The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิชาศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค21002 ม.ต้น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

วิชาศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค21002 ม.ต้น

วิชาศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค21002 ม.ต้น

42

3.7 สงั คหวัตถุ 4 คอื ธรรมทีเ่ ปนเครอ่ื งยึดเหน่ยี วนา้ํ ใจผอู น่ื
1) ทาน การใหการเสียสละเอือ้ เฟอ เผอ่ื แผ
2) ปย วาจา การพดู ดวยถอ ยคําท่ไี พเราะ
3) อัตถจริยา การสงเคราะหทุกชนดิ หรือการประพฤตใิ นส่ิงท่ีเปนประโยชนต อ

ผอู ื่น
4) สมานตั ตตา การเปนผมู คี วามสมาํ่ เสมอมคี วามประพฤติเสมอตน เสมอปลาย

สรุป หลักธรรมที่ชาวพุทธพึงปฏิบัติ คือ การละความช่ัว การทําความดี การทําจิตใจให
แจมใสและการทําสมาธภิ าวนา

การละความช่ัว คือ การไมทําบาปอกุศลทั้งมวล การถือศีล 5 หรือ ศีลอ่ืน ๆ ตามบทบาท
หนาท่ีของตนเอง การทําความดี มีความกตัญูกตเวทตี อผูมีคุณ ตอสังคมสวนรวม ประเทศชาติ
ความขยันหม่ันเพียรในการงานอาชีพ ไมเอาเปรียบ คดโกงผูอ่ืน และการทําจิตใจใหแจมใส ไมคิด
ทุกขโศกเศรา อนั เกดิ จากการเสื่อมของสังขาร โรคภัยไขเ จ็บ ความอยากมี อยากเปน อยากไดตาง ๆ
รวมทง้ั การสญู เสยี สง่ิ ท่รี กั ตาง ๆ โดยใชห ลักการทําสมาธิภาวนา

การเจรญิ ภาวนา

การเจริญภาวนา เปน การพฒั นาจติ บรหิ ารจติ หลักพระพทุ ธศาสนา เปนการสรา งบุญบารมี
ที่สงู ทสี่ ุด และยิง่ ใหญท่สี ุดในพระพุทธศาสนา จดั วาเปน แกน แท

การเจริญภาวนามี 2 อยาง คอื สมถภาวนา และวปิ สสนาภาวนา
1. สมถภาวนา ไดแก การทําจิตใจใหเปนสมาธิ คือ ทําจิตใหต้ังม่ันอยูในอารมณเดียว ไม
ฟุงซา น วิธภี าวนามีหลายชนดิ พระพทุ ธองค บัญญัตเิ ปน แบบอยางไว 40 ประการ เรียกวา กรรมฐาน 40
ที่นิยม คอื การ หายใจเขา บริกรรม พุทธ หายใจออก บริกรรม โธ เรยี กวา อานาปานสติ ผูใดจะปฏิบัติ
ภาวนาจะตองรกั ษาศลี ใหบ รสิ ทุ ธติ์ ามฐานะ เชน เปน ฆราวาส ถือศีล 5 ศีล 8 เปน เณร ถอื ศลี 10 เปน พระ
ถอื ศลี 227 ขอ เพราะในการปฏบิ ตั ิสมถภาวนา นนั้ ศลี เปน พ้ืนฐานทส่ี าํ คัญ อานิสงสข องสมาธมิ ากกวา
รักษาศีลเทียบกันไมได พระพุทธองค ไดตรัสวา “แมไดอุปสมบทเปนพระภิกษุรักษาศีล 227 ขอ
ไมเคยขาด ไมด างพรอย มานานถงึ 100 ป ก็ยงั ไดกศุ ลนอยกวาผูท่ีทําสมาธิเพียงใหจิตสงบนานเพียงช่ัว
ไกก ระพอื ปก ชา งกระดกิ หู” คําวา จิตสงบ ในทีน่ ี้ หมายถงึ จติ ท่ีมอี ารมณเดยี วเพียงช่ัววูบ แมกระน้ัน
ยังมอี านสิ งสม ากมาย แตอ ยา งไรก็ดี การเจริญสมถภาวนา หรือ สมาธิ แมจะไดบุญอานิสงสมากมาย
มหาศาลอยา งไรกไ็ มใชบ ุญกุศลทีส่ ูงสดุ ยอดในพระพุทธศาสนา การเจริญวิปสสนา (การเจริญปญญา)
จงึ จะเปน การสรา งกศุ ลท่สี ุดยอดในพระพุทธศาสนาโดยแท

43

2. วปิ สสนาภาวนา (การเจรญิ ปญ ญา) เมือ่ จติ ของผบู าํ เพ็ญเพยี รต้ังมนั่ อยใู นสมาธจิ ติ ของ
ผบู ําเพ็ญเพียร ยอ มมีกาํ ลงั อยูในสภาพท่ีน่ิมนวล ควรแกก ารวิปสสนาภาวนาตอไป

อารมณของวิปสสนาแตกตางจากอารมณของสมาธิ เพราะสมาธินั้น มุงใหจิตต้ังม่ันอยูใน
อารมณห น่งึ แตอารมณเ ดยี ว โดยแนน่ิงอยูเชนนั้น ไมนึกคิดอะไร แตวิปสสนาไมใชใหจิตต้ังมั่นอยูใน
อารมณเดยี วนง่ิ อยเู ชนน้นั แตเ ปน จิตท่ีคิดใครค รวญหาเหตแุ ละผลในสภาวธรรมท้งั หลาย และส่ิงทเ่ี ปน
อารมณข องวปิ ส สนานน้ั มีแตเพียงอยางเดียว คอื ขนั ธ 5 ซ่ึงนิยมเรยี กวา รูป - นาม โดยรูป มี 1 นาม น้ัน
มี 4 คือ เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ซ่ึงนาม นั้น เปนเพียงสังขารธรรม เกิดจากการปรุงแตง
แตเ พราะอวิชชา คอื ไมร ูเทาสภาวธรรม จึงทําใหเกิดความยึดม่ัน เปนตัวเปนตน การเจริญวิปสสนา
มีจติ พิจารณาเห็นสภาวธรรมท้ังหลาย คือ ขันธ 5 เปน อาการของพระไตรลักษณ คือ เปนอนิจจัง คือ
ไมเที่ยง ทกุ ขัง คือ ลว นเปนทุกข อยูในสภาพเดิม ไมไดตองแปรเปล่ียนไป และอนัตตา ไดแก ความ
ไมใชตัวตน ไมใชสัตวบุคคล ไมใชส่ิงของ สรรพสิ่งทั้งหลายเพียงช่ัวคราว เทาน้ัน เม่ือนานไปยอม
เปลยี่ นแปลงกลับไปสูส ภาวะเดมิ สมาธแิ ละวิปส สนา เปนทัง้ เหตแุ ละผลของกันและกัน และอุปการะ
ซ่ึงกนั และกนั จะมวี ปิ ส สนา ปญ ญา เกิดขนึ้ โดยขาดกาํ ลังสมาธไิ มไ ดเลย

การเจรญิ วปิ ส สนาอยา งงา ย ๆ ประจาํ วัน
1. มีจิตใครครวญถึงมรณสติกรรมฐาน คือ ใครครวญถึงความตายเปนอารมณ เพ่ือไมให
ประมาทในชีวิต ไมม วั เมา เรง ทาํ ความดี และบญุ กศุ ล เกรงกลัวตอ บาปทีจ่ ะติดตามไปในภพหนา
2. มจี ติ ใครครวญถงึ อสภุ กรรมฐาน ไดแก ส่งิ ท่ไี มส วย ไมง าม เชน ซากศพ รางกายคนทเี่ ปน
บอเกดิ แหง ตัณหาราคะ กามกเิ ลส วา เปนของสวยงาม เปน ทเ่ี จริญตาเจรญิ ใจ ไมวา รางกายของตนเอง
และของผูอ่ืนก็ตาม แทจริงแลวเปนอนิจจัง คือ ไมเท่ียงแท แนนอน วัน เวลา ยอมพรากจากความ
สวยงามจนเขาสูวัยชรา ซง่ึ จะมองหาความสวยงามใด ๆหลงเหลืออยไู มไ ดเ ลย
3. มีจิตใครค รวญถึงกายคตานสุ สติกรรมฐาน เรียกกันวา กายคตาสติกรรมฐาน จิตใครครวญ
ผม ขน เลบ็ หนงั ฟน พจิ ารณาใหเห็นความโสโครกของรา งกาย เพอ่ื ใหนาํ ไปสูก ารละสักกายทิฏฐิ คือ
ความเห็นผดิ ในรางกายของตน
4. มีจิตใจใครครวญถึงธาตุกรรมฐาน คือ การพิจารณาวา รางกายของเราและของผูอ่ืน
ไมใชตัวของเราแตอยา งใดเลย เปนแตเพยี งธาตุ 4 ท่มี าประชุม เกาะกมุ รวมกันเพียงชั่วคราว ถึงเวลา
เกาแกแ ลว แตกสลายตายไปกลบั ไปสูความเปนธาตุตาง ๆ ในโลกตามเดิม

44

แบบอยา งชาวพุทธท่ีดี
หมอมเจาหญิงพูนพิสมัย ดศิ กลุ
พระประวัติ

หมอมเจาหญิงพูนพิสมัย ดิศกุล ประสูติ เม่ือวันจันทร ท่ี 17 กุมภาพันธ พ.ศ. 2438 เปน
พระธดิ าในสมเดจ็ พระเจา บรมวงศเ ธอ กรมพระยาดาํ รงราชานภุ าพ ผไู ดรบั การยกยองวา เปนบดิ าแหง
ประวตั ิศาสตรไ ทย และหมอมเฉื่อย พระองคส้ินชีพิตักษัยดวยโรคชรา เม่ือวันท่ี 11 สิงหาคม พ.ศ. 2533
รวมพระชันษาได 95 พรรษา

กรณยี กิจดา นพระพทุ ธศาสนา สามารถสรุปได ดงั น้ี
1. ทรงเปนท่ีปรกึ ษาชมรมพทุ ธศาสตร จฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลัย โดยเสดจ็ ไปประทานความรู
ดา นพระพทุ ธศาสนา สปั ดาหล ะ 2 คร้งั และเปนท่ีปรึกษาชมรมพทุ ธศาสนา มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร
2. ทรงเปน องคป าฐกถาและบรรยายวชิ าการทางพระพุทธศาสนาทัง้ ในและตา งประเทศ
3. ทรงเปนกรรมการบริหารและอุปนายกพุทธสมาคมแหงประเทศไทยในพระบรม-
ราชูปถมั ภ
4. ทรงเปน รองประธานองคก ารพุทธศาสนิกสัมพันธแหงโลก (พ.ส.ล.) ใน พ.ศ. 2496 และ
ประธานองคก ารพุทธศาสนิกสมั พนั ธแ หงโลก ใน พ.ศ. 2507
5. ทรงมงี านนพิ นธท างพระพุทธศาสนาหลายเร่ือง เชน หนังสือช่ือศาสนาคุณ หนังสือสอน
ศาสนาพระพุทธศาสนาสําหรับเยาวชน เปน ตน

แบบอยางชาวพุทธท่ีดี

(1) ทรงเปนอบุ าสกิ าที่เครงครดั ตระหนักในหนาที่ของอบุ าสิกาดว ยการศกึ ษาปฏบิ ัติธรรม
(2) ทรงเปน พหสู ตู โดยศกึ ษาบาลี จนมีความรู ความเขาใจเปนอยางดี และมีผลงานวิชาการ
ดานอ่นื ๆ อีกทง้ั ดา นสงั คมสงเคราะห ประวตั ศิ าสตร โบราณคดี เปน ตน
(3) ทรงเปนแบบอยางพลเมืองที่ดี ดวยการจงรักภักดี และพิทักษสมบัติล้ําคาของชาติ
กลา วคอื เมอ่ื พระบิดาสนิ้ พระชนม มชี าวตา งชาติ เสนอซือ้ ผลงานนพิ นธท างวิชาการของพระบดิ าดว ย
ราคาสงู แตพ ระองคท รงแจง ความจาํ นงบรจิ าคหนงั สือใหแ กรัฐบาล เพอ่ื เกบ็ ไวเ ปน สมบตั ิของชาตแิ ละ
เปนคลังความรูข องประชาชน รฐั บาลในขณะนัน้ จึงสรางหองสมุดขน้ึ รองรับ เรียกวา หอดาํ รง

45

3.2 หลกั ธรรมของศาสนาอสิ ลาม

อิสลาม เปนคําภาษาอาหรับ แปลวา การสวามิภักด์ิ ซงึ่ หมายถงึ การสวามิภกั ดอิ์ ยางบริบูรณ
แกอ ลั ลอฮพ ระผเู ปน เจา ดวยการปฏิบัติตามคาํ บัญชาของพระองค

บรรดาศาสนทูตในอดตี ลว นแตไดร ับมอบหมายใหสอนศาสนาอิสลามแกม นษุ ยชาติ ศาสนาฑูต
ทา นสดุ ทาย คือ มุฮมั มดั บตุ รของอับดุลลหแหงอารเบีย ไดรับมอบหมายใหเผยแผสาสนของอัลลอฮ
ในชวงป ค.ศ. 610 - 632 เฉกเชนบรรพศาสดาในอดีต โดยมีมะลักญิบรีล เปนสื่อระหวางอัลลห
พระผูเปน เจา และมฮุ ัมมัด พระโองการแหงพระผเู ปนเจาท่ีทยอยลงมา ในเวลา 23 ปจันทรคติ ไดรับการ
รวบรวมข้ึนเปนเลม ชื่อวา อัลกุรอาน ซึ่งเปน ธรรมนูญแหงชีวิตมนุษย เพ่ือที่จะไดครองตนบนโลกน้ี
อยา งถูกตอ งกอนกลบั คนื สพู ระผเู ปนเจา

สาสนแหงอิสลามที่ถกู สงมาใหแกมนุษยท ั้งปวง มีจุดประสงคห ลกั 3 ประการ คือ

1. เปน อดุ มการณท ส่ี อนมนุษยใหศ รทั ธาในอลั ลอหพระผเู ปนเจาเพยี งพระองคเดียว ท่ีสมควร
แกการเคารพบชู าและภกั ดี ศรัทธาในความยตุ ธิ รรมของพระองค ศรัทธาในพระโองการแหงพระองค
ศรทั ธาในวันปรโลกวัน ซง่ึ มนษุ ยฟน คืนชีพอกี ครั้ง เพอื่ รบั คาํ พิพากษาและรบั ผลตอบแทนของความดี
ความชั่วที่ตนไดปฏิบัติไปในโลกนี้ มั่นใจและไววางใจตอพระองค เพราะพระองค คือ ท่ีพึ่งพาของ
ทุกสรรพส่งิ มนุษย จะตอ งไมส ิน้ หวังในความเมตตาของพระองค และพระองค คือ ปฐมเหตุแหงคุณงาม
ความดีทง้ั ปวง

2. เปนธรรมนญู สําหรับมนุษย เพ่ือใหเกิดความสงบสุขในชีวิตสวนตัวและสังคม เปนธรรมนูญ
ทีค่ รอบคลุมทกุ ดา น ไมวาในดานการปกครอง เศรษฐกิจ หรือนิติศาสตร อิสลามส่ังสอนใหมนุษยอยูกัน
ดวยความเปนมติ ร ละเวนการรบราฆา ฟน การทะเลาะเบาะแวง การละเมดิ และรกุ รานสทิ ธขิ องผูอื่น
ไมล กั ขโมย ฉอ ฉล หลอกลวง ไมผิดประเวณีหรือทําอนาจาร ไมด่ืมของมึนเมา หรือรับประทานสิ่งที่
เปน โทษตอรา งกายและจิตใจ ไมบ อ นทาํ ลายสงั คม แมว าในรูปแบบใดก็ตาม

3. เปนจริยธรรมอนั สูงสง เพอ่ื การครองตนอยางมเี กียรติ เนนความอดกล้ัน ความซื่อสัตย ความ
เอื้อเฟอเผ่อื แผ ความเมตตากรณุ า ความกตญั กู ตเวที ความสะอาดของกาย และใจ ความกลาหาญ
การใหอ ภัย ความเทาเทียม และความเสมอภาคระหวางมนุษย การเคารพสิทธิของผูอ่ืน สงั่ สอนให
ละเวน ความตระหนถี่ เี่ หนยี ว ความอิจฉารษิ ยา การติฉนิ นินทา ความเขลา และความขลาดกลัว การทรยศ
และอกตัญู การลวงละเมดิ สิทธิของผอู ื่น

ศาสนาอิสลามไมใ ชศ าสนาที่วิวฒั นาการมาจากศาสนาอื่น หรือศาสนาท่ีมนุษยประดิษฐข้ึน
อยา งเชน ศาสนาอืน่ ๆ ท่มี อี ยใู นโลก อสิ ลาม เปน ศาสนาของพระผเู ปนเจาทเ่ี ปน ทางนําในการดํารงชีวิต
ทุกดานแกม นุษยทกุ คน ไมยกเวนอายเุ พศ เผา พนั ธุ หรือฐานันดร

46

หลักคาํ สอน

ศาสนาอิสลาม เกิดในดินแดนอาหรับ โดยมีความเช่ือตามโบราณเดิมเกี่ยวกับหินศักด์ิสิทธ์ิ
เรียกวา หินกาบะห อาํ นาจลึกลับ ผสี างเทวดา เวทมนตรค าถาพอ มด หมอผี คาํ ทาํ นาย การเสีย่ งทาย
การนบั ถือภเู ขา ตน ไม น้ําพุ บูชาดวงอาทิตย ดวงจนั ทร ดวงดาวตาง ๆ อสิ ลาม มาจากคาํ วา อสั ละมะ
แปลวา สันติการยอมนอบนอมตน ชาวมุสลิมมุงตามความคิดเหน็ ของพระเจา โดยไมเห็นแกชีวิต
มคี วามเชอื่ ศรัทธา 6 ประการ

1. ศรัทธาในพระเจา
2. ศรัทธาในบรรดามะลาอิกะห คือ เทวทูตของพระเจา ซึง่ เปนคนกลาง ทําหนาที่สื่อสาร
ระหวางศาสดามุฮมั มัดกบั พระเจา บันทกึ ความดี ความชั่วของมนุษย ถอดวิญญาณออกจากรางเวลา
มนุษยต าย และสัมภาษณผ ูตาย ณ หลุมฝงศพ
3. ศรทั ธาในคมั ภีรอ ลั กรุ อาน เปนคมั ภรี สดุ ทา ยที่พระเจา สั่งตรง ผา นพระมฮุ มั มดั ลงมาใหม นษุ ยโลก
4. ศรัทธาตอ บรรดาศาสนฑตู
5. ศรทั ธาตอ วันพพิ ากษาโลก เรยี กวนั น้วี า วันกยี ามะห
6. ศรัทธาในกฎสภาวะของพระเจา มีทงั้ กฎตายตัวและไมตายตวั กฎตายตวั คอื กําหนดเพศพันธุ
กฎไมต ายตัว คือ ทําดไี ดด ี ทําชัว่ ไดชว่ั

หลักคาํ สอนของศาสนาอิสลามแบงไว 3 หมวดดงั น้ี
1. หลกั การศรทั ธา

อสิ ลาม สอนวา ถา หากมนุษยพจิ ารณาดว ยสติปญญา และสามัญสํานึก จะพบวา จกั รวาล
และมวลสรรพสงิ่ ท้ังหลายท่ีมอี ยู มไิ ดอุบัติขึ้นดวยตนเอง เปนที่แนชัดวาส่ิงเหลาน้ีไดถูกอุบัติขนึ้ มาโดย
พระผูสรางดว ยอาํ นาจ และความรูทไ่ี รข อบเขต ทรงกาํ หนดกฎเกณฑที่ไมมีการเปล่ียนแปลงไวทั่วท้ัง
จักรวาล ทรงขบั เคล่อื นจักรวาลดว ยระบบทล่ี ะเอยี ดออน ไมม สี รรพส่งิ ใดถูกสรา งขึ้นมาอยา งไรส าระ

พระผูเปน เจาผทู รงเมตตา ทรงสรา งมนุษยข น้ึ มาอยางประเสริฐ จะเปนไปไดอยางไรที่
พระองค จะปลอ ยใหม นุษยด ําเนนิ ชวี ติ อยไู ปตามลาํ พงั โดยไมท รงเหลยี วแล หรือปลอยใหสังคมมนุษย
ดําเนินไปตามยถากรรมของตัวเอง

พระองคท รงขจัดความสงสยั เหลา นี้ดว ยการประทานกฎ การปฏิบตั ติ าง ๆ ผานบรรดา
ศาสดาใหมาสั่งสอน และแนะนาํ มนุษยไ ปสกู ารปฏบิ ัติ สาํ หรับการดําเนนิ ชีวิต แนน อนมนุษยอาจมอง
ไมเ ห็นผลหรอื ไดรบั ประโยชนจ ากการทาํ ความดหี รือไดรับโทษจากการทําชัว่ ของตน

จากจุดนี้ทําใหเขาใจไดทันทีวาตองมีสถานท่ีอ่ืนอีก อันเปนสถานท่ีตรวจสอบการ
กระทําของมนษุ ยอยา งละเอียดถถี่ วน ถา เปนความดี พวกเขาจะไดรับรางวัลเปนผลตอบแทน แตถา

47

เปนความช่ัว จะถูกลงโทษไปตามผลกรรม นน้ั ศาสนาไดเ ชญิ ชวนมนษุ ยไปสูหลกั การศรัทธาและความ
เชอื่ มน่ั ทส่ี ัตยจรงิ พรอ มพยายามผลักดนั มนษุ ยใหห ลุดพน จากความโงเขลาเบาปญญา

