เมืองแหง่ คนดี และมีคณุ ภาพ
3.1.2 พันธกิจ
1. จัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติและการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมุข
2.พฒั นาผเู้ รยี นใหม้ ีความสามารถความเปน็ เลิศทางวชิ าการเพ่อื สร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน
3. พัฒนาศักยภาพและคุณภาพ ผู้เรียนให้มสี มรรถนะตามหลักสูตรและคณุ ลักษณะในศตวรรษที่
21
4. สร้างโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหลื่อมล้ำ ให้ผู้เรียนทุกคนได้รับบริการทางการศึกษา
อยา่ งท่วั ถึงและเท่าเทยี ม
5. พฒั นาศักยภาพและคณุ ภาพ ผ้บู รหิ าร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษาให้เป็นมอื อาชีพ
6. จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง และเป้าหมายการพัฒนาทยี่ ง่ั ยนื (Sustainable Development Goals : SDGs)
7. ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาทุกระดับ และจัดการศึกษาโดยใช้
เทคโนโลยีดิจทิ ัล (Digital Technology)
แผนพฒั นาข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ปงี บประมาณ พ.ศ.2565 23
3.1.3 คา่ นิยมองค์กร
B : BEST PRACTICES หมายถึง มีผลงานดีเด่น (มผี ลงานดเี ดน่ ทไี่ ด้จากการปฏบิ ัติงาน)
E : ENJOY หมายถงึ มีความสุข (ทำงานอยา่ งมคี วามสุข)
S : SERVICE MIND หมายถึง บริการด้วยใจ (ยิม้ แยม้ แจม่ ใส พูดจาไพเราะ
บรกิ ารรวดเรว็ )
T : TEAM WORK หมายถงึ การทำงานเป็นทมี (ร่วมคิด ร่วมทำ รว่ มรบั ผิดชอบ)
3.1.4 เป้าประสงค์
1. ผ้เู รียนทุกคนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และพฒั นาสคู่ วามเป็นสากล
2. ผูเ้ รียนมคี วามพรอ้ มในการรบั มอื กบั ภัยคกุ คามรปู แบบใหมท่ ุกรปู แบบ
3. ผู้เรียนทกุ คนมคี ุณธรรม จริยธรรม มคี ณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ และมที ักษะทีจ่ ำเป็นในศตวรรษที่
21
4. ประชากรวัยเรยี นทกุ คนไดร้ ับโอกาสในการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานอยา่ งทว่ั ถึงและมคี ณุ ภาพ
5. ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษาสามารถปฏิบตั ิงานไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
6. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา มีระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ
เน้นการมีส่วนรว่ มจากทุกภาคสว่ นในการจดั การศกึ ษาตามหลกั ธรรมาภิบาล
3.1.5 กลยทุ ธ์
กลยุทธ์ที่ 1 สง่ เสริมการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีความปลอดภัยจากภยั ทุกรปู แบบ
กลยุทธท์ ่ี 2 สรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาให้กบั ประชากรวัยเรียนทกุ คน
กลยุทธ์ท่ี 3 ยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษาให้สอดคลอ้ งกบั การเปลีย่ นแปลงในศตวรรษท่ี 21
กลยุทธ์ที่ 4 เพิม่ ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจัดการศึกษา
3.2 เป้าประสงคเ์ ชิงกลยุทธ์/ ตวั ชวี้ ัดความสำเร็จ/ แนวทางการพฒั นา
กลยุทธท์ ่ี 1 สง่ เสรมิ การจดั การศึกษาให้ผู้เรียนมีความปลอดภยั จากภัยทกุ รปู แบบ
เป้าหมาย ผู้เรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา และสถานศึกษาได้รับการดูแลความปลอดภัย
จากภัยพิบัติ และภัยคุกคามทุกรูปแบบ สามารถปรับตัวต่อโรคอุบัติใหม่ โรคอุบัติซ้ำ และรองรับวิถีชีวิตใหม่
รวมถงึ การจัดสภาพแวดล้อมทเ่ี อือ้ ตอ่ การมีสขุ ภาวะทด่ี ี
ตวั ชี้วัด ค่าเปา้ หมาย
ท่ี ตัวช้ีวัด คา่ เปา้ หมาย กลุม่ ผู้รับผดิ ชอบ
ปี 65
เจ้าภาพ เจา้ ภาพ
หลกั ร่วม
1 รอ้ ยละของผเู้ รยี นทเ่ี ขา้ ร่วมกจิ กรรมท่สี ง่ เสรมิ สนับสนนุ ในการ รอ้ ยละ 90 สจ. นต.
สร้างภูมิคุ้มกันพร้อมรับมือการเปล่ียนแปลงและภัยคุกคาม
รูปแบบใหม่ทุกรปู แบบ
แผนพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ปงี บประมาณ พ.ศ.2565 24
ท่ี ตวั ชว้ี ัด ค่าเปา้ หมาย กลมุ่ ผ้รู ับผิดชอบ
ปี 65
2 รอ้ ยละของครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาดำเนินการตาม เจา้ ภาพ เจา้ ภาพ
แนวทางในการจดั การภยั พิบัติ และภัยคุกคามทุกรูปแบบ รอ้ ยละ 85 หลัก รว่ ม
ให้สามารถปรบั ตัวตอ่ โรคอุบัตใิ หม่และโรคอบุ ัติซำ้ รองรับ นต. สจ./ พค.
วิถชี วี ติ ใหม่ (New Normal)
รอ้ ยละ 85 สจ. นต.
3 รอ้ ยละของสถานศกึ ษาทมี่ ีแผน/ มาตรการในการจัดการ
ภยั พิบตั ิ ภยั คกุ คามทุกรูปแบบ โรคอุบตั ิใหมแ่ ละโรคอุบัติซ้ำ รอ้ ยละ 85 นต. สจ./ พค.
รองรบั วถิ ีชีวติ ใหม่ (New Normal)
4 ร้อยละของบุคลากรทางการศกึ ษา มีความรู้ ความเข้าใจ
เรอ่ื งการจดั ระบบความปลอดภยั ตา่ ง ๆ สามารถนำความรู้
ไปถา่ ยทอดสโู่ รงเรยี นได้
แนวทางการพฒั นา
1) สร้างความตระหนัก ความรู้ ความเข้าใจแก่ครู บุคลากรทางการศึกษาให้สามารถวิเคราะห์
ประเมินสถานการณ์ความเสีย่ ง และดำเนินการตามแนวทางในการจัดการภัยพบิ ัติ และภัยคุกคามทุกรูปแบบ
ใหส้ ามารถปรับตัวต่อโรคอบุ ตั ใิ หมแ่ ละโรคอบุ ตั ซิ ้ำ รองรบั วถิ ีชีวติ ใหม่ (New Normal)
2) สง่ เสริมการพฒั นาผเู้ รียนให้มีความร้คู วามเข้าใจ รจู้ กั วธิ กี ารปอ้ งกันและแก้ไข เกยี่ วกับภยั คุกคาม
ภัยจากยาเสพติด ความรุนแรง การคุกคามในชวี ติ และทรพั ย์สิน การค้ามนุษย์ อาชญากรรมไซเบอร์ ภัยพิบัติ
และภาวะฉุกเฉนิ โรคอบุ ัติใหม่และโรคอุบตั ซิ ้ำตลอดจนพฤตกิ รรมท่พี งึ ประสงค์ ดา้ นสิง่ แวดล้อมท่ีเก่ียวข้องกับ
ความปลอดภยั
3) พฒั นากระบวนการเรียนรู้ทมี่ ่งุ เสรมิ สร้างทักษะชีวิตและทักษะอาชีพให้แก่ผู้เรียน เพ่ือรองรับภัย
พบิ ตั แิ ละภยั คุกคามทุกรูปแบบ โรคอุบตั ิใหม่และโรคอบุ ตั ซิ ้ำ
4) ส่งเสริม พัฒนาทักษะด้านดิจิทัลและด้านการเรียนรู้ด้วยตัวเอง ที่นำไปสู่ Digital Life &
Learning รวมถึงความพร้อมของครูผู้สอนในการจัดการเรียนการสอนออนไลน์เพื่อความปลอดภัยเมื่อต้อง
เผชิญกบั สถานการณ์ภยั พบิ ัติและภยั คกุ คาม
5) ส่งเสริมให้มกี ารจัดสภาพแวดล้อม และสรา้ งระบบนเิ วศน์ การเรยี นรู้ ท่ีปลอดภัย ในสถานศึกษา
ใหผ้ เู้ รียนมคี วามปลอดภยั มีความอบอนุ่ และมคี วามสุขในสถานศึกษา
6) เสริมสร้างแนวทางการป้องกันและแก้ปัญหาจากภัยคุกคามทุกรูปแบบได้อย่างทันท่วงที เช่น
ภัยคุกคามทางไซเบอร์ การแสดงออกที่ไม่เหมาะสม พฤติกรรมกลั่นแกล้งรังแกผู้อื่น (Bully) ความรุนแรง
ในสถานศกึ ษา การล่วงละเมดิ ทางเพศ และยาเสพตดิ โดยความรว่ มมอื จากภาคีเครือขา่ ย
7) พัฒนาระบบและรูปแบบการป้องกันภัยทุกรูปแบบ รวมทั้งเสริมสร้างสวัสดิการให้ครู และ
บคุ ลากรทางการศึกษามขี วญั และกำลงั ใจในการปฏบิ ตั งิ าน
แผนพฒั นาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 25
กลยุทธท์ ี่ 2 สรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษาให้กับประชากรวัยเรยี นทกุ คน
เปา้ หมาย
1) เด็กปฐมวยั ได้เข้าเรยี นทกุ คน มีพฒั นาการสมวัย
2) ประชากรวัยเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างเสมอภาคจนจบ
การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน
3) ผ้เู รยี นทม่ี ีความสามารถพเิ ศษได้รับการส่งเสรมิ และพัฒนาสคู่ วามเป็นเลิศ
4) เดก็ กลมุ่ เสี่ยงที่จะออกจากระบบการศกึ ษา เดก็ ตกหลน่ และเดก็ ออกกลางคนั ได้รับการช่วยเหลือ
ให้ได้รบั การศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน
5) เด็กพิการและผู้ดอ้ ยโอกาส ได้รับโอกาสทางการศกึ ษาทีม่ ีคุณภาพ
ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย
ท่ี ตัวช้ีวัด ค่าเปา้ หมาย กลุ่มผู้รับผดิ ชอบ
ปี 65 เจ้าภาพ เจ้าภาพ
1 อตั ราการเขา้ เรียนสุทธิ หลกั รว่ ม
- ระดับปฐมวัย ร้อยละ 100
- ระดับประถมศกึ ษาปที ่ี 1 ร้อยละ 100 สจ. -
- ระดับมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 รอ้ ยละ 100
รอ้ ยละ 95 สจ. นต.
