The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by dlictrbr1, 2022-07-11 22:24:49

plan2565-2

plan2565-2

แผนอตั รากำลัง
ข้าราชการครูในสถานศกึ ษา
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 - 2567

กลุ่มงานอัตรากำลงั และกำหนดตำแหน่ง ก
กลุ่มบริหารงานบุคคล
สำนักงานเขตพน้ื ที่กแาผนรอศัตกึ ราษกาำลปังขร้าะรถาชมกศารกึครษใู นาสรถาานชศบกึ ุรษาี เปขงี ตบป1ระมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๗

คำนำ

การจัดทำแผนอัตรากำลังข้าราชการครูในสถานศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 -
2567 (แผนอัตรากำลัง 5 ปี) ครั้งนี้ จัดทำขึน้ เพ่ือศึกษาความต้องการอตั รากำลงั ขา้ ราชการครู และ
แนวทางการวางแผนอัตรากำลังข้าราชการครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี
เขต 1 ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 - 2567 เพื่อใช้ประโยชน์ในการบริหารอัตรากำลังให้เกิด
ประสิทธภิ าพสูงสดุ

ในการน้ี ได้รับความกรุณาจากผู้อำนวยการสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 1
ผูอ้ ำนวยการกลุ่มบรหิ ารงานบคุ คลให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเป็นอย่างดี

ขอขอบคุณผู้บริหารสถานศึกษา ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ราชบุรี เขต 1 ที่ให้ความร่วมมือตอบแบบสำรวจ ซึ่งเป็นผลทำให้ข้อมูลมีความสมบูรณ์เป็นประโยชน์
ตอ่ การจัดทำแผนอัตรากำลงั ข้าราชการครอู ยา่ งแท้จรงิ

กลุ่มบริหารงานบคุ คล ขอขอบคุณคณะทำงานและผู้ทีเ่ กี่ยวขอ้ งทกุ ทา่ นท่มี สี ่วนร่วมใน
การจัดทำแผนอัตรากำลังข้าราชการครูคร้ังน้ี หวังเป็นอย่างย่ิงว่าแผนอัตรากำลัง 5 ปี ดังกล่าว
จะเป็นประโยชน์ต่อการบริหารอัตรากำลังข้าราชการครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1 ตอ่ ไป

กล่มุ งานอัตรากำลังและ
กำหนดตำแหนง่

กลมุ่ บรหิ ารงานบคุ คล
สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 1

แผนอตั รากำลังข้าราชการครใู นสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๗ ก

สารบญั หนา้
(ก)
คำนำ......................................................................................................... ...................................... (ข)
สารบัญ............................................................................................................................. ................ (ง)
บญั ชตี าราง..................................................................................................................................... (จ)
บัญชีแผนภูมิ............................................................................................................................. ....... (ฉ)
บทสรุปผู้บริหาร..............................................................................................................................

บทท่ี 1 บทนำ................................................................................................................................ 1
ความเปน็ มาและความสำคัญของปัญหา........................................................................ 1
คำถามการวจิ ยั .............................................................................................................. 3
วตั ถปุ ระสงค.์ ................................................................................................................. 3
เปา้ หมาย....................................................................................................................... 3
ระยะเวลาดำเนินการ........................................................................................ ............. 3
ผูร้ ับผดิ ชอบ................................................................................................................... 4
นิยามศพั ท.์ .................................................................................................................... 4
ประโยชนท์ คี่ าดวา่ จะได้รบั ............................................................................................ 4

บทท่ี 2 เอกสารทเ่ี กีย่ วข้อง............................................................................................................ 5
แผนการศกึ ษาแห่งชาติ ฉบบั ปรบั ปรุง (พ.ศ.2560 - 2579) ..................................... 5
ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560 - 2579)................................................... 5
การวางแผนอตั รากำลงั คน............................................................................................. 8
การวางแผนอตั รากำลังข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา................................. 28
บรบิ ทของสำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1............................. 32

บทท่ี 3 วธิ ดี ำเนินการ.................................................................................................................... 34
กล่มุ ผู้ใหข้ ้อมลู ............................................................................................................... 34
เครือ่ งมอื ที่ใชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมูล.......................................................................... 34
การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ................................................................................................... 35
การจัดกระทำข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมลู ................................................................. 35
สถติ ิทใี่ ชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมูล...................................................................................... 35

แผนอตั รากำลงั ขา้ ราชการครใู นสถานศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๗ ข

สารบัญ (ตอ่ )

บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู ...................................................................................................... หนา้
ตอนที่ 1 ผลการศึกษาสภาพอตั รากำลังข้าราชการครูในสถานศึกษา สงั กัดสำนกั งาน 36
เขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1 ปีงบประมาณ พ.ศ.2563-2567...... 36
ตอนที่ 2 ผลการศึกษาแนวโน้มความต้องการอัตรากำลงั ข้าราชการครูในสถานศกึ ษา
สังกัดสำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1 ปีงบประมาณ พ.ศ. 45
2563-2567 ในเชงิ ปริมาณตามสาขาวชิ า..................................................................
ตอนที่ 3 แนวทางการวางแผนอตั รากำลังขา้ ราชการครใู นสถานศึกษา สงั กัด 46
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1 ปีงบประมาณ พ.ศ.
2563-2567...............................................................................................................

บทท่ี 5 สรปุ อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ................................................................................. 52
วตั ถุประสงค์.................................................................................................................. 52
กล่มุ ผู้ให้ข้อมูล............................................................................................................... 52
เคร่อื งมือท่ีใช้ในการเกบ็ ข้อมูล....................................................................................... 52
การเก็บรวบรวมข้อมลู ................................................................................................... 53
สรปุ ผลการวจิ ัย.............................................................................................................. 53
อภิปรายผล.................................................................................................................... 54
ขอ้ เสนอแนะ.................................................................................................................. 56
57
บรรณานกุ รม...................................................................................................................................

แผนอตั รากำลังข้าราชการครูในสถานศึกษา ปงี บประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๗ ค

บญั ชีตาราง

ตาราง หน้า

1 จำนวนปรมิ าณงานของสถานศกึ ษาสังกดั สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษา 37

ราชบรุ ี เขต 1 ปีงบประมาณ พ.ศ.2563-2567........................................................

2 อตั รากำลงั ครขู องสถานศึกษา สงั กดั สำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษา 40

ราชบุรี เขต 1 ปงี บประมาณ พ.ศ.2563

3 อตั รากำลงั ครูของสถานศึกษา สงั กดั สำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษา 41

ราชบรุ ี เขต 1 ปงี บประมาณ พ.ศ.2564..................................................................

4 อัตรากำลังครูของสถานศึกษา สงั กดั สำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษา 42

ราชบรุ ี เขต 1 ปงี บประมาณ พ.ศ.2565..................................................................

5 อตั รากำลังครขู องสถานศกึ ษา สงั กดั สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษา 43

ราชบรุ ี เขต 1 ปีงบประมาณ พ.ศ.2566..................................................................

6 อตั รากำลังครขู องสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษา 44

ราชบุรี เขต 1 ปีงบประมาณ พ.ศ.2567...................................................................

7 จำนวนครูท่ขี าดเกณฑ์ในสถานศกึ ษา สังกดั สำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา 45

ประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 1 ปีงบประมาณ พ.ศ.2563-2567 ในเชงิ ปริมาณตาม

สาขาวิชา............................................................................................ .........................

แผนอตั รากำลงั ขา้ ราชการครูในสถานศึกษา ปงี บประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๗ ง

บญั ชแี ผนภูมิ

แผนภมู ิ หนา้
1 แสดงจำนวนหอ้ งเรียนและจำนวนนักเรยี นสังกดั สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา 39
ประถมศึกษาราชบุรี เขต 1................................................................................................ 39
2 แสดงจำนวนครขู าดเกณฑแ์ ละครูเกษยี ณอายุราชการสงั กัดสำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษา 40
ประถมศึกษาราชบุรี เขต 1................................................................................................ 41
3 แสดงอตั รากำลงั ครูของสถานศึกษาสังกัดสำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษา 42
ราชบุรี เขต 1 ปงี บประมาณ พ.ศ.2563........................................................................... 43
4 แสดงอัตรากำลังครูของสถานศกึ ษาสังกดั สำนักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษา 44
ราชบรุ ี เขต 1 ปีงบประมาณ พ.ศ.2564.......................................................................... 46
5 แสดงอัตรากำลงั ครูของสถานศกึ ษาสังกัดสำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษา
ราชบรุ ี เขต 1 ปีงบประมาณ พ.ศ.2565..........................................................................
6 แสดงอัตรากำลังครูของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษา
ราชบุรี เขต 1 ปีงบประมาณ พ.ศ.2566..........................................................................
7 แสดงอัตรากำลงั ครขู องสถานศกึ ษาสงั กดั สำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษา
ราชบุรี เขต 1 ปีงบประมาณ พ.ศ.2567..........................................................................
8 แสดงจำนวนครูทขี่ าดเกณฑใ์ นสถานศึกษา สังกดั สำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษา
ประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 ปงี บประมาณ พ.ศ.2563-2567 ในเชิงปรมิ าณตาม
สาขาวชิ า............................................................................................................................

แผนอตั รากำลังขา้ ราชการครใู นสถานศึกษา ปงี บประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๗ จ

บทสรุปผบู้ ริหาร

สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 จัดทำแผนอัตรากำลังข้าราชการครูใน
สถานศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 - 2567 (แผนอัตรากำลัง 5 ปี) เพื่อศึกษาสภาพอัตรากำลัง
ข้าราชการครูในสถานศึกษา ศึกษาแนวโน้มความต้องการอัตรากำลังข้าราชการครูในสถานศึกษา ใน
เชงิ ปรมิ าณตามสาขาวิชา และเสนอแนวทางการวางแผนอัตรากำลังข้าราชการครใู นสถานศึกษา

การวางแผนอัตรากำลังข้าราชการครูในสถานศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 - 2567
จัดทำขึ้นอย่างเป็นระบบ คำนึงถึง แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560 - 2579 ยุทธศาสตร์ชาติ 20
ปี (พ.ศ.2561-2580) การวางแผนอัตรากำลังคน การวางแผนอัตรากำลังขา้ ราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษา และบริบทของสำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 1 โดยดำเนนิ การ
ตามข้ันตอน คือ กล่มุ ผู้ให้ข้อมลู เครื่องมือที่ใชใ้ นการเก็บข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูล และสถิตทิ ี่ใช้ใน
การเก็บขอ้ มูล ท้ังนน้ี ำข้ันตอนการดำเนินการมาศึกษาวเิ คราะห์แนวโน้มของอัตรากำลังข้าราชการครูใน
สถานศึกษา ในปพี .ศ.2563 - 2567 ดังน้ี

1. สถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1
ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 - 2567 มีจำนวนอัตรากำลังครูขาดเกณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 3.13 เมื่อ
พิจารณาจำนวนห้องเรียน จำนวนนักเรียน จำนวนครูตามเกณฑ์และจำนวนครูขาดเกณฑ์ พบว่ามี
แนวโน้มลดลงทุกปี สำหรับจำนวนครทู ่เี กษยี ณอายรุ าชการมีแนวโน้มลดลงทกุ ปี

2. อัตรากำลังครูท่ีมีอยู่จริง มีน้อยกว่าอัตรากำลังครูท่ีควรมีตามเกณฑ์ และแนวโน้ม
ความต้องการอตั รากำลังครู โดยวิชาเอกท่ีต้อการมากที่สุดคือวิชาเอกปฐมวัย และภาษาไทย รองลงมา
คอื ประถมศกึ ษาและคณติ ศาสตร์

สรปุ แนวทางการวางแผนอัตรากำลังข้าราชการครู ในสถานศึกษา ปงี บประมาณ พ.ศ.2563 -
2567 จำนวน 4 วิธี ประกอบด้วย 1) การเกลี่ยอัตรากำลัง 2) การขออัตราเพ่ิมจากคณะกรรมการ
กำหนดเป้าหมายและนโยบายภาครัฐ 3) การขอรับการสนับสนุนอัตราจ้างครูจากองค์กรปกครองส่วน
ท้องถนิ่ 4) การจ้างครโู ดยใช้งบประมาณของสถานศกึ ษา

แผนอตั รากำลังข้าราชการครใู นสถานศึกษา ปงี บประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๗ ฉ