1.1 หลักศรทั ธาอิสลามแนวซนุ หน่ี
1) ศรัทธาวา อลั ลอหเปน พระเจา
2) ศรัทธาในบรรดาคมั ภีรตา ง ๆ ทอ่ี ลั ลอห ประทานลงมาในอดีต เชน เตารอต

อนิ ญลี ซะบูร และอลั กรุ อาน
3) ศรัทธาในบรรดาศาสนทูตตาง ๆ ที่อัลลอหไดทรงสงมายังหมูมนุษย และ

นบมี ฮุ ัมมัด ศ็อลลลั ลอฮอุ ะลัยฮิวะซัลลัม เปนศาสนฑูตคนสดุ ทาย
4) ศรัทธาในบรรดามะลาอกิ ะห บา วผรู ับใชอัลลอห
5) ศรัทธาในวนั สิน้ สดุ ทาย คือ หลงั จากสิ้นโลกแลว มนษุ ยจ ะฟน ขน้ึ เพื่อรับการ

ตอบสนองความดี ความช่วั ท่ไี ดทาํ ไปบนโลกน้ี
6) ศรัทธาในกฎสภาวะ

1.2 หลักศรัทธาอสิ ลามแนวชีอะห
1) เตาฮดี (เอกภาพ) คือ ศรัทธาวาอลั ลอห ทรงเปนพระผูเ ปนเจา เพยี งพระองคเดียว

ไมมพี ระเจา อ่ืนใด นอกเหนอื จากพระองค
2) อะดาละห (ความยตุ ิธรรม) คอื ศรทั ธาวา อลั ลอห ทรงยตุ ธิ รรมย่ิง
3) นุบูวะห (ศาสดาพยากรณ) คือ ศรัทธาวาอัลลอห ไดทรงสงศาสนทูตตาง ๆ

ท่อี ัลลอหไ ดท รงสงมายงั หมูม นุษยหน่งึ ในจาํ นวน นั้น คือ นบีมฮุ มั มดั
4) อมิ ามะห (การเปน ผูนํา) ศรัทธาวาผูน าํ สูงสุดในศาสนาจะตองเปนผูท่ีรับการ

แตง ต้ังจากศาสนฑตู มฮุ ัมมดั เทานน้ั จะเลอื กหรอื แตงต้งั กนั เองไมไ ดผ นู าํ เหลานัน้ มี 12 คน คือ อะลีย
บินอะปฏอลบิ และบตุ รหลานของอะลีห และฟาฏิมะห อีก 11 คน

5) มะอาด (การกลบั คืน) วันส้นิ โลกและวันกียามัต ศรัทธาในวันฟนคืนชีพ คือ
หลงั จากสิน้ โลกแลว มนษุ ยจ ะฟน ขึน้ เพือ่ รับการตอบสนองความดี ความชว่ั ทีไ่ ดทําไปบนโลกน้ี

2. หลกั จรยิ ธรรม
ศาสนาสอนวา ในการดาํ เนนิ ชีวิต จงเลือกสรรเฉพาะส่ิงทีด่ ี อันเปน ท่ยี อมรับของสังคม

จงทาํ ตนใหเปนผดู ํารงอยใู นศลี ธรรม พฒั นาตนเองไปสกู ารมีบุคลกิ ภาพท่ดี ี เปนคนทีร่ ูจกั หนา ที่ หว งใย
มีเมตตา มีความรัก ซือ่ สัตยตอผูอื่น รูจักปกปองสิทธิของตน ไมละเมิดสิทธิของผูอื่น เปนผูมีความ
เสยี สละ ไมเห็นแกต วั และหมน่ั ใฝหาความรู ทั้งหมดที่กลาวมานี้ เปนคุณสมบัติของผูมีจริยธรรมซ่ึง
ความสมบูรณทัง้ หมดอยทู ี่ความยุติธรรม

48

3. หลกั การปฏบิ ตั ิ
ศาสนาสอนวา กิจการงานตาง ๆ ท่ีจะทํานั้นมีความเหมาะสมกับตนเองและสังคม

ขณะเดียวกันตอ งออกหางจากการงานท่ไี มดที ่ี สรางความเสือ่ มเสยี อยางสน้ิ เชงิ
สว นการประกอบคณุ งามความดีอน่ื ๆ การถอื ศีลอด การนมาซ และสิง่ ที่คลายคลึงกับ

สิ่งเหลานเี้ ปน การแสดงใหเห็นถึงการเปน บาวท่จี งรกั ภกั ดแี ละปฏบิ ัตติ ามบัญชาของพระองค กฎเกณฑ
และคําสอนของศาสนา ทําหนาที่คอยควบคุมความประพฤติของมนุษย ทั้งที่เปนหลักศรัทธาหลัก
ปฏิบตั ิและจริยธรรม

เราอาจกลา วไดวา ผูท ี่ละเมิดคําสั่งตา ง ๆ ของศาสนา มิไดถือวา เขาเปนผูท่ีศรัทธาอยาง
แทจ ริง หากแตเขากระทาํ การตาง ๆ ไปตามอารมณ และความตอ งการใฝต า่ํ ของเขาเทา นั้น

ศาสนาอสิ ลาม ในความหมายของอลั กรุ อาน นั้น หมายถงึ “แนวทางในการดาํ เนินชวี ิต
ที่มนุษยจะปราศจากมันไมไ ด” สวนความแตกตางระหวางศาสนากับกฎของสังคมน้ัน คือ ศาสนาได
ถูกประทานมาจากพระผูเปนเจา สว นกฎของสังคมเกิดข้นึ จากความคิดของมนษุ ย อกี นยั หนึ่งศาสนา-
อิสลาม หมายถึง การดาํ เนินของสังคมท่เี คารพตอ อลั ลอห และเชื่อฟง ปฏบิ ัตติ ามคาํ บญั ชาของพระองค

อลั ลอห ตรัสเก่ยี วกับศาสนาอิสลามวา “แทจ ริงศาสนา ณ อลั ลอห คอื อิสลามบรรดา
ผทู ไ่ี ดรับคัมภรี  ไดขดั แยงกนั นอกจากภายหลังทค่ี วามรู มาปรากฏแกพวกเขา ทง้ั นี้ เน่ืองจากความอิจฉา
ระหวางพวกเขาและผูใด ปฏิเสธโองการตาง ๆ ของอัลลอหแลวไซร แนนอนอัลลอห ทรงสอบสวน
อยา งรวดเรว็ ” (อัลกรุ อานอาลอิ ิมรอน)

หลกั การปฏิบตั ิตาง ๆ มดี ังนี้
1. วาญิบ คือ หลักปฏิบัติภาคบังคับท่ีมุกัลกัฟ (มุสลิมผูอยูในศาสนนิติภาวะ) ทุกคน
ตอ งปฏบิ ัติตาม ผูท ่ีไมปฏบิ ัติตาม จะตอ งถกู ลงฑัณฑ เชน การปฏิบัติตามฐานบญั ญัติของอสิ ลาม (รุกน)
ตา ง ๆ การศึกษาวิยาการอิสลาม การทาํ มาหากิน เพือ่ เลยี้ งดคู รอบครัว เปน ตน
2. ฮะรอม คือ กฎบัญญัติหามที่มุกัลลัฟทุกคน ตองละเวน ผูที่ไมละเวน จะตองถูก
ลงทัณฑ
3. ฮะลาล คือ กฎบัญญัติอนุมัติใหมุกัลลัฟ กระทําได อันไดแก การนึกคิดวาจาและ
การกระทาํ ทศ่ี าสนาไดอ นมุ ัติให เชน การรับประทานเน้ือปศุสัตวท ไี่ ดร บั การเชือดอยา งถกู ตอ ง การคาขาย
โดยสุจริต วธิ ีการสมรสกบั สตรีตามกฎเกณฑท ีไ่ ดร ะบุไว เปนตน
4. มสุ ตะฮับ หรือท่ีเรียกกันติดปากวา ซุนนะห (ซุนนะห, ซนุ นัต) คือ กฎบัญญัติชักชวน
มุสลิมและมุกัลลัฟกระทํา หากไมปฏิบัติก็ไมไดเปนการฝาฝนศาสนวินัย โดยทั่วไปจะเกี่ยวของกับ
หลักจริยธรรม เชน การใชนํ้าหอม การขลิบเล็บใหสั้นเสมอ การนมาซ นอกเหนือจากการนมาซภาค
บงั คับ

49

5. มักรูห คอื กฎบญั ญัติอนมุ ตั ิใหมุกลั ลัฟกระทําได แตพ ึงละเวน คําวา มกั รหู  ในภาษา
อาหรบั มีความหมายวา นา รงั เกยี จ โดยทั่วไป จะเกย่ี วของกับหลักจริยธรรม เชน การรบั ประทานอาหาร
ที่มีกลิน่ นา รําคาญ การสวมเสอ้ื ผา อาภรณท่ีขดั ตอกาลเทศะ เปน ตน

6. มบุ าฮ คอื สงิ่ ท่กี ฎบญั ญัตไิ มไดร ะบุ เจาะจง จงึ เปน ความอสิ ระ สําหรับมกุ ัลลฟั ทจ่ี ะ
เลือกกระทําหรือละเวน เชน การเลือกพาหนะ อุปกรณเครื่องใช หรือการเลนกีฬาท่ีไมขัดตอ
บทบัญญตั ิหาม

หลักปฏิบตั ทิ างศาสนาอสิ ลาม

1. ดํารงนมาซวันละ 5 เวลา
2. จายซะกาต
3. จายคมุ สนน่ั คือ จายภาษี 1 ใน 5 ใหแกผ ูค รองอสิ ลาม
4. บาํ เพญ็ อจั ญห ากมีความสามารถท้งั กาํ ลงั กายและกําลงั ทรัพย
5. ถอื ศลี อดในเดือนรอมะฎอนทกุ ป
6. ญฮิ าด นัน่ คือ การปกปองและเผยแผศาสนาดว ยทรพั ยและชีวติ
7. สัง่ ใชในส่ิงท่ดี ี
8. สง่ั หามไมใหทําช่วั
9. การภกั ดีตอบรรดาอมิ ามอนั เปนผนู าํ ทีศ่ าสนากาํ หนด
10. การตัดขาดจากศัตรูของบรรดาอิมาม อนั เปน ผนู าํ ท่ีศาสนากาํ หนด
11. การปฏิญาณตนวาไมมีพระเจาอ่ืนใด นอกจากอัลลอหและมุฮัมมัด เปนศาสนฑูต
ของอลั ลอห

แบบอยางของอสิ ลามิกชนทีด่ ี

บคุ คลตวั อยาง วันอัลหมัด อลั ฟาตอนี “เสอื มกั กะฮ”
วนั อัลหมดั อัลฟาตอนี “เสอื มักกะฮ” เกิดทีห่ มูบานยามู ยะหร่ิง ปตตานี เมื่อ 10 เมษายน 2399
เมื่ออายุ 4 ขวบ ทา นไดตามบิดามารดาไปเมืองเมกกะ เรียนภาษาอาหรับและศาสนาอิสลาม จนอายุได
12 ป จงึ เดินทางไปเรยี นวิชาแพทยแ ละเภสชั กรรมสมัยใหม ที่เยรูซาเล็ม เปนเวลา 2 ป จากน้ันทาน
จงึ กลบั ไปศึกษาดานศาสนาตอ ทีเ่ มกกะ และท่ีกรงุ ไคโร ประเทศอยี ปิ ต ทา นเดินทางไปศกึ ษาโดยมีเงิน
เพียงเลก็ นอย สวมเสอื้ ผา ชดุ เดียว ทนู อลั กรุ อานไวบ นศรี ษะ ขณะวา ยนํา้ ขามแมน าํ้ ไนลจ นถงึ เมอื งไคโร
ขณะทท่ี า นอาศัยอยูม สั ยิดในเมอื งไคโร เพ่ือการศึกษา ทานยังชีพดวยการรับบริจาคอาหาร
และเสื้อผา จากผูมาละหมาด ทานเปน ชาวเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตคนแรกที่เขาศึกษาในอัล – อัซฮาร
ทานเปน ผมู คี วามสามารถไดแ ขงขันบรรยายปราศรัยขับกลอนอาหรับโตตอบกัน จนไดร างวลั ชนะเลิศ

50

จากพระราชาเมืองเมกกะ และทานกลาววา ชื่อ อัลหมัดอัล ฟาตอนี ชางเหมาะสมกับเขาเหลือเกิน
เพราะคําวา ฟาฏอนี ในภาษาอาหรับ แปลวา “ผูฉลาด” ทานเปนผูมีความรูและมีทักษะในการใชภาษา
อาหรับ เปน ทีร่ ูจกั และไดรับฉายาวา “harimau Mekak” (เสอื มักกะฮ)

3.3 หลักธรรมของศาสนาคริสต

ครสิ ตศาสนา (Chirstianity) เปนศาสนาแหง ความรัก เพราะพระเจาทรงรักมนุษย ทรงรัก
ประชาชนของพระองค ทรงสรางสตั วตาง ๆ ข้นึ มา เพื่อรับใชเปนอาหารแกมนุษย และทรงใหมนุษย
ลงสนู รกเม่อื ไมศรัทธาในพระเจา

ศาสนาครสิ ต เปนศาสนาทนี่ บั ถือศรัทธาในพระเจาองคเดียว เช่ือวาพระเจาเปนผูสรางโลก
และทุกสิง่ ทุกอยาง รวมถงึ มนุษยโ ดยใชเวลาเพียง 6 วัน และหยุดพักในวันท่ี 7 พระเจาในศาสนาคริสต
คือ พระยาเวห (นิกายโรมันคาทอลิก,นิกายออรโธด็อกซ) หรือ พระยโฮวาห (นิกายโปรเตสแตนต) มี
พระเยซูคริสตเปนศาสดา คริสตศาสนา เชื่อในพระเจาหน่ึงเดียว ซ่ึงดํารงในสามพระบุคคลใน
พระลักษณะ “ตรเี อกภพ” หรอื “ตรีเอกานุภาพ” (Trinity) คอื พระบดิ า พระบุตร และพระจิต (พระ
วิญญาณบริสุทธ์ิ) มีพระคัมภีร คือ พระคริสตธรรมคัมภีร หรือ คัมภีรไบเบิล (The Bible) ศาสนาคริสต
มผี นู บั ถอื ประมาณ 2,000 ลานคน ถอื วา เปนศาสนาทีม่ จี าํ นวนผนู ับถอื มากท่ีสดุ ในโลก

ศาสนาคริสต มีรากฐานมาจากศาสนายูดาย (หรือศาสนายิว) โดยมีเนื้อหาและความเช่ือ
บางสวนเหมอื นกัน โดยเฉพาะคัมภีรไบเบิลฮบิ รู ที่คริสตศาสนกิ ชนรจู ักในช่ือ พันธสัญญาเดิม ที่เรียกวา
เบญจบรรณ/ปญ จบรรพ (Pebtatench) ไดรับการนบั ถอื เปนพระคมั ภีรข องศาสนายูดาย และศาสนา
อสิ ลาม ดว ยเชนกนั โดยในพระธรรมหลายตอน ไดพยากรณถ ึงพระเมสสิยาห (Messiah) ที่ชาวคริสต
เชือ่ วา คอื พระเยซู เชน หนงั สอื ประกาศอิสยาห บทที่ 53 เปน ตน

คริสตชนนัน้ มคี วามเช่ือวา พระเยซูคริสต เปนพระบุตรของพระเจาท่ีมาบังเกิด เปนมนุษย
จากหญิงพรหมจรรย (สาวบริสุทธิ์) โดยฤทธ์ิอํานาจของพระเจา เพื่อไถมนุษยใหพนจากความบาป
โดยการสิ้นพระชนมที่กางเขน และทรงฟนขึ้นมาจากความตายในสามวัน หลังจากน้ันและเสด็จสู
สวรรค ประทบั เบอ้ื งขวาพระหัตถของพระบิดา ผูท่ีเช่อื และไวว างใจในพระองคจะไดรับการอภัยโทษ
บาป และจะเขาสูการพพิ ากษาในวันสดุ ทาย เหมือนกนั ทุกคน แตจะเปนการพพิ ากษา เพ่ือรับบําเหนจ็
รางวัลแทนในวันสิ้นโลก และไดเขาสูชีวิตนิรันดรในแผนดินสวรรค แตถาผูใดไมเช่ือและไมนับถือ
พระเจา จะถกู ตัดสนิ ใหล งนรกช่ัวนริ ันดร

หลักคําสอน พระธรรมคําสอน ปรากฏในพระคริสตธรรมคัมภีร (คัมภรไบเบิล) ผูนบั ถือ
ครสิ ตศ าสนาทุกคน ตอ งยึดม่นั ในหลกั ปฏิบตั ิสําคญั ของคริสตศ าสนา เรยี กวา บญั ญตั ิ 10 ประการ คือ

1) จงนมสั การพระเจา เพยี งพระองคเดียว พงึ ทาํ ความเคารพตอ พระเปน เจา
2) จงอยา ออกนามพระเจาอยา งพลอย ๆ โดยไมส มเหตุสมผล

51

3) จงฉลองวันพระอันเปน วันศกั ด์ิสทิ ธิ์
4) จงอยา บชู ารูปเคารพ
5) จงเคารพนับถอื บดิ ามารดาของตน
6) จงอยาฆาคน
7) จงอยาลวงประเวณีในคูค รองของผูอ่นื
8) จงอยา ลกั ขโมย
9) จงอยาพดู เทจ็
10) จงอยา มกั ไดในทรพั ยของเขา
หลักคําสอนของพระเยซู สว นใหญจ ะอยบู นพื้นฐานของบัญญัติ 10 ประการ ของศาสนายูดาย
โดยขยายอธิบายความเพิม่ เติมหรอื อนุรักษคาํ สอนเดมิ ไว เชน สอนใหมีเมตตากรุณาตอกนั สอนใหรักกัน
ในระหวางพ่ีนอง สอนใหทําความดี สอนใหเห็นแกบุญทรัพยมากกวาสินทรัพย สอนใหแสวงหา
คุณธรรมยิ่งกวาสิ่งอื่น สอนหลักการคบหาซึ่งกันและกัน สอนใหตอตานความอยุติธรรม สอนเร่ือง
จิตใจวา เปนรากฐานแหงความดีความชั่ว สอนถึงความกรุณาของพระเจา สอนถึงความขัดแยงกัน
ระหวา งพระเจากับเงิน สอนใหร ักษาศลี รักษาธรรม สอนวิธีไปสวรรค สอนเรื่องความสุขจากการทําใจ
ใหอิสระ ฯลฯ เปนตน
นักบวช/ผูสืบทอดศาสนา ผูสืบทอดคริสตศาสนา คือ สาวกพระ บาทหลวง หมอสอนศาสนา
และครสิ ตศาสนกิ ชน ผูเลื่อมใสในคริสตศ าสนา
ศาสนสถาน ศาสนสถานที่ใชประกอบกิจกรรมสําคัญทางศาสนาของคริสตศาสนิกชน คือ
โบสถ วิหาร
สัญลักษณ สัญลักษณ คือ เคร่ืองหมายแสดงความเปนคริสตศาสนิกชน ทุกนิกายใช
เคร่อื งหมายไมก างเขนเหมือนกนั หมด ไมก างเขน เปนหลักใชประหารนักโทษชาวปาเลสไตน ในสมัย
โบราณ นักโทษที่ถูกตัดสินประหาร จะถูกตรึงไมกางเขน แลวนําไปปกตั้งไวกลางแดดใหไดรับ
ความทุกขท รมานจากความรอ น และความหวิ กระหาย จนกวาจะตาย พระเยซูส้ินพระชนม โดยถูกตรึง
ไมกางเขน จึงถือเอาไมก างเขน เปน สัญลกั ษณแ สดงถงึ ความเสียสละที่ยงิ่ ใหญ เปนนริ ันดรของพระองค

พิธกี รรมสําคัญในครสิ ตศ าสนา

พธิ ีกรรมในศาสนานมี้ ีสาํ คัญ ๆ อยู 7 พิธี เรียกวา พธิ ีรบั ศลี ศักดส์ิ ิทธ์ิ มีดงั น้ี
1) ศีลลางบาปหรือการรับบัพติสมา เปนพิธีแรกท่ีคริสตชนตองรับ โดยบาทหลวงจะใช
นํา้ ศกั ดส์ิ ิทธ์ิเทลงบนศรี ษะ พรอมเจมิ นํา้ มนั ท่ีหนาผาก
2) ศีลอภัยบาป เปนการสารภาพบาปกับพระเจา โดยผานบาทหลวง บาทหลวง จะเปน
ผตู กั เตอื น สั่งสอน ไมใ หท าํ บาปนัน้ อีก และทาํ การอภัยบาปใหในนามพระเจา

52

3) ศลี มหาสนิท เปน พิธกี รรมรบั ศลี โดยรับขนมปงและเหลาองุนมารับประทาน โดยเชื่อวา
พระกายและพระโลหิตของพระเยซู

4) ศีลกําลงั เปนพธิ รี บั ศลี โดยการเจิมหนา ผาก เพอ่ื ยืนยันความเชือ่ วา จะนับถือศาสนาครสิ ต
ตลอดไป และไดรับพระพรของพระจติ เจา ทําใหเ ขม แข็งในความเชื่อมากข้ึน

5) ศีลสมรส เปน พธิ ีประกอบการแตง งานโดยบาทหลวงเปนพยาน เปน การแสดงความสัมพันธวา
จะรกั กนั จนกวาชวี ิตจะหาไม

