The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by น๊อตโตะ ไรเดอร์, 2023-01-20 04:44:32

สารสนเทศ 65

สารสนเทศ 65

สารสนเทศ โรงเรีย รี นเลิงลินกทา ปีก ปี ารศึก ศึ ษา 2565 สำ นักนังานเขตพื้นพื้ที่การศึกษามัธมัยมศึกษาศรีสรีะเกษ ยโสธร Loengnoktha School สำ นักนังานคณะกรรมการการศึกษาขั้นขั้พื้นพื้ฐาน กระทรวงศึกษาธิกธิาร


สารสน เท ศ โรง เรีย น เลิง น ก ทา


ค ำน ำ เอกสารสารสนเทศโรงเรียนเลิงนกทา ได้รวบรวมและจัดท าเป็นรูปเล่ม เพื่อประโยชน์ ในการประมวลผล เป็นแนวทางในการบริหารจัดการ การวางแผน การก าหนดนโยบาย กลยุทธ์ จุดเน้น อันจะน าไปสู่การพัฒนาการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (SBM. : School-BaseManagement) การพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา พ.ศ. 2552 รวมทั้งคุณภาพผู้เรียนที่ได้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เอกสารสารสนเทศโรงเรียนเลิงนกทา ปีการศึกษา 2565 นี้ ประกอบด้วยข้อมูลทั่วไป ของสถานศึกษา แนวการจัดการศึกษาโรงเรียนเลิงนกทา สารสนเทศด้านนักเรียน ด้านบุคลากร และเกียรติยศแห่งความภาคภูมิใจในการบริหารจัดการโรงเรียน ตลอดจนผลการด าเนินงานในรอบปี การศึกษา ที่ผ่านมา ซึ่งมีรายละเอียดของข้อมูล สถิติที่มีความชัดเจน อันจะน าไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ขอขอบคุณคณะกรรมการบริหารโรงเรียน ขอบคุณคณะครูที่ปฏิบัติงานในกลุ่มบริหาร 4 กลุ่ม บริหาร กลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ 1 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน คณะครูบุคลากรทางการศึกษาและ นักเรียนโรงเรียนเลิงนกทา และผู้เกี่ยวข้องที่ให้ความร่วมมือในการรวบรวมข้อมูล และประมวลผล เพื่อให้เอกสารสารสนเทศของโรงเรียนมีความสมบูรณ์ และเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาผู้เรียนเป็นข้อมูล พื้นฐานในการวางแผนพัฒนางาน รวมทั้งเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน เลิงนกทา ให้มีคุณภาพยิ่ง ๆ ขึ้น ในปีการศึกษาต่อไป งานสารสนเทศโรงเรียนเลิงนกทา


สำรบัญ เรื่อง หน้ำ บทที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของสถานศึกษา 1 ข้อมูลทั่วไป 1 ข้อมูลด้านการบริหาร 1 ประวัติโรงเรียน 3 สัญลักษณ์โรงเรียน 3 อักษรย่อโรงเรียน 3 สีประจ าโรงเรียน 4 ค าขวัญ 4 ปรัชญาโรงเรียน 5 พระพุทธรูปประจ าโรงเรียน 5 เอกลักษณ์ของโรงเรียนเลิงนกทา 5 อัตลักษณ์ของโรงเรียนเลิงนกทา 5 อาคารสถานที่ 5 สภาพทั่วไป 9 โครงสร้างการบริหารงาน 13 รายชื่อผู้บริหารสถานศึกษา 14 คณะผู้บริหารชุดปัจจุบัน 14 คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ประจ าปี 2563-2567 16 คณะกรรมการบริหารเครือข่ายผู้ปกครองระดับโรงเรียน 17 คณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองเครือข่ายระดับชั้น แต่ละระดับชั้น 17 บทที่ 2 แนวการจัดการศึกษาโรงเรียนเลิงนกทา 21 วิสัยทัศน์ 21 พันธกิจ 21 ค่านิยมของโรงเรียนเลิงนกทา 21 เป้าประสงค์หลัก (Goals) 22


สำรบัญ (ต่อ) เรื่อง หน้ำ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนโรงเรียนเลิงนกทา 22 กลยุทธ์โรงเรียน 22 หลักการส าคัญ 24 จุดเน้น 24 ผลผลิต 25 แผนการเรียน การจัดการเรียนการสอนโรงเรียนเลิงนกทา 25 โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา 28 แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น 43 แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน 44 แหล่งเรียนรู้ภายนอกโรงเรียน 50 บทที่ 3 ข้อมูลด้านบุคลากร 51 ข้อมูลส่วนตัว/ประวัติการรับราชการของผู้บริหารสถานศึกษา วันเดือนปีเกิด/อายุ/วันบรรจุเข้ารับราชการ 51 ข้อมูลส่วนตัว/ประวัติการรับราชการของข้าราชการครู วันเดือนปีเกิด/อายุ/วันบรรจุเข้ารับราชการ 51 ข้อมูลส่วนตัว/ประวัติการรับราชการของข้าราชการครู วันเดือนปีเกิด/อายุ/อายุราชการของพนักงานราชการ 70 ข้อมูลส่วนตัว/ประวัติการรับราชการของข้าราชการครูวันเดือนปีเกิด/ อายุ/อายุการปฏิบัติงานของครูพิเศษ/พนักงานสนับสนุนการสอน 58 ข้อมูลส่วนตัว/ประวัติการรับราชการของข้าราชการครูวันเดือนปีเกิด/ อายุ/อายุการปฏิบัติงาน พนักงานสนับสนุนการสอน 59 ข้อมูลส่วนตัว/ประวัติการรับราชการของข้าราชการครูวันเดือนปีเกิด/ อายุ/ อายุปฏิบัติงาน Lab Boy 60 ข้อมูลส่วนตัว/ประวัติการรับราชการของข้าราชการครูวันเดือนปีเกิด/ อายุ/ อายุราชการของเจ้าหน้าที่ธุรการ 60


สำรบัญ (ต่อ) เรื่อง หน้ำ ข้อมูลส่วนตัว/ประวัติการรับราชการของข้าราชการครูวันเดือนปีเกิด/ อายุ/ อายุการปฏิบัติงานของลูกจ้างประจ า 60 ข้อมูลส่วนตัว/ประวัติการรับราชการของข้าราชการครูวันเดือนปีเกิด/ อายุ/ อายุการปฏิบัติงานของลูกจ้างชั่วคราว 61 ข้อมูลแสดงวุฒิการศึกษา/สาขาการศึกษาของผู้บริหาร 62 ข้อมูลแสดงวุฒิการศึกษา/สาขา/วิชาเอกของข้าราชการครู 62 ข้อมูลแสดงวุฒิการศึกษา/อายุ/วิชาเอกของพนักงานราชการ/ครูอัตราจ้าง พนักงานสนับสนุนการสอน/เจ้าหน้าที่ธุรการ/ลูกจ้างประจ า/ลูกจ้างชั่วคราว 69 ข้อมูล E-Mail address ของบุคลากรทางการศึกษา 71 บทที่ 4 ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลทดสอบระดับชาติ 78 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ทุกระดับชั้น(ม.1-ม.6) ปีการศึกษา 2564 78 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนปีการศึกษา 2563 และ 90 ปีการศึกษา 2564 ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับชาติ ประจ าปีการศึกษา 2564 95 ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ ปีการศึกษา 2564 97 ผลการประเมินการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน ปีการศึกษา 2564 98 ผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ปีการศึกษา 2564 99 ผลการประเมินสมรรถนะส าคัญ ปีการศึกษา 2564 100 ข้อมูลการจบการศึกษานักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 และระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2564 106 บทที่ 5 เกียรติยศแห่งความภาคภูมิใจ 108 เกียรติยศแห่งความภาคภูมิใจ ระดับสถานศึกษา 108 เกียรติยศแห่ง ความภาคภูมิใจ สายงานครูผู้สอน 109 เกียรติยศและความภูมิใจ ในความส าเร็จของนักเรียน 110


สำรบัญ (ต่อ) เรื่อง หน้ำ ความภาคภูมิใจกับความส าเร็จในการสอบศึกษาต่อ ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเลิงนกทา ปีการศึกษา 2564 112 สรุปข้อมูลการศึกษาต่อของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่3 โรงเรียนเลิงนกทา ปีการศึกษา 2564 128 ความภาคภูมิใจกับความส าเร็จในการสอบศึกษาต่อ การประกอบอาชีพของนักเรียนโรงเรียนเลิงนกทา ปีการศึกษา 2564 164 สรุปข้อมูลการศึกษาต่อของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2564 164 ข้อมูลการได้รับทุนการศึกษาของนักเรียนโรงเรียนเลิงนกทา ปีการศึกษา 2564 167