บทที่ 1
บทนำ

ความเปน็ มาและความสำคัญของปญั หา

การศึกษาเป็นเร่ืองสำคัญที่สุดที่ทุกประเทศต่างให้ความสนใจ เพราะความเจริญ
ก้าวหน้าของประเทศที่พัฒนาแล้วน้ัน ล้วนมีการศึกษาเป็นหลักสำคัญท้ังสิ้น โดยเฉพาะปัจจุบัน
กระแสสังคมโลกท่ีเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ทั้งทางบวก
และทางลบ ส่งผลกระทบต่อประชากรซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาประเทศ การท่ีจะทำให้
ประชากรของประเทศเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าและมีประโยชน์ต่อการพัฒนาด้านต่างๆ ต้องให้
การศกึ ษาแก่ประชากรของประเทศ เพอ่ื ให้มีความรู้ ความสามารถและมีคณุ ภาพชีวิตที่ดี

บุคลากรที่มีความสำคัญยิ่งในการจัดการศึกษาคือครู เพราะเป็นผู้จัดการศึกษา
เน่ืองจากครูเป็นผู้ใกล้ชิดกับเด็กและเป็นผู้ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงโดยตรง กล่าวได้ว่าครูเป็น
ทรัพยากรบุคคลอันมีค่าที่สุด ท่ีทำให้การจัดการศึกษาประสบความสำเร็จตามเป้าหมายของการ
ปฏิรูปการศึกษา ดังนั้น ในการจัดการศึกษาจึงต้องให้ความสำคัญกับครูซ่ึงเป็นบุคคลท่ีมีคุณค่า
สอดคล้องกับการบริหารจัดการในปัจจุบัน ที่ทุกองค์กรไม่ว่าภาครัฐหรือเอกชนได้ให้ความสำคัญ
กับคนท่ีเป็นทรัพยากรที่มีชีวิต จิตใจ ถือว่าคนเป็นทรัพยากร เป็นทุนมนุษย์ (Human Capital)
เป็นหัวใจสำคัญในการดำเนินงานขององค์กร ดังที่ สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน
(2550: 1) กล่าวไว้ว่า หน่วยงานใดจะมีประสิทธิภาพเพียงใดข้ึนอยู่กับคุณภาพของคนและ
จำนวนกำลังคนท่ีเหมาะสม ซ่ึงการที่แต่ละองค์กรจะมีคนที่มีคุณภาพและจำนวนกำลังคนท่ี
เหมาะสมได้ จำเป็นต้องมีการบริหารจัดการท่ีดี โดยเฉพาะการวางแผนด้านงานบริหารบุคคล
ต้องให้ความสำคัญเร่ืองการวางแผนอัตรากำลังคน อันเป็นกระบวนการ คาดการณ์ความตอ้ งการ
กำลังคนในองค์กรล่วงหน้า เป็นการวางแผนบุคลากรโดยการใช้ข้อมูลที่มีอยู่เพ่ือกำหนดจำนวน
และประเภทของบุคลากรท่ีต้องการ ท้ังน้ี การวางแผนอัตรากำลังจะต้องสอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์และเป้าหมายขององค์กร นอกจากน้ี การวางแผนกำลังคนยังรวมไปถึงการ
เปรียบเทียบกำลังคนท่ีมีอยู่ในปัจจุบัน เพื่อให้เกิดความม่ันใจว่ามีจำนวนและประเภทบุคคลตรง
ตามความต้องการ โดยคุณสมบตั บิ ุคคลนน้ั ตรงกบั ความจำเป็นของงาน และต้องพรอ้ มใช้งานทนั ที
เมอื่ หนว่ ยงานตอ้ งการ

ในวงการศึกษาก็เช่นเดียวกัน สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศกึ ษาได้ใหค้ วามสำคญั ในการวางแผนกำลังคน โดยได้กำหนดกระบวนการดำเนนิ การจัด
อัตรากำลังคนให้เหมาะสมทั้งปริมาณและคุณภาพ ในระยะเวลาท่ีเหมาะสม ตามความต้องการ
ของหน่วยงานการศึกษา ในตำแหน่งที่เหมาะสมตรงกับความรู้ ความสามารถที่ใช้ในการจัดการ
เรียนการสอน และนอกจากจะกำหนดให้มีการวางแผนให้สอดคล้องกับความต้องการของ
สถานศึกษาแล้ว ยังกำหนดใหว้ างแผนกำลังคนเพอื่ ใช้กำลังคนใหไ้ ด้ประโยชน์สูงสุดด้วย กล่าวคือ
จะต้องมีการวางแผนการกระจายกำลงั คน หรอื เรมิ่ การวางแผนกำลงั คนต้งั แตร่ ะดับสถานศึกษา

แผนอัตรากำลงั ข้าราชการครูในสถานศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๗ ๑

สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 ตระหนักในความสำคัญของ
การวางแผนอัตรากำลังข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา เพ่ือให้สามารถจัดอัตรากำลังคน
ให้เหมาะสมกับงานทั้งด้านปริมาณและคุณภาพของงาน ในระยะเวลาท่ีเหมาะสมในตำแหน่งที่มี
ความรู้ ความสามารถ ตรงตามความต้องการของสถานศึกษาและสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศึกษา และตอบสนองการดำเนินงานตามมาตรา 20 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบ
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2547 ท่ีกำหนดให้คณะกรรมการข้าราชการครู
และบุคลากรทางการศึกษา(ก.ค.ศ.) จัดทำแผนกำลังคนสำหรับข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการ
ศึกษา ซึ่งในแตล่ ะปีคณะกรรมการข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา(ก.ค.ศ.) จะกำหนดให้
สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษารายงานแผนกำลังคนเพ่ือรวบรวมเป็นข้อมูล
ระดับประเทศอีกครั้งหนึ่ง นอกจากนั้นมาตรา 23 (1) กำหนดให้ อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นท่ีการศึกษา
กำหนดจำนวนและอัตราตำแหน่งและเกล่ียอัตรากำลังให้สอดคล้องกับนโยบายการบริหารงาน
บุคคล ระเบียบหลักเกณฑ์และวิธีการท่ี ก.ค.ศ.กำหนด และมาตรา 23 (7) จัดทำและพัฒนา
ฐานข้อมูลข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ดังน้ัน การวางแผนอัตรากำลังข้าราชการครู
และบุคลากรทางการศึกษา จึงเป็นเร่ืองที่สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1
ต้องให้ความสำคญั ดำเนินการ

กลุ่มบริหารงานบุคคล สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 ได้
ศึกษาข้อมูลเบ้ืองต้นเพื่อประกอบการวางแผนอัตรากำลังข้าราชการครูในสถานศึกษา โดยได้
ศึกษาผลการติดตามและประเมินผลการปฏิรูปการศึกษาตั้งแต่ปี 2542 ของสำนักงานเลขาธิการ
สภาการศึกษาทพ่ี บปญั หาท่ตี อ้ งเรง่ ปรบั ปรุงแก้ไข พัฒนา และสานต่อ ดา้ นการผลิตและพัฒนาครู
คณาจารย์ อาจารย์ให้ความรู้ ความสามารถ และปริมาณเพียงพอ พบว่าเนื่องจากนโยบายจำกัด
อัตรากำลังคนภาครัฐ ผนวกกับการใช้มาตรการจูงใจให้ครอู อกก่อนเกษียณ ต้ังแต่ปี 2543 - 2549
ทำให้โรงเรียนสูญเสียอัตราครูไปจำนวน 53,948 อัตรา (ครูเกษียณ 74,784 อัตรา ได้อัตราคืน
เพยี ง 20,836 อัตรา) อกี ทงั้ บณั ฑิตครศุ าสตร์/ศกึ ษาศาสตร์บางส่วนจบแล้วไม่เปน็ ครู อาจารย์ มี
ปัญหาครูสอนไม่ตรงวุฒิและการขาดแคลนครูในบางพ้นื ที่ ทำให้มีการขาดแคลนครูโดยรวมในเชิง
ปริมาณและคุณภาพทั้งระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานและการอาชีวะศึกษา รวมท้ังอุดมศึกษาอย่าง
ต่อเน่ือง ส่งผลกระทบต่อคุณภาพการศึกษาประกอบกับในอนาคตอีกประมาณ 5 - 10 ปี จะมี
ครูประจำการเกษียณอายุจำนวนมากกว่าร้อยละ 50 จึงต้องเตรียมการเพ่ือรองรับในด้านการ
คัดเลือกบุคคลเข้าสู่วิชาชีพครู พบว่าผู้เลือกคณะครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์เป็นอันดับท้ายๆ เข้า
สาขาอนื่ ไมไ่ ด้ จึงมาเรียนมีเป็นจำนวนมาก จึงไม่ได้คนเก่ง มีใจรัก มาเป็นครู ในด้านการพัฒนาครู
พบว่าขาดระบบการพัฒนาท่ีมปี ระสิทธิภาพต่อเนื่อง และขาดการดูแลเอาใจใส่อย่างจรงิ จัง ทำให้
ครไู ม่ได้รับการพัฒนาอย่างเป็นระบบเพียงพอ นอกจากน้ี สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครู
และบุคลากรทางการศึกษา (2548: 1) ได้ศึกษาและพบปัญหาในการวางแผนอัตรากำลังคนใน
ภาพรวม ดังน้ี 1) ขาดความรู้ทางหลักวิชาเกี่ยวกับการวางแผนกำลังคน 2) ขาดข้อมูลข่าวสารท่ี
จำเป็นต้องใช้ในการวางแผนกำลังคน 3) นโยบาย เป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ของหน่วยงานไม่
ชัดเจน หรือไม่ต่อเน่ือง 4) มีการนำผลประโยชน์ส่วนตัวมาใช้ในการวางแผนกำลังคน 5) ขาด
แคลนปัจจัยสำคัญที่ใช้ในการบริหาร เช่น เงิน วัสดุ และ 6) นักบริหารไม่ให้ความสำคัญกับการ

แผนอตั รากำลังข้าราชการครูในสถานศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๗ ๒

วางแผนกำลังคน ซ่ึงเป็นสาเหตุสำคัญท่ีการดำเนินงานวางแผนอัตรากำลังครูไม่ประสบผลสำเร็จ
และทำให้สถานศึกษาเกิดปัญหาและอุปสรรคในการจัดการศึกษา ดังน้ัน การแก้ไขปัญหาของ
ครูผู้สอนเป็นประเด็นเร่งด่วนท่ีอยู่ในขั้นวิกฤติซึ่งภาครัฐ และทุกภาคส่วนต้องประสานพลังและต้อง
ดำเนินการอย่างจริงจัง รอบคอบ และต่อเน่ือง ทั้งนี้เพื่อเพิ่มศักยภาพของครู ซึ่งเป็นพลังขับเคล่ือน
การปฏิรปู การศึกษาของประเทศไทย

จากความสำคัญและปัญหาการวางแผนอัตรากำลังข้าราชการครูในสถานศึกษาข้างต้น
สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 จึงได้ให้ความสำคัญและวางแผนจัดทำ
แผนอัตรากำลังครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 - 2567

คำถามการวิจยั
1. สภาพอัตรากำลังข้าราชการครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา

ประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 1 ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 - 2567 เป็นอยา่ งไร
2. แนวโน้มความต้องการอัตรากำลังข้าราชการครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่

การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 - 2567 ในเชิงปริมาณตาม
สาขาวิชา เปน็ อยา่ งไร

3. แนวทางการวางแผนอัตรากำลังข้าราชการครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่
การศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 - 2567 ควรเปน็ อย่างไร

วตั ถปุ ระสงค์
1. เพ่ือศึกษาสภาพอัตรากำลังข้าราชการครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ี

การศกึ ษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 - 2567
2. เพื่อศึกษาแนวโน้มความต้องการอัตรากำลังข้าราชการครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงาน

เขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 - 2567 ในเชิง
ปริมาณตามสาขาวิชา

3. เพื่อเสนอแนวทางการวางแผนอัตรากำลังข้าราชการครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงาน
เขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1 ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 - 2567

เปา้ หมาย
สถานศกึ ษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 1 ไม่นับ

รวมสถานศึกษาเอกชน จำนวน 174 โรงเรียน

ระยะเวลาดำเนนิ การ
ระหวา่ งวันท่ี 3 สิงหาคม 2563 ถงึ วันที่ 30 ตลุ าคม 2563

แผนอตั รากำลงั ขา้ ราชการครูในสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๗ ๓

ผรู้ ับผิดชอบ
1. รองผอู้ ำนวยการสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1
2. ผ้อู ำนวยการกลุ่มบรหิ ารงานบคุ คล
สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1
3. นางปนิดา สะอาดยวง นกั ทรพั ยากรบคุ คล ระดบั ชำนาญการพิเศษ
สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1