6) ศีลบวช สงวนไวเฉพาะผูท่จี ะบวชเปนบาทหลวง และเปนชายเทา นัน้
7) ศีลเจมิ คนไข เปน พิธเี จมิ คนไขโดยบาทหลวง จะเจิมนํา้ มันลงบนหนาผากและมอื ทงั้ สองขาง
ของผปู ว ย ใหร ะลึกวา พระเจาจะอยกู ับตน และใหพลงั บรรเทาอาการเจบ็ ปวย
สาํ หรบั นกิ ายโรมันคาทอลิกและนิกายออรโธด็อกซ จะมพี ิธีกรรมท้ัง 7 พิธี แตสําหรับนิกาย
โปรเตสแตนท จะมเี พียง 2 พิธี คอื พิธีบพั ตสิ มาและพิธมี หาสนิท

แบบอยา งของครสิ เตียนท่ดี ี

มารต นิ ลเู ธอร คิง
มารตนิ ลเู ธอร คิง เกิดในครอบครวั ทป่ี ูติดสุรา มีหนี้สินมากมาย แตพอของ คิง ใฝดีในชีวิต
อดทนเรียนตอในมหาวิทยาลัย และเปนศาสนาจารยประจําโบสถ สามารถสรางฐานะไดดวยตนเอง
จนกลายเปนบคุ คลชน้ั สงู ของคนผิวดําในแอตแลนตา แตในสังคมขณะนั้นยังแยกผิวสีคนดําเปนทาส
และถูกเฆีย่ นตี คิง เปนเด็กฉลาดและราเรงิ เปนหัวหนา กลมุ ของเพอ่ื น เขาไดรบั การฝกใหอ ดกลนั้ และ
มรี ะเบยี บวินัย เขาตองไปโรงเรียนสอนศาสนาและโบสถในวันอาทิตย บายสงหนังสือพิมพ นอนแต
หัวค่ํา และต่นื เชาเรยี นคมั ภีรไบเบิล ตองสวดมนตก อนรบั ประทานอาหาร คิง อยากเรียนแพทย แตเม่ือ
ไดร บั การดหู มิน่ จากคนผวิ ขาว เขาจงึ เรียนทนายความ ทม่ี หาวทิ ยาลยั มอรเฮาร เขาฝกเปนนักพูด ได
รางวัลในการประกวดวาทศิลป เปนนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเย่ียม และเขาตัดสินใจเปนนักเทศน
เขาเขยี นบทความลงในหนังสือพมิ พ เรยี กรองใหคนผิวดําเขมแข็ง จนประธานาธิบดี ลินดอน บี จอหนสัน
ยินยอมออกกฎหมายวาดวยสิทธิมนุษยชน ดร.มารติน ลูเธอร คิง จูเนียร ไดรางวัลโนเบล และ
เขาเสียชีวิตลงดวยนํา้ มอื ชาวผวิ ขาว เม่อื วนั ท่ี 4 เมษายน 1968

53

3.4 หลกั ธรรม – คาํ สอนของศาสนาพราหมณ - ฮนิ ดู

คาํ สอนสาํ คญั ของศาสนาพราหมณ - ฮินดู

ศาสนาพราหมณ - ฮนิ ดเู ปนศาสนาทเ่ี กา แกท่สี ดุ มหี ลกั ธรรมสําคญั ๆ ดงั น้ี
1. หลกั ธรรม 10 ประการ

1) ธฤติ ไดแก ความพอใจ ความกลา ความมั่นคง ซ่ึงหมายถึง การพากเพียรจนไดรับ
ความสาํ เรจ็

2) กษมา ไดแก ความอดทน น่ันคือ พากเพียร และอดทน โดยยึดความเมตตา กรุณา
เปน ทตี่ ั้ง

3) ทมะ ไดแก การขมจิตใจของตนดว ยเมตตา และมีสติอยูเ สมอ
4) อสั เตยะ ไดแก การไมล กั ขโมย ไมก ระทําโจรกรรม
5) เศาจะ ไดแก การกระทาํ ตนใหบ รสิ ทุ ธท์ิ ง้ั กายและใจ
6) อินทรยี นครหะ ไดแ ก การหม่ันตรวจสอบอนิ ทรยี  10 ประการ ใหไดร บั การตอบสนอง
ทถ่ี ูกตอง
7) ธี ไดแก ปญญาสติ มติความคิด ความมัน่ คง ยนื นาน นน้ั คือ มปี ญญาและรจู กั ระเบียบ
วธิ ีตาง ๆ
8) วทิ ยา ไดแ ก ความรูท างปรัชญา
9) สัตยา ไดแก ความจริง คือ ซอื่ สตั ยต อกนั และกนั
10) อโกธะ ไดแ ก ความไมโ กรธ
2. หลกั อาศรม (ข้นั ตอนแหง ชวี ติ ) 4 คอื

1) พรหมจารี ขน้ั ตอนเปน นกั ศึกษา
2) คฤหัสถ ขนั้ ตอนเปน ผคู รองเรือน
3) วานปรสั ถ ขนั้ ตอนละบา นเรือนเขา ปา หาความสงบวิเวก
4) สนั ยาสี ข้ันตอนสละเพศฆราวาส ออกบวช บําเพญ็ พรต เพ่อื หาความสขุ ทแ่ี ทจริง
ของชีวติ
3. หลักเปา หมายของชวี ติ 4 ประการ คือ
1) กามะ การหาความสุขทางโลกอยางถูกตอง สมดลุ
2) ธรรมะ ปฏิบตั ิหนาทต่ี ามวรรณะไดถกู ตอ ง
3) อรรถะ สรา งฐานะทางครอบครวั ใหม ัน่ คงในทางเศรษฐกจิ
4) โมกษะแสวงหาทางหลุดพน

54

บคุ คลตัวอยา งในศาสนาพราหมณ - ฮนิ ดู

มหาตมะ คานธี เปน บคุ คลตวั อยางของศาสนาพราหมณ – ฮนิ ดู ไดอ ยางดี ทานมหาตมะ คานธี
เปนชาวอนิ เดีย ไดรับการศึกษากฎหมายจากประเทศอังกฤษ แตทานยังคงไวซึ่งความเปนผูอนุรักษ
วัฒนธรรมชาวอนิ เดยี ไวไ ด ทา นเปนผูนําของชาวอินเดียในการตอสู เพ่ือเอกราชของชาวอินเดียดวย
วธิ กี ารอหิงสา คอื การตอตานอยางสงบ อดอาหาร เปนบุคคลตัวอยางท่ีใชชีวิตอยางสมถะ เรียบงาย
เปนวรี บุรุษของชาวอนิ เดียท่สี ามารถตอสเู อาอธิปไตยคนื จากองั กฤษได สาเหตุที่ทานเรม่ิ การตอสูเกิด
จากเม่อื ทา นไปทาํ งานทป่ี ระเทศแอฟริกา ทานโดยสารรถไฟช้นั หน่ึง แตพ นกั งานรถไฟไมใ หทานนั่งชั้น 1
เพราะที่นั่งเอาไวส าํ หรับคนผวิ ขาว ทา นจึงโดนไลลงจากรถไฟ ทานน่ังอยูท่ีสถานีรถไฟท้ังคืน ครุนคิด
ในเร่ืองนี้ และทา นสามารถรวมกลุมชาวอนิ เดยี ตอตา นชาวผิวขาวในแอฟริกา เมื่อทานมาอยูที่อินเดีย
แตเ ดมิ ทานสนบั สนุนการทํางานของอังกฤษ แตเม่ืออังกฤษ ออกกฎหมายตรวจรูปพรรณหญิงอินเดีย
ตองถอดเสื้อผาตอหนาเจาหนาท่ีอังกฤษ ทานจึงเร่ิมตนนําอินเดียสูอังกฤษ จนไดรับชัยชนะดวย
วิธอี หงิ สาตอ สดู วยความสงบ

กิจกรรมท่ี 3
3.1 ใหผ เู รยี นยกตัวอยางบคุ คลในชมุ ชนของทานทนี่ ําหลกั ธรรมทางศาสนามาปฏิบตั ิและ

เปนทย่ี อมรับของสังคมและชุมชน
3.2 ผเู รยี นยดึ หลกั ธรรมขอ ใดในศาสนาที่ตนเองนับถอื ในการแกไขปญหาชวี ติ และพฒั นา

ชวี ติ
3.3 ใหผูเรียนอธิบายหนาทแ่ี ละการปฏบิ ตั ิทดี่ ตี ามหลักศาสนาของตน

55

เรอ่ื งท่ี 4 หลักธรรมในแตล ะศาสนาท่ีทาํ ให

อยูรว มกับศาสนาอ่ืนไดอยางมีความสขุ

4.1 ศาสนาพทุ ธ ไดแก พรหมวิหาร 4 และฆราวาสธรรม

พรหมวหิ าร 4

วิหาร แปลวา ทอี่ ยู พรหม แปลวา ประเสรฐิ คาํ วา พรหมวิหาร หมายความวา เอาใจจับอยู

ในอารมณแหงความประเสริฐหรือเอาใจไปขงั ไวในความดีทสี่ ดุ ซ่งึ มคี ุณธรรม 4 ประการ คอื

1. เมตตา

2. กรณุ า

3. มทุ ติ า

4. อเุ บกขา

เมตตา แปลวา ความรกั หมายถึง รกั ที่มุงเพ่ือปรารถนาดีโดยไมห วังผลตอบแทนใด ๆ จึงจะ

ตรงกับคําวา เมตตา ในที่นี้ ถาหวังผลตอบแทน จะเปนเมตตาที่เจือดวยกิเลส ไมตรงตอเมตตา

ในพรหมวหิ ารนี้

ลกั ษณะของเมตตา ควรสรางความรูสึกคุม อารมณไวตลอดวันวา เราจะเมตตาสงเคราะห

เพ่ือนท่ีเกิด แก เจ็บ ตาย จะไมสรางความลําบากใหแกสรรพสัตวทั้งหลาย ความทุกขที่เขามี

เราก็มเี สมอเขา ความสขุ ที่เขามีเราก็สบายใจไปกบั เขา รักผูอ ืน่ เสมอดวยรกั ตนเอง

กรุณา แปลวา ความสงสาร หมายถึง ความปรานี ปรารถนาใหผูอื่นพนทุกข ความสงสาร

ปรานีนกี้ ไ็ มหวังผลตอบแทน เชนเดยี วกนั สงเคราะหส รรพสัตวท ม่ี ีความทุกขใหหมดทุกขตามกําลังกาย

กําลงั ปญ ญา กําลงั ทรพั ย

ลักษณะของกรณุ า การสงเคราะหทั้งทางดานวัตถุโดยธรรมวา ผูที่จะสงเคราะหนั้นขัดของ

ทางใดหรอื ถาหาใหไมไ ดก ช็ ีช้ อ งบอกทาง

มุทิตา แปลวา มีจิตออนโยน หมายถึง จิตท่ีไมมีความอิจฉาริษยาเจือปน มีอารมณสดช่ืน

แจมใสตลอดเวลา คดิ อยเู สมอวา ถาคนท้ังโลกมีความโชคดี ดว ยทรพั ย มีปญญาเฉลียวฉลาดเหมอื นกัน

ทุกคนแลว โลกน้ีจะเตม็ ไปดวยความสขุ สงบ ปราศจากอันตรายท้งั ปวง คดิ ยนิ ดี โดยอารมณพลอยยินดีนี้

ไมเน่ืองเพื่อผลตอบแทน การแสดงออกถึงความยนิ ดใี นพรหมวหิ าร คอื ไมห วงั ผลตอบแทนใด ๆ ท้งั สิน้

อุเบกขา แปลวา ความวางเฉย น่ันคอื มกี ารวางเฉยตอ อารมณท ่ีมากระทบ ความวางเฉยใน

พรหมวิหารนี้ หมายถงึ เฉยโดยธรรม คือ ทรงความยตุ ิธรรมไมลาํ เอียงตอ ผใู ดผูหนง่ึ

- คนทม่ี พี รหมวหิ าร 4 สมบรู ณ ศีลยอมบริสทุ ธิ์

- คนท่ีมพี รหมวหิ าร 4 สมบูรณ ยอมมฌี านสมาบตั ิ

- คนท่ีมีพรหมวิหาร 4 สมบูรณ เพราะอาศยั ใจเยือกเย็นปญ ญาเกดิ

56

ฆราวาสธรรม

หมายถึง การปฏิบัตติ นเปน ฆราวาสที่ดี ซึง่ เปน ธรรมสาํ หรบั ผคู รองเรอื น มี 4 ประการ คอื
1) สัจจะความจริงใจ ความจริงจังตลอดจนความซ่ือตรงตอกันและกัน สรุปรวม คือ
“ความรับผดิ ชอบ” เปนหลักสาํ คญั ทจ่ี ะใหเกดิ ความไววางใจ และไมตรีจิตสนิทตอกัน ขาดสัจจะเมื่อใด
ยอมเปนเหตุใหเกิดความหวาดระแวง แคลงใจกัน เปนจุดเริ่มตนแหงความราวฉาน ซึ่งยากนักที่จะ
ประสานใหคนื ดไี ดดงั เดมิ ซ่ึงถามคี วามรับผดิ ชอบในตนเองหรอื แมแตร บั ผดิ ชอบผอู ่ืน ก็จะสงผลใหเกดิ
ความผาสกุ ได
คนมสี ัจจะ จึงมกั จะแสดงความรบั ผดิ ชอบออกมา 4 ดา น คือ

1.1 ดานหนาทแ่ี ละการงาน ทํางานชนิ้ นน้ั ใหสําเร็จไมวา จะเกดิ อุปสรรคใด ๆ กต็ ามหรอื
แมแ ตส ภาพแวดลอมจะไมเ อ้อื อาํ นวยกต็ าม

1.2 ดา นคําพูด พดู อยา งไร ทําอยางน้นั และทาํ อยา งไร กพ็ ูดอยา งน้นั
1.3 ดา นการคบคนจรงิ ใจ ไมมเี หล่ยี มคู วากนั ตรง ๆ ซ่อื ๆ จรงิ ใจ ไมลําเอยี ง ไมมีอคติ
4 ประการ ไดแ ก

1. ไมลําเอยี ง เพราะรัก
2. ไมลําเอียง เพราะชงั
3. ไมลาํ เอียง เพราะโง
4. ไมล าํ เอียง เพราะกลวั
1.4 ดานศีลธรรม ความดียึดหลักคุณธรรม ไมผิดศีล ผิดธรรม ผิดประเพณี และ
ผดิ กฎหมายบา นเมือง
2) ทมะ การรูจักขมจิตขมใจตนเอง มีความกระตือรือรนในการเคี่ยวเข็ญ ฝกตนเอง
บงั คับ ควบคุม อารมณ ขมใจ ระงับความรสู ึกตอ เหตุบกพรองของกันและกัน อยางไมมีขอแม เงือ่ นไข
เพือ่ ใหตนเองมที ้งั ความรู ความสามารถ และความดีเพ่ิมพูนมากข้ึนทุกวัน ๆ รูจักฝกฝน ปรับปรุงตน
แกไ ขขอ บกพรอง ปรบั นิสยั และอธั ยาศยั ไมเปนคนดือ้ ดา น เอาแตใจและอารมณของตน
3) ขันติ ความอดทนอดกลั้นตอความหนักและความรายแรงท้ังหลาย ชีวิตของผูอยู
รวมกัน นอกจากมีขอ แตกตา ง ขดั แยงทางอปุ นสิ ัย การอบรม และความตองการบางอยาง ซึ่งจะตอง
หาทางปรับปรุงเขาหากัน บางรายอาจจะมีเหตุลวงเกินรุนแรง แสดงออกจากฝายใดฝายหน่ึง ซ่ึง
อาจจะเปน ถอยคําหรือกิริยาอาการ จะโดยต้ังใจหรือไมก็ตาม เมื่อเกิดเหตุเชนน้ี อีกฝายหนึ่งจะตอง
รจู ักอดกลนั้ ระงบั ใจ ไมก อเหตุใหเรือ่ งลุกลามกวางขยายตอไป ความรา ยจึงจะระงับลงไป นอกจากน้ี
ยงั จะตอ งมีความอดทนตอความลําบาก ตรากตรํา และเรื่องหนักใจตาง ๆ ในการประกอบการงาน
อาชพี เปน ตน โดยเฉพาะเมอื่ เกิดภัยพิบัติ ความตกต่ําคับขนั ไมตีโพยตพี าย แตมสี ตอิ ดกลน้ั คดิ อบุ าย

57

ใชปญญาหาทางแกไขเหตุการณใหลุลวงไปดวยดี ชีวิตของคูครองท่ีขาดความอดทน ยอมไมอาจ
ประคบั ประคองพากันใหรอดพน เหตรุ า ยตา ง ๆ อันเปนประดจุ มรสมุ แหงชวี ิตไปได

ความอดทนพน้ื ฐานใน 4 เรื่องตอ ไปน้ี เปน สงิ่ ท่ีตองเจอในชีวติ ของเราโดยท่วั ไป คือ
3.1 ตองอดทนตอธรรมชาติท่ีไมเอื้ออํานวย ทนท้ังแดด ลม ฝน ส่ิงแวดลอมที่ไม

เอ้ืออํานวย เปนตน
3.2 ตอ งทนตอทุกขเวทนา คือ การทนตอสภาพสังขารของตน เชน การเจ็บปวย ก็ไม

โวยวาย คราํ่ ครวญ จนเกินเหตุ เปน ตน
3.3 ตองอดทนตอการกระทบกระท่ัง คือ การอดทนกบั คนอื่น รวมถงึ อดทนกับตนเอง

ในเรอื่ งทไ่ี มไดด ง่ั ใจตนเอง การกระทบกระทง่ั จิตใจตนเองดว ย
3.4 ตอ งอดทนตอ กเิ ลส คือ การอดทนตอนิสัยไมดีของเราเอง ไมใหระบาดไปติดคนอ่ืน

และตองอดทนตอการย่ัวยุของอบายมุข ซ่ึงเปนสิ่งแวดลอมภายนอกที่พยายามกระตุนกิเลสในใจ
ตนเอง อดทนตอ อบายมขุ 6 คอื การดม่ื สุรา การเท่ยี วกลางคนื การเท่ียวในสถานบนั เทิงเริงรมย การ
เลนพนนั การคบคนช่วั เปน มติ ร และการเกยี จครา นตอ หนา ท่ีการงาน

4) จาคะ ความเสยี สละ ความเผ่ือแผแบงปน ตลอดถงึ ความมีน้ําใจเอื้อเฟอตอกัน นึกถึง
สว นรวมของครอบครวั เปนใหญ ชีวติ บุคคลทจี่ ะมคี วามสขุ จะตองรูจกั ความเปน ผูใ หด ว ย มใิ ชเ ปน ผรู ับ
ฝา ยเดียว การให ในท่ีน้ีมใิ ชห มายแตเ พยี งการเผอื่ แผ แบง ปน สิ่งของ อนั เปนเรอ่ื งที่มองเห็นและเขาใจ
ไดงาย ๆ เทานั้น แตยังหมายถึง การใหน้ําใจแกกัน การแสดงนํ้าใจเอ้ือเฟอตอกัน ตลอดจนการ
เสียสละ ความพอใจ และความสุขสวนตัวได เชน ในคราวท่ีคูครองประสบความทกุ ข ความเจ็บไข
หรือประสบปญหาทางธุรกิจ เปนตน ก็เสียสละความสุข ความพอใจของตน ขวนขวายชวยเหลือ
เอาใจใสด ูแล เปน ทพ่ี ่ึงอาศยั เปน กาํ ลังสงเสริม หรือชวยใหกาํ ลงั ใจไดโดยประการใดประการหน่ึ งตาม
ความเหมาะสม รวมความวา เปนผูจิตใจกวางขวาง เอ้ือเฟอเผ่ือ แผเสียสละ ไมคับแคบ เห็นแกตัว
ชีวติ ครอบครวั ท่ขี าดจาคะ กค็ ลายกบั การลงทนุ ทีป่ ราศจากผลกาํ ไรมาเพมิ่ เตมิ สว นทม่ี มี าแตเดิมก็คงท่ี
หรอื หมดไป เหมือนตน ไมท ี่มไิ ดรบั การบาํ รงุ ก็มีแตอ ับเฉารว งโรย ไมมคี วามสดช่ืน งอกงาม

4.2 ศาสนาอสิ ลาม

มีหลักธรรมที่ทําใหอยูรวมกับศาสนาอ่ืนไดอยางมีความสุข เพราะยึดหลักจริยธรรมเปน
ธรรมนูญ สําหรับมนุษยท่ีครอบคลุมทุกดานท้ังสวนตัว ครอบครัว สังคม สอนใหมนุษยอยูกันดวย
ความเปนมิตร ละเวนการรบราฆาฟน การทะเลาะเบาะแวง รุกรานสิทธิผูอ่ืน ไมลักขโมย ฉอฉล
หลอกลวง ไมผิดประเวณี ทําอนาจาร ไมดื่มของมึนเมา ไมบอนทําลายสังคม ไมวารูปแบบใดและ
ศาสนาอิสลาม ถือวา พนี่ องมสุ ลมิ ท่ัวโลกเปนครอบครวั กนั เปนน้ําหนึง่ ใจเดียวกัน สามัคคีกัน และรักกัน

ศาสนาอิสลามมวี ธิ ฝี ก ตนใหอดทนดวยการถือศลี อด และรักผูอนื่ ดว ยการบรจิ าคทาน เรยี กวา
ซะกาต

58

การถอื ศลี อด

การถอื ศีลอด คอื งดเวน จากการกระทาํ ตาง ๆ ดงั ตอไปน้ี ตงั้ แตแ สงอรุณขึน้ จนถงึ ตะวนั ตก ใน
เดือนรอมะฎอน (เดอื นท่ี 9 ขอฮจิ เราะหศักราช) เปนเวลา 1 เดอื นคอื

1. งดการกินและการด่มื
2. งดการมเี พศสมั พันธ
3. งดการใชว ตั ถภุ ายนอกเขาไปในอวัยวะภายใน
4. งดการแสดงอารมณรายและความผิดตาง ๆ พรอมท้ังกระทําในสิ่งตาง ๆ
ดังตอไปน้ี

