The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมโครงงาน-5-บทพร้อมส่งจริงๆ(1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2022-07-08 02:36:36

รวมโครงงาน-5-บทพร้อมส่งจริงๆ(1)

รวมโครงงาน-5-บทพร้อมส่งจริงๆ(1)

1

บทที่ 1

1. ความเปน็ มาและความสำคญั
การประคบร้อนและประคบเยน็ เป็นศาสตรท์ างเลอื กที่ไดร้ ับการยอมรับอย่างเผยแพร่ในการนำมาใช้ดูแล

และบำบัดทางการพยาบาล โดยการประคบเยน็ นำมาใช้เพือ่ ลดไข้ ลดปวด ลดบวม และห้ามเลอื ด ซึ่งอุปกรณ์ท่ีใช้
สำหรับการประคบร้อน - เย็นที่นิยมใช้โดยทั่วไปคือ แผ่นเจลสำเร็จรูป ซึ่งมีข้อดี คือ สามารถนำมาใช้ได้ทั้งการ
ประคบร้อนและเย็น แต่มีข้อจำกัดเรื่องราคาสูง และมีสารประกอบในกลุ่มเอทิลีน ไกลคอล (Ethylene Glycol)
หรือโพรไพลีน ไกลคอล (Propylene Glycol) ทก่ี อ่ ให้เกิดอันตรายตอ่ รา่ งกายอย่างรุนแรงได้ หากรบั ประทานเข้า
ไปจะเกิดอาการเชน่ เวียนศีรษะ ปวดศีรษะ หัวใจเต้นเรว็ ผดิ ปกติ ความดันสูง และอาจเกิดภาวะไตวายไดเ้ ปน็ ต้น
(นริชชญา หาดแก้ว และปราณี ธีรโสภณ, 2558) ปัจจุบันการประคบเย็นมีความสำคัญในการบรรเทาความ
เจบ็ ปวด เพ่ิมความสุขสบายใหก้ ับนกั กีฬา ท้งั ยังมผี ลต่อการลดการอักเสบ ออ่ นล้าของกลา้ มเนื้อและผวิ หนังอกี ดว้ ย
ในปัจจุบัน ผลิตภัณฑ์ทีใ่ ช้ในการประคบเย็นที่มจี ำหน่ายในท้องตลาดมีราคาค่อนข้างสงู และไม่เพียงพอต่อการใช้
งาน (ฐนติ า ทวีธรรมเจรญิ และสมุ าลี แสงมณี, 2549)

โรงเรียนเทศบาลตำบลบางเตย เป็นโรงเรียนขนาดเล็ก ซึ่งนักเรียนส่วนใหญ่เป็นนักเรียนระดับอนุบาล
ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ซึ่งเป็นช่วงวัยที่มีความซุกซน ชอบวิ่งเล่น จึงทำให้เกิดอุบัติเหตุที่ไม่สามารถ
หลีกเลี่ยงได้ เช่น การพลัดตก หกล้ม วิ่งกระแทกกันจนเกิดอาการฟกช้ำ หรือเลือดกำเดาไหล โดยการปฐม
พยาบาลเบอื้ งตน้ จะใช้การประคบเย็น ซง่ึ ทางหอ้ งพยาบาลมีจำนวนเจลประคบเยน็ จำนวนจำกัด เนอ่ื งจากเจลประ
คบเย็นตามท้องตลาดมีราคาค่อนขา้ งสูงทำให้มีจำนวนไม่เพยี งพอกับความตอ้ งการ อีกทั้งทางโรงเรียนยังมนี างรำ
ประจำโรงเรียนที่มีการฝกึ ซ้อมเพอื่ เตรยี มความพรอ้ มอย่างตอ่ เน่ือง

ดังนั้นทางกลุม่ จงึ มีแนวคดิ ที่จะทดลองการทำแผ่นเจล(Aloe vara)ปฐมพยาบาลเบือ้ งตน้ โดยการนำว่าน
หางจระเข้ น้ำ และสารก่อเจล ซึ่งเป็นสารก่อให้เกิดการแข็งตัว เพื่อค้นหาแผ่นเจล (Aloe vara)ปฐมพยายบาล
เบื้องต้นที่มีประสิทธิภาพในการประคบเย็น อีกทั้งยังมีต้นทุนที่ประหยัดมากกว่าการซื้อในท้องตลาด และเป็น
ต้นแบบผลิตภัณฑเ์ พ่อื ใชเ้ จลประคบเยน็ ในการเกดิ อุบตั ิเหตุตา่ งๆ ในโรงเรียนไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

2. วตั ถุประสงค์
1. เพ่ือศกึ ษาคุณสมบตั ขิ องแผน่ เจล(Aloe vara)ปฐมพยาบาลเบ้อื งต้น
2. เพ่อื ศึกษาประสทิ ธิภาพการลดอณุ หภูมขิ องแผน่ เจล(Aloe vara)ปฐมพยาบาลเบอื้ งต้น
3. เพอื่ ศึกษาความพึงพอใจของนักเรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 – 3

3. สมมุติฐาน
วา่ นหานจระเขม้ ีชนิดเยน็ และจับตวั กันเปน็ วุ้น ดังน้ันถ้านำมาผลติ เป็นเจลประคบเย็นก็น่าจะมีคุณสมบัติ

คล้ายเจลประคบเย็นตามท้องตลาด

2

4. ตวั แปรท่ศี ึกษา
ศกึ ษาปริมาณสว่ นผสมของการลดอุณหภมู ิ
ตวั แปรตน้ : อตั ราส่วนของวา่ นหางจระเข้ สารก่อตัวเจล และน้ำ
ตัวแปรตาม : ลกั ษณะของเจลและประสทิ ธิภาพของเจลประคบเยน็
ตวั แปรควบคุม : การควบคุมระบบวิธกี ารทดสอบประสิทธิภาพของเจลประคบเย็น

5. ประโยชน์ทไี่ ดร้ ับ
1. ไดศ้ กึ ษาคุณบัติของแผน่ เจล (Aloe vara) ปฐมพยาบาลเบ้ืองต้น
2. ไดศ้ กึ ษาประสิทธิภาพการลดอณุ หภมู ิของแผ่นเจล (Aloe vara) ปฐมพยาบาลเบอ้ื งต้น
3. ได้ศกึ ษาความพงึ พอใจของนกั เรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 – 3

6. นยิ ามศพั ท์
การควบคมุ ระบบวธิ ีการทดลองประสทิ ธิภาพของเจลประคบเยน็
ในการทดลองตอ้ งควบคุมอัตราส่วนผสมของว่านห่างจระเข้ สารกอ่ เจลและน้ำ ใหต้ รงตามท่ีกำหนดไว้ไม่

มากหรือน้อยเกินไป และในส่วนของการจับเวลา ในการหาเนอื้ เจลทด่ี ที ี่สดุ ตอ้ งเก็บขอ้ มูลอุณหภูมิของเจล ทกุ ๆ 5
นาที เพื่อให้ผลออกมาอย่างเที่ยงตรง และคลาดเคลื่อนน้อยที่สุด จึงจะได้เนื้อเจลในการทำแผ่นประคบเย็นที่มี
ประสทิ ธิภาพมากทีส่ ุด

เจลประคบเยน็
การประคบเย็นหนึ่งวิธีแสนง่ายที่บรรเทาอาการบาดเจ็บได้ ปกติแล้วต้องประคบเย็นภายในไม่เกิน 48
ชว่ั โมงหลงั บาดเจ็บ ส่วนถา้ ใครปวดเร้อื รงั ตอ้ งเปล่ยี นไปประคบร้อนแทน นอกจากน้ำแขง็ แลว้ ยงั มีเจลประคบเย็นที่
จะช่วยลดปวด รวมถึงลดการอักเสบ ทำให้หายเร็วขึ้น แต่การประคบเย็นก็ไม่ใชแ่ ค่การเอาถงุ น้ำแข็งมาแปะท้งิ ไว้
ตรงจดุ ที่คุณบาดเจบ็ ถ้าไมอ่ ยากอาการหนกั กว่าเดมิ ต้องมาดกู นั ว่าจะประคบเย็นยงั ไงอาการบาดเจ็บถงึ จะหายเร็ว
และเห็นผลทส่ี ุด
เจลประคบเย็นที่ใช้สำหรับนักกีฬา ใช้สำหรับลดอาการบวม หรือ ลดอาการช้ำได้ทุกแห่ง อย่างการเลน่
กฬี าเกือบทุกชนดิ จะตอ้ งมกี ารได้รับการกระแทก หรือ มีอาการกล้ามเน้ือทอ่ี ักเสบ จำเป็นตอ้ งใชเ้ จลประคบเย็นใน
การช่วย ลดอาการบาดเจ็บเหล่านั้น ห้ามให้ประคบร้อนเด็ดขาด เพราะการประคบร้อนยิ่งทำให้อาการบวมเพม่ิ
มากยง่ิ ขน้ึ

3

สารกอ่ เจล (Xanthan Gum)
เป็นสารให้ความข้นความหนืด สร้างความคงตัว ใช้ทดแทนไขมันในอาหารแคลอรี่ต่ำ ใช้เป็นสารก่อโฟม
และรักษาสภาพอาหารจากการแชแ่ ข็ง xanthan gum ถูกจดั เป็นวัตถุเจอื ปนอาหารประเภทหนึ่ง
Xanthan Gum เป็นสารไฮโดรคอลลอยด์ (Hydrocolloid) ชนิดหนึ่ง มีลักษณะเป็นผงสีขาวถึงสีแทน
ละลายนำ้ ได้ดี ใหค้ วามหนืดสูงแม้จะมีความเข้มข้นต่ำ โดยมคี วามหนืดท่ีตำ่ เม่อื มีแรงกระทำ และมีความคงตัวต่อ
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ค่า pH และความเข้มข้นของเกลือ ด้วยคุณสมบัติพิเศษดังกล่าว จึงสามารถนำไป
ประยุกตใ์ ช้ได้ในอาหารหลากหลายชนดิ เพอ่ื ใหไ้ ดค้ ณุ สมบัตติ ามตอ้ งการ

4

บทท่ี 2
เอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกยี่ วขอ้ ง
โครงงานศึกษาในครัง้ นีไ้ ด้ใช้แนวคดิ ทฤษฎแี ละผลงานวจิ ัยที่เก่ยี วข้อง ดงั น้ี
1. เจลประคบเยน็
2. ว่านหางจระเข้
3. สารก่อเจล Xanthan Gum (แซนแทนกมั )
4. การหาประสิทธภิ าพการลดอุณหภมู ิ
5. แบบประเมนิ ความพึงพอใจ
6. การหาประสิทธภิ าพการลดอุณหภูมิ
7. เอกสารทเ่ี กีย่ วขอ้ ง

1. เจลประคบเย็น

ภาพท่ี 1 เจลประคบเย็น

หลายๆ คนคงจะทราบกันดีอยู่แล้วว่าในขณะที่กำลังดำเนินกิจวัตรประจำวัน หรือออกกำลังกาย
เล่นกีฬา แล้วได้รบั การบาดเจ็บ ฟกช้ำ บวม ข้อเท้าแพลง หรือมีบาดแผลฉกี ขาดมีเลือดออก เจลประคบเย็นหรอื
เจลประคบร้อนจะมีประโยชน์ในการบรรเทาอาการปวดบวม หรืออักเสบ แต่เมื่อถึงเวลาที่ต้องใช้จริง ๆ หลายๆ
คนก็ยงั สับสนว่าจะเลอื กใช้เจลประคบเย็นหรอื เจลประคบรอ้ น ท่ีจะทำให้การบรรเทาอาการไดป้ ระสทิ ธภิ าพเตม็ ท่ี

