The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

1. วิจัยธุรกิจการบินไทย + PPT

2. ข้อมูลเชิงกลยุทธ์ เอราวัณ กรุ๊ป

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thidarus ST, 2022-05-07 05:17:20

งานวิจัยธุรกิจ

1. วิจัยธุรกิจการบินไทย + PPT

2. ข้อมูลเชิงกลยุทธ์ เอราวัณ กรุ๊ป

Keywords: การบินไทย,เอราวัณ

บทท่ี 1
บทนำ

1.1 ท่ีมำและควำมสำคญั

ปัจจุบันในประเทศไทยการเดินทางทางอากาศไดร้ ับความนิยมกันอย่างแพร่หลายท้ังในกลุ่ม
นักท่องเที่ยว และนักธุรกิจ อนั เนื่องมาจากเหตุผลหลายประการ เช่น ความสะดวกสบาย ความรวดเร็วใน
การเดินทาง การประหยดั เวลาในการเดินทางทาให้ธุรกิจการบินเติบโตข้ึนอย่างต่อเนื่อง มีสายการบิน
จานวนมากเกิดข้ึนใหม่เพ่ือรองรับความตอ้ งการของผูใ้ ช้บริการ โดยในช่วงปี ท่ีผ่านมาหลงั จากสถานการณ์
โควิด (Covid19) ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิและท่าอากาศยานในสังกดั กระทรวงคมนาคม ได้เตรียมความ
พร้อมรองรับประชาชนที่จะเดินทางท้งั ขาเขา้ - ขาออก ในประเทศไทยมากข้ึน โดยสถิติจานวนผูโ้ ดยสาร
สายการบินที่ใช้บริการจะเห็นได้ว่าท่าอากาศยานสุวรรณภูมิมีแนวโน้มที่จะต้อนรับผูโ้ ดยสารมากข้ึน
ในเดือนมกราคม ปี พ.ศ. 2565 มีผูใ้ ช้บริการ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ 8.8 ลา้ นคน เม่ือเปรียบเทียบกบั เดือน
มกราคม ปี พ.ศ. 2564 ท่ีมผี ใู้ ชบ้ ริการเพียง 5 ลา้ นคน โดยประมาณ (การบนิ ไทย, ออนไลน์)

หากพจิ ารณาถงึ แนวโนม้ การเตบิ โตของตลาดธุรกิจสายการบนิ โดยเฉพาะสายการบินนอกประเทศ
มแี นวโนม้ การเดินทางโดยสายการบินที่สูงข้นึ ของผูโ้ ดยสาร จะเห็นไดว้ า่ ธุรกิจสายการบินมศี กั ยภาพในการ
เติบโตจากสถานการณ์โควิด (Covid19) ไดค้ ่อนขา้ งมาก โดยบริษทั การบินไทย จ ากดั (มหาชน) เป็นสาย
การบินแห่งชาติ สังกดั กระทรวงคมนาคมท่ีดาเนินธุรกิจดา้ นการบินพาณิชยท์ ้งั ภายในและระหว่างประเทศ
โดยมีจากองคก์ รการบินไทย เป็นสายการบินแห่งชาติ สังกดั กระทรวงคมนาคมท่ีดาเนินธุรกิจดา้ นการบิน
พาณิชยท์ ้งั ภายในและระหว่างประเทศ ซ่ึงให้ความสาคญั กบั ค่านิยม (Core Value) ของบริษทั ท่ีว่า “AIM”
โดยคา่ นิยมประกอบดว้ ย (รายงานการพฒั นาอยา่ งยง่ั ยนื การบินไทย, 2561)

1. Agility for Growth (A) หมายถึง พนังงานองค์กรมีความยืดหยุ่นคล่องตัวในการทางาน
มุง่ สู่เป้าหมายร่วมกนั

2. Integrity for Trust (I) หมายถึง พนักงานองค์กรปฏิบตั งิ านดว้ ยความโปร่งใส ซื่อตรง สามารถ
อธิบายและตรวจสอบได้ ร่วมมือร่วมใจมคี วามเป็นอนั หน่ึงเดียวกนั

3. Mastery for Professionalism (M) หมายถงึ พนกั งานองคก์ ร คดิ ใหมท่ าใหม่ ตดั สินใจบนพ้ืนฐาน
การวเิ คราะห์ขอ้ มลู แวดลอ้ มที่เพียงพอ