1 บทที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของสถานศึกษา 1. ข้อมูลทั่วไป ชื่อ โรงเรียนเลิงนกทา ที่ตั้ง 299 หมู่ที่ 12 ต าบล สามแยก อ าเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร สังกัด ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ศรีสะเกษ ยโสธร โทร 0– 4578-1116 โทรสาร 0-4578-1986 e-mail lnschool๐[email protected] website http://www.ln.ac.th เปิดสอนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เนื้อที่ 36 ไร่ 1 งาน 60 ตารางวา เขตพื้นที่บริการ 7 โรงเรียน ได้แก่ เขตพื้นที่บริการโรงเรียนบ้านตาดบกศรีสมพร โรงเรียนอนุบาลเลิงนกทา โรงเรียนเทศบาลเลิงนกทา โรงเรียนบ้านแยประชาสรรค์ โรงเรียนบ้านโป่งหนองสิม โรงเรียนบ้านนาจาน โรงเรียนบ้านกุดโจด 1.1 ตั้งอยู่เลขที่ 299 หมู่ที่ 12ต าบลสามแยก อ าเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร รหัสไปรษณีย์35120 โทรศัพท์ 045-781116 - โทรสาร 045-781986 http://www. ln.ac.th สังกัด ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาศรีสะเกษ ยโสธร สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ 1.2 เปิดสอนตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 1.3 มีเขตพื้นที่บริการระดับม.ต้น 11 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านสามแยก บ้านคึมชาดตาดบกศรีสมพร บ้านกุดแห่ บ้านกุดคอก่านโคกส าราญ บ้านโป่งหนองสิม บ้านสวาท บ้านดอนฮี บ้านม่วงกาชัง บ้านแย บ้านพรหมนิยม และบ้านกุดโจด


2 2. ข้อมูลด้านการบริหาร 2.1 ผู้อ านวยการโรงเรียน นายบุญมี พุ่มจันทร์ วุฒิการศึกษา ศษ.ม. ( การบริหารการศึกษา ) วิชาเอก การบริหารการศึกษา ด ารงต าแหน่ง ที่ โรงเรียนเลิงนกทา ตั้งแต่วันที่ 26 ตุลาคม 2563 จนถึงปัจจุบัน 2.2 รองผู้อ านวยการ จ านวน 4 คน 1) นายเสรี สามาอาพัฒน์ วุฒิการศึกษา ศษ.ม. (การบริหารการศึกษา) ปฏิบัติหน้าที่บริหารกลุ่ม บริหารงบประมาณ 2) นางอรุณี แก้วใส วุฒิการศึกษา ศษ.ม. (การบริหารการศึกษา) ปฏิบัติหน้าที่บริหาร กลุ่มบริหารทั่วไป 3) นายปริวัฒ เสาะแสวง วุฒิการศึกษา ศษ.ม. (การบริหารการศึกษา) ปฏิบัติหน้าที่บริหาร กลุ่มบริหารบุคคล 4) นางกุสุมาลย์ สมประสงค์ วุฒิการศึกษา กศ.ม. (การบริหารการศึกษา) ปฏิบัติหน้าที่บริหารกลุ่ม บริหารงานวิชาการ 2.3 หัวหน้ากลุ่มบริหาร จ านวน 5 คน ดังนี้ 1) นายอภิชาต สีหาราช วุฒิการศึกษา (ค.บ. สังคมศึกษา ) ปฏิบัติหน้าที่ หัวหน้ากลุ่มบริหารบุคคล 2) นางสุภัทรา บุญยิ่ง วุฒิการศึกษา ( ศษ.ม. หลักสูตรและการสอน ) ปฏิบัติหน้าที่ หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ 3) นายไพศาล ฝนกระโทก วุฒิการศึกษา ( ศษ.ม. การบริหารการศึกษา) ปฏิบัติหน้าที่หัวหน้า กลุ่มบริหารทั่วไป 4) นายธัญฐกรณ์ ศิวประสิทธิ์กุล วุฒิการศึกษา ( ศษ.ม. การบริหารการศึกษา) ปฏิบัติหน้าที่หัวหน้ากลุ่มบริหารงบประมาณงบประมาณ 5) นายชัยชนะ ศรีอุบล วุฒิการศึกษา ศษ.ม.( การบริหารการศึกษา) ปฏิบัติหน้าที่ผู้ช่วย ผู้อ านวยการฝ่ายกิจการนักเรียน


3 3. ประวัติของโรงเรียน โรงเรียนเลิงนกทา ก่อตั้งเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2514 โดยใช้ศาลาวัดเขมไชยาราม (วัดใต้) และต่อมาเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2514 ได้ย้ายมาอยู่ทางทิศใต้ของถนนทยาปัสสา หมู่บ้านภูดิน เลขที่ 299 หมู่ 12 ต าบลสามแยก อ าเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร สถานที่ตั้งโรงเรียน เลิงนกทา เป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า “โนนภูดิน” มีเนื้อที่ทั้งหมด 36 ไร่ 1 งาน 60 ตารางวา อาคารเรียน หลังแรกเป็นอาคารไม้ชั้นเดียว ซึ่งบรรดาพ่อค้า ประชาชนตลาดบ้านสามแยก และบ้านเลิงเก่า ได้ร่วมกัน บริจาค ส าหรับที่ดินบริเวณนี้ ได้รับบริจาค จาก นายสมสกุล ขุมทอง จ านวน 29 ไร่ นายเวียงชัย นาคสุด และนายสุด วงศ์สุข จ านวน 7 ไร่ 1 งาน 60 ตารางวา มีนายสวาท ไชยสัจ รักษาการครูใหญ่โรงเรียนคน แรก ต่อมาวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2515 กรมสามัญศึกษา ได้มีค าสั่งแต่งตั้ง นายบุญช่วย ธานี ด ารงต าแหน่ง ครูใหญ่คนแรกของโรงเรียนเลิงนกทา และในปีนั้นทางโรงเรียนได้รับงบประมาณการก่อสร้างอาคาร แบบ 216 บ้านพักครูบ้านพักนักการภารโรง อาคารประกอบเพิ่มขึ้นเป็นล าดับ ต าแหน่งผู้บริหารโรงเรียน ได้เลื่อนจาก ครูใหญ่ เป็นอาจารย์ใหญ่ และผู้อ านวยการ ปัจจุบัน ด ารงต าแหน่ง ผู้อ านวยการโรงเรียน 4. สัญลักษณ์โรงเรียน 5. อักษรย่อของโรงเรียน ล.น.


4 6. สีประจ าโรงเรียน “ฟ้า - ขาว” ฟ้า หมายถึง ความใฝ่ฝันอันสูงสุด ขาว หมายถึง ความสะอาดบริสุทธิ์ ความหมาย “ลูกศิษย์ของโรงเรียนเลิงนกทา เป็นผู้มีความใฝ่ฝันอันสูงสุดจะประกอบสัมมาอาชีพ ด้วยความบริสุทธิ์ยุติธรรม” 7.ค าขวัญ รับผิดชอบ รอบรู้ สู้งานดี มีคุณธรรม ความหมาย รับผิดชอบ หมายถึง โรงเรียนมุ่งเน้นให้ผู้เรียนเห็นความส าคัญของการรู้จักบทบาท หน้าที่ที่มีต่อตนเอง และต่อส่วนรวม มีระเบียบวินัย มีความเสียสละ ทั้งด้านการศึกษาหาความรู้ การด าเนินชีวิต ตลอดจนสามารถปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับผู้อื่นในสังคมได้ รอบรู้ หมายถึง โรงเรียนมุ่งเน้นให้ผู้เรียนเห็นความส าคัญของการเรียนรู้ที่หลากหลาย ตั้งใจแสวงหาความรู้มาพัฒนาตนเอง เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ที่ดีตามเกณฑ์มาตรฐานที่สถานศึกษาก าหนด สู้งานดี หมายถึง โรงเรียนมุ่งเน้นให้ผู้เรียนเห็นความส าคัญของความขยัน ความอดทน มุมานะ ตั้งใจเรียน และพร้อมที่จะร่วมท างานกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข มีคุณธรรม หมายถึง โรงเรียนปลูกฝังให้ผู้เรียน ฝึกฝน ปฏิบัติตนให้เป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม เพื่อเป็นแนวทางในการด าเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ส่งเสริมให้ผู้เรียน เห็นคุณค่า ในความเป็นไทย