การประคบเย็น เม่อื ตอ้ งการบรรเทาอาการปวด อาการอักเสบในระยะเฉียบพลัน ในช่วง 24 - 48 ช่ัวโมง
แรกหลังได้รับบาดเจ็บ ลดปวดแสบร้อน ลดบวม เช่น ปวดศีรษะหรือมีไข้สูง ปวดเมื่อยตามร่างกาย ปวดฟัน
แผลน้ำร้อนหรอื ไฟลวกทีไ่ มร่ นุ แรง ขอ้ เคลด็ บาดเจ็บหลงั การเล่นกีฬา แมลงสตั ว์กดั ตอ่ ย เลือดกำเดาไหล มีดบาด
แผลหลังผ่าตัด หลงั ถอนฟัน ถกู แดดเผา ตาบวม อาการกอ่ นรูมาตซิ ึม ก่อนเป็นไมเกรน และยังใชเ้ พื่อทำให้สดช่ืน
ผอ่ นคลายความเครยี ด

5

วธิ กี ารใชเ้ จลประคบเย็น
นำถุงเจลสำหรับประคบเย็นที่แช่ในตู้เย็นหรือช่องแช่แข็ง กดประคบบริเวณที่บาดเจ็บ ครั้งละ 15 - 20
นาที ทำซ้ำทุก ๆ 2 ชั่วโมง ใน 24 ชั่วโมงแรก หรือทำซ้ำเม่ือผวิ หนังกลับสู่อุณหภูมปิ กติ ในวันที่ 2 ควรให้บริเวณ
บาดเจ็บอยู่นิ่งๆ และยกสูงกว่าระดับหัวใจ ไม่ควรนวด คลึง บริเวณที่บาดเจ็บ การประคบเย็น ต้องระมัดระวัง
อย่าให้นำ้ แขง็ กระทบผวิ หนังโดยตรง ควรสวมปลอกผา้ ที่แนบมากับอุปกรณ์ หรืออาจใช้ผา้ ขนหนู พนั หุ้ม
2. ว่านหางจระเข้

ภาพที่ 2 วา่ นหางจระเข้
เป็นต้นพืชที่มีเนื้ออิ่มอวบ จัดอยู่ในตระกูลลิเลียม (Lilium) แหล่งกำเนิดดั้งเดิมอยู่ในคาบสมุทรอาหรับ
สายพันธุข์ องวา่ นหางจระเข้มมี ากกวา่ 300 สายพันธุ์ ซง่ึ มีท้งั พันธท์ุ ่ีมีขนาดใหญ่มากจนไปถึงพนั ธุ์ท่ีมีขนาดเล็กกว่า
10 เซนตเิ มตร ลกั ษณะพิเศษของว่านหางจระเขก้ ็คือ มใี บแหลมคลา้ ยกับเข็ม เน้อื หนา และเนอื้ ในมนี ำ้ เมอื กเหนียว
วา่ นหางจระเข้ผลิดอกในช่วงฤดหู นาว ดอกจะมสี แี ตกตา่ งกนั เชน่ เหลือง ขาว และแดง เปน็ ต้น
คำว่า "อะโล" (Aloe) เป็นภาษากรีกโบราณ หมายถึงว่านหางจระเข้ ซึ่งแผลงมาจากคำว่า "Allal"
มีความหมายว่า ฝาดหรือขมในภาษายิว ฉะนั้นเมื่อผูค้ นได้ยินช่ือนี้ ก็จะทำให้นึกถึงว่านหางจระเข้ ว่านหางจระเข้
เดิมเป็นพืชที่ขึ้นในเขตร้อนต่อมาได้ถูกนำไปแพร่พันธุ์ในยุโรปและเอเชีย โดยปลูกเพื่อใช้ในการเกษตรและ
การแพทย์ รวมถงึ สำหรับการตกแตง่ และปลูกเปน็ ตน้ ไมก้ ระถาง (จารวุ รรณ ศริ เิ ทพทว, 2556)

6

ประโยชนข์ องวา่ นหางจระเข้
นอกจากคนไทยจะรูจ้ ักสรรพคณุ ของว่านหางจระเขเ้ ป็นอย่างดี หลายๆ ประเทศก็รู้จกั นำว่านหางจระเข้
มาใชใ้ นการรกั ษาโรคต่าง ๆ มานานหลายศตวรรษ อยา่ งประเทศจนี ก็มีรายงานการใชว้ ่านหางจระเข้ในการทำเป็น
ยาเช่นกนั
สรรพคุณของวนุ้ วา่ นหางจระเข้ เปน็ ยาฆ่าเช้ือ สมานแผล หา้ มเลือด ในขณะเดยี วกันกเ็ ป็นตัวกระต้นุ เซลล์
เนอ้ื เยื่อให้เจรญิ เติบโต ทำให้แผลหายเรว็ ขน้ึ ประเทศสหรัฐอเมรกิ า รสั เซีย ญี่ปนุ่ ออสเตรยี ได้ทดลองพบว่า ว่าน
หางจระเขส้ ามารถนำมาใช้รักษาแผลธรรมดา แผลไฟไหม้ น้ำร้อนลวก แผลท่ีเกิดจากการฉายรงั สี ลดอาการอักเสบ
ฆ่าเชื้อโรค ป้องกันผิวไหม้เพราะแดด บำรุงผิวหน้า กำจัดฝ้า ยาระบาย แก้ไอ เจ็บคอ รักษามะเร็ง แก้พิษ
แมงกะพรุน ช่วยประสานกระดูก รักษาโรคตับและรักษาสมองผิดปกติ ด้วยสรรพคุณที่มากมายนี้เอง “ว่านหาง
จระเข้” จึงถูกขนานนามวา่ “สมนุ ไพรมหศั จรรยจ์ ากธรรมชาติ”
สารโพลียโู รไนดแ์ ละโพลีแซคคาไรด์ สารสำคัญท่ีชว่ ยรกั ษาบาดแผลให้หายเรว็ และยงั ชว่ ยป้องกันไม่ให้เชื้อ
โรคเข้าสู่ร่างกายทางบาดแผล ต้องใช้กระบวนการผลิตที่ดี (GMP) เท่าน้ัน ถึงจะคงตัวยาเหล่านี้ไว้ได้ ได้
ทำการศึกษากับผปู้ ่วย บาดแผลไฟไหมน้ ้ำรอ้ นลวกจำนวน 13 ราย ที่มีบาดแผลไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 2 เมือ่ ไดท้ าว่าน
หางจระเข้และตรวจสอบด้วยกล้องจุลทรรศน์ พบว่าแผลหายเร็วกวา่ การทายาชนิดอื่น นอกจากนี้ยังมีส่วนทำให้
แผลสะอาด และกระตนุ้ เนอื้ เยื่อที่เสียให้เจริญเตบิ โตขึ้นใหม่ไดเ้ รว็ ขึ้น (สำนักวจิ ัยเศรษฐกิจการเกษตร, 2549)
บาดแผลที่เกิดจากไฟไหม้ น้ำร้อนลวก แบ่งได้เป็น 4 ระดับ ว่านหางจระเข้จะเป็นบาดแผลไหม้ไม่เกิน
ระดับท่ี 2
ระดบั ท่ี 1 ผิวหนังไมแ่ ตก
ระดบั ท่ี 2 มตี มุ่ พองและหนงั แตก
ระดับที่ 3 ผิวหนังทุกช้นั ถูกทำลายและเปน็ แผลเปดิ
ระดับท่ี 4 ผวิ หนงั มีรอยไหม้ดำ
ว่านหางจระเข้จงึ เป็นสมนุ ไพร มหศั จรรยท์ ชี่ ว่ ยรกั ษาบาดแผลไฟไหม้ น้ำรอ้ นลวก แผลทเ่ี กิดจากการฉาย
รังสีไดด้ ี นอกจากนี้ยังสามารถใชใ้ นลกั ษณะ ของเครอ่ื งสำอางไดด้ ้วยคอื ปอ้ งกันผวิ ไหมเ้ พราะแดดและบำรงุ ผิว ดว้ ย
วิวัฒนาการทางเทคโนโลยี ทำให้ควบคุมคณุ ภาพผลิตในรูปแบบของเจล มีความเข้มข้นถึง 87.40% เนื้อเจลคงตัว
นานและปราศจากการปนเป้อื นจลุ นิ ทรีย์ จงึ เหมาะเป็นยาทีค่ วรมไี วป้ ระจำบา้ น
สรรพคุณวา่ นหางจระเข้

วา่ นหางจระเข้น้ัน จดั เปน็ พชื ทม่ี สี รรพคุณต่าง ๆ มากมาย สามารถใช้บรรเทาโรคทัง้ ภายนอกและ
ภายในรา่ งกาย อีกทั้งยังใชบ้ ำรงุ ผิวพรรณได้อกี ด้วย ดงั นี้

7

ประโยชน์ภายนอก
1. รักษาแผลไฟไหม้และน้ำร้อนลวก โดยปอกเปลือกนอก นำวุ้นสดภายในใบไปล้างยางออกให้

สะอาด แล้วนำไปประคบแผลตลอด 2 วันแรก จะช่วยบรรเทาอาการปวดแสบปวดร้อน สมานแผลให้เร็วขึ้น
และไม่ทง้ิ ร่องรอยแผลเป็นอีกด้วย

2. ปอ้ งกนั และบรรเทารอยไหม้จากการออกแดด นำใบสด ๆ ของว่านหางจระเข้ผสมกับโลช่ันทา
ลงบนผิวหนงั ก่อนออกแดด จะชว่ ยปอ้ งกันแสงแดดได้ แตถ่ า้ หากเกิดรอยไหม้ขน้ึ บนผวิ หนงั หลังออกแดดแล้ว ให้ใช้
วุ้นที่ล้างสะอาดมาทาเพื่อลดอาการอักเสบ ถ้าจะให้ดีลองผสมกับน้ำมันพืช หรือน้ำมันมะกอก เพื่อลดอาการผิว
แห้งตงึ จนเกินไป

3. บรรเทารอยไหม้จากการฉายรงั สีของผู้ป่วย โดยใชว้ ิธกี ารนำวุน้ ว่านหางจระเข้ที่ล้างสะอาดมา
ประคบที่รอยไหมจ้ ากการทำคโี ม จะช่วยบรรเทาอาการปวดแสบปวดรอ้ น และทำให้ฟ้ืนตัวเรว็ ขึน้

4. สมานแผลจากของมีคมและแผลถลอก หากได้รับบาดเจ็บจากของมีคม ใช้วุ้นจากว่านหาง
จระเข้ที่ยังมีเมอื กอยู่ แปะลงไปบนแผล จะช่วยเพ่ิมประสทิ ธิภาพในการสมานแผลใหเ้ รว็ ขนึ้ ได้

5. รักษาฝีและโรคริดสีดวงทวาร ทำความสะอาดบรเิ วณที่เกิดโรคให้แห้งแลว้ นำวุ้นไปแปะลงบน
แผล หากเป็นที่ทวารหนักให้ปอกวุ้นให้เป็นแท่งแล้วล้างให้สะอาด นำไปแช่เย็นให้แข็ง เพื่อสอดเหน็บใน
ช่องทวารหนกั วนั ละ 1-2 ครัง้ อาการริดสีดวงจะดขี ้นึ

6. รักษาตาปลาและฮ่องกงฟุต นำเนื้อวุ้นที่ล้างทำความสะอาดแล้ว ไปแปะลงบริเวณที่เกิดโรค
หมั่นเปลี่ยนเนื้อวุ้นบ่อย ๆ โดยหากเป็นตาปลาส่วนที่แห้งลงจะเกิดรูบุ๋มขึ้น ให้ใช้ว่านหางจระเข้ประคบต่อไป
จนกว่ารอยบุ๋มจะสมานและเล็กลง ส่วนฮ่องกงฟุตให้ประคบด้วยว่านหางจระเข้เอาไว้จนกว่าแผลจะแห้งลงและ
อาการดีข้นึ