จากค่านิยม (Core Value) ดังกล่าวจดั เป็ นวฒั นธรรมองค์กรท่ีบุคลากรทุกคนยึดถือปฏิบตั ิในการ
ปฏิบตั ิงาน แสดงให้เห็นว่าบริษทั ให้ความสาคญั กับการพฒั นาพนักงานทุกๆดา้ น ด้วยการประเมินการ
ทางานของบคุ ลากรอยา่ งสม่าเสมอ ซ่ึงลกั ษณะน้ีอาจเป็นอิทธิพลให้พนกั งานเกิดความผกู พนั กบั องคก์ รและ
พร้อมที่จะทุ่มเทปฎิบตั ิงานให้ดีทีส่ ุดในอนาคต

ท้งั น้ี ผวู้ จิ ยั จึงเห็นความสาคญั ในการศกึ ษาการเปลีย่ นแปลงดา้ นพฤติกรรมของพนักงานว่าการรับรู้
ค่านิยมองคก์ รน้นั สามารถสนบั สนุนหรือเปล่ียนแปลงรูปแบบการปฏิบตั ิงานให้ดีข้นี ไดห้ รือไม่ มอี ิทธิพลตอ่
ความพงึ พอใจหรือความผูกพนั ในองคก์ รอยา่ งไร เพื่อเป็นประโยชนใ์ นการศกึ ษาการปฏบิ ตั ิงานของบคุ ลากร
ท่มี ีความแตกต่างต่างกนั ในหนา้ ทีแ่ ต่ละระดบั ขององคก์ ร

1.2 วตั ถุประสงค์ของกำรวจิ ัย

1.2.1 เพ่ือศกึ ษาการรบั รู้ Core Value ในองคก์ รของพนกั งานบริษทั การบนิ ไทย
1.2.2 เพื่อศึกษาความสัมพนั ธ์ระหว่างพฤติกรรมทสี่ อดคลอ้ งกบั Core Value มีอิทธิพลอยา่ งไรกบั
ความพึงพอใจและความผกู พนั ของพนกั งานบริษทั การบินไทย

1.3 ตัวแปรที่ใช้ในกำรวิจัย

1. ตวั แปรต้น: การรบั รู้ค่านิยม A, I และ M
1.1 ความพึงพอใจในงาน ประกอบดว้ ย
1.1.1 ดา้ นลกั ษณะงาน
1.1.2 ดา้ นสภาพแวดลอ้ มในการทางาน
1.1.3 ดา้ นความสัมพนั ธ์กบั เพื่อนร่วมงานและผบู้ งั คบั บญั ชา
1.1.4 ดา้ นเงินเดือนและสวสั ดิการ
1.1.5 ดา้ นความมน่ั คงในการทางาน
1.2 ความผกู ผนั องคก์ ร

2. ตัวแปรตำม: พฤตกิ รรมการแสดงออก

1.4 สมมติฐำนกำรวจิ ัย

1.4.1 การรับรู้คา่ นิยม A ส่งผลเชิงบวกต่อ ความพงึ พอใจในงาน (+)
1.4.2 การรบั รู้ค่านิยม I ส่งผลเชิงบวกต่อ ความพึงพอใจในงาน (+)
1.4.3 การรับรู้คา่ นิยม M ส่งผลเชิงบวกตอ่ ความพงึ พอใจในงาน (+)
1.4.4 การรับรู้คา่ นิยม A ส่งผลเชิงบวกตอ่ ความความผกู พนั ตอ่ องคก์ ร (+)
1.4.5 การรับรู้คา่ นิยม I ส่งผลเชิงบวกต่อ ความความผูกพนั ตอ่ องคก์ ร (+)
1.4.6 การรบั รู้คา่ นิยม M ส่งผลเชิงบวกตอ่ ความความผูกพนั ต่อองคก์ ร (+)