- ทาํ นมสั การพระเจาใหม ากกวาวนั ธรรมดา ถาเปนการถอื ศลี รอมะฎอน ใหทํา
ละหมาดตะรอวีห จํานวน 20 รอ็ กอะฮ

- อานคมั ภีรอลั กรุ อานใหมาก
- สาํ รวมอารมณ และจติ ใจใหดี
- ทาํ ทานแกผ ยู ากไร และบริจาคเพือ่ การกศุ ล
- กลาว “ซกิ ร”ิ อนั เปน บทรําลึกถงึ พระเจา
- ใหนงั่ สงบสติสงบจติ “อิตติกาฟ” ในมสั ยดิ
การถือศลี อด มีเปาหมายเพอื่ เปนการฝกฝนใหต ัวเองมจี ติ ผกู พนั และยาํ เกรงตอ พระเจาเพอ่ื
การดาํ เนนิ ชีวิตในทกุ ดา น ตามคําบัญชาของพระองค อนั เปนผลดี ทําใหเกดิ ปกติสขุ ท้ังสว นตวั และสวนสังคม
นอกจากนนั้ ประโยชนของการถือศีลอด ยังเปนผลดีในดานสุขภาพอนามัยอีกดวย เพราะ
การถอื ศลี อด เปนการอดอาหารในชว งเวลาที่ถูกกําหนดไวอ ยางตายตวั น้นั จะทําใหร า งกายไดล ะลาย
สวนเกินของไขมันท่สี ะสมเอาไว อนั เปนบอเกดิ ของโรครายหลายประการดวย
การถอื ศลี อด ทําใหเกดิ การประหยดั ทัง้ อาหารของโลก และสง่ิ ฟุมเฟอยตาง ๆ ในหน่ึงเดือนท่ี
ถือศีลอด คาอาหารท่ีลดลงจะเปนจํานวนมหาศาล เทากับเดือนถือศีลอด น้ัน มุสลิมชวยทําใหโลก
ประหยัดโดยตรง

ซะกาต

ซะกาต ในศาสนาอิสลาม หมายถึง ทานประจํา ซึ่งศาสนาบังคับใหผูมีทรัพยสินมากเกิน
จํานวนที่กําหนดไว (ในศาสนา) จายแกผ ูควรไดร ับ (ตามอัตราทีศ่ าสนากาํ หนด)

ที่มาของการบริจาคซะกาต
1. คําสอนในศาสนาที่ใหมุสลิมทุกคน ถือวา บรรดาทรัพยสินท้ังหลายที่หามาได น้ัน คือ
ของฝากจากอลั เลาะหเจา ใหจ า ยสวนหนึ่งแกค นยากคนจน
2. ชวี ติ จรงิ ของพระศาสดามะหะหมดั เคยผานความยากจนมากอ น

59

วตั ถปุ ระสงคของการบริจาคซะกาต
1. เพอ่ื ชาํ ระจติ ใจของผูบรจิ าคใหบรสิ ทุ ธ์ิ ไมต กเปน ทาสแหง วตั ถุ ดว ยความโลภ และเห็นแกตวั
2. เพอ่ื ปลูกฝงใหมุสลิมทงั้ หลาย เปนผูม ีจิตใจเมตตา กรณุ า เอือ้ เฟอ เผือ่ แผ ซงึ่ กนั และกนั
3. เพอ่ื ลดชอ งวา งระหวา งชนชน้ั ในสงั คม ดวยวิธีการสังคมสงเคราะห
ลักษณะของการบรจิ าคซะกาตทถ่ี อื ไดวา ไดบญุ กศุ ลตามความมุง หมาย ไดแ ก
1. ทรพั ยส ินทบี่ รจิ าคตองไดม าดว ยความสจุ ริต
2. ตอ งเตม็ ใจในการบริจาค ไมห วงั สิ่งตอบแทน ไมเจตนา เพื่ออวดความมงั่ มี และไมล ําเลกิ
บญุ คุณ
อตั ราการบรจิ าคซะกาต
1. ซะกาตพืชผล อันไดแก การเพาะปลูกท่ีนําผลผลิตมาเปนอาหารหลักในทองถ่ิน น้ัน
เชน ขา ว ขา วสาลี เปน ตน เม่อื มจี ํานวนผลิตได 650 กก. ตองจา ยซะกาด 10% สําหรบั การเพาะปลูก
ทีอ่ าศยั ฝน และเพยี ง 5% สาํ หรบั การเพาะปลกู ทใ่ี ชน า้ํ จากแรงงาน
2. ทองคําเงินและเงินตรา เมื่อมีจํานวนเหลือใชเพียงเทาทองคําหนัก 5.6 บาทเก็บไว
ครอบครอง ครบรอบปก ต็ องบริจาคออกไป 2.5% จากทั้งหมดทมี่ อี ยู
3. รายไดจากการคา เจาของสินคาตองคิดหักในอัตรา 2.5% ในทุกรอบป บริจาคเปน
ซะกาต ท้ังนี้ทรพั ยส ินจะตอ งไมนอยกวา เทยี บนํา้ หนกั ทองคาํ เทากับ 4.67 บาท
4. ขุมทรัพยเ หมอื งแร เมือ่ ไดขดุ กรสุ มบัตแิ ผนดิน หรือเหมืองแรไ ดส มั ปทาน จะตองซะกาต
20% หรือ 1 ใน 5 จากทรพั ยสินท้ังหมดทีไ่ ด
5. ปศุสตั ว ผูท ีป่ ระกอบอาชีพเลย้ี งสตั ว คือ วัว ควาย อูฐ แพะ จะตองบริจาคในอัตราท่ีแนนอน
เปนซะกาตออกไป เชน มีวัว ควาย ครบ 30 ตัว ใหบริจาคลูกวัว อายุ 1 ขวบ ครบ 100 ตัว บริจาคลูกวัว
อายุ 2 ขวบ 1 ตวั และ 1 ขวบ 2 ตวั เปน ตน

4.3 ศาสนาครสิ ต

ไดแ ก หลกั ความรัก ซึง่ กอใหเกิดความรัก สามัคคี ของคนในโลก ท้ังนี้ เพราะหลักความรัก
เปนคําสอนทางจริยธรรมที่สําคัญที่สุดของศาสนาคริสต ความรักในที่นี้ มิใชความรักอยางหนุมสาว
อนั ประกอบดวยกิเลส ตัณหา และอารมณปรารถนา อันเห็นแกตัว แตหมายถึง ความเปนมิตรและ
ความปรารถนาใหผูอ่ืนมีความสุข พระคริสตธรรม ท้ังพระคริสตธรรมใหม และพระคริสตธรรมเกา
ตางก็มีคาํ สอนท่เี นน เร่อื ง ความรัก ซงึ่ มีอยู 2 ประเภท ไดแ ก ความรกั ระหวางมนษุ ยก ับพระเจา และ
ความรกั ระหวา งมนษุ ยกบั มนุษย

60

ในพระคริสตธรรมเกา ความรัก เปนเร่ืองของความผูกพันระหวางพระเจากับชนชาติอิสราเอล
โดยท่ีพระเจาทรงเปนผูใหค วามรักแกช นชาตอิ สิ ราเอลกอ น จากนั้นชาวอิสราเอล จึงสนองตอบความรัก
ของพระเจา พระคริสตธรรมเกา ไดบ นั ทึกหลักความรกั ระหวา งมนุษยกับมนุษย ไวว า

“จงอยาเกลยี ดชังพนี่ อ งของเจา อยใู นใจ แตเ จาจงตกั เตือน เพ่อื นบานของเจา เพื่อจะไมตอง
รับโทษ เพราะเขา เจาอยาแคนหรือผูกพยาบาท ลูก หลาน ญาติพ่ีนองของเจา แตจงรักเพ่ือนบาน
เหมือนรกั ตนเอง”

ในพระคริสตธรรมใหม คําสอน เรื่อง หลักความรักระหวางมนุษยกับพระเจา ไดเปล่ียนไป
โดยใหพระเยซูเปนสัญลักษณของความรักสูงสุดที่พระเจาทรงมีตอมนุษย เห็นไดจากการท่ีพระเยซู
ทรงยอมสนิ้ พระชนมบ นไมกางเขน เพ่ือใหผมู ีศรทั ธาในพระองค จะไดพนจากความผิดบาปเจตนารมณ
ของพระเยซูท่ีทรงยอมสละพระชนมชีพ เพ่ือไถบาปของมวลชน นั้น ปรากฏอยูในคําอธิษฐานของ
พระองค กอ นทีท่ หารโรมันจะเขา จับกมุ และพระคริสตธรรมใหม ไดบันทึกความสําคัญของความรัก
ระหวางมนุษยกบั มนษุ ย วา

“มีธรรมาจารยคนหนงึ่ เมอื่ มาถงึ ไดย ินเขาไลเลียงกัน และเห็นวา พระองค ทรงตอบเขาไดดี
จึงทูลถามพระองค วา “ธรรมบัญญัติขอ ใดเปนเอก เปนใหญ กวาธรรมบัญญัติท้ังปวง” พระเยซูจึง
ตรัสตอบคนนนั้ วา “ธรรมบัญญัติเอก นั้น คือวา โอชนอิสราเอลจงฟงเถิด พระเจาของเราท้ังหลาย
ทรงเปนพระเจา องคเ ดียว และพวกทานจงรกั พระเจาดวยสดุ จติ สดุ ใจ ของทา นดวย สดุ ความคิดและ
ดวยสิ้นสุดกําลังของทาน และธรรมบัญญัติท่ีสอง น้ันคือ จงรักเพ่ือนบาน เหมือนรักตนเอง ธรรม
บัญญตั ิอืน่ ที่ใหญกวาธรรมบญั ญัติท้ังสองน้ี ไมม ”ี

คาํ วา “เพ่ือนบา น” น้หี มายถงึ เพอื่ นมนุษยท่ัวไป พระเยซู ทรงสอนใหมนุษย เผื่อแผความรัก
ไปรอบดา น ไมเลือกที่รักผลักที่ชัง หลักคําสอนสําคัญนี้ มีอยูในบทเทศนาบนภูเขา ความรักระหวาง
มนษุ ยกบั มนษุ ย แสดงออกไดโดยความเมตตา กรุณา และความเสียสละ สวนความรักที่มนุษยมีตอ
พระเจา แสดงออกโดยความศรัทธา ความศรทั ธาสรปุ ได 5 ประการ คอื

1. ศรัทธาวาพระเจา คอื พระเยโฮวาห เปนพระเจาสงู สุดเพียงองคเ ดยี ว
2. ศรทั ธาวาพระเจา ทรงรกั มนษุ ยอยา งเทา เทียมกัน
3. ศรทั ธาวา พระเยซู เปน บตุ รของพระเจา
4. ศรทั ธาวาพระเยซู เปนพระผชู ว ยใหรอด
5. ศรทั ธาวาในแผน ดนิ สวรรค หรอื อาณาจกั รของพระเจาที่กาํ ลังจะมาถึง
หลักความรกั และหลกั อาณาจักรของพระเจา มคี วามสมั พันธก ัน กลา วคอื มนุษยจะสามารถ
เขา ถงึ อาณาจักรของพระเจา ได กโ็ ดยอาศยั ความรัก เปน คุณธรรมนําทาง และอาณาจักรของพระเจา
ก็เปนอาณาจกั รทีบ่ ริบรู ณดวยรกั

61

4.4 ศาสนาพราหมณ - ฮนิ ดู

ศาสนาพราหมณ – ฮินดู ยึดหลักปรมาตมนั มคี วามหมายดังนี้

หลกั ปรมาตมัน

คําวา ปรมาตมัน หมายถงึ สง่ิ ย่ิงใหญอ นั เปนที่รวมของทกุ สง่ิ ทุกอยางในสากลโลก ซง่ึ เรียกช่ือ
ส่งิ นวี้ า พรหมปรมาตมนั กับพรหม จงึ เปนสิ่งเดียวกันและมีลกั ษณะดังตอ ไปน้ี

1) เปนสิ่งท่ีเกดิ ขนึ้ เอง
2) เปน นามธรรมสิงสถติ อยูใ นสงิ่ ท้งั หลายทง้ั ปวง เรียกวา อาตมัน เปนสิ่งท่มี องไมเหน็ ดว ยตา
3) เปนศนู ยร วมแหงวิญญาณทง้ั ปวง
4) ส่งิ ทง้ั หลายทง้ั ปวงในสากลโลกลว นเปนสวนยอยทแี่ ยกออกมาจากพรหม
5) เปน ตวั ความจรงิ (สัจธรรม) สง่ิ เดยี ว (โลกและสงิ่ อน่ื ๆ ลวนเปน มายาภาพลวงทีม่ ีอยชู วั่ คร้ัง
ชัว่ คราว เทา นนั้ )
6) เปนผูป ระทานวญิ ญาณความคดิ และความสันติ
7) เปนส่งิ ทด่ี ํารงอยใู นสภาพเดิมตลอดกาล
วิญญาณของสตั วโลกทั้งหลาย (อาตมัน) คือ สวนท่ีแยกออกมาจากวิญญาณรวมของพรหม
(ปรมาตมัน) วญิ ญาณยอยแตละดวงเหลาน้ี เม่ือแยกออกมาแลว ยอมเขาสิงสถิตในสิ่งมีชีวิตรูปแบบ
ตาง ๆ กนั เชน ในรางกายมนษุ ย เทวดา สัตว และพืช มีสภาพดีบาง เลวบาง สุดแตผลกรรมท่ีทําไวซึ่ง
ถือวา เปนทุกขทั้งสิ้น ตราบใดท่ีวิญญาณเหลาน้ียังไมส้ินกรรม ยอมตองเวียนวายตายเกิดผจญทุกข
อยตู ลอดไป
ดงั น้นั เม่ือทกุ ส่งิ ทุกอยา งในสากลโลกเปนสิ่งเดยี วกนั จึงควรอยูดว ยกนั ดว ยสนั ตแิ ละสงบสขุ ได

กจิ กรรมท่ี 4
ใหครแู บง ผเู รยี นออกเปน 3 กลมุ แลวอภปิ รายถึงโทษของการขาดคุณธรรมจริยธรรมท่ีเกิด

กับตนเองสังคมและประเทศชาติ กลมุ ละ 5 ประเด็น โดยวิเคราะหจากสถานการณความเดือดรอนใน
ปจจุบนั แลว นํามาเสนอในการพบกลมุ

กจิ กรรมท่ี 5

ใหผูเ รียนอา นเรอ่ื งตอไปนแี้ ลว อภิปรายพรอมยกตัวอยางอื่น ๆ จากหนา หนังสือพมิ พ
ที่แสดงโทษผิดศลี ไมร กั ษาศลี 5

62

เพยี งเส้ียวทบ่ี ดั ซบ

เสียงปรบมือดังกึกกองในหองประชุม เมื่อพิธีกรประกาศรายช่ือของแมดีเดน ประจํา
ปการศึกษา 2540 มอื ของแมเย็นเฉียบ เมื่อตอนจับมือของผม ผมประคองแมออกไปรับรางวัลจาก
ผูอ าํ นวยการวทิ ยาลัย นํ้าตาแหง ความปลื้มปติของแมเ ออลนขอบตา เมอ่ื พธิ ีกรอานประวตั ิของแม

“...มคี วามวิริยะอุตสาหะในการเล้ียงดูลูก ทําหนาท่ีเปนท้ังพอและแมอบรมพรํ่าสอนใหลูก
ประพฤติตนเปน คนดี ... สาํ หรบั ลูกน้นั มคี วามประพฤตดิ ี บาํ เพ็ญตนเปน ประโยชนตอสังคม เปนที่รัก
ของครู – อาจารย และเพื่อน ๆ ในวิทยาลัย” คําสรรเสริญเยินยอมากมายจนทาํ ใหหัวใจของผมพองโต

“ลกู แม วนั นเี้ ปน วันท่ีแมม ีความสุขทีส่ ดุ ถึงพอ จะทงิ้ แมไ ป แตแมก็ทาํ หนา ท่ีไดด ีทีส่ ดุ ” แมนํา
โลทีไ่ ดรบั ไปวางไวบนหลังตู ยนื พจิ ารณาอา นขอความซ้าํ แลว ซํ้าอีก

“ดแู มเ จาสิ ภาคภมู ิใจในตัวเจา มากเลยนะ หลงั จากพอเจาไปมีเมียใหม แมก ็ทุมเทความรกั ให
เจา จนหมด ไมย อมแตงงานใหม กเ็ พื่อไมใหเกดิ ปญหาตอ เจา ตอ งรักแมใ หมาก ๆ นะ” คุณตาวัยเจ็ดสิบป
พดู เตอื นหลานชาย ดวงตาฝาฟาง มองดูหลานดว ยความรักท่ีไมแ ตกตางจากผูเปนแม

“ผมจะรกั ษาความดนี ้ีไวตลอดไป คุณตาเช่ือไหมกวาอาจารยจะคัดเลือกได แมดีเดนตองดู
ความประพฤติของลกู กอ น ดกู ารยอมรบั จากอาจารยทุกคน ตลอดทั้งพี่ ๆ และเพื่อน ๆ ในวิทยาลัย”

เชาวันใหม ผมเดินเขาวิทยาลัยอยางสงา ผา เผย รุนพี่รนุ นอง และเพื่อน ๆ มองผมดวยความ
ชื่นชม ผมกลายเปนดาวรุง โดยไมรตู ัว

“เฮยไอทศหุบปากเสียบาง ย้ิมอยูไดทั้งวัน” เพ่ือนในหองเรียนแซวขึ้น หลังจากอาจารย
ท่ีปรึกษาแสดงความชืน่ ชมในช่วั โมงโฮมรูม

“พีท่ ศวา งไหมคืนน้ี จะโทรไปคยุ ดวยนะ” สาวรุนนองชื่อ แปง หนาตาสะสวยเปนที่หมายปอง
ของหนุม ๆ เร่ิมทอดสะพานใหผม

“โทรดึก ๆ หนอยนะกลวั ตากบั แมจะบน” ผมท้งิ ทายใหหลอนเพอ่ื สานสมั พันธตอ ไป
“ไอน อย จะมัวแตเ รียนอยางเดียวไมไ ดหรอกนะ เพ่ือนฝูงมันก็ตองคบบางมีการสังสรรคกัน
บา งตามประสาเด็กหนุม ๆ” รนุ พีส่ าขาเดียวกนั เอย ขึน้ หลังจากเลิกเรียน
“ผมกลวั ตาและแม จะเปน หว งครับพ”ี่
“โธเอย! แกเปนผูชายอกสามศอกนะ ไมใชกะเทย” กลุมพี่หลาย ๆ คนสัพยอกผม พรอม
เสยี งหวั เราะเยาะในที... คําพูดของพวกเขาทําใหผมเก็บไปครุนคิดจนนอนไมหลับท้ังคืน ผมยอมรับวา
ตวั เองคอ นขา งออ นแอในดานจติ ใจ มอี ะไรมากระทบจติ ใจไมได จนบางครัง้ ก็เหมือนกับเปน คนแบกทุกข
หรือแบกทั้งโลกไวคนเดยี ว
“เปนลูกผูชายตองเขมแข็งนะลูก จิตใจตองหนักแนน” แมจะสอนบอยคร้ังที่เวลาเห็นผม
แสดงความออนแอ

63

“แมจ ะไปราชการ 1 สัปดาห ลูกตองรีบกลับบานเพ่ือมาดูแลตานะลูก” แมกําชับผมกอนที่
จะขน้ึ รถไปตางจงั หวัด

“วันนีต้ องทํารายงานสง อาจารย คืนนี้เราระดมสมองกันทบ่ี านไอมืดนะ เออ...แลวไอทศมัน
จะไปหรอื เปลา” สายตาทกุ คูจอ งมาท่ีทศเปน ตาเดียวกนั

“เออ ...ขา ตอ งรีบกลบั บา นมตี า...” เสียงโหฮาปาดงั ลัน่ ทงั้ หอง
“ตัดมนั ออกจากกลุมเลย เรือ่ งมากไปไดรําคาญวะ ”
‘เออ... ไปก็ไปวะเด๋ยี วจะโทรบอกตากอน” ผมพูดขน้ึ เพอ่ื ตัดความราํ คาญ

บานสองชัน้ ในซอยเปลีย่ วที่พวกเพอ่ื น ๆ นดั กนั ระดมสมอง เพือ่ ทาํ รายงานนนั้ ผมมองดูรอบ ๆ
บริเวณบานท่ีมีตนไมและหญาข้ึนเต็มไปหมด ภายในบานปลอยใหรกรุงรัง กล่ินเหม็นอับคละคลุง
ไปหมดจนผมตอ งใชมอื ปดจมกู

“อยาทาํ เปน ผูด ีเลยไอทศ น่ีหละคอื ทีร่ ะดมสมองแก เอย ไมใชระดมสมองเวยเพื่อนขอโทษ...
ขอโทษขา พดู ผิดไป” สายตาของรนุ พี่ และเพือ่ น ๆ หลายคนดูแปลกไป เหมือนมอี ะไรซอนเรน และปกปด
ผมอยู

เสียงวิทยุเปดดังล่ันทั่วบาน ผมมองออกไปนอกหนาตาง เห็นทุงนาเว้ิงวาง สุดลูกหูลูกตา
ผมคิดในใจวา ถา มีบา นขา งเคียงคงไมม ใี ครยอมทนฟง เสียงพวกนีไ้ ด

“เฮยทศมาน่ังตรงน้ียืนเซออยูได” รุนพี่กวักมือเรียก ผมเดินเขาไปสมทบมองเห็นเหลาและ
แกววางเตรยี มพรอมไวแ ลว

“จะเร่ิมทาํ งานกนั เมือ่ ไหร” ผมเอยถามข้นึ เมอ่ื เห็นเพ่ือนแตละคนนั่งเปนกลุม รองรํา ทําเพลง
บา งก็ด้นิ ตามจังหวะอยางเมามนั บา งก็ต้ังวงดืม่ เหลา