นยิ ามศัพท์
1. ข้าราชการครู หมายถึง ผู้ที่ประกอบวิชาชีพซ่ึงทำหน้าท่ีหลักทางด้านการเรียน

การสอน และส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวิธีการต่างๆในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขต
พนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1

2. บุคลากรทางการศึกษา หมายถึง ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา รวมทั้ง
ผู้สนับสนุนการศึกษาซึ่งเป็นผู้ทำหน้าที่ในการบริการ หรือปฏิบัติงานเกี่ยวเนื่องกับการจัด
กระบวนการเรียนการสอน การนิเทศ การบริหารการศึกษา และปฏิบัติงานอื่นในหน่วยงาน
การศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 1

3. สถานศึกษา หมายถึง โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา
ราชบุรี เขต 1 ไมน่ บั รวมโรงเรยี นเอกชน จำนวน 180 โรงเรียน

4. จำนวนครูตามเกณฑ์ที่สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษา (ก.ค.ศ.) กำหนด หมายถึง จำนวนครูในสถานศึกษา ซ่ึงคณะกรรมการข้าราชการครูและ
บุคลากรทางการศึกษา กำหนดขึ้น โดยคิดตามสตู รการคำนวณ

5. จำนวนครู ตาม จ.18 หมายถึง จำนวนตำแหน่งท่ีมีคนครองและตำแหน่งว่างท่ีมี
อตั ราเงนิ เดือน

6. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 หมายถึง หน่วยงาน
ทางการศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มีหน้าท่ี
กำกับดูแล ประสาน ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานในระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
จำนวน 6 อำเภอ ประกอบด้วย อำเภอเมืองราชบุรี อำเภอปากท่อ อำเภอจอมบึง อำเภอวัดเพลง
อำเภอสวนผ้งึ และอำเภอบ้านคา

ประโยชน์ที่คาดวา่ จะได้รบั
1. ทำให้ทราบสภาพและปัญหาของอัตรากำลังข้าราชการครูในสถานศึกษา สังกัด

สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1
2. ทำให้มีข้อมูลอัตรากำลังข้าราชการครูในสถานศึกษา เพ่ือนำไปใช้ในการวาง

แผนการพัฒนาครูใหเ้ กิดคุณภาพ และประสิทธิภาพในการปฏิบัตงิ าน
3. สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 มีแนวทางการวางแผน

อัตรากำลังข้าราชการครูในสถานศึกษา
4. ฝ่ายผลิตข้าราชการครูสามารถนำไปวางแผนการผลิตข้าราชการครูให้สอดคล้องกับ

ความต้องการใช้อัตรากำลงั คนของสถานศึกษา

แผนอตั รากำลังขา้ ราชการครูในสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๗ ๔

บทที่ 2
เอกสารทีเ่ กย่ี วข้อง

การวางแผนอัตรากำลังข้าราชการครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 ปงี บประมาณ พ.ศ.2563 - 2567 กลุ่มบรหิ ารงานบุคคล
ไดศ้ ึกษาแนวคดิ หลักการ และวรรณกรรมที่เกีย่ วขอ้ ง ดงั น้ี

1. แผนการศกึ ษาแห่งชาติ (พ.ศ.2560 - 2579)
2. ยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561 - 2580)
3. การวางแผนอัตรากำลังคน
4. การวางแผนอตั รากำลังข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
5. บริบทของสำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1

1. แผนการศึกษาแหง่ ชาติ (พ.ศ. 2560 - 2579)
สำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษาได้จัดทำแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560 - 2579

เพื่อใช้เป็นแผนยุทธศาสตร์ระยะยาวสำหรับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องกับการศึกษาของประเทศท้ังท่ี
อยู่ในกระทรวงศึกษาธิการและนอกกระทรวงศึกษาธิการ ได้นำไปใช้เป็นกรอบและแนวทางการ
พัฒนาการศึกษาและเรียนรูส้ ำหรับพลเมืองทุกช่วงวัยตงั้ แต่แรกเกิดจนตลอดชีวิต โดยจดุ มุ่งหมาย
ท่ีสำคัญของแผนคือ การมุ่งเน้นการประกันโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา และ
การศึกษาเพื่อการมีงานทำและสร้างงานได้ ภายใต้บริบทเศรษฐกิจและสังคมของประเทศและ
ของโลกท่ีขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ รวมท้ังความเป็นพลวัตร เพื่ อให้
ประเทศไทยสามารถก้าวข้ามกับดักประเทศที่มีรายได้ปานกลาง ไปสู่ประเทศท่ีพัฒนาแล้วซ่ึง
ภายใต้กรอบแผน การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2574 ได้กำหนดสาระสำคัญสำหรับบรรลุ
เป้าหมายของการพัฒนาการศึกษาใน 5 ประการ ได้แก่ การเข้าถึง (Access) ความเท่าเทียม
(Equity) คุณภาพ (Quality) ประสิทธิภาพ (Efficiency) และตอบโจทย์บริบทที่เปลี่ยนแปลง
(Relevancy) ในระยะ 15 ปี ข้างหน้าและท่ีเก่ียวข้องกับการบริหารงานบุคคล ดังน้ี วิสัยทัศน์ :
คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดำรงชีวิตอย่างเป็นสุข
สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษท่ี 21
วัตถุประสงค์ : เพ่ือพัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมืองดี มีคุณลักษณะ ทักษะและสมรรถนะที่
สอดคล้องกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พระราชบัญญัติการศึกษา
แห่งชาติ และยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์หลัก : การผลิตและพัฒนากำลังคน การวิจัยและ
นวัตกรรมเพอ่ื สร้างขีดความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ

2. ยุทธศาสตรช์ าติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560 - 2579)
ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี รัฐบาลได้กำหนดวิสัยทัศน์ เป้าหมาย และ

ยทุ ธศาสตร์ในการดำเนนิ งานไว้ ดังนี้

แผนอัตรากำลงั ข้าราชการครูในสถานศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๗ ๕

วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมี ความม่ันคง ม่ังคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วย
การพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และเป็นคติพจน์ประจำชาติว่า “ม่ันคง มั่งค่ัง
ยั่งยนื ”

เปา้ หมาย
1. ประเทศไทยมคี วามม่ันคง
1.1 การมีความมั่นคงปลอดภัยจากภัยและการเปล่ียนแปลงทั้งภายในประเทศและ
ภายนอกประเทศในระดับ ท้ังระดับประเทศ สังคม ชุมชน ครัวเรือน และปัจเจกบุคคล และมี
ความมัน่ คงในทุกมติ ิ ท้งั มติ เิ ศรษฐกิจ สังคม สง่ิ แวดล้อม และการเมือง
1.2 ประเทศมีความม่ังคงในเอกราชและอธิปไตย มีสถาบันชาติ ศาสนา และ
พระมหากษัตริย์ ท่ีเข้มแข็ง เป็นศูนย์กลางและที่ยึดเหน่ียวจิตใจของประชาชน ระบบการเมืองมี
ความม่นั คง เปน็ กลไกท่ีนำไปสกู่ ารบรหิ ารประเทศที่ต่อเนื่องและโปรง่ ใสตามหลักธรรมาภิบาล
1.3 สงั คมมีความปรองดองและความสามัคคี สามารถผนกึ กำลังเพื่อพัฒนาประเทศ
ชมุ ชนใหม้ คี วามเขม้ แขง็ ครอบครวั มคี วามอบอนุ่
1.4 ประชาชนมีความม่ันคงในชีวิต มีงานและรายได้ที่มั่นคงพอเพียงกับการ
ดำรงชวี ติ มีทอี่ ย่อู าศัยและความปลอดภยั ในชวี ิตและทรพั ย์สนิ
1.5 ฐานทรพั ยากรและส่งิ แวดลอ้ ม มคี วามมั่นคงของอาหาร พลงั งาน และนำ้
2. ประเทศมีความม่นั คง่ั
2.1 ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจอย่างต่อเน่อื ง ยกระดับเป็นประเทศใน
กลุ่มรายได้สูง ความเหลื่อมล้ำของการพัฒนาลดลง ประชากรได้รับผลประโยชน์จากการพัฒนา
เทา่ เทียมกันมากขน้ึ
2.2 เศรษฐกิจ มีความสามารถในการแข่งขันสูง สามารถสร้างรายได้ท้ังภายใน
ภูมิภาค ทั้งการคมนาคมขนส่ง การผลิต การค้ำการลงทุนและการทำธุรกิจ มีบทบาทสำคัญใน
ระดับภมู ภิ าคและระดับโลก เกิดสายสมั พันธ์ทางเศรษฐกิจและการคา้ อย่างมีพลัง
2.3 ความสมบูรณ์ในทุนที่จะสามารถสร้างการพัฒนาคนอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ ทุน
มนุษย์ ทุนทางปัญญา ทุนทางการเงิน ทุนท่ีเป็นเคร่ืองมือเครื่องจักร ทุนทางสังคม และทุน
ทรพั ยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอ้ ม
3. ประเทศมคี วามยั่งยืน
3.1 การพฒั นาที่สามารถสร้างความเจริญ รายได้ และคุณภาพชวี ิตของประชาชนให้
เพ่มิ ขน้ึ อย่างตอ่ เน่ือง ซ่ึงเปน็ การเจริญเติบโตของเศรษฐกิจที่ไมใ่ ช้ทรัพยากรธรรมชาติเกนิ พอดี ไม่
สร้างมลภาวะตอ่ ส่ิงแวดล้อมจนเกินความสามารถในการรองรับและเยยี วยาของระบบนเิ วศน์
3.2 การผลิตและการบริโภคเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และสอดคล้องกับกฎระเบียบ
ของประชาคมโลก ซึ่งเป็นที่ยอมรับร่วมกัน ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมมีคุณภาพดีข้ึน คนมีความรับผิดชอบต่อสังคม มีความเอื้ออาทร เสียสละเพ่ือ
ผลประโยชนส์ ว่ นรวม
3.3 ประชาชนทุกภาคสว่ นในสงั คมยึดถือและปฏิบตั ิตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

แผนอตั รากำลงั ขา้ ราชการครูในสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๗ ๖

ยทุ ธศาสตรช์ าติ ระยะ 20 ปี มี 6 ยทุ ธศาสตร์ในการดำเนนิ งานในดา้ นตา่ งๆ ดังนี้
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 ด้านความมั่นคง
1. เสริมสร้างความม่ันคงของสถาบันหลักและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
อนั มีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข
2. ปฏิรูปกลไกการบริหารประเทศและพัฒนาความมั่นคงทางการเมือง ขจัด
คอร์รัปช่ัน สร้างความเชือ่ มน่ั ในกระบวนการยตุ ธิ รรม
3. การรักษาความมั่นคงภายในและความสงบเรียบร้อยภายในตลอดจนการบริหาร
จดั การความมนั่ คงชายแดนและชายฝ่ังทะเล
4. การพัฒนาระบบ กลไก มาตรการและความร่วมมือระหว่างประเทศทุกระดับ
และรักษาดุลยภาพความสัมพันธ์กับประเทศมหาอำนาจ เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาความมั่นคง
รูปแบบใหม่
5. การพัฒนาเสริมสร้างศักยภาพการผนกึ กำลงั ป้องกันประเทศ การรักษาความสงบ
เรียบร้อยภายในประเทศ สรา้ งความรว่ มมือกบั ประเทศเพอื่ นบา้ นและมติ รประเทศ
6. การพัฒนาระบบการเตรยี มพร้อมแห่งชาติและระบบบริหารจดั การภัยพิบตั ิรกั ษา
ความม่นั คงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม
7. การปรับกระบวนการทำงานของกลไกที่เกยี่ วข้องจากแนวดิ่งสแู่ นวราบมากขนึ้
ยุทธศาสตร์ท่ี 2 ดา้ นการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
1. การพัฒนาสมรรถนะทางเศรษฐกิจ ส่งเสริมการคา้ การลงทุน พฒั นาสู่ชาตกิ ารคา้
2. การพัฒนาภาคการผลิตและบริการ เสริมสร้างฐานการผลิตเข้มแข็งย่ังยืน และ
สง่ เสริมเกษตรกรรายย่อยสูเ่ กษตรย่ังยืนเปน็ มิตรกับสง่ิ แวดลอ้ ม
3. การพัฒนาผู้ประกอบการและเศรษฐกิจชุมชน พัฒนาทักษะผู้ประกอบการ
ยกระดับผลติ ภาพแรงงานและพัฒนา SMEs สสู่ ากล
4. การพัฒนาพ้ืนท่ีเศรษฐกิจและเมือง พัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน และ
พัฒนาระบบเมืองศูนยก์ ลางความเจรญิ
5. การลงทุนพัฒนาโครงสรา้ งพ้ืนฐาน ดา้ นการขนสง่
6. การเชื่อมโยงกับภูมิภาคและเศรษฐกิจโลก สร้างความเป็นหุ้นส่วนการพัฒนากับ
นานาประเทศ สง่ เสรมิ ใหไ้ ทยเปน็ ฐานของการประกอบธุรกิจ
ยุทธศาสตร์ท่ี 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพคน
1. พัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต
2. การยกระดบั การศึกษาและการเรียนรู้ใหม้ คี ณุ ภาพเท่าเทยี มและทวั่ ถงึ
3. ปลูกฝังระเบียบวนิ ัย คุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยมท่พี งึ ประสงค์
4. การเสรมิ สร้างใหค้ นมสี ุขภาวะที่ดี
5. การสรา้ งความอยูด่ ีมีสุขของครอบครวั ไทย

