โรงเรยี นโยธนิ บรู ณะ
การสรา้ งชมุ ชนการเรียนรู้วชิ าชพี ครู (PLC) Professional Learning Community
ชื่อกลมุ่ English Edutainment
เรือ่ ง การพฒั นาทักษะการเช่ือมโยงและจดจำคำศพั ท์และไวยากรณภ์ าษาอังกฤษ
ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563
ผูเ้ ขา้ รว่ มสนทนา จำนวนสมาชกิ 8 คน
ที่ ชือ่ -สกลุ ตำแหนง่ /บทบาทหนา้ ท่ี ลายมอื ช่อื
1. นายณรงค์ คงสมปราชญ์ ผู้อำนวยการโรงเรยี น
2. นางวรนิ พร เจรญิ แลว้ รองผอู้ ำนวยการฯ กล่มุ บรหิ ารวิชาการ
3. นายยุทธศักดิ์ สว่างสมุทรชัย ผ้เู ชย่ี วชาญ (Expert)
4. นางสาวศิริรัตน์ เลาหสกุล ครผู ู้สอน (Model Teacher)
5. นางสาววลิ าสินี ทวีผดุง ครูผูเ้ ขา้ รว่ มเรียนรู้ (Buddy Teacher)
6. นายจิรกติ ต์ ชยั ศรี ครผู เู้ ข้าร่วมเรยี นรู้ (Buddy Teacher)
7. นายศรยทุ ธ์ิ จันสม ครผู เู้ ข้ารว่ มเรียนรู้ (Buddy Teacher)
8. นางสาวมณีนุช จิรแพศยสุข ครผู ูเ้ ขา้ ร่วมเรยี นรู้ (Buddy Teacher)
วิธีการดำเนนิ งานการสร้างชมุ ชน
วิธกี ารดำเนนิ งานการสร้างชุมชน
ลำดบั รปู แบบการดำเนนิ การ
1. ประชุมครั้งที่ 1 รวมกลุ่มและรว่ มกนั เสนอชอ่ื กลมุ่ เพื่อจดั ตงั้ ประชุมครูเพอ่ื จ
กลมุ่ PLC ดำเนนิ การในกล
2. ประชมุ ครง้ั ที่ 2 ระบุประเดน็ และสาเหตุของปัญหา สมาชกิ ในกลุม่ P
3. ประชมุ ครง้ั ที่ 3 ระบุ/รวบรวมแนวทางการแก้ปญั หา สมาชกิ ในกลมุ่ P
4. ประชมุ ครั้งท่ี 4 สรา้ งรปู แบบการแกป้ ญั หา การจัดการเรยี น สมาชกิ ในกลมุ่ P
การสอน ทีต่ ดั สินใจเลอื ก
5. ประชุมครง้ั ที่ 5 ออกแบบกิจกรรม/เทคนิคการสอน/วธิ ีการ สมาชิกในกลุ่ม P
สอน การสอน วิธีกา
เข้าใจ (อาจเปน็
6. ประชมุ ครั้งท่ี 6 นเิ ทศวธิ ีการสอน สมาชิกในกลมุ่ P
สอนที่สร้างหรอื
นเิ ทศพร้อมกัน
7. ประชุมครั้งท่ี 7 สร้างและนเิ ทศแผนการจดั การเรียนรู้ สมาชิก PLC สร
แผนการจดั การ
นการเรียนรู้ทางวิชาชพี ครู (PLC)
นการเรยี นรทู้ างวชิ าชีพครู (PLC)
วธิ ีการ ช่วงเวลา จำนวนชว่ั โมง ผ้รู ับผิดชอบ
จัดกลุ่ม PLC และจดั ทำปฏิทินการ 13 ก.ค. 2563 2 ชว่ั โมง สมาชิกกลุ่ม PLC
ลุม่ PLC
PLCประชมุ พูดคยุ กัน 20 ก.ค. 2563 3 ชั่วโมง สมาชิกกลมุ่ PLC
PLCประชมุ พูดคยุ กัน 3 ส.ค. 2563 3 ชั่วโมง สมาชิกกลมุ่ PLC
PLCสรา้ งรูปแบบการแกป้ ัญหาตามวธิ ี 10 ส.ค. 2563 3 ชั่วโมง สมาชิกกลมุ่ PLC
ก
PLCบันทกึ ข้ันตอนของกจิ กรรม เทคนิค 17 ส.ค. 2563 3 ชว่ั โมง สมาชิกกลุ่ม PLC
ารสอนว่าแต่ละขั้นต้องทำอย่างไร พอ
นการสร้างเอง หรือการค้นควา้ ) 24 ส.ค. 2563 3 ชวั่ โมง สมาชกิ กลุ่ม PLC
PLC นดั วนั เวลาในการนำเสนอวิธกี าร
อนำมาจากบคุ คลอื่นใหผ้ นู้ ิเทศทำการ
ร้างแผนการจัดการเรยี นรู้ออกแบบ 31 ส.ค. 2563 3 ชั่วโมง สมาชิกกลมุ่ PLC
รเรียนรโู้ ดยใช้ Memolody เป็นฐาน
ลำดบั รปู แบบการดำเนินการ
8. ประชมุ คร้ังท่ี 8 นำวธิ ีการทเี่ ลือกไปใช้ตามแผนการจัดการ สมาชกิ PLC สร
เรียนรู้ แผนการจดั การ
การจดั ทำส่ือ นว
9. ประชุมครั้งที่ 9 นิเทศการจัดการเรยี นการสอนนเิ ทศการ สมาชิก PLC นดั
จดั การเรยี นการผา่ นวดิ ีทัศน์ ใหต้ รงกับชวั่ โมง
สอน
10. ประชุมครั้งที่ 10 สะทอ้ นผลการทดลองใชแ้ ผนการจัดการ สมาชิก PLC ผู้เ
เรียนรู้ด้วยตนเอง ผเู้ ข้ารว่ มเรียนร
นำส่ือนวตั กรรม
ลงช่อื .........
(นาง
ลงชอื่ .............
(น
รองผู้อำน
ลงช่ือ............
(นา
ผ้อู ำนว
วธิ กี าร ช่วงเวลา จำนวนช่ัวโมง ผูร้ บั ผดิ ชอบ
ร้างแผนการจัดการเรียนรู้ออกแบบ 14 ก.ย. 2563 3 ชว่ั โมง สมาชิกกล่มุ PLC
รเรียนรูโ้ ดยใช้ Memolody เปน็ ฐานใน
วัตกรรม
ดวนั เวลากับผ้นู เิ ทศเพื่อเยย่ี มชั้นเรียน 21 ก.ย. 2563 3 ชั่วโมง สมาชิกกลมุ่ PLC
งที่ทดลองใชว้ ิธีการสอน/เทคนิคการ
เชยี่ วชาญ ผ้นู ิเทศ ครผู ู้สอน ครู 28 ก.ย. 2563 3 ชว่ั โมง สมาชิกกลมุ่ PLC
รู้ ประชุมพดู คุยกันเพื่อสะท้อนผลการ
ม เทคโนโลยไี ปใช้
..................................... ผบู้ ันทึก
งสาวมณนี ชุ จริ แพศยสุข)
................................ ผตู้ รวจบนั ทกึ
นางวรินพร เจรญิ แลว้ )
นวยการฯ กล่มุ บริหารวชิ าการ
...................................... ผู้รับรอง
ายณรงค์ คงสมปราชญ์)
วยการโรงเรียนโยธนิ บรู ณะ
บนั ทึกการสรา้ งชุมชนการเรียนรูว้ ิชาชพี ครู (PLC) Professional Learning Community
เพื่อการพฒั นาทกั ษะการเชื่อมโยงและจดจำคำศัพท์และไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ
คร้งั ท่ี 1
ช่ือกลุ่ม English Edutainment
เรอ่ื ง การรวมกลมุ่ และรว่ มกนั เสนอชือ่ กลมุ่ เพอ่ื จัดต้ังกลุ่ม PLC
วันท่ี 13 กรกฎาคม 2563
เวลา 15.40 - 17.40 น. จำนวน 3 ช่ัวโมง
สถานท่ี ห้องปฏิบตั กิ ารกลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ
ผู้เข้ารว่ มวงสนทนา จำนวนสมาชกิ 6 คน
ท่ี ชอื่ - สกุล ตำแหน่ง/บทบาทหนา้ ที่ ลายมอื ชื่อ
1. นายยุทธศกั ดิ์ สวา่ งสมทุ รชัย ผเู้ ชี่ยวชาญ (Expert)
2. นางสาวศริ ริ ัตน์ เลาหสกุล ครผู สู้ อน (Model Teacher)
3. นางสาววิลาสินี ทวีผดงุ ครผู ู้เข้าร่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher)
4. นายจิรกติ ต์ิ ชยั ศรี ครผู ู้เข้ารว่ มเรียนรู้ (Buddy Teacher)
5. นายศรยทุ ธิ์ จนั สม ครูผเู้ ขา้ รว่ มเรยี นรู้ (Buddy Teacher)
6. นางสาวมณนี ชุ จริ แพศยสุข ครูผู้เข้ารว่ มเรยี นรู้ (Buddy Teacher)
การเขา้ รว่ มชุมชนแห่งการเรยี นร้เู พือ่ การนเิ ทศและวิจยั
ครง้ั ท่ี 1 การรวมกลมุ่ และร่วมกนั เสนอช่อื กลมุ่ เพอื่ จัดต้งั กลมุ่ PLC
วนั จันทรท์ ่ี 13 กรกฎาคม 2563 เวลา 15.40 - 17.40 น.
รวมเวลา 2 ช่วั โมง
คำช้แี จง สมาชกิ ในกลุ่ม PLC ประชมุ พดู คยุ กนั
- สรา้ งความเขา้ ใจเร่ือง PLC
- ครูในกลมุ่ สาระการเรยี นร้จู ดั ตัง้ วง PLC จากปัญหาท่ีเปน็ แนวทางเดยี วกนั
- สรปุ จำนวนสมาชิก กำหนดบทบาทหน้าท่ีของสมาชิก PLC
- ต้งั ชือ่ กลุ่ม
- ต้งั ช่ือเรอ่ื ง
1. กำหนด กำหนดบทบาทหน้าทข่ี องสมาชกิ PLC
สมาชกิ สรปุ จำนวนสมาชิก กำหนดบทบาทหนา้ ท่ีของสมาชิก PLC
1. นายยทุ ธศกั ด์ิ สว่างสมทุ รชยั บทบาทหน้าท่ี ผเู้ ชี่ยวชาญ (Expert)
2. นายศรยุทธ์ิ จนั สม บทบาทหนา้ ท่ี ครูผู้สอน (Model Teacher)
3. นางสาววิลาสนิ ี ทวีผดงุ บทบาทหน้าท่ี ครูผ้เู ข้ารว่ มเรียนรู้ (Buddy Teacher)
4. นายจิรกิตต์ิ ชัยศรี บทบาทหน้าท่ี ครผู เู้ ขา้ ร่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher)
5. นางสาวศิรริ ัตน์ เลาหสกุล บทบาทหน้าที่ ครูผู้เขา้ รว่ มเรียนรู้ (Buddy Teacher)
6. นางสาวมณีนชุ จริ แพศยสุข บทบาทหนา้ ท่ี ครผู ูเ้ ข้ารว่ มเรียนรู้ (Buddy Teacher)
2. ประเดน็ พดู คยุ ประเด็นปัญหาทเ่ี กิดจากการจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ อย่างไรให้นักเรียนมีความสขุ สนุกสนานต่อการเรียนรู้ และเปดิ ใจใน
การเรยี นรู้วชิ าภาษาองั กฤษ ในช่วงสถานการณ์การการระบาดของไวรสั โคโรนา (COVID-19)
3. หาสาเหตุ พูดคุยสาเหตุของปัญหาทเ่ี กิดจากการเรยี นและตัง้ ชื่อกลุม่ ให้สอดคล้องกัน
1. กลุ่ม Edutainment ครูยุทธศักดิ์เป็นผู้เสนอชื่อนี้จากสาเหตุนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา
ตอนปลายส่วนใหญ่มีปัญหาในการจดจำและเชื่อมโยงคำศัพท์ หลักไวยากรณ์ ที่มีระดับความยากและซับซ้อน
มากขึ้นกว่าในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น การปรับการเรียนการสอนควรเหมาะกับนักเรยี นในศตวรรษที่ 21
โดยเพ่มิ ความสนุกสนานในการเรียน
2. ครูวิลาสินีได้เสนอให้เพิ่มคำว่า English เข้าไปเพราะสมาชิกในกลุ่มทุกคนปฏิบัติหน้าที่สอน
ในรายวชิ าภาษาองั กฤษ
3. สมาชิกในกลุ่มทุกคนเห็นด้วยเพราะการเรียนจัดการเรียนการสอนในวิชาภาษาอังกฤษไม่มี
ความสนุกและน่าสนใจ ทำให้นักเรียนไม่สนใจที่อยากจะเรียน โดยเฉพาะในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาด
COVID-19
3. กำหนดเวลา กำหนดปฏทิ ินการดำเนินงานการสรา้ งชมุ ชนการเรียนรทู้ างวิชาชีพครู (PLC)
สมาชิกกลุ่มแลกเปลี่ยนเรยี นรู้การจัดการเรยี นการสอนในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาด COVID-19
และได้ร่วมกันจัดทำปฏิทินการดำเนินการในกลุ่ม PLC ในทุกวันจันทร์ ในเวลา 15.40 น. เป็นต้นไป ตลอดจน
ปีการศึกษา 2563
สรปุ ผลจากการประชุม PLC
ประเดน็ สาเหตุ
ประเด็นปัญหา สาเหตขุ องปัญหา
การจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ อย่างไรให้ 1. นักเรยี น มีปัญหาในการจดจำและเชือ่ มโยงคำศัพท์
นักเรยี นท่สี อนในแตล่ ะระดบั ชน้ั มคี วามสนใจ และสงิ่ ที่ การใช้หลกั ไวยากรณ์ ที่มีระดับความยากและซบั ซ้อน
เปน็ หัวใจสำคัญ นกั เรียนต้องมคี วามสุข สนุกสนาน ไม่ การปรบั การเรียนการสอนควรเหมาะกับนกั เรียนใน