5 8. ปรัชญาของโรงเรียน ธรรมะ ปัญญา สภาวะ 9. พระพุทธรูปประจ าโรงเรียน พระพุทธศิริ 10. เอกลักษณ์ของโรงเรียนเลิงนกทา นักเรียนเก่ง ครูเยี่ยม เปี่ยมผลงาน 11. อัตลักษณ์ของโรงเรียนเลิงนกทา มีภาวะผู้น า รักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น” ภาวะผู้น า นักเรียนมีความรู้ความสามารถ มีทักษะและพัฒนาตนเอง ด้านคุณธรรม จริยธรรม การส่งเสริมประชาธิปไตย ทั้งในสถานศึกษา เป็นที่ยอมรับของชุมชนและสังคม เป็นผู้น าด้านกีฬา นักเรียน มีความรู้ ความสามารถ และทักษะด้านกีฬาสามารถพัฒนาตนเอง สู่การแข่งขัน ในระดับท้องถิ่นและระดับประเทศ เป็นผู้น าในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น นักเรียนได้รับการพัฒนาและตระหนักในการอนุรักษ์ด้านศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น สามารถพัฒนาตนเอง สู่การแข่งขัน ในระดับท้องถิ่นและระดับประเทศ 12.อาคารสถานที่ ปัจจุบันโรงเรียนเลิงนกทามีพื้นที่ 36 ไร่ 1 งาน 60 ตารางวา เป็นที่ดินราชพัสดุกรรมสิทธิ์ของ โรงเรียน โดยมีอาคารเรียน อาคารประกอบ บ้านพักครู บ้านพักนักการภารโรง ห้องน้ าชายหญิงและบ่อบาดาล ดังนี้ 12.1 อาคารเรียน มี 6 หลัง ดังนี้ 12.1.1) อาคาร 216 ค จ านวน 1 หลัง อาคาร 1 ประกอบด้วย


6 1) ห้องส านักงานกลุ่มบริหารทั่วไป จ านวน 1 ห้อง 2) ห้องส านักงานฝ่ายกิจการนักเรียน จ านวน 1 ห้อง 3) ห้องส านักงานกลุ่มบริหารวิชาการ จ านวน 2 ห้อง 4) ห้องเรียนคอมพิวเตอร์ จ านวน 5 ห้องเรียน 5) ศูนย์เครือข่าย (ศูนย์วิทยบริการ) จ านวน 1 ห้อง 6) ห้องเรียนพิเศษSMTE (ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย) จ านวน 3 ห้องเรียน 7) ห้องปฏิบัติการ SMTE จ านวน 3 ห้อง 8) ห้องเรียนพิเศษ Gifted (ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น) จ านวน 3 ห้องเรียน 9) ห้องส านกงานแนะแนว จ านวน 1 ห้อง (ต่อเติมชั้นล่าง) 10) ห้องสภานักเรียน จ านวน 1 ห้อง 11) ห้องเสริมสวย จ านวน 1 ห้อง (ต่อเติมชั้นล่าง) 12) ห้องครูเวร จ านวน 1 ห้อง (ต่อเติมชั้นล่าง) 13) ห้องธนาคารโรงเรียน จ านวน 1 ห้อง (ต่อเติมชั้นล่าง) 14) ห้องกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 15) ห้องบริการโรเนียวเอกสาร จ านวน 1 ห้อง (ต่อเติมชั้นล่าง) 12.1.2) อาคาร 324 ล/27 จ านวน 1 หลัง อาคาร 2 ประกอบด้วย 1) ห้องส านักงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ จ านวน 2 ห้อง 2) ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์กายภาพ จ านวน 1 ห้อง 3) ห้องปฏิบัติการชีววิทยา จ านวน 1 ห้อง 4) ห้องปฏิบัติการเคมี จ านวน 1 ห้อง 5) ห้องปฏิบัติการฟิสิกส์ จ านวน 1 ห้อง 6) ห้องเรียนปกติ จ านวน 17 ห้องเรียน 7) ห้องเรียนสีเขียว จ านวน 1 ห้องเรียน


7 12.1.3) อาคาร 324 ล/41 (หลังคาทรงไทย) จ านวน 1 หลัง อาคาร 3 ประกอบด้วย 1) ห้องส านักงานกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ จ านวน 1 ห้อง 2) ห้องส านักงานกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย จ านวน 1 ห้อง 3) ห้องเรียนภาษาจีน จ านวน 1 ห้องเรียน 4) ห้องเรียนพิเศษ SEP จ านวน 4 ห้องเรียน 5) ห้องเรียนปกติ จ านวน 16 ห้องเรียน 6) ห้องส านักงานกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ จ านวน 3 ห้อง (ต่อเติมระเบียง ทั้ง 3 ชั้น ของอาคาร) 7) ห้องศูนย์พัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทยฯ จ านวน 1 ห้อง (ต่อเติมระเบียงชั้นที่ 2 ของอาคาร ) 8) ห้องเรียนปกติกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ จ านวน 2 ห้อง (ต่อเติมชั้นล่าง จ านวน 2 ห้องเรียน) 9) ห้องเรียนภาษาจีน จ านวน 2 ห้องเรียน (ต่อเติมชั้นล่างของอาคาร) 10) ห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติกาญจนาภิเษก จ านวน 1 ห้อง 12.1.4) อาคาร 216ล/57ก จ านวน 1 หลัง อาคาร 4 ประกอบด้วย 1) กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม จ านวน 2 ห้อง 2) ห้องพระพุทธศาสนา จ านวน 1 ห้อง 3) ห้องศูนย์การเรียนรู้อาเซียน จ านวน 1 ห้อง 4) ห้องเรียนปกติ จ านวน 12 ห้องเรียน 12.1.5) อาคาร 216 ล ปรับปรุง 46 จ านวน 1 หลัง อาคาร 5 ประกอบด้วย 1) ห้องส านักงานกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ จ านวน 1 ห้อง 2) ห้องเรียนพิเศษ (AP) จ านวน 6 ห้องเรียน 3) ห้องเรียนปกติ จ านวน 9 ห้องเรียน


8 4) ห้องพยาบาล(ต่อเติมชั้นล่าง) จ านวน 1 ห้อง 5) ห้องผู้อ านวยการโรงเรียน(ต่อเติมชั้นล่าง) จ านวน 1 ห้อง 6) ห้องส านักงานกลุ่มบริหารบุคคล (ต่อเติมชั้นล่าง) จ านวน 1 ห้อง 7) ห้องส านักงานกลุ่มบริหารงบประมาณ(ต่อเติมชั้นล่าง) จ านวน 1 ห้อง 8) ห้องน้ าชั้นล่างในตัวอาคาร จ านวน 5 ห้อง 12.1.6 อาคาร 216 ล ปรับปรุง อาคาร 6 (ช่อกันเกรา) ประกอบด้วย 1) ห้องส านักงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ จ านวน 1 ห้อง 2) ห้องส านักงานกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา พลศึกษา จ านวน 1 ห้อง 3) ห้องศูนย์ปฏิบัติการภาษาอังกฤษ (HCEC) จ านวน 1 ห้อง 4) ห้องประชุมโรงเรียน จ านวน 1 ห้อง 5) ห้องเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และสุขศึกษา พลศึกษา จ านวน 12 ห้อง 6) ห้องฟิตเนส (ต่อเติมชั้นล่าง) จ านวน 1 ห้อง 12.2 อาคารประกอบ 1) อาคารโรงฝึกงานวิชาอุตสาหกรรม จ านวน 2 หลัง - ปรับเป็น ศูนย์ภูมิปัญญาท้องถิ่น จ านวน 1 ห้อง - ปรับเป็น ห้องประกันคุณภาพการศึกษา จ านวน 1 ห้อง 2) อาคารโรงฝึกงานวิชาคหกรรม จ านวน 1 หลัง 3) อาคารโรงฝึกงานวิชาเกษตรกรรม จ านวน 2 หลัง - ปรับเป็นห้องเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ จ านวน 1หลัง - ปรับเป็นสหกรณ์ร้านค้าโรงเรียน และห้องเรียนวิชาการงาน จ านวน 1 หลัง (2 ห้อง) 4) หอประชุมเอนกประสงค์ จ านวน 1 หลัง (ปรับเป็น ห้อง ทูบีนัมเบอร์วัน) ห้องกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ และห้องวงดนตรี (วงโยธวาทิต วงดนตรีลูกทุ่ง) 5) หอประชุมเอนกประสงค์ ดัดแปลงเป็นสถานที่สอนกีฬา จ านวน 1 หลัง 6) โดม 50 ปี ลน. (โดยไม่ใช้งบประมาณของทางราชการ) จ านวน 1 หลัง 7) ห้องประชุมช่อชงโค จ านวน 1 ห้อง