แผนอัตรากำลงั ข้าราชการครใู นสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๗ ๗

ยุทธศาสตร์ท่ี 4 ด้านการสร้างโอกาสบนความเสมอภาคและความเท่าเทียมกัน
ทางสังคม

1. สร้างความม่ันคงและการลดความเหลือ่ มลำ้ ทางเศรษฐกิจและสังคม
2. พฒั นาระบบบรกิ ารและระบบบริหารจดั การสขุ ภาพ
3. มสี ภาพแวดลอ้ มและนวตั กรรมทีเ่ ออ้ื ต่อการดำรงชวี ิตในสังคมสูงวยั
4. สร้างความเข้มแข็งของสถาบันทางสังคม ทางวัฒนธรรมและความเข้มแข็งของ
ชุมชน
5. พัฒนาการสื่อสารมวลชนใหเ้ ป็นกลไกในการสนับสนนุ การพัฒนา
ยุทธศาสตร์ท่ี 5 ด้านการสรา้ งการเตบิ โตบนคณุ ภาพชีวติ ทเี่ ป็นมติ รกบั สิ่งแวดลอ้ ม
1. จดั ระบบอนรุ กั ษ์ ฟน้ื ฟู และป้องกันการทำลายทรัพยากรธรรมชาติ
2. วางระบบบริหารจัดการน้ำให้มีประสิทธิภาพท้ัง 25 ลุ่มน้ำ เน้นการปรับระบบ
การบรหิ ารจดั การอทุ กภยั อย่างบรู ณาการ
3. การพฒั นาและใชพ้ ลงั งานท่เี ปน็ มติ รกบั ส่งิ แวดล้อม
4. การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชงิ นเิ วศ และเมืองท่ีเป็นมติ รกับส่งิ แวดล้อม
5. การร่วมลดปัญหาโลกร้อนและปรับตัวให้พร้อมกับการเปล่ียนแปลงสภาพ
ภมู อิ ากาศ
6. การใช้เคร่อื งมือทางเศรษฐศาสตร์และนโยบายการคลงั เพื่อส่งิ แวดล้อม
ยุทธศาสตร์ท่ี 6 ด้านการปรับสมดุลและพฒั นาระบบการบริหารจัดการภาครฐั
1. การปรับปรุงโครงสร้าง บทบาท ภารกิจของหน่วยงานภาครัฐ ให้มีขนาดที่
เหมาะสม
2. การวางระบบบริหารราชการแบบบูรณาการ
3. การพัฒนาระบบบรหิ ารจัดการกำลังคนและพฒั นาบคุ ลากรภาครฐั
4. การต่อตา้ นการทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบ
5. การปรับปรงุ กฎหมายและระเบียบต่างๆ ให้ทนั สมัยเปน็ ธรรมและเป็นสากล
6. ปรบั ปรุงการบริหารจดั การรายไดแ้ ละรายจ่ายของภาครัฐ

3. การวางแผนอตั รากำลงั คน
การวางแผนกำลังคนท่ีดีจะให้ผลลัพธ์ท่ีเป็นประโยชน์ มากกว่าคำตอบที่เป็นกรอบ

อตั รากำลังอันตายตัว ไม่สามารถตอบสนองต่อความเปล่ียนแปลงเมื่อบริบทแวดล้อมขององคก์ าร
หรือของตำแหน่งงานเปล่ียนแปลงไป หากแต่จะทำให้องค์การมีกรอบที่ชัดเจนว่า ในแต่ละ
สถานการณ์ แต่ละเป้าประสงค์ จะต้องใช้กำลังคนที่มีคุณสมบัติเช่นใด เป็นจำนวนเท่าไร อีกทั้ง
เม่ือสถานการณ์หรือเป้าประสงค์ขององค์กรเปล่ียนแปลงไป องค์กรจะต้องปรับทิศทางเร่ือง
กำลังคนอย่างไร ดังน้ัน การวางแผนกำลังคนมิใช่เป็นเพียงกิจกรรมการคำนวณตัวเลขที่เกิดข้ึน
และจบลงเปน็ ครั้ง ๆ แต่จะมีประโยชน์สงู สุด เม่ือสามารถตอบสนองวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ของ
องคก์ ร เช่ือมโยงไปสู่กลไกการบรหิ ารจัดการกำลังคน และบูรณาการกบั กระบวนการดำเนินงาน
ตามวสิ ัยทศั น์และแผนงานสำคญั ขององคก์ รได้

แผนอตั รากำลงั ขา้ ราชการครูในสถานศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๗ ๘

3.1 ความหมายของแผนอัตรากำลงั คน
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (2550: 1) กล่าวว่า การวางแผน
กำลังคน (Workforce Plan) หมายถึง การดำเนินการอย่างเป็นระบบ ในการวิเคราะห์และ
พยากรณ์เก่ียวกบั อุปสงค์และอุปทานด้านกำลังคน เพื่อนำไปส่กู ารกำหนดวิธีจะใหไ้ ด้กำลังคนท่ีมี
ความร้คู วามสามารถเหมาะสมและเพียงพอ ท้ังในด้านจำนวนและคุณภาพ มาปฏิบัติงานในเวลา
ที่ต้องการ โดยมีแผนการใช้และพัฒนาคนเหล่าน้ัน อย่างมีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง ท้ังน้ี เพื่อ
ธำรงรกั ษากำลงั คนที่เหมาะสมไวก้ บั องค์การอย่างต่อเน่ือง
3.2 ความสำคญั และประโยชนข์ องการวางแผนกำลังคน
1. ใชก้ ำลังคนใหส้ อดคลอ้ งกับภารกจิ เพื่อให้เกดิ ความคุ้มค่า
2. เตรียมกำลังคน ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพสำหรับการเปล่ียนแปลงท่ีจะเกิดข้ึน
ในอนาคต
3. เปน็ เคร่อื งชว่ ยตัดสนิ ใจในการบริหารทรัพยากรบคุ คล

- การวางแผนการสรรหาและการคัดเลือกบุคลการกรเพ่ือลด Recruitment Gaps
- การพัฒนาบุคลากร (Training and Development)
- การวางความก้าวหนา้ ในสายอาชพี (Career Development)
- การสืบทอดตำแหน่ง/สร้างความต่อเน่ืองในการบริหารราชการ (Sucession
Planning)
- การบริหารคา่ ใช้จ่ายดา้ นบุคลากรเชน่ ค่าตอบแทน สวสั ดกิ าร (Staff Costing)
- การตัดสินใจลดหรือเพิ่มกำลังคนด้วยมาตรการต่างๆ (Expansion Restructuring
/Reduction/Redundancy)
3.3 วตั ถปุ ระสงค์ของการวางแผนกำลังคน
1. เพอ่ื ให้ได้มาและธำรงรกั ษากำลังคนไวใ้ นจำนวนและคุณภาพท่ีต้องการ
2. ใช้กำลงั คนทมี่ อี ยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสดุ
3. พยากรณป์ ญั หาเกย่ี วกับกำลงั คน
4. เตรยี มมาตรการทีเ่ หมาะสมเพือ่ ป้องกนั และแก้ไขปัญหาเก่ียวกบั กำลังคน
5. เป็นจุดเร่ิมต้นในการทำความเข้าใจร่วมกันเกี่ยวกับสภาพกำลังคน จะเช่ือมโยง
ไปส่กู ารเกล่ียกำลงั คน
3.4 สิ่งท่ีต้องพิจารณาในการวางแผนอัตรากำลังคม ในการวางแผนกำลังคนต้อง
พิจารณาสิง่ ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง ดงั น้ี
1. กำลังคนท่ีมีอยู่ได้ใช้ประโยชน์เต็มที่หรือไม่ คุ้มกับค่าตอบแทนและค่าใช้จ่ายที่
ตอ้ งเสียไปหรือไม่
2. มีแผนการพัฒนากำลังคนอยา่ งไร เพ่อื เพิม่ พูนประสทิ ธิภาพในการปฏิบตั ิงาน
3. อัตราการสูญเสียกำลังคน ประเภท ระดับ สายงานใด ก่อให้เกิดปัญหาหรือไม่
เพราะเหตุใด
4. จะต้องใช้เทคนิคและวิธีการใดในการพยากรณ์กำลังคน จึงจะเหมาะสมและคาด
วา่ จะไดผ้ ลใกล้เคยี งกบั ความเปน็ จริงมากทสี่ ุด

แผนอัตรากำลงั ข้าราชการครูในสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๗ ๙

5. ควรจะวางแผนระยะเวลาเท่าใด 3 ปี, 5 ปี หรอื วางแผนทกุ ปี
6. การสรรหาจะกระทำโดยวิธีใด จึงจะเหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพปัญหา
การขาดแคลนกำลงั คนได้อย่างดีท่ีสุด
3.5 แนวทางสำหรับการวางแผนกำลงั คน
1. ควรทำแผนกำลงั คนประจำปี โดยใชป้ งี บประมาณ
2. ควรทำแผนระยะ 3 - 5 ปี ดว้ ย
3. ควรทำแผนปฏิบัติการเร่ืองกำลังคน เพื่อป้องกันหรือแก้ไขปัญหาท่ีอาจเกิดจาก
สาเหตตุ ่างๆ
3.6 บทบาทของกลมุ่ บคุ คลเก่ยี วกับการวางแผนกำลงั คน
3.6.1 ผู้บรหิ ารระดับสูงของหนว่ ยงาน

กำลังคนเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าท่ีสุดในองค์การและมีจำกัด จึงจำเป็นต้องมี
การบรหิ ารที่ดีเพอื่ ใหไ้ ด้ประโยชน์สูงสดุ จากการใช้กำลงั คนที่มอี ยู่

3.6.2 หัวหนา้ หน่วยงานระดบั กอง
เป็นผู้มีบทบาทในการใช้และควบคุมกำลังคน จำเป็นต้องมีข้อมูลกำลังคน

เพียงพอ เพื่อให้มั่นใจได้ว่ามีกำลังคนในคุณภาพและจำนวนท่ีต้องการ ข้อมูลสำหรับ การ
พยากรณค์ วามต้องการกำลังคนในอนาคต เพอ่ื ใช้ในการตดั สินใจดำเนินการตามแผนกำลงั คนดา้ น
ตา่ ง ๆ และเพ่ือเสนอแนะผ้บู ริหารระดบั สงู

3.6.3 เจ้าหน้าทผี่ รู้ บั ผดิ ชอบเรือ่ งวางแผนกำลงั คน
เป็นผู้มีบทบาทในการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการวางแผนกำลังคนแก่

ข้าราชการทุกระดับ โดยเฉพาะผู้ดำรงตำแหน่งสูงกว่า นอกจากน้ี เจ้าหน้าที่วางแผนกำลังคน
จะต้องเป็นผู้รับผิดชอบในการเก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล รับข้อแนะนำจากหัวหน้าหน่วยงาน
เก่ียวกับปัญหากำลังคน และเพื่อเสนอแนะแผนและแนวปฏิบัติท่ีเหมาะสมกับการแก้ไขปัญหาให้
ฝา่ ยบรหิ ารพิจารณา

3.7 กระบวนการในการวางแผนกำลงั คน
3.7.1 การเกบ็ ข้อมลู กำลงั คน
วางแผนกำลังคนจะประสบผลสำเร็จจะต้องอาศัยข้อมูลที่ถูกต้องสมบูรณ์

เช่ือถือได้เป็นฐาน ต้องครอบคลุมท้ังด้านอุปสงค์และอุปทาน เพื่อใช้เป็นฐานในการวิเคราะห์
และพยากรณ์ เพอื่ การวางแผนแก้ปญั หากำลังคน ซึ่งต้องจัดทำอยา่ งเป็นระบบ