1.5 นิยำมศัพท์เฉพำะ

1.5.1 ค่ำนิยมหลกั (Core Value) หมายถงึ กรอบแนวคิด หรือความเช่ือหลกั คณุ ลกั ษณะและบรรทดั
ฐานที่เป็นลกั ษณะเฉพาะขององค์กรน้นั ๆ และส่งผลต่อพฤติกรรม เพื่อเป็ นแนวทางในการประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ
ของพนกั งานในองคก์ ร เป็นรากฐานของของพฤตกิ รรมทยี่ ดึ ถือปฏิบตั ิร่วมกนั จนกลายเป็นวฒั นธรรมองคก์ ร
ประกอบด้วย ค่านิยมหลกั สะทอ้ นและเสริมสร้างวฒั นธรรมท่ีพึงประสงค์ขององค์กร และ ค่านิยมหลกั
สนับสนุนและช้ีนาการตดั สินใจของบุคคลากรทุกคน และช่วยให้องคก์ รบรรลุพนั ธกิจและวิสัยทศั น์ด้วย
วธิ ีการที่เหมาะสมและอยา่ งยงั่ ยนื

1.5.2 ค่ำนิยม Agility for Growth: A หมายถึง พนังงานองค์กรมีความ ยืดหยุ่นคล่องตัว
ในการทางาน มุ่งสู่เป้าหมาย กระตอื รือร้น และเปิ ดรับการเปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเร็ว เรียนรู้สิ่งใหมๆ่ อยูเ่ สมอ
ท้งั จากแหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกบริษทั ฯ รวมถึงพร้อมเรียนรู้ดว้ ยตนเองอยตู่ ลอดเวลา แสวงหาโอกาส
ใหม่ๆในการพฒั นาตนเองและพฒั นาธุรกิจใหเ้ ติบโต เพอื่ สร้างกาไรทด่ี ีให้กบั บริษทั ฯ อยา่ งต่อเน่ือง

1.5.3 ค่ำนิยม Integrity for Trust: I หมายถึง พนักงานองค์กรปฏิบัติงานด้วยความโปร่งใส
ซื่อตรง สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ร่วมมือร่วมใจมคี วามเป็นอนั หน่ึงเดียวกนั เพ่ือสร้างความเชื่อมน่ั
ให้เกิดข้ึนท้งั ภายในองคก์ รและผูม้ ีส่วนไดส้ ่วนเสียในการดาเนินกิจการของการบินไทย และนาการบินไทย
ไปสู่เป้าหมายทต่ี ้งั ไว้

1.5.4 ค่ำนิยม Mastery for Professionalism: M หมายถึง พนักงานองค์กร คิดใหม่ทาใหม่
ตดั สินใจบนพ้ืนฐานการวิเคราะห์ข้อมูลแวดลอ้ มที่เพียงพอ ชัดเจน ถูกต้อง มีทกั ษะหลากหลาย กา้ วทัน
เทคโนโลยี โดยใช้นวตั กรรมให้เกิดประโยชน์สูงสุดและเพ่ิมคุณค่าในการทางาน และยงั รับรู้ เข้าใจใน
บทบาทหน้าท่ีของตยเอง สามารถปฏิบตั ิงานทไี่ ดร้ ับมอบหมายอย่างมอื อาชีพ เพื่อมุ่งสู่การเป็นสายการบนิ
คณุ ภาพสูงในการใหบ้ ริการลกู คา้

1.5.5 ควำมพึงพอใจในงำน (Job Satisfaction) หมายถึง เจตคติในทางบวกของบุคคลท่ีมีต่องาน
หรือกิจกรรมที่เขาทาซ่ึงเป็นผลให้บุคคล เกิดความรู้สึกกระตือรือร้น มีความมุ่งมนั่ ท่ีจะทางาน มีขวญั และ
กาลังใจในการทางาน ส่ิงเหล่าน้ีจะมีผลต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการทางาน ซ่ึงจะส่งผลต่อ
ความสาเร็จและเป็ นไปตามเป้าหมายขององคก์ าร บุญมนั่ ธนาศุภวฒั น์ (2537:158) กล่าวว่า ความพึงพอใจ
ในงานจึงมีผลต่อการปฏิบตั ิงานของบุคลากรในองค์การเป็นอยา่ งมากท่ีจะสร้างสรรค์ความเจริญกา้ วหน้า
และนาความสาเร็จตาม

1. ด้ำนลักษณะงำน หมายถึง ภาระหน้าที่ท่ีได้ปฏิบัติและรับผิดชอบอยู่ ซ่ึงเป็ นงานท่ี
เหมาะสมกบั ความรู้ความสามารถ ตรงกบั ความชานาญหรือประสบการณ์ท่ีมีอยู่ และสามารถใชค้ วามคิด
ริเร่ิมสร้างสรรคใ์ นการปฏบิ ตั งิ าน