9 12.3 บ้านพักครู บ้านพักนักการภารโรง 1) บ้านพักครู จ านวน 16 หลัง 2) บ้านพักนักการภารโรง จ านวน 3 หลัง 3) ห้องน้ าชายหญิง จ านวน 5 หลัง 4) บ่อบาดาล จ านวน 4 บ่อ 13. สภาพทั่วไป 1) สภาพภูมิศาสตร์ โรงเรียนเลิงนกทาตั้งอยู่ที่หมู่บ้านภูดิน ต าบลสามแยก อ าเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของถนนระหว่างจังหวัด สายเลิงนกทา – กุดชุม – ยโสธร ห่างจาก ที่ว่าการอ าเภอเลิงนกทา ประมาณ 2 กิโลเมตร ตั้งอยู่ที่มีลักษณะเป็นเนินดิน ซึ่งส่วนมากเป็นดินเหนียวปน ลูกรัง ถนนผ่านหน้าโรงเรียน ลาดยางตลอดการคมนาคม ไปมาสะดวก 2) การให้บริการการศึกษาแก่ชุมชน โรงเรียนเลิงนกทา เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ พิเศษ 1 ใน 3 แห่ง ของจังหวัดยโสธร ให้การศึกษาแก่ประชาชนของอ าเภอเลิงนกทา ซึ่งมีประชากรประมาณ 89,987 คน ทั้งระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและระดับมัธยมศึกษาตอนปลายซึ่งได้ผลิต นักเรียนออกไปท าประโยชน์แก่ชาติบ้านเมืองด้วยดีตลอดมา 3) สภ าพ ชุม ชน ร อบบ ริ เ วณโ รง เ รี ยน มี ลักษณ ะ ร ว มกัน เป็น ก ลุ่มโ ด ย อ าเภอเ ลิง น กท า มีประชากร ทั้งหมด 89,987 คน แยกเป็นชาย 44,919 คน หญิง 45,068 คน ความหนาแน่นเฉลี่ย 95 คน / ตารางกิโลเมตร หมู่บ้าน 145 แห่ง มี 10 ต าบล มีเทศบาลต าบล 9 แห่ง องค์การบริหารส่วนต าบล 3 แห่ง (ที่มา :http://www.yasothon.go.th/web/file/menu1-3.html) บริเวณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียน ได้แก่ ต าบล สามแยก ต าบลสวาท ต าบลกุดแห่ ต าบลโคกส าราญ ต าบลสร้างมิ่งและต าบลสามัคคีอาชีพหลัก ของชุมชน คือ ท านา ท าไร่ และ ท าหัตถกรรมในครัวเรือน เนื่องจากสภาพพื้นที่เป็นที่ราบมีภูเขาเป็นบางส่วน เป็นป่าค่อนข้างสมบูรณ์ ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ประเพณี/ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นที่เป็นที่รู้จัก โดยทั่วไปคือ ประเพณีบุญบั้งไฟ บุญคูณลานและบุญข้าวจี่ 4) ผู้ปกครองส่วนใหญ่ ร้อยละ 70 ประกอบอาชีพท านา ท าไร่ ร้อยละ 98 นับถือศาสนาพุทธ ฐานะ ทางเศรษฐกิจ/ รายได้โดยเฉลี่ยต่อปี 30,000 บาท 5) โอกาสและข้อจ ากัดของโรงเรียน จากการวิเคราะห์สภาพภายในและภายนอก (SWOT Analysis) ของโรงเรียนเลิงนกทา พบว่า มีจุดแข็งคือ มีห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี(Giffted ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น SMTE ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย มีห้องเรียนพิเศษคณิตศาสตร์ AP ห้องเรียนภาษาอังกฤษ SEP ห้องเรียนภาษาจีน ICP และโรงเรียนได้จัดแหล่งเรียนรู้ มีศูนย์วิทยบริการ (School net) มีระบบอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง WiFi มีห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติกาญจนาภิเษก บุคลากรมีประสบการณ์ใน


10 ด้านการจัดการเรียนการสอน โดยมีครูที่มีวิทยฐานะครูช านาญการพิเศษ จ านวน 57 คน เป็นโรงเรียนรางวัล พระราชทานโรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนต้นแบบ 1 อ าเภอ 1 โรงเรียนในฝัน โรงเรียน World – Class Standard School เป็นโรงเรียนต้นแบบระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน เป็นตัวแทนเข้าประกวดผลงาน โครงการ TO BE NUMBER ONE ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประเภทชมรม TO BE NUMBER ONE ใน สถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน(มัธยมศึกษา) ที่รักษามาตรฐาน สถานศึกษาที่ด าเนินโครงการ TO BE NUMBER รางวัลเสมา ปปส. ประเภทผลงานดีเด่นระดับทอง โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและ อบายมุข เป็นสถานศึกษาที่ผ่านการประเมินคุณภาพภายนอก รอบ 3 สถานศึกษาผ่านการประเมินรางวัลคุณภาพ ระดับองค์กร (School Quality Awards: SCQA) และรางวัลคุณภาพ (OBEC QA) ซึ่งแสดงถึงการบริหารจัดการ ด้วยระบบคุณภาพ ของผู้บริหารสถานศึกษา และนอกจากนั้นแล้วยังเป็นสถานศึกษาที่มีผลคะแนนสอบ O-NET สูงกว่าระดับชาติ ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ จากส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ศรีสะเกษ ยโสธร สถานศึกษาได้รับเหรียญทอง อันดับ ๑ ของโรงเรียนมัธยมศึกษา ในจังหวัดยโสธร การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๗ กิจกรรมฟิสิกส์สัประยุทธ์เป็นตัวแทน เข้าแข่งขันระดับประเทศ แข่งขันสิ่งประดิษฐ์ ของส านักงานวิจัยแห่งชาติชนะเลิศการแข่งขันโปงลางคอนเทสระดับมัธยมศึกษา ชิงถ้วย พ ร ะ ร า ช ท า น ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ ท พ รั ต น ร า ช สุ ด า ฯ ส ย า ม บ ร ม ร า ช กุ ม า รี ช น ะ เ ลิศ การประกวดวงดนตรีโปงลางพื้นบ้าน ระดับมัธยมศึกษา ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้าจุฬา ภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี โรงเรียนเลิงนกทา มีผลงานเป็นที่ประจักษ์ทั้งด้านวิชาการ ศิลปะ ดนตรี กีฬา จึง ได้รับการยอมรับจากผู้ปกครอง ชุมชนและสังคม


11 แผนที่ตั้งโรงเรียน


12 แผนผังอาคารเรียน


13 กลุ่มบริหารวิชาการ กลุ่มบริหารงบประมาณ กลุ่มบริหารทั่วไป กลุ่มบริหารบุคคล ฝ่ายกิจการนักเรียน ผู้อ านวยการโรงเรียน คณะกรรมการสถานศึกษา คณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองฯ รองผู้อ านวยการโรงเรียน 1. งานส านักงาน 2. งานหัวหน้ากลุ่มสาระ/ หัวหน้ากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 3. งานห้องเรียนพิเศษ 4. งานแผนงาน/สารสนเทศ 5. งานโรงเรียน SMT 6.งานส่งเสริมคุณภาพ การจัดการศึกษา 7. งานโรงเรียนมาตรฐานสากล 8. งานโรงเรียนคุณภาพ ประจ าต าบล 9. งานจัดการเรียนร่วม หลักสูตรทวิศึกษาและการมี งานท า 10. งานรับนักเรียน 11. งานจัดเก็บข้อมูล(DMC) 12. งานทะเบียน 13. งานวัดผลประเมินผลฯ 14. งานแนะแนว และทุนการศึกษา 15. งานห้องสมุด และแหล่งเรียนรู้ 16. งานตารางสอน 17. งานติดตามการเรียน การสอน 18. งานยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน 19. งานรับนักเรียน 20. งาน Istudent 21. งาน SGS 22. งานหลักสูตรสถานศึกษา 23. งานประกันคุณภาพฯ 24.งานพัฒนาการจัดการเรียน การสอน 25. งานสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี 26. งานวิจัยฯ 27.งานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 28.งานสอนซ่อมเสริม 1. งานส านักงานกุลุ่ม บริหารงบประมาณ 2. งานแผนงาน และสารสนเทศกลุ่มบริหาร งบประมาณ 3.งานแผนและนโยบาย 4.งานจัดระบบเทคโนโลยี สานสนเทศ 5. งานควบคุม และตรวจสอบภายใน 6.งานการเงินและบัญชี 6.1งานการเงิน -งานรับเงิน -งานจ่ายเงิน -งานเก็บรักษาเงิน -งานเบิกเงินจากคลัง ในระบบ GFMIS -งานบ าเหน็จบ านาญ ข้าราชการครู -งานทะเบียนภาครัฐ และสวัสดิการข้าราชการครู และลูกจ้างประจ า 6.2งานบัญชี 6.3งานพัสดุ และสินทรัพย์ -งานพัสดุ -งานจัดซื้อจัดจ้าง -งานระบบจัดซื้อจัด จ้างภาครัฐ -งานควบคุมดูแล บ ารุงรักษาวัสดุ -งานตรวจสอบพัสดุ ประจ าปี/การจ าหน่ายพัสดุ -งานยานพาหนะ 1. งานส านักงาน กลุ่มบริหารทั่วไป 2.งานนโยบาย แผนงานวิจัยและพัฒนา 3.งานชุมชนและภาคี เครือข่าย 4.งานกิจกรรมวงโยธวาทิต 5.งานกิจกรรมดนตรีพื้นเมือง วงโปงลาง 6.งานกิจกรรมนาฏศิลป์ 7.งานกิจกรรมวงดนตรีลูกทุ่ง 8.งานกิจกรรมวงดนตรีสตริง 9.งานกิจกรรมดนตรีไทย 10.งานสมาคมมูลนิธิ สมาคม ผู้ปกครอง และศิษย์เก่า 11.งานยุวชนประกันภัย นักเรียน 12.งานหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง 13.งานสถานที่ และสิ่งแวดล้อม 14.งานอาคาร 15.งานพัฒนาลูกจ้างประจ า และลูกจ้างชั่วคราว 16.งานเวรยามรักษาความ ปลอดภัย 17.งานกิจกรรมโรงเรียน ปลอดขยะและธนาคาร รีไซเคิล 18.งานโสตทัศนูปกรณ์ 19.งานโรงเรียนสีเขียว 20.งานจราจร 21.งานสาธารณูปโภค และสุขาภิบาล 22.งานอนามัยโรงเรียน 23.งานโภชนาการ 24.งานประชาสัมพันธ์ 1. งานส านักงาน กลุ่มบริหารบุคคล 2.งานทะเบียน สถิติ ข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา 3.งานพัฒนาข้าราชการ ครูและบุคลากร ทางการศึกษา 4.งานส่งเสริม การประเมินวิทยฐานะ ข้าราชการครู และ บุคลากรทางการศึกษา 5.งานส่งเสริมและยกย่อง เชิดชูเกียรติฯ 6.งานอัตราก าลัง ข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา 7.งานวินัยและการรักษา วินัย 8.งานประเมินผล การปฏิบัติงาน และบ าเหน็จความชอบ 9.งานแผนงาน และสารสนเทศ กลุ่มบริหารงานบุคคล 10.งาน ID Plan 11.งานธุรการ 12.งานประชุมครู และ บุคลากรทางการศึกษา 13.งานคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 14.งานขอพระราชทาน เครื่องราชอิสริยภรณ์ 15.งานส่งเสริมมาตรฐาน วิชาชีพและจรรยาบรรณ 1.งานส านักงานฝ่ายกิจการ นักเรียน 2. งานระบบการดูแล ช่วยเหลือนักเรียน 3.งานหัวหน้าระดับชั้น 4.งานคัดกรอง ปัจจัยพื้นฐานนักเรียน ยากจน 5.งานระเบียบวินัยนักเรียน 6.งานกิจกรรมนักเรียน 7.งานคณะสี 8.งานทูบีนัมเบอร์วัน 9.งานส่งเสริม ประชาธิปไตยและสภา นักเรียน 10.งานธนาคารโรงเรียน 11.งานป้องกันและแก้ไข ปัญหายาเสพติด 12.งานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ 13.งานโรงเรียนสุจริต 14.งานโรงเรียนคุณธรรม 15.งานโรงเรียนวิถีพุธ 16.งานค่านิยม 12 ประการ โครงสร้างการบริหารโรงเรียนเลิงนกทา ปีการศึกษา 2565