7. แกป้ วดศรี ษะ ตดั ใบสดจากต้นว่านหางจระเข้ แลว้ นำปนู แดงทาบริเวณวนุ้ ถือใบสดแล้วนำวุ้น
ผสมปนู แดงประคบบรเิ วณขมบั หรอื ทา้ ยทอย ตามจุดท่ีปวด จะชว่ ยบรรเทาอาการปวดศีรษะได้

8. บรรเทาอาการปวดฟัน ตัดเนื้อว่านหางจระเข้ออกเป็นแท่งเล็ก ๆ ประมาณ 2-3 เซนติเมตร
นำไปเหน็บไว้ตามซอกฟันที่มีอาการปวด หรือประคบไว้ก็ได้ ใช้เวลาประมาณ 30 นาที อาการปวดจะค่อย ๆ
บรรเทาลง

ประโยชน์ภายใน
1. บรรเทาอาการปวดข้อ นำวุ้นว่านหางจระเข้ที่ล้างทำความสะอาดแล้วไปแช่ตู้เย็น

และรับประทานเพื่อบรรเทาอาการปวดตามข้อต่าง ๆ โดยสามารถใช้ได้ทั้งเนื้อวุ้น และน้ำวุ้น หากอยากให้
รับประทานงา่ ยขึ้น สามารถนำไปปั่นเปน็ นำ้ ว่านหางจระเข้ กช็ ่วยบรรเทาอาการได้เช่นกัน

2. ใช้เป็นยาถ่าย โดยเลอื กตัดว่านหางจระเข้พันธุ์เฉพาะท่ีใบใหญแ่ ละมีน้ำยางสีเหลืองในปริมาณ
มาก อายุประมาณ 9 เดือนขึ้นไป รองน้ำยางที่ไหลออกมาจากใบ แล้วนำไปเคีย่ วให้ข้น เทลงในพมิ พ์ขนาดเล็กให้

8

แขง็ เป็นก้อนรับประทานเปน็ ยาได้ ซึ่งเมด็ ยาจะมีสีแดงอมนำ้ ตาลไปจนถึงดำ เรยี กว่า ยาดำ แบ่งรับประทานคร้ังละ
ประมาณ 0.25 กรัม (250 มิลลิกรัม) จะเป็นขนาดทีเ่ หมาะสมในการใชเ้ ป็นยาถา่ ย หากต้องการรบั ประทานแบบ
สด ๆ ก็สามารถทำได้ โดยการตดั วนุ้ ทล่ี า้ งสะอาดแลว้ ออกเปน็ ขนาด 3-4 เซนตเิ มตร แบง่ รับประทานวนั ละ 3 ครั้ง
หลงั อาหาร

3. แก้กระเพาะอักเสบและลำไส้อักเสบ ปอกเปลือกว่านหางจระเข้ นำวุ้นที่ได้ไปล้างให้สะอาด
แลว้ นำมารับประทานคร้งั ละ 2 ชอ้ นโต๊ะ วนั ละ 2 ครงั้ จะชว่ ยบรรเทาอาการอักเสบของทางเดินอาหารได้

4. ป้องกันโรคเบาหวาน ตัดเนื้อว่านหางจระเข้ความยาวประมาณ 3-4 เซนติเมตร นำไป
รับประทานทุกวัน หรอื จะปั่นเปน็ น้ำว่านหางจระเข้ เพอ่ื รับประทานกไ็ ด้ โดยอาการเบาหวานจะทเุ ลาลงสำหรับผู้ที่
เป็นในระยะแรก สว่ นผู้ท่ีต้องการรบั ประทานเพ่อื ป้องกนั สามารถรับประทานในปริมาณทีน่ อ้ ยลงได้

5. แก้และป้องกันอาการเมารถ-เมาเรือ ท่านที่มีปัญหาในการเดินทาง เกิดอาการเมารถ-เมาเรือ
อยู่เป็นประจำ ให้ลองรับประทานเนื้อวุ้นจากว่านหางจระเข้ หรือน้ำว่านหางจระเข้ ก่อนออกเดินทางจะช่วย
บรรเทาให้เกดิ อาการดงั กลา่ วนอ้ ยลงได้ แต่หากเกดิ อาการเมารถ-เมาเรอื ข้นึ แล้ว ลองทานนำ้ วา่ นหางจระเข้เย็น ๆ
ให้ชื่นใจ แลว้ นั่งพักสักครู่ จะรู้สึกดขี นึ้

3. สารกอ่ เจล Xanthan Gum (แซนแทนกัม)

ภาพท่ี3 สารกอ่ เจล Xanthan Gum (แซนแทนกมั )

ชอ่ื สามัญ : Xanthan Gum (แซนแทนกัม)
ชื่อทางเคมี : Xanthan Gum

Xanthan Gum เป็นสารให้ความข้นความหนดื สร้างความคงตัว ใช้ทดแทนไขมันในอาหารแคลอร่ีตำ่
ใชเ้ ปน็ สารก่อโฟม และรักษาสภาพอาหารจากการแช่แข็ง xanthan gum ถกู จดั เป็นวัตถเุ จือปนอาหารประเภท
หนึ่ง Xanthan Gum เปน็ สารไฮโดรคอลลอยด์ (Hydrocolloid) ชนิดหน่ึง มีลักษณะเปน็ ผงสีขาวถึงสแี ทน ละลาย
น้ำได้ดี ให้ความหนืดสูงแม้จะมีความเข้มขน้ ตำ่ โดยมีความหนืดท่ีต่ำเมือ่ มีแรงกระทำ และมีความคงตัวตอ่ การ

9

เปลีย่ นแปลงอณุ หภมู ิ ค่า pH และความเข้มข้นของเกลือ ด้วยคณุ สมบัตพิ ิเศษดังกล่าว จึงสามารถนำไปประยคุ
ใชไ้ ด้ในอาหารหลากหลายชนดิ เพอ่ื ใหไ้ ดค้ ุณสมบัตติ ามตอ้ งการ

สารก่อเจล(Gelling agent) สารก่อเจลเป็นสารไฮโดรคอลลอยด์ ที่ สามารถจับกับน้ำ ได้ โดยเมื่อนำ
มาละลายหรือ กระจายตัวอยใู่ นนำ้ ร้อน จะให้สารละลายทไ่ี ดม้ ีความหนืดสงู หรอื ให้เนอ้ื สัมผัสกลายเปน็ เจลเม่ือทิ้ง
ไวใ้ หเ้ ย็น ทางด้านอตุ สาหกรรมอาหารมีการนำสารกอ่ เจลชนิดต่าง ๆ มาใชเ้ ป็นสว่ นประกอบใน ผลิตภัณฑ์อาหาร
อย่หู ลายชนิด เพอ่ื เพ่มิ ความยืดหยนุ่ ความข้น หนืด และความคงตัวในผลติ ภัณฑ์ อาหาร ทางอตุ สาหกรรมยามี
การนำ เจลาตินไปผลิตเป็นแคปซูลยา นอกจากนี้ยังมีการใช้วุ้น หรือ อะกาโรสไปใช้งานด้านปฏิบัติการเคมีและ
จุลนิ ทรยี ส์ ารกอ่ เจลสว่ นใหญเ่ ปน็ สารไบโอพอลิเมอรท์ ไ่ี ดจ้ ากธรรมชาตมิ ีท้ังสารในกลุ่มพอลิแซ็กคาไรดเ์ ช่น วุ้น หรอื
สารในกลุ่มโปรตีน เชน่ เจลาตนิ (Karim and Rajeev, 2009)

(gel) คือ ของผสมที่มีลักษณะกึ่งแข็งคล้ายวุ้น เป็นระบบคอลลอยด์ (colloid) ชนิดหนึ่งที่มีน้ำเป็น
ตัวกลาง เจลในอาหาร ส่วนใหญ่จะเป็นไฮโดรคอลลอยด์ (hydrocolloid) ซึ่งมีอนุภาคของแข็ง
เป็นพอลิเมอร์ที่ชอบน้ำ (hydrophillic polymer) ได้แก่ พอลิแซ็กคาไรด์ (polysaccharide) กัม (gum)
โปรตนี (protein) อนุภาคเหล่าน้ี กระจายตวั ในน้ำ และรวมตวั กับน้ำได้ดี เมื่อใหค้ วามร้อนแลว้ ทำให้เย็นตัวลงจะ
สานจบั ตวั กันเปน็ ตาข่าย 3 มติ ิ เปน็ ของกึ่งแข็ง

โครงสร้างของเจล (gel structure) สามารถกักโมเลกุลของน้ำไว้ภายใน เจลจะมีลักษณะเป็นของกึ่งแข็ง
เนื้อสัมผัสของเจล อาจเปราะ แข็ง หนืด หรือยืดหยุ่น ขึ้นอยู่กับขึ้นอยู่กับชนิดของอนุภาคของแข็งส่วนที่เป็น
โครงสร้าง สารที่ทำให้เกิดเจล (gelling agent) มีหลายชนิด เจลในอาหารแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือ
thermoreversible gels คือ เจลที่เปล่ียนกลบั เป็นของเหลว (sol) เมื่อได้รบั ความรอ้ นเชน่ เจลจาก วุ้น (agar)
คาร์ราจแี นน (carrageenan) เจลาติน (gelatin) thermoirrevisible gels คือ เจลทไี่ ม่เปลี่ยนกลับเป็นของเหลว
เมื่อได้รบั ความร้อน เช่น เจลจากสตาร์ซ์ (starch) เจลจากอัลจีเนต (allgenate) เจลจากโปรตีน เช่น การรวมกัน
ของแอคตนิ และไมโอซนิ เกิดเปน็ เจลในซรู มิ ิ การเกิดเจลของไขข่ าวสุก เป็นต้น

gelling agent หมายถึง สารไฮโดรคอลลอยด์ (hydrocolloid) ที่ทำให้เกิดเจล (gel) ลักษณะสำคัญ คือ
สารเหล่านี้ รวมกับน้ำได้ปริมาณมาก เกิดเป็นของกึ่งแข็ง ยืดหยุ่น การเกิดเจลเรียกว่า gelation การเกิดเจล
ในอาหารแบ่งไดเ้ ปน็ 2กลุ่มคือ thermoreversible gel คือ เจลที่เปลี่ยนกลับเป็นของเหลว (sol) เมื่อไดร้ บั ความ
ร้อน เช่น เจลจากวุ้น (agar) คาร์ราจีแนน (carrageenan) เจลาติน (gelatin) thermoirrevisible gel คือ
เจลที่ไม่เปลี่ยนกลับเป็นของเหลวเมื่อได้รับความร้อน เช่น เจลจากอัลจิเนต (allgenate) เจลจากโปรตีน เช่น
การรวมกันของแอคตนิ และไมโอซิน เกิดเปน็ เจลในซูรมิ ิและการเกิดเจลของไขข่ าวสุก เป็นตน้

10

สารทีท่ ำให้เกดิ เจล (gelling agent) ที่ใช้เป็นวัตถเุ จือปนอาหาร (food additive) ได้ เช่น
สตาร์ซ (starch)
สตารซ์ ดดั แปร (modified starch)
เพกทนิ (pectin)
คารร์ าจแี นน (carrageenan)
วนุ้ (agar)
อลั จิเนต (alginate)
เจลาตนิ (gelatin)
xanthan gum(สารก่อเจล)
เปน็ โครงสรา้ งเชิงซ้อนของ exopolysaccharide มลี ักษณะเปน็ ผงสขี าวถงึ สีแทน ถูกนำ้ มาใช้ใน
ผลิตภัณฑอ์ าหารหลายประเภท แต่โดยท่วั ไปน้ำามาใช้ในเครอื่ งปรุงรส เชน่ น้ำสลัด, ซอส, แยม และผลไมก้ ระป๋อง
ชว่ ยใหเ้ กิดความหนดื และชว่ ยรกั ษาเสถยี รภาพของผลติ ภัณฑ์ อกี ทั้งยังมี การนำไปใชใ้ นการทำไอศกรมี เพ่อื รกั ษา
เนอ้ื
หน้าทีก่ ารใช้งาน