“เฮย... ไอโยง เอาปศ าจแดงใหมันกนิ ดวย จะไดลับประสาทมัน” แคปซูลสแี ดงถูกย่ืนใหผม
เมื่อผมปฏิเสธเสยี งเพือ่ น ๆ กด็ ังขึ้น

“มนั เปนกะเทยไปเอากระโปรงมาใหมันนุงดว ย”
“แกเกิดเปน ผูชาย มนั ก็ตองมที ั้งบูแ ละบนุ ไมล องไมร ูแกจะเกิดมาเสียชาตนิ ะ”
“ชวยเชียรม นั หนอยเพอื่ น ๆ” เสียงปรบมือและเสียงลุนดังลั่น ความคิดของผมขณะนั้นมัน
สบั สนไปหมด
“พจ่ี ะกินเปนตัวอยาง” รนุ พีน่ ําเจาปศ าจแดงหยอนลงในปากตามดวยน้ําโซดา
“เห็นไหมพย่ี ังไมเ ปนอะไรเลย กินเขาไปแลวความวิตกกังวลตาง ๆ จะหมดไป” มือของผม
เร่มิ ส่นั เทาตอนรับยาจากรนุ พี่ ผมครุนคดิ ถึงแมแ ตคิดในใจวา
“แมครับผมขอลองครง้ั เดียว เพื่อศกั ดิศ์ รขี องลูกผชู าย”

64

การทดลองของผมในครั้งนั้นมัน คือ ความคิดท่ีเปนเพียงเสี้ยวท่ีบัดซบ ที่ทําใหชีวิตของผม
ตองจมปลกั อยูกับส่งิ เสพตดิ ชนดิ ทถี่ อนตวั ไมขึน้ พอวางทุกครงั้ ผมจะตองมามว่ั สุมกบั พวกเขา ผมเสพ
ทกุ อยา งต้งั แตย ากระตุนประสาท ยากลอ มประสาท จนขณะน้ีผมกาวหนาถึงขั้นตองฉีดมอรฟนและ
เฮโรอินเขากลามเนื้อ หรืออาจเสพโดยยัดไสในบุหร่ี จุดบุหรี่แลวจิ้มสูบ บางครั้งก็แตะจมูกสูดดม
รางกายของผมเริ่มซูบผอมเหลือง ออนเพลีย อารมณเปลี่ยนแปลงงาย คุมดีคุมราย บางคร้ังผม
ทําอะไรลงไปโดยที่ไมร ูสกึ ตัว

เชาวนั รงุ ขึน้ ผมลมื ตาตื่นข้นึ มามองดรู อบ ๆ ท่ีถูกรายลอ มดวยซก่ี รงเหลก็ ผมมองดเู จา หนา ที่
ตํารวจเดินกันขวักไขวไปมา

“ต่นื แลวเหรอ รูตวั หรือเปลาวาทําอะไรลงไป” นายรอยเวรยืนถามผมที่หนาประตู
“หมวดครับผมจําอะไรไมไ ดเ ลยจรงิ ๆ ” ผมใชกาํ ปน ทุบศรี ษะท่ีเร่ิมจะปวดรนุ แรงขึ้นทกุ ที
“เม่อื คนื น้ี แกใชค อนทุบตามรางกายของตาแกเองจนถึงแกช ีวติ กมดเู ส้ือแกสิ คราบเลือดยัง
ตดิ เตม็ ไปหมด”
ผมรบี กมดูเสื้อสขี าวของตวั เอง หวั ใจของผมเริม่ เตนไมเ ปน จังหวะ สมองสับสนจับตนชนปลาย
ไมถูก กอนที่ผมจะลําดับเหตุการณตาง ๆ น้ัน ภาพที่ปรากฏข้ึนขางหนาผม คือ รางของแมที่ว่ิง
กระเซอะกระเซิงผมเผารุงรัง แตส่ิงที่ผมตองตกใจมากที่สุดในชีวิต คือ ภาพของสองมือแมกอดโล
พรอ มตะโกนเสียงดงั วา
“ฉันคือแมดีเดนประจําป ดูโลท่ีฉันไดรับสิ... แสดงวา ลูกของฉันเปนคนดี...ดีจริง ๆ นะ ...”
แมวิ่งชูโลใ หคนน้นั คนนด้ี ู เสียงตาํ รวจพูดกันบนโรงพักชัดเจน และกอ งไปในหูของผมทัง้ สองขางวา
“เปนบาเพราะลกู แท ๆ ... นา สงสารจงั ”

(จากรวมเรอ่ื งสัน้ สงเสริมคุณธรรมจรยิ ธรรมกระทรวงศึกษาธิการ)

กิจกรรมท่ี 6
ใหผ ูเรยี นแบง กลมุ ละ 5 - 7 คน อภิปรายประโยชนข องการมีหลักคณุ ธรรมจรยิ ธรรมประจําใจ

วาเกดิ ผลตอ ตนเองอยางไร และใหตัวแทนออกมารายงานกลมุ ใหญ
ใหผเู รยี นแสวงหาบุคคลในชมุ ชนทีท่ า นเห็นวา เปน คนดีมคี ณุ ธรรมจริยธรรมแลว เขยี น

ภาพประกอบแสดงถงึ ความดงี ามของบุคคลนนั้ ๆ

65

กจิ กรรมที่ 7
ใหค รแู บงผเู รียนออกเปน 3 กลุม แลว อภิปรายถึงโทษของการขาดคณุ ธรรมจรยิ ธรรมทเ่ี กดิ กับ

ตนเองสงั คมและประเทศชาติกลุม ละ 5 ประเด็น โดยวเิ คราะหจ ากสถานการณค วามเดอื ดรอ นในปจ จบุ นั
แลว นํามาเสนอในการพบกลมุ

กจิ กรรมท่ี 8
1. ใหผเู รยี นฝกน่ังทาํ จติ ใจใหสงบ โดยตงั้ มนั่ อยูกบั สงิ่ ใดส่งิ หนึง่ เชน ลมหายใจเขาออก แลว

เปรียบเทียบความรูสึกในขณะที่ทําจิตใจใหสงบกับความรูสึกในยามที่เสียใจ หรือดีใจวา มีสภาพ
ตา งกันอยา งไร แลวนาํ มาอภปิ รายรวมกันในการพบกลมุ

2. สภาพจิตท่ีเปนสมาธิ กับสภาพจิตของบุคคลท่ีอยูในภาวะเหมอลอย ตางกันหรือ
เหมอื นกัน อยา งไร

3. ศึกษาคน ควาขาวอาชญากรรมตามส่ือสารมวลชน แลวใหผูเรียนวิเคราะหถึงสาเหตุของ
การเกดิ อาชญากรรมนัน้ ๆ แลวเปรยี บเทยี บวา ถาเปนผูเรียนจะมีวิธีการปองกันแกไข เพ่ือไมใหเกิด
เหตกุ ารณดังกลา วได อยางไร

4. ใหผเู รยี นเลา ประสบการณ เหตุการณวกิ ฤติอนั ตรายท่ีเกิดขึ้นกับตนเอง และผูเรียนไดใช
สติมาแกไขชวงวิกฤตดังกลาว อยางไร ถาหากขาดสติในชวงวิกฤตน้ัน จะสงผลตอตัวเองอยางไรใน
ปจ จบุ ัน

66

บทท่ี 2

วฒั นธรรม ประเพณี ของไทยและเอเชยี

สาระสาํ คัญ

วัฒนธรรม ประเพณีไทยและในประเทศเอเชีย เปนส่ิงที่มีคุณคาสําหรับชาวไทยและ
ประชาชนชาติอ่ืน ๆ ในทวีปเอเชีย เพราะเปนส่ิงที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษ สงผลใหเอเชีย
มีเอกลกั ษณข องตนเอง ในปจ จบุ นั ทีส่ ังคมโลกสอื่ สารไรพรมแดน วัฒนธรรม และประเพณีของเอเชีย
จงึ เปน สิ่งทนี่ าสนใจศกึ ษาคนควา รวมทั้ง การเขา มาทองเที่ยว เพอ่ื การพักผอนหยอนใจ การอนุรักษ
สบื สาน ตลอดจนการสงเสริมคา นิยมท่ีพึงประสงคใหเกิดข้ึนในประเทศไทยและเอเชีย เปนสิ่งสําคัญ
และจําเปนในสังคมปจจุบัน เพราะจะเปนการเสริมสรางวัฒนธรรม ประเพณีของไทยและเอเชียให
ดาํ รงสบื ตอไป

ผลการเรยี นรูท่ีคาดหวงั

1. มคี วามรคู วามเขาใจในวฒั นธรรม ประเพณขี องประเทศไทยและประเทศในทวีปเอเชีย
2. ตระหนักถึงความสําคัญในวัฒนธรรม ประเพณีของประเทศไทยและประเทศในทวีป

เอเชีย
3. มสี ว นรว มในการปฏิบัติตนตามวัฒนธรรม ประเพณีของประเทศไทยและประเทศใน

ทวปี เอเชีย
4. ประพฤตติ นตามคานิยมจริยธรรมทพ่ี งึ ประสงคข องสงั คมไทย

67

ขอบขายเน้อื หา

เรอื่ งที่ 1 วัฒนธรรม ประเพณขี องไทยและเอเชยี
เรอ่ื งท่ี 2 การอนรุ กั ษแ ละการสบื สานวฒั นธรรม ประเพณี
เรือ่ งท่ี 3 แนวทางการอนรุ กั ษแ ละการสานวัฒนธรรม ประเพณี
เรือ่ งที่ 4 คานิยมทพ่ี งึ ประสงค

สอ่ื การเรียนรู

1. วซี ดี ีวัฒนธรรม ประเพณคี านยิ มของไทยและประเทศตาง ๆ ในเอเชีย
2. คอมพวิ เตอร อนิ เทอรเ นต็ วัฒนธรรม ประเพณคี า นยิ มของไทย และประเทศตา ง ๆ

ในเอเชยี

68

เร่อื งที่ 1 วัฒนธรรม ประเพณขี องไทยและเอเชีย

1. วฒั นธรรม ประเพณขี องไทย

1.1 วัฒนธรรมไทย

วัฒนธรรมในภาษาไทย เกิดมาจากการรวมคาํ 2 คํา คอื วัฒนะ หมายถงึ ความเจริญงอกงาม
รุงเรือง และ คําวา ธรรม หมายถึง การกระทําหรือขอปฏิบัติ รวมแลวแปลวา วัฒนธรรม คือ ขอปฏิบัติ
เพอ่ื ใหเ กดิ ความเจริญงอกงาม พระยาอนุมานราชธน กลา ววา วัฒนธรรม คอื สง่ิ ที่มนษุ ยเ ปลยี่ นแปลง
ปรับปรุง หรอื ผลิต หรือสรางขน้ึ เพ่อื ความสวยงามในวิถชี ีวติ ของสว นรวม วฒั นธรรม คือ วิถที างแหง
ชีวิตมนุษยในสวนรวมท่ีถายทอดกันได เรียกกันได เอาอยางกันได กลาวโดยสรุปแลว วัฒนธรรม
หมายถึง ทกุ ส่งิ ทุกอยา งทม่ี นษุ ยสรา งขนึ้ ไว เพอื่ นาํ เอาไปชว ยพัฒนาชีวติ ความเปน อยใู นสงั คม ซึ่ง
จะรวมถึง ชวยแกป ญหา และชว ยสนองความตอ งการของสังคม

ตามพระราชบญั ญตั ิวฒั นธรรมแหง ชาติ พ.ศ. 2485 ไดแ บง ประเภทของวฒั นธรรมไทยไว
4 ประเภท คือ

1. คติธรรม คือ วัฒนธรรมเกี่ยวกับหลักในการดําเนินชีวิต สวนใหญเปนเร่ืองความเช่ือ ซ่ึง
เปนเร่อื งของจิตใจทไี่ ดม าจากศาสนา

2. เนติธรรม คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย รวมทั้งระเบียบประเพณีท่ียอมรับนับถือวามี
ความสาํ คญั พอ ๆ กับกฎหมาย

3. วตั ถุธรรม หมายถึง วัฒนธรรมทางวตั ถุ เชน เครอื่ งนงุ หม บา นเรอื น ยารกั ษาโรค เคร่ืองมือ
เครือ่ งใชต า ง ๆ

4. สหธรรม หมายถงึ วฒั นธรรมทางสังคม คอื คุณธรรมตาง ๆ ท่ีทําใหคนอยูรวมกันอยางมี
ความสขุ รวมท้ังระเบยี บมารยาทตาง ๆ การแตงกายในโอกาสตา ง ๆ

กลาวโดยสรปุ วฒั นธรรมมี 2 ประเภท คือ วฒั นธรรมทางวัตถุและวฒั นธรรมทไ่ี มใชว ตั ถุ

สาํ นกั งานคณะกรรมการวฒั นธรรมแหงชาติแบงเนือ้ หาวฒั นธรรมเปน 5 ประเภท คอื
1. ศิลปกรรม ไดแก ภาษา วรรณกรรม การละคร นาฏศลิ ป ดนตรี จิตรกรรม สถาปตยกรรม
ประติมากรรม และศลิ ปะการแสดง
2. มนุษยศาสตร ไดแก คุณธรรม จริยธรรม คานิยม กฎหมาย ขนบธรรมเนียม ประเพณี
การปกครอง ประวัตศิ าสตร โบราณคดี ปรชั ญา ศาสนา
3. การชางฝมือ ไดแก การเยบ็ ปก ถกั รอ ย การแกะสลัก การทอ การจักสาน การทําเครื่องถม
เครือ่ งเงิน เครอื่ งทอง

69

4. กฬี าและนนั ทนาการ ไดแก มวยไทย กระบี่ กระบอง ตระกรอ การละเลน พื้นเมือง
5. คหกรรม ไดแก ระเบียบในเร่ืองการกินอยู มารยาทในสังคม การแตงกาย การตกแตง
เคหสถาน การดแู ลเด็ก เปนตน

ลกั ษณะของวฒั นธรรมไทย

วัฒนธรรมไทย ไดร ับการพฒั นามาโดยลําดับ จากอทิ ธิพลสิ่งแวดลอ มทางสังคมและส่ิงแวดลอ ม
ทางธรรมชาติ ประกอบกบั ความสามารถของคนไทย กอใหเกดิ การสรา งสรรค การหลอหลอมรวมกัน
จนมลี ักษณะเดน ๆ ดังตอ ไปนี้ คอื

1. การมพี ทุ ธศาสนา เปน ศาสนาประจาํ ชาติ วิถีคนไทยเกี่ยวของกับพุทธศาสนาอยางลึกซ้ึง
กจิ กรรมตา ง ๆ ลว นนําศาสนามาเกย่ี วของ วธิ คี ดิ การดําเนินชวี ติ ทีค่ นไทยมีความเออื้ เฟอเผ่ือแผ ใจดี
ลวนมาจากคาํ ส่งั สอนทางศาสนา โดยเฉพาะคนไทยในชนบทท่ีชีวิตเรียบงาย ไมตองตอสูแขงขันมาก
ยงั คงมวี ิถีชีวติ แบบพทุ ธ

2. การมพี ระมหากษตั ริยทรงเปนพระประมขุ สังคมไทยมพี ระมหากษตั รยิ ทรงเปนพระประมุข
สืบทอดมาตั้งแตสมัยโบราณมาจนถึงปจจุบัน ดังน้ัน คนไทยทุกคนจึงถวายความจงรักภักดีตอ
พระมหากษตั ริย และพระมหากษัตริยจะมพี ระราชกรณียกิจตาง ๆ ทท่ี รงคุณประโยชนต อ ชาวไทย

3. อักษรไทย ภาษาไทย สังคมไทยมีอักษรใชมาต้ังแตกรุงสุโขทัย และไดรับการพัฒนา
อักษรไทยโดยพอ ขนุ รามคําแหงมหาราช จัดเปนเอกลักษณที่นาภาคภูมิใจ เชน คําวาพอ แม พ่ี นอง
ฯลฯ เปน ตน

4. วฒั นธรรมที่แสดงออกถึงความเปนไทย บานเรือนไทยที่มีเอกลักษณเหมาะสมกับสภาพ
ธรรมชาติของเมืองไทย เรือนไทยสูงโปรง หลังคาลาดชัน ทําใหเย็นสบาย อาหารไทยมีลักษณะเฉพาะมี
แกง นาํ้ พริก กวยเต๋ยี ว ผัดไทย ตม ยํากุง ฯลฯ ลวนแตอรอ ยและแพรหลายไปในตา งชาติ ยาไทยยังมีใช
อยูถึงปจจุบัน เชน ยาเขียว ยาลม เปนตน ยาที่กลาวมายังเปนท่ีนิยม มีสรรพคุณในการรักษาได
ศลิ ปกรรมไทย เปนวัฒนธรรมทแ่ี สดงออกถึงความเพียรพยายามในการปรับปรุงคณุ ภาพชีวิตของคนไทย
ตั้งแตอดีต คือ วรรณคดีไทย แสดงออกในทางตัวหนังสือ เชน รามเกียรติ์ พระอภัยมณี ดนตรีไทย
ยังทรงคณุ คา วฒั นธรรมไทย สือ่ ถึงความไพเราะออนหวาน ใชด นตรไี ทยท้งั ระนาด กลอง ซอดวง ซออู
ฯลฯ ครบทั้งดีด สี ตี เปา เพลงไทย เปนการรอยกรองบทเพลง รวมกับดนตรีไทย สืบทอดมาจนถึง
ปจจุบัน เชน เพลงลาวคําหอม เขมรไทรโยค ฯลฯ จิตรกรรมไทย การวาดเขียนบนผนังโบสถ มี
สีสวยงาม มักวาดเปนพุทธประวัติ สําหรับจิตรกรรมไทย ตองคอยซอมแซม ทะนุบํารุงรักษา
ประติมากรรมไทย มีการปนหลอพระพุทธรูป และการตกแตงลายปูนปน ในพระพุทธศาสนา
สถาปตยกรรมไทย การออกแบบโบสถ วิหาร พระราชวงั ตาง ๆ

70

1.2 ประเพณไี ทย

ประเพณีไทยเปนวัฒนธรรมท่ีสืบทอดกันมา เปนสิ่งท่ีแสดงถึงวิถีชีวิตของคนไทยทั้งในอดีต
และปจ จุบนั ประเพณแี สดงถึงความเจรญิ รุงเรอื งของประเทศไทยที่สืบเน่ืองมา เปนสิ่งที่คนไทยควร
ศกึ ษาทาํ ความเขา ใจและชวยกันอนุรกั ษ โดยปกตแิ ลวศาสนาและความเชื่อมีอิทธิพลตอประเพณีไทย
สาํ หรับประเพณีไทยจาํ แนกออกเปน 2 ประเภท คือ พระราชประเพณี และประเพณใี นทองถนิ่ ตาง ๆ

พระราชประเพณีท่สี ําคญั ๆ คือ
พระราชพธิ ถี อื นํ้าพิพัฒนสตั ยา ไดร ับอิทธิพลมาจากศาสนาพราหมณทําในโอกาสท่ีพระเจา-
แผนดินข้ึนครองราชยสมบัติ เปนการแสดงออกของจิตใจขาราชการชั้นผูใหญที่ทรงอํานาจอยูใน
แผน ดิน จะมคี วามยินยอมพรอมใจ พระราชประเพณนี ้ี ไดล ม เลกิ ตั้งแตสมยั เปล่ียนแปลงการปกครองมา
เปนระบอบประชาธปิ ไตย การถือน้ําพิพัฒนสตั ยาน้ี ใชน ้ํา เปน ส่อื กลางอาคมศาสตราวธุ ตา ง ๆ วาคาถาแลว
เสยี บลงในนํา้ แลว นําไปแจกกนั ดม่ื และในวันที่ 25 มนี าคม พ.ศ. 2512 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา-
ภมู พิ ลอดุลยเดช ทรงฟนฟูการถอื นา้ํ ในวนั พระราชทานตรารามาธิบดีแกทหารหาญของชาติ ซ่ึงเปน
สงิ่ ท่นี า ปลืม้ ใจ ทพ่ี ระองคพยายามรกั ษาพระราชประเพณดี ั้งเดิมไว
พระราชพธิ ที อดพระกฐนิ หลวง โดยการเสดจ็ พระราชดําเนนิ ทางชลมารคขบวนพยุหยาตรา
อยา งแบบโบราณ ปจจบุ นั ทําในวาระสาํ คญั ๆ เปน การอนรุ ักษโบราณประเพณไี ว มกี ารซอมฝพ ายเรือ
พระทนี่ ัง่ สุพรรณหงส เรือพระท่ีนงั่ อนนั ตนาคราช ฯลฯ ความสวยงามวิจิตร ตระการตา ของพระราชพธิ นี ี้
ไมม ปี ระเทศใดเสมอเหมือน สว นมากการทอดกฐนิ หลวงทําเปนประจาํ ทกุ ป เสด็จทรงชลมารคเปน ปกติ