เครยี ด ยงิ่ ไปกวา่ นน้นั นักเรยี นต้องมเี จตคติท่ีดีตอ่ การเรียน ศตวรรษที่ 21 โดยเพ่ิมความสนุกสนานในการเรยี น
วิชาภาษาองั กฤษ ในช่วงสถานการณ์การระบาดของไวรสั ผา่ นสอื่ การสอนโดยใชเ้ ทคโนโลยีเข้ามาช่วยสอน
โคโรนา (COVID-19) 2. เทคนิคการสอนภาษาองั กฤษ หรอื การปรับเปลยี่ น
บทเรยี นทดี่ ึงดูดนักเรียนให้สนุกและสนใจ ในช่วง
สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรสั โคโรนา
(COVID-19)
ความรู้/หลกั การทนี่ ำมาใช้ กิจกรรมท่ีทำ
1. ออกแบบการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับศักยภาพและ 1. ประชมุ ครผู ูส้ อน เพื่อหาประเด็นปญั หาของการ
บรบิ ทของผ้เู รยี นในการเรียนออนไลน์ เรียนการสอนภาษาองั กฤษในระดบั ชน้ั
2. การกำหนดบทบาทของผูส้ อนและผู้เรยี น การใชส้ อ่ื การ 2. อภิปรายประเดน็ ปญั หาในการเรยี นรูข้ องนกั เรียน
เรียนรู้ที่หลากหลาย เหมาะสมต่อนักเรียนในศตวรรษท่ี เกยี่ วกับการจดจำคำศัพท์และเชอ่ื มโยงไวยากรณ์
21 ภาษาองั กฤษ โดยหาวิธกี ารเรียนท่ีนา่ สนใจและทำให้
ผเู้ รยี นมีความสุขต่อการเรียนมาปรับใช้กบั นักเรยี นใน
แตล่ ะระดับช้ัน
ผลท่ไี ด้จากกจิ กรรม การนำผลทไี่ ด้ไปใช้ประโยชน์
กิจกรรม PLC นำมาซึ่งข้อสรุปของหัวข้อที่สนใจในการ ผลที่ได้จากกิจกรรมนำไปสู่การวางแผนเพ่ือ
ร่วมกันพัฒนาแก้ไขปัญหาของนกั เรยี น ดำเนินการวิเคราะห์ปัญหา สาเหตุ และวิธีการแก้ไข
ปัญหาอยา่ งละเอยี ด
ลงชอื่ .......................................... ผู้บันทกึ ลงชอื่ ............................................ ผู้ตรวจบันทกึ
(นางสาวมณีนชุ จริ แพศยสขุ ) (นางวรินพร เจรญิ แลว้ )
ครู
รองผู้อำนวยการโรงเรียน กลมุ่ บรหิ ารวิชาการ
ลงชอื่ ............................................ ผรู้ บั รอง
(นายณรงค์ คงสมปราชญ์)
ผอู้ ำนวยการโรงเรียนโยธนิ บูรณะ
ภาพการดาเนินงานการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวชิ าชพี ครู (PLC) ภาคเรยี นท่ี 1/2563
ประชุมครั้งที่ 1
รวมกลุ่มและร่วมกันเสนอชือ่ กลุ่มเพอ่ื จดั ตั้งกลุม่ PLC
บนั ทกึ การสร้างชุมชนการเรียนรู้วิชาชพี ครู (PLC) Professional Learning Community
เพ่อื การพัฒนาทักษะการเช่อื มโยงและจดจำคำศัพทแ์ ละไวยากรณภ์ าษาอังกฤษ
คร้งั ที่ 2
ชื่อกลุ่ม English Edutainment
เรือ่ ง ระบปุ ระเดน็ และสาเหตขุ องปัญหา
วนั ที่ 20 กรกฎาคม 2563
เวลา 15.40 - 18.40 น. จำนวน 3 ชัว่ โมง
สถานท่ี ห้องปฏบิ ัตกิ ารกลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ
ผูเ้ ข้าร่วมวงสนทนา จำนวนสมาชกิ 6 คน
ที่ ช่อื - สกุล ตำแหนง่ /บทบาทหน้าที่ ลายมอื ชือ่
1. นายยุทธศกั ดิ์ สว่างสมทุ รชยั ผเู้ ชี่ยวชาญ (Expert)
2. นางสาวศริ ิรตั น์ เลาหสกลุ ครูผสู้ อน (Model Teacher)
3. นางสาววิลาสนิ ี ทวีผดุง ครูผเู้ ขา้ ร่วมเรยี นรู้ (Buddy Teacher)
4. นายจริ กิตติ์ ชัยศรี ครผู เู้ ข้าร่วมเรยี นรู้ (Buddy Teacher)
5. นายศรยุทธ์ิ จันสม ครผู เู้ ขา้ ร่วมเรยี นรู้ (Buddy Teacher)
6. นางสาวมณีนุช จริ แพศยสุข ครผู ู้เขา้ ร่วมเรยี นรู้ (Buddy Teacher)
การเข้ารว่ มชุมชนแหง่ การเรียนรู้เพ่ือการนเิ ทศและวจิ ยั
ครงั้ ที่ 2 ระบุประเด็นและสาเหตขุ องปัญหา
วนั จนั ทร์ที่ 20 กรกฎาคม 2563 เวลา 15.40 - 18.40 น.
รวมเวลา 3 ชั่วโมง
คำชี้แจง สมาชกิ ในกลุ่ม PLC ประชุม พดู คุยกนั
1. ประเดน็ : พูดคุยประเดน็ ปัญหาทเ่ี กดิ จากการจดั การเรียนการสอนโดยเฉพาะช่วงการเรยี นออนไลน์ ใน
สถานการณโ์ รคระบาด COVID 19 สง่ ผลในการเรยี นรขู้ องนกั เรยี นไม่อาจทำได้อยา่ งต่อเนอื่ ง เพราะนักเรยี น
ต้องสลบั กนั มาเรียน ตามเลขคู่-คี่ อาจจะทำใหน้ ักเรียนหยุดการพัฒนาตัวเองหรือทำให้การเรียนรู้ไมต่ ่อเน่ือง
ขาดการเรียนรสู้ ่งิ ใหม่ ตามตัวชวี้ ัด
2. หาสาเหต:ุ พดู คุยสาเหตขุ องปัญหาที่เกดิ จากการจดั การเรียนการสอน เทคโนโลยี
ผู้เชี่ยวชาญเห็นว่าสาเหตุของปัญหามาจาก: นักเรียนไม่ได้รับการส่งเสริมให้จดจำคำศัพท์และ
เชอื่ มโยงหลักไวยากรณ์อยา่ งเปน็ ระบบหมวดหมู่ หรอื เปน็ ความคิดรวบยอด ทำใหค้ วามหมายของคำศัพท์และ
หลักไวยากรณไ์ ม่สามารถฝังอย่ใู นความทรงจำระยะยาวได้ ซ่ึงเปน็ สาเหตุสำคัญของปัญหาในการดึงความรู้หรือ
ข้อมูลดังกลา่ วเพอ่ื นำไปใช้ในส่ือสาร
ครูผู้สอนและสมาชิกเห็นว่าสาเหตุของปัญหามาจาก: การจดจำคำศัพท์แบบท่องจำแยกส่วนหรือ
เรยี นไวยากรณใ์ นลักษณะเดมิ แบบไม่เปน็ องค์รวมไม่สอดคล้องต่อลกั ษณะของผ้เู รยี นในศตวรรษท่ี 21 ท่ีมงุ่ เน้น
ให้นักเรียนคดิ สงั เคราะหแ์ บบบรู ณาการใชเ้ ทคโนโลยี ผลติ สรา้ งนวัตกรรม และมคี วามคดิ สรา้ งสรรคน์ อกกรอบ
จงึ ทำใหน้ ักเรยี นเกิดทศั นคตเิ ชิงลบต่อการเรยี นรูภ้ าษาอังกฤษ
3. สรปุ ประเด็นปัญหาท่ีต้องการพฒั นา:
[] กิจกรรมการสอนไมห่ ลากหลาย [] ไมม่ เี ทคนิคการสอนใหมๆ่
[ ] นักเรียนไม่ให้ความรว่ มมือในการเรยี นการสอน [ ] ลำดบั ข้นั ตอนการสอนได้ไมด่ ี
[ ] อื่นๆ ....................................................................................................................... ....................
สรุปผลจากการประชุม PLC
ประเด็น สาเหตุ
ประเดน็ ปญั หา สาเหตขุ องปัญหา
นักเรียนระดบั มัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย 1. นักเรยี นจดจำคำศัพท์โดยการท่องจำซงึ่ การท่องจำ
มีปัญหาในการเรียนไวยากรณ์โดยนักเรียนมีความสับสน มันไม่เป็นระบบหมวดหมู่ทำให้นักเรียนรู้สึกว่าการ
ในการใช้หลักไวยากรณ์ทางภาษาอังกฤษ ยิ่งไปกว่าน้ัน ท่องจำมันเป็นสิ่งที่ยากจึงทำให้นักเรียนไม่ต่อยอด
นกั เรยี นไม่สนใจหรือไม่มีความมั่นใจในการใชภ้ าษาเพราะ คำศัพทเ์ ดิมท่ีนกั เรยี นรู้
เรื่องของการจำโครงสร้างทางไวยากรณ์และเรื่องของการ
ใช้คำศัพท์เพื่อสร้างประโยคซึ่งมันเกี่ยวข้องกับหลัก 2. นักเรียนไม่ได้ใช้คำศัพท์หรือหลักไวยยากรณ์ใน
ไวยากรณ์ จากปัญหาดังกล่าวนี้มีผลต่อการเรียนรู้ ชีวิตประจำวัน ดังนั้นนักเรียนควรจะใช้คำศัพท์ที่เป็น
ภาษาอังกฤษทัง้ ระดับมัธยมตอนตน้ และนักเรยี นระดบั ช้ัน หมวดหมู่
มธั ยมตอนปลาย และรวมไปถงึ การพัฒนาระดบั ผลสมั ฤทธ์ิ 3. การจัดการเรียนรู้ การใช้เทคโนโลยีหรือสื่อ
ทางการเรยี น นวัตกรรมควรสร้างสรรค์และดึงดูดใจต่อนักเรียนใน
ศตวรรษ ที่ 21 เพื่อปรับเปลี่ยนเจตคติต่อวิชา
ภาษาองั กฤษของนกั เรยี นให้ดีขน้ึ
ความรู้/หลกั การท่นี ำมาใช้ กจิ กรรมท่ที ำ
- ธรรมชาตใิ นการเรียนร้ภู าษา 1. ประชมุ ครูผูส้ อนวชิ าภาษาองั กฤษ เพ่อื หาประเดน็
- การจดจำของสมอง ปัญหาของการเรียนการสอนภาษาองั กฤษในระดับชั้น
2. อภปิ รายประเดน็ ปัญหาในการเรยี นร้ขู องนักเรยี น
เกย่ี วกับการจดจำคำศัพท์และเช่อื มโยงไวยากรณ์
ภาษาอังกฤษ รวมไปถึงบรรยากาศในช้นั เรยี น
ผลทีไ่ ด้จากกจิ กรรม การนำผลทไ่ี ด้ไปใชป้ ระโยชน์
กิจกรรม PLC นำมาซึ่งข้อสรุปของหัวข้อที่สนใจในการ ผลที่ได้จากกิจกรรมนำไปสู่การวางแผนเพื่อ
ร่วมกนั พฒั นาแก้ไขปัญหาของนักเรียน ดำเนินการวิเคราะห์ปัญหา สาเหตุ และวิธีการแก้ไข
ปญั หาอย่างละเอยี ด
ลงชื่อ.......................................... ผูบ้ ันทึก ลงชอ่ื ............................................ ผตู้ รวจบนั ทึก
(นางสาวมณนี ุช จริ แพศยสุข) (นางวรินพร เจริญแล้ว)
ครู
รองผู้อำนวยการโรงเรียน กลุ่มบรหิ ารวชิ าการ
ลงช่อื ............................................ ผรู้ บั รอง
(นายณรงค์ คงสมปราชญ)์
ผู้อำนวยการโรงเรียนโยธนิ บรู ณะ
ประชุมครัง้ ที่ 2
ระบุประเดน็ และสาเหตุของปัญหา
บนั ทกึ การสร้างชุมชนการเรียนรู้วิชาชพี ครู (PLC) Professional Learning Community
เพ่อื การพัฒนาทักษะการเช่อื มโยงและจดจำคำศัพทแ์ ละไวยากรณภ์ าษาอังกฤษ
คร้งั ที่ 3
ชื่อกลุ่ม English Edutainment
เรือ่ ง ระบปุ ระเดน็ และสาเหตขุ องปัญหา
วนั ที่ 20 กรกฎาคม 2563
เวลา 15.40 - 18.40 น. จำนวน 3 ชัว่ โมง
สถานท่ี ห้องปฏบิ ัตกิ ารกลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ
ผูเ้ ข้าร่วมวงสนทนา จำนวนสมาชกิ 6 คน
ที่ ช่อื - สกุล ตำแหนง่ /บทบาทหน้าที่ ลายมอื ชือ่
1. นายยุทธศกั ดิ์ สว่างสมทุ รชยั ผเู้ ชี่ยวชาญ (Expert)
2. นางสาวศริ ิรตั น์ เลาหสกลุ ครูผสู้ อน (Model Teacher)
3. นางสาววิลาสนิ ี ทวีผดุง ครูผเู้ ขา้ ร่วมเรยี นรู้ (Buddy Teacher)
4. นายจริ กิตติ์ ชัยศรี ครผู เู้ ข้าร่วมเรยี นรู้ (Buddy Teacher)
5. นายศรยุทธ์ิ จันสม ครผู เู้ ขา้ ร่วมเรยี นรู้ (Buddy Teacher)
6. นางสาวมณีนุช จริ แพศยสุข ครผู ู้เขา้ ร่วมเรยี นรู้ (Buddy Teacher)
การเขา้ รว่ มชุมชนแหง่ การเรยี นรู้เพอื่ การนิเทศและวิจยั
ครงั้ ที่ 3 ระบุ/รวบรวมแนวทางการแกป้ ัญหา
วันจนั ทรท์ ่ี 3 สงิ หาคม 2563 เวลา 15.40 - 18.40 น.