14 14. รายชื่อผู้บริหารสถานศึกษา ที่ ชื่อ - สกุล ต าแหน่ง ปีที่ด ารงต าแหน่ง 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10 11 12 นายสวาท ไชยสัจ นายเปลี่ยน อุปริวงศ์ นายบุญช่วย ธานี นายสมาน มโนเอื้อ นายไวยวุฒิ มนต์ขลัง นายเพชร แก้วใส นายสุวิทย์ รักษาสุข นายสุพล วังสินธ์ นายสรรเพชญ อาจวิชัย นางนิรมล จงจินากูล นายยงยุทธ ภูมิแสน นายบุญมี พุ่มจันทร์ รก. ครูใหญ่ รก. ครูใหญ่ ครูใหญ่ อาจารย์ใหญ่ ผู้อ านวยการ ผู้อ านวยการ ผู้อ านวยการ ผู้อ านวยการ ผู้อ านวยการ ผู้อ านวยการ ผู้อ านวยการ รก. ผู้อ านวยการ ผู้อ านวยการ ผู้อ านวยการ 4พ.ค. 2514 - 20พ.ค. 2514 20พ.ค. 2514 – 4ก.ค. 2515 4ก.ค. 2515 – 20พ.ค. 2515 1มิ.ย. 2515 – 30ก.ย. 2526 1ต.ค. 2526 – 3พ.ค. 2527 3พ.ค. 2527 – 7พ.ย. 2531 7พ.ย. 2531 – 30ก.ย. 2541 29 ธ.ค. 2541 – 30ก.ย. 2544 29พ.ย. 2545 – 30พ.ย. 2546 16ธ.ค. 2546 – 31พ.ค. 2548 1มิ.ย. 2548 - 30 กันยายน 2560 1 ตุลาคม 2560 – 17 กรกฎาคม 2561 18 กรกฎาคม 2561 -30 กันยายน 2563 26 ตุลาคม 2563 -ปัจจุบัน 15. คณะผู้บริหารชุดปัจจุบัน 1) ผู้อ านวยการโรงเรียน นายบุญมี พุ่มจันทร์ โทรศัพท์ 0956102647 e-mail [email protected] วุฒิการศึกษาสูงสุด ศษ.ม. สาขาการบริหารการศึกษา ด ารงต าแหน่งที่โรงเรียนเลิงนกทาตั้งแต่วันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2563 จนถึงปัจจุบัน


15 2) รองผู้อ านวยการโรงเรียน 4 คน 2.1 นายเสรี สามาอาพัฒน์ โทรศัพท์ 0874327310 e-mail [email protected] วุฒิการศึกษาสูงสุด ศษ.ม. สาขาการบริหารการศึกษา รับผิดชอบกลุ่มบริหารงานงบประมาณ 2.2 นางอรุณี แก้วใส โทรศัพท์ 0642415260 e-mail [email protected] วุฒิการศึกษาสูงสุด ศษ.ม. สาขาการบริหารการศึกษา รับผิดชอบกลุ่มบริหารทั่วไป 2.3 นายปริวัฒ เสาะแสวง โทรศัพท์ 0966484725 e-mail [email protected] วุฒิการศึกษาสูงสุด ศษ.ม. สาขาการบริหารการศึกษา รับผิดชอบกลุ่มบริหารงานบุคคล 2.4 นางกุสุมาลย์ สมประสงค์ โทรศัพท์ 0878700466 e-mail [email protected] วุฒิการศึกษาสูงสุด ศษ.ม. สาขาการบริหารการศึกษา รับผิดชอบกลุ่มบริหารงานวิชาการ


16 16. คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนเลิงนกทา ประจ าปี2563-2567 ที่ ชื่อ สกุล ต าแหน่ง 1 นายตรงสิทธิ์ ตั้งจตุรวิธ ผู้ทรงคุณวุฒิ(ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน) 2 นายอรุณ สร้อยสิงห์ ผู้ทรงคุณวุฒิ 3 รต.ต.พงษ์ศักดิ์ พรหมภักดี ผู้ทรงคุณวุฒิ 4 นายดิษฐ บุบผามาลา ผู้ทรงคุณวุฒิ 5 นางสาวจิตลดาวรรณ โสวะภาสน์ ผู้ทรงคุณวุฒิ 6 นายเชษฐากุล ไชยกุล ผู้ทรงคุณวุฒิ 7 นายหนูจร อุ่นชิน ผู้ทรงคุณวุฒิ 8 นายประชิต นันทภักดิ์ ผู้แทนพระภิกษุสงฆ์/ผู้แทนองค์กรศาสนา 9 นายธรานนท์ ประดับศรี ผู้แทนพระภิกษุสงฆ์/ผู้แทนองค์กรศาสนา 10 นายปิ่นภพ ด าเนิน ผู้แทนองค์กรชุมชน 11 นายเลอพงษ์ รักษาเพียร ผู้แทนองค์กรปกครองท้องถิ่น 12 นายถนัด แสงศรี ผู้แทนศิษย์เก่า 13 ด.ต. มิตชา ศรีธรรม ผู้แทนผู้ปกครอง 14 นางสุมณฑา จันทร์จรูญ ผู้แทนครู 15 นายบุญมี พุ่มจันทร์ ผู้อ านวยการโรงเรียน กรรมการและเลขานุการ 16 นายเสรี สามาอาพัฒน์ รองผู้อ านวยการโรงเรียน กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ


17 17. คณะกรรมการบริหารเครือข่ายผู้ปกครอง ระดับโรงเรียน ที่ ชื่อ – สกุล ต าแหน่ง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 นายวิชัย โคตรหา นายวีรนันต์ นารีบุตร นายไชยนคร บัวระพันธ์ นายเจนอนันต์ นันทลาภา นางมนัสชนก ฉายอรุณ นายสิทธินันท์ แก้วจันทร์ นางเนตรดาว ศิวประสิทธิ์กุล นายวีรฤทธิ์ พรมตัน นายธนวรรธน์ ราชชิต นางตุ พุฒจันทร์ นางกัญทิมา วชิรัตนพงษ์เมธี นายไพทูรย์ บุญลักษณ์ ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการและประชาสัมพันธ์ กรรมการและผู้ช่วยประชาสัมพันธ์ กรรมการและเหรัญญิก กรรมการและผู้ช่วยเหรัญญิก กรรมการและนายทะเบียน กรรมการและปฏิคม กรรมการและผู้ช่วยปฏิคม กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ 18. คณะกรรมการผู้ปกครองชั้นเรียน คณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครอง ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ล าดับที่ ชื่อ – สกุล ห้องเรียน 1 ผอ.วิชัย โคตรหา 1/1 2 นางสาววิกานดา อาจชัยชาญ 1/2 3 นางกัญทิมา วชิรัตนพงษ์เมธี 1/3 4 นายณัฐวรรธน์ เวียงธงสารัตน์ 1/4 5 นางปริชาด รัตนโสภา 1/5 6 นายสายัน สุขภาค 1/6 7 นางวรรณา จันทร์ขาว 1/7 8 นางสาวจิตตรา กัมมันตะคุณ 1/8 9 นายอุเทน ผลจันทร์ 1/9 10 นายธวัช สายรัตน์ 1/10


