The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by goog.you442, 2022-05-24 00:13:22

คู่มือโปรแกรม

คู่มือโปรแกรม

คมู่ อื การใช้งานโปรแกรม
ระบบหอ้ งสมุดอัตโนมตั ิ สพฐ. เวอร์ชนั่ 3

OBEC Library Automation System Version 3

สานกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา
สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
2558

การใชง้ านโปรแกรม
ระบบห้องสมดุ อตั โนมัติ สพฐ. เวอรช์ ่ัน 3

OBEC Library Automation System Version 3

สานกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา
สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน

กระทรวงศกึ ษาธิการ
2558

คานา

สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำน โดยสำนักวิชำกำรและมำตรฐำนกำรศึกษำ ได้ทำ
ควำมร่วมมือกับคณะวิศวกรรมศำสตร์ สถำบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ำเจ้ำคุณทหำรลำดกระบัง
ดำเนินกำรพัฒนำระบบห้องสมุดอัตโนมัติ เพ่ือต้องกำรส่งเสริมสนับสนุนกำรทำงำนของบรรณำรักษ์
ห้องสมุดโรงเรียนให้เป็นไปตำมมำตรฐำนสำกล และสำมำรถบริหำรจัดกำรห้องสมุดให้มีประสิทธิภำพ
มำกยิ่งข้ึน ในกำรพัฒนำระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ภำยใต้ช่ือว่ำ ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สพฐ. (OBEC
Library Automation System) ได้พัฒนำมำจำกซอฟต์แวร์ Open Source ที่ช่ือว่ำ OpenBiblio ของ
GNU Library General Public License โดยพัฒนำต่อยอดเพิ่มขดี ควำมสำมำรถให้มีควำมเหมำะสมกับ
ห้องสมุดโรงเรยี น และติดตำมกำรใช้ระบบห้องสมดุ อัตโนมัติ สพฐ. ในโรงเรียนเป็นระยะๆ แล้วนำข้อมูล
มำสรุปผลเพื่อแก้ไขปรับปรุงให้ระบบห้องสมุดอัตโนมัติดังกล่ำวมีควำมเสถียรสำมำรถใช้ในกำรทำงำน
ไดอ้ ย่ำงมีประสิทธภิ ำพ

ในปี 2558 สำนักวิชำกำรและมำตรฐำนกำรศึกษำ ได้พัฒนำระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สพฐ.
เวอร์ช่ัน 3 (OBEC Library Automation System Version 3) เพ่ือให้มีกำรใช้ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
ในโรงเรียน เกิดประโยชน์สูงสุด โดยแก้ไขปรับปรุงให้ครูบรรณำรักษ์ใช้เป็นเคร่ืองมือในพัฒนำระบบ
หอ้ งสมดุ เปน็ ไปตำมหลักวชิ ำชีพบรรณำรักษศำสตร์

คู่มือกำรใช้งำนระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สพฐ. เวอร์ช่ัน 3 (OBEC Library Automation
System Version 3) ฉบับน้ี มีเน้ือหำภำยในเล่มประกอบดว้ ย ควำมรเู้ ก่ียวกับห้องสมุดอตั โนมัติ ควำม
เป็นมำของระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สพฐ. กำรติดตั้งระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สพฐ. และกำรทำงำนของ
ระบบงำนย่อยต่ำง ๆ ได้แก่ งำนจัดกำรและบรหิ ำรระบบ งำนวเิ ครำะห์ทรพั ยำกรห้องสมุด งำนบริกำร
ยมื -คนื งำนสถิติและรำยงำน งำนสนับสนุน และงำนสืบค้นทรัพยำกรหอ้ งสมดุ รวมท้งั กำรสำรองและ
กูค้ ืนข้อมลู และกำรนำเข้ำข้อมลู จำกโปรแกรมอนื่

สำนักวิชำกำรและมำตรฐำนกำรศึกษำ ขอขอบคุณผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในกำรพัฒนำระบบ
ห้องสมุดอัตโนมัติ สพฐ. และจัดทำเอกสำรประกอบกำรใช้ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สพฐ. เวอร์ช่ัน 3
มำ ณ โอกำสน้ี หวังเป็นอย่ำงย่ิงว่ำระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สพฐ. เวอร์ช่ัน 3 คงจะเป็นทำงเลือกหนึ่ง
ให้กับโรงเรียนที่จะพัฒนำระบบห้องสมุดอัตโนมัติให้สำมำรถปฏิบัติงำนห้องสมุดได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ
และประสทิ ธิผล ทำให้นกั เรยี น ครู และผู้บรหิ ำรโรงเรยี นสำมำรถเข้ำถึงสำรสนเทศไดส้ ะดวก รวดเรว็ ไม่
จำกดั เวลำและสถำนที่ อนั จะสง่ ผลใหเ้ กิดสังคมแหง่ กำรเรียนรู้ทย่ี ั่งยืนตอ่ ไป

สานกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน

สารบญั

สว่ นท่ี 1 บทนา หนา้
สว่ นท่ี 2 ระบบหอ้ งสมุดอัตโนมตั ิ สพฐ.
มาตรฐานห้องสมดุ ท่ีเกี่ยวขอ้ งระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สพฐ. 1
สว่ นที่ 3 เทคโนโลยีในการพฒั นาระบบห้องสมดุ อตั โนมตั ิ สพฐ. 2
การติดตัง้ โปรแกรมระบบห้องสมดุ อตั โนมตั ิ สพฐ. 8
เครอื่ งคอมพวิ เตอร์และอุปกรณ์เสริม 9
โปรแกรมสนบั สนนุ การทางานระบบห้องสมดุ อัตโนมัติ สพฐ. 11
การเตรียมโปรแกรมบนระบบปฏิบตั ิการ Windows 11
วิธกี ารตั้งค่าการใช้งานโปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมตั ิ สพฐ. 12
วิธกี ารติดตั้งโปรแกรมระบบหอ้ งสมุดอตั โนมัติ สพฐ. เวอรช์ ั่น 2 14
วิธีการตดิ ตั้งชดุ คาสัง่ Migrate 2014 ให้เป็นระบบ 15
หอ้ งสมุดอัตโนมัติ สพฐ. เวอรช์ นั่ 3 18
ขอ้ แนะนาโปรแกรมระบบหอ้ งสมุดอัตโนมัติ สพฐ. 20
การใช้งานโปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สพฐ. ผา่ นเครอื ข่าย
ระบบงานโปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมตั ิ สพฐ. 23
งานจดั การและบรหิ ารระบบ 23
งานวเิ คราะห์ทรพั ยากรห้องสมดุ 29
งานบรกิ ารยืม-คืน 29
งานสถติ ิและรายงาน 44
งานสนบั สนุน 57
การสืบคน้ ทรัพยากรห้องสมดุ 63
70
76

สารบญั (ตอ่ ) 83
83
สว่ นที่ 4 การลงรายการทรัพยากรห้องสมุด 83
หลกั เกณฑ์การลงรายการทางบรรณานกุ รม 87
โครงสร้างการลงรายการรูปแบบ MARC 99
การลงรายการทางบรรณานุกรมรูปแบบ OBEC MARC 99
106
สว่ นที่ 5 การสารองและการกูค้ นื 109
การสารองขอ้ มูล 111
การกคู้ ืนข้อมูล 113
การกู้คืนรหัสผู้ใช้งาน/รหัสผ่าน 115
การซอ่ มแซมและกู้คนื ระบบ 115
การยกเลิกการตดิ ตั้งโปรแกรม 117
119
สว่ นท่ี 6 การนาเข้าข้อมูลจากโปรแกรมห้องสมุดอ่นื 121
การนาเข้าข้อมูลโดยเวบ็ ไซต์ 122
การนาเขา้ ข้อมลู โดยโปรแกรม DBF Plus
การนาเข้าข้อมูลโดยโปรแกรม Microsoft Access

บรรณานุกรม
คณะผู้จัดทา

1

ส่วนที่ 1
บทนำ

ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ เป็นปรากฏการณ์อย่างหนึ่งในยุคสารสนเทศที่เป็นการรวมตัวกัน
ระหว่างระบบงานห้องสมุดกับเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเว็บเทคโนโลยีท่ีพัฒนา
รูปแบบในการเข้าถึงข้อมูลให้สะดวกและง่าย ด้วยการเช่ือมโยงข้อมูลบนระบบเครือข่ายผ่าน
อินเทอร์เน็ตที่กระจายอยู่ตามแหล่ง ต่าง ๆ ท่ัวโลก ห้องสมุดอัตโนมัติเป็นแนวคิดในการจัดเก็บ
ข้อมูลในรูปแบบสื่อมัลติมีเดีย (Multimedia) หรือข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เรียกกันท่ัวไปว่า ข้อมูล
ดิจิตอล โดยห้องสมุดอัตโนมัติจะเป็นตัวเสริมห้องสมุดท่ัวไปท่ีจัดเก็บส่ือส่ิงพิมพ์ ซึ่งอาจจะอยู่ในรูป
ของ MARC (Machine Readable Catalogue) ห้องสมุดอัตโนมัติสามารถจัดเก็บข้อมูลได้หลาย
รูปแบบ เช่น ตัวอักษร ในลักษณะ SGML (Standard Generalized Markup Language) เสียง
รูปภาพ หรือวีดิทัศน์ นอกจากนี้ ยังสามารถสาเนาข้อมูลได้ตามความต้องการ อีกทั้งข้อมูลสาเนา
จะมีลักษณะเหมือนต้นฉบับทุกประการ และนาไปใช้ประโยชน์ในรูปแบบต่าง ๆ ซึ่งจะช่วยทาให้เกิด
ความเขา้ ใจงา่ ยยงิ่ ขนึ้

ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ มาจากภาษาอังกฤษว่า The Integrated Library System หรือ
Automated Library System หรือ Library Automation System หมายถึง การทางานของระบบงาน
ในห้องสมุดที่ทางานร่วมกันหรือเชื่อมโยงงานกันของฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์เพ่ือใช้ในการบริหารจัดการ
ห้องสมุด ได้แก่ งานจัดหา งานวิเคราะห์ทรัพยากรห้องสมุด งานบริการยืม- คืน และงานบริหาร
จัดการระบบ ฯลฯ

ปัจจุบันห้องสมุดทุกประเภททุกขนาดใช้ระบบห้องสมุดอัตโนมัติกันอย่างกว้างขวาง และ
หลากหลาย ตามกาลังความสามารถในการจัดหา และตามความต้องการของการใช้งาน อย่างไรก็
ตาม ระบบห้องสมุดอัตโนมัติจะต้องมีการพัฒนาอย่างต่อเน่ืองเพ่ือเช่ือมโยงระบบงานต่างๆ ใน
ห้องสมุดเข้าด้วยกนั ซง่ึ เป็นการทางานในลกั ษณะของระบบหอ้ งสมดุ อตั โนมัติอย่างแทจ้ ริง อนั จะเป็น
การเพมิ่ ประสิทธิภาพการปฏิบตั ิงานแกบ่ รรณารกั ษ์ไดเ้ ปน็ อย่างดี

แผนภาพแสดงระบบการจดั การหอ้ งสมดุ อตั โนมตั ิ

2

ระบบหอ้ งสมุดอัตโนมัติ สพฐ.

สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
ได้พัฒนาและส่งเสริมห้องสมุดโรงเรียนสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โดยมี
เป้าหมายต้องการให้ห้องสมุดเป็นแหล่งการเรียนรู้ท่ีช่วยส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนรักการอ่านและ
การค้นควา้ อย่างยั่งยืน แต่ปัจจัยสาคัญหน่ึงในการดาเนินการให้ประสบความสาเร็จ คือ การพัฒนา
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติที่มีการบริหารจัดการงานห้องสมุดท่ีดี สามารถช่วยบรรณารักษ์ทางาน
ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ลดข้ันตอนการทางานที่ซ้าซ้อน และเพิ่มประสิทธิภาพการทางานของ
บรรณารักษ์ให้มีเวลาในการจัดบริการและกิจกรรมมากข้ึน รวมท้ังสามารถใช้ทรัพยากรห้องสมุด
รว่ มกันอย่างเป็นระบบและท่ัวถึง แต่เน่ืองจากระบบห้องสมุดอัตโนมัติท่ีมีใช้กันอยู่ในโรงเรียนสังกัด
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ส่วนใหญ่เป็นระบบโปรแกรมห้องสมุดสาเร็จรูป
ท่ีหลากหลาย และมีข้อจากัดในการใช้งาน อาทิ การรองรับมาตรฐาน MARC, การเชื่อมโยง
ฐานข้อมูลระบบออนไลน์ผ่านระบบเครือข่าย เป็นต้น นอกจากน้ี ยังมีโรงเรียนอีกจานวนมากที่ยัง
ไม่ได้ใช้หรือไม่ได้รับการพัฒนาให้เป็นระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ซ่ึงเป็นภารกิจที่สาคัญต่อการพัฒนา
และส่งเสรมิ การจดั การหอ้ งสมุดโรงเรียนใหเ้ ปน็ แหล่งบริการสารสนเทศท่ดี ไี ด้

การพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมตั ิ ภายใต้ชื่อว่า “ระบบหอ้ งสมดุ อัตโนมตั ิ สพฐ. OBEC
Library Automation System” ได้ พั ฒ น าข้ึ น ม าจ าก โป รแ ก รม Open Source ที่ ชื่ อ ว่ า
OpenBiblio โดย GNU Library General Public License ซึ่งโปรแกรมดังกล่าวพัฒนาในลักษณะ
ของ Web Application สามารถใช้ในการบริหารจัดการห้องสมุดอัตโนมัติแบบบูรณาการ
(Integrated Libarary System : ILS) ที่ได้รับการพัฒนาตามมาตรฐานสากล สามารถรองรับการ
ทางานในระบบงานห้องสมุดต่าง ๆ อาทิ การลงรายการทรัพยากรห้องสมุด การบริการยืม-คืน
การจัดทาสถิติและรายงาน รวมถึงการสืบค้นทรัพยากรห้องสมุด ที่ถือว่าเป็นหัวใจสาคัญในการ
สืบค้นของระบบห้องสมุดอัตโนมัติ กอปรกับโปรแกรมดังกล่าวติดต้ังและใช้งานง่ายไม่ซับซ้อน
มีระบบการทางานห้องสมุดในระดับพ้ืนฐานครบถ้วน และมีมาตรฐานสากลด้านวิชาชีพ
บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ เหมาะสาหรับห้องสมุดโรงเรียน ในปี พ.ศ. 2553
สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษาในความร่วมมือของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณ
ทหารลาดกระบัง จึงได้ศึกษาและพัฒนาต่อยอดเพิ่มขีดความสามารถของระบบงานห้องสมุด
ใหเ้ หมาะสมกบั ลกั ษณะงานของห้องสมดุ โรงเรียนสงั กดั สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

ในปี พ.ศ. 2557 สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา ได้ออกติดตามการใช้งานและ
รวบรวมข้อมูลนามาวิเคราะห์ และพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สพฐ. ให้สามารถตอบสนองความ
ต้องการของห้องสมุดเพ่ิมมากย่ิงขึ้น ซึ่งเป็นระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สพฐ. เวอร์ชั่น 3 (OBEC Library
Automation System version 3 ท่ีมีการปฏิบัติการของระบบงานย่อยสามารถรองรับการทางาน
ได้อย่างสมบูรณแ์ ละมคี วามเสถียรมากยิง่ ข้ึน

คูม่ อื กำรใช้งำนโปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมตั ิ สพฐ. เวอร์ช่นั 3 : OBEC Library Automation System Version 3

3

แผนภูมิแสดงการทางานของระบบหอ้ งสมุดอัตโนมัติ สพฐ.

ระบบงานยอ่ ยของระบบห้องสมุดอตั โนมัติ สพฐ. เวอรช์ นั่ 3 ทีม่ ีการพฒั นาขน้ึ ใหม่ ไดแ้ ก่
1. การเกบ็ สถติ ิผ้เู ข้าใชบ้ ริการห้องสมดุ
2. การแสดงสถิตหิ อ้ งสมุดในรูปแบบกราฟต่างๆ
3. การเก็บสถติ จิ านวนทรัพยากรห้องสมดุ นับเปน็ ฉบับและรายการบรรณานุกรม
4. การจดั ทาเลขประจาหนังสืออัตโนมตั ิ
5. การจัดทาบัญชีหวั เรือ่ งและเลขหมู่หนังสือภาษาไทยอตั โนมัติ
6. การจดั ทาฐานขอ้ มูลสหบรรณานุกรม สพฐ. ชว่ ยในการวิเคราะหท์ รัพยากรห้องสมุด
7. การลงทะเบียนหนังสือ (บาร์โคด้ ) ครงั้ ละหลายฉบับ
8. การนาเขา้ ขอ้ มลู บรรณานุกรมและสมาชกิ ด้วยตารางรูปแบบใหม่
9. การเลื่อนระดับ/ตาแหน่งสมาชิกห้องสมดุ อัตโนมัติ
10. การกาหนดปฏิทินวันหยุดในงานบริการยืม - คนื
11. การเพ่ิมรายละเอียดการสืบค้นหนา้ หลักการสบื ค้นทรัพยากรห้องสมุด
12. การซ่อมแซมและกู้คืนระบบ

คู่มอื กำรใชง้ ำนโปรแกรมระบบห้องสมดุ อัตโนมตั ิ สพฐ. เวอร์ช่นั 3 : OBEC Library Automation System Version 3

4

ระบบงานของระบบหอ้ งสมดุ อตั โนมตั ิ สพฐ. เวอร์ช่นั 3 ประกอบดว้ ย 6 งานหลัก ไดแ้ ก่
1. งานจัดการและบริหารระบบ (System Administration Module) เป็นส่วนงานสาหรับ
ผู้ใช้งานใช้ในการบริหารจัดการระบบงานหอ้ งสมุดเบ้ืองต้น เมนูการทางานประกอบด้วย การกาหนด
สิทธิ์ผู้ใช้งาน การต้ังค่าห้องสมุด การกาหนดประเภทสมาชิก การกาหนดระดับชั้น/ตาแหน่ง
การกาหนดเขตข้อมูลสมาชิก การกาหนดประเภททรัพยากรห้องสมุด การกาหนดสถานท่ีจัดเก็บ
การกาหนดปฏิทนิ วันหยดุ การกาหนดระเบียบการยืม-คืน และการนาเข้า/สง่ ออกข้อมูล

คู่มือกำรใชง้ ำนโปรแกรมระบบห้องสมุดอตั โนมตั ิ สพฐ. เวอร์ช่ัน 3 : OBEC Library Automation System Version 3

5

2. งานวิเคราะห์ทรัพยากรห้องสมุด (Cataloging Module) เป็นส่วนงานสาหรับผู้ใช้งาน
ใช้ในการลงรายการทรัพยากรห้องสมุด เมนูการทางานประกอบด้วย การสืบค้นรายการ
บรรณานุกรม การสร้างบรรณานุกรมใหม่ ฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม การควบคุมรายการ
หลกั ฐาน (Authority Control) การนาเขา้ ข้อมูลบรรณานกุ รม

ค่มู ือกำรใช้งำนโปรแกรมระบบห้องสมดุ อัตโนมตั ิ สพฐ. เวอร์ช่ัน 3 : OBEC Library Automation System Version 3

6

3. งานบริการยืม-คืน (Circulation Module) เป็นส่วนงานสาหรับผู้ใช้งานใช้ในการ
บริการยืม - คืนทรัพยากรห้องสมุด และการจัดการเก่ียวกับสมาชิกห้องสมุด เมนูการทางาน
ประกอบด้วย การยืมทรัพยากรห้องสมุด การคืนทรัพยากรห้องสมุด การเพิ่มสมาชิกใหม่
การนาเข้าข้อมูลสมาชิก การปรบั สถานะ/ระดบั ชน้ั ของสมาชกิ ห้องสมดุ

คมู่ อื กำรใช้งำนโปรแกรมระบบห้องสมดุ อตั โนมตั ิ สพฐ. เวอร์ช่ัน 3 : OBEC Library Automation System Version 3

7

4. งานสถิติและรายงาน (Statistic & Reporting Module) เป็นส่วนงานสาหรับผู้ใช้งาน
ใช้ในการจัดทารายงานการปฏิบัติงานของห้องสมุด เมนูการทางานประกอบด้วย รายงาน
ทรัพยากรห้องสมุด รายงานการยมื -คืน รายงานผ้เู ข้าใช้บริการห้องสมุด รายงานสถติ หิ ้องสมดุ

5. งานสนับสนุน (Supporting Module) เป็นส่วนงานสาหรับผู้ใช้งานใช้ในการส่ังพิมพ์งาน
ต่างๆ ของห้องสมุด เมนูการทางานประกอบด้วย การพิมพ์บัตรสมาชิก การพิมพ์เลขทะเบียน
หนงั สอื (บาร์โคด้ ) การพมิ พ์เลขเรยี กหนังสือ การพมิ พ์เลขทะเบียนและเลขเรียกหนงั สอื

ค่มู ือกำรใช้งำนโปรแกรมระบบห้องสมุดอตั โนมัติ สพฐ. เวอร์ช่นั 3 : OBEC Library Automation System Version 3

8

6. การสืบค้นทรัพยากรห้องสมุด (Online Public Access Cataloging Module : OPAC)
เป็นเคร่ืองมือสาหรับช่วยในการสืบค้นทรัพยากรห้องสมุดท่ีมีอยู่ในห้องสมุด และแสดงรายละเอียด
ทางบรรณานุกรม เมนูการทางานประกอบด้วย การสืบค้นทรัพยากรห้องสมุด การสืบค้น
ฐานขอ้ มูลสหบรรณานกุ รม การใชง้ านสาหรับสมาชกิ

มำตรฐำนทีเ่ กย่ี วข้องระบบหอ้ งสมุดอตั โนมตั ิ สพฐ.