รวมเวลา 3 ช่ัวโมง
คำชแี้ จง สมาชิกในกลุ่ม PLC ประชุม พดู คุยกนั
3. หา ร่วมหาแนวทางแก้ไขปัญหา
สาเหตขุ องปัญหาทีเ่ กดิ จากการใช้ / สรา้ งนวตั กรรม ส่ือ เทคโนโลยี คอื
1. นักเรียนไม่ได้รับการส่งเสริมให้จดจำคำศัพท์และเชื่อมโยงหลักไวยากรณ์อย่างเป็นระบบหมวดหมู่
หรือเป็นความคิดรวบยอด ทำให้ความหมายของคำศัพท์และหลักไวยากรณ์ไม่สามารถฝังอยู่ในความทรงจำ
ระยะยาวได้ ซ่งึ เปน็ สาเหตสุ ำคัญของปัญหาในการดงึ ความรู้หรือข้อมลู ดังกล่าวเพ่ือนำไปใช้ในส่อื สาร
2. การจดจำคำศัพท์แบบท่องจำแยกส่วนหรือเรียนไวยากรณ์ในลักษณะเดิมแบบไม่เป็นองค์รวมไม่
สอดคล้องต่อลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ที่มุ่งเน้นให้นักเรียนคิดสังเคราะห์แบบบูรณาการใช้
เทคโนโลยี ผลิตสร้างนวัตกรรม และมีความคิดสร้างสรรค์นอกกรอบ จึงทำให้นักเรียนเกิดทัศนคติเชิงลบต่อ
การเรียนรภู้ าษาอังกฤษ
ครยู ทุ ธศกั ดิ์ และครวู ิลาสนิ ี เหน็ ว่าวิธีการสอนท่ีจะแก้ปญั หาได้ คือ การเชอ่ื มโยงและจดจำคำศัพท์
และไวยากรณภ์ าษาองั กฤษผ่านเพลงบทเพลงชว่ ยจำ คำศัพท์ ไวยากรณ์และบทกลอน
ครูมณีนชุ และครจู ริ กิตต์ิ เห็นวา่ วิธกี ารสอนทีจ่ ะแกป้ ัญหาได้ คอื การเชื่อมโยงและจดจำคำศัพทแ์ ละ
ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษผา่ นสมดุ คำศัพท์เล่มเล็ก
วชิ าการและผู้เชยี่ วชาญเห็นวา่ วธิ ีการสอนท่ีจะแกป้ ญั หาได้ คือ การเชื่อมโยงและจดจำคำศพั ท์และ
ไวยากรณภ์ าษาองั กฤษผา่ นเพลงและบทกลอน
4. เลอื ก ตัดสินใจเลือกวธิ ีการแก้ปญั หาทเ่ี กดิ จากการจัดการเรยี นการสอน
(อย่างน้อย 2 วิธี)
1. การเชอ่ื มโยงและจดจำคำศพั ท์และไวยากรณ์ภาษาอังกฤษผ่านเพลงและบทกลอน
2. การเช่ือมโยงและจดจำคำศพั ท์และไวยากรณภ์ าษาอังกฤษผา่ นสมุดคำศัพทเ์ ลม่ เล็ก
5. ศึกษา ควรศกึ ษาวิธกี ารสอนนจี้ ากทฤษฎที เ่ี ก่ยี วข้อง
ผเู้ ชย่ี วชาญ พี่เลี้ยง และสมาชกิ รว่ มกนั เสนอแนะใหศ้ กึ ษาทฤษฎีและปรึกษาบุคคลตอ่ ไปนี้
1. กลวธิ ีการสอน (Teaching Methodology) – อ.ดร.พรพิมล ประสงค์พร
2. กลไกการจดจำและการการทำงานของสมอง – นางสาวพรยุพา สงวนวงษ
สรปุ ผลจากการประชุม PLC
ประเด็น สาเหตุ
ประเด็นปญั หา สาเหตขุ องปัญหา
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายส่วน 1. นกั เรยี นไม่ไดร้ บั การส่งเสริมให้จดจำคำศัพท์และ
ใหญ่มีปัญหาในการจดจำและเชื่อมโยงคำศัพท์ หลัก เชื่อมโยงหลักไวยากรณ์อย่างเป็นระบบหมวดหมู่
ไวยากรณ์ ที่มีระดับความยากและซับซ้อนมากขึ้นกว่า หรือเป็นความคิดรวบยอด ทำให้ความหมายของ
ในระดับชน้ั มธั ยมศึกษาตอนต้น ซงึ่ ส่งผลกระทบต่อการ คำศัพท์และหลักไวยากรณ์ไม่สามารถฝังอยู่ใน
ดึงองค์ประกอบสำคัญของภาษามาประยุกต์ใช้ในการ ความทรงจำระยะยาวได้ ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญของ
สื่อสารและซึ่งนั่นรวมไปถึงการพัฒนาระดับผลสัมฤทธ์ิ ปัญหาในการดึงความรู้หรือข้อมูลดังกล่าวเพื่อ
ทางการเรียนในรายวชิ าภาษาอังกฤษ นำไปใชใ้ นสอ่ื สาร
2. การจดจำคำศัพท์แบบท่องจำแยกส่วนหรือเรียน
ไวยากรณ์ในลักษณะเดิมแบบไม่เป็นองค์รวมไม่
สอดคล้องต่อลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21
ที่มุ่งเน้นให้นักเรียนคิดสังเคราะห์แบบบูรณาการ
ใช้เทคโนโลยี ผลิตสร้างนวัตกรรม และมีความคิด
สร้างสรรค์นอกกรอบ จึงทำให้นักเรียนเกิดทัศนคติ
เชงิ ลบตอ่ การเรียนร้ภู าษาอังกฤษ
ความรู้/หลกั การที่นำมาใช้ กจิ กรรมที่ทำ
กระบวนการของสมองต่อการจดจำ 1. ประชุมครูผู้สอน เพื่อคิดวิธีการแก้ไขปัญหาของ
ทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์และการแพทย์ที่ว่า การเชื่อมโยงหลักไวยากรณ์และจดจำคำศัพท์
ปัจจัยที่มีผลต่อการจดจำของสมองขึ้นอยู่กับสมองส่วน ภาษาองั กฤษ
Hippocampus ที่ฝังอยู่กลางสมอง โดยกระบวนการ 2. อภปิ รายเพื่อสรปุ แนวทางหรือวธิ ีการแก้ไข
ของร่างกายจะตัดสินใจสั่งให้สมองจดจำอะไรนั้น จะ ปัญหาในการเรียนรู้ของนักเรียนเกย่ี วกับการจดจำ
พจิ ารณาจาก 2 เงอื่ นไข คอื คำศัพท์และเชื่อมโยงไวยากรณภ์ าษาอังกฤษ 2 วธิ ี
1. ข้อมูลหรือความรู้ใหม่ที่ได้รับมีความเกี่ยวกับกับ 3. อภปิ ราย/นำเสนอความรแู้ ละหลกั การทีน่ ำมาใช้
ข้อมูลเก่าในสมองของผู้เรียนหรือไม่ หากไม่มีความ ในการกำหนดแนวทางการแก้ไขปัญหาการจดจำ
เกี่ยวพันกัน สมองจะปฏิเสธการจดจำ ในทางตรงกัน คำศัพทแ์ ละเชือ่ มโยงไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ
ข้าม หากมีความเกี่ยวพันเชื่อมโยงกัน สมองจะทำงาน 4. สรปุ ทฤษฎที เ่ี กยี่ วข้องและบุคคลทส่ี ามารถเปน็ ท่ี
ได้ดีในการจดจำข้อมูลนั้น ๆ ดังนั้น คนที่มีความรู้มาก ปรกึ ษาในการทำกจิ กรรม PLC ของกลุ่มได้
หรือมีความรู้หลาย ๆ อย่างจะสามารถจดจำข้อมูลหรือ
ความรู้ใหม่ ๆ ได้ดีกว่า สืบเนื่องจากสามารถนำข้อมูล
ใหม่เชื่อมโยงเกี่ยวพันกับข้อมูลเก่าซึ่งเปน็ ประสบการณ์
เดิม (Background knowledge) ของผเู้ รยี น
2. ข้อมูลหรือความรู้ใหม่ที่ได้รับนั้นมีความหมาย
ทางอารมณ์ต่อผู้เรียนหรือไม่ ทุกอารมณ์ความรู้สึกที่
เกิดขึ้น เช่น สนุก โกรธ เศร้าเสียใจ จะส่งผลให้สมอง
สามารถจดจำรายละเอียดเหตุการณ์หรือข้อมูลเหล่าน้ี
ได้เป็นเวลานานกว่าเหตุการณ์อื่น ๆ ที่ไม่มีความหมาย
ทางอารมณ์ต่อสมอง เช่น สมองจะจดจำเหตุการณ์
สะเทอื นใจมาก ๆ เป็นฉาก เปน็ ภาพ เป็นขนั้ ตอน ท่ีเรา
สามารถถ่ายทอดให้ผู้อื่นผ่านการพูดหรือเขียนไดโ้ ดยไม่
ลืม เนื่องจากข้อมูลทีป่ ระกอบกบั อารมณ์ในช่วงดังกล่าว
ถูกจดจำและฝังเปน็ ความทรงจำระยะยาว (Long-term
memory)
กลวิธกี ารสอน Memolody
กลวิธีการสอน Memolody เกิดจากการรวมตัว
ของคำว่า Memory และ Melody เป็นกลวิธีการสอน
ที่ใช้เพลงและคำคล้องจองเพื่อการเรียนรู้จดจำคำศัพท์
รวมถึงไวยากรณ์ กลวิธีการสอนโดยใช้เพลงหรือคำ
คล้องจองที่อยู่ในบทกลอนจึงเป็นกลวิธีหนึ่งที่ทำให้
ข้อมูลในเรื่องคำศัพท์และไวยากรณ์ใหม่ ๆ สัมผัสกับ
ประสบการณ์เดิมของผู้เรียนได้ เช่น ทำนองเพลง และ
การท่องโคลองกลอน ที่มีความสัมผัสของคำ ทำให้การ
เชื่อมโยงนำข้อมูลใหม่เข้าไปสู่สมองของผู้เรียนได้ดีกว่า
ทั้งยังทำให้การเรียนรู้เกิดความสนุกสนาน เกิดความ
บันเทิงที่ช่วยกระตุ้นสมองให้ทำงานเรียนรู้ เชื่อมโยง
และจดจำได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
กลวิธีการสอนโดยใช้บทเพลงชว่ ยจำ คำศัพท์
การใช้สมุดคำศัพท์ เป็นวิธีการสอนเพื่อให้
ผู้เรียนจดจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษ วลี หรือ ประโยคส้ัน
ๆ เป็นกลวิธีการสอนภาษารูปแบบหนึ่งซึ่งช่วยส่งเสริม
ใหผ้ ู้เรียนมคี วามทรงจำเกี่ยวกบั ส่งิ ท่สี ัมผัสด้วยประสาท
สัมผัสทางการมองเห็นเกิดจากการดูคำศัพท์หรือมอง
รูปภาพ และทางการได้ยินที่เกิดจากการใช้เสียงในการ
อ่านศัพท์หรือท่องศัพท์และเกิดเป็นประสบการณ์ส่ง
ตอ่ ไปยงั สมองเป็นความทรงจำซง่ึ สอดคล้องกบั หลักการ
ในการจดจำความจำของมนุษย์ ซึ่งแบ่งได้แบ่งเป็น 3
ชนดิ ดังนี้
1. ความจำจากการรู้สึกสัมผัส (Sensory Memory)
หมายถึง การคงอยู่ของความรู้สึกสัมผัสหลังจากเสนอ
สิ่งเรา้ สิน้ สุดลง การสัมผัสดว้ ยอวยั วะท้ัง 5 ไดแ้ ก่ หู ตา
จมกู ลน้ิ และผิวหนัง หรอื สว่ นใดสว่ นหน่งึ
2. ความจำระยะสั้น (Short-Term Memory) STM
คือการจำหลังจากการเรียนรู้ เป็นความจำที่คงอยู่ใน
ระยะเวลาสั้น ที่ตั้งใจจำ หรือใจจดจ่อในเวลานั้น เมื่อ
ไม่ไดใ้ ส่ใจ ส่งิ เหลา่ นนั้ แล้ว ความจำก็จะเลือนหายไป
3. ความจำระยะยาว (Long-Term Memory) LTM
คือความจำที่คงทนถาวร ไม่ว่าจะทิ้งระยะเนิ่นนาน
เพียงใด ถ้าเมื่อต้องการรื้อฟื้นความจำนั้นๆ จะระลึก
ออกมาได้ทันทีและถูกต้อง ระบบความจำยาวนี้เป็น
ระบบความจำท่ีมีคณุ ค่าย่ิง เปน็ ความหมาย หรือ ความ
เข้าใจในสิ่งที่ตนรู้สึก เป็นการตีความ จึงขึ้นอยู่กับ
ประสบการณ์เดิม ความสนใจ และความเชื่อของแต่ละ
คน
ผลทีไ่ ดจ้ ากกิจกรรม การนำผลท่ีได้ไปใชป้ ระโยชน์
กจิ กรรม PLC นำมาซง่ึ สรุปของแนวทางการ ผลทไ่ี ดจ้ ากกจิ กรรมนำไปสู่การวางแผนเพอื่
แกไ้ ขปัญหา 2 วธิ ีการ คือ การจดจำคำศัพทแ์ ละ ดำเนนิ การสอดแทรกกลวธิ ีการสอนในการจดั การ
เชอ่ื มโยงไวยากรณภ์ าษาองั กฤษ โดยใช้กลวธิ ีการสอน เรียนรู้
สมดุ คำศัพท์เลม่ เล็ก และการจดจำคำศัพท์และ
เช่อื มโยงไวยากรณภ์ าษาอังกฤษโดยใชส้ มุดบทเพลง
ช่วยจำ คำศพั ท์
ลงชือ่ .......................................... ผบู้ นั ทกึ ลงช่ือ............................................ ผ้ตู รวจบันทกึ
(นางสาวมณนี ุช จิรแพศยสขุ ) (นางวรนิ พร เจริญแล้ว)
ครู
รองผ้อู ำนวยการโรงเรยี น กลุ่มบริหารวิชาการ
ลงช่อื ............................................ ผ้รู ับรอง
(นายณรงค์ คงสมปราชญ)์
ผอู้ ำนวยการโรงเรียนโยธินบูรณะ
ประชุมครัง้ ที่ 3
ระบุประเดน็ และสาเหตุของปัญหา
บันทกึ การสรา้ งชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพครู (PLC) Professional Learning Community
เพอ่ื การพัฒนาทักษะการเช่ือมโยงและจดจำคำศัพท์และไวยากรณ์ภาษาองั กฤษ
ครัง้ ท่ี 4
ท่ี ชอื่ - สกุล ตำแหน่ง/บทบาทหน้าที่ ลายมอื ช่อื
1. นายยุทธศกั ด์ิ สว่างสมุทรชัย ผเู้ ชีย่ วชาญ (Expert)
2. นางสาวศิริรตั น์ เลาหสกุล ครผู สู้ อน (Model Teacher)
3. นางสาววลิ าสนิ ี ทวผี ดุง ครูผู้เขา้ รว่ มเรยี นรู้ (Buddy Teacher)
4. นายจริ กิตติ์ ชัยศรี ครูผเู้ ข้าร่วมเรยี นรู้ (Buddy Teacher)
5. นายศรยทุ ธ์ิ จนั สม ครผู เู้ ข้ารว่ มเรียนรู้ (Buddy Teacher)
6. นางสาวมณนี ุช จิรแพศยสุข ครูผ้เู ขา้ ร่วมเรยี นรู้ (Buddy Teacher)
ชือ่ กลุ่ม English Edutainment
เร่อื ง การสร้างรูปแบบการแกป้ ัญหา การจัดการเรยี นการสอน
วันท่ี 10 สงิ หาคม 2563
เวลา 15.40 - 18.40 น. จำนวน 3 ชั่วโมง
สถานท่ี หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารกลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ
ผู้เข้าร่วมวงสนทนา จำนวนสมาชิก 6 คน
การเขา้ รว่ มชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้เพอ่ื การนิเทศและวจิ ยั
ครงั้ ที่ 4 การสร้างรปู แบบการแก้ปญั หา การจัดการเรยี นการสอน
วันจันทร์ที่ 10 สงิ หาคม 2563 เวลา 15.40 - 18.40 น.