ประเพณตี า ง ๆ ในทองถิน่ ของไทย
ประเพณีตรุษสงกรานต มีทุกทองถ่ินในวันข้ึนปใหมของไทย มีประเพณีสรงนํ้าพระ ทําบุญ
ไหวพระ รดนํ้าขอพรผูสูงอายุ ตรงกับวันที่ 13 เมษายนของทุกป แตละทองถ่ินจะแตกตางกันใน
รายละเอยี ดปลกี ยอ ย สําหรบั ประเพณตี รษุ สงกรานตในภาคเหนอื ยงั คงสวยงามนาชม สมควรอนุรกั ษ
วัฒนธรรมการรดนา้ํ ดําหัวใหด ํารงสบื ตอไป
ประเพณลี อยกระทง ทาํ ในเดอื น 12 ประเพณีนีเ้ กิดข้ึนต้งั แตส มัยกรุงสโุ ขทยั มวี ตั ถุประสงค
คอื ตกแตง กระทงดวยวัสดดุ อกไม จดุ ธปู เทยี นลอยกระทงลงแมน้ําลําคลอง เพอื่ ขอโทษพระแมคงคาท่ี
ประชาชนไดอ าศยั ดืม่ กิน และเพอื่ ไหวพระพทุ ธเจา ปางประทับอยูใตเ กษียรสมทุ ร
ประเพณีทําบุญวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา วันมาฆบูชา แหเทียนวันเขาพรรษา วันออก-
พรรษา ทําบุญวนั ธรรมสวนะ ถวายผา อาบน้ําฝน ทอดผาปา ทอดกฐิน เทศนมหาชาติ เปนประเพณี
สาํ คัญของชาวพุทธ

71

ประเพณีการแตง งาน การสงตัวคสู มรส การตาย การบวช การเกดิ ขนึ้ บา นใหม การทําบุญ
ฉลองในโอกาสตาง ๆ ตั้งศาลพระภูมิ เปนประเพณีสวนตัว สวนบุคคล ซ่ึงแตกตางไปตามภาคและ
ทองถิน่

นอกจากนน้ั ยังมปี ระเพณีสําคัญ ๆ ของภาคตาง ๆ อีก เชน ฮีตสิบสองคลองสิบสี่ ของภาค
ตะวนั ออกเฉียงเหนอื บายศรีสูขวญั ของภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ประเพณีแหผ ตี าโขน
ของจังหวดั เลย แหเทยี นพรรษา ของจงั หวดั อบุ ลราชธานี ประเพณที ําบญุ เดือนสิบ ของภาคใต เปน ตน

2. วัฒนธรรม ประเพณีของประเทศในทวีปเอเชีย

ประเทศในเอเชีย สวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรม รายไดจึงขึ้นอยูกับผลิตผลทางการ
เกษตร แตมีบางประเทศมีความเจริญกาวหนาทางอุตสาหกรรม เชน ญ่ีปุน และบางประเทศ
เจริญกา วหนาทางการผลติ นํา้ มนั เชน ประเทศอริ ัก อิหรา น คเู วต

ในการศึกษาวัฒนธรรม ประเพณีของประเทศในเอเชีย ควรรูเร่ืองราวที่เกี่ยวกับลักษณะ
สําคัญของประชากรและส่งิ ทีม่ ีอทิ ธิพลตอวัฒนธรรม ประเพณี ดังนี้

2.1 ลกั ษณะสําคญั ทางประชากร

ประชากรทีอ่ ยใู นภูมิภาคน้มี หี ลายเผาดวยกนั คือ
1) ออสตราลอยด เปนพวกท่ีอยูในหมเู กาะ ต้งั ถ่ินฐานในแหลมมาลายู หมูเกาะอินโดนีเซีย
นวิ กนิ ี จนถงึ ทวปี ออสเตรเลยี มีรปู รา งเตีย้ ผวิ คล้ํา ผมหยกิ จมกู ใหญ
2) นิโกรลอยด อพยพเขามาในขณะที่พวกออสตราลอยดมีความเจริญในภูมิภาคนี้แลว
พวกนี้มีลักษณะผิวดํา จมูกใหญ ริมฝปากหนา ผมหยิก ในปจจุบันยังมีอยูในรัฐเปรัค-กลันตัน ของ
มาเลเซยี ภาคใตข องอินเดยี (ดราวิเดยี น) ไดแก เงาะซาไก เซมังปาปวน
3) เมลานีซอยด สันนิษฐานวาเปนเผาผสม ระหวางนิโกรลอยดและออสตราลอยด
ปจจบุ ัน พวกน้ไี มม อี ยใู นแถบเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต แตมีอยูมากตามหมูเกาะในมหาสมุทรแปซิฟก
หมูเกาะนิวกนิ ี และออสเตรเลยี
4) มองโกลอยด อพยพมาจากตอนกลางของทวีปเอเชีย เขามาอยูบนผืนแผนดินใหญ
ประชากรสวนใหญในปจจบุ ัน เปนพวกเชื้อสายมองโกลอยด เชน มอญ เขมร ไทย ลาว เปน ตน
จากลักษณะทําเล ที่ตั้งทางภูมศิ าสตร และการอพยพของชนเผาตาง ๆ ทําใหเกิดการ
ผสมผสานของเผาพันธุตา ง ๆ จนปจจบุ ันแทบแยกไมออกวา ใครมาจากเผา พนั ธแุ ทจรงิ
นอกจากนย้ี งั มีประชากรทีอ่ พยพมาจากเอเชยี ตะวนั ออก คอื จีน และมาจากเอเชยี ใต คือ
อนิ เดยี เขา มาอยใู นภมู ิภาคนี้

72

5) คอเคซอยด เปน พวกผวิ ขาว หนาตารปู รางสงู ใหญ อยา งชาวยโุ รป แตตา และผมสีดํา
สวนใหญอ าศัยอยใู นเอเชยี ตะวนั ออก และทางภาคเหนอื ของอินเดีย ไดแก ชาวอาหรับ ชาวปากสี ถาน
ชาวอินเดยี และประชากรในเนปาล และภูฏาน

2.2 สิง่ ทมี่ อี ทิ ธิพลสาํ คัญตอ วัฒนธรรมของเอเชีย

ส่ิงท่ีมีอิทธิพลสําคัญตอวัฒนธรรมของเอเชีย คือ ภาษาและอิทธิพลของอารยธรรม
ภายนอกหรืออารยธรรมจากตางชาติ

1) วัฒนธรรมทางภาษา
ลักษณะสาํ คญั ทางภาษาในภมู ิภาคน้ี มีประชากรหลายเช้ือชาติ หลายวัฒนธรรม จึงทําให

มภี าษาพดู ภาษาเขยี น แตกตา งกนั ไปหลายกลมุ คอื
1. ภาษามาลาโย – โพรีเนเชียน ไดแก ภาษาพูดกันในแหลมมาลายู หมูเกาะอินโดนีเชีย

และภาษาตากาลอก ในหมูเ กาะฟล ิปปนส
2. ภาษาออสโตร – เอเชียตกิ ไดแ ก ภาษามอญ เขมร เวยี ดนาม
3. ภาษาทเิ บโต – ไชนสิ ไดแ ก ภาษาพมา ภาษาไทย
4. ภาษาอื่น ๆ เชน ภาษาฮินดี ภาษาจีน ภาษาอาหรับ ภาษาของชาวตะวันตก

โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ ซ่ึงใชใ นการติดตอระหวา งประเทศ ทางการศกึ ษา และการคา
สาํ หรบั ภาษาเขยี นหรือตวั หนงั สือ มี 4 ลักษณะ คอื
1. ดัดแปลงมาจากตัวหนังสือของอินเดีย ภาคใตใชกันมาก ในประเทศที่นับถือ

พระพุทธศาสนา เชน พมา ไทย ลาว กมั พูชา
2. ดัดแปลงมาจากภาษาอาหรับ ใชกันมากในประเทศที่นับถือศาสนาอิสลาม เชน

มาเลเซีย บรูไน อนิ โดนเี ซยี
3. ตัวหนงั สอื ท่ีอาศยั แบบของตวั หนังสอื จนี มีท้งั ทีด่ ัดแปลงมาใช และนาํ ตวั หนังสือจีนมา

ใชโ ดยตรง มีใชก นั มากในประเทศเวยี ดนาม สวนกลุมที่ใชภาษาจีน เปนภาษาพูด เชน สิงคโปร กลุม
พอคา ชาวจนี ในทุกประเทศ นิยมใชภาษาจนี เปน ทง้ั ภาษาเขียนและภาษาพูด

4. ตวั หนงั สอื โรมัน ใชกันมากในประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซยี ฟล ปิ ปนส สวนในเวียดนาม
ก็เคยนาํ มาใชเหมอื นกนั แตป จ จุบันนิยมใชในชนบทบางกลมุ เทา น้นั

2) อทิ ธพิ ลของอารยธรรมภายนอกหรืออารยธรรมจากตา งชาติ ไดแก
อารยธรรมอนิ เดยี
มีหลายดาน เชน กฎหมาย อักษรศาสตร ศาสนา ภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณี

การปกครอง การเกษตร เปนตน

73

ดานศาสนา อินเดยี นาํ ศาสนาพราหมณแ ละพุทธศาสนา เขา มาเผยแพร
ดานการปกครอง มีการปกครองแบบเทวราชา การประกอบพิธีกรรมตาง ๆ ของ
พระมหากษัตรยิ  ใชห ลกั คัมภีรของพระมนูธรรมศาสตร เปน หลกั ในการปกครองของภูมิภาคน้ี
ดา นอกั ษรศาสตร ไดแ ก วรรณคดีสนั สกฤต ภาษาบาลี เขา มาใช
ดานศิลปกรรม สว นใหญเ ปน เรื่องเกย่ี วกับศาสนา เชน วิหาร โบสถ

อารยธรรมจนี
จีนเขามาติดตอคาขายในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ตั้งแตอดีตและเขามามี
อทิ ธิพลทางดานการเมือง วัฒนธรรมและเศรษฐกจิ แตอทิ ธพิ ลดงั กลา วมไี มม าก ทางดา นการเมืองจนี
อยูใ นฐานะประเทศมหาอํานาจ อาณาจักรตาง ๆ ที่เปนเมืองข้ึนตองสงบรรณาการใหจีน 3 ปตอครั้ง
เพ่ือใหจีนคุมครองจากการถูกรุกรานของอาณาจักรอ่ืน สวนทางดานเศรษฐกิจจีนไดทําการคากับ
ภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต สนิ คา ที่สาํ คญั ไดแ ก ผาไหม เครือ่ งปนดินเผา เปน ตน การคาของจีน
ทําใหอ าณาจกั รท่เี ปนเสนทางผานมีความเจรญิ มั่นคงขึ้น ทางดานวัฒนธรรมจีนมีอิทธิพลทางดานน้ี
นอยมาก จีนจะเผยแพรวัฒนธรรมไปยังประเทศของตนเทานั้น อาณาจักรเวียดนามเคยตกเปน
ประเทศราชของจีนเปนเวลานานจึงรับวัฒนธรรมของจีนไวมาก เชน การนับถือลัทธิขงจื้อ ลัทธิเตา
ประเพณกี ารแตง กาย การทาํ ศพและการใชชีวิตประจาํ วนั

อารยธรรมอาหรับ
ในราวพทุ ธศตวรรษท่ี 18 ศาสนาอสิ ลามมาจากตะวันออกกลาง ไดแ ผเขามาในอินเดีย
ทาํ ใหชาวอินเดียสวนหน่ึงหันมานับถือศาสนาอิสลาม โดยเฉพาะพอคาจากอินเดียตอนใต ซ่ึงติดตอ
คา ขายในบรเิ วณหมเู กาะของเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตอ ยเู ปนประจาํ ไดนาํ ศาสนาอิสลามเขา มาเผยแผ
ในภูมิภาคนี้ ผูน าํ ทางการเมืองของรัฐในหมเู กาะตาง ๆ ของเอเชียตะวันออกเฉียงใตเวลานั้นตองการ
ตอ ตานอํานาจทางการเมืองของอาณาจกั รมัชปาหิต อาณาจักรฮินดู บนเกาะชวา ซึ่งกําลังแผอํานาจ
อยูจึงหันมานับถือศาสนาอิสลาม เพราะใหประโยชนทางการคากับพวกพอคามุสลิม ตามหลักของ
ศาสนาอิสลามที่วา ทุกคนท่ีนับถือศาสนาอิสลาม น้ัน เปนพ่ีนองกัน ชวยเหลือเกื้อกูลกัน จึงทําให
ศาสนาอสิ ลาม เปนทีน่ ยิ มของกษัตรยิ ชนชนั้ สูง และสามญั ชนดวย
อารยธรรมตะวนั ตก
ชาตติ ะวนั ตกเรมิ่ เขามาในภูมิภาคนี้ โดยมีจุดประสงคท่ีจะทาํ การคา และเผยแผศ าสนา
สนิ คา ท่ชี าวยโุ รปตอ งการ ไดแก พรกิ ไทย และเคร่ืองเทศตาง ๆ ในระยะแรก ๆ น้ัน ความสนใจของ
ชาวยุโรปจะจํากัดอยเู ฉพาะบรเิ วณหมเู กาะ และบริเวณชายฝง ตลอดจนดินแดนในเอเชียตะวันออก
เฉียงใตเกือบทงั้ หมด

74

เดมิ อาณาจักรตาง ๆ ในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต มีความแตกตางกันทางดาน
เชอ้ื ชาตแิ ละภาษา หลังจากทไ่ี ดร บั อารยธรรมอินเดีย จีน และอาหรับแลว อารยธรรมใหมที่เกิดจาก
การผสมผสานกัน ทําใหประชาชนมีสังคมขนบธรรมเนียมประเพณีที่คลายคลึงกันและยึดม่ันเปน
เอกลักษณประจําชาติ นอกจากนี้ภายในภูมิภาคก็ยังมีการแขงขันกันทางดานการเมือง สังคม และ
เศรษฐกิจ จนขาดความสามคั คี ไมสามารถทจ่ี ะตอตา นการขยายตัวของชาติตะวันตกได ในที่สุดก็ตก
เปนอาณานคิ มของชาตติ ะวนั ตก

(ขอมูลจากหนังสอื สําหรับเยาวชน ชุด ประเทศเพ่ือนบานของไทย ของกรมวัฒนธรรมสัมพันธ กรมสารนิเทศ
กระทรวงการตางประเทศ)

เพอ่ี ใหเ กิดความรูวฒั นธรรม ประเพณีเกยี่ วกบั ประเทศตา ง ๆ ในทวีปเอเชียซึ่งมีรายละเอียด
วฒั นธรรม ประเพณที เี่ ขมแข็ง คอื วัฒนธรรม ประเพณขี องอินเดีย จนี อาหรับ และตะวันตก

2.3 วฒั นธรรม ประเพณขี องประเทศอนิ เดีย จนี อาหรับ และตะวนั ตก
1) วัฒนธรรม ประเพณขี องประเทศอนิ เดยี
อินเดีย เปนแหลงอารยธรรมใหญของเอเชีย ประชากรสวนใหญของประเทศอินเดีย

นับถือศาสนาฮินดู และมศี าสนาอืน่ เชน ศาสนาอิสลาม ศาสนาพุทธ ศาสนาเชน ศาสนาครสิ ต โดยท่ัวไป
ประชาชนระหวางศาสนา จะใหความเคารพซึ่งกันและกัน ชาวอินเดียถือวัฒนธรรม ซึ่งจัดเปน
วฒั นธรรมทเ่ี ขม แขง็ และเครงครดั อาทิ สตรนี ิยมสวมสาหรีหรือสัลวารกามิซ การใหเกยี รติสตรี และการ
เคารพบชู าเทพเจา เปน ตน คนอนิ เดยี มีนสิ ัยรักสงบ และสุภาพ แตคอ นขางอยากรู อยากเห็น รวมทั้ง
จะไมทํารายสัตวทุกชนิด (ยกเวนงานเทศกาลของบางศาสนา) โดยเฉพาะวัว ซึ่งถือเปนสัตวเทพเจา
อาจเหน็ อยูต ามทอ งถนนเปน กจิ วตั รสว นสตั วเ ล็ก ๆ อยางกระรอกและนก จะมใี หเ ห็นอยเู สมอ แมจะเปน
เมืองใหญก็ตาม การทอ่ี นิ เดียมีประชาชนจํานวนมาก เม่ือเทียบกับทรัพยากรของประเทศ ทําใหการ
ด้นิ รน เพื่อเล้ียงชีพและครอบครวั เปน สง่ิ จาํ เปน กอใหเกิดวัฒนธรรมที่มีมาชานาน และซึมซับอยูใน
วถิ ีชีวติ ของชาวอนิ เดยี ซึง่ ก็คือ การตอรองและการแขงขัน เราจะเห็นไดวา ต้ังแตพอคาจนถึงคนขับ
รถสามลอ มกั ขอราคาเพม่ิ ดว ยเงอ่ื นไขตา ง ๆ นานา สวนผูซื้อ ก็มักขอลดราคาอยูเสมอ สําหรับดาน
การแขงขัน เห็นเดนชัดมากข้ึน จากการที่ปจจุบันนักศึกษาคร่ําเครงกับการเรียน เพื่อสอบเขา
มหาวทิ ยาลัยชั้นนํา ซ่ึงแตล ะปม ผี ูสอบนบั แสนนบั ลา นคน แตรบั ไดเพียงปล ะไมกี่คนเทา นั้น การศกึ ษา
จึงเปนหนึ่งในการแขงขนั ทีเ่ ขม แขง็ เพ่ือทจ่ี ะพัฒนาคณุ ภาพชีวิตของชาวอนิ เดียในทุกวนั น้ี

75

วัฒนธรรมของอินเดียทส่ี ําคัญ ๆ พอจะยกมาเปนตัวอยาง คอื
1. การถอดรองเทา กอนเขา ศาสนสถานทกุ แหง
2. หา มนําเคร่อื งหนงั โดยเฉพาะหนังวัว เขาไปในศาสนสถานทุกแหง
3. หามถายรปู ภายในศาสนสถาน หากตองการใหขออนุญาตกอ น
4. การไปเยือนศาสนสถาน สามารถชมสิ่งตาง ๆ ไดตามสบาย และอาจอยูรวมประกอบ
พิธกี รรมได แตค วรแตง กายใหสุภาพ หากไปวดั ซกิ ข ควรมีหมวกหรือผาคลุมศีรษะ สวมเส้ือแขนยาว
และกระโปรงยาว และควรบริจาคเงินในกลองรบั บรจิ าคดว ย

76

5. หากมกี ารเล้ียงอาหารแบบใชมอื เปบ ควรใชมอื ขวาเทาน้ัน
6. อยา น่งั หันฝาเทาชี้ไปทางใครอยา งเดด็ ขาด เพราะเปนการดหู มิน่ และไมค วรใชน ิว้ ชส้ี ง่ิ ใด
โดยเฉพาะบุคคลใหใ ชการผายมอื แทน
7. การขยับคอสายศรี ษะไปมาเลก็ นอย หมายถงึ " YES"
8. ควรใหเกียรตสิ ตรแี ละไมถ กู เน้อื ตองตัวสตรี การขึ้นรถประจําทางสาธารณะโดยท่ัวไป
ผชู ายจะข้ึนและลงดานหลังเทา นนั้ สวนดานหนา เปน ของสตรี
9. ไมค วรข้นึ รถประจําทางท่มี ีคนแออดั เพราะอาจมมี ิจฉาชีพปะปนอยู สวนผูหญงิ อาจถูก
ลวนลามได
10. การใชบ ริการบางอยางควรสังเกตใหดี เพราะอาจมีการแยกหญิง – ชาย ซ่ึงอาจทําให
เกิดการลว งละเมิดโดยไมต ง้ั ใจได
11. สตรีไมควรสวมกางเกงขาส้นั เส้ือแขนกุด สายเดี่ยว หรือเอวลอย เพราะนอกจากจะ
ถูกมองมากกวา ปกติ (ปกติชาวตางชาติจะเปนเปาสายตาจากความชางสงสัยของชาวอินเดียอยูแลว)
ยงั อาจเปน เปาหมายของอาชญากรรมได

2) วัฒนธรรม ประเพณีของจนี

ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน เปนประเทศที่มีประชากรมากท่ีสุดเปนอันดับ
หนึง่ ของโลกประชากรรอ ยละ 93 เปน ชาวฮ่นั ทเ่ี หลอื เปนชนกลมุ นอย

ในสมยั โบราณจนี นับเปนดินแดนทมี่ ศี าสนาและปรัชญารุงเรอื ง เฟองฟู อยูม ากมาย
โดยลทั ธคิ วามเชือ่ เดมิ นั้น มีอยสู องอยา ง คือ ลัทธิเตาและลัทธิขงจื้อ ซ่ึงเนนหลักจริยธรรมมากกวาที่
จะเปนหลกั ศาสนาทแี่ ทจริง สว นพทุ ธศาสนานน้ั จนี เพง่ิ รบั มาจากอินเดีย ในชวงคริสตศตวรรษแรกน้ี
เทา นั้น คร้นั มาถึงยคุ คอมมิวนิสต ศาสนากลบั ถกู วา เปน ปฏิปกษตอลัทธิทางการเมืองโดยตรง ตอมา
ทางการกไ็ ดย อมผอนปรนใหก ับการนบั ถือศาสนา และความเชื่อตาง ๆ ของประชาชนมากขึ้น ทําให
ลัทธิขงจ้ือลัทธิเตา ศาสนาพุทธ ศาสนาอิสลาม (ในเขตตะวันตกของจีน) และศาสนาคริสต จึงได
กลับมาเฟอ งฟูขนึ้ อีกครั้ง

วัฒนธรรม ประเพณีจีนท่ีสาํ คญั
ความเช่ือ
คนจีน นยิ มมีลูกชายมากกวา ลกู หญงิ เพราะลกู ชายเปนผสู ืบนามสกุล คือ แซ การ
เรียกชื่อสกลุ ของจีน ตรงขามกับภาษาไทย คือ เรยี กตนเปนช่ือสกุล ชอื่ ตัวใชเรียกกันในหมูญาติ และ
เพื่อนสนทิ นามสกุล เปนลักษณะพิเศษ เชื้อตระกูล การสืบทอดพงศเผา ตอมาเปนพัน ๆ ป ดังนั้น
วฒั นธรรมจีนจึงมีจติ สํานกึ การบชู าบรรพบุรุษ เปนแกนแทข องวฒั นธรรมน้ี
ตราบจนปจ จุบัน ชาวจีนโพนทะเล ท่ีอาศยั อยูตางประเทศยังคงรักษาประเพณีที่
จะกลับมาสืบหาบานเกิด และบรรพบุรุษท่ีแผนดินใหญจีนหลายปมานี้ ในฐานะท่ีเปนผลิตผลจาก