3.7.2 การพยากรณอ์ ปุ สงคก์ ำลงั คน
เป็นการพยากรณ์เก่ียวกับความต้องการกำลังคนในอนาคต โดยใช้ข้อมูลกำลังคนที่

เก็บในขอ้ 3.6.1 ประกอบกับข้อมูลด้านนโยบาย แผนปฏิบตั งิ าน และปรมิ าณงาน ของสว่ นราชการ
3.7.3 การพยากรณ์อุปทานกำลังคน
เป็นการพยากรณ์เก่ียวกับสภาพการณ์และปัญหาเกี่ยวกับกำลังคนท่ีมีอยู่

ในปัจจุบันโดยวิเคราะห์ข้อมูลที่สำคัญ เช่น การสูญเสียกำลังคน กำลังคนคงเหลือ การย้าย
สับเปลี่ยน ฯลฯ การวิเคราะห์ข้อมูลควรทำอย่างต่อเน่ือง เพื่อใช้ผลการวิเคราะห์เป็นฐานในการ

แผนอตั รากำลงั ข้าราชการครูในสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๗ ๑๐

พยากรณ์ เช่น การสูญเสียกำลังคนในอีก 5 - 10 ปีข้างหน้า ตลอดจน การพยากรณ์ถึง
ผลกระทบสบื เน่อื งจากรปู แบบและสภาพการณ์ดา้ นกำลังคนทีจ่ ะมีต่อการบริหารงาน

3.7.4 การวเิ คราะห์การใช้กำลังคนใหม้ ปี ระสิทธภิ าพ
จำเป็นต้องศึกษาวิเคราะห์เป็นระยะๆ เพื่อให้แน่ใจว่าหน่วยงานมีการใช้

กำลังคนอยา่ งประหยัดและเกดิ ประสิทธภิ าพสูงสดุ
3.7.5 การพยากรณ์ปญั หาด้านกำลังคน
มีความรุนแรงและมีผลกระทบต่อหน่วยงานแค่ไหน เพียงใด เช่น การ

สญู เสยี กำลังคน การขาดความสมดลุ ในโครงสรา้ งกำลงั คน
3.7.6 การจัดทำแผนกำลงั คน
แผนกำลังคน คือ แผนปฏิบัติการต่างๆ ท่ีจะดำเนินการเพื่อป้องกันหรือ

แก้ปัญหาดา้ นกำลังคน เม่ือได้ทราบปัญหาต่างๆ ท้งั ที่กำลงั เกิดขึ้น และที่อาจจะเกิดข้ึนในอนาคต
แผนกำลงั คนควรครอบคลุมเร่อื งต่างๆ ดังน้ี

1) นโยบาย เป้าหมาย เก่ียวกับการบริหารกำลงั คน
2) แผนการสรรหา
3) แผนพัฒนาและฝกึ อบรม
4) แผนด้านเจา้ หน้าทส่ี มั พันธ์
5) แผนการขยายหรอื ปรับปรงุ เพมิ่ คุณค่าของงาน
6) แผนการเกลยี่ กำลังคน
7) แผนเตรยี มกำลงั คนเพอื่ สบื ทอดตำแหน่ง
3.7.7 การนำแผนไปปฏบิ ตั ิ ตรวจสอบ และประเมนิ ผล

การนำแผนไปปฏิบัติ เพ่ือให้เกิดผลในการแก้ปัญหาต่างๆ ฝ่ายบริหารควร
กำหนดเป็นนโยบายให้หน่วยงานในสังกัดให้ความร่วมมือ ท้ังนี้ ต้องมีการติดตามตรวจสอบว่า
เป็นไปตามแผนหรือไม่ รวมทั้ง มกี ารประเมินผล เพื่อทราบปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินการ
ตามแผน อนั จะเป็นประโยชนใ์ นการปรบั ปรงุ การวางแผนกำลงั คนต่อไป

3.8 วธิ ีการวางแผนกำลังคน
3.๘.1 ประเภทของข้อมูล
1) ข้อมูลบุคคล คือ ข้อมูลทั้งหมดท่ีเก่ียวข้องกับตัวบุคคล เช่น ช่ือ ช่ือสกุล

ชอื่ ค่สู มรส ประวัติการรบั เคร่อื งราชอิสรยิ าภรณ์ฯ
2) ข้อมลู สำหรบั การวางแผนกำลังคน ท่สี ำคัญไดแ้ ก่ ชื่อ ชอ่ื สกุล ตำแหน่งใน

สายงาน ระดับตำแหน่ง ฝ่าย/กอง/กรม วุฒิการศึกษา การฝึกอบรม การประเมินผ ล
การปฏิบตั ิงาน วนั เข้ารับราชการ เงินเดอื น ฯ

3.8.2 ข้อมูลทจ่ี ำเปน็ สำหรบั การวางแผนกำลงั คน
ข้อมูลท่ีจำเป็นสำหรับการวางแผนกำลังคน ประกอบด้วย ความต้องการ

กำลังคนในช่วงระยะเวลาที่จัดทำแผนกำลังคน สภาพกำลังคนปัจจุบัน การสูญเสียกำลังคน การ
ได้กำลังคนเพมิ่

แผนอตั รากำลงั ข้าราชการครูในสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๗ ๑๑

3.8.3 ข้ันตอนการวางแผนกำลงั คน
ขนั้ ตอนการวางแผนกำลังคน ประกอบด้วย
1) การเกบ็ ขอ้ มลู ควรกำหนดช่วงเวลาในการเกบ็ ขอ้ มลู ให้ชดั เจน และ

ควรจดั แบง่ และกำหนดกลุม่ งานทีจ่ ะวเิ คราะห์
2) การประมวลผลข้อมูล เป็นการนำข้อมูลทุกชนิดที่ได้รวบรวมไว้

มาคำนวณเพือ่ หากำลงั คนทตี่ ้องการ
3) การวิเคราะห์ข้อมูล ควรดำเนินการวิเคราะห์เป็นรายปี ทดแทน

การสญู เสยี ในเร่ืองจำนวน และพจิ ารณาในด้านคณุ ภาพดว้ ย
3.8.4 การวางแผนปฏิบตั ิการ
เปน็ การดำเนินการเพอื่ แกป้ ัญหาหลังจากการวเิ คราะหข์ ้อมูลแลว้

3.9 กลวธิ ีในการแก้ไขปญั หากำลงั คน
3.9.1 นโยบาย เป้าหมาย เกี่ยวกับการบรหิ ารกำลังคน
หน่วยงานควรมีการกำหนดนโยบายและเป้าหมาย ด้านกำลังคนให้ชดั เจน โดย

ตอ้ งคำนงึ ถงึ ปัญหาและความต้องการกำลงั คน ดังน้ี
1) สำรวจและวิเคราะห์ปัญหาด้านกำลังคน เช่น การขาดแคลนกำลังคน

การสูญเสียกำลังคน คุณภาพกำลังคน ขวัญ-กำลังใจของกำลังคน ปัญหาเหล่านี้มีความรุนแรง
แค่ไหนเพียงใด จัดลำดับความสำคัญ เพ่ือเป็นแนวทางในการวางแผนและกำหนดกลวิธีในการ
แกไ้ ขปรับปรุงให้เหมาะสม

2) วิเคราะห์แนวโน้มและเป้าหมายด้านกำลังคน ว่าอนาคตเป็นอย่างไร
ต้องการแก้ปัญหาเร่ืองใด การกำหนดนโยบายและแผนกำลังคนก็ควรมุ่งเน้นในเร่ืองน้ันๆ และ
ควรต้องวิเคราะห์แผนงานในอนาคตของส่วนราชการด้วย เพ่ือจะได้ทราบว่าจะต้องเตรียม
กำลังคนอยา่ งไร จึงจะสามารถปฏบิ ัตภิ ารกิจตามแผนงานเหล่านน้ั ใหบ้ รรลผุ ลสำเรจ็ ได้

3) กำหนดนโยบายและเป้าหมายกำลังคน เม่ือดำเนินการตามข้อ 1) และ
2) แล้ว จึงกำหนดให้แน่ชัดว่าต้องการแก้ปัญหาในเร่ืองใด หรือจะปรับปรุงกำลังคนในเรื่องใด
เป้าหมายการใชก้ ำลงั คนเป็นอยา่ งไร

4) สื่อสารและทำความเข้าใจ ควรมีการเผยแพร่ให้เจ้าหน้าที่ทุกคนเข้าใจ
นโยบายและเป้าหมาย เพ่ือให้ความรว่ มมือดำเนนิ การตามนโยบาย ดังน้ี

4.1) ผู้บรหิ ารระดบั สงู ต้องสนับสนุน
4.2) มีเป้าหมายและแผนงานชัดเจน เช่น การย้ายสับเปล่ียน เพื่อการ
พฒั นากำลงั คน
4.3) สามารถปฏบิ ัตไิ ด้
3.9.2 การสรรหา
เป็นวิธีการให้ได้บุคคลตามความต้องการ เป็นจุดเร่ิมต้นท่ีจะทำให้ได้คนดี มี
ความรู้ ความสามารถ ประกอบด้วย 5 ขนั้ ตอน ดงั นี้
1) การแยกประเภทตำแหน่ง
2) วิธกี ารสรรหา

แผนอตั รากำลงั ขา้ ราชการครใู นสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๗ ๑๒

3) การสำรวจสภาพกำลงั คน
4) การประเมนิ ผล
5) วธิ ีการประเมนิ
3.9.3 การพฒั นาการฝกึ อบรม
มจี ุดมุ่งหมายในการเพ่ิมพูนสมรรถภาพของผู้ปฏิบัติงานทั้งในหนา้ ท่ีปัจจบุ ันและ
ในอนาคต รวมถึง การเป็นสมาชิกท่ีดีขององค์การ มีคุณธรรม และความเป็นมนุษย์ท่ีดีย่ิงขึ้น มี
จิตใจและพลานามัยที่สมบูรณ์ สามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาวการณ์ที่เปล่ียนแปลงได้อย่าง
เหมาะสม
3.9.4 เจ้าหนา้ ทส่ี มั พนั ธ์
งานเจ้าหน้าท่ีสัมพันธ์ หมายถึง กิจกรรมต่างๆ ท่ีก่อให้เกิดคามสัมพันธ์ระหว่าง
เจ้าหน้าทีก่ ับหน่วยงาน เช่น การจดั ให้มีการปฐมนิเทศ สภาพแวดล้อมทเี่ หมาะสมฯ
3.9.5 การปรับปรงุ งาน
การปรบั ปรงุ งานประกอบด้วย
1) การขยายงาน
1.1) การขยายงานท่ีใช้ความสามารถอย่างเดียวกัน ทำให้เจ้าหน้าท่ีไม่
เบือ่ หน่ายในการปฏบิ ัตงิ าน และเปน็ การเตรียมเจ้าหน้าที่ให้สามารถปฏิบตั งิ านแทนกันได้
1.2) การขยายงานท่ีใช้ความสามารถแตกต่างกัน ผู้บังคับบัญชาควร
มอบหมายงานซึ่งคาดว่าผู้นั้นจะสามารถปฏิบัติได้ เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานเกิดความกระตือรือร้นและ
สนใจในการปฏิบัติงาน
1.3) การหมุนเวยี นผปู้ ฏบิ ตั งิ านหมายถึงการโยกย้ายใหไ้ ปดำรงตำแหนง่ อนื่
2) การปรับปรุงเพ่ิมคุณค่าของงาน เพื่อให้เกิดความท้าทายต่อความสามารถของ
ผ้ปู ฏบิ ัตงิ าน เชน่
2.1) มอบหมายงานให้ดำเนนิ การต้งั แต่ต้นจนจบ
2.2) ความเปน็ อสิ ระในการปฏบิ ัตงิ าน
2.3) การทราบผลการปฏบิ ตั ิงาน
3.9.6 การเกล่ียกำลังคน
การเกล่ียกำลังคน หมายถึง การถ่ายเทกำลังคนจากหน่วยงานท่ีมีความ
จำเป็นน้อยกว่าไปปฏิบัติงานในหน่วยงานท่ีมีความจำเป็นมากกว่า เพื่อให้การใช้กำลังคน เกิด
ประโยชนส์ ูงสุด
3.9.7 การเตรียมกำลังคนเพ่อื สืบทอดตำแหน่ง
การเตรียมกำลังคนเพ่ือสืบทอดตำแหน่งมีเหตุผลความจำเป็นในการสืบทอด
ตำแหน่ง ดังนี้
1) สร้างความเชื่อมั่นว่าหน่วยงานจะมีผู้ปฏิบัติงานเพียงพอและมีคุณภาพที่
เหมาะสม
2) การเลอื กคนไว้ทดแทนตอ้ งรอบคอบ โดยเฉพาะการพฒั นาคน