ระบบห้องสมุดอัตโนมัติที่ดี ควรมีมาตรฐานสากลการจัดเก็บ การสืบค้น การแลกเปลี่ยน
และการเชื่อมโยงเครือข่าย เพ่ือให้ห้องสมุดเป็นแหล่งการเรียนรู้ท่ีสมบูรณ์ มีการรวบรวม
ทรัพยากรห้องสมุดท่ีหลากหลาย มีการจัดการที่ดี และมีระบบการสืบค้นที่มีคุณภาพ มาตรฐาน
ทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั ระบบหอ้ งสมุดอัตโนมตั ิระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สพฐ. เวอรช์ น่ั 3 ท่ีควรรจู้ ักมีดังนี้

1 . MARC ย่ อ ม า จ า ก Machine Readable Cataloging เป็ น ก า ร ล งร า ย ก า ร
ทรัพยากรห้องสมุดในฐานข้อมูลท่ีใช้หลักเกณฑ์ให้เคร่ืองคอมพิวเตอร์สามารถอ่านหรือตีความข้อมูล
ได้ ซ่ึงเป็นมาตรฐานสากลที่จาเป็นสาหรับลงรายการในฐานข้อมูลบรรณานุกรม เหมือนกับการลง
รายการในบตั รรายการ เพื่อเปน็ เครือ่ งมือในการสบื คน้ ทรัพยากรห้องสมุด

2. AACR 2 ย่อมาจาก Anglo – American Cataloging Rules, second edition
เป็นหลักเกณฑ์การลงรายการสื่อสิ่งพิมพ์ ส่ือโสตทัศน์ และส่ืออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้การลงรายการ
เป็นมาตรฐานเดียวกันในการแลกเปล่ียนข้อมูลทางบรรณานุกรม หลักเกณฑ์การลงรายการ
ทรัพยากรห้องสมุด AACR 2 ประกอบด้วยหลักเกณฑ์ทั่วไปที่ผู้ลงรายการจาเป็นต้องทราบถึงแหล่ง
สาคัญ แหล่งข้อมูลท่ีกาหนด ระดับรายละเอียดการลงรายการทางบรรณานุกรม รูปแบบการ
ลงรายการทางบรรณานุกรม ฯลฯ

คู่มือกำรใช้งำนโปรแกรมระบบห้องสมุดอตั โนมตั ิ สพฐ. เวอร์ช่นั 3 : OBEC Library Automation System Version 3

9

3. Dewey Decimal Classification ระบบทศนิยมดิวอี้ หรือเรียกว่า DC หรือ DDC
หรือ Dew เป็นระบบการแบ่งหมู่หนังสือในห้องสมุดระบบหนึ่งท่ีนิยมใช้โดยทั่วไป มีการแบ่ง
หมวดหมู่หนังสือเป็นหมวดหมู่ใหญ่ๆ 10 หมวด จากหมวดใหญ่แล้วยังแบ่งหมวดย่อย หมู่ย่อย และ
ทศนยิ ม โดยใชส้ ัญลักษณ์ เป็นตัวเลขและทศนยิ มแทนหมวดหมู่หนงั สือ

4. ISBN ย่อมาจาก International Standard Book Number หรือเลขมาตรฐานสากล
ประจาหนังสือ เป็นเลขรหัสสากลกาหนดข้ึนใช้สาหรับส่ิงพิมพ์ประเภทหนังสือ จุดมุ่งหมายเพ่ือให้
เปน็ เอกลักษณ์ของหนังสอื แตล่ ะชื่อเร่อื ง เพื่อความสะดวก ถูกตอ้ งในการควบคมุ ขอ้ มูลหนังสือในการ
สงั่ ซ้ือ การแลกเปล่ียน และการบริการ เมื่อกาหนด ISBN ให้หนังสือเล่มใดไปแล้วจะนากลับมาใช้ซ้า
กับหนังสือเล่มอ่ืนอีกไม่ได้ ส่วนประกอบของ ISBN ปัจจุบันใช้ตัวเลข 13 หลัก ส่วนที่ 1 รหัส ส่วนที่
2 รหัสประเทศ ส่วนท่ี 3 รหัสสานักพิมพ์ ส่วนที่ 4 รหัสชื่อเร่ืองแสดงลาดับของสิ่งพิมพ์แต่ละ
รายการท่ผี ลติ และสว่ นท่ี 5 เลขตรวจสอบ

5. CIP ย่อมาจาก Cataloguing in Publication หรือรายการข้อมูลทางบรรณานุกรมที่
กาหนดรายละเอียดทางบรรณานุกรมของหนังสือตามหลักเกณฑ์การทาบัตรรายการโดยท่ัวไป
หอสมดุ แห่งชาตขิ องแต่ละประเทศจะทาหน้าท่ีกาหนด CIP วัตถุประสงค์เพ่ือให้ห้องสมดุ สามารถนา
ข้อมูลมาลงเป็นรายการทางบรรณานุกรมของหนังสือที่กาลังวิเคราะห์ทรัพยากรห้องสมุด ทาให้ช่วย
ลดเวลาในการวิเคราะห์ทรัพยากรหอ้ งสมดุ ให้รวดเร็วขึน้

6. Cutter Number หรือเลขคัตเตอร์ หรือเลขผู้แต่ง (Author Number) หรือ
เลขประจาหนังสือ (Book Number) เป็นเคร่ืองหมายหรือสัญลักษณ์ประจาหนังสือ ประกอบด้วย
พยัญชนะตัวแรกของชื่อผู้แต่ง ตัวเลขชื่อผู้แต่ง และพยัญชนะตัวแรกของช่ือเร่ือง ซึ่งใช้กากับเลขหมู่
หนังสือ เรียกรวมกันว่า เลขเรียกหนังสือ (Call number) โดยเลขผู้แต่งจะช่วยแยกหนังสือแต่ละ
ช่ือเรือ่ ง จุดมงุ่ หมายเพื่อใหก้ ารจัดเก็บหนงั สือเขา้ ท่ไี ดส้ ะดวก รวดเรว็ และค้นหาหนงั สอื ไดง้ า่ ยขน้ึ

เทคโนโลยใี นกำรพัฒนำระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สพฐ.

การพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สพฐ. เวอร์ชั่น 3 มีการพัฒนาในลักษณะ Web
Application มสี ว่ นประกอบท่สี าคญั เพื่อใหม้ ีการจดั การโปรแกรมดังกลา่ วดังนี้

1. Apache Web Server เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทาหน้าท่ีเป็นเคร่ืองบริการเว็บแก่
ผู้ร้องขอด้วยโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ (Web Browser) ที่ร้องขอข้อมูลผ่านโปรโตคอลเฮชทีทีพี
(http) เครื่องจะส่งข้อมูลให้ผู้ร้องขอในรูปของข้อความ ภาพ เสียง หรือสื่อผสมสาหรับโปรแกรม
ระบบห้องสมดุ อตั โนมัติ สพฐ. ใช้ Web Server ชอ่ื Apache (อาปาเช)่

2. MySQL เป็นโปรแกรมฐานข้อมูลมีหน้าที่เก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ และเป็นเคร่ืองมือ
สาหรับเกบ็ ข้อมลู ท่ีตอ้ งใช้ร่วมกับเครอื่ งมอื อน่ื เพื่อให้ระบบรองรับความต้องการของผ้ใู ช้

3. XAMPP เป็นโปรแกรมท่ีใช้จาลองเคร่ืองพีซีให้เป็นเว็บเซิร์ฟเวอร์ โดยมีตัวโปรแกรม
ต่างๆ รวมเอาไว้ด้วยกัน ได้แก่ Apache, MySQL, PHPMyAdmin และ PERL เพ่ือสะดวกในการ
ติดต้ังลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะทาให้เคร่ืองคอมพิวเตอร์เป็นเวบ็ เซิร์ฟเวอร์ โดยมีตัวช่วยในการ
Config อตั โนมตั ิ นอกจากนี้ โปรแกรม XAMPP สามารถรองรับระบบปฏบิ ตั กิ าร Windows

คมู่ ือกำรใชง้ ำนโปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมตั ิ สพฐ. เวอร์ชัน่ 3 : OBEC Library Automation System Version 3

10

4. ภำษำ PHP เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในลักษณะเซิรฟ์ เวอร์-ไซด์ สคริปต์ ใช้สาหรับจัดทา
เว็บไซต์ และแสดงผลออกมาในรปู แบบ HTML ภาษา PHP สามารถใช้ได้กับ Apache Web Server
ระบบปฏิบตั ิการ Windows

5. SRU (Search/Retrieval via URL) เป็นโปรโตคอลที่มีต้นกาเนิดมาจากโปรโตคอล
Z39.50 ถูกกาหนดโดยหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน (Library of Congress) ใช้ในด้านการค้นคืนและการ
สืบค้นที่ใช้ในการอานวยความสะดวกในการส่งผ่านคาค้นทางอินเทอร์เน็ตระหว่างผู้ใช้ไปสู่เป้าหมาย
รูปแบบวิธีการเชื่อมต่อระหว่างเคร่ืองคอมพิวเตอร์กับเครื่องคอมพิวเตอร์ ใช้ภาษา CQL (Contextual
Query Language) ในการสืบค้นข้อมูลที่เครื่อง Server และเมื่อเคร่ือง Server ส่งข้อมูลกลับมาจะ
สง่ กลับมาในรูปแบบของภาษา XML (Extensible Markup Language)

6. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สพฐ. เป็นโปรแกรม Open Source ท่ีชื่อว่า OpenBiblio
โปรแกรมดังกล่าวพัฒนาในลักษณะของ Web Application สามารถใช้ในการบริหารจัดการ
ห้องสมุดอัตโนมัติแบบบูรณาการ มีการทางานร่วมกันกับ Apache Web Server และ MySQL
ซ่ึงสานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน นามา
พัฒนาต่อยอดเพมิ่ ประสิทธิภาพการทางานของห้องสมุดโรงเรียน

7. ชุดคำส่ัง Migrate เป็นคาส่ังในการปรับปรุงโปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สพฐ.
เดิมให้เป็นโปรแกรมระบบห้องสมดุ อัตโนมัติ สพฐ. เวอร์ช่ัน 3 (OBEC Library Automation System
Version 3) ท่ีมีระบบการทางานมากขึ้น เช่น สถิติผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด เลขประจาหนังสือ
อัตโนมตั ิ หัวเรอ่ื งและเลขหมู่อัตโนมตั ิ สถติ ิแสดงผลเปน็ กราฟ เปน็ ต้น

คู่มือกำรใช้งำนโปรแกรมระบบห้องสมดุ อตั โนมัติ สพฐ. เวอร์ช่ัน 3 : OBEC Library Automation System Version 3

11

สว่ นท่ี 2
กำรตดิ ตง้ั ระบบหอ้ งสมดุ อตั โนมัติ สพฐ.