รวมเวลา 3 ชว่ั โมง
คำชี้แจง สมาชิกในกลุ่ม PLC สร้างรปู แบบการแก้ปญั หาตามวธิ ีทต่ี ดั สนิ ใจเลือก
6 วธิ ี สร้างรปู แบบการแกป้ ัญหาตามวิธีการท่เี ลอื กไว้
วิธกี ารทเี่ ลือก วธิ ีท่ี 1: การเชอื่ มโยงและจดจำคำศพั ทแ์ ละไวยากรณภ์ าษาอังกฤษผา่ นเพลงและบทกลอน
ขน้ั ตอนที่ 1: ครูผู้สอนรวบรวมขอ้ มลู จากหนังสือเรยี นทสี่ อน เนอ้ื หาตามตวั ชว้ี ดั ท่เี ก่ียวกับคำศัพท์และหลัก
ไวยากรณใ์ นภาษาอังกฤษในระดับช้นั ของตนเอง เพอ่ื นำมาชว่ ยกนั ปรึกษาและรว่ มกัน
เชือ่ มโยงเป็นบทกลอนหรอื เพลง
ขน้ั ตอนที่ 2: ครูผู้สอนทำแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) เกี่ยวกับหลักไวยากรณ์และคำศัพท์ที่อยู่ใน
บทเรียนตามมาตรฐานและตัวช้วี ัด
ขน้ั ตอนที่ 3: ครผู ู้สอนร่วมกันนำหลักไวยากรณ์และคำศัพท์มาเช่ือมโยงและแต่งเปน็ กลอนและเพลงพร้อม
ทัง้ รวบรวมเป็นเอกสารประกอบการเรียนการสอน
ขน้ั ตอนที่ 4: ครูผูส้ อนแต่ละคนใหน้ ักเรียนทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี น (Pre-test) และคนนำเพลงและ
กลอนท่ไี ดจ้ ากการประชมุ รว่ มกันแตง่ ไปจัดการเรียนการสอนในบทเรยี น
ข้ันตอนที่ 5: ครูผู้สอนทำแบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) เกี่ยวกับหลักไวยากรณ์และคำศัพท์ที่อยู่ใน
บทเรียนตามมาตรฐานและตัวชีว้ ดั เหมือนแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) และให้นักเรียน
ทำเพื่อ เปรียบเทยี บผลของคะแนนว่ามคี วามแตกต่างและพฒั นาข้นึ หรือไม่
ความคดิ เหน็ ผเู้ ช่ยี วชาญ/ผนู้ ิเทศ เป็นวิธีที่
[ ] มีความเปน็ ไปได้ [ ] สามารถแก้ปญั หาได้
[ ] ควรศึกษาทฤษฎี................เพ่ิมเติม [ ] อน่ื ๆ........................
สรปุ ผลจากการประชุม PLC
ประเดน็ สาเหตุ
ประเดน็ ปัญหา สาเหตขุ องปัญหา
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายส่วน 1. นักเรียนไม่ได้รับการส่งเสริมให้จดจำคำศัพท์
ใหญ่มีปัญหาในการจดจำและเชื่อมโยงคำศัพท์ หลัก และเชื่อมโยงหลักไวยากรณ์อย่างเป็นระบบ
ไวยากรณ์ ที่มีระดับความยากและซับซ้อนมากขึ้นกว่า หมวดหมู่ หรือเป็นความคิดรวบยอด ทำให้
ในระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ซงึ่ ส่งผลกระทบตอ่ การ ความหมายของคำศัพท์และหลักไวยากรณ์ไม่
ดึงองค์ประกอบสำคัญของภาษามาประยุกต์ใช้ในการ สามารถฝังอยู่ในความทรงจำระยะยาวได้ ซึ่งเป็น
สื่อสารและซึ่งนั่นรวมไปถึงการพัฒนาระดับผลสัมฤทธิ์ สาเหตุสำคัญของปัญหาในการดึงความรู้หรือ
ทางการเรยี นในรายวิชาภาษาอังกฤษ ขอ้ มลู ดงั กล่าวเพอ่ื นำไปใชใ้ นสอื่ สาร
2. การจดจำคำศัพท์แบบท่องจำแยกส่วนหรือ
เรยี นไวยากรณใ์ นลักษณะเดิมแบบไมเ่ ปน็ องค์รวม
ไม่สอดคล้องต่อลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษท่ี
21ที่มุ่งเน้นให้นักเรียนคิดสังเคราะห์แบบบูรณา
การใช้เทคโนโลยี ผลิตสร้างนวัตกรรม และมี
ความคิดสร้างสรรค์นอกกรอบ จึงทำให้นักเรียน
เกิดทัศนคติเชิงลบต่อการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
ความรู้/หลกั การท่นี ำมาใช้ กจิ กรรมทท่ี ำ
กลวิธีการสอน Memolody เกิดจาก 1. ประชุมครูผู้สอนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอน
การรวมตัวของคำว่า Memory และ Melody เป็น ปลายชั้นปที ี่ 4-5 เพื่อร่วมกันวางแผนขั้นตอนการ
กลวธิ ีการสอนทีใ่ ช้เพลงและคำคลอ้ งจองเพือ่ การเรยี นรู้ จัดการเรียนรู้โดยใช้เพลงและกลอนเพื่อการ
จดจำคำศัพท์รวมถึงไวยากรณ์ โดยกลวิธีการสอน เชื่อมโยงไวยากรณ์และจดจำคำศพั ท์
ดงั กลา่ วใช้ทฤษฎีทางวทิ ยาศาสตร์และการแพทย์ที่ว่า 2. สรปุ ขนั้ ตอนวธิ ีการในการแก้ไขปัญหาการ
ปัจจัยทมี่ ผี ลต่อการจดจำของสมองขน้ึ อยกู่ ับสมองส่วน จดจำคำศัพทแ์ ละเชือ่ มโยงไวยากรณ์ภาษาองั กฤษ
Hippocampus ทีฝ่ ังอยู่กลางสมอง โดยกระบวนการ โดยใช้เพลงและกลอน
ของรา่ งกายจะตดั สินใจส่งั ให้สมองจดจำอะไรนั้น จะ
พจิ ารณาจาก 2 เงื่อนไข คือ
1. ข้อมูลหรือความรู้ใหม่ที่ได้รับมีความเกี่ยวกับกับ
ข้อมูลเก่าในสมองของผู้เรียนหรือไม่ หากไม่มีความ
เกี่ยวพันกัน สมองจะปฏิเสธการจดจำ ในทางตรงกัน
ข้าม หากมีความเกี่ยวพันเชื่อมโยงกัน สมองจะทำงาน
ได้ดีในการจดจำข้อมูลนั้น ๆ ดังนั้น คนที่มีความรู้มาก
หรอื มคี วามรูห้ ลาย ๆ อยา่ งจะสามารถจดจำข้อมูลหรือ
ความรู้ใหม่ ๆ ได้ดีกว่า สืบเนื่องจากสามารถนำข้อมูล
ใหมเ่ ชื่อมโยงเก่ียวพันกับข้อมลู เกา่ ซึ่งเป็นประสบการณ์
เดิม (Background knowledge) ของผเู้ รยี น
2. ขอ้ มลู หรอื ความรใู้ หมท่ ไ่ี ดร้ ับน้นั มีความหมาย ทาง
อารมณ์ต่อผู้เรยี นหรือไม่ ทุกอารมณค์ วามรู้สึกท่ีเกิดขึ้น
เช่น สนุก โกรธ เศร้าเสียใจ จะส่งผลให้สมองสามารถ
จดจำรายละเอียดเหตุการณ์หรือข้อมูลเหล่านี้ได้เป็น
เวลานานกว่าเหตุการณ์อื่น ๆ ที่ไม่มีความหมายทาง
อารมณ์ตอ่ สมอง เชน่ สมองจะจดจำเหตุการณส์ ะเทือน
ใจมาก ๆ เปน็ ฉาก เปน็ ภาพ เปน็ ขนั้ ตอน ทเ่ี ราสามารถ
ถ่ายทอดให้ผู้อื่นผ่านการพูดหรือเขียนได้โดยไม่ลืม
เน่ืองจากขอ้ มูลที่ประกอบกับอารมณใ์ นชว่ งดังกล่าวถูก
จดจำและฝังเป็นความทรงจำระยะยาว (Long-term
memory) กลวิธีการสอนโดยใช้เพลงหรือคำคล้องจอง
ที่อยู่ในบทกลอนจึงเปน็ กลวธิ ีหนึ่งที่ทำให้ข้อมูลในเรื่อง
คำศัพท์และไวยากรณ์ใหม่ ๆ สัมผัสกับประสบการณ์
เดิมของผู้เรียนได้ เช่น ทำนองเพลง และการท่องโค
ลองกลอน ที่มีความสัมผัสของคำ ทำให้การเชื่อมโยง
นำข้อมลู ใหมเ่ ข้าไปส่สู มองของผู้เรียนได้ดกี ว่า ท้ังยังทำ
ให้การเรียนรู้เกิดความสนุกสนาน เกิดความบันเทิงท่ี
ช่วยกระตุ้นสมองให้ทำงานเรียนรู้ เชื่อมโยง และจดจำ
ได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
ผลที่ไดจ้ ากกิจกรรม การนำผลทีไ่ ดไ้ ปใชป้ ระโยชน์
กจิ กรรม PLC นำมาซึง่ การสรุปวธิ ีการและแนวทางการ 1. ผลที่ได้จากกิจกรรมนำไปสู่การวางแผนเพื่อ
แกไ้ ขปญั หาการจดจำคำศพั ท์และเชอ่ื มโยงไวยากรณ์ ดำเนินการสอดแทรกกลวิธีการสอนในการจัดการ
ภาษาองั กฤษ โดยใชก้ ลวธิ ีการสอน Memolody เพ่ือ เรยี นรู้
นำไปสู่การวางแผนเพ่อื ดำเนินการสอดแทรกกลวิธีการ 2. ผลที่ได้จากกิจกรรมนำไปสู่ประโยชน์กับ
สอนดังกล่าวในการประชมุ กลุ่ม PLC ครั้งต่อไป ครูผู้สอนในกลุ่ม PLC ในการศึกษาคำศัพท์และ
ไวยากรณ์ในบทเรียนต่าง ๆ จากหนังสือเรียน
หรือเอกสารที่เกี่ยวข้องในการจัดการเรียนรู้ของ
ตนเอง เพื่อเตรียมดำเนินการดึงเนื้อหาสาระของ
คำศัพท์และไวยากรณ์ภาษาอังกฤษเข้าสู่ทำนอง
เพลงหรอื เชื่อมโยงใหค้ ล้องจองเปน็ บทกลอน
ลงชื่อ.......................................... ผบู้ นั ทึก ลงช่อื ............................................ ผูต้ รวจบนั ทกึ
(นางสาวมณนี ุช จริ แพศยสขุ ) (นางวรินพร เจรญิ แลว้ )
ครู
รองผู้อำนวยการโรงเรยี น กลมุ่ บริหารวิชาการ
ลงชอ่ื ............................................ ผู้รับรอง
(นายณรงค์ คงสมปราชญ)์
ผอู้ ำนวยการโรงเรียนโยธินบูรณะ
ประชุมครัง้ ท่ี 4
สร้างรูปแบบการแกป้ ัญหา การจดั การเรียนการสอน
บันทกึ การสร้างชุมชนการเรยี นรู้วชิ าชีพครู (PLC) Professional Learning Community
เพื่อการพฒั นาทักษะการเชื่อมโยงและจดจำคำศัพท์และไวยากรณภ์ าษาอังกฤษ
ครั้งที่ 5
ช่ือกลุ่ม English Edutainment
เร่ือง การออกแบบกิจกรรม/เทคนิคการสอน/วิธีการสอน
วันที่ 17 สงิ หาคม 2563
เวลา 15.40 - 18.40 น. จำนวน 3 ชั่วโมง
สถานที่ ห้องปฏิบัตกิ ารกลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาต่างประเทศ
ผเู้ ขา้ รว่ มวงสนทนา จำนวนสมาชิก 6 คน
ท่ี ชือ่ - สกลุ ตำแหน่ง/บทบาทหน้าท่ี ลายมอื ชื่อ
1. นายยุทธศักดิ์ สวา่ งสมุทรชยั ผู้เชีย่ วชาญ (Expert)
2. นางสาวศิรริ ตั น์ เลาหสกุล ครผู ูส้ อน (Model Teacher)
3. นางสาววลิ าสนิ ี ทวผี ดุง ครูผู้เข้ารว่ มเรยี นรู้ (Buddy Teacher)
4. นายจริ กติ ต์ิ ชัยศรี ครผู ู้เขา้ รว่ มเรยี นรู้ (Buddy Teacher)
5. นายศรยทุ ธ์ิ จนั สม ครผู เู้ ข้าร่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher)
6. นางสาวมณีนุช จิรแพศยสุข ครูผ้เู ขา้ รว่ มเรยี นรู้ (Buddy Teacher)
การเข้ารว่ มชมุ ชนแหง่ การเรียนร้เู พ่ือการนเิ ทศและวิจัย
คร้งั ท่ี 5 การออกแบบกิจกรรม/เทคนิคการสอน/วิธกี ารสอน
วนั จนั ทร์ท่ี 17 สิงหาคม 2563 เวลา 15.40 - 18.40 น.