แผนอตั รากำลงั ข้าราชการครใู นสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๗ ๑๓

3) ผู้มีความรู้ความสามารถสูง มักถูกชักจูงไปทำงานกับหน่วยงานอื่นจึง
จำเป็นตอ้ งเฟ้นหาตัวบุคคลเพ่ือทดแทน เพือ่ มิให้เกิดช่องว่างหรอื ขาดแคลนกำลังคนระดับสมอง

นอกจากนี้ ยังมีนักวิชาการได้กล่าวถึงข้อมูลที่ใช้ในการวางแผนกำลังคนและ
กระบวนการวางแผนกำลังคนไวห้ ลายทา่ น เชน่ แนวคดิ ของ ดร.สุรพงษ์ มาลี

แผนอตั รากำลังขา้ ราชการครใู นสถานศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๗ ๑๔

แผนอตั รากำลงั ข้าราชการครใู นสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๗ ๑๕

แผนอตั รากำลงั ข้าราชการครใู นสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๗ ๑๖

แผนอตั รากำลงั ข้าราชการครใู นสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๗ ๑๗

แผนอตั รากำลงั ข้าราชการครใู นสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๗ ๑๘

แผนอตั รากำลงั ข้าราชการครใู นสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๗ ๑๙

แผนอตั รากำลงั ข้าราชการครใู นสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๗ ๒๐

แผนอตั รากำลงั ข้าราชการครใู นสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๗ ๒๑

แผนอตั รากำลงั ข้าราชการครใู นสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๗ ๒๒

แผนอตั รากำลงั ข้าราชการครใู นสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๗ ๒๓

แผนอตั รากำลงั ข้าราชการครใู นสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๗ ๒๔

แผนอตั รากำลงั ข้าราชการครใู นสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๗ ๒๕

แผนอตั รากำลงั ข้าราชการครใู นสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๗ ๒๖

แผนอตั รากำลงั ข้าราชการครใู นสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๗ ๒๗

กล่าวโดยสรุปได้ว่า การวางแผนอัตรากำลงั คนจงึ ไม่ควรเป็นเพียงแผนท่ีนำทาง อันจำกัด
คบั แคบเท่านั้น แต่จะตอ้ งสามารถเปน็ กลไกช้ีนำทิศทางในการเลือกสรร พัฒนา และ ใชป้ ระโยชน์
จากทรัพยากรบุคคลอันมีค่าขององค์กร อีกทั้งสามารถเป็นเคร่ืองมือตรวจสอบการใช้ทรัพยากร
บุคคลใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพประสิทธิผลเพ่อื ประโยชน์สงู สดุ ต่อองค์กรและคนในองค์กรได้อีกดว้ ย

4. การวางแผนอัตรากำลังข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
การวางแผนอัตรากำลังข้าราชการครูเป็นการคาดการณ์กำลังคนในองค์กรน้ัน มีหลักคิด

คำนวณมาจากสมการพ้ืนฐานที่นิยมใช้เป็นแนวทางในการวางแผนกำลังคนท้ังในองค์กรภาครัฐ
และภาคเอกชน ดงั นี้

จำนวนกำลงั ท่ีตอ้ งการเพิม่ ขึน้ = จำนวนกำลังคนท่ตี อ้ งการท้งั หมด – จำนวนกำลงั คนท่มี ีอยู่จรงิ

โดยท่ีจำนวนกำลงั คนทต่ี ้องการท้ังหมด คดิ คำนวณได้จากสมการ

จำนวนกำลงั คนที่ตอ้ งกำรท้งั หมด = ปริมาณงานทั้งหมดในหนง่ึ หนว่ ยเวลา
ปริมาณงานทคี่ นหนึง่ คนทำได้ในหนง่ึ หนว่ ยเวลา

4.1 กระบวนการวางแผนกำลังคน
กระบวนการวางแผนกำลังคน มีองค์ประกอบสำคัญ 3 ดา้ น คอื
1. กำลังบุคคลท่มี ีอยใู่ นปัจจุบัน (manpower inventory) โดยหน่วยงานต้องมี

ข้อมลู กำลงั คนในปัจจุบันท้งั ในเชงิ ปรมิ าณและเชิงคณุ ภาพ
2. การคาดการณ์กำลังบุคคลในอนาคต (manpower forecast) หน่วยงาน

ต้องมีการคาดการณ์และระบไุ ว้ใหพ้ ร้อมวา่ ในอนาคตต้องการบุคคลจำนวนเทา่ ใด ประเภทใดบ้าง
ตลอดจนปริมาณงานทั้งหมดในหน่ึงหน่วยเวลาปริมาณงานที่คนหน่ึงคนทำได้ในหน่ึงหน่วยเวลาจน
ระบุรายละเอยี ดถึงคณุ สมบตั ิตา่ ง ๆ เชน่ ความชำนาญงาน พนื้ ฐานการศึกษาและประสบการณ์

3. แผนกำลังคน (manpower plans) เป็นแผนเฉพาะท่ีใช้แน่นอน สำหรับ
นำมาใช้ปฏิบัติเพ่ือเสริมส่วนที่ขาดระหว่างข้อแตกต่างท่ีเกิดขึ้นจากกำลังคนท่ีคาดการณ์และ
กำลังคนทีม่ อี ยู่

4.2 การกำหนดแนวทางวางแผนกำลงั คนสำหรบั ขา้ ราชการครู
จากหลักคิดคำนวณสมการพื้นฐานและกระบวนการวางแผนกำลังคน สามารถ

นำมากำหนดแนวทางวางแผนกำลังคนสำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ใน
สถานศึกษาได้ดงั นี้

4.2.1 การกำหนดปริมาณงานในสถานศกึ ษา
การกำหนดปริมาณงานในสถานศึกษาเป็นการกำหนดโดยแบ่งงาน

ออกเปน็ 3 ดา้ นคือ

แผนอตั รากำลังข้าราชการครใู นสถานศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๗ ๒๘

1) ปรมิ าณงานดา้ นการบริหารสถานศกึ ษา
ปริมาณงานด้านการบริหารสถานศึกษา หมายถึงจำนวนชั่วโมง

ปฏิบัติงานของด้านการบริหารในสถานศึกษาในหนึ่งสัปดาห์ของผู้อำนวยการสถานศึกษา
รองผู้อำนวยการสถานศึกษา

2) ปรมิ าณงานดา้ นการสอน
ปริมาณงานด้านการสอน เป็นปริมาณงานที่สามารถรวบรวมได้ จาก

ข้อมูลจำนวนนักเรียนในปัจจุบัน (ณ วันท่ี 10 มิถุนายนของทุกปี) สถิติการรับนักเรียนของ
สถานศึกษา จำนวนช่ัวโมงปฏิบัติงานสอนในหน่ึงสัปดาห์ของข้าราชการครูและ ครูอัตราจ้าง
ขอ้ มูลจำนวนนักเรยี นในปจั จุบนั หมายถงึ ข้อมูลจำนวนนกั เรียนทเี่ รียนอยใู่ นปัจจุบัน (ณ วนั ท่ี 10
มิถุนายนของทุกปี) โดยนับจำนวนนักเรียนแยกตามระดับช้ันและในระดับชั้นให้แยกจัดเป็น
ห้องเรียน เช่น มีจำนวนนักเรียนในระดับชั้น ม.1 จำนวน 3 ห้อง นักเรียนห้อง ม.1/1จำนวน
40 คน นกั เรียนห้อง ม.1/2 จำนวน 39 คน นักเรยี นห้อง ม.1/3 จำนวน 42 คน เปน็ ตน้

สถิติการรับนักเรียนของสถานศึกษา หมายถึงข้อมูลการสมัครและ
การรบั นกั เรียนยอ้ นหลงั 3 ปกี ารศกึ ษา

จำนวนช่ัวโมงสอนของครู หมายถึง จำนวนชั่วโมงที่ปฏิบัติงานสอน
(Teaching Load) ในหนึ่งสัปดาห์ ของขา้ ราชการครูและครอู ตั ราจ้าง

3) ปรมิ าณงานอื่น
ปรมิ าณงานอืน่ หมายถงึ ปรมิ าณงานอน่ื ๆ ท่ีนอกเหนือจากงานดา้ นการ

บริหารสถานศึกษาและปริมาณงานด้านการสอน ซึ่งได้แก่ จำนวนชั่วโมงปฏิบตั ิงานสนับสนุนการ
สอนในหน่ึงสัปดาห์ของข้าราชการครู บุคลากรทางการศึกษา และอัตราจ้างที่มีช่ัวโมงปฏิบัติงาน
สนับสนุนการสอนจำนวนชั่วโมงปฏิบัติงานสนับสนุนการสอนของครู หมายถึง จำนวนช่ัวโมง
ปฏิบัติงานสนับสนุนการสอนในหน่ึงสัปดาห์ ของบุคลากรทางการศึกษาและอัตราจ้างท่ี
ปฏบิ ัติงานสนับสนุนการสอน

4.2.2 การกำหนดปริมาณงานที่คนหนึ่งคนทำได้ในหนง่ึ หน่วยเวลา
การกำหนดปริมาณงานที่คนหน่ึงคนทำได้ในหนึ่งหน่วยเวลา หมายถึง

การกำหนดปริมาณงานประเภทต่าง ๆ ในสถานศึกษา ซ่ึงได้แก่ งานบริหารสถานศึกษา
งานสอนในแตล่ ะกลุ่มสาระการเรียนรู้ และงานสนับสนุนการสอน ซึ่งในการกำหนดปริมาณงานที่
คนหน่งึ คนสามารถปฏิบัติได้ในหนึ่งหน่วยเวลาของการวางแผนกำลังคนในสถานศกึ ษาน้ี เป็นการ
กำหนดจากเกณฑ์มาตรฐานอัตรากำลังข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา และหลักสูตร
การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2544

4.3 เกณฑ์อัตรากำลงั ข้าราชการครูในสถานศึกษา
จำนวนอัตรากำลังข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา

กำหนดจากเกณฑ์มาตรฐานอัตรากำลังข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาของสำนักงาน
คณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา(สำนักงาน ก.ค.ศ.) โดยกำหนดเกณฑ์
มาตรฐานอัตรากำลังข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (สำนักงานคณะกรรมการ
ขา้ ราชการคร,ู 2545ก; 2545ข) ดงั น้ี

แผนอัตรากำลังข้าราชการครใู นสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๗ ๒๙

4.3.1 เกณ ฑ์มาตรฐานอัตรากำลังข้าราชการค รูสายงานการสอนใน

สถานศึกษา ในระดับกอ่ นประถมศกึ ษา ประถมศกึ ษา และมัธยมศึกษา

กรณีท่ี 1 โรงเรยี นทมี่ นี ักเรียน 120 คนลงมา

นักเรยี น นักเรยี น นักเรยี น นกั เรียน นักเรยี น นกั เรยี น

รายการ 20 คนลงมา 21-40 41-60 61-80 81-100 101-120

คน คน คน คน คน

ผู้สอน 1 2345 6

ผู้บรหิ าร 1 1111 1

รวม 1 3 4 5 6 7

กรณีที่ 2 โรงเรียนที่มีนกั เรยี น 121 คนขึ้นไป

จำนวนครูสายงาน จำนวนหอ้ ง X นกั เรยี น : ห้อง + นกั เรยี นทัง้ หมด

การสอน นักเรยี น : ครู นักเรียน : ครู

ก่อนประถมศกึ ษา 2

นักเรยี น : ห้อง = 30 : 1

นกั เรียน : ครู = 25 : 1

ประถมศึกษา จำนวนห้อง X นักเรียน : ห้อง + นกั เรยี นท้งั หมด

นกั เรียน : ครู นักเรียน : ครู

2

นกั เรยี น : หอ้ ง = 40 : 1

นักเรยี น : ครู = 25 : 1

มัธยมศึกษา X = na

b

X = จำนวนครู

n = จำนวนหอ้ งเรียน

a = จำนวนนกั เรียน : ห้อง = 40 : 1

b = จำนวนนกั เรียน : ครู = 20 : 1

เงือ่ นไข

- การคดิ จำนวนหอ้ งเรยี นแต่ละชนั้ หากมเี ศษตัง้ แต่ 10 คนขน้ึ ไปใหเ้ พ่ิม

อีก 1 ห้อง

- การคิดจำนวนครใู หป้ ดั เศษตามหลักคณติ ศาสตร์

แผนอตั รากำลังขา้ ราชการครใู นสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๗ ๓๐