ให้ความขน้ หนดื แก่ผลิตภัณฑ์ (Thickening Agent)
ให้ความแขง็ แรงความคงตวั ต่อผลติ ภัณฑ์ (Stabilizing Agent)
เพิ่มปรมิ าตรให้แก่ผลิตภัณฑ์ (Bulking Agent)
ชว่ ยใหเ้ กิดการแขวนลอยของส่วนผสม (Suspending Agent)
นิยมใชร้ ว่ มกบั CMC , Guar Gum
คณุ สมบัติ
ละลายไดท้ ัง้ ในน้ำ(ทงั้ รอ้ นและเยน็ ) และในน้ำมนั
เพม่ิ ปริมาตรแกผ่ ลิตภัณฑ์
เปน็ ที่นยิ มในผลิตภัณฑป์ ราศจากกลเู ตน (ผลติ ภณั ฑ์ที่มีสว่ นประกอบจากแปง้ สาลี)
ปริมาณ % การใชง้ านต่ำกวา่ สารชนดิ อน่ื ๆ (Low dosage)
เมื่อใช้ร่วมกับ Guar Gum หรือ CMC จะไดค้ วามหนืดทดี่ ีขน้ึ ค่าแคลอรีต่ ่ำมาก

หน้าท่กี ารใชง้ าน
ปรบั ปรงุ ดา้ นเน้อื สมั ผสั ของผลิตภัณฑ์ เช่นผลิตภัณฑ์จากนม ไอศกรมี จะให้เนอ้ื สมั ผัสที่นุม่
ปรับความเปน็ กรด-ด่างของผลติ ภัณฑ์
ปรับปรงุ ด้านรสชาติของผลิตภัณฑ์
ป้องกันการแยกตวั ระหวา่ งนำ้ มันและนำ้ (Emulsifier Agent)

11

ใหโ้ ครงสรา้ งที่เหนยี วนุ่ม เพ่ิมรสสมั ผัสในการเคย้ี วท่ีดีขึน้
เพม่ิ ความแข็งแรงของผลิตภัณฑ์ ลดการเสียหายระหวา่ งกระบวนการผลติ

4. ความหมายของความพึงพอใจ

ความพึงพอใจ (Satisfaction) ได้มีผู้ให้ความหมายของความพึงพอใจไว้หลายความหมาย ดังนี้
พจนานกุ รมฉบบั ราชบัณฑิตสถาน (2542) ได้ใหค้ วามหมายของความพงึ พอใจไวว้ ่า พึงพอใจ หมายถงึ รกั ชอบใจ
และพงึ ใจ หมายถึง พอใจ ชอบใจ

ดิเรก (2528) กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ทัศนคติทางบวกของบุคคลที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
เป็นความรู้สึกหรือทัศนคติที่ดีต่องานที่ทำของบุคคลที่มีต่องานในทางบวก ความสุขของบุคคลอันเกิดจากการ
ปฏิบัติงานและได้รับผลเป็นที่พึงพอใจ ทำให้บุคคลเกิดความกระตือรือร้น มีความสุข ความมุ่งมั่นที่จะทำงาน
มีขวัญและมีกำลังใจ มีความผูกพันกับหน่วยงาน มีความภาคภูมิใจในความสำเร็จของงานที่ทำ และสิ่งเหล่านี้จะ
ส่งผลต่อประสิทธิภาพและประสทิ ธิผลในการทำงานส่งผลตอ่ ถึงความก้าวหน้าและความสำเรจ็ ขององคก์ ารอีกดว้ ย

วริ ุฬ (2542) กลา่ ววา่ ความพงึ พอใจเป็นความรู้สึกภายในจติ ใจของมนษุ ย์ทไ่ี ม่เหมือนกัน ข้ึนอยู่กับแต่ละ
บุคคลว่าจะมีความคาดหมายกับสิ่งหนึ่งสิ่งใดอย่างไร ถ้าคาดหวังหรือมีความตั้งใจมากและได้รับการตอบสนอง
ด้วยดีจะมีความพึงพอใจมากแต่ในทางตรงกันข้ามอาจผิดหวังหรือไม่พึงพอใจเป็นอย่างยิ่ง เมื่อไม่ได้รับ
การตอบสนองตามท่ีคาดหวงั ไวท้ ั้งน้ขี น้ึ อยูก่ บั สิง่ ที่ตง้ั ใจไวว้ ่าจะมีมากหรอื น้อยสอดคลอ้ งกบั ฉตั รชัย (2535) กล่าว
ว่า ความพึงพอใจหมายถึงความรู้สึกหรือทัศนคติของบุคคลที่มีต่อสิ่งหนึ่งหรือปัจจัยต่างๆที่เกี่ยวข้อง ความรู้สึก
พอใจจะเกิดขึ้นเมื่อความต้องการของบุคคลได้รับการตอบสนองหรือบรรลุจุดมุ่งหมายในระดับหนึ่ง ความรู้สึก
ดังกล่าวจะลดลงหรอื ไมเ่ กดิ ข้นึ หากความต้องการหรอื จดุ ม่งุ หมายน้นั ไม่ได้รับการตอบสนอง

กาญจนา (2546) กล่าวว่า ความพึงพอใจของมนุษย์เป็นการแสดงออกทางพฤติกรรมที่เป็นนามธรรม
ไม่สามารถมองเห็นเป็นรูปร่างได้ การที่เราจะทราบว่าบุคคลมีความพึงพอใจหรือไม่ สามารถสังเกตโดย
การแสดงออกที่ค่อนข้างสลับซับซ้อนและต้องมีสิ่งเร้าที่ตรงต่อความต้องการของบุคคล จึงจะทำให้บุคคลเกิ ด
ความพงึ พอใจ ดงั นน้ั การส่งิ เรา้ จึงเป็นแรงจูงใจของบุคคลนัน้ ให้เกิดความพงึ พอใจในงานนนั้
5. แนวคิดเกี่ยวกบั ความพงึ พอใจ

Shelly อ้างโดย ประกายดาว (2536) ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจ ว่าความพึงพอใจเป็น
ความรู้สึกสองแบบของมนุษย์ คือ ความรู้สึกทางบวกและความรู้สึกทางลบ ความรู้สึกทางบวกเป็นความรู้สึกท่ี
เกิดขึ้นแล้วจะทำให้เกิดความสุข ความสุขนี้เป็นความรู้สึกที่แตกต่างจากความรู้สึกทางบวกอื่น ๆ กล่าวคือ
เป็นความรู้สึกที่มีระบบย้อนกลับความสุขสามารถทำให้เกิดความรู้สึกทางบวกเพิ่มขึ้นได้อีก ดังนั้นจะเห็นได้ว่า

12

ความสุขเป็นความรู้สึกที่สลับซับซ้อนและความสุขนี้จะมีผลต่อบุคคลมากกวา่ ความรู้สึกในทางบวกอื่น ๆ ขณะที่
วิชัย (2531) กล่าวว่า แนวคิดความพึงพอใจ มีส่วนเกีย่ วขอ้ งกับความต้องการของมนษุ ย์ กล่าวคือ ความพึงพอใจ
จะเกิดข้ึนไดก้ ็ตอ่ เม่อื ความต้องการของมนุษยไ์ ดร้ บั การตอบสนอง ซึง่ มนษุ ย์ไม่วา่ อยู่ในที่ใดยอ่ มมีความต้องการขั้น
พน้ื ฐานไมต่ า่ งกนั

พิทักษ์ (2538) กล่าวว่า ความพึงพอใจเป็นปฏิกิริยาด้านความรู้สึกต่อสิ่งเร้าหรือสิ่งกระตุ้นที่แสดงผล
ออกมาในลกั ษณะของผลลพั ธส์ ุดท้ายของกระบวนการประเมิน โดยบง่ บอกทิศทางของผลการประเมนิ ว่าเป็นไปใน
ลกั ษณะทศิ ทางบวกหรือทิศทางลบหรือไม่มปี ฏิกริ ิยาคือเฉยๆ ต่อสิง่ เร้าหรือสิง่ ทีม่ ากระต้นุ

6. การหาประสทิ ธิภาพการลดอณุ หภมู ิ
หาจากผลตา่ งของอุณหภูมิเร่ิมตน้ กับอุณหภูมิสุดท้าย ดังสตู รด้านลา่ ง

ประสิทธิภาพการลดอุณหภูมิ = −

T1 = อุณหภมู ิเร่มิ ต้น
T2 = อณุ หภมู ิสุดท้าย

7. เอกสารทีเ่ ก่ียวข้อง

การวิจัยพัฒนาตำรับผลิตภณั ฑ์เจลทาผวิ กายจากสารสกัดว่านหางจระเข้ มีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนาตำรบั
ผลิตภัณฑ์เจลทาผิวกายว่านห่างจระเข้ และออกแบบบรรจุภัณฑ์เจลทาผิวกายว่านหางจระเข้ กลุ่มตัวอย่างคือ
นักศึกษาและบุคลากรเพศหญิง ที่ศูนย์การเรียนรู้ในเมอื ง มหาวิทยาลัยราชภัฎหมู่บ้านจอมบึง จำนวนทั้งสิ้น 40
คน เครื่องมือที่ใช้ คือแบบสอบถามความพึงพอใจ แบบประเมินด้านการตลาด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม
สำเรจ็ รูป นำเสนอขอ้ มูลเป็นคา่ เฉลย่ี และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน เปรียบเทยี บคา่ เฉล่ียของประชากรต้ังแต่ 3 กลุ่ม
ขึ้นไป โดยใช้สถิติ one-way ANOVA ผลการวิจัย การสกัดสารอย่างง่ายโดนใช้วุ้นว่านหางจระเข้ โดยหมักด้วย
ระยะเวลา 1 เดือน 2 เดือน และ 3 เดือนตามลำดบั พบว่าสารสกดั ที่หมักด้วยระยะเวลา 2 เดือนและ 3 เดือน มี
ลักษณะทางกายภาพที่เหมาะสม คือ เนื้อวุ้นว่านหางจระเขฟ้ ู อิ่มน้ำ ใส และมีความหนดื มากข้ึน ไม่มีความเหม็น
หืน ไม่มีฟองอากาศ มีคะแนนความพึงพอใจมากที่สุดเท่ากับ 5.00 คะแนน ดังนั้นผู้วิจัยจึงเลือกใช้สูตรหมักที่ 2
เนื่องจากความเหมาะสมด้านเวลา จากนั้นนำเอาสารสกดั ทีห่ มักด้วยระยะเวลา 2 เดือน มาผลิตเจลทาผิวที่ความ
เข้มขนั 70%, 80% และ 90% พบวา่ อาสาสมคั รมคี วามพึงพอใจต่อตำรับเจลทาผวิ ทง้ั 3 สตู รอยู่ในระดบั มาก