18 คณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครอง ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ล าดับที่ ชื่อ – สกุล ห้องเรียน 11 นายประดิษฐ ยอดโพธิ์ 1/11 12 นายจิรายุ กัมมันตะคุณ 1/12 13 นางศิริญาภรณ์ พิลาแดง 1/13 คณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครอง ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ล าดับที่ ชื่อ – สกุล ห้องเรียน 1 นางมนัสชนก ฉายอรุณ 2/1 2 นางกิ่งเพชร นันทพล 2/2 3 นางธมลวรรณ ระวิโรจน์ 2/3 4 นายเจอนันต์ นันทลาภา 2/4 5 นางปราณี ผดาเวช 2/5 6 นางสาวนุชนารถ บัวลอย 2/6 7 นางณัฐชยา ศรีโยธา 2/7 8 นางสาวญานิกา สุวเพชร 2/8 9 นายอุทัย ทาระขจัด 2/9 10 นางสาวจุรีรัตน์ กองดวง 2/10 11 นายประดิษฐ์ ยอดโพธิ์ 2/11 12 นายเกรียงศักดิ์ ไชยวรรณ 2/12 13 นางสาวดวงใจ สาระพาน 2/13


19 คณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครอง ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ล าดับที่ ชื่อ – สกุล ห้องเรียน 1 นางสาวศศิธร สายสมบูรณ์ 3/1 2 นายสิทธินันท์ โคตะนนท์ 3/2 3 นางเนตรดาว ศิวประสิทธิ์กุล 3/3 4 นางจันทร์เพ็ญ อรอินทร์ 3/4 5 นางรัตนา โสมาบุตร 3/5 6 นางฐิติภา ปัตถาทุม 3/6 7 นางอัญชลี แก้ววรรณา 3/7 8 นางสิรินดา เหลาสิงห์ 3/8 9 นางสิริวรรณ สมคะเณย์ 3/9 10 นางสาวนวนนา ผาเวช 3/10 11 นางสาวไพรรินทร์ ทับแสง 3/11 12 นางรีวัลย์ ปิ่นแก้ว 3/12 คณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครอง ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ล าดับที่ ชื่อ – สกุล ห้องเรียน 1 นายปรัชญา โมระดา 4/1 2 ร.ต.อ.ธัญญวิทย์ แก้วสุข 4/2 3 นายไชยนะคร บัวระพันธ์ 4/3 4 นางสาวนันทนา นามค า 4/4 5 นางสาวพันนิพร ศรีษะพันธ์ 4/5 6 นายวีรนันท์ นารีบุตร 4/6 7 นางสาวจุฑามาส ทานุมา 4/7 8 นายธันวา ดอกแก้ว 4/8 9 นางอุทรทิพย์ คุณสิทธิ์ 4/9 10 นางเพ็ญศรี แสนท าพล 4/10 11 นายพงษ์สวัสดิ์ สังขสูตร 4/11


20 คณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครอง ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ล าดับที่ ชื่อ – สกุล ห้องเรียน 1 นางอัปสร แสงเพชร 5/1 2 นายชัยวัฒน์ โคตรสมบัติ 5/2 3 นางจารุวรรณ์ สว่างเกียรติ 5/3 4 นายไพฑูรย์ บุญลักษณ์ 5/4 5 นางนภา จันดาวรรณ 5/5 6 นางไพรัตน์ สายโสภา 5/6 7 นางสาวชัญญานุช บุญทศ 5/7 8 นายด ารงศักดิ์ ศรีแจ่ม 5/8 9 นางมุกดา ขุนทอง 5/9 10 นางสาวปวีณา ทีวงค์ 5/10 11 นางรัชตาภรณ์ พุฒจันทร์ 5/11 คณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครอง ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ล าดับที่ ชื่อ – สกุล ห้องเรียน 1 นายวีรฤทธิ์ พรมตัน 6/1 2 นายเดชา งามวงค์ 6/2 3 นางสาวทิพวรรณ์ สระบัว 6/3 4 นายเจริญ แพงขุนทด 6/4 5 นางหฤทัย กุลวงศ์ 6/5 6 นายสมบัติ ขันค า 6/6 7 นายธิษณ์ชยุตม์ สุทธิพนา 6/7 8 นางวินิจ ไชยเสนา 6/8 9 นางล าพูน ทับแสง 6/9 10 นายธนาวรรธน์ ราชชิต 6/10


21 บทที่ 2 แนวการจัดการศึกษาโรงเรียนเลิงนกทา นโยบายของรัฐบาล นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายของส านักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน และนโยบายของส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาศรีสะเกษ ยโสธร มุ่งพัฒนา คุณภาพผู้เรียนให้มีคุณภาพได้มาตรฐานการศึกษาระดับชาติและระดับนานาชาติ โรงเรียนเลิงนกทาจึงได้น า นโยบายดังกล่าว น าสู่การก าหนดแนวทางการจัดการศึกษาโรงเรียนเลิงนกทา ก าหนดวิสัยทัศน์พันธกิจ เป้าประสงค์ แผนกลยุทธ์ และแผนปฏิบัติการประจ าปี เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา ดังนี้ 1. วิสัยทัศน์ (Vision) โรงเรียนเลิงนกทา ก าหนดวิสัยทัศน์ของโรงเรียนในกรอบระยะเวลา 3 ปี คือปีการศึกษา 2565-2567 “เป็นต้นแบบโรงเรียนมาตรฐานสากล เพิ่มผลนวัตกรรม น้อมน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เคียงคู่วัฒนธรรม ก้าวล าสู่ศตวรรษที่ 21” 2. พันธกิจ (Mission) 1. พัฒนาระบบบริหารจัดการโรงเรียนให้เป็นไปตามเกณฑ์คุณภาพ OBECQA+ 2. จัดการเรียนการสอนให้นักเรียนมีศักยภาพในความเป็นพลโลก มีความสามารถในการแข่งขัน และมีทักษะในศตวรรษที่ 21 3. ปลูกฝังให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ด าเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีความภูมิใจในความเป็นไทยมีสุขอนามัยที่ดี มีภาวะผู้น าและอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น 4. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาสู่มืออาชีพ ด้วยนวัตกรรม 5. ส่งเสริม สนับสนุนชุมชนและหน่วยงานอื่น ให้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา 6. ส่งเสริมบรรยากาศ แหล่งเรียนรู้และเทคโนโลยีที่เอื้อต่อการจัดการศึกษา 3. ค่านิยม (Corporate Values) ค่านิยมการท างานของโรงเรียนเลิงนกทา คือ “RAK_LN” R : Relationship = การมีน้ าใจ ใจเปิดกว้างความเป็นพี่เป็นน้อง A : Accountability = การปฏิบัติงานด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต โปร่งใส รับผิดชอบ K : Knowledge = สร้างองค์ความรู้ L : Leader ship = มีภาวะผู้น า N : Net work = สร้างเครือข่าย


22 4. เป้าประสงค์หลัก (Goals) 1. นักเรียนเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ 2. นักเรียนเป็นผู้มีศักยภาพในความเป็นพลโลก มีความสามารถในการแข่งขัน และมีทักษะในศตวรรษ ที่ 21 3. นักเรียนเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม ด าเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีความ ภูมิใจในความเป็นไทย มีสุขอนามัยที่ดี มีภาวะผู้น าและอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น 4. ครูเป็นผู้มีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนการสอนและเป็นครูมืออาชีพ 5. โรงเรียนเลิงนกทาเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ 5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนโรงเรียนเลิงนกทา 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการท างาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ 6. กลยุทธ์โรงเรียนเลิงนกทา โรงเรียนเลิงนกทามีกลยุทธ์เพื่อขับเคลื่อนสู่คุณภาพการศึกษา มี 11 กลยุทธ์ ดังนี กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนานักเรียนให้มีความเป็นเลิศทางวิชาการ ศิลปะ ดนตรี กีฬา วิชาชีพ และ ICT ตามมาตรฐานที่หลักสูตรก าหนด กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาครูให้มีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ด้วยนวัตกรรมสู่ความเป็นครูมืออาชีพ กลยุทธ์ที่ 3 ปรับปรุง พัฒนาอาคาร สถานที่ สิ่งแวดล้อมและแหล่งเรียนรู้ให้เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอน และการเรียนรู้ของนักเรียน กลยุทธ์ที่ 4 บริหารจัดการโดยใช้ระบบประกันคุณภาพการศึกษา กลยุทธ์ที่ 5 ระดมทรัพยากรทางการศึกษาจากชุมชนและภาคีเครือข่าย กลยุทธ์ที่ 6 พัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับความต้องการและมีทักษะที่จ าเป็นในศตวรรษที่ 21 กลยุทธ์ที่ 7 พัฒนาครูและนักเรียนให้สามารถใช้ภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารในชีวิตประจ าวันได้ กลยุทธ์ที่ 8 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนให้มีประสิทธิภาพ สร้างโอกาสและความเสมอภาค และความเท่าเทียมลดความเหลื่อมล้ าทางการศึกษา กลยุทธ์ที่ 9 จัดกิจกรรมส่งเสริมให้มีความรักในวัฒนธรรมท้องถิ่น ด าเนินชีวิตตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงและภาคภูมิใจในความเป็นไทย