2 ร้อยละของผู้เรียนที่เป็นผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาสเข้าถึง
บริการทางการศึกษา และพฒั นาสมรรถภาพหรือบริการ รอ้ ยละ 30 สจ. นผ.
ทางการศกึ ษาทีเ่ หมาะสม ตามความจำเป็น 200 คน นต. -
3 ร้อยละของผู้เรียนที่ได้รับเงินอุดหนุนปัจจัยพื้นฐาน รอ้ ยละ 80 นต. DLICT
สำหรับนกั เรยี นยากจน
ร้อยละ 90 สจ. นต.
4 จำนวนผู้เรียนได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพตาม
ความถนัด และความสามารถ (วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
ทัศนศิลป์ นาฏศิลป์ ดนตรี กีฬา)
5 ร้อยละของสถานศึกษานำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้เป็น
เคร่ืองมือในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนได้
อย่างมีประสิทธิภาพ
6 ร้อยละของสถานศึกษามีระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
และการแนะแนวที่มีประสิทธิภาพ
แนวทางการพฒั นา
แผนพัฒนาขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ปงี บประมาณ พ.ศ.2565 26
1) สร้างโอกาสในการเข้าถงึ การศึกษาระดบั ปฐมวัยอย่างเสมอภาค โดยการค้นหา เฝ้าระวงั ติดตาม
และช่วยเหลือเด็กปฐมวัย (3 - 5 ปี) ทุกคน ให้ได้รับการดูแลและส่งเสริมพัฒนาการจากสถานศึกษาระดับ
ปฐมวยั ทม่ี ีคุณภาพ ตามมาตรฐานสถานพฒั นาเด็กปฐมวัยแหง่ ชาติ
2) สร้างโอกาสและความเสมอภาคการเข้าถึงการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีคุณภาพให้แก่ประชากรวัย
เรียนทุกคนอย่างต่อเนื่อง โดยจัดการศึกษาตามขีดความสามารถของผู้เรียน ความถนัดและศักยภาพ
ของแต่ละบุคคล วางรากฐานการศึกษาเพอ่ื อาชีพ
3) ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาดำเนินการค้นหา เฝ้าระวัง ติดตาม และประสานช่วยเหลือ
ประชากรวัยเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่อยู่นอกระบบการศึกษาให้เข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ
และไดร้ ับการพัฒนาตามศกั ยภาพของแต่ละบุคคล และสนบั สนุนใหม้ ีข้อมลู องคค์ วามรู้ และแนวทาง/วธิ ีการ/
เคร่ืองมอื ทีจ่ ำเป็นในการป้องกันนกั เรยี นออกจากระบบการศึกษา
4) พัฒนารูปแบบและวิธีการจัดการเรียนรู้ สื่อ เทคโนโลยี สิ่งอำนวยความสะดวกทางการศึกษา
สำหรับคนพิการ การวัดและประเมนิ ผลที่เหมาะสมกับการพัฒนาศักยภาพของเด็กพิการและเด็กด้อยโอกาส
5) สง่ เสริม พฒั นาการใชเ้ ทคโนโลยีดิจิทัลในการสร้างโอกาสทางการศึกษา
6) ระดมการมีส่วนร่วมของสังคมอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างโอกาส และลดความเหลื่อมล้ำ
ทางการศกึ ษา
กลยทุ ธ์ท่ี 3 ยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาให้สอดคล้องกบั การเปล่ียนแปลงในศตวรรษที่ 21
เปา้ หมาย
1) ผู้เรียนทุกช่วงวัยในระดับการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน มีความรักในสถาบันหลกั ของชาติ และยึดมัน่ การ
ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เป็นพลเมืองที่รู้สิทธิและหน้าที่ อย่างมี
ความรับผิดชอบ มจี ติ สาธารณะ มคี วามรักและความภมู ิใจในความเปน็ ไทย
2) ผู้เรียนทุกช่วงวัยในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพ ตามมาตรฐาน
สอดคล้องกบั ศกั ยภาพ ให้เปน็ ผ้มู สี มรรถนะและทกั ษะที่จำเปน็ ในศตวรรษท่ี 21
3) ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของ
เทคโนโลยีมีสมรรถนะ ความรู้ ความเชี่ยวชาญ จรรยาบรรณและมาตรฐานวิชาชีพ มีความพร้อมทั้งทางด้าน
วชิ าการ เชี่ยวชาญวิชาชีพ มจี รรยาบรรณ และจิตวญิ ญาณความเปน็ ครู
4) สถานศึกษาจัดการศึกษาเพื่อการบรรลุเป้าหมายการพัฒ นาอย่างยั่งยืน (Sustainable
Development Goals : SDGs) และสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตามหลักปรัชญา ของ
เศรษฐกจิ พอเพียง
ตวั ชี้วัด คา่ เปา้ หมาย
ท่ี ตัวชว้ี ัด คา่ เปา้ หมาย กลุ่มผู้รับผิดชอบ
ปี 65
1 รอ้ ยละของนกั เรยี นปฐมวยั มีคุณภาพตามหลักสตู รการศกึ ษา เจา้ ภาพ เจา้ ภาพ
ปฐมวยั ร้อยละ 90 หลกั รว่ ม
นต. -
2 รอ้ ยละของผเู้ รียนมคี ุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ระดบั ดขี นึ้ ไป
รอ้ ยละ 95 นต. -
แผนพฒั นาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 27
ท่ี ตวั ชว้ี ัด ค่าเป้าหมาย กลมุ่ ผู้รบั ผดิ ชอบ
ปี 65
เจ้าภาพ เจ้าภาพ
หลัก ร่วม
3 ร้อยละความสำเรจ็ ของการดำเนินโครงการพฒั นาการจัดการ รอ้ ยละ 85 นต. -
เรียนรเู้ พ่ือเสรมิ สรา้ งสมรรถนะผูเ้ รยี นทตี่ อบสนองการ
เปล่ยี นแปลงศตวรรษท่ี 21
4 คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ั้นพนื้ ฐาน รอ้ ยละ 40 นต. -
(O-NET)
5 ร้อยละของครูสอนภาษาอังกฤษในระดับช้ันประถมศึกษา รอ้ ยละ 100 นต. -
และมัธยมศึกษา ได้รับการพัฒนาและยกระดับความรู้
ภาษาองั กฤษโดยใช้ระดับการพฒั นาทางด้านภาษา (CEFR)
ตามเกณฑ์ท่ีกำหนด
6 ร้อยละของสถานศึกษาที่สอนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ได้รับ ร้อยละ 80 นต. -
การเตรียมความพร้อม (ด้านการอ่าน คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์)
ในการประเมนิ ระดบั นานาชาติตามโครงการ PISA
7 ร้อยละของสถานศึกษาท่ีสามารถจัดการเรียนการสอน ร้อยละ 80 นต. -
ตามแนวทางพหปุ ัญญา
8 รอ้ ยละของนักเรียนทไ่ี ดร้ ับการคดั กรองเพอื่ พฒั นาพหปุ ัญญา รอ้ ยละ 50 นต. -
รายบคุ คล
9 ร้อยละของสถานศกึ ษาท่นี ้อมนำพระบรมราโชบาย ด้าน รอ้ ยละ 100 นต. สจ.