4.3.2 เกณฑ์มาตรฐานอตั รากำลังขา้ ราชการครสู ายงานการบริหารใน
สถานศึกษาในระดับก่อนประถมศกึ ษา ประถมศกึ ษา และมธั ยมศึกษา

กรณที ี่ 1 โรงเรยี นทีม่ ีนกั เรียนต่ำกว่า 360 คน มีผบู้ รหิ าร 1 คน
กรณที ี่ 2 โรงเรยี นท่ีมีนักเรยี น 360 คน ข้นึ ไป

จำนวนนักเรยี น (คน) ผู้บริหาร (คน) ผ้ชู ว่ ยผู้บริหาร (คน)

360 – 719 1 1

720 – 1,079 1 2

1,080 – 1,679 1 3

1,680 ข้ึนไป 1 4

4.3.3 เกณฑ์มาตรฐานอัตรากำลงั บุคลากรสนบั สนุนการสอน

เกณฑ์มาตรฐานอัตรากำลังบุคลากรสนับสนนุ การสอน ประมาณร้อยละ

10 ของจำนวนขา้ ราชการครูสายงานการสอน โดยพจิ ารณาตามความจำเป็น ดงั น้ี

1) โภชนาการ 2) อนามยั โรงเรยี น

3) บรรณารกั ษ์ 4) การเงนิ

5) ธุรการ 6) บันทึกข้อมูล

7) โสตทศั นศกึ ษา 8) คอมพวิ เตอร์

9) ทะเบยี นวดั ผล 10) พสั ดุ

11) แนะแนว

4.4 การนำไปใช้ประโยชน์

การวางแผนกำลังคนสำหรับข้าราชการครูเป็นประโยชน์ที่นำไปใช้ในเรื่อง การ

บรหิ ารงานบคุ คล ได้ดังนี้

1. สามารถนำไปใช้วางแผนกำหนดจำนวนอัตรากำลังข้าราชการครูได้ อย่าง

เหมาะสม สอดคลอ้ งกบั ปรมิ าณงานทีแ่ ท้จรงิ

2. นำไปใช้ในการสับเปลี่ยน โยกย้ายข้าราชการครู โดยท่ีผู้ย้ายได้ย้ายไปยัง

หน่วยงานทางการศึกษาทต่ี ้องการ และสถานศกึ ษากไ็ ด้ข้าราชการครูตรงกับกล่มุ สาระการเรียนรู้

ทต่ี ้องการเช่นกนั

3. นำไปใช้ในการวางแผนพัฒนาข้าราชกากรครูในสถานศึกษาและในสำนักงานเขต

พืน้ ท่ีการศึกษา

4. ฝา่ ยผลิตขา้ ราชการครู สามารถนำไปวางแผนผลิตขา้ ราชการครูให้สอดคลอ้ งกบั

ความต้องการใช้อัตรากำลังของสถานศึกษา

กล่าวโดยสรุปได้ว่า การวางแผนอัตรากำลังข้าราชการครูในสถานศึกษา นอกจาก จะ

วางแผนให้สอดคล้องกับความต้องการของสถานศึกษาและของสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาแล้ว

ยังต้องวางแผนอัตรากำลังเพื่อใช้กำลังคนให้ได้ประโยชน์สูงสุดด้วย กล่าวคือ จะต้องมีการ

วางแผนกระจายอตั รากำลัง หรือเรม่ิ การวางแผนกำลังคนตั้งแต่ระดบั สถานศึกษา ซึ่งในปัจจุบัน

พบว่า ข้าราชการครูในระดับโรงเรียนหลายโรงเรียนมีสภาพขาดแคลนอัตรากำลัง และขาดครู

แผนอตั รากำลังข้าราชการครูในสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๗ ๓๑

สาขาวชิ าเอก ดังนั้น การวางแผนอตั รากำลงั สำหรับขา้ ราชการครู จงึ ควรแก้ปัญหาในเร่ืองจำนวน
และคณุ ภาพของข้าราชการครใู นสถานศึกษา

5. บริบทของสำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 1
ท่ีต้ัง
เลขท่ี 7 อาคารเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา ถนนไกรเพชร ตำบล

หนา้ เมือง อำเภอเมือง จงั หวดั ราชบุรี
วิสัยทัศน์
สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 เป็นองค์กรหลักในการจัดและ

ส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ให้ประชากรวัยเรียนอย่างทั่วถึงและขับเคล่ือน
คุณภาพการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานเขา้ สู่มาตรฐานสากล บนพน้ื ฐานความเป็นไทย

พันธกิจ
เพ่ิมโอกาสในการได้รับการศึกษาท่ีมีคุณภาพ ให้แก่ประชากรวัยเรียนทุกคนอย่างท่ัวถึง
พัฒนาผู้เรียนให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ มีคุณธรรม มีความสามารถและคุณลักษณะตาม
มาตรฐาน และพฒั นาสู่มาตรฐานสากล บนพนื้ ฐานความเปน็ ไทย
อำนาจหนา้ ที่ของสำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา
1. จัดทำนโยบาย แผนพัฒนา และมาตรฐานการศึกษาของเขตพื้นท่ีการศึกษา
ให้สอดคล้องกับนโยบาย มาตรฐานการศึกษา แผนการศึกษา แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
และความตอ้ งการของทอ้ งถิ่น
2. วิเคราะห์การจัดตั้งงบประมาณเงินอุดหนุนท่ัวไปของสถานศึกษา และหน่วยงาน
ในเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และแจ้งการจัดสรรงบประมาณท่ีได้รับให้หน่วยงานข้างต้นรับทราบ
รวมทั้งกำกับตรวจสอบติดตามการใช้จา่ ยงบประมาณของหนว่ ยงานดงั กล่าว
3. ประสาน ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาหลักสูตรร่วมกับสถานศึกษาในเขตพ้ืนที่
การศกึ ษา
4. กำกับ ดูแล ติดตาม และประเมินผลสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและในเขตพื้นที่
การศกึ ษา
5. ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และรวบรวมข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษา ในเขตพื้นที่
การศึกษา
6. ประสานการระดมทรัพยากรด้านต่างๆ รวมทั้งทรัพยากรบุคคล เพื่อส่งเสริม
สนบั สนุนการจดั และพฒั นาการศึกษาในเขตพืน้ ที่การศึกษา
7. จัดระบบประกันคุณภาพการศึกษา และประเมินผลสถานศึกษาในเขตพื้นท่ี
การศึกษา
8. ประสาน ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษาของสถานศึกษาเอกชน องค์กร
ปกครองส่วนท้องถ่ิน รวมทั้งบุคคล องค์กรชุมชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถาน
ประกอบการและ สถาบันอ่นื ที่จัดการศึกษารูปแบบทหี่ ลากหลายในเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา

แผนอตั รากำลังข้าราชการครูในสถานศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๗ ๓๒

9. ดำเนินการและประสาน สง่ เสรมิ สนับสนุนการวจิ ยั และพัฒนาการศึกษาในเขตพ้นื ท่ี
การศกึ ษา

10. ประสาน ส่งเสริม การดำเนินการของคณะอนุกรรมการ และคณะทำงานด้าน
การศึกษา

11. ประสานการปฏิบัตริ าชการท่ัวไปกับองค์กรหรอื หน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐ เอกชน
และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในฐานะสำนักงานผู้แทนกระทรวงศึกษาธิการในเขตพ้ืนท่ี
การศึกษา

12. ปฏิบัติหน้าท่ีอ่ืนเก่ียวกับกิจการภายในเขตพื้นที่การศึกษาท่ีมิได้ระบุให้เป็นหน้าที่
ของหน่วยงานใดโดยเฉพาะ หรอื ปฏิบัติงานอื่นที่ไดร้ บั มอบหมาย

แผนอตั รากำลงั ข้าราชการครูในสถานศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๗ ๓๓

บทท่ี 3
วิธดี ำเนนิ การ

การวางแผนอัตรากำลังข้าราชการครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 ปีงบประมาณ พ.ศ.2563-2567 ในครั้งนี้ กลุ่มบริหารงานบุคคล
ได้ดำเนินการตามขนั้ ตอน ดงั นี้

1. กลมุ่ ผใู้ หข้ ้อมลู
2. เคร่ืองมอื ท่ใี ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมลู
3. การเก็บรวบรวมขอ้ มลู
4. การจดั กระทำขอ้ มูลและการวิเคราะห์ขอ้ มลู
5. สถติ ิท่ีใชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมูล

1. กลุ่มผ้ใู ห้ขอ้ มูล
กล่มุ ผู้ให้ขอ้ มูลได้แก่
1.1 ผู้บริหารสถานศึกษา ในสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี

เขต 1 จำนวน 174 คน 174 โรงเรียน
1.2 คณะทำงานจัดทำแผนการเกลี่ยอัตรากำลังข้าราชการครูและบุคลากรทางการ

ศกึ ษาในสถานศึกษา สงั กัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1 จำนวน 9 คน

2. เคร่ืองมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวม
เคร่ืองมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เพ่ือการวางแผนครั้งน้ี เป็นแบบสำรวจโดย

ประยุกต์ใช้แบบของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซ่ึงผ่านการหาคุณภาพมาแล้ว
ดังนี้

1.แบบสรุปปริมาณงานของสถานศึกษา จำแนกรายวิชาเอก ปีงบประมาณ พ.ศ.2563
- 2567

2.แบบสรุปจำนวนบุคลากรในสถานศึกษา จำแนกรายวิชาที่สอน ปีงบประมาณ
พ.ศ. 2563 - 2567 (แยกเปน็ รายปี)

3.แบบสรุปจำนวนบุคลากรในสถานศึกษา จำแนกรายวิชาที่สอน ปีงบประมาณ
พ.ศ. 2563 - 2567 (แยกประเภท/ตำแหนง่ )

4.แบบสรุปจำนวนบุคลากรในสถานศึกษา จำแนกรายวิชาที่สอน ปีงบประมาณ
พ.ศ. 2563 - 2567 (สรปุ รวม 5 ปี)

5.แบบบันทึกการประชุมการจดั ทำแผนการเกลยี่ อัตรากำลังข้าราชการครูและบคุ ลากร
ทางการศกึ ษาในสถานศกึ ษา สังกดั สำนกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1

แผนอัตรากำลังขา้ ราชการครใู นสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๗ ๓๔

3. การเก็บรวมรวมข้อมูล
กลมุ่ บรหิ ารงานบุคคลได้ดำเนนิ การเกบ็ รวบรวมข้อมูล ดังนี้
1. ทำหนังสือแจ้งสถานศึกษา ทั้ง 174 โรงเรียน ทางเว็บไซด์สำนักงานเขตพ้ืนท่ี

การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 พร้อมส่งแบบสรปุ ข้อมูล จำนวน 4 แบบ เพือ่ ใหผ้ ู้บริหาร
สถานศกึ ษากรอกขอ้ มูลตามความเป็นจริงและถกู ต้องให้ครบทกุ แบบ

2. เมื่อดำเนินการเสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้โรงเรียนนำส่งเป็นเอกสาร และทาง E-mail :
[email protected]

3. สรุปผลการประชุมคณะทำงานจัดทำแผนการเกลี่ยอัตรากำลังข้าราชการครูและ
บคุ ลากรทางการศกึ ษาในสถานศึกษา สังกดั สำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1
4. การจดั กระทำข้อมูลและการวิเคราะหข์ ้อมูล

กลุ่มบริหารงานบุคคล ได้วิเคราะห์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป
โดยดำเนินการตามขัน้ ตอน ดังน้ี

1. ดำเนินการตรวจสอบความสมบูรณ์ ความถูกต้องของแบบสรุปปริมาณงานของ
สถานศึกษา จำแนกรายวิชาเอก แบบสรปุ จำนวนบุคลากรในสถานศึกษา จำแนกรายวิชาทีส่ อน

2. นำข้อมูลในแบบสรปุ ขอสถานศกึ ษากรอกลงในคอมพิวเตอรต์ ามโปรแกรมท่สี ำนกั งาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานกำหนด เปน็ รายโรงเรยี น และรายปี

3. การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ใชโ้ ปรแกรมสำเร็จรูปดำเนินการวเิ คราะห์ขอ้ มลู
4. สรุปสาระการประชุมคณะทำงานจัดทำแผนการเกลี่ยอัตรากำลังข้าราชการครูและ
บคุ ลากรทางการศกึ ษาในสถานศกึ ษาโดยการวเิ คราะห์เน้ือหา
5. สถิตทิ ่ใี ชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมูล
สถิตทิ ่ใี ช้ในการวเิ คราะห์ขอ้ มูลคือ การแจกแจงความถ่แี ละคา่ ร้อยละ (Percentage)