23 กลยุทธ์ที่ 10 ส่งเสริมครู บุคลากรและนักเรียนให้มีทักษะทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีจิตส านึกด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม กลยุทธ์ที่ 11 ส่งเสริมสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยในสถานศึกษา 7. แนวทางการพัฒนาโรงเรียนตามกลยุทธ์ การบริหารจัดการศึกษาโรงเรียนเลิงนกทา โดยใช้นวัตกรรม PHUDIN Model เป็นการบริหาร การศึกษาที่มีกระบวนการพัฒนาโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School base Management) ซึ่งได้น าทฤษฎีมา เป็นฐานความคิดและน าหลักการของวงจรคุณภาพ PDCA (Deming Circle) มาเป็นกรอบในการด าเนินงาน ดังนี้ P : Participation (การมีส่วนร่วม) คือ การมีส่วนร่วมในการวางแผนการจัดการศึกษาและการด าเนินการของทุกคนทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ด าเนินงานร่วมกันโดยความร่วมมือกับผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย อย่างเป็นระบบ รอบคอบ รัดกุม เตรียมความพร้อม ส าหรับแนวทางแก้ไขปัญหาอาจจะที่เกิดขึ้น H : Heart working (ท างานด้วยความเต็มใจ ด้วยใจรัก) คือ การท างานด้วยความเต็มใจ มีใจรักในงานที่ท า มีทัศนคติที่ดีต่อตนเอง ต่อหน่วยงาน ต่อหัวหน้างาน มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อนร่วมงาน มีการพัฒนาตนเองและพัฒนางานที่ท าอย่างสม่ าเสมอ U : Unity (กระบวนการท างานร่วมกันและสามัคคี) คือ มีความสามัคคี มีกระบวนการท างานร่วมกัน ร่วมกันท างานด้วยความจริงใจอย่างพร้อมเพียง เป็นหนึ่งใจเดียวกัน หมายถึง ในกระบวนการท างานทั้ง 4 กลุ่มงาน ร่วมกันด าเนินงานและขับเคลื่อนกิจกรรม/ โครงการต่าง ๆ ให้บรรลุจุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้ D: Development (พัฒนาและบริหารจัดการคุณภาพ) คือ การร่วมกันบริหารจัดการคุณภาพ ด าเนินกิจกรรม/โครงการต่าง ๆ โดยประสานความร่วมมือกับ ผู้เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน พัฒนาคุณภาพการศึกษา ตามแผนกลยุทธ์ และแผนปฏิบัติการโดยมีการพัฒนา ตลอดเวลาและต่อเนื่องในการขับเคลื่อน ตรวจสอบและพัฒนาสู่ความยั่งยืน I : Innovation (นวัตกรรม/ความภาคภูมิใจ) คือ เกิดนวัตกรรมใหม่ๆที่เกิดจากการค้นพบ ระหว่างการด าเนินงานและหลังการด าเนินงานที่ประสบ ผลส าเร็จและมีคุณภาพ อันเกิดจาก การร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมท าด้วยใจที่รักในการท างาน และท าด้วย ความจริงใจอย่างพร้อมเพรียง N: Network (การสร้างเครือข่ายที่เข้มแข็ง) คือเครือข่ายที่เข้มแข็งอันเกิดจากการประสานความร่วมมือของผู้เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนทั้งเครือข่าย ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เครือข่ายพี่สอนน้อง เครือข่ายโรงเรียนพี่โรงเรียนน้อง เกิด ความรัก ความสามัคคีในองค์กร และเกิดความร่วมมืออย่างต่อเนื่องและยั่งยืน


24 นวัตกรรมการบริหารการจัดการศึกษา PHUDIN Model 8. หลักการส าคัญในการด าเนินงาน ดังนี 1. มุ่งสนับสนุนการท างานสู่กลุ่มงานบริหาร 4 กลุ่มงาน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ 1 กิจกรรมพัฒนา ผู้เรียน และระดับห้องเรียนให้มากที่สุด โดยเน้นระบบการประกันคุณภาพภายใน รวมถึงการนิเทศช่วยเหลือ ติดตามความก้าวหน้าของงานและการแก้ไขการท างานทั้งระบบ หากไม่สามารถด าเนินการได้ตามเป้าหมาย เพื่อให้ผู้เรียนได้เข้าถึงการบริการทางการศึกษาที่มีคุณภาพมากขึ้น ทั้งนี้ภายใต้การดูแลขององค์คณะบุคคล และความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 2. มุ่งพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาโดยใช้ข้อมูลผลการประเมินคุณภาพภายนอกเป็นฐานการพัฒนา 3. ด าเนินการกิจกรรมต่าง ๆ สอดคล้องกับนโยบาย และเป้าหมายของหน่วยงานต้นสังกัดก าหนด ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการสร้างสรรค์ผลงาน (Creation) และการมีส่วนร่วมของชุมชน เอกชน องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นและสังคมทุกภาคส่วนอย่างกว้างขวาง 4. คณะกรรมการบริหาร ก ากับ ติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติงานกลุ่มงานบริหาร 4 กลุ่มงาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน น ามาซึ่งผลลัพธ์ทางการศึกษา 5. บูรณาการการจัดการศึกษา และการใช้ทรัพยากรร่วมกับหน่วยงานอื่น ๆ ตลอดจนเสริมสร้าง ความเข้มแข็งให้แก่สถาบันทางสังคม โดยเฉพาะสถาบันครอบครัว 9. จุดเน้น 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8 กลุ่มสาระ เพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 3 2. การเตรียมความพร้อมทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ตามหลักการศึกษาปฐมวัย อย่างมีคุณภาพ 3. นักเรียนมีนิสัยรักการอ่านและความส านึกในความรักชาติไทย 4. เพิ่มศักยภาพนักเรียนด้านภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ ด้านวิทยาศาสตร์ และด้านเทคโนโลยี 5. สร้างทางเลือกในการเรียนให้ผู้เรียนทุกคน ให้เข้าถึงโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึง ลดอัตรา การออกกลางคัน ศึกษาต่อและประกอบอาชีพ 6. ส่งเสริมการจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 7. นักเรียน ครู ผู้บริหารและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาเตรียมความพร้อมสู่ประชาคม อาเซียน มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลงและสังคมพหุวัฒนธรรม


25 8. สถานศึกษามีระบบประกันคุณภาพภายในที่เข้มแข็งและได้รับการรับรองจากการประเมินคุณภาพ ภายนอก ตลอดจนการพัฒนาสถานศึกษาสู่มาตรฐานสากล 10. ผลผลิต ผลผลิตของโรงเรียนเลิงนกทา 1. นักเรียนโรงเรียนเลิงนกทาจบการศึกษาภาคบังคับ 2. นักเรียนโรงเรียนเลิงนกทาจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3. นักเรียนพิเศษและด้อยโอกาสได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ 4. นักเรียนสามารถใช้ภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารในชีวิตประจ าวันได้ 5. นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม มีภาวะผู้น า รักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น พร้อมน้อมน าหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง 11. แผนการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนเลิงนกทา แผนการเรียนระดับชั นมัธยมศึกษาปีที่1 ปีการศึกษา 2565 ที่ แผนการเรียน ระดับชั นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จ านวนห้อง ห้อง 1 ห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม (SMTE) 1 ม.1/1 2 ห้องเรียนพิเศษคณิตศาสตร์ Advanced Program (AP) 1 ม.1/2 3 ห้องเรียนพิเศษภาษาอังกฤษ SEP 1 ม.1/3 4 ห้องเรียนพิเศษภาษาจีน ICP 1 ม.1/4 5 ห้องเรียนวิทย์- คณิต - อังกฤษ 9 ม.1/5 - ม.1/13 รวม 13 แผนการเรียนระดับชั นมัธยมศึกษาปีที่2 ปีการศึกษา 2565 ที่ แผนการเรียน ระดับชั นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จ านวนห้อง ห้อง 1 ห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม (SMTE) 1 ม.2/1 2 ห้องเรียนพิเศษคณิตศาสตร์ Advanced Program (AP) 1 ม.2/2 3 ห้องเรียนพิเศษภาษาอังกฤษ SEP 1 ม.2/3 4 ห้องเรียนพิเศษภาษาจีน ICP 1 ม.2/4 5 ห้องเรียนวิทย์- คณิต - อังกฤษ 8 ม.2/5 - ม.2/12 รวม 12