การศึกษาของในหลวงรัชกาลที่ 10 และหลักปรัชญา ของ
เศรษฐกจิ พอเพยี งไปพัฒนาผูเ้ รียนใหม้ ีคุณลักษณะ อนั พงึ
ประสงค์ท่ีกำหนดได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
10 รอ้ ยละของผูเ้ รียนทเ่ี ขา้ ร่วมกิจกรรมสง่ เสรมิ สนบั สนุนให้มี ร้อยละ 100 นต. สจ.
ความรักและมที ศั นคติท่ีดตี ่อสถาบันหลกั ของชาติและยึดมัน่
การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริย์
ทรงเป็นประมขุ
10 ร้อยละของผูเ้ รยี นในพนื้ ทีส่ ูงและพืน้ ทช่ี ายแดนไดร้ บั การศกึ ษา ร้อยละ 100 นต. สจ.
ขัน้ พืน้ ฐานทมี่ คี ณุ ภาพและเหมาะสมตรงตามความต้องการ
สอดคล้องกับบริบทของพนื้ ที่
11 จำนวนสถานศึกษาที่มหี ลกั สูตรฝกึ อบรมวิชาชพี ระยะสน้ั 6 ร.ร. สจ. -
12 รอ้ ยละของผลงานวิจยั นวตั กรรม เทคโนโลยี องค์ความรแู้ ละ รอ้ ยละ 80 นต. -
ส่งิ ประดษิ ฐ์ทีส่ ามารถนำไปใชป้ ระโยชน์หรอื ต่อยอดเชงิ พาณิชย์
13 รอ้ ยละของผเู้ รยี นที่มีศกั ยภาพไดร้ บั โอกาสเขา้ สเู่ วทกี ารแขง่ ขนั รอ้ ยละ 85 สจ. นต.
ระดบั ชาติและระดับนานาชาติ
14 รอ้ ยละของผ้เู รยี นทม่ี ีคะแนนผลการประเมนิ ความสามารถ รอ้ ยละ 72.42 นต. -
ดา้ นการอ่าน (RT) รอ้ ยละ 70 ขึน้ ไป เพิ่มข้ึน
แผนพัฒนาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ปงี บประมาณ พ.ศ.2565 28
ท่ี ตวั ช้วี ัด ค่าเป้าหมาย กลมุ่ ผูร้ ับผดิ ชอบ
ปี 65 เจา้ ภาพ เจ้าภาพ
15 ร้อยละของผ้เู รยี นที่ไดร้ บั การพัฒนาเตม็ ตามศักยภาพ หลัก ร่วม
ตามความถนดั และความสามารถด้านกีฬา รอ้ ยละ 50
ร้อยละ 90 นต. -
16 ร้อยละของผู้เรยี นท่ีผา่ นการประเมนิ การอา่ น คดิ วเิ คราะห์ นต. -
และเขียนตามหลักสตู รระดับดขี นึ้ ไป 2 ร.ร. นต. -
รอ้ ยละ 100 นต. -
17 จำนวนสถานศึกษาที่จัดการเรียนการสอนภาษาเพื่อการส่อื สาร
มากกวา่ 2 ภาษา ร้อยละ 100 นต. DLICT
ร้อยละ 90 นต. -
18 ร้อยละของสถานศึกษาทเ่ี ขา้ รับการประเมินผลโครงการ รอ้ ยละ 100 นต. -
บา้ นนกั วิทยาศาสตร์นอ้ ยประเทศไทยผา่ นการประเมิน
และไดร้ บั การตราพระราชทานบา้ นนกั วทิ ยาศาสตร์น้อย รอ้ ยละ 100 นต. -
ประเทศไทย
รอ้ ยละ 85 นต. -
19 ร้อยละของสถานศึกษามกี ารจดั การจัดเรยี นการสอนทางไกล
ดว้ ยระบบ DLIT, DLTV หรอื ใช้สอ่ื DLIT, DLTV รอ้ ยละ 100 นต. -
6 ร.ร. นต. -
20 รอ้ ยละของผ้เู รียนทม่ี ีคณุ ลักษณะและทักษะการเรียนรู้ 6 ร.ร. นต. -
ในศตวรรษที่ 21 (3Rs8cs)
รอ้ ยละ 90 นต. พค.
21 รอ้ ยละของสถานศกึ ษาท่ีมีการพฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษา
ระดับการศกึ ษาปฐมวัย และมกี ารจดั การศึกษาอย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ
22 ร้อยละของสถานศกึ ษาทีม่ ีการพัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษา
ระดับการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน และมีการจัดการศกึ ษาอยา่ งมี
ประสิทธิภาพ
24 ร้อยละของผู้เรยี นได้รับการสง่ เสรมิ ใหม้ ีความรู้ ความเข้าใจ
ความตระหนักในการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละ
สง่ิ แวดล้อม
25 รอ้ ยละของสถานศึกษาทไี่ ด้รับการประเมินสถานศึกษาพอเพียง
ตน้ แบบ
26 จำนวนสถานศกึ ษาท่ีเป็นศนู ยก์ ารเรยี นรูต้ ามหลักปรชั ญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียง
27 จำนวนโรงเรยี นจดั การเรยี นรวมไดร้ บั การพฒั นาการจัด
การศึกษาเรียนรวมตามกรอบแนวทางการดำเนนิ งาน
ของโรงเรยี นตน้ แบบจัดการเรยี นรวม
28 รอ้ ยละของครู และบคุ ลากรทางการศึกษา เปน็ คนดีและเกง่
ยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม มจี ิตสำนกึ มีความสามารถ
มงุ่ มัน่ และเปน็ มอื อาชีพ
แผนพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ปงี บประมาณ พ.ศ.2565 29
แนวทางการพัฒนา
คุณภาพผู้เรียน
1) ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีความรู้ มีทักษะการเรียนรู้ และทักษะที่จำเป็นของโลก ใน
ศตวรรษที่ 21 อย่างครบถ้วน เป็นคนดี มีวินัย มีความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดมั่นการปกครอง ใน
ระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และน้อมนำพระบรมราโชบายด้านการศกึ ษาของ
พระบาทสมเด็จพระวชริ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ส่กู ารปฏบิ ตั ิ
2) พัฒนาผู้เรียนตามแนวทางพหุปัญญา (Multiple Intelligences)
3) พัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ การคิดขั้นสูง นวัตกรรม
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีดิจิทลั และภาษาต่างประเทศ เพื่อเพิ่มขดี ความสามารถในการแข่งขัน เช่ือมโยงสู่
อาชพี และการมงี านทำ มที กั ษะอาชพี ที่สอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของประเทศ
4) ส่งเสรมิ พัฒนาทักษะด้านดจิ ิทลั และด้านการเรียนรูข้ องผเู้ รยี น ที่นำไปสู่ Digital Life & Learning
5) ดำเนนิ การคดั กรอง/ วัดความสามารถและความถนดั ของผเู้ รียน เพอื่ พฒั นาใหส้ อดคล้องกบั ศักยภาพ
และสง่ เสริมขีดความสามารถตามศักยภาพ
คณุ ภาพครู
6) ส่งเสริมให้ครูสามารถจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้รูปแบบ Active Learning / Co-creation
ใหก้ ับผเู้ รียนในทกุ ระดับชัน้
7) พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้มีศักยภาพในการจัด การเรียนการสอนสู่การเรียนรู้ฐาน
สมรรถนะ มีความรูค้ วามสามารถในการสรา้ งสรรค์และใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ิทัล รวมถึงมีความรู้ และทักษะ ในสงั คม
ยุคชวี ิตวิถใี หม่ (New Normal) มีแรงจูงใจในความเปน็ ครมู อื อาชีพ
8) สง่ เสรมิ สนับสนุนครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาให้มีการพฒั นาตนเองทางวิชาชีพอยา่ งต่อเน่ือง โดย
มีการพัฒนารายบุคคล ส่งเสริมการทดสอบสมรรถนะรายสาขาในระดับสูงตามมาตรฐานนานาชาติของครู มี
จรรยาบรรณ และจติ วิญญาณความเปน็ ครู
หลักสูตรและอ่นื ๆ
9) พัฒนาหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน และหลักสูตรสถานศกึ ษา
บนฐานของสามมโนทศั นห์ ลัก คอื CareerEducation,CompetencyBuilding , CreativeEducation
10) ส่งเสริม สนับสนุนการวัดประเมนิ ผลเพอ่ื การเรียนรู้ (Assessment for Learning) ที่สอดคล้องกับ
สภาพบริบทของสถานศึกษา โดยให้มีรูปแบบวิธีการที่หลากหลาย เช่น การทดสอบด้วยข้อสอบปรนัยและ
อัตนัย การประเมินภาคปฏิบัติ (Performance-based Assessment) และการประเมิน ตามสภาพจริง
(Authentic Assessment) เป็นต้น
11) เพ่มิ คณุ ภาพการจดั การศึกษาและบูรณาการอย่างยงั่ ยนื ในการจัดการเรยี นรวม
12) พัฒนานวัตกรรมการศึกษาและการเรยี นรู้ เพื่อยกระดับผลสมั ฤทธทิ์ างการศกึ ษาของผูเ้ รยี น รวมท้ัง
ดำเนินการใหม้ ีการขยายผล
13) สนบั สนนุ การจัดการเรียนการสอนผ่านแพลตฟอร์ม ดา้ นการศึกษาเพื่อความเปน็ เลศิ
14) บูรณาการการศึกษาเพื่อการศึกษาต่อด้านอาชีพ และการประกอบอาชีพหรือการมีงานทำ
ตามความตอ้ งการและความถนดั ของผ้เู รียน
15) พฒั นาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาปฐมวัยตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั แหง่ ชาติ
แผนพฒั นาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 30
16) ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาระบบและกระบวนการบริหารจัดการกระบวนการฝึกประสบการณ์
วชิ าชีพครู และระบบการนิเทศการศกึ ษา และการสอนงานของครพู ่ีเล้ียงในสถานศึกษา
17) ส่งเสรมิ สนบั สนนุ การพัฒนาศกั ยภาพครูให้มที ักษะความรูแ้ ละความชำนาญการใชเ้ ทคโนโลยีดิจิทัล
และภาษาอังกฤษ รวมทงั้ การจัดการเรียนการสอน (Human Capital Excellence Center : HCEC)
กลยทุ ธ์ที่ 4 เพิม่ ประสิทธภิ าพการบริหารจดั การศึกษา
เปา้ หมาย
1) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษามีการนำ
ระบบขอ้ มูลสารสนเทศ และเทคโนโลยดี ิจทิ ลั มาใชใ้ นการบริหารจัดการอย่างมปี ระสิทธภิ าพ
2) สถานศึกษาและพ้นื ทีน่ วัตกรรมได้รับการสง่ เสริมสนับสนุนให้มีความคล่องตัวและเอื้อต่อการบริหาร
และการจัดการศึกษาอย่างมีประสิทธภิ าพทเี่ หมาะสมกับบรบิ ท
3) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา มีการ
บริหารงบประมาณ และการบรหิ ารงานบุคคล ท่ีมีประสทิ ธิภาพ เหมาะสมกับบริบท
4) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา
มีการพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการและการมสี ่วนรว่ มทม่ี ีประสิทธิภาพ เหมาะสมกับบริบท
ตวั ชี้วดั คา่ เปา้ หมาย
ท่ี ตวั ชวี้ ัด ค่าเป้าหมาย กลุ่มผู้รับผดิ ชอบ
ปี 65
1 ร้อยละของหน่วยงานและสถานศึกษามีระบบบริหาร เจ้าภาพ เจ้าภาพ
จัดการที่เปน็ ดิจทิ ลั รอ้ ยละ 80 หลกั ร่วม
DLICT นต.
2 สัดส่วนของเวลาท่คี รูใชเ้ พื่อการเรยี นการสอน และ
งานท่ีเกี่ยวขอ้ งกับการเรยี นการสอนตอ่ งานอนื่ ๆ สัดสว่ น 3 : 2 นต. -
3 ร้อยละของสถานศกึ ษาทม่ี วี ตั ถุประสงค์เฉพาะและ ร้อยละ 80 นต. สจ.
พ้ืนทพ่ี เิ ศษ ได้รบั การพัฒนาประสิทธภิ าพการจดั การศึกษา
ตามบรบิ ทพ้นื ที่ ร้อยละ 60 นต. -
99.00 นต. -
4 ร้อยละของสถานศกึ ษาที่ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ITA
5 คะแนนการประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการ ร้อยละ 20 นผ. -
รอ้ ยละ 90 นต. -
ดำเนินงานของสำนักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาออนไลน์
(ITA Online) ของ สพป.ราชบุรี เขต 1 เพิม่ ขน้ึ
6 รอ้ ยละโครงการของ สพป.ราชบุรี เขต 1 บรรลผุ ลสัมฤทธิ์
ตามคา่ เป้าหมายตวั ชว้ี ดั ของ สพฐ.
7 รอ้ ยละของสถานศึกษาที่มีผลการประเมนิ ตนเองในแต่ละ
มาตรฐานตามระบบการประกันคณุ ภาพระดบั การศกึ ษา
ปฐมวัยอยใู่ นระดับดขี น้ึ ไป
แผนพัฒนาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ปงี บประมาณ พ.ศ.2565 31
ท่ี ตวั ชว้ี ัด ค่าเปา้ หมาย กลุม่ ผู้รบั ผิดชอบ
ปี 65
เจ้าภาพ เจ้าภาพ
หลกั ร่วม
8 รอ้ ยละของสถานศกึ ษาท่มี ีผลการประเมินตนเองในแตล่ ะ ร้อยละ 90 นต. -
มาตรฐานตามระบบการประกันคณุ ภาพระดบั การศึกษา
ข้ันพื้นฐานอยใู่ นระดับดีขน้ึ ไป
9 รอ้ ยละของสถานศกึ ษาทีจ่ ัดการศกึ ษาปฐมวยั รอ้ ยละ 90 นต. -
มผี ลการประเมนิ คุณภาพภายนอก ระดบั ดีข้นึ ไป
10 รอ้ ยละของสถานศกึ ษาทีจ่ ัดการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน รอ้ ยละ 90 นต. -
มีผลการประเมินคณุ ภาพภายนอก ระดับดีขนึ้ ไป
11 จำนวนกระบวนงานท่ีไดร้ ับการปรับเปลีย่ นใหเ้ ป็นดิจิทัล 2 DLICT -
เพิม่ ขึ้น
12 จำนวนนวัตกรรมในการขบั เคลอ่ื นคณุ ภาพการศึกษา 20 นต. พค.
ในระดบั สถานศกึ ษาและเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาเพม่ิ ข้ึน
13 ร้อยละของสถานศึกษาไดร้ บั การนเิ ทศ ตดิ ตามตรวจสอบ ร้อยละ100 นต. -
และประเมินผลการจัดการศึกษา
1) การบรหิ ารงานบุคคล
2) การบริหารงานวิชาการ
3) การบรหิ ารงานงบประมาณ
4) การบรหิ ารงานทั่วไป
14 ร้อยละของสถานศกึ ษามีระบบข้อมลู สารสนเทศท่ีสามารถ ร้อยละ 100 DLICT -
ใชใ้ นการวางแผนการจัดการศกึ ษาได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
15 ร้อยละของสถานศกึ ษาได้รับการนเิ ทศ ตดิ ตาม และ ร้อยละ 100 นต. -
ประเมนิ ผลการจดั การศึกษา
แนวทางการพัฒนา
การใชเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ัล
1) พัฒนาและจัดระบบข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษา สำหรับประชาชน และผู้มีส่วนได้
สว่ นเสีย ไดม้ กี ารเขา้ ถึงขอ้ มูลได้อย่างสะดวกรวดเร็ว
2) ส่งเสริม การนำเทคโนโลยดี ิจิทัลมาใชใ้ นการบรหิ ารจัดการใหม้ ปี ระสิทธิภาพทกุ ระดบั
การพัฒนาประสทิ ธิภาพสถานศกึ ษา
3) สนับสนุนการจัดทำมาตรฐานสำหรับโรงเรียนที่สามารถดำเนินการจัดการเรียนการสอน
ได้อยา่ งมคี ณุ ภาพ
4) พัฒนาโครงสรา้ งพ้นื ฐานทุกดา้ นให้มีความพร้อมในการจดั การศึกษาท่มี ีคณุ ภาพ
5) พัฒนาโรงเรยี นคุณภาพของชมุ ชน โรงเรยี นขนาดเล็กและโรงเรียนทส่ี ามารถดำรงอย่ไู ดอ้ ย่างมี
คุณภาพ ให้มคี ณุ ภาพอย่างยง่ั ยนื สอดคล้องกบั บรบิ ทของพ้นื ที่
6)บริหารจดั การโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ใหผ้ ูเ้ รียนไดม้ ีโอกาสรบั การศกึ ษาท่มี ีคุณภาพ
แผนพฒั นาขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ปงี บประมาณ พ.ศ.2565 32
7) ส่งเสริมการจัดการศึกษาในสถานศึกษาที่มีวัตถุประสงค์เฉพาะและพื้นที่พิเศษ
อาทิ โรงเรียนในโครงการพระราชดำริ โรงเรียนในโครงการกองทุนการศึกษา โรงเรียนในพื้นที่สูงห่างไกล
ทุรกันดาร เป็นต้น
8) พัฒนาระบบประกันคุณภาพสถานศึกษา และส่งเสริมให้สถานศึกษามีความเข้มแข็ง
ในระบบประกันคณุ ภาพ
การบริหารจดั การ
9) สนับสนุนการจัดสรรงบประมาณและทรัพยากรด้านการศึกษาในการขับเคลื่อนนโยบาย
ตามความตอ้ งการและจำเปน็ ของผเู้ รียนและสถานศึกษา
10) พฒั นาระบบบริหารงานบคุ คลใหเ้ ป็นไปตามหลกั ธรรมาภิบาล
11) พัฒนาบุคลากรในสำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษา ดา้ นความเช่อื มโยงจากนโยบายสู่การปฏิบัติ
วัฒนธรรมการให้บริการ และการสร้างเครือข่ายการทำงาน และให้มีความก้าวหน้าในวิชาชีพ มาตรฐาน
ตำแหน่ง และวิทยฐานะ พัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความก้าวหน้าในอาชีพ
มาตรฐานตำแหนง่ และวิทยฐานะ
12) บริหารอัตรากำลังในสถานศึกษา เพื่อลดภาระงานอื่นของครูที่ไม่ใช่การสอน และบริหาร
อัตรากำลงั ในสำนักงานทุกระดบั ใหส้ อดคล้องกับภารกจิ เพ่อื สง่ เสรมิ การพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา
13. พฒั นาระบบการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
(ITA) โดยให้บุคลากรในหน่วยงานทุกระดับ นำหลักธรรมาภิบาลไปสู่การปฏิบัติ อย่างเป็นรูปธรรมอย่างมี
ประสิทธภิ าพและตอ่ เนือ่ ง
14) เพ่มิ ประสิทธภิ าพการนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการศึกษาขน้ั พื้นฐาน
15) ส่งเสริมการมีส่วนร่วม และจัดการศึกษาร่วมกันของภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม
และองค์กรอื่น ๆ โดยเพิ่มบทบาทและกรอบภารกิจที่ตอบสนองต่อนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน และกระทรวงศกึ ษาธิการมากข้ึน
แผนพฒั นาข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ปงี บประมาณ พ.ศ.2565 33
สว่ นที่ 3
การดำเนนิ โครงการ
แผนการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 1
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
ท่ี กจิ กรรม สพท. งบประมาณ รวม ระยะเวลา
1 การพัฒนาศักยภาพและความก้าวหน้าทาง 10,400 สพฐ. อืน่ ๆ
10,400 ต.ค.-พ.ย.