แผนอตั รากำลังขา้ ราชการครูในสถานศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๗ ๓๕

บทท่ี 4
การวิเคราะห์ขอ้ มลู

การนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลเร่ืองการวางแผนอัตรากำลังข้าราชการครูใน
สถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 ปีงบประมาณ
พ.ศ. 2563 - 2567 ในครัง้ น้ี กลุม่ บรหิ ารงานบคุ คลได้แบ่งเป็น 3 ตอน ดังน้ี

ตอนที่ 1 ผลการศึกษาสภาพอัตรากำลังข้าราชการครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงาน
เขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1 ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 - 2567

ตอนที่ 2 ผลการศกึ ษาแนวโนม้ ความตอ้ งการอตั รากำลงั ข้าราชการครใู นสถานศึกษา สังกัด
สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 - 2567
ในเชงิ ปริมาณตามสาขาวิชา

ตอนท่ี 3 แนวทางการวางแผนอตั รากำลังข้าราชการครูในสถานศึกษา สงั กัดสำนกั งานเขต
พนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 ปงี บประมาณพ.ศ. 2563 - 2567
ตอนท่ี 1 ผลการศึกษาสภาพอัตรากำลังข้าราชการครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่
การศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 ปีงบประมาณพ.ศ. 2563 - 2567

ผลการศึกษาสภาพอัตรากำลังข้าราชการครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่
การศกึ ษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1 ปงี บประมาณพ.ศ. 2563-2567 โดยศึกษาจากจำนวนปรมิ าณ
งานของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรีเขต 1
ปงี บประมาณพ.ศ. 2563-2567 ปรากฏผลการศึกษาดงั นี้

แผนอัตรากำลังขา้ ราชการครใู นสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๗ ๓๖

ตาราง 1 จำนวนปริมาณงานของสถานศกึ ษา สังกัดสำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถม

ปริมาณงาน จำนวนครู

ปงี บ จำนวน จำนวน ตาม จ18 ตามเกณฑ
ประมาณ หอ้ ง นักเรียน
จำนวน เรยี น อ.1-ม.3 ผู้บ ิรหาร
พ.ศ. โรงเรียน ผู้สอน
รวม
ผู้บ ิรหาร

2563 174 1,795 33,994 204 1,786 1,990 202 1,7
2564 174 1,795 33,982 202 1,741 1,943 201 1,7
2565 174 1,795 33,974 201 1,741 1,943 201 1,7
2566 174 1,795 33,962 201 1,741 1,943 201 1,7
2567 174 1,795 33,952 201 1,741 1,943 201 1,7
รวม 870 8,975 169,864 1,009 8,750 97,262 1,006 8,6

แผนอตั รากำลังข้าราชการครูในสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๗

มศึกษาราชบุรีเขต 1 ปงี บประมาณพ.ศ. 2563-2567

จำนวนครขู าด,เกิน จำนวน จำนวน จำนวน พนกั งาน อตั รา
ครู ครูไป ครูมา ราชการ จ้าง
รอ้ ยละ ชว่ ย ช่วย (ครู) (ครู)
ฑ์ ก.ค.ศ.ผู้สอน เกษยี ณ ราชการ ราชการ
รวม

ผู้บ ิรหาร
ผู้สอน
รวม

741 1,943 2 45 47 2.42 113 0 2 27 51

731 1,932 1 10 11 0.56 106 0 2 27 51

721 1,922 0 10 10 0.05 85 0 2 27 51

711 1,912 0 10 10 0.05 58 0 2 27 51

701 1,902 0 10 10 0.05 52 0 2 27 51
605 9,611 3 85 88 3.13 414 0 10 135 255

๓๗

จากตาราง 1 พบว่าในภาพรวมสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 ปีงบประมาณพ.ศ. 2563 - 2567 มีจำนวนอัตรากำลังครูขาด
เกณฑ์คิดเปน็ ร้อยละ 3.13 เม่ือพิจารณาจำนวนห้องเรียน จำนวนนักเรียน มีแนวโน้มลดลงทุก
ปี เป็นเหตุให้จำนวนอัตรากำลังครูเกินเกณฑ์ที่ ก.ค.ศ.กำหนด สำหรับจำนวนครูที่
เกษียณอายุราชการมีแนวโนม้ ลดลงทกุ ปี เมื่อพิจารณาเปน็ รายปี งบประมาณพบวา่

ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 มี
โรงเรียนในสังกัด จำนวน 174 โรงเรียน มีเด็กนักเรียนต้ังแต่ระดับอนุบาล ระดบั ประถมศึกษาและ
ระดับมัธยมศึกษา รวมท้ังสิ้น 33,994 คน มีครูตาม จ.18 จำนวน 1,990 คน ครูตาม
เกณฑ์ ก.ค.ศ. จำนวน 1,943 คน มีครเู กนิ เกณฑ์ 47 อัตรา คิดเปน็ ร้อยละ 2.42

ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1
มีโรงเรียนในสังกัด จำนวน 174 โรงเรียน มีเด็กนักเรียนต้ังแต่ระดับอนุบาล ระดับประถมศึกษา
และระดบั มัธยมศกึ ษา รวมท้งั ส้ิน 33,982 คน มีครูตาม จ.18 จำนวน 1,943 คน ครตู าม
เกณฑ์ ก.ค.ศ. จำนวน 1,932 คน มคี รเู กนิ เกณฑ์ 11 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.56

ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 มี
โรงเรียนในสังกดั จำนวน 174 โรงเรียน มีเดก็ นักเรียนต้งั แต่ระดับอนุบาล ระดับประถมศึกษาและ
ระดับมัธยมศึกษา รวมท้ังส้ิน 33,974 คน มีครูตาม จ.18 จำนวน 1,943 คน ครูตาม
เกณฑ์ ก.ค.ศ. จำนวน 1,922 คน มีครูเกินเกณฑ์ 10 คน คดิ เป็นร้อยละ 0.05

ปีงบประมาณ พ.ศ.2566 สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1
มีโรงเรียนในสังกัด จำนวน 174 โรงเรียน มีเด็กนักเรียนต้ังแต่ระดับอนุบาล ระดับประถมศึกษา
และระดับมัธยมศึกษา รวมท้ังสิ้น 33,962 คน มีครูตาม จ.18 จำนวน 1,943 คน ครูตาม
เกณฑ์ ก.ค.ศ. จำนวน 1,912 คน มคี รูเกนิ เกณฑ์ 10 คน คิดเปน็ ร้อยละ 0.05

ปีงบประมาณ พ.ศ.2567 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 มี
โรงเรียนในสังกัด จำนวน 174 โรงเรียน มีเด็กนักเรียนต้ังแต่ระดับอนุบาล ระดับประถมศึกษาและ
ระดับมัธยมศึกษา รวมทั้งส้ิน 33,952 คน มีครูตาม จ.18 จำนวน 1,943 คน ครูตาม
เกณฑ์ ก.ค.ศ. จำนวน 1,902 คน มีครูเกินเกณฑ์ 10 คน คิดเป็นร้อยละ 0.05 ดังแผนภูมิ
ประกอบต่อไปนี้

แผนอัตรากำลังขา้ ราชการครูในสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๗ ๓๘

35000 2563
30000 2564
25000 2565
20000 2566
15000 2567
10000

5000
0

.

แผนภูมิ 1 แสดงจำนวนห้องเรยี นและจำนวนนักเรยี นสังกดั สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษา
ประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 1

120 2563
100 2564
2565
80 2566
60 2567
40
20

0

แผนภูมิ 2 แสดงจำนวนครขู าดเกณฑแ์ ละครเู กษยี ณอายุราชการสงั กัดสำนกั งาน
เขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1

แผนอัตรากำลงั ขา้ ราชการครใู นสถานศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๗ ๓๙

ตาราง 2 อัตรากำลงั ครูของสถานศกึ ษา สงั กดั สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษา

ราชบรุ ีเขต 1 ปงี บประมาณพ.ศ. 2563

อัตรากำลังครู จำนวน(โรงเรียน) หมายเหตุ

+9 1

+3 4

+2 16

+1 34

รวม 55

0 88

รวม 88

-1 27

-2 3

-3 1

-4 1

รวม 32

จากตาราง 2 พบว่าสภาพปัจจุบันปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สถานศึกษาสังกัด

สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรีเขต 1 ในภาพรวมมีอัตรากำลังครูเกินเกณฑ์

เม่ือพิจารณาเป็นรายสถานศึกษาพบว่ามีสถานศึกษาที่มีอัตรากำลังครูเกินเกณฑ์ จำนวน 55

โรงเรยี น คดิ เป็นรอ้ ยละ 31.60 มอี ตั รากำลงั ครูพอดีเกณฑ์จำนวน 88 โรงเรยี น คดิ เป็นรอ้ ยละ

50.57 และมมี อี ตั รากำลงั ครขู าดเกณฑ์จำนวน 32 โรงเรียน คดิ เป็นร้อยละ 18.39

ดงั แผนภูมปิ ระกอบต่อไปน้ี

90 พด
80 ขด
70
60
50
40
30
20
10

0
..

แผนภมู ิ 3 แสดงอตั รากำลงั ครขู องสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาราชบรุ เี ขต 1 ปงี บประมาณพ.ศ. 2563

แผนอัตรากำลังข้าราชการครใู นสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๗ ๔๐

ตาราง 3 อัตรากำลงั ครูของสถานศกึ ษา สังกัดสำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษา

ราชบรุ ีเขต 1 ปงี บประมาณพ.ศ. 2564

อัตรากำลังครู จำนวน(โรงเรยี น) หมายเหตุ

+3 2

+2 21

+1 42

รวม 65

0 94

รวม 94

-1 12

-2 2

-3 1

รวม 15

จากตาราง 3 พบว่าสภาพปัจจุบันปงี บประมาณพ.ศ. 2564 สถานศึกษาสังกดั นักงาน

เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรีเขต 1 ในภาพรวมมีอัตรากำลังครูเกินเกณฑ์ เม่ือ

พิจารณาเป็นรายสถานศึกษาพบว่ามีสถานศึกษาที่มีอัตรากำลังครูเกินเกณฑ์จำนวน 65

โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 37.35 มีอัตรากำลังครูพอดีเกณฑ์จำนวน 94 โรงเรียน คิดเป็น ร้อย

ละ 54.02 และมีมีอัตรากำลงั ครขู าดเกณฑจ์ ำนวน 15 โรงเรยี น คดิ เป็นร้อยละ 8.62

ดังแผนภูมติ ่อไปน้ี

100 พด
80 ขด
60
40
20
0
..

แผนภูมิ 4 แสดงอตั รากำลังครขู องสถานศึกษาสังกัดสำนกั งานเขตพ้ืนที่
การศกึ ษาประถมศึกษาราชบรุ เี ขต 1 ปีงบประมาณพ.ศ. 2564

แผนอตั รากำลังขา้ ราชการครใู นสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๗ ๔๑

ตาราง 4 อัตรากำลังครูของสถานศกึ ษา สงั กดั สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา

ราชบุรีเขต 1 ปงี บประมาณพ.ศ. 2565

อัตรากำลงั ครู จำนวน(โรงเรยี น) หมายเหตุ

+4 2

+3 2

+2 36

+1 33

รวม 73

0 91

รวม 91

-1 10

รวม 10

จากตาราง 4 พบว่าสภาพปัจจุบันปีงบประมาณพ.ศ. 2565 สถานศึกษาสังกัด

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรีเขต 1 ในภาพรวมมีอัตรากำลังครูเกินเกณฑ์

เม่ือพิจารณาเป็นรายสถานศึกษาพบว่ามีสถานศึกษาที่มีอัตรากำลังครูเกินเกณฑ์จำนวน 73

โรงเรียน คิดเปน็ ร้อยละ 41.95 มีอัตรากำลังครพู อดีเกณฑ์จำนวน 91 โรงเรียน คดิ เป็นร้อยละ

52.29 และมมี ีอตั รากำลังครูขาดเกณฑ์จำนวน 10 โรงเรยี น คิดเปน็ ร้อยละ 5.74

ดงั แสดงแผนภูมติ ่อไปน้ี

100 พด
80 ขด
60
40
20
0
..

แผนภมู ิ 5 แสดงอตั รากำลงั ครขู องสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่
การศกึ ษาประถมศึกษาราชบรุ เี ขต 1 ปีงบประมาณพ.ศ. 2565

แผนอัตรากำลงั ข้าราชการครูในสถานศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๗ ๔๒


Click to View FlipBook Version