77

ประวตั ศิ าสตรทม่ี ีลกั ษณะพิเศษของสังคมโบราณจีน วฒั นธรรมเกีย่ วกบั นามสกลุ และเชื้อตระกลู ของจีน
ไดกลายเปนคลังสมบัติขนาดใหญ สําหรับการศึกษาประวัติศาสตรอันยาวนานของชนชาติจีน จาก
แงม ุมใหม เชน การศึกษาแหลงกาํ เนิด การแบง แยก และการผสมผสานของนามสกลุ นั้น สามารถเพมิ่
ความเขาใจการเปลี่ยนแปลง รูปแบบสังคม ท่ีแตกตางกัน ในสมัยโบราณใหลึกซ้ึงย่ิงขึ้น อีกทั้ง
การศึกษาสิ่งของที่เปน รูปธรรมตาง ๆ เชน หนังสอื ลําดับญาติของวงศตระกูล ระบบการสืบชวงวงศ
ตระกูล ฯลฯ สามารถสะทอนถึงบทบาททางประวัติศาสตรของความสัมพันธทางสายเลือดที่มีตอ
พัฒนาการของสังคมโบราณ และชีวิตสังคม อยางไรก็ตาม ลักษณะพิเศษหลายประการของสังคม
โบราณจนี เชน ระบบรวมศูนยอํานาจ โครงสรางของสังคมแบบครอบครัว คานิยมทางดานศีลธรรม
และจริยธรรม และหลักความประพฤติท่ีถือความซ่ือสัตยตอกษัตริย และการกตัญูตอพอแม เปน
บรรทัดฐาน เปนตน ลวนแสดงออกมาในวฒั นธรรมช่ือและนามสกุลอยางเต็มท่ี และก็เปนสาเหตุอีก
ประการหน่ึง ทวี่ ัฒนธรรมนามสกลุ ไดร บั ความสนใจอยา งมากจากวงวิชาการ

วฒั นธรรมการใหความสาํ คญั ตระกลู สง ผลมาถงึ ปจ จุบนั การประกอบอาชพี ความ
มน่ั คงทางเศรษฐกจิ เกดิ จากการสนบั สนุนสง เสรมิ เปน เครอื ขายของตระกลู ตา ง ๆ

สิ่งสาํ คญั อีกอยา ง คอื ชาวจีน มีเครอื ขา ยคนรูจ กั กลาวกันวา ชาวจีนท่ีไรเครือขา ย
คนรจู ักเปนผทู ่ีเปน จีนเพยี งครง่ึ เดียว จึงจําเปนตอ งทําความรูจักกับผูคน และชาวตางชาติ ดังน้ัน จีน
จึงใหค วามสําคัญของวฒั นธรรมนด้ี ว ยการเช้อื เชิญ

อาหาร
เปนวัฒนธรรมท่ีเขมแข็งเผยแพรไปทั่วโลก และเปนที่ยอมรับวา อาหารจีน
มรี สชาติอรอ ย อาหารจีน จะตอ งถึงพรอมสีสัน รสชาติ และหนา ตา มีอาหารอยเู พยี งไมก่ีอยางเทาน้ัน
ทีป่ รงุ อยา งเดียวโดด ๆ สงิ่ สําคัญ คือ สวนประกอบตาง ๆ จะตองกลมกลืนเขากันไดกับเครื่องปรุงรส
จําพวกซอี ิว๊ กระเทยี ม ขงิ น้ําสม นา้ํ มนั งา แปง ถวั่ เหลือง และหอมแดง
ประเพณกี ารแตง งาน
ส่ิงแรกที่บอกถึงพิธีการแตงงานของชาวจีน ก็คือ สีแดงสําหรับชาวจีน สีแดง
หมายถงึ ความผาสกุ และความมง่ั คง่ั ปจ จบุ ันเจา สาวจีน จะเลือกชุดแตง งานสีขาวตามสไตลต ะวนั ตก
แตสําหรับสมัยกอนแลว สีแดง จะปรากฏใหเห็นทุกที่ในงานแตงงาน ตั้งแตเสื้อผา ของตกแตง
แมก ระทัง่ ของขวัญ
พิธีแตงงานของชาวจีนโบราณ มักจะถูกจัดโดยผูเปนพอแม จะเปนฝายเลือก
เจา สาวให กับบุตรของตน นอกจากน้ยี งั มขี ้ันตอนตา ง ๆ ที่ตองปฏบิ ัตติ ามเปนลําดับ ตั้งแตการเจรจา
ตอ รอง การสูขอ การวา จา งซินแสมาตรวจดูดวงของคูบา วสาววา สมพงษก ันหรอื ไม จนไปถึงการตกแตง
เรอื นหอ ตอ งเปนสแี ดง เพ่ือความเปนสิรมิ งคล จะมกี ารจัดหาชายหนมุ และหญงิ สาว มาทาํ การเตรยี ม
เตยี งใหก ับเจา สาว

78

นอกจากน้ียังมขี บวนแหรบั เจา สาว จากบา นของเจาสาวมาท่บี า นของเจา บาว ตาม
ดวยพิธีแตงงาน การสักการะบูชาฟาดิน การถวายสัตยปฏิญาณ และการมอบของขวัญใหแกกัน
หลงั จากนนั้ ก็จะเปนงานเล้ียงฉลอง ซึ่งถือเปนเรื่องสาํ คัญไมแพพิธีแตงงาน ซึ่งเต็มไปดวยแขกเหรื่อ
ญาตสิ นิท มิตรสหาย และคนรูจกั อาหารชัน้ ดี และสุรา จนกระทั้งเจาบาว เจาสาว พรอมท่ีจะยายเขาสู
เรือนหอ หลังจากนั้น เจาสาว ก็จะกลับไปเยี่ยมบานเดิมของเธอ เปนเวลาสามวัน กอนที่จะยาย
กลับมาอยูก ับเจา บาว เปน การถาวร พรอมกบั มพี ิธฉี ลองย่งิ ใหญอ ีกครง้ั

3) วัฒนธรรม ประเพณีของชาติอาหรบั

ศาสนาอสิ ลาม มอี ทิ ธพิ ลตอ ชวี ติ ความเปน อยูของ “ชนชาตอิ าหรบั ” และการแพร
ขยายวัฒนธรรม ประเพณีจากศาสนาอิสลาม จนทาํ ใหศ าสนาอสิ ลาม เปนศาสนาที่มจี ํานวนผูนับถือมาก
ทีส่ ดุ ในเอเชยี วฒั นธรรม ประเพณที ี่สาํ คัญ ๆ ไดแก

79

การแตงกาย ผูหญิงมุสลิมแตงกายมิดชิด มีผาคลุมรางกาย และแตละชาติ อาจ
แตกตางกนั บา งในรายละเอยี ด

การถือศีลอด ชาวมุสลิม จะถือศีลอดในชวงเดือนรอมะฎอน และชาวมุสลิม
ทว่ั โลก รวมกันปฏบิ ตั ิศาสนกิจ และเฉลิมฉลองวาระส้ินสุดการถือศีลอด ในเดือนรอมะฏอน อันประเสริฐ
หลงั จากมีผูพบเหน็ จนั ทรเ สีย้ ว หรือฮลิ าส เม่ือคาํ่ คนื ทผ่ี านมา ทําใหว นั น้เี ปนวันแรกของเดือนเชาวาล-
ฮิจเราะห หรือ วันอิด้ิลฟตรี โดยในวันนี้พี่นองมุสลิม จะปฏิบัติตนตามแบบอยางของทานนบีมุฮัมมัด
ศ็อลลล้ั ลอฮอุ ลัยฮิวะซัลลัม โดยจะจา ยซะกาตฟต เราะห ซ่งึ เปน การนําอาหารหลกั ไปจา ยใหกับคนยากจน
และทุกคนอาบนํ้าชําระรางกายตั้งแตหัวจรดเทา และแตงกายดวยเสื้อผาที่สวยงาม ทานอินทผลัม
กอ นเดนิ ทางไปยังที่ละหมาด หรือ มุศ็อลลา รวมละหมาดอิดิ้ลฟตรี และเดินทางกลับในอีกทางโดย
เม่ือมีการพบปะกัน จะมกี ารกลา วทกั ทายกนั ดวยวา “ตะกอ็ บบะลัล้ ลอฮุ มนิ นา วะมนิ กุ”

4) วฒั นธรรมตะวันตกกับประเทศตาง ๆ ในทวปี เอเชีย

วัฒนธรรมตะวันตก แมแบบมาจากอารยธรรมกรีกและโรมัน (เกรโค - โรมัน)
อารยธรรมนี้ มีแหลงกําเนดิ ในบรเิ วณทะเลเมดิเตอรเ รเนียน และไดร บั อิทธพิ ลจากศาสนาครสิ ต

การเผยแพรวัฒนธรรมตะวันตก สืบเนื่องมาจากความตอ งการคาขาย และการเผยแผ
ศาสนา ซงึ่ วัฒนธรรมตะวนั ตกทส่ี าํ คัญ ๆ ไดแ ก

การแตงกาย แบบสากลนิยมใชทั่วไปทุกประเทศในเอเชีย โดยเฉพาะคนช้ันสูง
ในเอเชยี นักปกครอง นักธุรกิจนยิ มแตงกายแบบตะวันตก มชี ุดสากล กางเกง เส้ือเชิ้ต เส้ือยืด มีบาง

80

ประเทศทมี่ ีวัฒนธรรมของตัวเองเขมแข็ง ยังใสชุดประจําชาติอยู คือ อินเดีย พมา อินโดนีเซีย และ
ประเทศอาหรับ

การศึกษา วัฒนธรรมตะวันตก เหน็ ความสําคัญของการศึกษาทุกแขนง และมี
ความเจริญกาวหนาท่ีสําคัญ คือ การศึกษาท่ีปูพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สงผลให
วทิ ยาศาสตรโลกกาวหนา

อาหาร อาหารของวัฒนธรรมตะวนั ตกแพรห ลายไปท่ัวโลก ใหความสาํ คัญอาหาร
ทีม่ ีคณุ คา ที่มีสวนปรุงจาก แปง สาลี นม เนย เนื้อสตั วตา ง ๆ รวมทัง้ เครอ่ื งด่ืม อนั ไดแก ไวน เปน ตน

วฒั นธรรม ประเพณี ไดรับอิทธพิ ลจากศาสนาคริสต เชน ประเพณีเทศกาลเฉลิม
ฉลองวันคริสตมาส เทศกาลอีสเตอรและพิธีแตงงาน ประเทศท่ีไดรับอิทธิพลวัฒนธรรมตะวันตก
คอนขางมาก คอื ประเทศสงิ คโปร เปน เกาะเลก็ ๆ ปกครองแบบประชาธิปไตย ประชาชน มหี ลายเชื้อชาติ
ไดแ ก จีน มาเลย ประชาชนสวนมากนบั ถอื ศาสนาครสิ ต

ประเทศสิงคโปร มรี ะบบการศกึ ษาที่ดี ประชาชนไดรบั การศกึ ษาสูง และประกอบอาชีพ
การคา ธุรกิจ ประชาชนมรี ายไดต อหวั สงู ชาวสิงคโปร เรียกประเทศของเขาวา "Intelligence Island"

ปจจุบันวัฒนธรรมตะวันตกแพรหลายไปในประเทศตาง ๆ ในเอเชีย ทั้งดานอาหาร
ดนตรี การแตงกาย การปกครองระบอบประชาธิปไตย วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี เชน ความเจริญกา วหนา
ทางการแพทย การอตุ สาหกรรม โทรคมนาคมตา ง ๆ เปนตน

81

เรอ่ื งท่ี 2 การอนุรกั ษ
และการสบื สานวัฒนธรรม ประเพณี

สภาพสงั คม วัฒนธรรม ประเพณีของประเทศตาง ๆ มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลาดวย
อิทธพิ ลของประเทศทีม่ ีอารยธรรมเขม แขง็ สง ผลใหชีวิตความเปนอยขู องประชาชนเปล่ียนไปท้ังภาษา
การแตง กาย อาหาร ดังนน้ั ประเทศตา ง ๆ มีแนวทางในการอนรุ กั ษและสืบสานวัฒนธรรม ประเพณี
ของชาติตนเองไว โดยระดมสรรพกําลังท้ังภาครัฐและเอกชน นอกจากนั้น โดยสภาพธรรมชาติ
วัฒนธรรม ประเพณีที่ไมดีจะคอย ๆ สูญหายไปจากสังคม คงเหลือแตวัฒนธรรมที่เขมแข็งเขามา
แทนที่ การดาํ รงรกั ษาวัฒนธรรม ประเพณี เปนการแสดงถึงความเปนชาติเกาแก ท่ีมีมรดกตกทอด
มาถึงลูกหลาน จําเปนตองใชวิธีการรณรงคอยางสม่ําเสมอ และประพฤติปฏิบัติ จนเปนประเพณี
สบื ตอกนั ชานาน กอใหเ กดิ ความภูมิใจในชาติตัวเอง

ในทวปี เอเชยี ประเทศที่มีความเจรญิ และมวี ัฒนธรรม ประเพณที แ่ี ขง็ แกรง สามารถอนรุ กั ษ
และสืบสานวฒั นธรรม ประเพณีของตนเอาไว เชน ประเทศเกาหลี มีการอนุรักษวัฒนธรรมทางดาน
การแตง กาย อาหารและการแสดง สวนประเทศญี่ปนุ จะคงเอกลักษณของตนในดาน เคร่ืองแตงกาย
ภาษา และอาหาร เปน ตน

2.1 การอนรุ กั ษและการสืบสานวฒั นธรรม ประเพณไี ทย

ชาติไทย มีความมัน่ คงสืบทอดมาต้ังแตอดตี ถึงปจจบุ นั เปนเพราะบรรพบุรุษไดร กั ษาไวใ ห
ลกู หลานอยูอาศัย ซ่ึงจะปลอ ยใหสญู เสียไปยอ มไมได นอกจากรกั ชาตแิ ลว จะตอ งรกั ษาเกยี รตภิ ูมิของ
ชาตไิ วด ว ย และวัฒนธรรม ประเพณีของชาติ เปนลกั ษณะเฉพาะ ท่ีแสดงถึงความเปนชาติไทย ท่ีเรา
คนไทยทุกคนตอ งอนุรักษ และชว ยกันสืบสาน เพ่อื ใหคงอยูต อ ไปถงึ ลูกหลาน

ชาติที่มีอิทธิพลตอวัฒนธรรมไทยแตโบราณ คือ อินเดียและจีน จากการศึกษาในอดีต
พบวา ชาติทีม่ ีอารยธรรมเกา แกแ ละมอี ิทธิพลตอประเทศตา ง ๆ รวมทัง้ ประเทศไทยดว ย คือ ประเทศอนิ เดยี
มีความเจริญมากอน 4,000 ป พบท่ีเมืองโมหันโจดาโร มีระบบระบายน้ําเสียท่ีดี มีอักษรใชแลว เปน
อารยธรรมที่ยิ่งใหญ กอนกรีกและโรมัน อารยธรรมของอินเดีย ซึ่งเปนแหลงอารยธรรมศาสนาฮินดู
ทแี่ พรหลายมากอนพทุ ธศาสนา และตอ มาอินเดีย เปนแหลงอารยธรรมของศาสนาพุทธ และจีนเปน
ประเทศท่ีเจริญรงุ เรืองดวยอารยธรรมเกาแกที่สุดแหงหนึ่งของโลก โดยอารยธรรมนี้ เกิดบริเวณลุม
แมน้ําฮวงโหราว 4,000 ปมาแลว และจีนเปนประเทศที่คาขายกับประเทศตาง ๆ มาในอดีต อิทธิพล
ของอารยธรรมจนี ที่สง ผลกับไทย คอื เคร่ืองปนดินเผา วรรณคดี เรื่อง สามกก นาฏกรรมจีน หุนจีน
งิ้ว การบชู าบรรพบุรุษ

82

อารยธรรมของชาตติ ะวนั ตก ทสี่ งผลตอสังคมไทย คือ ความกาวหนาของเทคโนโลยีและ
การศึกษา รวมท้งั ภาษา คา นยิ ม การบันเทงิ นันทนาการตาง ๆ ยิ่งปจจุบัน ความเจริญในการคมนาคม
ขนสง สอื่ สารตา ง ๆ รวดเรว็ เปนโลกไรพรมแดน สง ผลใหอารยธรรมตะวันตกเขามาสูสังคมไทยอยาง
รวดเร็ว ยิ่งในปจจุบันอารยธรรมตาง ๆ ในเอเชียที่เขมแข็ง เริ่มมอี ิทธิพลตอ สังคมไทยท่ีสําคัญ คือ
ญ่ีปนุ เกาหลี

จากการศึกษา ประวัติ ความเปน มา ของวัฒนธรรมไทย จะพบวา มกี ารเปลย่ี นแปลงตลอดมา
ทุกยุคทุกสมัย แตอยางไรก็ตาม วัฒนธรรมไทยท่ียังคงอยูสืบทอดมาจนถึงปจจุบัน แสดงถึงความดี
ความมีประโยชนต อ สงั คมไทย จงึ ยงั คงสิง่ เหลาน้นั อยู ที่สาํ คัญ คอื อาหารไทย ภาษาไทย การแตง กายไทย
มารยาทไทย ประเพณีไทย และการมีศาสนาพุทธเปนศาสนาประจําชาติ การมีพระมหากษัตริยเปน
สถาบันท่ีสาํ คัญของประเทศไทย

2.2 เหตุผลและความจําเปน ในการอนรุ กั ษแ ละการสบื สานวัฒนธรรม ประเพณี

ความกา วหนา ทางเทคโนโลยี สงผลการเปลี่ยนแปลงทางสังคมของแตละประเทศ ทําให
ตอ งอนุรกั ษ และสบื สานวฒั นธรรม ประเพณี

การเปลย่ี นแปลงเปน ลักษณะธรรมชาตขิ องสงั คมมนษุ ย และยอมเกดิ ขนึ้ ในทุกสังคม แต
จะเรว็ หรือชาข้นึ อยูก ับกาลเวลา และอาจเปลี่ยนไปในทางที่ดขี ึน้ หรอื เลวลงกไ็ ด

ประเภทของการเปล่ียนแปลงเราอาจจําแนกการเปล่ียนแปลงที่เกิดขึ้นในสังคม
ออกเปน 2 ประเภท คือ

1) การเปลย่ี นแปลงทางสงั คม หมายถึง การเปลยี่ นแปลงโครงสรา งของสงั คม และระบบ
ความสัมพันธข องกลมุ คน เชน ความสัมพันธในครอบครัว ระหวา งพอ แม ลกู นายจา ง เปนตน

2) การเปลีย่ นแปลงทางวฒั นธรรม หมายถึง การเปล่ียนแปลงวถิ กี ารดําเนนิ ชวี ิต ความรู
ความคิด คา นยิ ม อดุ มการณ และบรรทดั ฐานทางสงั คม ซึง่ รวมถึงขนบธรรมเนยี มประเพณีตา ง ๆ ของ
สังคม โดยรับวฒั นธรรมของตนเองบางอยา ง

ปจจยั ท่เี ปน สาเหตทุ ี่ทาํ ใหเกดิ การเปล่ียนแปลงทางสังคมและวฒั นธรรม
มีปจ จยั หลกั 2 ประการ ดังนี้
1) ปจจยั ภายในสงั คม หรือ การเปลยี่ นแปลงท่เี กิดจากสาเหตภุ ายในสงั คม หมายถงึ การ
เปลี่ยนแปลงท่ีเกิดจากสมาชิกหรือสิ่งแวดลอมภายในสังคม นั่นเอง เชน การท่ีสังคมมปี ระชากร
เพ่มิ ข้นึ อยางรวดเร็ว ยอมทาํ ใหเกดิ การเปล่ียนแปลงในดานการต้ังถ่ินฐาน ท่ีอยูอาศัย เกิดการบุกรุก
ท่ีดิน และการทําลายทรพั ยากรธรรมชาติเพิม่ ขนึ้ เปน ตน

83

2) ปจ จยั ภายนอกสังคม หรือการเปลยี่ นแปลงท่เี กิดจากสาเหตภุ ายนอกสังคม เนื่องจาก
ปจจุบนั มีการติดตอสัมพนั ธกับสงั คมอืน่ ๆ มากข้นึ สงั คมไทยไดร บั อทิ ธพิ ลมาจากสังคมตะวันตก และ
ยังรบั วัฒนธรรมแบบตะวันตกอกี มากมาย ไดแก การแตงกาย ดนตรี สถาปตยกรรม และสิ่งประดิษฐ
ตา ง ๆ เปนตน

เหตผุ ลความจาํ เปนในการอนรุ ักษส ืบสานวัฒนธรรม
วฒั นธรรม เปน เครอ่ื งวัด เครื่องกาํ หนดความเจริญ หรือความเส่ือมของสังคม ในทํานอง
เดยี วกันวฒั นธรรม ยังกาํ หนดชีวิตความเปน อยขู องประชาชนในสังคม ดังนั้น วัฒนธรรมจึงมีอิทธิพล
ตอ ความเปน อยู และความเจริญกา วหนาของชาตมิ าก