วชิ าชีพครูและบุคลากรทางการศึกษา 56,100 64
49,080
2 อบรมปฐมนิเทศและพัฒนาครผู ชู้ ว่ ยสมู่ ืออาชพี 14,175 200,000 56,100 ก.พ.-ก.ย.
271,000 49,080 65
3 ยกย่องเชิดชูเกยี รตผิ ู้บริหารสถานศกึ ษา 14,175
ข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา 195,800 471,000 ม.ค.64-
24,000 ส.ค.65
4 เสรมิ สร้างชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ PLC
- ม.ี ค.-ส.ค.
5 พฒั นาศกั ยภาพผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาและ - 65
บุคลากรทางการศกึ ษา สูม่ าตรฐานสากล อย่างมี 620,555
คณุ ธรรมความโปร่งใส ก.ค-ก.ย.
65
6 พัฒนาเสริมสร้างสมรรถนะลกู จา้ งประจำและ
ชัว่ คราว 195,800 พ.ค.65
7 การพฒั นาบคุ ลากรกอ่ นแตง่ ตง้ั เข้าสู่ตำแหน่ง - - 24,000 ต.ค.64-
- ก.ย.65
8 การพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษารูปแบบ - - ม.ี ค.-พ.ค.
digital 200,000
- 65
9 รายงานผลการดำเนินตามโครงการ 820,555
รวมเปน็ เงนิ ก.ย.65
แผนพัฒนาข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ปงี บประมาณ พ.ศ.2565 34
โครงการ / กิจกรรม
แผนพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 35
โครงการ การพฒั นาศกั ยภาพและความก้าวหน้าทางวิชาชีพครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบโครงการ กลุม่ พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ 1. นางสดุ ารัตน์ กุลวิศรตุ 2. นางสาวอรณุ ศรี สขุ นิรันดร์
ระยะเวลาดำเนินการ เดือนตุลาคม พ.ศ. 2564 – เดือนกนั ยายน พ.ศ. 2565
ความสอดคลอ้ ง/ เชือ่ มโยงกับนโยบายและแผนในระดบั ต่าง ๆ
สอดคลอ้ งกับยุทธศาสตรช์ าติ ดา้ น การพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์
1. เป้าหมาย คนไทยเป็นคนดี คนเกง่ มคี ณุ ภาพ พร้อมสำหรบั วิถีชีวติ ในศตวรรษที่ 21
2. ประเดน็ การปฏิรปู การกระบวนการเรียนรู้ทต่ี อบสนองต่อการเปลย่ี นแปลงในศตวรรษท่ี 21
สอดคลอ้ งกบั แผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ ประเด็น การพัฒนาการเรยี นรู้
1. เป้าหมายระดับประเด็น คนไทยมีการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลเพิ่มขึ้น มีทักษะท่ี
จำเป็นของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถในการแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี
ประสทิ ธผิ ลเพม่ิ ข้นึ มีนิสัยใฝเ่ รยี นรู้อย่างตอ่ เนอ่ื งตลอดชวี ิต
2. แผนย่อยของแผนแมบ่ ทฯ แผนยอ่ ยการปฏริ ูปกระบวนการเรยี นรู้ท่ีตอบสนองตอ่ การเปล่ียนแปลง
ในศตวรรษท่ี 21
3. เป้าหมายของแผนแม่บทย่อย คนไทยได้รบั การศกึ ษาท่มี ีคณุ ภาพตามมาตรฐาน มีทักษะการเรียนรู้
และทกั ษะท่จี ำเป็นของโลกศตวรรษท่ี 21 สามารถเข้าถงึ การเรียนรู้อยา่ งต่อเนือ่ งตลอดชวี ิตดขี ึน้
สอดคลอ้ งกบั นโยบายจุดเน้นกระทรวงศึกษาธกิ าร
ข้อท่ี 2 การพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครูและอาจารย์ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ
อาชีวศึกษาให้มีสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัล เพื่อให้ครูและอาจารย์ได้รับการพัฒนาให้มีสมรรถนะทั้งด้าน
การจัดการเรียนรู้ ด้วยภาษาและดิจิทัล สามารถปรับวิธีการเรียนการสอนและการใช้สือ่ ทันสมัย และมีความ
รับผิดชอบต่อผลลัพธ์ทางการศกึ ษาทเี่ กิดกับผู้เรียน
ข้อท่ี 10 การพลิกโฉมระบบการศกึ ษาไทยดว้ ยการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการ
จัดการศึกษาทุกระดับการศึกษา เพื่อให้สถาบันการศึกษาทุกแห่งนำนวัตกรรมและเทคโนโลยี
ทที่ นั สมยั มาใช้ในการจัดการศึกษาผา่ นระบบดจิ ทิ ลั
นโยบายระยะเรง่ ดว่ น (Quick Win) ข้อที่ -
สอดคลอ้ งกบั นโยบาย สพฐ. ด้านคุณภาพ ข้อ 3.4 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้เปน็ ครยู คุ ใหม่ มี
ศักยภาพในการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรฐานสมรรถนะ มีทักษะในการปฏิบัติหน้าที่ได้ดี มีความรู้
ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล มีการพัฒนาตนเองทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีจิตวิญญาณ
ความเป็นครู
สอดคล้องกบั กลยุทธข์ อง สพป.ราชบรุ ี เขต 1 กลยุทธ์ท่ี 3 ยกระดับคุณภาพการศกึ ษาใหส้ อดคลอ้ งกับการ
เปลยี่ นแปลงในศตวรรษท่ี 21
แผนพัฒนาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ปงี บประมาณ พ.ศ.2565 36
1. หลักการและเหตุผล
ครูและบุคลากรทางการศึกษา เป็นบุคลากรที่ต้องได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และทันต่อโลกที่
เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะการพัฒนาดา้ นศักยภาพ ทักษะ ต่างๆ ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติหน้าท่ี
ตลอดจนความก้าวหน้าทางวิชาชีพ ท่คี วรได้รบั ตลอดการปฏบิ ัตหิ น้าท่ี ซึ่งความกา้ วหน้าทางวิชาชีพนั้น เกิด
จากการฝึกฝน เรียนรู้ และการพัฒนาตามหลักเกณฑ์ นโยบาย หรือแม้กระทั่งยุคสมัยและสังคมที่
เปล่ียนแปลงรอบตัว
การขอมีหรือเลื่อนวิทยฐานะ เป็นหนึ่งในความก้าวหน้าทางวิชาชีพครู ในการจะพัฒนาตนเองให้มี
วิทยฐานะที่สูงขึ้น จำเป็นต้องมีการเรียนรู้สิง่ ใหม่ มีการวางแผนในการพัฒนาตนเอง และมีความรู้ในการจับ
ประเด็นดังความสามารถของตนเอง มาพัฒนางานในหน้าที่และประเด็นท้าทายต่างๆ เพื่อพัฒนางานและ
ศักยภาพของตนเองต่อไปได้ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 เล็งเห็นถึงความ
จำเปน็ ในการพัฒนาศกั ยภาพและความกา้ วหน้าทางวชิ าชพี ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา จงึ ดำเนนิ โครงการ
นี้ขึ้น เพื่อเปิดโอกาสให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา ในสังกัด ได้มีโอกาสพัฒนาตนเองได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพมากขึน้
2. วัตถปุ ระสงค์
1. เพื่อให้ผู้บริหารสถานศึกษา ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้ ความเข้าใจ ในการ
จัดทำแผนพัฒนาตนเองรายบคุ คล (Id Plan)
2. เพื่อให้ผู้บริหารสถานศึกษา และข้าราชการครู มีความรู้ความเข้าใจในหลักเกณฑ์วิธีการประเมิน
ตำแหนง่ และวทิ ยฐานะ และสามารถการจัดทำข้อตกลงการพัฒนางาน (PA) ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
2. เป้าหมาย
เชงิ ปริมาณ