2. ด้ำนสภำพแวดล้อมในกำรทำงำน หมายถึง ส่ิงที่อยรู่ อบตวั ผูท้ างานในองคก์ ารเป็นสิ่งท่ี
บ่งช้ีความรู้สึกของพนักงานท่ีมตี ่องานท่ีทาและสมาชิกร่วมงาน โดยสมาชิกทุกคนมีความรู้สึกที่ดีทุ่มเทท้งั
กายใจ ความคดิ และร่วมกนั และช่วยกนั แกไ้ ขปัญหาน้นั ๆ ไดก้ ารทางานจะมีคณุ ภาพเพิม่ ข้ึน

3. ด้ำนควำมสัมพันธ์กับเพ่ือนร่วมงำนและผู้บังคับบัญชำ หมายถึง ความรู้สึกและการ
แสดงออกท่ีมีต่อเพื่อนร่วมงานและผูบ้ งั คบั บญั ชาในท่ีทางานเดียวกนั โดยมีความเก่ียวขอ้ งกนั ในท้ังด้าน
ส่วนตวั หรือหน้าที่การงาน ท่ีทาการให้ความร่วมมือกันเพื่อนาไปสู่ความสาเร็จของงาน มีการให้ความ
ช่วยเหลอื ซ่ึงกนั และกนั การไดร้ ับการยอมรับนบั ถือ รวมถึงการแสดงความยินดีในโอกาสต่างๆ

4. ด้ำนเงินเดือนและสวัสดิกำร หมายถึง เงินท่ีไดร้ ับเป็ นประจาทุกเดือน รวมท้งั เงินค่าจา้ ง
และเงินสวสัดิการที่ไดร้ บั เงินช่วยเหลอื ในรูปแบบตา่ งๆ

5. ด้ำนควำมมั่นคงในกำรทำงำน หมายถึง ความรู้สึกของพนกั งาน บริษทั การบินไทยฯ
ที่มตี ่อลกั ษณะงานในดา้ นความมน่ั คงในงาน ระยะเวลาการจา้ งอายงุ าน

1.5.6 ควำมผกู พันธ์องค์กร หมายถงึ การที่พนกั งานองคก์ รมีความรู้สึกว่าตนเป็นส่วนหน่ึงขององค์
การให้ความร่วมมือกบั องคก์ รในทุกๆ ดา้ นอยา่ งสมคั รใจและเตม็ ใจ ซ่ึงจะนามาสู่ความภกั ดีตอ่ องคก์ ร

1.6 กรอบแนวคดิ งำนวิจยั ส่ งผลต่อ • ความพึงพอใจในงาน
(Job Satisfaction)
พฤติกรรมทีส่ อดคลอ้ งกบั Core Value
ของพนกั งานบริษทั การบินไทย • ความผกู พนั ต่อองคก์ ร

• การรับรู้ A (Agility for Growth) (Employee Engagement Professionalism)
• การรบั รู้ I (Integrity for Trust)
• การรบั รู้ M (Mastery for Professionalism)

1.7 ประโยชน์คำดว่ำทจ่ี ะรับ

1.7.1 เพ่ือเป็ นแนวทางในการปรับปรุง พัฒนา ช่องทางการส่ือสารการรับรู้ค่านิยม AIM
(Core Value) ของพนกั งานบริษทั การบนิ ไทยให้มปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ข้นึ

1.7.2 เพื่อเป็ นแนวทางในการปรับปรุงพฒั นารูปแบบการบริหาร และการดาเนินงานของบริษทั
การบินไทยฯ ให้มีความเหมาะสมสอดคลอ้ งกับระดับความพึงพอใจในแต่ละดา้ น เพ่ือการสร้างความ
พงึ พอใจในการปฏิบตั งิ านและสร้างความผกู พนั ธอ์ งคก์ รให้แกพ่ นกั งานบริษทั การบินไทยฯ