รวมเวลา 3 ช่วั โมง
คำชแ้ี จง สมาชกิ ในกลุ่ม PLC บันทึกขั้นตอนของกจิ กรรม เทคนคิ การสอน วิธีการสอนว่าแต่ละข้ันต้องทำ
อย่างไรสัน้ ๆ พอเข้าใจ (อาจเป็นการสรา้ งเอง หรอื นำมาจากบคุ คลอื่นหรอื ฯลฯ)
7 วิธี สร้างรูปแบบการแกป้ ญั หาตามวธิ ีการทเ่ี ลือกไว้
วิธกี ารท่เี ลือก วธิ ที ่ี 2: การเชื่อมโยงและจดจำคำศพั ท์และไวยากรณภ์ าษาองั กฤษผ่านสมุดคำศัพท์เล่มเล็ก
ข้ันตอนท่ี 1: ครูผูส้ อนรวบรวมขอ้ มลู จากหนงั สอื เรยี นท่สี อน เนื้อหาตามตัวช้ีวดั ที่เก่ยี วกบั คำศัพท์และหลัก
ไวยากรณ์ในภาษาอังกฤษในระดบั ช้ันของตนเอง เพื่อนำมาสรุปบทเพลง บทกลอน
ข้นั ตอนท่ี 2: ครูผสู้ อนทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน (Pre-test) เก่ียวกบั หลักไวยากรณแ์ ละคำศัพท์ท่ีอย่ใู น
บทเรียนตามมาตรฐานและตวั ช้วี ดั
ข้ันตอนที่ 3: ครผู ู้สอนร่วมกนั ทำสมุดหนงั สือบทเพลงช่วยจำ คำศัพท์ ไวยากรณ์
ขน้ั ตอนท่ี 4: ครูผสู้ อนแตล่ ะคนให้นักเรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรยี น (Pre-test) และบทเพลงชว่ ยจำ
คำศัพท์ ไวยากรณ์ ไปจัดการเรียนการสอนในชน้ั เรียน
ขั้นตอนที่ 5: ครูผู้สอนทำแบบทดสอบหลงั เรยี น (Post-test) เกี่ยวกบั หลกั ไวยากรณแ์ ละคำศัพท์ทอ่ี ยู่ใน
บทเรยี นตามมาตรฐานและตวั ช้ีวัดเหมอื นแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) และให้นักเรียนทำ
เพือ่ เปรยี บเทยี บผลของคะแนนว่ามคี วามแตกต่างและพฒั นาขึ้นหรือไม่
ความคดิ เห็นผู้เชีย่ วชาญ/ผู้นิเทศ เปน็ วธิ ีท่ี
[ ] มีความเปน็ ไปได้ [ ] สามารถแก้ปญั หาได้
[ ] ควรศกึ ษาทฤษฎ.ี ...............เพิ่มเติม [ ] อื่นๆ.........................
สรปุ ผลจากการประชุม PLC
ประเด็น สาเหตุ
ประเดน็ ปัญหา สาเหตขุ องปัญหา
นักเรยี นระดบั ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายส่วน 1. นักเรยี นไม่ไดร้ ับการสง่ เสริมให้จดจำคำศัพท์และ
ใหญ่มีปัญหาในการจดจำและเชื่อมโยงคำศัพท์ หลัก เชื่อมโยงหลักไวยากรณ์อย่างเป็นระบบหมวดหมู่
ไวยากรณ์ ที่มีระดับความยากและซับซ้อนมากขึ้น หรือเป็นความคิดรวบยอด ทำให้ความหมายของ
กว่าในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ซึ่งส่งผลกระทบ คำศัพทแ์ ละหลักไวยากรณ์ไม่สามารถฝังอยู่ในความ
ต่อการดึงองค์ประกอบสำคัญของภาษามา ทรงจำระยะยาวได้ ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญของปัญหา
ประยุกต์ใช้ในการสื่อสารและซึ่งนั่นรวมไปถึงการ ในการดึงความรู้หรือข้อมูลดังกล่าวเพื่อนำไปใช้ใน
พัฒนาระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชา ส่ือสาร
ภาษาอังกฤษ 2. การจดจำคำศัพท์แบบท่องจำแยกส่วนหรือเรียน
ไวยากรณ์ในลักษณะเดิมแบบไม่เป็นองค์รวมไม่
สอดคล้องต่อลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21
ที่มุ่งเน้นให้นักเรียนคิดสังเคราะห์แบบบูรณาการ
ใช้เทคโนโลยี ผลิตสร้างนวัตกรรม และมีความคิด
สร้างสรรค์นอกกรอบ จึงทำให้นักเรียนเกิดทัศนคติ
เชิงลบต่อการเรียนรู้ภาษาองั กฤษ
ความรู้/หลักการทน่ี ำมาใช้ กิจกรรมท่ีทำ
กลวธิ กี ารสอนโดยใช้สมุดคำศพั ท์ 1. ประชุมครูผู้สอนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
การใช้สมุดคำศัพท์ เป็นวิธีการสอนเพื่อให้ ชั้นปีที่ 4-5 เพื่อร่วมกันวางแผนขั้นตอนการจัดการ
ผู้เรียนจดจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษ วลี หรือ ประโยค เรียนรูโ้ ดยใช้สมดุ คำศัพทเ์ ลม่ เล็ก
สั้น ๆ เป็นกลวิธีการสอนภาษารูปแบบหนึ่งซึ่งช่วย 2. สรปุ ขน้ั ตอนวธิ กี ารในการแกไ้ ขปัญหาการจดจำ
ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความทรงจำเกี่ยวกับสิ่งที่สัมผัส คำศัพท์และเชือ่ มโยงไวยากรณ์ภาษาอังกฤษโดยใช้
ด้วยประสาทสัมผัสทางการมองเห็นเกิดจากการดู สมุดคำศัพทเ์ ล่มเล็ก
คำศัพท์หรือมองรูปภาพ และทางการได้ยินที่เกิดจาก
การใช้เสียงในการอ่านศัพท์หรือท่องศัพท์และเกิด
เป็นประสบการณ์ส่งต่อไปยังสมองเป็นความทรงจำ
ซึ่งสอดคล้องกบั หลกั การในการจดจำ
ความจำของมนุษย์ ซงึ่ แบง่ ได้แบ่งเปน็ 3 ชนดิ ดังนี้
1. ความจำจากการรสู้ ึกสัมผัส (Sensory Memory)
หมายถึง การคงอยขู่ องความรู้สึกสัมผสั หลงั จากเสนอ
สิ่งเร้าสิ้นสุดลง การสัมผัสด้วยอวัยวะทั้ง 5 ได้แก่ หู
ตา จมูก ล้นิ และผิวหนัง หรอื ส่วนใดส่วนหน่งึ
2. ความจำระยะสั้น (Short -Term Memory) STM
คือการจำหลังจากการเรียนรู้ เป็นความจำที่คงอยู่ใน
ระยะเวลาสั้น ท่ตี งั้ ใจจำ หรือใจจดจอ่ ในเวลานั้น เมื่อ
ไมไ่ ดใ้ ส่ใจ ส่งิ เหล่านัน้ แลว้ ความจำกจ็ ะเลือนหายไป
3. ความจำระยะยาว (Long-Term Memory) LTM
คือความจำที่คงทนถาวร ไม่ว่าจะทิ้งระยะเนิ่นนาน
เพียงใด ถ้าเมอ่ื ต้องการร้ือฟน้ื ความจำนน้ั ๆ จะระลึก
ออกมาได้ทันทีและถูกต้อง ระบบความจำยาวนี้เป็น
ระบบความจำที่มีคุณค่ายิ่ง เป็นความหมาย หรือ
ความเข้าใจในสิ่งที่ตนรู้สึก เป็นการตีความ จึงขึ้นอยู่
กับประสบการณ์เดิม ความสนใจ และความเชื่อของ
แตล่ ะคน
ผลท่ไี ด้จากกจิ กรรม การนำผลท่ีไดไ้ ปใชป้ ระโยชน์
กิจกรรม PLC นำมาซึง่ การสรุปวิธีการและแนว 1. ผลที่ได้จากกิจกรรมนำไปสู่การวางแผนเพื่อ
ทางการแกไ้ ขปัญหาการจดจำคำศัพท์และเชือ่ มโยง ดำเนินการสอดแทรกกลวิธีการสอนในการจัดการ
ไวยากรณ์ภาษาองั กฤษ โดยใช้สมดุ คำศพั ทเ์ ลม่ เลก็ เรียนรู้
เพือ่ นำไปสู่การวางแผนเพื่อดำเนนิ การสอดแทรก 2. ผลทีไ่ ดจ้ ากกจิ กรรมนำไปสู่ประโยชนก์ ับครผู ู้สอน
กลวิธีการสอนดงั กล่าวในการประชุมกลมุ่ PLC ครั้ง ในกลุ่ม PLC ในการศึกษาคำศัพท์และไวยากรณ์ใน
ตอ่ ไป บทเรียนต่าง ๆ จากหนังสือเรียน หรือเอกสารท่ี
เกีย่ วขอ้ งในการจัดการเรยี นรขู้ องตนเอง เพอ่ื เตรียม
ดำเนินการดึงเนื้อหาสาระของคำศัพท์และ
ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษในการทำสมุดคำศัพท์เล่ม
เล็ก
ลงช่อื .......................................... ผูบ้ นั ทึก ลงชือ่ ............................................ ผตู้ รวจบันทึก
(นางสาวมณนี ุช จริ แพศยสขุ ) (นางวรินพร เจรญิ แลว้ )
ครู
รองผูอ้ ำนวยการโรงเรียน กลมุ่ บริหารวิชาการ
ลงช่อื ............................................ ผู้รับรอง
(นายณรงค์ คงสมปราชญ)์
ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นโยธนิ บรู ณะ
ประชุมครัง้ ที่ 5
ออกแบบกจิ กรรม / เทคนิคการสอน / วธิ ีการสอน
บนั ทึกการสรา้ งชุมชนการเรยี นรวู้ ิชาชพี ครู (PLC) Professional Learning Community
เพือ่ การพฒั นาทักษะการเชอ่ื มโยงและจดจำคำศัพทแ์ ละไวยากรณ์ภาษาองั กฤษ
ครัง้ ที่ 6
ช่อื กลุ่ม English Edutainment
เร่ือง นิเทศวธิ กี ารสอน
วันที่ 24 สงิ หาคม 2563
เวลา 15.40 - 18.40 น. จำนวน 3 ชว่ั โมง
สถานท่ี ห้องปฏบิ ตั ิการกลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ
ผู้เขา้ ร่วมวงสนทนา จำนวนสมาชิก 6 คน
ท่ี ชอื่ - สกลุ ตำแหน่ง/บทบาทหนา้ ท่ี ลายมอื ชอ่ื
1. นายยุทธศักดิ์ สวา่ งสมุทรชัย ผเู้ ช่ยี วชาญ (Expert)
2. นางสาวศริ ริ ตั น์ เลาหสกุล ครูผสู้ อน (Model Teacher)
3. นางสาววิลาสนิ ี ทวผี ดุง ครผู ู้เขา้ รว่ มเรยี นรู้ (Buddy Teacher)
4. นายจิรกิตติ์ ชยั ศรี ครูผู้เข้ารว่ มเรยี นรู้ (Buddy Teacher)
5. นายศรยุทธิ์ จันสม ครผู ู้เขา้ รว่ มเรียนรู้ (Buddy Teacher)
6. นางสาวมณนี ชุ จิรแพศยสุข ครผู เู้ ข้ารว่ มเรยี นรู้ (Buddy Teacher)
การเข้าร่วมชุมชนแหง่ การเรยี นรเู้ พือ่ การนิเทศและวจิ ยั
คร้ังที่ 6 นเิ ทศวธิ กี ารสอน
วนั จนั ทร์ท่ี 24 สิงหาคม 2563 เวลา 15.40 - 18.40 น.