การติดตั้งโปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สพฐ. (OBEC Library Automation System
Install) ส่ิงท่ีจาเป็นท่ีจะต้องเตรียมการก่อนการติดต้ังโปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สพฐ.
ควรดาเนินการดังนี้

เครอ่ื งคอมพวิ เตอรแ์ ละอปุ กรณ์เสรมิ

ผู้ใช้งานจะต้องจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นส่วนสาคัญของการปฏิบัติงานระบบ
ห้องสมุดอัตโนมตั ิ เคร่ืองคอมพิวเตอร์สาหรับใชง้ านระบบห้องสมุดอัตโนมัติควรมีอยา่ งน้อย 3 เครอื่ ง

เคร่ืองที่ 1 ใช้เป็นเคร่ืองคอมพิวเตอร์แม่ข่าย (Server) ใช้เป็นฐานข้อมูลห้องสมุดสาหรับ
การทางานของบรรณารักษ์ และบริการยืม - คืน ซ่ึงถือเป็นหัวใจสาคัญของการจัดการ
ทรัพยากรห้องสมดุ

เครอ่ื งท่ี 2 ใชใ้ นเครอื่ งมอื ในการเกบ็ สถิตผิ เู้ ข้าใช้บรกิ ารห้องสมดุ
เคร่ืองที่ 3 ใช้ในการบริการสืบค้นข้อมูลทรัพยากรห้องสมุด เสมือนตู้บัตรรายการสาหรับ
สมาชิกห้องสมุดคน้ หาข้อมูล และใชบ้ ริการยืม - คืนสาหรับสมาชกิ หอ้ งสมดุ
ขอ้ เสนอแนะ ถา้ เรานาเครื่องคอมพวิ เตอร์แม่ข่ายไปใช้รว่ มกบั งานบริการอื่น ๆ อาจจะทาให้
ฐานขอ้ มูลหอ้ งสมดุ ไมป่ ลอดภัย และข้อมูลอาจถกู ทาลายเสยี หายได้
เคร่ืองคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ในระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สพฐ. ควรมีคุณสมบัติ
รายละเอยี ดดงั ตอ่ ไปน้ี

1. เครื่องคอมพิวเตอร์สาหรับเป็นเครื่องแม่ข่าย (Server) ประกอบด้วย หน่วย
ประมวลผลกลาง (CPU) ไม่ต่ากว่ารุ่น Dual Core หน่วยความจาหลัก (RAM) ไม่ต่ากว่า 1 GB
หน่วยความจาสารอง (Hard Disk Drive) ไม่ตา่ กว่า 100 GB และต้องแบ่งพาร์ทชิ ่ันออกเป็นไดร์ฟ C
และ D มีระบบเชื่อมต่อ Network (LAN Card) ตามมาตรฐาน IEEE802.3 รองรับความเร็วได้ท่ี
100/1000 Mbps จอภาพ LCD ท่ีมีความละเอียด 1024 x 768 pixel ข้ึนไป

2. เคร่ืองคอมพิวเตอร์สาหรับใช้ในการเก็บสถิติผู้เข้าใช้บริการห้องสมุดและการ
สืบค้นทรัพยากรห้องสมุด ประกอบด้วย หน่วยประมวลผลกลาง (CPU) ไม่ต่ากว่ารุ่น Dual Core
หน่วยความจาหลัก (RAM) ไม่ต่ากว่า 1 GB หน่วยความจาสารอง (Hard Disk Drive) ไม่ต่ากว่า 40 GB
มีระบบเชื่อมต่อ Network (LAN Card) ตามมาตรฐาน IEEE802.3 รองรับความเร็วได้ที่ 100/1000
Mbps หรือมีระบบเช่ือมต่อ Network ไร้สาย จอภาพ LCD ท่ีมีความละเอียด 1024 x 768 pixel
ขึ้นไป

3. อุปกรณ์ Network Switch สาหรับเช่ือมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ (สามารถ
เพ่ิมเตมิ อปุ กรณ์กระจายสัญญาณไร้สายได)้

คมู่ อื กำรใช้งำนโปรแกรมระบบห้องสมุดอตั โนมตั ิ สพฐ. เวอร์ชัน่ 3 : OBEC Library Automation System Version 3

12

4. เครื่องอ่านบาร์โค้ด สาหรับอ่านบาร์โค้ดจากบัตรสมาชิก หรือบาร์โค้ดจากเล่ม
หนังสือ สาหรบั ใหบ้ ริการยมื - คนื

5. เคร่ืองพิมพ์ Laser Printer สาหรับพิมพ์บาร์โค้ด เลขเรียกหนังสือ หรือพิมพ์
รายงานตา่ งๆ ตามท่ีตอ้ งการ

ภาพการทางานระบบเครอื ขา่ ย

จากภาพแสดงการเช่ือมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย (Server) เครื่องปฏิบัติงานห้องสมุด
และเครื่องสาหรับบริการสืบค้นทรัพยากรห้องสมุด ซ่ึงโรงเรียนสามารถใช้ประโยชน์ร่วมกันและเป็น
เครือข่ายร่วมกันได้ (เครอ่ื งคอมพิวเตอร์แม่ข่ายควร Fix IP เพื่อใหเ้ ครื่องลกู ข่ายสามารถใช้งานได้อย่าง
ไม่คลาดเคลื่อน)

โปรแกรมสนับสนนุ ในกำรทำงำนระบบหอ้ งสมุดอตั โนมตั ิ สพฐ.

ก่อนการติดตั้งโปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สพฐ. ผู้ใช้งานควรตรวจสอบเคร่ือง
คอมพิวเตอร์ ทจี่ ะนามาติดต้ังโปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สพฐ. ให้เป็นเครือ่ งคอมพิวเตอร์แม่
ข่าย (Server) ก่อนวา่ ไดท้ าการติดตง้ั โปรแกรมเหล่าน้ีหรือไม่ ซง่ึ ประกอบดว้ ยโปรแกรมดังนี้

1. โปรแกรม Adobe Acrobat Reader หรือ Foxit Reader ใช้สาหรับงานสนับสนุน
(Supporting Module) และงานสถิติและรายงาน เพ่ือแสดงผลการพิมพ์บัตรสมาชิกห้องสมุด
เลขทะเบยี นหนังสือ เลขเรยี กหนงั สอื และรายงานต่าง ๆ ของห้องสมดุ

คูม่ ือกำรใช้งำนโปรแกรมระบบห้องสมุดอตั โนมัติ สพฐ. เวอร์ชน่ั 3 : OBEC Library Automation System Version 3

13

2. โปรแกรม Microsoft Office Excel ใช้สาหรับเตรียมข้อมูลบรรณานุกรมและข้อมูลสมาชิก
ห้องสมดุ เพ่ือนาขอ้ มลู เข้าระบบหอ้ งสมุดอัตโนมตั ิ สพฐ.

3. โปรแกรม WinZip หรือ WinRAR หรือ 7-Zip ใช้สาหรับบีบอัดไฟล์ (Compressed)
ทาให้ไฟล์มีขนาดเล็ก หรือบีบอัดไฟล์หลายๆ ไฟล์เข้าเป็นไฟล์เดียว เพื่อสะดวกในการคัดลอกลงใน
อปุ กรณ์เกบ็ ข้อมลู และแตกไฟลท์ ีถ่ กู บีบอัดให้เหมือนกับไฟลต์ น้ แบบเดมิ

4. โปรแกรม PIXresizer หรือโปรแกรมอื่น ๆ ใช้สาหรับในการย่อขนาดภาพ เช่น โลโก้
ห้องสมดุ รปู ภาพสมาชิกหอ้ งสมดุ รูปภาพปกหนงั สือท่ีจะนามาเก็บไว้ในระบบห้องสมดุ อตั โนมัติ สพฐ.

5. โปรแกรมเว็บบราวเซอร์ ได้แก่ mozilla Firefox หรือ Google chrome ใช้สาหรับ
เป็นเครื่องมือติดต่อในการใช้งานโปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สพฐ. ท่ีมีการจัดเก็บไว้ที่ระบบ
บริการเว็บหรือเวบ็ เซิรฟ์ เวอร์

6. โปรแกรม TeamViewer เป็นโปรแกรมสาหรับเช่ือมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์หรือ
เซิร์ฟเวอร์เครื่องอ่ืนๆ ได้โดยผ่านเครอื ขา่ ยอินเทอร์เนต็ ใช้สาหรับการตรวจสอบฐานข้อมูลของระบบ
หอ้ งสมุดอัตโนมตั ิ สพฐ. กรณที ผ่ี ู้ใช้งานมีปญั หาในการใชง้ าน

คมู่ ือกำรใชง้ ำนโปรแกรมระบบห้องสมุดอตั โนมัติ สพฐ. เวอร์ชน่ั 3 : OBEC Library Automation System Version 3

14

กำรเตรียมโปรแกรมบนระบบปฏิบตั กิ ำร Windows

โปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สพฐ. สามารถติดต้ังได้ทั้งระบบปฏิบัติการ Windows
XP, Window7 และ Windows 8 หรือสูงกว่า ส่วนประกอบท่ีสาคัญในการติดต้ังโปรแกรมระบบ
หอ้ งสมดุ อัตโนมตั ิ สพฐ. ผู้ใชง้ านจะตอ้ งเตรยี มสิ่งเหลา่ นี้ ดงั ต่อไปน้ี

web.zip โปรแกรมระบบห้องสมดุ อัตโนมตั ิ สพฐ. เวอร์ช่ัน 2
Migrate 2014 โปรแกรมสาหรบั upgrade ระบบห้องสมดุ อัตโนมัติ
สพฐ. ใหเ้ ป็นเวอรช์ ัน่ 3
path.txt ข้อความ copy ใชใ้ นการตดิ ตั้งโปรแกรม
readme.txt
rktools.exe คาแนะนาเกีย่ วกบั โปรแกรม

แฟ้มคาสงั่ ทีใ่ ช้ในการสารองข้อมูล (Backup)

การติดตั้งโปรแกรมจะต้องปฏิบัติตามวิธีการทุกขั้นตอน ถ้าขั้นตอนใดข้ันตอนหน่ึง
ขาดหายไปโปรแกรมจะไม่สมบูรณ์ และไม่สามารถเข้าใช้งานได้ในบางส่วน วิธีการติดต้ังโปรแกรม
ให้คัดลอก(Copy) ไฟล์ web.zip และวาง (Paste) ไฟล์ดังกล่าวลงไว้ในไดร์ฟ D ของเครื่อง
คอมพวิ เตอร์ ซงึ่ ระบบหอ้ งสมุดอัตโนมตั ิ สพฐ. ได้กาหนดให้จดั เก็บไวใ้ นไดรฟ์ D เทา่ น้นั

นอกจากน้ี ก่อนการติดตั้งโปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สพฐ. ผู้ใช้งานควรตรวจสอบ
เครื่องคอมพิวเตอร์ว่ามีโปรแกรมดังต่อไปนี้หรือไม่ ถ้าไม่มีให้ติดต้ังโปรแกรมเหล่านี้ให้เรียบร้อยก่อน
ตดิ ต้งั โปรแกรมระบบหอ้ งสมดุ อตั โนมตั ิ สพฐ.

1. โปรแกรม Adobe Acrobat Reader หรือ Foxit Reader
2. โปรแกรม Microsoft Office Excel
3. โปรแกรม WinZip หรือ WinRAR หรอื 7-Zip
4. โปรแกรมเว็บบราวเซอร์ ได้แก่ mozilla Firefox หรือ Google chrome

คมู่ อื กำรใชง้ ำนโปรแกรมระบบห้องสมดุ อตั โนมัติ สพฐ. เวอร์ชน่ั 3 : OBEC Library Automation System Version 3

15

วธิ กี ำรตัง้ คำ่ กำรใช้งำนโปรแกรมระบบหอ้ งสมดุ อตั โนมัติ สพฐ.