1.7.3 เพ่ือเป็นแนวทางในการพฒั นาระดบั การรับรู้ค่านิยม AIM (Core Value) ว่าควรตอ้ งพฒั นา
ปรับปรุงตรงจุดใด เพื่อก่อให้เกิดความพึงพอใจในงาน และความผูกพนั ธ์องค์กร ท่ีส่งผลต่อการพฒั นา
องคก์ รและรกั ษาองคก์ รให้ดารงอยู่

บรรณำนุกรม

บ ริ ษัท ก า ร บิ น ไ ท ย จ า า กัด ( ม ห า ช น ). (2561). ร า ย ง า น ก า ร พั ฒ น า อ ย่ า ง ยั่ ง ยื น ป ร ะ จ า ปี .
กรุงเทพฯ: ฝ่ายกิจกรรมองคก์ รเพอ่ื สงั คมและส่ิงแวดลอ้ ม บมจ. การบนิ ไทย

บริษทั การบินไทย จาากดั (มหาชน). (2565). ปฏิบตั ิตามมาตรการ VUCA. สืบคน้ จาก
https://www.airportthai.co.th/th/

THAI
AIRWAYS

S

01

หัวข้อง

งานวิจัย

02

NEW

Core V

AIM เป็นค่านิยมหลักข
ององค์กร ใช้เป็นแนวทางให้ชาวการบินไทยทุกคน ทุ
ปฏิบัติตนให้เป็นต้นแบบ ผลักดันให้ทีมงานร่วมมือร่วมใจและปฏิบัติตามอย่าง

A ( Agility for Growth ) มีความ I ( Integrity for T
ยืดหยุ่น คล่องตัวในการทำงาน มุ่งสู่ พนักงานต้องปฏิบั
เป้าหมาย กระตือรือร้นและเปิดรับ โปร่งใส ซื่อตรง ร่ว
การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เป็นอันหนึ่งอันเดีย
แสวงหาโอกาสใหม่ๆ ในการพัฒนา เพื่อสร้างความเชื่อ
ตนเองและธุรกิจ ให้เติบโตเพื่อสร้าง ส่วนเสีย และบ
กำไรให้บริษัทฯ อย่างต่อเนื่อง ษัทฯ

W


Values




ทุกระดับได้ยึดถือปฏิบัติ โดยเริ่มต้นที่ผู้บริหาร เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง โดย
งต่อเนื่องจนกลายเป็นวัฒนธรรมองค์กรของชาวการบินไทยในที่สุด

Trust ) ผู้บริหารและ M ( Mastery for Professionalism )
บัติงานด้วยความ คิดใหม่ ทำใหม่ มีทักษะหลากหลาย
วมมือ ร่วมใจ มีความ ก้าวทันเทคโนโลยี สามารถปฏิบัติ
ยวกันในการทำงาน งานที่ได้รับมอบหมายอย่างมืออาชีพ
อมั่นให้กับผู้มีส่วนได้ เพื่อมุ่งสู่การเป็นสายการบินคุณภาพ
บรรลุเป้าหมายของบริ สูงในการให้บริการลูกค้า

03

ที่มาและความสำ

Core Value เป็นองค์ประกอบสำคัญในการขับเคลื่อนและเป็นจุดเริ่มต้
วัฒนธรรมองค์กร (Cultural Transformation) เพื่อยกระดับไปสู่กระบ
เพิ่มมากขึ้น (High Performance Culture)
การสร้าง Awareness และ Understanding of Core Value ถือเป็น
การเปลี่ยนแปลง ขับเคลื่อน และพัฒนาองค์กร

TG ได้มีการปรับเปลี่ยน Core Value ขององค์กรใหม่ ที่เรียกว่า AIM เพื่
Vision & Missions

บริบทขององค์กร และสถานการณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินธุรกิ
จำเป็นต้องให้ความสำคัญกับ New Core Value

สำคัญงานวิจัย

ต้นสำหรับการเปลี่ยนแปลงของ
บวนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ
นเงื่อนไขจำเป็นอันดับแรกๆ ใน
พื่อส่งเสริมให้บรรลุ New
กิจของ TG เปลี่ยนแปลงไป จึง

04

Researh Question

05

วัตถุประสงค์ของงาน

เพื่อศึกษาการรับรู้ Core Value ในองค์กรข
บริษัทการบินไทย
เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมที่
Core Value มีอิทธิพลอย่างไรกับความพึงพ
ผูกพันของพนักงานบริษัทการบินไทย