รวมเวลา 3 ชั่วโมง
คำชแ้ี จง สมาชิกในกลุ่ม PLC นัด วัน เวลา ในการนำวธิ กี ารสอนทส่ี ร้างหรือนำมาจากบุคคลอน่ื ใหผ้ ู้นิเทศทำ
การนิเทศ พรอ้ มกนั เพอื่ แลกเปล่ยี นประสบการณ์
8 นิเทศ การนเิ ทศวธิ กี ารสอนท่ีออกแบบไว้
วิธที ี่ 1 การเช่ือมโยงและจดจำคำศัพท์และไวยากรณภ์ าษาอังกฤษผา่ นเพลงและบทกลอน
ความคดิ เหน็ ผ้เู ชยี่ วชาญและหรอื ผนู้ ิเทศ
[ ] ปรับปรงุ ขัน้ ตอน: การแต่งเพลงหรอื กลอนในบางท่อนให้มคี วามสภุ าพเหมาะสมกับ
นักเรยี นมากขึ้น
[ ] ควรศึกษาทฤษฎ.ี ...............เพ่ิมเติม
[ ] นำไปทดลองใชก้ ับนักเรยี นได้
[ ] อ่นื ๆ.......................................
วธิ ีที่ 2 การเช่อื มโยงและจดจำคำศัพทแ์ ละไวยากรณ์ภาษาองั กฤษผา่ นสมดุ คำศัพทเ์ ล่มเล็ก
ความคดิ เห็นผเู้ ชย่ี วชาญและหรอื ผ้นู เิ ทศ
[ ] ปรับปรงุ ขัน้ ตอน............................................................................
[ ] ควรศกึ ษาทฤษฎ.ี ...............เพิม่ เติม
[ ] นำไปทดลองใช้กับนักเรียนได้
[ ] อ่นื ๆ: ปรับรปู แบบสมุดบทเพลงคำศัพท์ ช่วยจำ ให้นา่ สนใจขนึ้
สรุปผลจากการประชุม PLC
ประเด็น สาเหตุ
ประเด็นปัญหา สาเหตุของปัญหา
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายส่วน 1. นักเรียนไม่ได้รับการส่งเสริมให้จดจำคำศัพท์
ใหญ่มีปัญหาในการจดจำและเชื่อมโยงคำศัพท์ หลัก และเชื่อมโยงหลักไวยากรณ์อย่างเป็นระบบ
ไวยากรณ์ ที่มีระดบั ความยากและซับซ้อนมากขึ้นกว่าใน หมวดหมู่ หรือเป็นความคิดรวบยอด ทำให้
ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ซึ่งส่งผลกระทบต่อการดึง ความหมายของคำศัพท์และหลักไวยากรณ์ไม่
องค์ประกอบสำคัญของภาษามาประยุกต์ใช้ในการ สามารถฝังอยใู่ นความทรงจำระยะยาวได้ ซึง่ เปน็
สื่อสารและซึ่งนั่นรวมไปถึงการพัฒนาระดับผลสัมฤทธิ์ สาเหตุสำคัญของปัญหาในการดึงความรู้หรือ
ทางการเรียนในรายวิชาภาษาอังกฤษ ข้อมลู ดงั กล่าวเพ่ือนำไปใชใ้ นสอื่ สาร
2. การจดจำคำศัพท์แบบท่องจำแยกส่วนหรือ
เรียนไวยากรณ์ในลักษณะเดิมแบบไม่เป็นองค์
รวมไม่สอดคล้องต่อลักษณะของผู้เรียนใน
ศตวรรษที่ 21 ที่มุ่งเน้นให้นกั เรียนคิดสังเคราะห์
แบบบูรณาการใช้เทคโนโลยี ผลติ สรา้ งนวตั กรรม
และมีความคิดสร้างสรรค์นอกกรอบ จึงทำให้
น ั ก เ ร ี ย น เ ก ิ ด ท ั ศ น ค ต ิ เ ชิ ง ล บ ต ่ อ ก า ร เ ร ี ย น รู้
ภาษาอังกฤษ
ความรู้/หลกั การท่ีนำมาใช้ กจิ กรรมทที่ ำ
กระบวนการของสมองตอ่ การจดจำ 1. นำวิธีการสอนที่ได้รับการเลือกจากกลุ่ม
ทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์และการแพทย์ที่ว่า สมาชิก PLC ท้ัง 2 แบบลงสู่การทดลองปฏิบัติ
ปัจจัยที่มีผลต่อการจดจำของสมองขึ้นอยู่กับสมองส่วน และจัดการเรียนการสอนโดยให้สลับใหค้ รูผูส้ อน
Hippocampus ที่ฝังอยู่กลางสมอง โดยกระบวนการ ซึ่งเป็นสมาชิกและผู้สังเกตการสอน (Mentor)
ของร่างกายจะตัดสินใจสั่งให้สมองจดจำอะไรน้ัน จะ ใหค้ ำแนะนำหลังจากการปฏบิ ัติการทดลองสอน
พิจารณาจาก 2 เง่อื นไข คอื 2. นำข้อเสนอแนะจากผู้นิเทศและผู้สังเกตการ
1. ขอ้ มูลหรอื ความรู้ใหมท่ ไ่ี ดร้ ับมีความเก่ยี วกับกับข้อมูล สอน (Mentor) ไปปรับปรุงพัฒนาเพื่อการเขียน
เก่าในสมองของผเู้ รียนหรือไม่ หากไม่มีความเกีย่ วพันกัน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ใช้นวัตกรรมทั้ง 2
สมองจะปฏิเสธการจดจำ ในทางตรงกันข้าม หากมีความ วิธกี ารอยา่ งเต็มรูปแบบ
เกี่ยวพันเชื่อมโยงกัน สมองจะทำงานได้ดีในการจดจำ
ข้อมูลน้ัน ๆ ดงั นน้ั คนทม่ี คี วามรู้มากหรือมีความรู้หลาย
ๆ อย่างจะสามารถจดจำข้อมูลหรือความรู้ใหม่ ๆ ได้
ดีกว่า สืบเนื่องจากสามารถนำข้อมูลใหม่เชื่อมโยง
เกี่ยวพันกับข้อมูลเก่าซึ่งเป็นประสบการณ์เดิม
(Background knowledge) ของผเู้ รยี น
2. ข้อมูลหรือความรู้ใหม่ที่ได้รับนั้นมีความหมายทาง
อารมณ์ต่อผู้เรียนหรือไม่ ทุกอารมณ์ความรู้สึกที่เกิดขึ้น
เช่น สนุก โกรธ เศร้าเสียใจ จะส่งผลให้สมองสามารถ
จดจำรายละเอียดเหตุการณ์หรือข้อมูลเหล่านี้ได้เป็น
เวลานานกว่าเหตุการณ์อื่น ๆ ที่ไม่มีความหมายทาง
อารมณ์ต่อสมอง เช่น สมองจะจดจำเหตุการณ์สะเทือน
ใจมาก ๆ เป็นฉาก เป็นภาพ เป็นขั้นตอน ที่เราสามารถ
ถ่ายทอดให้ผู้อื่นผ่านการพูดหรือเขียนได้โดยไม่ลืม
เนื่องจากข้อมูลที่ประกอบกับอารมณ์ในช่วงดังกล่าวถูก
จดจำและฝังเป็นความทรงจำระยะยาว (Long-term
memory)
กลวิธีการสอน Memolody
กลวธิ กี ารสอน Memolody เกิดจากการรวมตวั
ของคำว่า Memory และ Melody เป็นกลวิธีการสอนที่
ใช้เพลงและคำคล้องจองเพื่อการเรียนรู้จดจำคำศัพท์
รวมถงึ ไวยากรณ์ กลวิธกี ารสอนโดยใชเ้ พลงหรอื คำคล้อง
จองที่อยู่ในบทกลอนจึงเป็นกลวิธีหนึ่งที่ทำให้ข้อมูลใน
เรื่องคำศัพท์และไวยากรณ์ใหม่ ๆ สัมผัสกับ
ประสบการณ์เดิมของผู้เรียนได้ เช่น ทำนองเพลง และ
การท่องโคลองกลอน ที่มีความสัมผัสของคำ ทำให้การ
เชื่อมโยงนำข้อมูลใหม่เข้าไปสู่สมองของผู้เรียนได้ดีกว่า
ทั้งยังทำให้การเรียนรู้เกิดความสนุกสนาน เกิดความ
บันเทิงที่ช่วยกระตุ้นสมองให้ทำงานเรียนรู้ เชื่อมโยง
และจดจำได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ
กลวิธีการสอนโดยใชส้ มดุ คำศัพท์
การใช้สมุดบทเพลงคำศัพท์ ช่วยจำ เป็นวิธีการสอน
เพื่อให้ผู้เรียนจดจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษ วลี หรือ
ประโยคสั้น ๆ เป็นกลวิธีการสอนภาษารูปแบบหนึ่งซึ่ง
ช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความทรงจำเกี่ยวกับสิ่งที่สัมผัส
ด้วยประสาทสัมผัสทางการมองเห็นเกิดจากการดู
คำศัพท์หรือมองรูปภาพ และทางการได้ยินที่เกิดจาก
การใช้เสียงในการอ่านศัพท์หรือท่องศัพท์และเกิดเป็น
ประสบการณ์ส่งต่อไปยังสมองเป็นความทรงจำซึ่ง
สอดคลอ้ งกับหลักการในการจดจำ
ความจำของมนุษย์ ซ่ึงแบง่ ได้แบ่งเปน็ 3 ชนดิ ดงั นี้
1. ความจำจากการรู้สึกสัมผัส (Sensory Memory)
หมายถงึ การคงอยู่ของความรสู้ ึกสัมผัสหลังจากเสนอสิ่ง
เร้าสิ้นสุดลง การสัมผัสด้วยอวัยวะทั้ง 5 ได้แก่ หู ตา
จมกู ล้ิน และผิวหนงั หรือสว่ นใดสว่ นหนึ่ง
2. ความจำระยะสน้ั (Short-Term Memory) STM คือ
การจำหลังจากการเรียนรู้ เป็นความจำที่คงอยู่ใน
ระยะเวลาสั้น ที่ตั้งใจจำ หรือใจจดจ่อในเวลานั้น เมื่อ
ไม่ได้ใสใ่ จ สิ่งเหล่าน้ันแล้ว ความจำก็จะเลือนหายไป
3. ความจำระยะยาว (Long-Term Memory) LTM คอื
ความจำที่คงทนถาวร ไม่ว่าจะทิ้งระยะเนิ่นนาน
เพียงใด ถ้าเมื่อต้องการรื้อฟื้นความจำนั้นๆ จะระลึก
ออกมาได้ทันทีและถูกต้อง ระบบความจำยาวนี้เป็น
ระบบความจำที่มีคุณค่ายิ่ง เป็นความหมาย หรือ ความ
เข้าใจในสิ่งที่ตนรู้สึก เป็นการตีความ จึงขึ้นอยู่กับ
ประสบการณ์เดิม ความสนใจ และความเชื่อของแต่ละ
คน
ผลทไี่ ดจ้ ากกจิ กรรม การนำผลท่ีได้ไปใช้ประโยชน์
กิจกรรม PLC นำมาซง่ึ การนำวธิ ีการแก้ไขปญั หาทีเ่ กดิ 1. ผลที่ได้จากกิจกรรมทำให้ทราบข้อบกพร่อง
จากการร่วมกนั วางแผนสู่การทดลองปฏบิ ตั กิ ารสอนใน และสิ่งที่ควรพัฒนาปรับปรุงในการใช้นวัตกรรม
ชนั้ เรยี นและสลบั ใหส้ มาชิกรว่ มกนั นเิ ทศการสอนพร้อม ทงั้ 2 นวัตกรรมในการจดั การเรียนการสอน
ทง้ั ใหผ้ ูส้ งั เกตการสอน (Mentor) ให้ข้อเสนอแนะและ 2. ผู้สอนสามารถเห็นแนวโน้มของนวัตกรรมที่
ปรบั ปรุงใหว้ ิธกี ารสอนมีความเหมาะสม สามารถนำไปใช้เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพต่อการ
พัฒนาผู้เรียนต่อการเชื่อมโยงไวยากรณ์และการ
จดจำคำศัพท์
ลงชอ่ื .......................................... ผบู้ นั ทกึ ลงช่ือ............................................ ผ้ตู รวจบนั ทึก
(นางสาวมณีนุช จิรแพศยสขุ ) (นางวรินพร เจริญแล้ว)
ครู
รองผอู้ ำนวยการโรงเรยี น กลุ่มบริหารวิชาการ
ลงชอ่ื ............................................ ผูร้ บั รอง
(นายณรงค์ คงสมปราชญ์)
ผอู้ ำนวยการโรงเรียนโยธินบูรณะ
ประชุมครัง้ ท่ี 6
นิเทศวิธกี ารสอน
บันทึกการสร้างชุมชนการเรยี นร้วู ิชาชีพครู (PLC) Professional Learning Community
เพอื่ การพัฒนาทกั ษะการเช่อื มโยงและจดจำคำศัพท์และไวยากรณภ์ าษาอังกฤษ
ครั้งที่ 7
ช่ือกลุ่ม English Edutainment
เร่ือง การสร้างและการนิเทศก์แผนการจดั การเรยี นรู้
วันที่ 31 สงิ หาคม 2563
เวลา 15.40 - 18.40 น. จำนวน 3 ชัว่ โมง
สถานที่ หอ้ งปฏบิ ัติการกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ
ผเู้ ขา้ รว่ มวงสนทนา จำนวนสมาชกิ 6 คน
ท่ี ชื่อ - สกุล ตำแหน่ง/บทบาทหน้าท่ี ลายมอื ชื่อ
1. นายยุทธศักดิ์ สว่างสมทุ รชัย ผู้เชี่ยวชาญ (Expert)
2. นางสาวศิรริ ตั น์ เลาหสกุล ครผู สู้ อน (Model Teacher)
3. นางสาววลิ าสินี ทวผี ดุง ครผู เู้ ข้ารว่ มเรยี นรู้ (Buddy Teacher)
4. นายจิรกิตต์ิ ชัยศรี ครผู ู้เขา้ รว่ มเรยี นรู้ (Buddy Teacher)
5. นายศรยุทธิ์ จันสม ครูผู้เข้าร่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher)
6. นางสาวมณีนชุ จิรแพศยสุข ครูผ้เู ขา้ รว่ มเรยี นรู้ (Buddy Teacher)
การเขา้ รว่ มชมุ ชนแหง่ การเรียนร้เู พ่ือการนิเทศและวิจัย
ครัง้ ที่ 7 การสรา้ งและการนเิ ทศแผนการจดั การเรียนรู้
วันจนั ทรท์ ่ี 31 สงิ หาคม 2563 เวลา 15.40 - 18.40 น.