ผ้บู ริหารสถานศกึ ษา ขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาในสงั กัด จำนวน 800 คน
เชิงคณุ ภาพ
1. ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ สามารถจัดทำ
แผนพฒั นาตนเองรายบคุ คล (Id Plan) ที่มคี ณุ ภาพ
2. ผู้บริหารสถานศึกษา และข้าราชการครู มคี วามร้คู วามเข้าใจในหลักเกณฑ์วิธีการประเมินตำแหน่งและ
วิทยฐานะ สามารถการจัดทำขอ้ ตกลงการพฒั นางาน (PA) ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
3. วธิ ดี ำเนินการ/ขัน้ ตอนการดำเนนิ งาน
ท่ี กจิ กรรมหลกั ระยะเวลา หมายเหตุ
1 กจิ กรรมท่ี 1: การพฒั นาศกั ยภาพและความกา้ วหน้าทาง ตลุ าคม-พฤศจิกายน 2564
วชิ าชีพครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
1. 1.1 อบรมหลกั สตู ร การจดั ทำแผนพฒั นาตนเอง
รายบคุ คล (ID Plan) รูปแบบออนไลน์ 1 วัน พฤศจิกายน 2564
แผนพฒั นาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 37
ท่ี กจิ กรรมหลัก ระยะเวลา หมายเหตุ
1.2 อบรมหลกั เกณฑ์วธิ กี ารประเมนิ ตำแหนง่
และวทิ ยฐานะ และการจัดทำขอ้ ตกลงการพัฒนางาน พฤศจิกายน 2564
(PA) รูปแบบออนไลน์ 1 วนั
1.3 สรปุ ผลการดำเนินกจิ กรรม
พฤศจิกายน 2564
5. ระยะเวลาและสถานที่ดำเนนิ การ
ระหวา่ งเดอื นตุลาคม 2564 – พฤศจกิ ายน 2564 รูปแบบออนไลน์ ผา่ นแอพพลิเคชั่น Google meet
6. งบประมาณ
จำนวน 10,400 บาท (ตามตารางรายละเอียดคา่ ใช้จ่ายของโครงการ ปงี บประมาณ พ.ศ.2565)
รายละเอยี ดดังนี้ :
กิจกรรมและรายละเอียด งบประมาณ งบประมาณจำแนกตามหมวดรายจ่าย
ในการใชง้ บประมาณ ทใ่ี ช้ คา่ ตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวสั ดุ
1 กิจกรรมท่ี 1: การพฒั นาศักยภาพและ
ความกา้ วหนา้ ทางวิชาชพี ครแู ละบคุ ลากร
ทางการศึกษา
1.1 อบรมหลักสตู ร การจัดทำแผนพฒั นา
ตนเองรายบคุ คล (ID Plan) รูปแบบออนไลน์
1 วนั
- คา่ ตอบแทนวิทยากร 1 คน 6 ชม. ชม. 3,600 3,600
ละ 600 บาท
- คา่ อาหารกลางวันคณะทำงาน 10 คน 900 900
คนละ 90 บาท 1 มื้อ
- ค่าอาหารว่างและเคร่ืองดืม่ คณะทำงาน 700 700
10 คน ม้อื ละ 35 บาท 2 มอื้
1.2 อบรมหลกั เกณฑว์ ธิ กี ารประเมนิ ตำแหน่ง
และวทิ ยฐานะ และการจัดทำขอ้ ตกลงการ
พัฒนางาน (PA) รูปแบบออนไลน์ 1 วนั
- คา่ ตอบแทนวทิ ยากร 1 คน 6 ชม. ชม. 3,600 3,600
ละ 600 บาท
- ค่าอาหารกลางวนั คณะทำงาน 10 คน 900 900
คนละ 90 บาท 1 มื้อ
- คา่ อาหารวา่ งและเคร่ืองด่ืมคณะทำงาน 700 700
10 คน ม้ือละ 35 บาท 2 ม้อื
1.3 สรุปผลการดำเนนิ กิจกรรม
รวม 10,400 3,200
แผนพฒั นาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ปงี บประมาณ พ.ศ.2565 38
7. การวเิ คราะห์ความเสยี่ งของโครงการ
1. ปจั จัยความเสีย่ ง
1. ผูบ้ ริหารขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ไม่มีแนวทางการทำแผนพัฒนาตนเอง
รายบคุ คล ที่ชดั เจน
2. ผ้บู รหิ ารขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ไมเ่ ล็งเหน็ ความจำเปน็ การการจัดทำ
แผนพัฒนาตนเองรายบุคคล
3. ผูบ้ ริหารขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ยงั มีความเขา้ ใจในไม่มีหลักเกณฑว์ ธิ กี าร
ประเมนิ ตำแหน่งและวิทยฐานะ และการจัดทำข้อตกลงการพฒั นางาน (PA) เนือ่ งจากเป็นหลักเกณฑ์ใหม่
และมีรายละเอียดท่ีมาก
2. แนวทางการบรหิ ารความเสี่ยง
จัดการอบรมใหค้ วามรู้ 2 หลักสูตร คอื 1) อบรมหลกั สตู ร การจัดทำแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID
Plan) และ 2) อบรมหลักเกณฑ์วิธกี ารประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะ และการจดั ทำข้อตกลงการพฒั นางาน
(PA)
8. ตัวชี้วัดและคา่ เป้าหมาย คา่ เป้าหมาย
80
ตัวช้ีวดั
95
เชิงปริมาณ
ผู้บริหารสถานศกึ ษา ข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา
เข้ารบั การพฒั นา
เชงิ คณุ ภาพ
ขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ในสังกดั มีความรู้
ความเขา้ ใจในการจัดทำแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID Plan) และมี
ความเข้าใจในหลกั เกณฑ์วิธีการประเมินตำแหนง่ และวทิ ยฐานะ และการ
จัดทำข้อตกลงการพัฒนางาน (PA)
9. ผลทคี่ าดว่าจะได้รบั
ผู้บรหิ ารการศกึ ษา ผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา ขา้ ราชการครู ศกึ ษานิเทศก์และบคุ ลากรทางการศึกษาอ่ืน
ในสงั กัดไดพ้ ฒั นาศักยภาพตนเอง มคี วามก้าวหนา้ ทางวิชาชพี
แผนพฒั นาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ปงี บประมาณ พ.ศ.2565 39
โครงการ อบรมปฐมนิเทศและพัฒนาครผู ู้ช่วยสู้มอื อาชพี
หนว่ ยงานรับผิดชอบโครงการ กล่มุ พฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ 1. นางสุดารัตน์ กุลวิศรุต 2. นางสาวอรุณศรี สขุ นริ นั ดร์
ระยะเวลาดำเนินการ เดอื นกุมภาพันธ์ 2565 – เดือนกันยายน 2565
ความสอดคลอ้ ง/ เชือ่ มโยงกับนโยบายและแผนในระดับตา่ ง ๆ
สอดคล้องกับยุทธศาสตรช์ าติ ดา้ น การพฒั นาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
1. เป้าหมาย คนไทยเปน็ คนดี คนเก่ง มีคณุ ภาพ พรอ้ มสำหรับวิถชี ีวติ ในศตวรรษท่ี 21
2. ประเดน็ การปฏริ ูปการกระบวนการเรียนรทู้ ี่ตอบสนองต่อการเปล่ียนแปลงในศตวรรษที่ 21
สอดคลอ้ งกับแผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ ประเดน็ การพฒั นาการเรียนรู้
1. เป้าหมายระดับประเด็น คนไทยมีการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลเพิ่มขึ้น มีทักษะที่
จำเป็นของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถในการแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี
ประสทิ ธผิ ลเพม่ิ ข้นึ มีนิสัยใฝเ่ รียนร้อู ย่างตอ่ เนือ่ งตลอดชีวิต
2. แผนย่อยของแผนแม่บทฯ แผนย่อยการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการ
เปล่ยี นแปลงในศตวรรษที่ 21
3. เป้าหมายของแผนแม่บทยอ่ ย คนไทยไดร้ บั การศกึ ษาที่มคี ณุ ภาพตามมาตรฐาน มที กั ษะการเรียนรู้
และทักษะท่จี ำเปน็ ของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถเขา้ ถงึ การเรียนรอู้ ยา่ งตอ่ เนือ่ งตลอดชีวติ ดขี ึ้น
สอดคลอ้ งกับนโยบายจดุ เนน้ กระทรวงศึกษาธกิ าร
ข้อท่ี 2 การพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครูและอาจารย์ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ
อาชีวศึกษาให้มีสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัล เพื่อให้ครูและอาจารย์ได้รับการพัฒนาให้มีสมรรถนะทั้งด้าน
การจัดการเรียนรู้ ด้วยภาษาและดิจิทัล สามารถปรับวิธีการเรียนการสอนและการใช้สื่อทันสมัย และมีความ
รบั ผดิ ชอบตอ่ ผลลพั ธ์ทางการศกึ ษาที่เกิดกบั ผู้เรียน
ข้อที่ 10 การพลิกโฉมระบบการศึกษาไทยดว้ ยการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีท่ีทันสมัยมาใช้ในการ
จัดการศึกษาทุกระดับการศึกษา เพื่อให้สถาบันการศึกษาทุกแห่งนำนวัตกรรมและเทคโนโลยี
ทที่ ันสมัยมาใชใ้ นการจัดการศึกษาผ่านระบบดิจิทัล
นโยบายระยะเรง่ ด่วน (Quick Win) ข้อที่ -
สอดคล้องกบั นโยบาย สพฐ. ดา้ นคณุ ภาพ ข้อ 3.4 พัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ใหเ้ ปน็ ครยู คุ ใหม่ มี
ศักยภาพในการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรฐานสมรรถนะ มีทักษะในการปฏิบัติหน้าที่ได้ดี มีความรู้
ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล มีการพัฒนาตนเองทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีจิตวิญญาณ
ความเป็นครู
สอดคล้องกับกลยทุ ธ์ของ สพป.ราชบุรี เขต 1 กลยทุ ธท์ ี่ 3 ยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษาใหส้ อดคล้องกับการ
เปลยี่ นแปลงในศตวรรษท่ี 21
แผนพฒั นาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 40
1. หลกั การและเหตผุ ล
ด้วยสำนักงาน ก.ค.ศ. แจ้งหลักเกณฑ์และวิธีการการเตรียมความพร้อมและพัฒนา
อย่างเข้ม สำหรับผู้ได้รับการบรรจุและแต่งตั้งเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ในตำแหน่งครูผู้ช่วย ก่อนแต่งตั้งให้ดำรงแต่งครู ให้ทราบและถือปฏิบัติ เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมและ
พัฒนาให้ครูผู้ช่วยมคี วามรู้ ความประพฤติ และคุณลักษณะเหมาะสมในหน้าที่ความรบั ผิดชอบตามมาตรฐาน
ตำแหนง่ ท่ี ก.ค.ศ. กำหนด ตามหนงั สอื สำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.7/ ว 19 ลงวนั ที่ 25 ตุลาคม 2561
จากหลักเกณฑว์ ิธกี าร และความจำเป็นดังกล่าว สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษา
ราชบรุ ี เขต 1 จงึ จัดทำโครงการอบรมปฐมนิเทศครแู ละพฒั นาครูผชู้ ่วย ขึ้น เพ่อื ใหก้ ารปฏบิ ัติเป็นไปตามแนว
ปฏิบัติที่ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ รวมทั้งเพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติหน้าที่แก่ครูผู้ช่วยใน
สังกดั สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1 อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
2. วัตถุประสงค์
2.1 เพ่ือเสริมสรา้ งความรู้ ความประพฤติ และคุณลักษณะเหมาะสม ตามมาตรฐานตำแหน่ง
ครผู ชู้ ว่ ย
2.2 เพ่อื ใหค้ รูผู้ชว่ ยได้รับการเตรียมความพร้อมในการพฒั นาอย่างเขม้ ตำแหน่งครผู ู้ชว่ ย ก่อน
ดำรงตำแหนง่ ครู
3. เปา้ หมาย
เชิงปรมิ าณ
ครูผ้ชู ่วย สังกดั สำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 1 ที่บรรจุตงั้ แตเ่ ดอื นตุลาคม
2564 – กันยายน 2565 จำนวน 150 คน
เชงิ คุณภาพ
ครูผ้ชู ่วย สงั กัดสำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 1 ไดร้ บั การพฒั นาอย่างเข้ม
และมคี วามรู้ ความประพฤติ คุณลกั ษณะทีเ่ หมาะสมตามมาตรฐานตำแหนง่
4. วธิ ดี ำเนนิ การ/ขั้นตอนการดำเนนิ งาน
ท่ี กจิ กรรมหลัก ระยะเวลา หมายเหตุ
1 กิจกรรมท่ี 1 อบรมปฐมนเิ ทศครูผชู้ ่วย จำนวน 2 ครง้ั
กมุ ภาพนั ธ์ 2565
ข้นั ตอนการดำเนินงาน มีนาคม 2565
1.1 จดั ทำโครงการ มนี าคม 2565
1.2 ประชุมคณะทำงาน เมษายน -กันยายน
1.3 จัดทำเอกสารประกอบ 2565
1.4 ดำเนินการอบรมปฐมนิเทศ จำนวน 2 ครัง้ กันยายน 2565
1.5 สรุปผลการอบรมปฐมนิเทศ
แผนพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 41
5. ระยะเวลาและสถานทด่ี ำเนนิ การ
เดอื นกมุ ภาพันธ์ - กันยายน 2565
สถานท่ีดำเนินการ หอประชุมปักษาสวรรค์ ต.ดอนตะโก อ.เมือง จ.ราชบุรี หรอื ระบบออนไลน์
ผา่ นแอพพลเิ คชนั่ Google meet
6. งบประมาณ
จำนวน 56,100 บาท (ตามตารางรายละเอยี ดค่าใชจ้ ่ายของโครงการ ปีงบประมาณ พ.ศ.2565)
รายละเอยี ดดงั นี้ :
ท่ี กจิ กรรมหลัก งบประมาณ งบประมาณจำแนกตามหมวดรายจา่ ย
ทใ่ี ช้ ค่าตอบแทน คา่ ใช้สอย ค่าวสั ดุ
1 กจิ กรรมที่ 1 : อบรมปฐมนิเทศและพฒั นาครผู ชู้ ว่ ยสู่
มืออาชีพ
2.1 อบรมปฐมนเิ ทศและพัฒนาครูผชู้ ่วยสูม่ อื อาชีพ
จำนวน2 ร่นุ
รุ่นที่ 1 14,000 14,000
- คา่ อาหารกลางวนั 100 คน คนละ 140 บาท 7,000 7,000
- ค่าอาหารวา่ งและเครื่องด่มื 100 คน คนละ 35
บาท ครัง้ ละ 2 มอ้ื
- คา่ วิทยากร 4 คน คนละ 2 ชม. ชม.ละ 600 4,800 4,800
บาท
- คา่ วัสดุ 10,000 บาท 10,000 10,000
รุ่นท่ี 2
- คา่ อาหารกลางวัน 50 คน คนละ 140 บาท 7,000 7,000
- ค่าอาหารวา่ งและเครื่องด่มื 50 คน คนละ 35 3,500 3,500
บาท ครั้งละ 2 ม้อื
- ค่าวิทยากร 4 คน คนละ 2 ชม. ชม.ละ 600 4,800 4,800
บาท 5,000 5,000
- ค่าวัสดุ 5,000 บาท
2.2 สรุปผลการดำเนนิ กจิ กรรม 56,100
รวม
แผนพฒั นาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ปงี บประมาณ พ.ศ.2565 42
7. การวิเคราะหค์ วามเสย่ี งของโครงการ
ปัจจัยความเสีย่ ง
ครูบรรจุใหม่ ตำแหน่งครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1
ยังขาดประสบการณ์ในการปฏิบัติหน้าที่ รวมทั้งต้องเสริมสร้างความรู้ ความประพฤติ และคุณลักษณะท่ี
เหมาะสมตามมาตรฐานตำแหนง่
แนวทางบรหิ ารความเสยี่ ง
จัดการอบรมปฐมนิเทศและพัฒนาครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ราชบรุ ี เขต เสริมสร้างความรู้ ความประพฤติ และคณุ ลักษณะทเี่ หมาะสมตามาตรฐานตำแหน่ง
8. ตัวชว้ี ัดและค่าเปา้ หมาย
ตัวชี้วดั คา่ เปา้ หมาย
100
เชงิ ปรมิ าณ
ครผู ้ชู ว่ ย เข้ารบั การอบรมครบตามทก่ี ำหนด 99
เชิงคุณภาพ
ครูผู้ช่วย ได้รบั การพฒั นา มีความรคู้ วามเข้าใจ มีความประพฤติ
และมีคุณลักษณะตามมาตรฐานตำแหน่งครผู ู้ชว่ ย
9. ผลทคี่ าดวา่ จะได้รบั
1. ครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 มีความรู้ ความ
ประพฤติ และคณุ ลักษณะเหมาะสม ตามมาตรฐานตำแหนง่ ครูผูช้ ว่ ย
2. ครูผูช้ ่วย สังกดั สำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1 ได้รบั การเตรียมความ