13

เมือ่ เปรียบเทยี บตำรับในแต่ละสตู ร พบวา่ ไม่มคี วามแตกตา่ งท างสถติ ิ เมือ่ พจิ ารณาคะแนนความพึงพอใจ
พบว่าสูตรที่ 3 สารสกดั ว่านหางจระเขท้ ี่ความเข้มขนั 90% มีคะแนนมากที่สุด (8.52+1.55 คะแนน) ดังนั้นผู้วิจัย
จงึ เลอื กสตู รตำรบั ที่ 3 มาทำการทดลองทาผิวในอาสาสมัคร เปน็ ระยะเวลา 4 สปั ดาห์ พบว่าความพงึ พอใจโดยรวม
หลังการใช้ผลิตภัณฑ์อยูใ่ นระดับมาก (7.64+1.71) โดยมีคะแนนรายด้านดังนี้ ด้านเนื้อเจล (8.29 +1.20) ด้านสี
(7.93+1.73) ด้านการยอมรับผลติ ภณั ฑ์ (7.93+1.73) ดา้ นความชุ่มชืน้ (7.79+1.63) ด้านความนมุ่ ล่ืน (7.71+1.38)
ดา้ นการซึมซาบเขา้ สู่ผวิ (7.43+1.56) อยใู่ นระดบั มาก และความพึงพอใจด้านกล่ิน (6.43+2.74) อยใู่ นระดับปาน
กลาง จากนั้นทำการออกแบบบรรจุภัณฑ์เจลทาผิวว่านหางจระเข้ จำนวน 3 แบบ แล้วทำการประเมินด้าน
การตลาด พบว่าบรรจุภัณฑ์แบบที่ 1 มีคะแนนสูงกว่าบรรจุภัณฑ์แบบที่ 2 และแบบที่ 3 ในทุกด้าน โดยด้าน
ความสามารถเพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์ (9.18+ 1.20) ด้านภาพประกอบ (9.08 +1.40) และด้านการจัด
องค์ประกอบของกราฟิก (8.95+ 1.43) มีคะแนนสงู กว่าอยา่ งมีนัยสำคัญทางสถติ ิ (p<0.05)

14

บทที่ 3
วธิ ีการทดลอง

1.วัสดอุ ปุ กรณ์และสารเคมี
1. ตาช่งั ดจิ ิทัล
2. กระบอกตวง
3. เครือ่ งปนั่
4. ตะกรอ้ มอื
5. บีกเกอร์
6. ปรอทวัดอุณหภูมิ
7. ถุงผ้า
8. ว่านหางจระเข้
9. สารกอ่ เจล
10. น้ำ

2.การเตรียมเจลประคบเย็น
2.1 วธิ ีการเตรียมเจลจากน้ำ
1. ใสน่ ำ้ จำนวน 100 กรมั ลงในแก้ว จำนวน 6 ใบ
2. เติมสารก่อเจลปรมิ าณ 0, 0.25, 0.5, 1, 2 และ 3 ลงในแก้วแตล่ ะใบ
3. คนส่วนผสมให้เข้ากนั จนกวา่ สารกอ่ เจลจะละลายจนหมด
4. ตั้งทง้ิ ไว้ประมาณ 2 ช่ัวโมงและบนั ทึกผล
2.2 วิธกี ารเตรียมเจลจากวา่ นหางจระเข้
1. นำวา่ นหางจระเข้มาล้างทำความสะอาด และปอกเปลือกให้เรียบรอ้ ยและนำไปปน่ั ให้ละเอียด
2. นำวา่ นหางจระเข้มาป่ันให้ละเอยี ด ตัง้ ทิง้ ไว้ 2 ช่วั โมง ใหฟ้ องลดลง หากยงั เหลอื ฟองให้ตักส่วนท่ี

ยงั เปน็ ฟองออก
3. ใส่วา่ นหางจระเข้จำนวน 100 กรัม ลงในแกว้ จำนวน 6 ใบ
4. เตมิ สารกอ่ เจลปริมาณ 0, 0.25, 0.5, 1, 2 และ 3 ลงในแก้วแต่ละใบ
5. จากน้ันคนสว่ นผสมให้เข้ากัน จนกวา่ สารกอ่ เจลจะละลายจนหมด
6. ตง้ั ทง้ิ ไวป้ ระมาณ 2 ชั่วโมงและบันทึกผล

15

2.3 วธิ กี ารเตรียมเจลจากวา่ นหางจระเข้ นำ้ และสารก่อเจล
1. นำว่านหางจระเขม้ าล้างทำความสะอาด และปอกเปลือกให้เรยี บรอ้ ยและนำไปปนั่ ให้ละเอียด
2. นำน้ำใส่ในแก้วปริมาณ 50 กรมั และว่านหางจระเขป้ รมิ าณ 50 กรมั ลงในแก้ว จำนวน 6 ใบ
3. เติมสารกอ่ เจลปรมิ าณ 0, 0.25, 0.5, 1, 2 และ 3 ลงในแกว้ แต่ละใบ
4. จากนน้ั คนสว่ นผสมให้เข้ากนั จนกวา่ สารกอ่ เจลจะละลายจนหมด
5. ตัง้ ท้ิงไวป้ ระมาณ 2 ชวั่ โมงและบนั ทึกผล

3. ศกึ ษาประสิทธภิ าพของเจลประคบเย็นและสารก่อเจลตอ่ สมบตั กิ ารเก็บความเย็น
3.1 ศึกษาประสิทธิภาพของเจลประคบเย็นจากน้ำ 100 กรัม ผสมกับสารก่อเจล 2 และ 3 กรัม

ตามลำดบั ต่อสมบัติการเกบ็ ความเย็น
1. นำน้ำเปล่าหนัก 100 กรัมมาใส่แก้ว จากนั้นนำมาแช่ในกล่องโฟมที่บรรจุน้ำแข็ง ระวังอย่าให้

น้ำแข็งเข้าแกว้
2. นำน้ำ 100 กรมั ผสมกบั สารกอ่ เจล 2 และ 3 กรมั ตามลำดบั ท่ี แบ่งใส่แกว้ แต่ละใบและมาแช่ใน

กล่องโฟมทบ่ี รรจนุ ำ้ แข็งในกล่องเดียวกนั ระวังอยา่ ใหน้ ำ้ แข็งเขา้ แกว้
3. ตัง้ ทิ้งไว้นาน 2 ช่ัวโมง เพื่อใหอ้ ุณหภูมิของเจลและนำ้ เปลา่ คงที่
4. นำเจลประคบเย็นจากนำ้ 100 กรมั ผสมกับสารกอ่ เจล 2 และ 3 กรัม ตามลำดับ และน้ำเปลา่

ตงั้ ทิ้งไวท้ อ่ี ุณหภมู ิหอ้ ง วัดอุณหภมู ิทกุ ๆ 5 นาทีจนกระทั่งอณุ หภูมิไม่เปลย่ี นแปลง บนั ทึกผลลงตาราง
3.2 ผลการศึกษาประสิทธิภาพของเจลประคบเย็นจากว่านหางจระเข้ 100 กรัม ผสมกับสารก่อเจล 2

และ 3 กรมั ตามลำดบั ตอ่ สมบตั ิการเกบ็ ความเย็น
1. นำน้ำเปล่าหนัก 100 กรัมมาใส่แก้ว จากนั้นนำมาแช่ในกล่องโฟมที่บรรจุน้ำแข็ง ระวังอย่าให้

น้ำแขง็ เข้าแกว้
2. นำเจลประคบเย็นจากว่านหางจระเข้ 100 กรัม ผสมกับสารก่อเจล 2 และ 3 กรัม ตามลำดับ

ท่ปี รมิ าณน้ำหนัก 100 กรัม แบ่งใสแ่ กว้ แต่ละใบและมาแชใ่ นกล่องโฟมทบ่ี รรจนุ ้ำแข็งในกล่องเดยี วกนั ระวังอย่าให้
น้ำแขง็ เข้าแกว้

3. ตัง้ ท้ิงไว้นาน 2 ชว่ั โมง เพ่อื ใหอ้ ณุ หภมู ิของเจลและน้ำเปลา่ คงที่
4. นำเจลประคบเย็นจากว่านหางจระเข้ 100 กรัม ผสมกับสารก่อเจล 2 และ 3 กรัม ตามลำดับ
และนำ้ เปลา่ ตั้งทงิ้ ไว้ท่ีอุณหภมู ิห้อง วดั อุณหภูมทิ กุ ๆ 5 นาทจี นกระทั่งอุณหภูมิไม่เปล่ยี นแปลง บันทึกผลลงตาราง

16

3.3 ผลการศึกษาประสิทธิภาพของเจลประคบเย็นจากว่านหางจระเข้ 50 กรัม ผสมกับน้ำ 50 กรัม กับ
สารก่อเจล 2 และ 3 กรัม ตามลำดับ ต่อสมบตั ิการเก็บความเย็น

1. นำน้ำเปล่าหนัก 100 กรัมมาใส่แก้ว จากนั้นนำมาแช่ในกล่องโฟมที่บรรจุน้ำแข็ง ระวังอย่าให้
นำ้ แขง็ เข้าแกว้

2. นำเจลประคบเย็นจากว่านหางจระเข้ 50 กรมั ผสมนำ้ 50 กรมั ผสมกบั สารก่อเจล 2 และ 3 กรัม
ตามลำดบั ท่ปี รมิ าณนำ้ หนัก 100 กรมั แบ่งใส่แกว้ แต่ละใบและมาแช่ในกล่องโฟมที่บรรจุน้ำแข็งในกล่องเดียวกัน
ระวังอยา่ ให้น้ำแข็งเข้าแกว้

3. ตง้ั ทิง้ ไวน้ าน 2 ช่วั โมง เพอื่ ใหอ้ ุณหภมู ขิ องเจลและนำ้ เปล่าคงท่ี
4. นำเจลประคบเย็นจากว่านหางจระเข้ 50 กรมั ผสมน้ำ 50 กรัม ผสมกบั สารก่อเจล 2 และ 3 กรัม
ตามลำดับ และน้ำเปล่า ตั้งทิ้งไว้ที่อุณหภูมิห้อง วัดอุณหภูมิทุกๆ 5 นาทีจนกระทั่งอุณหภูมิไม่เปลี่ยนแปลง
บนั ทกึ ผลลงตาราง
4. ผลการศกึ ษาประสทิ ธิภาพของเจลประคบเย็นจากว่านหางจระเข้ 50 กรัมผสมกบั น้ำ 50 กรัม กับสารก่อ 3
กรมั และเกลอื 20 กรัม ตอ่ สมบตั ิการเก็บความเย็นและราคาเทียบกบั เจลประคบเย็นทขี่ ายในทอ้ งตลาด
1. ชั่งเจลว่านหางจระเข้ปริมาณ 50 กรัมผสมกับน้ำ 50 กรัม และสารก่อเจล 3 กรัม เกลือ20กรัม
และเจลประคบเยน็ ที่มีขายในท้องตลาด นำ้ หนกั 100 กรัม มาใสแ่ ก้วคนละใบ
2. นำแก้วทั้ง 2 ใบ มาแช่ในกล่องโฟมที่บรรจุน้ำแข็ง ตั้งทิ้งไว้นาน 2 ชั่วโมงเพื่อให้อุณหภูมิคงที่
โดยระวังอย่าให้น้ำแข็งเข้าแก้ว
3. นำเจลประคบเยน็ จากว่านหางจระเข้ 50 กรัม ผสมนำ้ 50 กรมั ผสมกับสารก่อเจล 3 กรัม เกลือ
20 กรมั และเจลประคบเยน็ ท่ีขายในท้องตลาด ต้งั ทงิ้ ไว้ท่อี ณุ หภมู ิหอ้ ง วัดอณุ หภูมิทกุ ๆ 5 นาทีจนกระท่ังอุณหภูมิ
ไมเ่ ปลย่ี นแปลง บันทกึ ผลลงตาราง

4. เปรยี บเทียบราคาเจลประคบเย็นจากวา่ นหางจระเข้ 50 กรัมผสมกบั น้ำ 50 กรัม กับสาร
กอ่ เจ 3.กรมั เกลอื 20 กรมั กบั เจลประคบเยน็ จากท้องตลาด

5. ศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้ผลิตภณั ฑ์

1. นำผลติ ภัณฑ์เจลประคบเย็นท่ีผลดิ จากวา่ นหางจระเข้ 50 กรมั ผสมน้ำ 50 กรัม ที่ปริมาณสารก่อ
เจล 3 กรัม และเกลอื 20 กรมั ไปใหก้ ลุ่มนกั เรยี นทเี่ ปน็ นางรำโรงเรียนเทศบาลตำบลบางเตย ใช้จำนวน 10 คน คน
ละ 1 ช้นิ เป็นเวลา 5 วนั