รวมเวลา 3 ชัว่ โมง
คำช้ีแจง สมาชกิ ในกลุ่ม PLC สรา้ งแผนการจัดการเรยี นรู้เฉพาะหน่วยการเรียนรู้ทใี่ ช้นวตั กรรม บทเพลง บท
กลอนชว่ ยจำ Memology ซงึ่ เป็นวิธที ่ี 1
9 นเิ ทศ แผนการจัดการเรยี นรู้
แผนการจัดการเรียนรทู้ ีใ่ ช้นวตั กรรมจากการ PLC
แผนการจัดการเรียนรรู้ ายวชิ า ภาษาอังกฤษ 3 รหสั วชิ า อ 32101
ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 เรอ่ื ง Personality
แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 5 เรือ่ ง Gerund & Infinitive เวลาเรยี น 1 ช่ัวโมง
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ครผู ้สู อน: นางสาวมณนี ชุ จิรแพศยสุข
1. มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวชี้วดั
สาระท่ี 1 : ภาษาเพือ่ การส่อื สาร
มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู้สึกและความ
คิดเห็นอย่างมปี ระสิทธิภาพ
ตัวช้วี ดั
ต. 1.2 ม.4-6/1 สนทนาและเขียนโต้ตอบข้อมูลเกี่ยวกบั ตนเองและเรื่องต่าง ๆ ใกล้ตัว ประสบการณ์
สถานการณ์ข่าว/เหตุการณ์ ประเดน็ ท่ีอยูใ่ นความสนใจของสังคม และส่ือสารอยา่ งต่อเนื่อง
และเหมาะสม
2. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด
นักเรียนสามารถสื่อสารเกี่ยวกับบุคลิกภาพ เมื่อจบหน่วยการเรียนรู้นี้ นักเรียนจะสามารถพูด
อภปิ รายลักษณะบุคคลและระบุรายละเอียดได้ ฟงั บทสัมภาษณ์เกี่ยวกับอาสาสมัครนานาชาติแล้วตอบคำถาม
ได้ อ่านรายงานและความคิดเห็นเกี่ยวกับวัยรุ่นได้เข้าใจโดยระบุรายละเอียดและอนุมานความได้ พูดแสดง
ความสนใจสิ่งที่ผู้อื่นพูดและบอกความเหมือนและแตกต่างกับตนเองได้ เขียนอีเมลบอกความรู้สึกและสิ่งท่ี
สนใจได้
3. สาระการเรยี นรู้
ด้านความรู้ ( K ):
- คำศัพท์
กิจกรรม Grammar
- hoodie (n.): a type of jacket or sweatshirt with a hood to cover the head
(เสื้อทม่ี ีหมวกคลมุ ศรษี ะตดิ อยู่)
- sweatpants (n.): loose warm trousers, worn especially for sport or relaxation
(กางเกงกีฬา)
- pretend (v.): to behave in a particular way because you want someone to
believe that something is true when it is not (เสแสรง้ , แกลง้ ทำ)
- refuse (v.): to say that you will not do or accept something (ปฏเิ สธ)
- prefer (v.): to like, choose, or want one thing rather than another (ชอบ
มากกว่า)
- หนา้ ทภี่ าษา
- Giving opinions
- โครงสร้างประโยค/ไวยากรณ์
- Verb +-ing form
- Verb + to-infinitive
ด้านทักษะกระบวนการ ( P ):
ทกั ษะเฉพาะวิชา ทกั ษะการคิด
การฟงั : ระบรุ ายละเอยี ด - การให้เหตุผล
การพดู : พูดโต้ตอบ - การตีความ
การอ่าน : รายละเอยี ดสนบั สนนุ อนมุ านความ - การนำความรู้ไปใช้
- การวิเคราะห์
เดาความหมายของคำศัพทจ์ ากบรบิ ท
การเขียน : เขยี นวิจารณ์
ด้านคุณลักษณะ ( A ): มุ่งม่ันในการทำงาน : นักเรยี นทำกจิ กรรมที่ไดร้ ับมอบหมายด้วยความต้ังใจให้ไดผ้ ลดี
ท่ีสดุ
4. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
นกั เรียนสามารถร่วมอภปิ รายและวางแผนกับผู้อ่ืน สามารถเข้าใจเน้ือเรอื่ งสัน้ ๆ ง่าย ๆ เม่ือผู้พูดพูด
อย่างช้า ๆ เข้าใจบทอ่านท่ีเปน็ เรอ่ื งใกล้ตวั สามารถพดู โดยใชโ้ ครงสร้างประโยคง่าย ๆ ได้อย่างถูกต้อง และ
สามารถเขียนจดหมายอเิ ลก็ ทรอนิกสส์ ั้น ๆ เพื่อเลา่ เกย่ี วกับส่งิ ต่าง ๆ ในชีวติ ประจำวัน
5. สมรรถนะสำคญั
1. ความสามารถในการส่ือสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปญั หา
4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ
5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
6. คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ 5. อย่อู ย่างพอเพยี ง
2. ซอ่ื สัตย์ สุจริต 6. มุง่ ม่นั ในการทำงาน
3. มวี นิ ยั 7. รักความเปน็ ไทย
4. ใฝเ่ รยี นรู้ 8. มจี ิตสาธารณะ
7. การบรู ณาการ
สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม
8. การจดั กิจกรรมการเรียนรู้
กจิ กรรม Grammar
ข้ันท่ี 1 Warm up
1. นกั เรยี นดภู าพบุคคล 3 คน ที่อยูท่ างด้านขวาสุดของหนงั สือเรยี น หนา้ 18 แล้วทำกิจกรรมที่ 1 ใน
หนงั สือเรียนหนา้ เดียวกัน ให้จับคคู่ ำในกรอบกบั เคร่ืองนงุ่ ห่ม a - f ในภาพ เสรจ็ แลว้ นกั เรียนช่วยกัน
บอกคำตอบ
2. สุม่ เรยี กนกั เรียน 4-5 คน ขึ้นมา บอกเคร่อื งนุ่งห่มท่ีตนมตี ามทีป่ รากฏในภาพ
3. นกั เรียนทำกจิ กรรมที่ 2 ในหนงั สือเรยี น หนา้ 18 ให้ทำเครือ่ งหมาย ท้ายประโยคทเ่ี ปน็ ความคิดของ
ตนเองเกย่ี วกบั เคร่ืองนงุ่ หม่
4. แจ้งผลการเรยี นร้ทู ี่คาดหวังเมือ่ จบบทเรยี น นักเรยี นสามารถใช้กริยาวลี Verb +ing form หรอื Verb +
to-infinitive พูดให้ข้อมลู เกี่ยวกับตนเองได้
ขั้นท่ี 2 Presentation
1. นกั เรียนทำกจิ กรรมที่ 3 ในหนังสอื เรยี น หนา้ 18 อา่ นคำอธบิ ายในกรอบ GRAMMAR FOCUS และ
เตมิ คำในช่องว่างที่เว้นไวแ้ ล้วช่วยกนั บอกคำตอบ
2. นกั เรียนศึกษา GRAMMAR FOCUS ในหนงั สือเรยี น หนา้ 112 เพิ่มเติม แลว้ ทำกิจกรรมท่ี 1 โดยเตมิ
Verb + -ing หรอื to –infinitive ลงในช่องว่างในแตล่ ะประโยค
3. นักเรยี นผลดั การอ่านออกสียงประโยคท่เี ตมิ คำกรยิ าลงในช่องวา่ งแล้ว นกั เรยี นคนอ่นื ๆ ตรวจสอบ
ความถูกตอ้ ง
4. ครนู ำเพลงการใช้ Gerund Ver.ลอยกระทง มาร้องให้นักเรยี นฟังเพื่อให้นกั เรียนสามารถสรุปกฎเกณฑ์
จากตวั อยา่ งในบทเพลง
เพลง Gerund Ver.ลอยกระทง
... enjoy avoid practice
keep imagine worth risk
admit deny mind miss
consider finish complete delay
... recall resist resent
recommend endure defer
appreciate suggest
dislike detest excuse escape
... fancy feel like postpone X2
anticipate quit understand
tolerate mention discuss
Cr. CAS สถาบันกวดวชิ าแคส
5. ครนู ำเพลงการใช้ Infinitive with to มารอ้ งใหน้ ักเรียนฟังเพื่อให้นักเรยี นสามารถสรปุ กฎเกณฑจ์ าก
ตัวอยา่ งในบทเพลงโดยครัง้ ท่ี 2 ครเู ปดิ ดนตรีให้นักเรยี นฟงั
Someone at my age is to be married.
But it's too hard to find a guy to marry me.
Then, I found a guy who's smart enough for me to see.
It's easy for me to fall in love with the guy.
I dropped the handkerchief to let him pick it up.
But, after that, I don't know what to do.
attempt, try, struggle, threaten, happen, pretend,
prepare, care, manage, hurry, refuse, wait,
offer, determine, intend, mean, decide,
appear, seem, hope, arrange, agree, consent,
swear, deserve, plan, hesitate, afford, prove,
claim, demand, learn, fail + to infinitive
Other girls but P'Nan fail to win Prince Andrea's heart.
advise, invite , allow, order, cause, challenge,
force, persuade, command, remind, warn, tell
instruct ,get, lead, urge, encourage, teach
+ object ตามด้วย to infinitive
The rain caused us to be in an isolated cabin.
want, ask, would like, beg, wish, request,
expect, promise, help, choose
มีหรือไม่มีกรรม ถ้า verbs เหล่านีเ้ ดินนา ต้องตามด้วย to infinitive
I want to rape him or I want him to rape me.
Cr. http://very-silly.blogspot.com/2010/12/infinitive-with-to.html
ขน้ั ที่ 3 Practice
1. นักเรยี นรอ้ งเพลง Gerund & Infinite with to และแยกคำศัพท์ทีต่ ามด้วย Gerund หรือ Infinite
with to
2. นักเรยี นทำกิจกรรมท่ี 6 ในหนังสือเรยี น หน้า 18 เติมคำกรยิ า to wear หรือ wearing ลงในชอ่ งว่างใน
แตล่ ะประโยคทก่ี ำหนดใหแ้ ล้วเขียนเครอ่ื งหมาย ลงในกรอบท้ายประโยคทเี่ ปน็ ความรสู้ กึ หรือการ
กระทำทเี่ ป็นจรงิ ของตนเอง แล้วนักเรียนชว่ ยกนั บอกคำตอบ
3. นกั เรียน 4-5 คน พูดประโยคท่ีเปน็ ความรสู้ กึ หรือการกระทำที่เปน็ ความจริงของตนเองพูดให้ข้อมูล
เกี่ยวกบั ตนเอง
ขนั้ ที่ 4 Production
1. นกั เรียนจบั คู่กันทำกจิ กรรมที่ 8 ในหนังสอื เรยี น หนา้ 18 แต่ละคนพูดประโยคในกจิ กรรมที่ 7 ของ
ตนเองให้คูข่ องตนฟงั และใหค้ ขู่ องตนเดาวา่ ประโยคไหนไม่เป็นความจรงิ ระหวา่ งท่นี ักเรียนแต่ละคู่ทำกจิ กรรม
ครเู ดนิ ไปรอบ ๆ ชั้นเรียนเพื่อประเมินการพูดโต้ตอบของนักเรียนแต่ละคน
2. นกั เรยี นช่วยกนั สรปุ การใช้ Gerund & Infinite with to จากคำศัพท์ในบทเพลง
9. ชนิ้ งาน/ภาระงาน/อ่นื ๆ
1. นกั เรียนทำกจิ กรรมที่ 1 ในหนงั สอื แบบฝึกหดั FOCUS 2 หนา้ 13 ในหนังสอื เรียน หนา้ 18
2. นกั เรยี นทำกิจกรรมที่ 2-5 ในหนังสอื แบบฝกึ หัด FOCUS 2 หนา้ 13 ในหนังสือเรียน หน้า 18
3. นักเรียนทำกจิ กรรม Photocopiable resource 41: Test yourself pair work activities
(Grammar, Lesson 1.5) ในคูม่ อื ครู หน้า 401
จุดประสงค์ : เพื่อฝึกใชค้ ำศัพท์และไวยากรณใ์ นหนว่ ยการเรียน
ลักษณะกิจกรรม : กิจกรรมคู่
ประเภทกิจกรรม: เตมิ คาํ ในช่องว่างและแลกเปลี่ยนข้อมลู
เวลา : 10 นาที
วสั ดุอปุ กรณ์ : ใบงานสำหรับ student A และ B
ขน้ั ตอนการทำกิจกรรม
1. ใหน้ กั เรียนจบั คูก่ นั
2. แจกใบงานให้ student A และ student B
3. อธิบายวา่ นกั เรียนแตล่ ะคนตอ้ งเตมิ คำลงในช่องวา่ งเพ่ือให้ประโยคได้ความสมบรู ณ์
4. นักเรียนแต่ละคู่ผลดั กันตรวจคำตอบของค่ขู องตน
4. นกั เรยี นแตง่ ประโยคเก่ียวกับตนเองโดยใชโ้ ครงสรา้ ง (I can’t stand……., I don’t mind……., I
refuse……. และอน่ื ๆ) และเปรยี บเทียบกับเพอื่ น ๆ ในชน้ั
10. สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรยี นรู้
1. หนงั สอื เรียน FOCUS 2 หน้า 18, 112
2. หนังสือแบบฝกึ หัด FOCUS 2 หน้า 13
3. กจิ กรรม Photocopiable resource 41: Test yourself pairwork activities (Grammar,
Lesson 1.5) ในคู่มอื ครู หนา้ 401
11. การวัดและประเมินผล
จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ วธิ กี าร เครือ่ งมอื เกณฑ์
ประเมนิ การพูดโตต้ อบโดยใช้
สามารถใช้โครงสร้าง สนทนาโต้ตอบข้อมลู ถ้อยคำพูดให้ขอ้ มูลเกีย่ วกับ แบบประเมินการสนทนา
ตนเองในกิจกรรมท่ี 8 ใน กจิ กรรมคู่ และ
ประโยคง่าย ๆ ได้อย่าง เกยี่ วกบั ตนเอง หนงั สอื เรยี น หน้า 18 ใชเ้ กณฑผ์ า่ นระดับพอใช้
ถ ู ก ต ้ อ ง ใ น ส ถ า น ก า ร ณ์
ประจำวนั ทัว่ ๆ ไป โดยใช้
บทเพลงชว่ ยจำ
ความคดิ เหน็ ผเู้ ช่ยี วชาญและหรือผนู้ ิเทศ
[ ] ปรบั ปรงุ ข้ันตอน............................................................................