นวิจัย

ของพนักงาน
ที่สอดคล้องกับ
พอใจและความ

06

ทบทวนวรรณกรรม



07

ทบทวนวรรณกรรม

Title

วัฒนธรรมองค์การที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของ วัฒนธรรมองค์การของสายการ
องค์การ: บริบทการให้บริการของ สายการบินเซา งาน ผลการปฏิบัติงาน และควา
ท์เวสต์

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของ ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจใ
พนักงานและส่งผลให้เกิดความผูกพันในองค์กร กรณี ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน
ศึกษา พนักงานภาคพื้นดิน
สายการบินไทยไลอ้อนแอร์

ปัจจัยที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการทางานของ ปัจจัยที่ส่งผลต่อความพึงพอใจใ
พนักงานการไฟฟ้านครหลวง จังหวัดกรุงเทพมหานคร ปัจจัยด้านลักษณะของงาน ปัจจั
บัญชา ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อ
ปัจจัยทางด้านประชากรศาสตร์
นครหลวง จังหวัด กรุงเทพมหา
กัน มีผลต่อความพึงพอใจในการ

ปัจจัยที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการทำงานของ ปัจจัยที่มีอิทธิพลความพึงพอใจ
พนักงานไปรษณีย์ สำนักงานไปรษณีย์เขต 6 สวัสดิการ และปัจจัยเรื่องความ

Findings

รบินเซาท์เวสต์ให้ความสำคัญแก่พนักงานเป็นอันดับแรก พนักงานมีความพึงพอใจใน
ามผูกพันต่อองค์การในระดับสูง ทำให้อัตราการลาออกของพนักงานอยู่ในระดับต่ำ

ในงานของพนักงานคือ ปัจจัยความต้องการส่วนบุคคล ซึ่งมีผลในเชิงบวก โดยมีผลต่อ
น และความต้องการประสบความสำเร็จในชีวิต

ในการทางานของพนักงานมากที่สุด คือ ปัจจัยด้านเงินเดือนและสวัสดิการ รองลงมา คือ
จัยด้านความมั่นคงในการทางาน ปัจจัยด้านความสัมพันธ์กับ เพื่อนร่วมงาน และผู้บังคับ
อมในการทางาน และปัจจัยด้าน ความก้าวหน้าในการทางาน ตามลาดับ ในส่วนของ
ร์ พบว่า เพศที่ แตกต่างกัน ไม่มีผลต่อความพึงพอใจในการทางานของพนักงานการไฟฟ้า
านคร แต่อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา รายได้ และระยะเวลาในการทางาน ที่แตกต่าง
รทำงานของพนักงานการไฟฟ้านครหลวง จังหวัดกรุงเทพมหานคร

จในงานของพนักงานคือ ปัจจัยความต้องการส่วนบุคคล ปัจจัยเรื่องเงินเดือนและ 08
มมั่นคงในงาน

Research Fram

การรับรู้ A
(Agility for Growth)
การรับรู้ I
(Integrity for Trust)
การรับรู้ M
(Mastery for Professionalism)

รชา มานนท์. ระดับการรับรู้ค่านิยมองค์กรของพนักงาน
บริษัท ท่าอากาศยานไทย จากัด (มหาชน). 2557

me work

ความพึงพอใจในงาน
(Job Satisfaction)
ความผูกพันต่อองค์กร
(Employee Engagement)




Greenberg and Baron,2003,526

9

Researh Hypo

othesis

10

Stratum No. of
% of
Proportion เก็บ
Element
Element
ate Sample ตัวอย่าง

in
s
Size
stratum Stratum

DD: สำนักงานประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
8 0.08% 0.30 1
40 0.38% 1.48 2
DD/D1: ฝ่ายความปลอดภัยและรับรอง
คุณภาพองค์กร 68 0.65% 2.52 3
53 0.50% 1.97 2
DD/D2: ฝ่ายกลยุทธ์และพัฒนาองค์กร
DD/D3: ฝ่ายกำกับการปฎิบัติตามกฎ 21 0.20% 0.78 1
เกณฑ์องค์กร 138 1.31% 5.12 5
DD/D4: สำนักงานการตรวจสอบภายใน 16 0.15% 0.59 1
D5: ฝ่ายดิจิทัล 25
0 2.38
% 9.2
7 9