17

2. เมอื่ ครบกำหนดเวลา 5 วัน ให้ผ้ทู ่ีใช้งานตอบแบบสอบถามความพงึ พอใจในประเด็นดังตอ่ ไปนี้
ผ่านแบบสอบถามออนไลน์

1. ความสะดวกในการใชง้ าน เม่ือได้รับบาดเจ็บจากการเลน่ กีฬา เชน่ ช่วยลดอาการบวมชำ้
2. ความสะดวกในการพกพาและเก็บรักษาเม่ือใช้งานเสร็จ
3. ราคาที่จดั จำหนา่ ย หากจำหนา่ ยในราคา 50 บาท ท่ีสหกรณโ์ รงเรียน
โดยแบบสอบเปน็ แบบมาตราสว่ น ประมาณ 5 ระดับ ของความพงึ พอใจ คือ พึงพอใจดมี ากที่สุด
พงึ พอใจมาก พึงพอใจปานกลาง พึงพอใจน้อย ปานกลาง และพงึ พอใจนอ้ ยทส่ี ดุ
กำหนดใหค้ ะแนนระหวา่ ง 4.50 – 5 อยใู่ นระดบั ความพงึ พอใจ มากท่สี ดุ
กำหนดให้คะแนนระหว่าง 3.50 – 4.49 อยู่ในระดับความพงึ พอใจ มาก
กำหนดใหค้ ะแนนระหวา่ ง 2.50 – 3.49 อยใู่ นระดับความพงึ พอใจ ปานกลาง
กำหนดใหค้ ะแนนระหวา่ ง 1.50 – 2.49 อยใู่ นระดับความพึงพอใจ นอ้ ย
กำหนดให้คะแนนระหวา่ ง 1.00 – 1.49 อยู่ในระดบั ความพึงพอใจ นอ้ ยมาก

18

บทท่ี 4
ผลการศกึ ษา
1. ผลการศึกษาการเตรียมเจลประคบเย็น
1.1 ผลการศกึ ษาการเตรยี มเจลประคบเยน็ จากน้ำ 100 กรมั ผสมสารกอ่ เจลทป่ี รมิ าณตา่ งๆ
จากการนําน้ำปริมาณ 100 กรัมมาผสมกับสารก่อเจล ที่ปริมาณ 0, 0.25, 0.5, 1, 2 และ 3 กรัม ตามลำดับ
จากนั้นนำมาเปรยี บเทยี บลกั ษณะเจลท่ไี ด้ ได้ผลการทดลองดังตาราง

ตารางที่ 1 ลักษณะของเจลประคบเย็นจากน้ำ 100 กรมั ผสมสารก่อเจลท่ีปรมิ าณตา่ งๆ

ปรมิ าณนำ้ ปรมิ าณสารกอ่ เจล ลกั ษณะเจลทีไ่ ด้

(กรมั ) (กรมั )

100 0 เจลมีความหนืดน้อย เหลว

มาก

0.25 เจลมีความความหนืดน้อย

เหลวมาก

0.5 เจลมีความหนืดน้อย จบั ตวั

กนั เล็กนอ้ ย

1 เจลมีความหนดื จับตวั กนั

เลก็ น้อย

2 เจลมีลกั ษณะการจบั ตัวกัน

มคี วามหนืด

3 เจลมีลักษณะการจบั ตัวกัน

มีความหนืด

จากผลการเตรยี มเจลประคบเย็นจากนำ้ พบว่าปริมาณสารก่อเจลเพิ่มมากขึ้น ลักษณะเจลท่ไี ด้จะมีความหนืด
เพม่ิ มากขึ้นดว้ ย โดยปรมิ าณสารก่อเจลทเ่ี หมาะสมแก่การนำไปผลติ เป็นเจลประคบเย็นคือที่ปรมิ าณสารกอ่ เจลที่ 2
และ 3 กรัม ตามลำดบั แต่เนอ่ื งจากเม่ือเปรียบเทยี บกับเจลประคบเย็นท่ีทำจากว่านหางจระเข้ 100 กรัมและเจล
ประคบเย็นจากว่านหางจระเข้ 50 กรัมผสมกับน้ำ 50 กรัม ที่ปริมาณสารก่อเจลเท่ากันคือ 2 และ 3 กรัม พบว่า
เจลประคบเย็นจากน้ำ 100 กรัม ลักษณะเจลที่ได้มีความหนืด และจับตัวกันได้ดี ดังนั้นทางผู้จัดทำจึงนำเจล
ประคบจากน้ำ 100 ผสมสารก่อเจล 2 และ 3 กรมั ไปข้ึนรูปเป็นเจลประคบเยน็ และศึกษาความสามารถในการกัก
เก็บความเยน็ ในข้นั ตอนต่อไป

19

1.2 ผลการศึกษาการเตรยี มเจลประคบเยน็ จากว่านหางจระเข้100 กรมั ผสมสารกอ่ เจลท่ปี รมิ าณต่างๆ
จากการนําว่านหางจระเข้ปริมาณ 100 กรัมมาผสมกับสารก่อเจล ที่ปริมาณ 0, 0.25, 0.5, 1, 2 และ 3 กรัม
ตามลำดบั จากนนั้ นำมาเปรียบเทียบลักษณะเจลทีไ่ ด้ ไดผ้ ลการทดลองดังตาราง

ตารางที่ 2 ลกั ษณะของเจลประคบเยน็ จากว่านหางจระเข้ 100 กรมั ผสมสารกอ่ เจลทปี่ ริมาณตา่ ง

ปริมาณว่านหาง ปริมาณสารกอ่ เจล ลักษณะเจลท่ีได้

จระเข้ (กรัม) (กรมั )

100 0 เจลมีความหนดื นอ้ ย เหลว

มาก

0.25 เจลมีความความหนดื นอ้ ย

เหลวมาก

0.5 เจลมีความหนดื น้อย จับตวั

กนั เล็กนอ้ ย

1 เจลมีความหนืด จับตวั กนั

เล็กนอ้ ย

2 เจลมีลกั ษณะการจบั ตวั กันดี

มีความหนดื

3 เจลมีลักษณะการจบั ตวั กันดี

มีความหนืด

จากผลการเตรยี มเจลประคบเยน็ จากว่านหางจระเข้ 100 กรัม พบวา่ ปริมาณสารกอ่ เจลเพ่ิมมากข้ึน ลักษณะ
เจลทีไ่ ด้จะมคี วามหนดื เพิ่มมากข้ึนดว้ ย โดยปริมาณสารกอ่ เจลทเี่ หมาะสมแก่การนำไปผลติ เป็นเจลประคบเย็นคือท่ี
ปริมาณสารกอ่ เจลท่ี 2 และ 3 กรัม ลักษณะเจลทีไ่ ดม้ ีความหนืด และจบั ตวั กันได้ดี ดงั น้ันทางผู้จัดทำจึงได้นำเจล
ประคบเย็นจากว่านหางจระเข้ 100 กรัม ผสมกับสารก่อนเจลที่ปริมาณ 2 และ 3 ไปขึ้นรูปเป็นเจลประคบเยน็
จากนัน้ นำเจลประคบเยน็ ที่ได้ไปศึกษาความสามารถในการกักเกบ็ ความเยน็ ในข้นั ตอนต่อไป

20

1.3 ผลการศึกษาการเตรียมเจลประคบเยน็ จากว่านหางจระเข้ 50 กรมั ผสมนำ้ 50 กรัม และสารก่อเจลที่
ปริมาณต่างๆ

จากการนาํ วา่ นหางจระเข้ปริมาณ 50 กรมั มาผสมกับน้ำ 50 กรัม และสารกอ่ เจล ท่ปี รมิ าณ 0, 0.25, 0.5,
1, 2 และ 3 กรมั ตามลำดบั จากนน้ั นำมาเปรียบเทยี บลกั ษณะเจลท่ีได้ ไดผ้ ลการทดลองดงั ตาราง

ตารางที่ 3 ลักษณะของเจลประคบเย็นจากว่านหางจระเข้ 50 กรัม ผสมน้ำ 50 กรัม และสารก่อเจลที่ปริมาณ

ตา่ งๆ

ปริมาณวา่ น ปรมิ าณน้ำ ปรมิ าณสารกอ่ เจล

หางจระเข้ (กรมั ) (กรัม) ลกั ษณะเจลท่ไี ด้

(กรัม)

50 50 0 เจลมีความหนดื น้อย เหลวมาก

0.25 เจลมีความความหนืดน้อย เหลว
มาก

0.5 เจลมีความหนดื น้อย จบั ตวั กนั
เลก็ น้อย

1 เจลมีความหนดื จับตวั กนั
เล็กน้อย

2 เจลมีลกั ษณะการจบั ตัวกันดี มี
ความหนดื

3 เจลมีลักษณะการจบั ตัวกันดี มี
ความหนืด

จากผลการเตรียมเจลประคบเยน็ จากว่านหางจระเข้ 50 กรัมผสมกับน้ำ 50 กรมั พบวา่ ปริมาณสารก่อเจลเพิ่ม
มากขึ้น ลักษณะเจลที่ได้จะมคี วามหนืดเพิ่มมากขึ้นด้วย โดยปริมาณสารก่อเจลที่เหมาะสมแก่การนำไปผลิตเป็น
เจลประคบเย็นคือที่ปรมิ าณสารก่อเจลท่ี 2 และ 3 กรัม ลักษณะเจลท่ีได้มคี วามหนืด และจบั ตวั กันได้ดี ดังนั้นทาง
ผจู้ ดั ทำจงึ ได้นำเจล ประคบเย็นจากว่านหางจระเข้ 50 กรัมผสมกับน้ำ 50 กรมั มาผสมกับสารก่อนเจลทป่ี รมิ าณ 2
และ 3 กรัม ไปข้นึ รูปเปน็ เจลประคบเย็น จากน้ันนำเจลประคบเย็นทีไ่ ดไ้ ปศึกษาความสามารถในการกักเก็บความ
เยน็ ในขนั้ ตอนตอ่ ไป

อุณหภูมิ(องศา) 21

2. ศกึ ษาประสทิ ธิภาพของเจลประคบเยน็ และสารกอ่ เจลต่อสมบัติการเก็บความเย็น
2.1 ผลการศึกษาประสิทธิภาพของเจลประคบเย็นจากน้ำ 100 กรัม ผสมกับสารก่อเจล 2 และ 3 กรัม

ตามลำดบั ต่อสมบัติการเก็บความเย็น
จากการนําน้ำปริมาณ 100 กรัมมาผสมกับสารก่อเจล ที่ปริมาณ 2 และ 3 กรัมตามลำดับ มาทดสอบ

ความสามารถในการเก็บความเย็นของเจลประคบเย็นที่ได้ ทำการทดสอบโดยการวางทิ้งไว้ที่อุณหภูมิห้อง และ
บันทึกผลอุณหภูมทิ ุกๆ 5 นาที จนกระทง่ั อุณหภูมิคงท่ี ได้ผลการทดลองดงั ตาราง

ตารางที่ 4. ผลของประสิทธิภาพในการเกบ็ ความเย็นของเจลประคบเย็นจากน้ำ 100 กรัม ที่ปริมาณสารก่อ
เจล 0, 2 และ 3 กรัม ตามลำดับ

เวลา (นาท)ี 5 10 15 20 25 30 35 40 45 50 55 60 65 70 75 80 85 90 95 100
นำ้ (องศา) 6 11 13 16 18 19 21 22 23 24 24 24 25 26 26 26 26 26 26 26
นำ้ 100+สาร 2 5 8 11 14 16 18 21 22 23 24 24 24 25 25 25 26 26 26 26
2 (กรมั )
นำ้ 100+สาร 4 6 9 11 14 16 18 19 20 21 22 24 24 24 25 25 26 26 26 26
3 (กรมั )