การต้ังค่าการใช้งานโปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สพฐ. ผู้ใช้งานต้องเลือกไฟล์
web.zip แล้วให้ดาเนนิ การตามข้ันตอนต่อไปนี้

 คลิกขวา web.zip
เลอื ก Copy

 คลกิ Copy  คลิกขวา
เลือก Paste
แลว้ ไปทไ่ี ดร์ฟ D
คลิกวางท่ีไดร์ฟ D

เลอื ก WinZip หรอื WinRAR
หรือ 7-Zip คลิกขวา

 คลกิ ขวา  เลอื ก ปรากฏโฟล์เดอร์ web
web.zip Extract Here

เลอื ก 7-Zip

 ดับเบ้ลิ คลิกโฟล์  คลิกขวา
เดอร์ web เลอื ก web.zip
xampp-control เลอื ก Delete

 คลกิ ขวา
เลอื ก Copy

คู่มอื กำรใชง้ ำนโปรแกรมระบบห้องสมดุ อตั โนมตั ิ สพฐ. เวอร์ชน่ั 3 : OBEC Library Automation System Version 3

16

 คลิกยอ่ (Minimize)
หนา้ ตา่ ง
ท่เี ปิดทางานท้งั หมด จนเห็น Desktop
คลกิ ขวาบนทวี่ ่าง Desktop
คลิกเลอื ก Paste shortcut

 ไอคอน
xampp-control

บน Desktop

จากน้ันไปท่ี My Computer คลิกขวาที่ My Computer เลือก Properties

 คลิก
Advanced

 เลอื ก
Properties

 คลกิ
Environment

Variables

 เลือก Path

 เล่ือนดูในชอ่ ง  คลกิ Edit
Variable value
ว่ามขี ้อความ
“...\web\xampp”

หรือไม่

คมู่ อื กำรใชง้ ำนโปรแกรมระบบห้องสมดุ อตั โนมตั ิ สพฐ. เวอร์ชัน่ 3 : OBEC Library Automation System Version 3

17

;D:\web\xampp\YAZ\bin

 ถ้าไม่มีขอ้ ความดงั กลา่ ว
ใหเ้ ลอื กเปดิ ไฟล์ path.txt
แล้วคลกิ คัดลอก (Copy)

ข้อความดังข้างบน

 นา Curser ไปวางตอ่ ทา้ ย
ข้อความสดุ ทา้ ยในชอ่ ง
Variable value

คลกิ เมาสข์ วา คลกิ วาง (Paste)

 คลกิ OK
ทกุ หน้าต่าง

ไปท่ีหน้า Desktop ดับเบิ้ลคลิกไอคอน xampp-control จะปรากฏหน้าจอ XAMPP
Control Panel Application

 คลกิ ในช่อง Apache
และ MySql เพื่อให้ระบบ
ทางานโดยอตั โนมตั ิเมื่อเปิด

เครอื่ งคอมพิวเตอร์

 คลิก
Restart

 ตรวจสอบการทางาน
Apache และ MySql

ตอ้ งวา่ Running

คู่มือกำรใชง้ ำนโปรแกรมระบบห้องสมดุ อตั โนมตั ิ สพฐ. เวอร์ชั่น 3 : OBEC Library Automation System Version 3

18

ในกรณีท่ี Apache และ MySql ไม่ทางานให้สังเกตข้อความ Current Directory : ว่าเป็น
ดังน้ีหรือไม่ Current Directory : D:\web\xampp ถ้าไม่เป็นตามน้ี แสดงว่าการติดตั้งโปรแกรม
ไม่ถูกต้อง หากข้อความ Current Directory : D:\web\xampp ถูกต้องตามนี้ แต่ Apache และ
MySql ไม่ปรากฏสถานะ Running ให้ทาการ Start Apache และ MySql ที่ SCM

 คลิก start
Apache 2.2

 คลิก
SCM

 คลิก start ปรากฏสถานะ
MySql

วิธกี ำรติดตัง้ โปรแกรมระบบหอ้ งสมดุ อัตโนมตั ิ สพฐ. เวอร์ชนั่ 2

เปิดเว็บบราวเซอร์ Google Chrome หรือ Mozilla Firefox พิมพ์ URL ข้อความว่า
http://localhost/ หรอื 127.0.0.1 จากนนั้ Enter

กรณีท่ีพมิ พ์ URL ขอ้ ความวา่  คลิกเลือก
http://localhost/ แล้วไม่ ภาษาไทย
สามารถเปดิ หนา้ ตา่ ง
OpenBiblio Install ได้ให้  คลิก Install
พิมพ์ http:// 127.0.0.1

 คลกิ
Start using OpenBiblio

คู่มอื กำรใชง้ ำนโปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมตั ิ สพฐ. เวอร์ช่นั 3 : OBEC Library Automation System Version 3

19

รหัสผใู้ ช้ : admin
รหสั ผ่าน : obeclib

คลิก
เข้าสรู่ ะบบ

หน้าจอหลกั โปรแกรม
ระบบหอ้ งสมุดอตั โนมัติ สพฐ.

เวอร์ชัน่ 2

ค่มู ือกำรใชง้ ำนโปรแกรมระบบห้องสมดุ อัตโนมตั ิ สพฐ. เวอร์ช่นั 3 : OBEC Library Automation System Version 3

20

วธิ กี ำรตดิ ตั้งชดุ คำสง่ั Migrate 2014 ใหเ้ ปน็ ระบบหอ้ งสมุดอตั โนมัติ สพฐ.
เวอรช์ น่ั 3

การติดต้ังชุดคาส่ัง Migrate 2014 ให้เป็นระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สพฐ. เวอร์ช่ัน 3
ผู้ใช้งานจะต้องติดต้ังโปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สพฐ. เวอร์ช่ัน 1 - 2 ลงบนเครื่อง
คอมพิวเตอร์ให้เรียบร้อยก่อน แล้วจึงติดต้ังชุดคาส่ัง Migrate 2014 ซึ่งมีวิธีการติดตั้งชุดคาสั่ง
Migrate 2014 ดงั ขั้นตอนต่อไปน้ี

 คลกิ Copy  คลกิ ขวา migrate 2014
ไว้บน Desktop เลือก Extract Here

 คลิกคาสงั่ ขยาย
ไฟล์ขอ้ มลู โฟล์เดอร์

migrate 2014

 ดับเบ้ลิ คลิก  ดับเบลิ้ คลกิ
โฟล์เดอร์ migrate updateTo2.cmd

2014

 กด Y บนแป้นคีย์
บอรด์ โปรแกรมจะทา

การ Migrate

 Migrate completed!
กดปมุ่ Enter
หนา้ จอสดี าจะถูกปิด

คมู่ อื กำรใช้งำนโปรแกรมระบบห้องสมดุ อตั โนมตั ิ สพฐ. เวอร์ชนั่ 3 : OBEC Library Automation System Version 3

21

 ดบั เบิ้ลคลกิ

 คลกิ  ปรากฎหน้าหลกั
Start using OpenBiblio ระบบห้องสมดุ อตั โนมตั ิ สพฐ.

เวอรช์ ่นั 3

ค่มู อื กำรใชง้ ำนโปรแกรมระบบห้องสมดุ อัตโนมตั ิ สพฐ. เวอร์ชั่น 3 : OBEC Library Automation System Version 3

22
ค่มู ือกำรใช้งำนโปรแกรมระบบห้องสมดุ อัตโนมตั ิ สพฐ. เวอร์ชั่น 3 : OBEC Library Automation System Version 3

23

ข้อแนะนำโปรแกรมระบบห้องสมดุ อตั โนมตั ิ สพฐ.

1. กรณี ท่ีไม่สามารถ start Apache, MySQL ใน Xampp Control จนมีสถานะขึ้นว่า
Running ให้ตรวจสอบ Folder web และ xampp วา่ การติดต้งั โปรแกรมอยทู่ ี่ Drive D หรอื ไม่

;D:\web\xampp ติดตง้ั ถกู ตอ้ ง
;D:\web\web\xampp ติดต้ังผิด เพราะโฟล์เดอร์ web ซ้อนอยู่ในโฟล์เดอร์ web
อีกขั้นหน่งึ
2. กรณีคัดลอก (Copy) xampp Control ไว้ที่หน้า Desktop แล้ว Apache และ MySQL
ไม่สามารถ Running ให้ลองคลิกเคร่ืองหมาย  ในช่อง svc ท้ังสองช่องออก แล้วคลิก start Apache
และ MySQL ดูว่า Running หรือไม่ แล้วให้ดูรายละเอียดที่แสดงในกรอบสีขาวด้านล่าง current
directory ว่าเป็น ;D:\web\xampp หรือไม่ ถ้าเป็น C:\web\xampp ให้ไปแก้ไขที่การต้ังค่า path
ใหม่ หรือให้คลิกเครื่องหมาย  ในช่อง svc ท้ังสองช่องออก แล้วกลับไปคลิกเครื่องหมาย  ในช่อง
svc ใหม่อีกครัง้ จากน้นั ให้ restart เครอ่ื งคอมพิวเตอร์ใหม่
3. หลงั จากติดตง้ั โปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สพฐ. เรียบรอ้ ยแล้ว และเปิดเว็บบราวเซอร์
ระบบจะแสดงข้อความ Fatal error : Call to a member function get Themeid () on a
non-object in D:\web\xampp\htdocs\obeclib\shared\read_settings.php on line 46
แสดงว่าข้ันตอนเข้า OpenBiblio Install และคลิก Install โดยช่องภาษา (Language) ไม่ได้เลือก
ภาษาไทย ดังน้นั วิธแี ก้ไขต้องทาติดต้ังโปรแกรมใหม่ โดยคลิก Running Apache และ MySQL คลิก
Exit ออกจากโปรแกรม จากนั้น ไปท่ีไดร์ฟ D ลบโฟล์เดอร์ web ออก แล้วทาการติดตั้งโปรแกรม
ใหม่ตามขน้ั ตอนทไี่ ด้อธิบายไว้ข้างต้น

กำรใชง้ ำนโปรแกรมระบบหอ้ งสมดุ อัตโนมตั ิ สพฐ. ผำ่ นเครอื ขำ่ ย

ผู้ใช้งานสามารถใช้งานระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สพฐ. โดยผ่านเว็บบราวเซอร์เข้าสู่ URL
ได้แก่ http://localhost หรือ 127.0.0.1 ซึ่งเป็นการใช้งานบนเคร่ืองคอมพิวเตอร์แบบเคร่ืองเดียว
ในกรณผี ้ใู ช้งานตอ้ งการใช้งานบนเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์พร้อมกนั ตั้งแต่ 2 เครอื่ งข้ึนไป เช่น

เครื่องคอมพิวเตอรท่ี 1 ใช้สาหรับเป็นเคร่ืองแม่ข่าย (Server) ใช้ในงาน อาทิ งานจัดการ
และบริหารระบบ งานสถิตแิ ละรายงาน งานสนบั สนนุ ฯลฯ