D6: ฝ่ายขับเคลื่อนองค์กร 317 3.01% 11.76 12
DB: สายทรัพยากรบุคคล 392 3.73% 14.54 15
DE: สายการเงินและการบัญชี 4040 38.42% 149.83 150
DN: สายการพาณิชย์ 1754 16.68% 65.05 65
DO: สายปฏิบัติการ 9 0.09% 0.33 1
DT: สายช่าง 1705 16.21% 63.23 63
DV: หน่วยธุรกิจการบิน 1151 10.95% 42.69 43
DV/DG : ฝ่ายบริการภาคพื้น 554 5.27% 20.55 21
DV/DC : ฝ่ายครัวการบิน
DV/DX : ฝ่ายบริการคลังสินค้าและ 390.00 394
ไปรษณียภัณฑ์




รวม 10,516 100.00%

Target

พนักงานการบินไทยในแต่ละ Department

Sampling

Taro Yamane Table พนักงานการบินไทย 10,516 คน
ใช้กลุ่มตัวอย่าง 390 คน เพื่อไม่ให้
ความคลาดเคลื่อนเกิน 5%
เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบ Non-Probability และใช้วิธี
แบบ Quota และใช้การสุ่มแบบ Simple Random ใน
แต่ละ Department

11

Methodology

QUANTITATIVE RESEARCH

Causal / Cross sectional

การรับรู้ core value ของพนักงานส่งผลต่อความพึ
โดยใช้แบบสอบถาม แบ่งออกเป็น 6 ส่วน ดังนี้:
1. ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบเเบบสอบถาม
2. ช่องทางการรับรู้ และช่องทางการสื่อสารค่านิยม
3. การรับรู้ค่านิยมหลักของบริษัทการบินไทย
4. พฤติกรรมของพนักงานที่สอดคล้องกับค่านิยมหลั
5. ความพึงพอใจของพนักงาน
6. ความผูกพันของพนักงาน

H

พึงพอใจและความผูกพัน

มหลักของบริษัทฯ

ลักของบริษัท

TG สื่อสารให้พนักงานตอบแบบสอบถาม 12
ผ่านช่องทาง ดังนี้

Line

E-mail

Intranet



Result

23

จำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม

ส่วนงาน/ฝ่ายงาน จำนวน

DD: สำนักงานประธานเจ้าหน้าที่บริหาร 1
DD/D1: ฝ่ายความปลอดภัยและรับรองคุณภาพองค์กร 11
DD/D2: ฝ่ายกลยุทธ์และพัฒนาองค์กร 15
DD/D3: ฝ่ายกำกับการปฎิบัติตามกฎเกณฑ์องค์กร 3
DD/D4: สำนักงานการตรวจสอบภายใน 2
4
D5: ฝ่ายดิจิทัล 2
D6: ฝ่ายขับเคลื่อนองค์กร 68
DB: สายทรัพยากรบุคคล 1
5
DE: สายการเงินและการบัญชี 21
DN: สายการพาณิชย์ 567
DO: สายปฏิบัติการ 47
DT: สายช่าง 8
DV: หน่วยธุรกิจการบิน 20
36
DV/DC : ฝ่ายครัวการบิน 26
DV/DG : ฝ่ายบริการภาคพื้น
DV/DX : ฝ่ายบริการคลังสินค้าและไปรษณียภัณฑ์




รวม 846

ม 24

ร้อยละ

0.12
1.30
1.77
0.35
0.24
0.47
0.24
8.04

1.77
2.48
67.02
5.56
0.95
2.36
4.26
3.07

100.00

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของ

หญิง เพศ
56.7%
ไม่ระบุ
0.7%

ชาย
42.6%

การศึกษา

< ปริญญาตรี
2.5%

ปริญญาโท 5
28.6%

ปริญญาตรี
68.2%

องผู้ตอบแบบสอบถาม

อายุ 26 – 40 ปี
24.9%
55 ปีขึ้นไป
9.2%

41 – 55 ปี
65.1%

รายได้

≤ 15,000 บาท
7%

50,001– 100,000 บาท
22.2%

15,001 – 50,000 บาท 25
65.1%

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของ

ตำแหน่งปัจ

พนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน
43.3%

นักบิน Lev
6.7%

องผู้ตอบแบบสอบถาม

จจุบัน

Level 1 – 7 หรือเทียบเท่า
35.9%

vel 8 – 10 Level 8 – 9 (Specialist)
7.5% 6.4%

26

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของ

ระยะเวลาในการปฏิบัติง

20 ปีขึ้นไป
55.2%

องผู้ตอบแบบสอบถาม

งานกับบริษัทฯ (อายุงาน)