30

25

20

15

10

5

0
5 10 15 20 25 30 35 40 45 50 55 60 65 70 75 80 85 90 95 100
เวลา(นาท)ี
นา้ นา้ 100 + สารกอ่ เจล 2 นา้ 100 + สารกอ่ เจล 3

รูปที่ 1 ผลของประสิทธิภาพในการเก็บความเย็นของเจลประคบเย็นจากน้ำ 100 กรัม ที่ปริมาณสารก่อเจล 0, 2
และ 3 กรัม ตามลำดบั
หมายเหตุ อณุ หภูมิคงที่ แสดงวา่ ประสิทธิภาพการเก็บความเยน็ สน้ิ สุด

22

จากผลการทดสอบความสามารถในการเก็บความเยน็ ของเจลประคบเยน็ สตู รนำ้ 100 กรมั ผสมกับสารกอ่ เจล
0 , 2 และ 3 กรมั ตามลำดบั พบวา่ เม่ือต้งั ท้ิงไว้ อุณหภูมิของเจลประคบเย็นจะคอ่ ยๆเพ่ิมสงู ข้ึน จนกระท่ังอณุ หภมู ิ
คงท่เี วลา 65, 70 และ 75 นาที ตามลำดบั ซึ่งแสดงว่าส้นิ สุดเวลาในการกักเก็บความเยน็ แล้ว ผลทไ่ี ดพ้ บวา่ น้ำ100
กรัม ผสมกับสารก่อเจล 2 และ 3 กรัม มีความสามารถในการกักเก็บความเย็นที่ไม่เท่ากัน มีลักษณะเนื้อเจลที่
ใกล้เคียงกัน แต่เมอ่ื เปรยี บเทียบกับเจลประคบเย็นจากว่านหางจระเข้ 100 กรมั และ วา่ นหางจระเข้ 50 กรัมผสม
น้ำ 50 กรัม ผสมสารก่อเจล 2 และ 3 กรัม ตามลำดับ ที่สามารถกักเก็บความเย็นได้นานกว่า ดังนั้นจึงไม่ได้นำ
เจลประคบเย็นจากน้ำ 100 กรมั ไปทำการศึกษาตอ่

2.2 ผลการศึกษาประสิทธิภาพของเจลประคบเย็นจากว่านหางจระเข้ 100 กรัม ผสมกับสารก่อเจล 2

และ 3 กรัม ตามลำดับ ตอ่ สมบัตกิ ารเกบ็ ความเย็น

จากการนําว่านหางจระเข้ปริมาณ 100 กรัมมาผสมกับสารก่อเจล ที่ปริมาณ 2 และ 3 กรัม ตามลำดับ มา
ทดสอบความสามารถในการเก็บความเย็นของเจลประคบเย็นทไี่ ด้ ทำการทดสอบโดยการวางท้งิ ไว้ที่อุณหภูมิห้อง
และบนั ทึกผลอณุ หภมู ิทุกๆ 5 นาที จนกระท่งั อณุ หภูมคิ งที่ ไดผ้ ลการทดลองดงั ตาราง

ตารางที่ 5. ผลของประสิทธิภาพในการเก็บความเย็นของเจลประคบเย็นจากว่านหางจระเข้ 100 กรัม ท่ี
ปริมาณสารก่อเจล 0, 2 และ 3 กรมั ตามลำดับ

เวลา (นาท)ี 5 10 15 20 25 30 35 40 45 50 55 60 65 70 75 80 85 90 95 100
น้ำ (องศา) 6 11 13 16 18 19 21 22 23 24 24 24 25 26 26 26 26 26 26 26
ว่าน100+ 2 5 8 11 14 16 18 21 22 23 24 24 24 25 25 25 26 26 26 26
สาร 2 (กรมั )
4 5 8 10 13 15 17 19 20 21 22 23 24 25 25 25 25 26 26 26
วา่ น100+
สาร 3 (กรัม)

อุณห ูภมิ(องศา) 23

30

25

20

15

10

5

0
5 10 15 20 25 30 35 40 45 50 55 60 65 70 75 80 85 90 95 100
เวลา(นาท)ี

นา้ วา่ น 100 กรมั + สารก่อเจล 2 วา่ น 100 กรมั + สารกอ่ เจล 3

รูปที่ 2 ผลของประสทิ ธิภาพในการเก็บความเย็นของเจลประคบเย็นจากวา่ นหางจระเข้ 100 กรัม ท่ปี รมิ าณสาร
กอ่ เจล 0, 2 และ 3 กรัม ตามลำดับ

หมายเหตุ อุณหภูมคิ งที่ แสดงวา่ ประสิทธภิ าพการเก็บความเยน็ ส้ินสุด

จากสูตรว่านหางจระเข้ 100 กรัม ผสมกับสารก่อเจล 0 , 2 และ 3 กรัม ตามลำดับ พบว่าเมื่อต้งั ทิ้งไว้
อุณหภูมิของเจลประคบเย็นจะค่อยๆเพิ่มสูงขึ้นขึ้น จนกระทั่งอุณหภูมิคงที่ โดยสูตรเจลว่านหางจระเข้ 100 กรัม
ผสมกับสารกอ่ เจล 3 กรัม สามารถเก็บความเย็นไดน้ านทีส่ ุดท่ี 85 นาที รองลงมาคือสูตรเจลว่านหางจระเข้ 100
กรัม ผสมกบั สารกอ่ เจล 2 สามารถเก็บความเย็นไดน้ าน 70 นาที และน้ำสามารถเก็บความเย็นได้น้อยสดุ คอื ที่เวลา
65 นาที แต่เม่อื เปรียบเทียบกับเจลประคบเยน็ จากว่านหางจระเข้ 50 กรมั ผสมนำ้ 50 กรัม ผสมสารกอ่ เจล 2 และ
3 กรัม ทมี่ คี วามสามารถกกั เกบ็ ความเยน็ ได้ดีเท่ากัน ดังน้ันผู้จดั ทำจึงไม่ไดน้ ำสูตรเจลว่านหางจระเข้ 100 กรัม ไป
ทำการศึกษาตอ่ เนอื่ งจากเจลประคบเยน็ สูตรเจลว่านหางจระเข้ 50 กรมั ผสมนำ้ 50 กรัม ประหยัดต้นทนุ มากกว่า
ทางผจู้ ัดทำจึงไม่ไดน้ ำเจลประคบเยน็ จากวา่ นหางจระเข้ 100 กรัมไปทำการศกึ ษาตอ่

24

2.3 ผลการศึกษาประสิทธภิ าพของเจลประคบเย็นจากว่านหางจระเข้ 50 กรัม ผสมกับน้ำ 50 กรัม กับ
สารกอ่ เจล 2 และ 3 กรมั ตามลำดับ ต่อสมบตั ิการเก็บความเย็น

จากการนําว่านหางจระเข้ปริมาณ 50 กรัมผสมน้ำ 50 กรัม มาผสมกับสารก่อเจล ที่ปริมาณ 2 และ 3
กรัม ตามลำดับ มาทดสอบความสามารถในการเกบ็ ความเยน็ ของเจลประคบเย็นทีไ่ ด้ ทำการทดสอบโดยการวาง
ท้ิงไว้ท่ีอณุ หภมู หิ ้อง และบันทกึ ผลอณุ หภมู ทิ ุกๆ 5 นาที จนกระทั่งอณุ หภมู คิ งท่ี ไดผ้ ลการทดลองดังตาราง

ตารางที่ 6. ผลของประสิทธิภาพในการเก็บความเย็นของเจลประคบเย็นจากวา่ นหางจระเข้ 50 กรัมผสมนำ้
50 กรัม ทปี่ ริมาณสารก่อเจล 0, 2 และ 3 กรัม ตามลำดับ

เวลา (นาท)ี 5 10 15 20 25 30 35 40 45 50 55 60 65 70 75 80 85 90 95 100
น้ำ (องศา) 6 11 13 16 18 19 21 22 23 24 24 24 25 26 26 26 26 26 26 26
2 5 8 11 14 16 18 21 22 23 24 24 24 25 25 25 26 26 26 26
วา่ น50+นำ้ 50
สาร 2 (กรมั ) 4 5 8 10 13 15 17 19 20 21 22 23 24 24 25 25 25 26 26 26

ว่าน50+น้ำ
สาร 3 (กรัม)

30

25

20

15

10

5

0
5 10 15 20 25 30 35 40 45 50 55 60 65 70 75 80 85 90 95 100
นา้ ว่านหา่ งจระเข้ 50 + นา้ 50 + สารก่อเจล 2 ว่านหางจระเข้ 50 + นา้ 50 + สารก่อเจล 3

รูปท่ี 3 ผลของประสิทธิภาพในการเก็บความเยน็ ของเจลประคบเยน็ จากวา่ นหางจระเข้ 50 กรมั และน้ำ 50 กรัม ที่
ปริมาณสารก่อเจล 0, 2 และ 3 กรมั ตามลำดับ
หมายเหตุ อณุ หภูมิคงท่ี แสดงวา่ ประสิทธภิ าพการเก็บความเยน็ สนิ้ สุด

25

จากสูตรว่านหางจระเข้ 50 กรมั ผสมน้ำและสารกอ่ เจล 0 , 2 และ 3 กรัม ตามลำดบั พบว่าเม่อื ตัง้ ท้งิ ไว้
เมื่อเวลาผ่านไป พบว่าอุณหภูมิของเจลก่อเย็นค่อยๆเพิ่มมากขึ้น โดยเจลประคบเย็นสูตรว่านหางจระเข้ 50 กรัม
ผสมน้ำและสารก่อเจล 3 กรัม สามารถเก็บความเย็นได้ดีที่สุด ที่เวลา 85 นาที รองลงมาคือเจลประคบเย็นสูตร
ว่านหางจระเข้ 50 กรัม ผสมน้ำ 50 กรัมและสารก่อเจล 2 กรัม สามารถเก็บความเย็นได้นาน 70 จากผลการ
ทดสอบพบว่าเจลประคบเย็นจากว่านหางจระเข้ 50 กรัมผสมน้ำ 50 กรัม ที่ผสมสารก่อเจล 2 และ 3 กรัม มีค่า
ความสามารถในการเก็บความเย็นที่ใกล้เคียงกัน แต่มีลักษณะเนื้อเจลที่คล้ายคลึงกัน โดยที่ปริมาณสารก่อเจล 3
กรัม มีความนุ่มและคืนรูปได้ดีกว่า เพื่อเป็นการลดต้นทุนและประหยัดสารเคมีที่ใช้ ดังนั้นทางผู้จัดทำจึงนำเจล
ประคบเย็นจากวา่ นหางจระเข้ 50 กรัมผสมน้ำ 50 กรัม ผสมสารก่อเจล 3 กรัม ไปสร้างเป็นเจลประคบเย็นและ
นำไปทำการศึกษามาเปรียบเทียบความสามารถในการเก็บความเย็นกับเจลประคบเย็นที่มีขายในท้องตลาดใน
ขั้นตอนต่อไป

3. ผลการศึกษาประสทิ ธิภาพของเจลประคบเยน็ จากว่านหางจระเข้ 50 กรมั ผสมกบั น้ำ 50 กรมั กับสารก่อ
3 กรัม และเกลือในปริมาณต่างๆ ต่อสมบัติการเก็บความเย็นและราคาเทียบกับเจลประคบเย็นที่ขายใน
ท้องตลาด

จากการนาํ เจลว่านหางจระเข้ปริมาณ 50 กรมั ผสมกับนำ้ 50 กรัม และสารกอ่ เจล 3 กรัม และเจลประคบ
เย็นที่มีขายในท้องตลาด ในปริมาณน้ำหนักที่เท่ากัน มาทดสอบความสามารถในการเก็บความเย็น โดยทำการ
ทดสอบด้วยการวางทิ้งไว้ที่อุณหภูมิห้อง และบันทึกผลอุณหภูมิทุกๆ 5 นาที จนกระทั่งอุณหภูมิคงที่ ได้ผลการ
ทดลองดังตาราง