เครอ่ื งคอมพวิ เตอรท่ี 2 ใชส้ าหรับงานวิเคราะห์ทรพั ยากรหอ้ งสมดุ
เครือ่ งคอมพิวเตอรที่ 3 ใชส้ าหรบั งานบริการยมื -คืน
เครอ่ื งคอมพิวเตอรท่ี 4 ใชส้ าหรับการสืบคน้ ทรพั ยากรหอ้ งสมุด
เคร่อื งคอมพิวเตอรท่ี 5 ใชส้ าหรับ
ระบบห้องสมดุ อตั โนมตั ิ สพฐ. สามารถทางานผา่ นเครือข่ายได้ดงั น้ี

คูม่ อื กำรใชง้ ำนโปรแกรมระบบห้องสมดุ อตั โนมัติ สพฐ. เวอร์ช่นั 3 : OBEC Library Automation System Version 3

24

1. กำรทำงำนผำ่ นเครือขำ่ ยระบบ LAN

การทางานผ่านเครือข่ายระบบ LAN เป็นการเช่ือมต่อคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันเป็นเครือข่าย
ภายในห้องสมุด โดยมีการทางานระหว่างคอมพิวเตอร์ที่เป็นเครื่องแม่ข่ายกับคอมพิวเตอร์อื่นๆ
ท่เี ปน็ เครอ่ื งลกู ข่าย ผู้ใชง้ านจะกาหนด IP Address ให้กับเคร่อื งคอมพวิ เตอร์ที่ติดต้ังระบบห้องสมุด
อตั โนมตั ิ สพฐ. ท่ีเปน็ เคร่ืองแมข่ า่ ย เม่ือได้ IP Address ของเคร่อื งแลว้ ผู้ใช้งานสามารถเข้าใช้ระบบ
ได้โดยเปิดเว็บบราวเซอร์ Firefox หรือ Google Chrome และพิมพ์ URL ดังนี้ http://IP
Address/obeclib การใช้งานลกั ษณะน้ีจะตอ้ งอยู่ภายใต้เงื่อนไข ดังนี้

1.1 เคร่ืองคอมพิวเตอร์ที่ติดต้ังระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สพฐ. หรือเรียกว่า เครื่องแม่ข่าย
(Server) จะต้องเช่ือมต่อเขา้ ในเครือขา่ ยระบบ LAN

1.2 เครื่องคอมพิ วเตอร์ที่ ต้องการใช้งานระบ บ ห รือเรียกว่า เค ร่ืองลูกข่าย
(Workstation) จะต้องเช่ือมต่อเขา้ ในเครือขา่ ยระบบ LAN ดว้ ยเชน่ กนั

1.3 เม่ือเช่ือมต่อเข้าในเครือข่ายระบบ LAN ระบบเครือข่ายจะต้องใช้งานได้พร้อมกัน
ทุกเครอื่ งท่ีทาการเช่ือมตอ่ เข้าด้วยกนั

ภาพแสดงการเชื่อมต่อเครอื ข่ายระบบ LAN

วิธีการใช้งานผ่านเครือข่ายระบบ LAN โดยการต้ังค่าการใช้งานบนเครื่องคอมพิวเตอร์
แม่ข่าย ผู้ใช้งานคลิก Start จะปรากฏไอคอนของโปรแกรม และช่อง Search programs and files
จากน้ัน พิมพ์คาสั่ง cmd ในช่อง Search programs and files จะปรากฏหน้าต่าง Comd.exe
พิมพ์ ipconfig กด Enter จะแสดงรายละเอียด Windows IP Configuration เลือกหาหมายเลข
IP Address หลังคาว่า IPv4 Address จะเปน็ หมายเลข IP Address ของเคร่อื งคอมพวิ เตอร์แม่ข่าย

ตัวอย่าง ณ ที่ น้ี ห มายเลข IP Address ของเครื่องคอมพิ วเตอร์แม่ข่าย ได้แก่
192.168.33.162 ให้เปิดเวบ็ บราวเซอร์ Google Chrome หรือ Firefox เครื่องคอมพิวเตอร์ลูกขา่ ย
จากน้ันพิมพ์ URL http://IP Address ของเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายตามด้วย/obeclib เช่น
192.168.33.162 /obeclib

คมู่ ือกำรใชง้ ำนโปรแกรมระบบห้องสมุดอตั โนมัติ สพฐ. เวอร์ชน่ั 3 : OBEC Library Automation System Version 3

25

 คลกิ Start

 พิมพค์ าสง่ั cmd
 คลกิ cmd.exe

 พิมพ์ ipconfig

ค่มู อื กำรใชง้ ำนโปรแกรมระบบห้องสมุดอตั โนมตั ิ สพฐ. เวอร์ชนั่ 3 : OBEC Library Automation System Version 3

26

 กด Enter

 IP Address
192.168.33.162

 เปิดเว็บบราวเซอร์ Google
Chrome หรือ Firefox เครือ่ ง

คอมพวิ เตอร์ลกู ขา่ ย

 พิมพ์ URL http://IP Address
ของเครอื่ งคอมพวิ เตอร์แม่ขา่ ย/obeclib

เชน่ 192.168.33.162 /obeclib

ค่มู ือกำรใชง้ ำนโปรแกรมระบบห้องสมดุ อตั โนมตั ิ สพฐ. เวอร์ชั่น 3 : OBEC Library Automation System Version 3

27

2. กำรทำงำนผ่ำนเครือข่ำยระบบอินเทอร์เนต็

การทางานผ่านเครือข่ายระบบอินเทอร์เน็ต เป็นการเช่ือมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไปยัง
สถานที่ต่าง ๆ ภายนอกห้องสมุด เพ่ืออานวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้ห้องสมุดสามารถสืบค้นข้อมูล
ทรพั ยากรหอ้ งสมดุ ไดท้ กุ สถานที่ เช่น การสบื ค้นทรัพยากรหอ้ งสมุดโดยใช้ OPAC ฯลฯ

การใช้งานลักษณะนี้ จะต้องอย่ภู ายใต้เง่ือนไขดงั น้ี
1) เคร่อื งคอมพิวเตอร์แม่ข่าย (Server) ทพี่ รอ้ มใหบ้ ริการตลอด 24 ช่ัวโมง
2) มีการตั้งค่า Network Address Translation (NAT), DNS, IP Address และอ่ืนๆ
ทีจ่ าเป็นเกีย่ วกบั การใชง้ านระบบเครือขา่ ย
3) บุคลากรทีม่ ีความรูด้ ้านเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ (Network)
4) มงี บประมาณในการดูแลและบารงุ รกั ษา

กำรเขำ้ ใชง้ ำนโปรแกรมระบบหอ้ งสมดุ อตั โนมัติ สพฐ. เวอรช์ นั่ 3

ผใู้ ชง้ านสามารถเริ่มตน้ ใช้งานโปรแกรมระบบห้องสมุดอตั โนมตั ิ สพฐ. เวอรช์ ัน่ 3 ดงั ตอ่ ไปน้ี

 ตรวจสอบ Apache
และ MySql ตอ้ งทางาน

(Running)

 เปดิ เว็บบราวเซอร์
Firefox หรือ

Google Chrome

คมู่ อื กำรใชง้ ำนโปรแกรมระบบห้องสมุดอตั โนมัติ สพฐ. เวอร์ชน่ั 3 : OBEC Library Automation System Version 3

28

 พมิ พ์ URL ข้อความ
Localhost หรอื

127.0.0.1 ในชอ่ ง
Adderss Bar กด Enter

 คลิก
ลงชอื่ เข้าใช้

 ป้อนขอ้ มลู
รหสั ผู้ใช้ : admin

รหัสผา่ น : obeclib

สว่ นที่ 2  เขา้ สกู่ ารใชง้ าน
โดย admin สามารถ

ใช้งานตามโมดูล

ท่ตี ้องการ

กำรติดตง้ั ระบบหอ้ งสมดุ อัตโนมตั ิ สพฐ.

สว่ นที่ 3

คู่มอื กำรใชง้ ำนโปรแกรมระบบห้องสมุดอตั โนมตั ิ สพฐ. เวอร์ชัน่ 3 : OBEC Library Automation System Version 3

29

สว่ นท่ี 3
ระบบงำนโปรแกรมระบบห้องสมดุ อัตโนมตั ิ สพฐ.

ระบบงานโปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สพฐ. เวอร์ชั่น 3 ประกอบด้วย 6 งานหลัก
ได้แก่ งานจัดการและบริหารระบบ งานวิเคราะห์ทรัพยากรห้องสมุด งานบริการยืม - คืน
งานสถติ ิและรายงาน งานสนับสนุน และการสบื คน้ ทรัพยากรหอ้ งสมุด

งำนจัดกำรและบริหำรระบบ

ผู้ใช้งานสามารถเข้าสู่เมนูงานจัดการและบริหารระบบได้โดยคลิกที่เมนู งานจัดการและ
บรหิ ารระบบ

1. กำรกำหนดสทิ ธผิ์ ู้ใชง้ ำน

การกาหนดสิทธ์ิผู้ใช้งานระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สพฐ. จะต้ังค่าผู้ใช้งาน admin ไว้ให้
ผู้ใช้งานสามารถ เพ่ิมรายช่ือผู้ใช้งานใหม่ โดยกรอกข้อมูลรายละเอียดผู้ใช้งานและกาหนดชื่อ
ผู้ใชง้ านและรหัสผา่ นหลงั จากน้นั กาหนดสิทธ์ิการใชง้ านกบั ผใู้ ชง้ านแต่ละคน

 คลิกเพ่ิมผู้ใช้งานใหม่ ชือ่ ผใู้ ช้งาน
 ป้อนขอ้ มลู ป้อนช่อื เป็น
ภาษาอังกฤษเทา่ นนั้

 ป้อนรหสั ผ่าน
เป็นภาษาอังกฤษหรอื ตัวเลข

 คลิกกาหนดสิทธ์ิ  คลกิ บันทกึ

ใชง้ านได้เฉพาะเมนู
ทถี่ กู กาหนดไวเ้ ท่านั้น

คมู่ อื กำรใชง้ ำนโปรแกรมระบบห้องสมุดอตั โนมตั ิ สพฐ. เวอร์ชั่น 3 : OBEC Library Automation System Version 3

30

นอกจากน้ี ผใู้ ชง้ านสามารถแกไ้ ข เปล่ยี นรหัสผา่ น และลบขอ้ มลู ผูใ้ ชง้ าน โดยคลกิ เลือกในช่องตง้ั ค่า

 คลกิ เลือก คลิกในชอ่ ง เคร่อื งหมายถูก
ชอ่ งตั้งคา่ จะปรากฏหรือหายไปตามความ
ต้องการ
 แกไ้ ขข้อมลู ผ้ใู ช้งานระบบ

 ปอ้ นขอ้ มลู
ทีต่ อ้ งการแกไ้ ข

 คลิก  ใส่รหัสผ่านทีต่ อ้ งการแกไ้ ข
บันทึก ใชช้ ่ือเป็นภาองั กฤษ หรอื

 แกไ้ ขรหัสผ่านผ้ใู ช้งาน ตัวเลขไม่นอ้ ยกว่า 6 ตัวอักษร

 คลกิ  ลบผใู้ ช้งานทไ่ี ม่
บนั ทกึ อนุญาตให้ใชร้ ะบบแล้ว

 ลบผู้ใชง้ านระบบ

 คลกิ ลบ

คมู่ ือกำรใช้งำนโปรแกรมระบบห้องสมุดอตั โนมัติ สพฐ. เวอร์ชั่น 3 : OBEC Library Automation System Version 3