พร้อมในการพัฒนาอยา่ งเขม้ ตำแหน่งครูผ้ชู ่วย ก่อนดำรงตำแหน่งครู
แผนพฒั นาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ปงี บประมาณ พ.ศ.2565 43
โครงการ ยกยอ่ งเชดิ ชูเกยี รตคิ รูผ้สู อนและผูบ้ รหิ ารสถานศึกษาดีเดน่
หนว่ ยงานรบั ผิดชอบโครงการ กลุ่มพัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
ผู้รับผิดชอบโครงการ 1. นางสุดารตั น์ กลุ วิศรุต 2. นางสาวอรุณศรี สขุ นิรนั ดร์
ระยะเวลาดำเนนิ การ เดือนกุมภาพันธ์ – เดอื นกนั ยายน 2565
ความสอดคล้อง/ เช่อื มโยงกับนโยบายและแผนในระดบั ต่าง ๆ
สอดคล้องกับยทุ ธศาสตร์ชาติ ด้าน การพัฒนาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์
1. เป้าหมาย คนไทยเป็นคนดี คนเก่ง มคี ณุ ภาพ พรอ้ มสำหรับวถิ ีชีวิตในศตวรรษที่ 21
2. ประเด็น การปฏริ ูปการกระบวนการเรียนร้ทู ตี่ อบสนองตอ่ การเปล่ียนแปลงในศตวรรษท่ี 21
สอดคลอ้ งกบั แผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ ประเด็น การพัฒนาการเรยี นรู้
1. เป้าหมายระดับประเด็น คนไทยมีการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลเพิ่มขึ้น มีทักษะท่ี
จำเป็นของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถในการแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี
ประสิทธผิ ลเพม่ิ ข้นึ มนี สิ ัยใฝเ่ รียนร้อู ย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต
2. แผนยอ่ ยของแผนแม่บทฯ แผนย่อยการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ทตี่ อบสนองต่อการเปล่ียนแปลง
ในศตวรรษท่ี 21
3. เปา้ หมายของแผนแมบ่ ทยอ่ ย คนไทยได้รับการศกึ ษาทีม่ คี ุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะการเรียนรู้
และทกั ษะทจี่ ำเปน็ ของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถเข้าถึงการเรยี นร้อู ยา่ งต่อเนอื่ งตลอดชีวติ ดีขนึ้
สอดคล้องกบั นโยบายจดุ เน้นกระทรวงศึกษาธิการ
ข้อท่ี 2 การพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครูและอาจารย์ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ
อาชีวศึกษาให้มีสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัล เพื่อให้ครูและอาจารย์ได้รับการพัฒนาให้มีสมรรถนะทั้งด้าน
การจัดการเรียนรู้ ด้วยภาษาและดิจิทัล สามารถปรับวิธกี ารเรยี นการสอนและการใช้สื่อทันสมัย และมีความ
รับผิดชอบต่อผลลพั ธ์ทางการศึกษาทีเ่ กิดกบั ผเู้ รยี น
ขอ้ ที่ 10 การพลิกโฉมระบบการศกึ ษาไทยด้วยการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการ
จัดการศึกษาทุกระดับการศึกษา เพื่อให้สถาบันการศึกษาทุกแห่งนำนวัตกรรมและเทคโนโลยี
ทท่ี ันสมยั มาใช้ในการจัดการศึกษาผา่ นระบบดจิ ิทัล
นโยบายระยะเรง่ ดว่ น (Quick Win) ขอ้ ท่ี -
สอดคล้องกับนโยบาย สพฐ. ดา้ นคุณภาพ ข้อ 3.4 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ให้เป็นครยู ุคใหม่ มี
ศักยภาพในการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรฐานสมรรถนะ มีทักษะในการปฏิบัติหน้าที่ได้ดี มีความรู้
ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล มีการพัฒนาตนเองทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีจิตวิญญาณ
ความเปน็ ครู
สอดคลอ้ งกบั กลยุทธข์ อง สพป.ราชบุรี เขต 1 กลยทุ ธท์ ่ี 3 ยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาให้สอดคลอ้ งกับการ
เปลย่ี นแปลงในศตวรรษท่ี 21
แผนพฒั นาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ปงี บประมาณ พ.ศ.2565 44
1. หลักการและเหตุผล
ผู้บริหารสถานศึกษา และข้าราชการครูในยุคปฏิรูปการศึกษา และการก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
จะต้องมีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการ มีวิสัยทัศน์ในการบริหารการศึกษาให้ทันสมัยกับการ
เปลี่ยนแปลง มีภาวะผู้นำ มีมนุษยสัมพันธ์เป็นที่ยอมรับของผู้เกี่ยวข้องและมีความเปน็ ประชาธปิ ไตย เพื่อ
นำไปสู่การปฏิรูปการเรียนรู้ให้ผู้เรียนทุกคนมีความรู้ ความสามารถ บุคลิกลักษณะและคุณสมบัติตาม
หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐานอย่างแท้จริง ในปัจจุบันทกุ คนต้องมีการพัฒนาและปรับตนเองให้ทันกบั ความ
เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ เพราะท่ามกลางกระแสโลกาภิวัตน์ ได้มคี วามรูเ้ ทคโนโลยแี ละนวตั กรรมใหม่ ๆ เกิดข้นึ
ตลอดเวลา การศึกษาเปน็ เคร่ืองมืออย่างหน่งึ ท่จี ะชว่ ยให้ทุกคนสามารถพฒั นาและปรับตัวเองให้สอดคล้อง
กับสถานการณ์ได้ และสถานศึกษา คือสถาบันที่มีบทบาทสำคัญในการเสริมสร้างและพัฒนาการศึกษาให้
สอดคลอ้ งกบั ความต้องการของสงั คมยคุ ใหม่
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 มีนโยบายที่จะพัฒนาศักยภาพผู้บริหาร
สถานศึกษาและครูสู่มืออาชีพเพื่อสง่ ผลต่อการปฏิบัตงิ านให้มีประสิทธิภาพสงู สุด จึงได้การคัดเลือกผู้บริหาร
สถานศึกษาและครูดีเดน่ ” ประจำปี 2565 เพือ่ เปน็ ขวัญและกำลังใจในการทำงานต่อไป
2. วัตถปุ ระสงค์
1. เพอ่ื ยกยอ่ งเชิดชเู กียรติผูม้ ผี ลงานดีเปน็ ทปี่ ระจักษ์
2. เพอ่ื เปน็ แบบอยา่ งที่ดขี องข้าราชการครูและผู้บริหารสถานศกึ ษาในการทำความดี
3. เพื่อสร้างขวัญและกำลงั ใจแก่บุคลากรในสงั กัด ใหป้ ฏบิ ัตงิ านอย่างมปี ระสทิ ธิภาพมากย่ิงข้ึน
3. เปา้ หมาย
1. เชงิ ปริมาณ
คดั เลือกผ้บู รหิ ารสถานศึกษาและครูดเี ดน่ สังกัดสำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี
เขต 1 รางวลั มี 3 ประเภท ดงั นี้
1. รางวัล ข้าราชการครสู ายผู้สอน ทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้ และสาขาเทคโนโลยี รวม 11
รางวัล
2. รางวลั ผู้บริหารสถานศึกษา ระดบั เครือข่ายและระดับเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา จำนวน 9
รางวัล
3. รางวลั บุคลากรทางการศึกษา ระดบั เขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษา จำนวน 5 รางวัล
2. เชิงคุณภาพ
ผ้บู รหิ ารสถานศึกษา ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการยกยอ่ งเชดิ ชูเกยี รติ มีขวัญกำลงั ใจ
ในการปฏิบัติงานทดี่ ยี ิ่งข้ึน
แผนพฒั นาขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ปงี บประมาณ พ.ศ.2565 45