ตารางที่ 7. ผลของประสิทธิภาพในการเกบ็ ความเย็นของเจลประคบเย็นจากว่านหางจระเข้ 50 กรัมผสมน้ำ

50 กรมั ท่ีปริมาณสารก่อเจล 3 กรัม และเกลอื ในปริมาณต่าง ๆ เทยี บกับเจลประคบเย็นทมี่ ีขายในท้องตลาด

เวลา (นาที) 5 10 15 20 25 30 35 40 45 50 55 60 65 70 75 80 85 90 95 100

เจลประคบเยน็ จากวา่ น

50+น้ำ50 สาร 3 + 4 8 14 16 18 20 21 22 23 24 25 25 25 26 26 26 26 26 26 26

เกลอื 5 กรัม

เจลประคบเยน็ จากว่าน 1 3 6 9 11 15 16 18 20 21 22 23 25 25 25 25 25 26 26 26
50+น้ำ50 สาร 3 +

เกลือ 10 กรัม

เจลประคบเยน็ จากว่าน

50+นำ้ 50 สาร 3 + 1 4 7 9 12 15 17 19 20 21 22 23 24 26 26 26 26 26 26 26

เกลอื 15 กรมั

เจลประคบเย็นจากวา่ น

50+น้ำ50 สาร 3 + 1 3 5 8 11 14 16 17 19 20 21 22 23 24 26 26 26 26 26 26

เกลอื 20 กรมั

เจลประคบเย็นใน 1 2 4 7 10 12 15 16 18 19 20 21 23 24 26 26 26 26 26 26
ท้องตลาด

26

อุณหภมิ(องศา) 30

25

20

15

10

5

0
5 10 15 20 25 30 35 40 45 50 55 60 65 70 75 80 85 90 95 100
เวลา(นาท)ี

ว่าน50+นา้ 50+สาร2+เกลือ5 วา่ น50+นา้ 50+สาร3+เกลอื 10 วา่ น50+นา้ 50+สาร3+เกลือ15
วา่ น50+นา้ 50+สาร3+เกลอื 20 เจลทอ้ งตลาด

รปู ที่ 4 ผลของประสิทธภิ าพในการเก็บความเยน็ ของเจลประคบเยน็ จากวา่ นหางจระเข้ 50 กรัมผสมน้ำ 50 กรมั
ทปี่ รมิ าณสารก่อเจล 3 กรัมและเกลอื 20 กรัม เทียบเท่ากับเจลประคบเยน็ ท่มี ีขายในท้องตลาด อุณหภมู ิคงท่ี ที่
เวลา 90 นาที
หมายเหตุ อุณหภมู คิ งท่ี แสดงว่า ประสทิ ธิภาพการเก็บความเย็นสิ้นสุด

ตารางท่ี 8 เปรยี บเทยี บราคาของเจลประคบเย็นจากว่านหางจระเข้ 50 กรมั ผสมนำ้ 50 กรมั ท่ีปริมาณสารกอ่ เจล
3 กรมั กบั เจลประคบเยน็ ที่ขายในท้องตลาด

ชนิดของเจลประคบเย็น ราคา (บาท)
เจลประคบเยน็ จากวา่ นหางจระเข้50กรัมผสมกบั นำ้ 50
50 และสารก่อเจล 3 กรมั และเกลือ 20 กรัม

เจลประคบเย็นทีข่ ายในท้องตลาด 199

จากการเปรยี บเทียบผลการเก็บความเยน็ ของเจลประคบเย็น พบวา่ เจลประคบเย็นทม่ี ีขายในท้องตลาดมี

ประสทิ ธภิ าพในการเก็บความเย็นไดเ้ ท่ากนั กับเจลประคบเยน็ จากว่านหางจระเข้ 50 กรัมผสมน้ำ 50 กรัม ปรมิ าณ

สารก่อเจล 3 กรัมและเกลอื 20 กรมั ที่เวลา 90 นาที แตเ่ ม่ือเปรยี บเทยี บราคา พบว่า ราคาเจลประคบเยน็ จาก

ทอ้ งตลาดมีราคาท่ีแพงกวา่ เกือบ 4 เท่า ดังนนั้ เจลประคบเย็นจากว่านหางจระเข้ 50 กรมั ผสมน้ำ 50 กรมั ท่ี

27

ปริมาณสารก่อเจล 3 กรมั เกลอื 20 กรัม จึงเป็นอกี ทางเลอื กที่ดีในการลดคา่ ใช้จ่ายในการซอื้ เจลประคบเย็นของ
ทางโรงเรยี นหรือนำไปใชใ้ นครวั เรอื นทวั่ ไปได้

4. ผลการศกึ ษาความพงึ พอใจของผใู้ ช้ผลิตภณั ฑ์

จากผลการนำผลิตภณั ฑเ์ จลประคบเยน็ ท่ีผลิดจากว่านหางจระเข้ 50 กรัมผสมน้ำ 50 กรมั ทปี่ ริมาณสาร
กอ่ เจล 3 กรมั เกลือ 20 กรมั ไปให้กลมุ่ นกั เรยี นทเ่ี ปน็ นางรำโรงเรียนเทศบาลตำบลบางเตยใช้จำนวน 10 คน โดย
ใช้ในการประคบเพอื่ ลดความบาดเจบ็ ของกล้ามเนื้อ ไดผ้ ลการสอบถามดังตาราง

ตารางที่ 9 ผลการสอบถามความพงึ พอใจของผู้ใช้เจลประคบเยน็ ทีผ่ ลติ จากว่านหางจระเข้ 50 กรัมผสม
นำ้ 50 กรัม สารก่อนเจล 3 กรัม และเกลือ 20 กรมั

ระดบั ความพึงพอใจ

ประเดน็ ท่ีสอบถาม 1 2 3 4 5

(พอใจน้อยท่ีสุด) (พอใจน้อย) (พอใจปานกลาง) (พอใจมาก) (พอใจมากที่สดุ )

1. ความสะดวกใน 8

การใชง้ าน เมือ่ ไดร้ บั 5

บาดเจ็บจากการเลน่ 2 4

กฬี า เชน่ ชว่ ยลด

อาการบวมช้ำ

2. ความสะดวกในการ

พกพาและเกบ็ รกั ษา 5

เมอื่ ใชง้ านเสร็จ

3. ราคาที่จัดจำหนา่ ย

หากจำหนา่ ยในราคา 6
60 บาท ทีส่ หกรณ์

โรงเรยี น

หมายเหตุ คะแนนเฉลย่ี 4.51 - 5.00 หมายถงึ พงึ พอใจมากทส่ี ุด

คะแนนเฉลีย่ 3.51 - 4.50 หมายถึง พงึ พอใจมาก

คะแนนเฉลี่ย 2.51 - 3.50 หมายถึง พงึ พอใจปานกลาง

คะแนนเฉลย่ี 1.51 - 2.50 หมายถงึ พงึ พอใจน้อย

คะแนนเฉลี่ย 1.00 - 1.50 หมายถงึ พงึ พอใจนอ้ ยท่สี ดุ

28

จากผลการสอบถามความพึงพอใจ พบว่าผ้ทู เี่ คยใชเ้ จลประคบเย็นจากว่านหางจระเข้ 50 กรัมผสมนำ้ 50
กรัม ที่ปริมาณสารกอ่ เจล 3 กรัม เกลือ 20 กรัม มคี วามพึงพอใจเรอื่ งความสะดวกในการใช้งาน เมอ่ื ได้รับบาดเจ็บ
จากการเลน่ กฬี า เชน่ ช่วยลดอาการบวมชำ้ มากทส่ี ดุ มีคะแนนเฉลีย่ 4.8 อยู่ในเกณฑ์พงึ พอใจมากท่ีสุด รองลงมา
คือความสะดวกในการพกพาและเก็บรักษาเมื่อใช้งานเสร็จ มีคะแนนเฉลี่ย 4.5 อยู่ในเกณฑ์พึงพอใจมาก และ
ราคาทจ่ี ัดจำหน่าย หากจำหนา่ ยในราคา 50 บาท ทีส่ หกรณ์โรงเรยี น คะแนนเฉล่ีย 4.4 อยู่ในเกณฑพ์ ึงพอใจมาก
ซง่ึ ผลการสอบถามความพงึ พอใจเฉลี่ยท่ี 4.57 อย่ใู นเกณฑ์พึงพอใจมากท่ีสดุ

29

บทท่ี 5
สรุปผลการดำเนินโครงงานและข้อเสนอแนะ

จากการที่คณะผู้จัดทำ ได้ศึกษาการเตรียมเจลประคบเย็น และศึกษาประสิทธิภาพการกักเกบ็ ความเยน็
จากว่านหางจระเข้ พบว่า เจลประคบเย็นจากว่านหางจระเข้ 50 กรัม ผสมกับน้ำ 50 กรัม สารก่อเจล 3 กรัม
เกลือ 20 กรมั ใหป้ ระสิทธิภาพการกกั เกบ็ ความเยน็ เทยี บเท่ากบั เจลประคบเยน็ ที่มีขายตามทอ้ งตลาดโดยสามารถ
กักเก็บความเย็นได้นานที่สุด 90 นาที ดังนั้นเจลประคบเย็นที่ทางผู้จัดทำสร้างขึ้น มีคุณภาพที่ใกล้เคียง
และสามารถทดแทน เจลประคบเยน็ ที่มีขายตามทอ้ งตลาดได้

และจากการสอบถามความพึงพอใจของผู้ใชง้ าน พบวา่ ผทู้ เี่ คยใช้เจลประคบเย็นจากว่านหางจระเข้ 50
กรัมผสมน้ำ 50 กรัม ที่ปริมาณสารก่อเจล 3 กรัม เกลือ 20 กรัม มีความพึงพอใจเร่ืองความสะดวกในการใชง้ าน
เมอ่ื ไดร้ ับบาดเจ็บจากการเล่นกีฬา เช่น ช่วยลดอาการบวมช้ำ มากทีส่ ุด มีคะแนนเฉลี่ย 4.8 อย่ใู นเกณฑ์พึงพอใจ
มากที่สดุ รองลงมาคอื ความสะดวกในการพกพาและเก็บรักษาเมื่อใช้งานเสรจ็ มีคะแนนเฉล่ยี 4.5 อยใู่ นเกณฑ์พึง
พอใจมาก และราคาที่จัดจำหน่าย หากจำหน่ายในราคา 60 บาท ที่สหกรณ์โรงเรียน คะแนนเฉลี่ย 4.4 อยู่ใน
เกณฑพ์ ึงพอใจมาก ซ่งึ ผลการสอบถามความพึงพอใจเฉลย่ี ท่ี 4.57 อยู่ในเกณฑพ์ ึงพอใจมากทส่ี ดุ

ประโยชน์ทไ่ี ดร้ บั จากโครงงาน
1. ได้ศกึ ษาคุณสมบัติของแผน่ เจล (Aloe vara) ปฐมพยาบาลเบื้องต้น
2. ไดศ้ ึกษาประสทิ ธภิ าพการลดอุณหภมู ขิ องแผ่นเจล (Aloe vara) ปฐมพยาบาลเบื้องต้น
3. ได้ศกึ ษาความพงึ พอใจของนกั เรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 – 3

ข้อเสนอแนะ
1. ในคร้ังตอ่ ไปจะทำการเตรียมเจลวา่ นหางจระเข้ทไี่ ด้ นำไปใชก้ ับจำนวนคนทมี่ ากขนึ้ เชน่ นำไปใช้ที่
หอ้ งพยาบาล หรอื นักกีฬาประเภทต่าง ๆ เพื่อสอบความพึงพอใจ และนำไปพฒั นาตอ่ ไป
2. เพ่อื พฒั นาเจลประคบเยน็ จากว่านหางจระเข้เป็นผลิตภัณฑต์ ่างๆทหี่ ลากหลาย


Click to View FlipBook Version