31

2. กำรต้งั คำ่ ห้องสมุด

ระบบได้กาหนดค่าเร่ิมต้นการตั้งค่าห้องสมุดให้เรียบร้อยแล้ว ผู้ใช้งาน สามารถตั้งค่า
ชื่อห้องสมุด โลโก้ห้องสมุด การแสดงโลโก้ห้องสมุดเท่านั้น เวลาเปิดทาการ ติดต่อ และเว็บไซต์
ห้องสมดุ สว่ นรายการอน่ื ๆ ไม่จาเปน็ ตอ้ งตง้ั คา่ ใหม่

ค่มู อื กำรใช้งำนโปรแกรมระบบห้องสมดุ อตั โนมัติ สพฐ. เวอร์ชน่ั 3 : OBEC Library Automation System Version 3

32

ชอ่ื หอ้ งสมดุ ระบบไดต้ ง้ั ค่าคาว่า “ห้องสมดุ ” ไว้แลว้ ใหป้ ้อนช่อื เฉพาะหน่วยงาน เชน่
“โรงเรยี นสังกดั สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน” ดงั ภาพ

โลโก้หอ้ งสมุด ระบตุ าแหนง่ Path ทีม่ ีไฟล์โลโก้ห้องสมุด ระบบได้กาหนดตาแหนง่ Path ไว้
เรยี บรอ้ ยแลว้ คอื ../images/logo.png บรรณารกั ษ์ ไมต่ ้องเปลี่ยนตาแหนง่
Path ดงั กล่าว ส่ิงทีจ่ ะตอ้ งสงั เกตคอื รปู ภาพโลโกห้ อ้ งสมุดทท่ี าเสรจ็ แลว้ น้ัน เปน็
ไฟล์นามสกลุ .jpg, .png, .gif ถ้าไฟลใ์ ชน้ ามสกุลอะไรก็ใหเ้ ปลีย่ นเฉพาะนามสกุล

ของ logo เทา่ นน้ั เชน่ ไฟล์ logo นามสกลุ .jpg กใ็ หเ้ ปลยี่ น../
images/logo.png เป็น ../images/logo.jpg จากนน้ั Copy ไฟล์โลโก้ไปวางใน
โฟลเ์ ดอร์ images โดยใหเ้ ขา้ ไปยงั ตาแหนง่ Path ได้แก่
D:\web\xampp\htdocs\obeclib\images\

ข้อสังเกต ถ้า Copy ไฟล์โลโก้ไปวางไวใ้ นโฟล์เดอร์ images แล้ว เม่อื กลับไป
เรียกดทู ่ีหนา้ ต่างของระบบรปู ภาพโลโกย้ ังไมเ่ ปล่ียนไปตามทีต่ อ้ งการ ให้
ตรวจสอบ ดังนี้
1. ให้กดป่มุ F5 เพ่ือ Refresh ให้แสดงรูปภาพโลโก้ใหม่ แต่ยงั ไมป่ รากฏรปู ภาพ

ใหม่ ให้กดปมุ่ F5 ไปจนกว่าจะเปลี่ยนรปู ภาพ
2. ตรวจสอบอีกครงั้ วา่ ตาแหนง่ Path ท่ี Copy ไฟลโ์ ลโก้ไปวางไวถ้ กู ต้องหรือไม่
3. ตาแหน่งทร่ี ะบุ จะตอ้ งใส่เฉพาะ ../images/logo.png (ขึน้ อยูก่ บั นามสกลุ ของ
ไฟล์โลโก้) ขนาดของโลโกไ้ มเ่ กนิ 110 x 110 pixel หรือความสงู ไมเ่ กิน 110 pixel

แสดงโลโกห้ ้องสมดุ เทา่ นน้ั ถา้ ต้องการให้ระบบแสดงเฉพาะโลโกห้ ้องสมุด โดยไม่แสดงชอื่ หอ้ งสมุด สามารถ

กาหนดไดโ้ ดยคลกิ และคลกิ ระบบจะแสดงเฉพาะ
โลโกเ้ ทา่ นนั้

เวลาเปิดทาการ ปอ้ นวนั เวลาเปดิ ทาการของห้องสมดุ
ตดิ ตอ่ ป้อนรายละเอียดการติดตอ่ ได้แก่ เบอรโ์ ทรศพั ท์, E-mail เวลาเปดิ ทาการ

เวบ็ ไซต์ห้องสมดุ ถ้าหอ้ งสมุดมีเวบ็ ไซต์ของหอ้ งสมุด หรือหน่วยงาน

ใหป้ ้อนท่อี ยู่ของเวบ็ ไซต์ (URL) เม่ือคลกิ เมนู ในหนา้ ตา่ ง

หลกั ของระบบห้องสมุดอัตโนมตั ิ สพฐ. จะแสดงหนา้ ตา่ งของเวบ็ ไซตน์ น้ั

เมอ่ื ป้อนขอ้ มลู เรียบรอ้ ยแลว้ คลิก เพ่ือบนั ทึกขอ้ มลู

คู่มอื กำรใชง้ ำนโปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สพฐ. เวอร์ช่นั 3 : OBEC Library Automation System Version 3

33

3. กำรกำหนดประเภทสมำชกิ

ผู้ใช้งานสามารถแก้ไข ลบ และเพิ่มประเภทสมาชิกใหม่ โดยคลิก การกาหนดประเภทสมาชิก
จะแสดงรายละเอยี ดสมาชกิ ที่กาหนดไวใ้ นระบบ

 คลกิ  คลิก
บนั ทกึ เพิ่มประเภทสมาชิกใหม่

 ป้อนขอ้ มลู

 คลิก
กลับสู่ประเภทสมาชิก


ผลลัพธ์

คู่มอื กำรใช้งำนโปรแกรมระบบห้องสมุดอตั โนมัติ สพฐ. เวอร์ช่ัน 3 : OBEC Library Automation System Version 3

 แก้ไขประเภทสมาชกิ 34

 คลกิ แกไ้ ข  ปอ้ นข้อมลู

 คลกิ
บนั ทึก

 ลบประเภทสมาชกิ

 คลิกลบ

 คลกิ ลบ

การลบประเภทสมาชกิ สามารถลบได้เฉพาะประเภททมี่ ีจานวนสมาชิกเปน็ 0 เท่าน้ัน

4. กำรกำหนดระดบั ช้ัน/ตำแหน่ง

ผู้ใช้งานสามารถกาหนดระดับชนั้ /ตาแหน่ง และสามารถใช้ข้อมลู สว่ นน้ีเป็นรายงานสถติ ิผู้เขา้ ใช้
บริการห้องสมุดแยกตามระดับชั้นได้ ท้ังนี้ ระบบได้กาหนดข้อมูลพื้นฐานไว้ครบทุกระดับชั้นแล้ว
ถ้าผู้ใช้งานต้องการกาหนดใหม่สามารถเข้าใช้งานได้โดยคลิกเมนู การกาหนดระดับช้ัน/ตาแหน่ง
แก้ไข ลบ และ เพิม่ ระดบั ช้นั /ตาแหนง่

คูม่ ือกำรใช้งำนโปรแกรมระบบห้องสมดุ อัตโนมตั ิ สพฐ. เวอร์ชั่น 3 : OBEC Library Automation System Version 3

35

 คลิก
เพมิ่ ระดับชน้ั /ตาแหน่ง

 ปอ้ นข้อมลู

 คลิกบันทกึ

 ป้อนขอ้ มลู

 คลกิ แกไ้ ข

 คลิก
บนั ทกึ

 คลิกลบ

 คลกิ ลบ

คมู่ อื กำรใชง้ ำนโปรแกรมระบบห้องสมดุ อัตโนมตั ิ สพฐ. เวอร์ชนั่ 3 : OBEC Library Automation System Version 3

36

5. กำรกำหนดเขตข้อมูลสมำชิก

การกาหนดเขตข้อมูลสมาชิกเป็น การเพ่ิมช่องรายละเอียดในการเก็บข้อมูลสมาชิก
นอกเหนือจากระบบได้กาหนดไว้ ผู้ใช้งานสามารถทาได้โดยคลิก การกาหนดข้อมูลสมาชิก
จากนน้ั คลิกเพม่ิ เขตขอ้ มลู สมาชิกใหม่

 คลิกเพ่มิ  ปอ้ นข้อมลู
เขตข้อมลู สมาชิกใหม่ เปน็ ช่อื ภาษาอังกฤษ

เท่าน้ัน

 คลิก
กาหนดเขตขอ้ มลู สมาชิก

 คลกิ
บันทกึ

 คลิกแกไ้ ข
เขตข้อมลู สมาชิก

 คลิกลบ

6. กำรกำหนดประเภททรัพยำกรหอ้ งสมุด

ผู้ใช้งานสามารถแก้ไข ลบ เพ่ิม MARC และเพ่ิมประเภททรัพยากรห้องสมุดใหม่ โดยคลิกเมนู
การกาหนดประเภททรพั ยากรหอ้ งสมดุ ซ่ึงระบบได้กาหนดประเภททรัพยากรหอ้ งสมุดไว้แล้ว

 คลกิ กาหนดประเภท  คลิกเพ่มิ ประเภท  คลิกเลือกแกไ้ ข/
ทรพั ยากรห้องสมุด ทรพั ยากรหอ้ งสมดุ ใหม่ ลบ/เพม่ิ MARC

คู่มือกำรใช้งำนโปรแกรมระบบห้องสมดุ อัตโนมตั ิ สพฐ. เวอร์ชั่น 3 : OBEC Library Automation System Version 3

37

การลบประเภททรัพยากรหอ้ งสมดุ สามารถลบได้
เฉพาะประเภททมี่ ีจานวนทรัพยากรหอ้ งสมดุ
เป็น 0 เทา่ นั้น

7. กำรกำหนดสถำนที่จัดเก็บ

ผู้ใช้งานสามารถแก้ไข ลบ และเพ่ิมสถานที่จัดเก็บใหม่ โดยสามารถกาหนดระยะเวลายืม
และอัตราค่าปรับ นอกจากน้ี ระบบได้แสดงจานวนทรัพยากรห้องสมุดในแต่ละหมวดหมู่การจัดเก็บ
ไวด้ ้วย เม่อื คลกิ เมนู การกาหนดสถานท่ีจัดเกบ็ จะแสดงหมวดหมู่การจดั เก็บ โดยระบบได้ตัง้ ค่าตาม
มาตรฐานของห้องสมุดท่ัวไปพ้ืนฐานไว้แล้ว ถ้าผู้ใช้งานต้องการเพ่ิมสถานท่จี ัดเก็บใหม่สามารถทาได้
โดยคลิกการกาหนดสถานที่จัดเก็บ จากน้ันคลิกเพิ่มสถานท่ีจัดเก็บใหม่ หรือแก้ไข หรือลบ ได้ตาม
ความเหมาะสมของห้องสมดุ