26 แผนการเรียนระดับชั นมัธยมศึกษาปีที่3 ปีการศึกษา 2565 ที่ แผนการเรียน ระดับชั นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จ านวนห้อง ห้อง 1 ห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม (SMTE) 1 ม.3/1 2 ห้องเรียนพิเศษคณิตศาสตร์ Advanced Program (AP) 1 ม.3/2 3 ห้องเรียนพิเศษภาษาอังกฤษ SEP 1 ม.3/3 4 ห้องเรียนพิเศษภาษาจีน ICP 1 ม.3/4 5 ห้องเรียนวิทย์- คณิต - อังกฤษ 8 ม.3/5 - ม.3/12 รวม 12 แผนการเรียนระดับชั นมัธยมศึกษาปีที่4 ปีการศึกษา 2566 ที่ แผนการเรียน ระดับชั นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จ านวนห้อง ห้อง 1 ห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม (SMTE) 1 ม.4/1 2 ห้องเรียนพิเศษคณิตศาสตร์Advanced Program (AP) 1 ม.4/2 3 ห้องเรียนพิเศษภาษาอังกฤษ SEP 1 ม.4/3 4 ห้องเรียนพิเศษภาษาจีน ICP 1 ม.4/4 5 ห้องเรียนวิทย์- คณิต - อังกฤษ 4 ม.4/5 - ม.4/8 6 ห้องเรียน ศิลปะ - ภาษาไทย 2 ม.4/9-4/10 7 ห้องเรียน สังคมฯ - ภาษาอังกฤษ 1 ม.4/11 รวม 11


27 แผนการเรียนระดับชั นมัธยมศึกษาปีที่5 ปีการศึกษา 2565 ที่ แผนการเรียน ระดับชั นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จ านวนห้อง ห้อง 1 ห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม (SMTE) 1 ม.5/1 2 ห้องเรียนพิเศษคณิตศาสตร์Advanced Program (AP) 1 ม.5/2 3 ห้องเรียนพิเศษภาษาอังกฤษ SEP 1 ม.5/3 4 ห้องเรียนพิเศษภาษาจีน ICP 1 ม.5/4 5 ห้องเรียนวิทย์- คณิต - อังกฤษ 4 ม.5/5 - ม.5/8 6 ห้องเรียน ศิลปะ - ภาษา 1 ม.5/9 7 ห้องเรียน สังคมฯ - ภาษา 1 ม.5/10 8 ห้องเรียน การงานฯ - พละ 1 ม.4/11 รวม 11 11 แผนการเรียนระดับชั นมัธยมศึกษาปีที่6 ปีการศึกษา 2565 ที่ แผนการเรียน ระดับชั นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จ านวนห้อง ห้อง 1 ห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม (SMTE) 1 ม.6/1 2 ห้องเรียนพิเศษคณิตศาสตร์Advanced Program (AP) 1 ม.6/2 3 ห้องเรียนพิเศษภาษาอังกฤษ SEP 1 ม.6/3 4 ห้องเรียนพิเศษภาษาจีน ICP 1 ม.6/4 5 ห้องเรียนวิทย์- คณิต - อังกฤษ 4 ม.6/5 - ม.6/8 6 ห้องเรียน ศิลปะ - ภาษา 1 ม.6/9 7 ห้องเรียน สังคมฯ - ภาษา 1 ม.6/10 8 ห้องเรียน การงานฯ - พละ 1 ม.6/11 รวม 11 11


28 แผนการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตร 1. โครงสร้างเวลาเรียนที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั นพื นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั นพื นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม เวลาเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย • กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย จัดสรรเวลา ตามความเหมาะสม จัดสรรเวลา ตามความเหมาะสม คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม o ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม o หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการ ด าเนินชีวิตในสังคม o ภูมิศาสตร์ o เศรษฐศาสตร์ o ประวัติศาสตร์ 40 ชั่วโมง/ปี 80 ชั่วโมง/3 ปี สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ภาษาต่างประเทศ รวมวิชาพื นฐาน 880 ชั่วโมง/ปี รวม 3 ปี 1,640 ชั่วโมง • กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 120 ชั่วโมง/ปี รวม 3 ปี 360 ชั่วโมง • รายวิชา/กิจกรรมที่สถานศึกษาจัดเพิ่มเติมตาม ความพร้อมและจุดเน้นสาระการเรียนรู้ สถานศึกษาก าหนด สถานศึกษาก าหนด


29 โครงสร้างเวลาเรียนหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเลิงนกทา พุทธศักราช 2552 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู/ กิจกรรม เวลาเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ม.1 ม.2 ม.3 ม.4-6 • กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย 120(3 นก.) 120(3 นก.) 120(3 นก.) 240(6 นก.) คณิตศาสตร์ 120(3 นก.) 120(3 นก.) 120(3 นก.) 200(5 นก.) วิทยาศาสตร์ 160(4 นก.) 160(4 นก.) 160(4 นก.) 280(7 นก.) สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม o ประวัติศาสตร์ o ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม o หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และ การด าเนินชีวิตในสังคม o ภูมิศาสตร์ o เศรษฐศาสตร์ 160(4 นก.) 40(1 นก.) 120(3 นก.) 160(4 นก.) 40(1 นก.) 120(3 นก.) 160(4 นก.) 40(1 นก.) 120(3 นก.) 320(8 นก.) 80 (2 นก.) 240 (6 นก.) สุขศึกษาและพลศึกษา 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 120 (3 นก.) ศิลปะ 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 120 (3 นก.) การงานอาชีพและเทคโนโลยี 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 120 (3 นก.) ภาษาต่างประเทศ 120 (3 นก.) 120(3 นก.) 120(3 นก.) 240 (6 นก.) รวมเวลาเรียน (พื นฐาน) 880 (22 นก.) 880 (22 นก.) 880 (22 นก.) 1,640 (41 นก.) • รายวิชาเพิ่มเติมที่จัดตามความพร้อม และจุดเน้นกลุ่มสาระการเรียนรู้ ปีละไม่น้อยกว่า 200 ชั่วโมง ไม่น้อยกว่า 1,600 ชั่วโมง •รายวิชา มาตรฐานสากล - 80 (2 นก.) - 80 (2 นก.) •หน้าที่พลเมือง 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 80 (2 นก.) รวมเวลากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 120 ชม. 120 ชม. 120 ชม. 360 ขม. • กิจกรรมแนะแนว 40 ชม. 40 ชม. 40 ชม. 40 ชม/ปี • กิจกรรมนักเรียน - ลูกเสือ/ยุวกาชาด/ผู้บ าเพ็ญประโยชน์/ นักศึกษาวิชาทหาร/ยุวอาสา- ชมรม ชุมนุม 40 ชม. 40 ชม. 40 ชม. 40 ชม/ปี • กิจกรรมชุมนุม 40 ชม. 40 ชม. 40 ชม. 40 ชม/ปี • กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ 15ชม./ปี 15ชม./ปี 15ชม./ปี 20 ชม./ปี • กิจกรรมบริการสังคมและสาธารณประโยชน์( IS3) 20 ชม. 20 ชม. รวมเวลาเรียนทั งหมด ไม่น้อย 1,200 ชั่วโมง/ปี รวม 3 ปี ไม่น้อยว่า 3,600 ชั่วโมง


2. โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเลิงนกทา พุทธศักราช 2552 (ฉบับปรับป ระดับชั นมัธยมศึกษา โครงสร้างหลักสูตรชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น แผนการเรียนห้องเรียน


30 ปรุง พุทธศักราช 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั นพื นฐาน พุทธศักราช 2551 าตอนต้น ปีการศึกษา 2565 นพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม (SMTE)


โครงสร้างหลักสูตรชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น แผนการเ


31 เรียนห้องเรียนพิเศษคณิตศาสตร์ Advanced Program (AP)


โครงสร้างหลักสูตรชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น


32 แผนการเรียนห้องเรียนพิเศษภาษาอังกฤษ (SEP)


โครงสร้างหลักสูตรชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น


33 แผนการเรียนห้องเรียนพิเศษภาษาจีน (ICP)


โครงสร้างหลักสูตรชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น แผนกา


34 ารเรียนวิทย์ -คณิต - ภาษาอังกฤษ


โครงสร้างหลักสูตรชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียนห้องเรียน


35 นพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม (SMTE)


โครงสร้างหลักสูตรชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรีย


36 ยนห้องเรียนพิเศษคณิตศาสตร์ Advanced Program (AP)


Click to View FlipBook Version