ต่ำกว่า 10 ปี
11.2%

10 – 20 ปี
33.6%

27

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของ

สถานที่ป

อื่นๆ
5.7%

สุวรรณภูมิ
77%

องผู้ตอบแบบสอบถาม

ปฏิบัติงาน

สำนักงานใหญ่
16.4%

28

ส่วนที่ 2 ช่องทางการรับรู้แ
ค่านิยมห

ช่องทางการรับข้อมูลและข่าวสา

การประชุม
8.6%

ผู้บริหาร
9.8%

เพื่อนร่วมงาน
9.8%

Intranet ของบริษัทฯ (THAISphere)
10.7%

ป้ายประกาศ/โปสเ
11.9%

และช่องทางการการสื่อสาร

หลักของบริษัทฯ

าร ค่านิยมหลักของบริษัทฯ (AIM)

เอกสารเผยแพร่ในบริษัทฯ
16.9%

Facebook ของบริษัทฯ (TG Family)
16.4%

เตอร์ หัวหน้างาน
13.7%

29

ส่วนที่ 2 ช่องทางการรับรู้แ
ค่านิยมห

ช่องทางการสื่อสารที่จะทำให้บุคลากรในองค์ก

อื่นๆ
7.9%

ผู้บริหาร
5.3%

เพื่อนร่วมงาน
5.4%

ป้ายประกาศ/โปสเตอร์
8.5%

Intranet ของบริษัทฯ (THAISphere) เอกสา
13.1%

และช่องทางการการสื่อสาร

หลักของบริษัทฯ

กรรับทราบถึงค่านิยมหลักของบริษัท (AIM)

Facebook ของบริษัทฯ (TG Family)
23.4%

หัวหน้างาน 30
16.6%

ารเผยแพร่ในบริษัทฯ
14.8%

ส่วนที่ 2 ช่องทางการรับรู้แ
ค่านิยมห

ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

เพิ่มช่องทางการเข้าถึงพนักงานมากขึ้น เช่น Line Official & 44%
Facebook & E-mail & TG Application

อื่นๆ หรือ ไม่มีความเห็น 22%
14%
ทำข้อความให้สั้น น่าสนใจ กระชับ เข้าใจง่าย โดยอาจใช้ภาษาไทย 7%
หรือท่าทางประกอบ 7%
6%
ผู้บริหาร หัวหน้างาน ต้องมีส่วนร่วมและปฏิบัติจริง

ช่องทางที่ทำอยู่ตอนนี้เหมาะสมแล้ว

จัดกิจกรรมต่างๆ

และช่องทางการการสื่อสาร

หลักของบริษัทฯ



22%





7% 14% 44%


31
7%

6%

ส่วนที่ 3 การรับรู้ค่านิยม

การรับรู้ค่านิยมหลักของการบินไทย จำนวน

ท่านไม่ทราบค่านิยมหลักของการบินไทย 93
379
ท่านทราบว่าค่านิยมหลักของการบินไทย คือ AIM 121
74
ท่านสามารถจดจำค่านิยมหลักของการบินไทยได้ (เช่น ประกอบด้วยอะไร
บ้าง) 179

ท่านสามารถจดจำ และสามารถเล่า/อธิบายให้ผู้อื่นเข้าใจค่านิยมหลักของ
การบินไทยได้ ด้วยคำพูดของท่านเอง

ท่านสามารถจดจำ และสามารถเล่า/อธิบายให้ผู้อื่นเข้าใจค่านิยมหลักของ
การบินไทยได้ ด้วยคำพูดของท่านเอง รวมถึงท่านได้นำค่านิยมหลักของ
การบินไทยไปใช้ในการทำงานของท่าน

รวม 846

มหลักของการบินไทย

%

14.30%
10.99
44.80 21.04%

14.30 44.80%
8.75


8.75% 10.99% 32
21.04

100


Click to View FlipBook Version