 คลกิ กาหนด  คลกิ เพ่ิม
สถานทจี่ ัดเกบ็ สถานทจี่ ัดเกบ็

รายละเอียด : ปอ้ นช่ือสถานท่ี  ปอ้ นขอ้ มลู
จดั เก็บที่ตอ้ งการเพ่มิ ใหม่ แต่ละช่อง
จานวนวันท่ียืมได้ : ป้อนจานวน
วันให้ยืมของสถานทจ่ี ัดเก็บ  คลิกบันทกึ
ค่าปรับเกินกาหนด : ป้อน
จานวนเงินค่าปรับที่ยืมเกิน  ผลลพั ธ์
กาหนด
*** ถา้ จานวนวนั ทยี่ ืมได้

เปน็ 0 จะไม่สามารถยมื
ทรัพยากรหอ้ งสมดุ ได*้ **

คูม่ ือกำรใชง้ ำนโปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมตั ิ สพฐ. เวอร์ชน่ั 3 : OBEC Library Automation System Version 3

38

 แก้ไขสถานท่ีจัดเก็บ สามารถทาได้โดย คลิก แก้ไข โดยป้อนข้อมูลใหม่ในแต่ละช่อง
ถ้าชอ่ งจานวนวันท่ียมื ได้มคี า่ เปน็ 0 ไมส่ ามารถยมื ได้ เมือ่ แก้ไขเรียบรอ้ ยแลว้ คลิก บนั ทึก เพ่อื บนั ทึก
ขอ้ มูล

 คลกิ แกไ้ ข
สถานทจ่ี ดั เก็บ

 ป้อนขอ้ มลู
ที่ตอ้ งการแกไ้ ข

 คลิก
บันทึก

 ลบสถานที่จัดเก็บ สามารถทาได้โดยคลิก ลบ จะปรากฏหน้าจอให้ยืนยันการลบสถานที่
จัดเก็บ ถ้าต้องการลบ คลิก ลบ การลบสถานท่ีจัดเก็บสามารถลบได้เฉพาะสถานที่จัดเก็บท่ีมี
จานวนทรพั ยากรหอ้ งสมดุ เป็น 0 เท่านน้ั

 คลกิ ลบ
สถานทจ่ี ัดเก็บ

 แสดงยนื ยัน
การลบ

 คลกิ ลบ

คู่มือกำรใชง้ ำนโปรแกรมระบบห้องสมุดอตั โนมัติ สพฐ. เวอร์ช่ัน 3 : OBEC Library Automation System Version 3

39

8. กำรกำหนดปฏิทินวันหยุด

ผู้ใช้งานสามารถกาหนดวันหยุดในแต่ละปี เพื่อนาไปใช้ในการคานวณวันกาหนดยืม - คืน
หนังสือ หากวันกาหนดคืนหนังสอื ตรงกับวันหยุดที่ถูกกาหนดไว้ ระบบจะเล่ือนวันคืนหนงั สือออกไปอีก
1 วนั

 คลกิ เพิ่มวนั หยุด

 คลกิ กาหนด  เลือกวนั หยดุ
ปฏิทนิ วนั หยุด

 เลือก  คลิก
รายละเอยี ด บันทึก

 เลอื ก  คลิกเลือก
แกไ้ ข แกไ้ ข/ลบ

 เลือกลบ

คู่มือกำรใชง้ ำนโปรแกรมระบบห้องสมดุ อัตโนมตั ิ สพฐ. เวอร์ชัน่ 3 : OBEC Library Automation System Version 3

40

9. กำรกำหนดระเบียบกำรยมื - คืน

ผู้ใช้งานสามารถกาหนดจานวนเล่มที่ยืมได้ และจานวนครั้งท่ียืมต่อในแต่ละประเภท
ทรัพยากร และประเภทสมาชิก โดยคลิก การกาหนดระเบียบการยืม - คืน ระบบจะแสดงประเภท
ทรัพยากร ประเภทสมาชิก จานวนเล่มท่ียืมได้ และจานวนคร้ังท่ีสามารถยืมต่อ และสามารถแก้ไข
ระเบียบการยืม - คืนได้

 คลกิ แกไ้ ข

 คลิกกาหนด  แก้ไข
ระเบียบการยืม -คนื สทิ ธิ์การยืม

 คลิก จานวนเลม่ : จานวนเลม่ ท่ยี ืมได้สงู สดุ
บันทกึ การยืม ต่ อ: ระบ บ ได้ ต้ั งค่าเป็ น 0
หมายถึง ผู้ใช้งานสามารถคลิกยืมต่อ
ในกรณีที่สมาชิกนาทรัพยากรห้องสมุด
มาคืน และแจ้งความจานงยืมต่อโดย
ผู้ ใช้ ง า น ป้ อ น จ า น ว น ค ร้ั ง ล ง ใน ช่ อ ง
ดังกลา่ ว

10. กำรนำเข้ำ/สง่ ออกข้อมูล

ผ้ใู ช้งานสามารถนาเข้าข้อมูล และสง่ ออกข้อมลู ในรูปแบบ Microsoft Excel โดยมวี ิธีการดังนี้

10.1 กำรนำเขำ้ ข้อมลู

1.1 การนาเข้าข้อมลู สมาชิก เป็นการนาเขา้ รายชื่อสมาชกิ โดยป้อนขอ้ มลู ตามไฟล์
ต้นแบบ ในเมนูงานบริการยืม-คืน เมนูย่อยการนาเข้าข้อมูลสมาชิก ซึ่งวิธีการนี้จะช่วยให้ผู้ใช้งาน
สามารถทางานได้รวดเร็วข้นึ ไม่ต้องป้อนข้อมูลทีละรายการ โดยสามารถคัดลอกและวางขอ้ มลู ในช่อง
ตารางทแี่ สดงการนาเข้าข้อมูลสมาชกิ และนาเข้าตามประเภทสมาชกิ

1.2 การนาเข้าข้อมูลบรรณานุกรม เป็นการนาเข้าข้อมูลหนังสือ โดยป้อนข้อมูล
ตามไฟล์ต้นแบบ ในเมนูงานวิเคราะห์ทรัพยากรห้องสมุด เมนูย่อยการนาเข้าข้อมูลบรรณานุกรม
ซ่ึงวิธีการนี้จะที่ช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถทางานได้รวดเร็วข้ึนไม่ต้องป้อนข้อมูลทีละรายการ โดย
สามารถคัดลอกและวางข้อมูลในช่องตารางท่ีแสดงการนาเข้าข้อมูลบรรณานุกรม และนาเข้าตาม
สถานทีจ่ ดั เกบ็ และประเภททรัพยากรห้องสมดุ

คู่มือกำรใช้งำนโปรแกรมระบบห้องสมดุ อตั โนมตั ิ สพฐ. เวอร์ชั่น 3 : OBEC Library Automation System Version 3

41

ในกรณีเมนูการนาเข้าข้อมูลสมาชิก/บรรณานุกรมไม่ปรากฏตารางนาเข้าข้อมูล ให้กด
Refresh หรือ F5 ตารางจะปรากฏ

 คลิกเลอื ก
นาเข้าขอ้ มลู สมาชิก

หรือ
นาเขา้ ขอ้ มลู บรรณานกุ รม

 นาเข้าข้อมูลสมาชกิ

 คดั ลอก (copy) ข้อมลู จากตาราง
Microsoft Excel วางลงในตาราง

ระบบ โดย กด Ctrl+V

 เลอื กประเภทสมาชกิ
คลิกนาเขา้ ข้อมลู

คมู่ อื กำรใชง้ ำนโปรแกรมระบบห้องสมดุ อัตโนมัติ สพฐ. เวอร์ชัน่ 3 : OBEC Library Automation System Version 3

42

 นาเขา้ ขอ้ มูลบรรณานุกรม

 คลิกเลอื กนาเข้าขอ้ มลู บรรณานกุ รม
คดั ลอก (copy) ขอ้ มูลจากตาราง

Microsoft Excel วางลงในตารางระบบ
โดย กด Ctrl+V

 เลือกสถานทจ่ี ดั เกบ็
ประเภททรัพยากรหอ้ งสมดุ
และแสดงใน OPAC

 คลิก
นาเข้าข้อมลู

คมู่ ือกำรใช้งำนโปรแกรมระบบห้องสมดุ อัตโนมัติ สพฐ. เวอร์ชนั่ 3 : OBEC Library Automation System Version 3

43

10.2 กำรส่งออกข้อมูล
การส่งออกข้อมูล เป็นการนาเอาข้อมูลห้องสมุดท่ีมีอยู่ในระบบท้ังหมด ได้แก่
ขอ้ มูลทรัพยากรห้องสมดุ ขอ้ มูลสมาชิก และข้อมูลผู้ใช้งาน ออกจากระบบห้องสมุดอัตโนมตั ิ สพฐ.
โดยไฟล์ทบ่ี ันทึกจะเป็นไฟล์ทมี่ ีนามสกุล .zip ซึ่งขอ้ มลู ดังกล่าวสามารถนาไปใช้กบั ระบบห้องสมุดอื่นได้

 คลกิ
สง่ ออกขอ้ มูลหอ้ งสมุด

 เลือก
Save File

 คลิก OK

 ผลลพั ธ์

ค่มู ือกำรใช้งำนโปรแกรมระบบห้องสมดุ อัตโนมตั ิ สพฐ. เวอร์ชนั่ 3 : OBEC Library Automation System Version 3

44

งำนวเิ ครำะห์ทรพั ยำกรห้องสมุด

ผู้ใช้งานสามารถเข้าสู่เมนูงานวิเคราะห์ทรัพยากรห้องสมุดได้โดยคลิกที่เมนู งานวิเคราะห์
ทรพั ยากรหอ้ งสมดุ

1. กำรสืบค้นรำยกำรบรรณำนุกรม

การสืบค้นรายการบรรณานุกรมใช้ในกรณีท่ีต้องการทราบว่าหนังสือท่ีจะวิเคราะห์และ
ลงรายการมีอยู่ในฐานข้อมูลห้องสมุดหรือไม่ วิธีค้นหามี 2 แบบ ได้แก่ การสืบค้นแบบง่าย (Basic
Search) โดยสืบค้นจากชื่อเร่ือง ผู้แต่ง หัวเรื่อง และ ISBN และการสืบค้นแบบขั้นสูง (Advanced
Search) มีวิธีการเช่นเดียวกับการสืบค้นแบบง่ายแต่สามารถป้อนคาค้น กาหนดเงื่อนไข และเลือก
เขตข้อมลู ได้มากกวา่ 1 เงื่อนไขในเวลาเดียวกัน

คูม่ อื กำรใช้งำนโปรแกรมระบบห้องสมดุ อตั โนมตั ิ สพฐ. เวอร์ช่นั 3 : OBEC Library Automation System Version 3

45

 เลอื ก  คลิก
คน้ หา

 คลิกชอื่ เรอ่ื ง
ดูรายละเอียด

 แสดงรายละเอียด
ขอ้ มลู บรรณานุกรม และ

จดั การบรรณานกุ รม
โดยเลือกคลิกเมนยู ่อย

คมู่ อื กำรใชง้ ำนโปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สพฐ. เวอร์ชั่น 3 : OBEC Library Automation System Version 3


Click to View FlipBook Version