[ ] ควรศกึ ษาทฤษฎี................เพิม่ เติม
[ ] นำไปทดลองใชก้ บั นักเรยี นได้
[ ] อื่นๆ.......................................
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ภาษาองั กฤษ 3 รหสั วิชา อ31101
ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 3 เรือ่ ง The arts
แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 21 เร่ือง Comparison เวลาเรียน 1 ช่ัวโมง
กลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาตา่ งประเทศ
ครูผสู้ อน: นางสาวมณีนุช จิรแพศยสขุ
1. มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ชวี้ ัด
สาระท่ี 1 : ภาษาเพ่อื การสือ่ สาร
มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความเรอ่ื งท่ีฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่าง ๆ และแสดงความคดิ เหน็ อย่าง
มีเหตผุ ล
ตวั ช้วี ัด
ต. 1.1 ม.4-6/4 จบั ใจความสำคัญ วเิ คราะหค์ วาม สรุปความ ตีความ และแสดงความคิดเหน็ จากการฟังและ
อ่านเร่อื งทีเ่ ป็นสารคดีและบนั เทงิ คดี พร้อมท้ังใหเ้ หตผุ ลและยกตัวอยา่ งประกอบ
2. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด
การใช้ภาษาสื่อสารในหัวข้อที่เกี่ยวกับหนังสือ ภาพยนตร์ ดนตรี และ ศิลปะ การอ่านบทวิจารณ์
ภาพยนตร์ การสนทนาเกี่ยวกับภาพยนตร์ที่ชอบและไม่ชอบ การพูดและเขียนนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับ
ประสบการณ์ เหตุการณ์ เรื่องที่เคยทำ การพูดและเขียนเพื่อขอและให้ข้อมูล บรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบ
และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งของและบุคคลที่เป็นที่รู้จักและการเขียนจดหมายส่วนตัวเพื่อเล่าเรื่องราว
ประสบการณ์เกยี่ วกับตนเอง
3. สาระการเรียนรู้
ด้านความรู้ ( K ):
- หนา้ ที่ภาษา
- Making comparisons
- โครงสรา้ งประโยค/ไวยากรณ์
- Comparative adjectives
- Noun (subject) + verb + comparative adjective + than + noun (object)
- Superlative adjectives
- Noun (subject) + verb + the + superlative adjective + noun (object)
ดา้ นทักษะกระบวนการ ( P ):
ทกั ษะเฉพาะวชิ า ทักษะการคิด
การฟัง : ระบรุ ายละเอียด - การนำความรู้ไปใช้
การพดู : พูดสนทนาเก่ียวกับส่ิงทตี่ นเองชอบและไมช่ อบ - การตคี วาม
การพดู บรรยายภาพบคุ คล - การสรุปอ้างองิ
การอ่าน : การอา่ นเพื่อหารายละเอยี ด จับใจความสำคัญ - การวเิ คราะห์
การเขียน : การเขยี นเปรยี บเทียบ การเขยี นเพือ่ เลา่ เร่ืองราว
ด้านคณุ ลักษณะ ( A ): ซ่ือสัตย์สุจรติ : นกั เรยี นปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายด้วยตนเองและไมน่ ำผลงานของ
ผู้อืน่ มาเป็นของตน
4. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
นักเรียนสามารถเข้าใจความสำคัญจากการฟังรายการวิทยุ สามารถอ่านและเข้าใจประเด็นหลักในการ
อ่านบทความสั้น ๆ พูดบรรยายและพูดแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับหัวข้อท่ีคุ้นเคย สามารถถาม-ตอบเกี่ยวกับ
เหตุการณ์ทผี่ ่านมา สามารถเขยี นจดหมายอเิ ล็กทรอนิกสส์ ้ัน ๆ เพ่อื เลา่ เกีย่ วกับส่งิ ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวนั
5. สมรรถนะสำคัญ
1. ความสามารถในการสือ่ สาร
2. ความสามารถในการคดิ
3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ
5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
6. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
1. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ 5. อยอู่ ยา่ งพอเพียง
2. ซ่อื สัตย์ สุจริต 6. มงุ่ ม่นั ในการทำงาน
3. มีวนิ ยั 7. รักความเป็นไทย
4. ใฝ่เรยี นรู้ 8. มจี ิตสาธารณะ
7. การบูรณาการ
สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม; ศลิ ปะ
8. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรม Grammar
ข้ันที่ 1 Warm up
1. ครูแบง่ นกั เรยี นเปน็ 4 ทีม เพอื่ แข่งขนั กันเลน่ เกม โดยครูพดู คำคณุ ศัพท์ที่ใชบ้ รรยายบุคคล หรือส่งิ ของ
หรอื สถานที่ แล้วให้นักเรียนแขง่ กันพดู คำตรงกนั ขา้ ม ทีมท่ีพูดคำตรงกนั ข้ามไดเ้ ร็วและถูกต้อง จะได้ 1
คะแนน ทีมท่ีได้คะแนนมากท่ีสดุ จะเปน็ ผูช้ นะ
2. นักเรยี นรับทราบว่าในบทเรียนน้ี นักเรียนจะได้เรียนรเู้ ก่ยี วกับการพดู และการเขียนเปรยี บเทียบส่งิ ของ
หรอื บุคคลในขั้นกวา่ และขนั้ สูงสุด เม่อื เรียนจบบทเรียน นักเรียนต้องสามารถพดู และเขียนเปรยี บเทยี บ
ได้ถูกต้องตามโครงสร้างทางภาษา Comparatives
ข้นั ท่ี 2 Presentation
1. กิจกรรมท่ี 2 ในหนงั สือเรียน หน้า 42 นักเรียนอา่ นกรอบ GRAMMAR FOCUS I และเติมคำคุณศัพท์ท่ี
เวน้ ไว้ในชอ่ งว่างเปน็ ขั้นกว่าและข้ันสงู สุดจากตัวสีฟา้ ทีป่ รากฏอยใู่ นแบบสอบถามในกิจกรรมท่ี 1
2. นกั เรยี นชว่ ยกนั อธิบายการทำคำคุณศัพทใ์ ห้อยูใ่ นรูปข้นั กวา่ (comparative) และขั้นสงู สุด
(superlative) ครูอธิบายเพม่ิ เตมิ เม่ือนกั เรียนมีข้อสงสัย ครูอาจช่วยนกั เรยี นด้วยการยกตัวอยา่ ง
ประโยคท่ใี ชโ้ ครงสร้างภาษาเหลา่ น้เี พิม่ เตมิ หลายๆ ประโยค
3. ครูนำเพลงการใช้ Comparative และ Superlative Adjectives มาร้องใหน้ ักเรียนฟังเพ่อื ให้นักเรียน
สามารถสรปุ กฎเกณฑ์จากตัวอย่างในบทเพลงโดยคร้ังที่ 2 ครูจะเปิดทำนองเพลงและรอ้ งใหน้ ักเรียนฟัง
ขนั้ ท่ี 3 Practice
1. นกั เรยี นร้องเพลง Comparative และ Superlative adjectives และเขียนคำคุณศัพทเ์ ปรียบเทยี บ
ขน้ั กว่าจากคำคุณศัพทท์ ี่กำหนดให้เสร็จแล้วครเู ฉลยคำตอบโดยสุ่มเรียกนักเรียนออกมาเขียนคำตอบบน
กระดาน
2. นกั เรียนทำกิจกรรมที่ 3 ในหนังสอื เรยี น หน้า 42 เลอื กคำ more หรือ than เติมลงในช่องวา่ ง
3. นักเรียนทำกจิ กรรมที่ 4 ในหนงั สอื เรยี น หนา้ 42 เปลยี่ นรูปคำคุณศัพท์ที่อยใู่ นวงเลบ็ ให้อย่ใู นรูปแบบ
ขัน้ สงู สดุ ในประโยคคำถาม จากนน้ั นักเรียนจบั คู่ถาม-ตอบคำถามท้งั 6 ข้อน้นั
ขั้นที่ 4 Production
1. ครูใหน้ ักเรียนชว่ ยกนั สรปุ โครงสรา้ งการเปรียบเทียบที่ได้เรยี นรู้ในบทเรียนน้ีอีกคร้งั และกระตุน้ ให้
นักเรยี นเปรยี บเทียบโครงสร้างการเปรียบเทยี บขน้ั กวา่ จากบทเพลง
2. ใหน้ กั เรียนจบั คู่ แล้วแตง่ ประโยคเปรยี บเทยี บระหวา่ งตนเองกับคูข่ องตนโดยใช้โครงสรา้ งภาษาทเี่ รยี น
อยา่ งน้อย 5 ประโยค ครเู ดินสังเกตขณะนักเรยี นทำกิจกรรม เสร็จแลว้ สุ่มเรียกนกั เรียน 4-5 คน ให้
นักเรยี นร้องเพลงโดยใส่ Melody ท่นี กั เรยี นชน่ื ชอบ
9. ชนิ้ งาน/ภาระงาน/อ่ืน ๆ
- นักเรยี นทำกจิ กรรมท่ี 1-6 ในหนังสอื แบบฝึกหดั FOCUS 2 หนา้ 31 หลังจากทำกิจกรรมที่ 7 ในหนังสือ
เรียน หน้า 42
10. ส่ือการเรยี นรู้/แหลง่ เรยี นรู้
1. หนังสอื เรียน FOCUS 2 หน้า 42, 114
2. หนังสือแบบฝึกหัด FOCUS 2 หนา้ 38
3. เคร่ืองเลน่ ซดี ี
4. ซดี บี นั ทึกเสยี ง
5. กจิ กรรม Photocopiable resource 43: Test yourself pair work activities (Grammar, Lesson
3.5) ในคู่มือครู หน้า 366 และ 405
11. การวดั และประเมินผล
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ วิธกี าร เครอื่ งมือ เกณฑ์
นักเรียนสมารถแต่ง ตรวจการแต่งประโยค ประโยคที่นกั เรยี นแต่งโดยใช้ ใช้เกณฑ์ผ่านร้อยละ 60
ประโยคและนำมาแต่ง โดยใชโ้ ครงสร้าง โครงสรา้ ง Comparative
เปน็ เพลงได้ Comparative และ และ Superlative
Superlative Adjectives
Adjectives
ความคดิ เหน็ ผเู้ ช่ียวชาญและหรือผนู้ ิเทศ
[ ] ปรบั ปรงุ ข้ันตอน............................................................................
[ ] ควรศกึ ษาทฤษฎ.ี ...............เพิ่มเติม
[ ] นำไปทดลองใช้กบั นักเรียนได้
[ ] อ่ืนๆ.......................................
แผนการจัดการเรยี นรูร้ ายวิชา ภาษาอังกฤษ 5 รหัสวชิ า อ33101 ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 6
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 3 เรื่อง Just do it!
แผนการจดั การเรียนที่ 19 เรอ่ื ง Sport เวลาเรยี น 1 ช่ัวโมง
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ
ช่ือครูผู้สอน นายศรยทุ ธ์ิ จันสม
___________________________________________________________________
1. มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ช้วี ดั /ผลการเรยี นรู้
เขียนนำเสนอขอ้ มลู เกย่ี วกบั ตนเอง และอ่านออกเสยี งข้อความตามหลกั การอ่านเกีย่ วกบั กีฬา
(ต 1.3 ม.4-6/1, ต 1.1 ม.4-6/2)
2. สาระสำคญั
หน่วยการเรยี นรู้น้ีมวี ตั ถุประสงค์ให้นกั เรียนเรียนรู้การใชภ้ าษาเพื่อการสื่อสารเกย่ี วกับกีฬา โดยการฟังและจับ
ใจความสำคัญ พูดโต้ตอบแสดงความคิดเห็นและบรรยายเกี่ยวกับประสบการณ์ด้านการเล่นกีฬา อ่านสารคดี
และจับใจความสำคญั ตคี วาม และเขยี นบรรยายประสบการณใ์ นการเขา้ ร่วมกิจกรรมดา้ นกีฬา
3.สาระการเรยี นร้(ู K P A)
ความรู้ (K)
- หนา้ ที่ภาษา
- Recognising and using different verb patterns
- โครงสรา้ งประโยค/ไวยากรณ์
- Verb patterns
- Verb + to infinitive: Of course, they need to prepare physically…
- Verb + object + to infinitive: I help them to prepare for important
- Verb + -ing: But after they have spent time preparing
- Modal verb + infinitive without to: ..they should get plenty of sleep
- Verb + object + infinitive without to: I make them relax…
ทักษะกระบวนการ (P)
ทักษะเฉพาะวชิ า
การฟงั : การจับใจความสำคัญ
การพดู : การพดู และให้ข้อมูล พดู แสดงความคิดเหน็
การอา่ น : การอ่านจบั ใจความสำคญั สรปุ ความ ตีความ แสดงความคิดเหน็
การเขียน : การเขียนบรรยาย