ความสาํ คัญของวฒั นธรรม มอี ยูหลายประการ คือ
1. วัฒนธรรม ชวยแกปญหา และสนองความตองการตาง ๆ ของมนุษย มนุษยพนจาก
อนั ตราย สามารถเอาชนะธรรมชาตไิ ด เพราะมนษุ ยส รางวัฒนธรรมขน้ึ มาชวย
2. วัฒนธรรม ชวยเหนี่ยวรัง้ สมาชิกในสงั คม ใหมคี วามเปนหนง่ึ อนั เดยี วกนั และสังคมที่มี
วัฒนธรรมเดยี วกัน ยอ มจะมีความรูสกึ ผกู พัน เปน พวกเดยี วกนั
3. วฒั นธรรม เปน เคร่อื งแสดงเอกลักษณของชาติ ชาตทิ ่ีมวี ัฒนธรรมสงู ยอมไดรับการยกยอง
และเปน หลกั ประกนั ความม่นั คงของชาติ
4. วัฒนธรรม เปน เครอื่ งกําหนดพฤติกรรมของคนในสังคม ชวยใหผูคนอยูรวมกันอยาง
สนั ติสขุ
5. วัฒนธรรม ชวยใหประเทศชาติมีความรุงเรืองถาวร โดยเฉพาะอยางยิ่ง หากชาตินั้น
มีวฒั นธรรมที่ดี มที ศั นคติ ในการดําเนนิ ชวี ติ ทเี่ หมาะสม ยดึ มั่นในหลักขยัน ประหยัด อดทน ความมี
ระเบียบวินยั ทด่ี งี าม สงั คมนั้น จะมคี วามเจรญิ รงุ เรือง
6. วฒั นธรรม ประเพณี เปนส่ิงที่นาสนใจ มผี ลตออุตสาหกรรมการทอ งเทยี่ วมาก ปจ จุบัน
อุตสาหกรรมนี้ เปนจุดดึงดดู นกั ทอ งเที่ยว สงผลใหภ าวะเศรษฐกจิ ดขี ึน้

84

เร่ืองท่ี 3 แนวทางการอนรุ ักษ
และการสบื สานวฒั นธรรม ประเพณี

แนวทางการอนุรักษและสบื สานวัฒนธรรม ประเพณี

1. การอนุรักษวัฒนธรรมและประเพณี ควรเริ่มตนจากการปลูกจิตสํานึกใหเยาวชนและ
ประชาชนทุกคน ตระหนักถึงคุณคา และความสําคัญของวัฒนธรรมท่ีถือ เปนหนาท่ีของทุกคนที่

ชว ยกนั อนุรกั ษ โดยการศึกษาวัฒนธรรมใหเ ขาใจ จะไดช ว ยกนั รวมมอื รกั ษา
2. รวมกันเผยแพรวัฒนธรรมและประเพณี โดยการศึกษาเรียนรูและสืบทอดวัฒนธรรม

ประเพณีของชาตติ นเอง ตัวอยา ง คอื การเรียนรูดนตรี การเลนดนตรี การศึกษาเพลงฟงเพลง และ
รองเพลงประจาํ ชาติ ประจําทอ งถ่ิน เปนตน

3. เร่ิมตนจากครอบครัวโดยรวมมือกันในครอบครัว ชุมชน สังคม จัดตั้งชมรมสมาคม
สถาบัน เพ่อื จัดกจิ กรรมอนรุ ักษสบื ทอดวฒั นธรรม ประเพณีในทอ งถ่นิ และชาติ

4. สอื่ ตา ง ๆ ในสังคมเห็นความสาํ คญั ทจี่ ะศึกษาและถายทอดวฒั นธรรมเปนประจาํ สมา่ํ เสมอ
5. ทกุ คนตองรวมมือกันหวงแหน รักษา วัฒนธรรมอันดีงาม ใหคงอยูมิใหแปรเปลี่ยน เชน

ประเพณสี งกรานต ตองรว มมือกนั ทํากจิ กรรมอันดีงาม คือ สรงนํ้าพระ รดน้ําขอพรผูสูงอายุ ไมควร
สาดน้ําใสกันแบบไมส ภุ าพเรียบรอ ย และรนุ แรง

6. การรวมมือรักษา และถายทอดภูมิปญญา ใหไปสูสังคมและรุนบุตรหลาน ภูมิปญญา
หมายถงึ ความรู ความสามารถ ความคิด ความเชอื่ ท่กี ลุม คนเรียนรจู ากประสบการณ สงั่ สมไว ในการ

ดาํ รงชพี มกี ารพัฒนาเปลยี่ นแปลง สืบทอดกนั มา มกี ารแลกเปลี่ยนเรียนรกู ับกลุม คนอน่ื ทมี่ กี ารตดิ ตอ
สัมพันธก ัน แลว นํามาปรบั ใชใ หเปน ประโยชนส าํ หรบั ตนเอง ตัวอยา งภมู ิปญญา การปลูกพชื พนั ธพุ น้ื เมอื ง

การทาํ นาํ้ ปลา การปนปนู เปนตน
7. หาแนวทางการอนรุ กั ษ และสืบสานวัฒนธรรมของชุมชน และของประเทศตาง ๆ ในทวปี เอเชีย

รว มกนั ท้งั หนว ยงาน ท้งั ภาครฐั และเอกชน ที่ทําหนาที่สงเสริมสนับสนุน การแลกเปล่ียนวัฒนธรรม
ระหวางชมุ ชน และประเทศตา ง ๆ ตวั อยางคอื เรามกี ารแลกเปล่ียนวัฒนธรรม แสดงการละเลนของ

ประเทศตาง ๆ ทห่ี อประชุมวฒั นธรรมแหงชาติ
โดยเฉพาะอยางย่ิงปจ จบุ นั วัฒนธรรม ประเพณีของเอเชีย เปนที่ดึงดูดนักทองเที่ยวจากทั่วโลก

ทน่ี ิยมศึกษาทอ งเที่ยว เพราะมีเรอ่ื งราวทางวฒั นธรรมท่ีนาสนใจ นาศึกษาเรียนรู นักทองเที่ยวสนใจ
วัฒนธรรม ประเพณีตาง ๆ ในประเทศเอเชียท่ีนาสนใจแตกตางกันไป ตัวอยาง เชน นาฏศิลปไทย

อินเดีย ญี่ปุน อินโดนีเซีย และทุกประเทศตางอนุรักษสืบสานวัฒนธรรมของตนเอง โดยมีหลักสูตร
สอนในโรงเรียนสถานศึกษาตาง ๆ เพ่ือใหวัฒนธรรมคงอยูซึ่งสงผลตอเอกลักษณของชาติตนเองเปน

85

ความภาคภูมิใจและที่สําคัญ คือ ทําใหอุตสาหกรรมการทองเที่ยวเจริญเติบโต มีเงินตราไหลเขา สู
ประเทศไดเ ปนอยางดี

เรื่องท่ี 4 คานยิ มทีพ่ ึงประสงค

คานิยมทีด่ ีงามของชาตติ า ง ๆ ในเอเชีย

คานยิ มทคี่ วรสงเสริมพัฒนาใหเกิดขนึ้ ในประเทศตาง ๆ ในเอเชีย คือ
1. ความสุภาพออ นโยนเปน นสิ ัยที่ดขี องประชาชนในทวีปเอเชยี
2. ความสามารถในการสรางสรรควัฒนธรรมดานศิลปะสาขาตาง ๆ ซึ่งมีความสวยงาม
มสี ุนทรียะ คงความเปนวัฒนธรรมเอเชยี ไวอยา งโดดเดน
3. ความสะอาด ความเปนระเบียบเรียบรอยของบานเมือง เพื่อใหเปนแหลง ทองเท่ียวท่ีมี
คณุ คา
4. ความซ่อื สัตย ความขยันในการประกอบอาชีพ และตรงตอเวลา

86

คานิยมสําคัญที่กลาวมานี้ลวน เปนพื้นฐานใหความเปนชาติม่ันคง และคงเอกลักษณ
วัฒนธรรม ประเพณีท่ีสงผลใหเอเชีย ยังคงเปนแรงดึงดูดใจที่มีเสนหในการเรียนรู ศิลปวัฒนธรรม
ประเพณี และอุตสาหกรรมการทอ งเท่ยี วสืบตอไปนานเทานาน

คา นิยมในสังคมไทย

คานิยม คือ สิ่งที่กลุมสังคมหนึ่ง ๆ เห็นวาเปนสิ่งที่นานิยม นากระทํา นายกยอง เปนส่ิงที่
ถกู ตอ งดงี าม เหมาะสมทจ่ี ะยดึ ถือพึงปฏบิ ัตริ วมกันในสังคม

คา นิยม เปนสวนหน่งึ ของวฒั นธรรม เนอื่ งจากมีการเรียนรู ปลูกฝง และถายทอด จากสมาชิก
รุนหนึ่งไปสูอีกรุนหนึ่ง สังคมแตละสังคม จึงมีคานิยมตางกันไป คานิยม ชวยใหการดําเนินชีวิตใน
สงั คมมีความสอดคลองสัมพนั ธกนั และทาํ ใหก ารดาํ เนินชีวติ ของสมาชิก มีเปาหมาย ชวยสรางความ
เปน ปก แผนใหแ กสังคม อยางไรก็ดี คานิยม เปนสิ่งท่ีมีการเปลี่ยนแปลงได ในปจจุบันนี้สังคมไทย มี
คา นยิ มใหม ๆ เกิดขน้ึ มาก เชน คา นยิ มในการอนุรกั ษท รพั ยากรธรรมชาติ คานยิ มในการนาํ เทคโนโลยี
ใหม ๆ มาใชใ นชวี ิตประจําวัน เปนตน

คานิยมทค่ี วรปลูกฝง ในสังคมไทย ไดแ ก
1) การรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ 
2) ความเอ้อื เฟอ เผอ่ื แผ
3) ความกตญั ูกตเวที
4) ความซือ่ สัตยสุจริต
5) การเคารพผูอาวุโส
6) การนยิ มใชข องไทย
7) การประหยัด

87

กจิ กรรมท่ี 9
1. ใหผูเรียนแบงกลุมกัน 5 - 6 คน คนควาวัฒนธรรม ประเพณีทองถ่ินในประเทศไทย

แตละภาค พรอ มแนวทางการอนรุ ักษวฒั นธรรม ประเพณีนั้น ๆ แลวนํามาแลกเปลี่ยน
เรยี นรูดว ยการนาํ เสนอ แลว ใหผ เู รียนชวยกันใหขอ คดิ เหน็ เพ่ิมเตมิ

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. ใหผเู รียนแบง กลมุ กัน 5 - 6 คน คนควาวัฒนธรรม ประเพณีที่สําคัญของประเทศตาง ๆ
ในเอเชีย พรอ มท้ังแนวทางอนุรักษวัฒนธรรม ประเพณีของประเทศนั้น ๆ แลวนํามา
แลกเปลี่ยนเรียนรดู ว ยการนําเสนอ แลว ใหผเู รียนชวยกนั ใหข อ คดิ เห็นเพิ่มเตมิ

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. ใหผูเรียนอภิปรายปญหาคานิยมของประเทศ และชุมชน พรอมท้ังใหขอเสนอแนะ
วิธีการสรางเสริมคานิยม ความซื่อสัตย ความสามัคคี ใหเกิดขึ้นในชุมชนและสังคมได
อยางไร

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

88

บทท่ี 3

รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย

สาระสําคญั

ประเทศไทย มีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข
มีรัฐธรรมนญู ซงึ่ เปนกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ ท่ปี ระชาชนชาวไทย ควรมีความรู ความ
เขาใจเก่ียวกับความเปนมา หลักการ เจตนารมณ โครงสราง และสาระสําคัญของรัฐธรรมนูญแหง
ราชอาณาจักรไทย ตลอดจนการศึกษาจุดเดนของรัฐธรรมนูญในสวนทเ่ี ก่ียวกับสิทธิ เสรีภาพ และ
หนาทีข่ องประชาชน เพื่อการปฏบิ ัติตนไดอ ยางถูกตอ ง ตามท่รี ฐั ธรรมนญู กําหนด

ผลการเรยี นรทู ่คี าดหวัง

1. อธิบายความเปนมา หลกั การ และเจตนารมณ ของรัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทยได
2. มคี วามรู ความเขาใจ โครงสราง และบอกสาระสําคัญของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
3. อธิบายจุดเดนของรัฐธรรมนญู ท่ีเกยี่ วกบั สิทธิ เสรีภาพ หนาทข่ี องประชาชนได

ขอบขา ยเน้ือหา

เรอ่ื งที่ 1 ความเปน มา หลักการ และเจตนารมณ ของรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย
เร่อื งที่ 2 โครงสรา ง และสาระสําคัญ ของรัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย
เรื่องที่ 3 จุดเดน ของรัฐธรรมนญู ทีเ่ กี่ยวกบั สิทธิ เสรภี าพ และหนาท่ีของประชาชน

สื่อการเรียนรู

1. คอมพิวเตอร อินเทอรเนต็
2. รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2550
3. บทความตาง ๆ
4. หนงั สอื พิมพ

89

เรอื่ งท่ี 1 ความเปนมาหลกั การและเจตนารมณ
ของรัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย

1.1 ความเปนมาของรฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย

รฐั ธรรมนูญ (Constitution) หมายถึง กฎหมายสูงสุดในการจัดการปกครองรัฐ ถาแปลความ
ตามคํา จะหมายถงึ การปกครองรัฐอยา งถูกตองเปนธรรม (รฐั + ธรรม + มนญู )

ในความหมายอยางแคบ “รัฐธรรมนญู ” ตอ งมลี ักษณะเปน ลายลกั ษณอ ักษร และไมใ ชส ิง่ เดียวกับ
กฎหมายรฐั ธรรมนญู (Constitutional Low) “เพราะกฎหมายรัฐธรรมนูญ” มีความหมายกวางกวา
และจะเปน รูปแบบลายลักษณอักษร หรือจารตี ประเพณีก็ได

สหรัฐอเมรกิ าและฝรัง่ เศสเปน ประเทศแรก ๆ ท่ีรางรัฐธรรมนูญข้ึนมาในภาษาของประเทศ
ทั้งสองคาํ วา รัฐธรรมนูญ ตางใชคําวา (Constitution) ซ่ึงแปลวา การสถาปนา หรือ การจัดต้ัง ซึ่ง
หมายถึง การสถาปนา หรือการจัดต้ังรัฐ นั่นเอง โดยทั้งสองประเทศมีรัฐธรรมนูญท่ีเปนลายลักษณอักษร
แตประเทศอังกฤษ ไมมีรัฐธรรมนูญที่เปนลายลักษณอักษร มีแตจารีตประเพณี หรือ “ธรรมเนียม
ทางการปกครอง” ที่กระจายอยูตามกฎหมายคาํ พพิ ากษาตาง ๆ รวมทั้ง ธรรมเนียมปฏิบัติท่ีสืบทอดกันมา
จนกลายเปนจารตี ประเพณี ซ่งึ ถือเปนกฎหมายรัฐธรรมนูญท่ีสืบทอดมาจากประวัติศาสตรของชาติ
นนั่ เอง
(ท่มี า http://www.sale2thai.com/constiution.htm 13 #<เมอื่ วันที่ 11 กมภาพนั ธ 2552>)

หลวงประดิษฐม นูธรรม (ดร.ปรีดี พนมยงค) ไดอธิบายวา “กฎหมายธรรมนูญการปกครอง
แผนดนิ เปน กฎหมายที่บญั ญตั ถิ งึ ระเบยี บแหง อาํ นาจสูงสุดในแผน ดนิ ทงั้ หลาย และวิธีการดําเนินการ
ทัว่ ไปแหงอํานาจสงู สดุ ในประเทศ”

ศาสตราจารยหยดุ แสงอทุ ยั ทานอธิบายวา หมายถึง “กฎหมายทกี่ าํ หนดระเบยี บแหงอํานาจ
สูงสดุ ในรัฐ และความสมั พนั ธระหวางอํานาจเหลานี้ตอกนั และกัน”

(ท่ีมาhttp://e-learning.mfu.ac.th/mflu/1604101/chapter1/Lesson1.htm#13 <เมื่อวันท่ี 11
กุมภาพนั ธ 2552>)

ประเทศไทย เร่ิมใชรัฐธรรมนูญ เปนกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ เม่ือเกิดการ
ปฏิวัติโดยคณะราษฎร เพ่ือเปลี่ยนแปลงการปกครองประเทศ จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย
มาเปน ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนพระประมุข ท่ีทรงอยูใตรัฐธรรมนูญ เม่ือ
วันท่ี 24 มถิ นุ ายน 2475 ในรชั สมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกลา เจา อยูห ัว รชั กาลที่ 7 แหง ราชวงศจักรี

90

หลงั การเปลยี่ นแปลงการปกครองพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ทรงพระราชทาน
รฐั ธรรมนญู ใหแกปวงชนชาวไทย ตามท่ีคณะราษฎรไดน าํ ขึ้นทูลเกลาฯ ถวายใหทรงลงพระปรมาภิไธย
นอกจากน้ี พระองคก็ทรงมีพระราชประสงคมาแตเดิมแลววา จะพระราชทานรัฐธรรมนูญใหเปน
กฎหมายสงู สดุ ในการปกครองประเทศแกป ระชาชนอยูแลว จึงสอดคลองกับแผนการของคณะราษฎร
ประกอบกับพระองค ทรงเห็นแกความสงบเรียบรอยของบานเมือง และความสุขของประชาชนเปน
สําคญั ย่งิ กวาการดํารงไวซ งึ่ พระราชอํานาจของพระองค

รัฐธรรมนูญทคี่ ณะราษฎรไดนําข้ึนทลู เกลาฯ ถวายเพ่ือทรงลงพระปรมาภิไธยมี 2 ฉบับ คือ
พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผนดินสยามชั่วคราว พ.ศ. 2475 และรัฐธรรมนูญแหง
ราชอาณาจกั รสยาม พ.ศ. 2475

กองกาํ ลังของคณะราษฎรถา ย ณ บริเวณหนา วงั ปารสุ กวัน

ตอมา เม่ือเกิดความขัดแยงระหวางพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวกับคณะราษฎร
จนกระทง่ั พระบาทสมเด็จพระปกเกลา เจาอยหู วั ไดตัดสนิ พระทัยสละราชสมบตั ิ เมื่อวันที่ 2 มีนาคม
พ.ศ. 2477 โดยทรงมพี ระราชหัตถเลขาสละราชสมบัตคิ วามละเอยี ด ดังนี้

91

(สําเนาพระราชหัตถเลขาสละราชสมบตั )ิ

ปปร
บา นโนล
แครนลี ประเทศองั กฤษ

เมื่อ พระยาพหลพลพยุหเสนา กับพวก ไดทําการยึดอํานาจการปกครองโดยใช
กําลังทหาร ในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 แลว ไดมีหนังสือมาอัญเชิญขาพเจา ให
ดํารงอยูใตตําแหนง พระมหากษัตริยภายใตรัฐธรรมนูญ ขาพเจาไดรับคําเชิญดังน้ัน
เพราะเขาใจวา พระยาพหลฯ และพวก จะสถาปนารัฐธรรมนูญตามแบบอยางประเทศ
ทั้งหลาย ซึ่งใชการปกครองตามหลักน้ัน เพ่ือใหประชาราษฎรไดมีสิทธิท่ีจะออกเสียงใน
วธิ ีดําเนนิ การปกครองประเทศ และนโยบายตาง ๆ อันเปนผลไดเสียแกประชาชนท่ัวไป
ขาพเจามีความเล่ือมใสในวิธีการเชนนั้นอยูแลว และกําลังดําริ จะจัดการเปลี่ยนแปลง
การปกครองของประเทศสยามใหเปนไปตามรปู แบบนั้น โดยมิไดมีการกระทบกระเทือน
อันรายแรง เม่ือมามีเหตุรุนแรงขึ้นเสียแลว และเม่ือมีผูกอการรุนแรงน้ัน อางวามีความ
ประสงคจ ะสถาปนารฐั ธรรมนญู ข้นึ เทา นัน้ กเ็ ปน ไมผ ิดกับหลกั การทข่ี าพเจามีความประสงค
อยเู หมือนกนั

ขาพเจา จงึ เห็นสมควรโนมตามความประสงคของผกู อการยดึ อาํ นาจนัน้ ได เพ่อื หวงั
ความสงบราบคาบในประเทศ ขาพเจาไดพยายามชวยเหลือ ในการที่จะรักษาความสงบ
ราบคาบ เพ่ือใหการเปล่ียนแปลงอันสําคัญน้ัน เปนไปโดยราบร่ืนท่ีสุด ที่จะเปนไดแต
ความพยายามของขา พเจาไรผ ล โดยเหตุทผ่ี ูก อการเปล่ียนแปลงการปกครอง ไดก ระทําให
บังเกิดมีความเสรีภาพในบานเมืองอยางบริบูรณข้ึนไม และมิไดฟงความคิดเห็นของ
ราษฎรโดยแทจริง และจากรัฐธรรมนูญท้ัง 2 ฉบับ จะพึงเห็นไดวาอํานาจที่จะดําเนิน
นโยบายตา ง ๆ นนั้ จะตกอยแู กค ณะผกู อการ และผูท สี่ นบั สนนุ เปนพวกพองเทาน้ัน มิได
ตกอยูแ กผ ูแ ทนซง่ึ ราษฎรเปนผูเลือก เชน ในฉบับชั่วคราว แสดงใหเหน็ วา ถาผูใดไมไดรับ
ความผิดชอบของผูก อการ จะไมใหเปนผูแทนราษฎรเลย ฉบบั ถาวรไดมีการเปล่ียนแปลง
ใหดีขึ้นตามคํารองขอของขาพเจา แตก็ยังใหมีสมาชิกซ่ึงตนเลือกเขากํากับอยูในสภา
ผูแ ทนราษฎรที่ 1 การทวี่ า ขาพเจาไดยินยอมใหม สี มาชกิ 2 ประเภท ก็โดยหวังวาสมาชิก
ประเภทที่ 2 ซ่ึงขา พเจา ต้ังน้นั จะเลือกจากบุคคลท่ีรอบรูการงาน และชํานาญในวิธีการ
ดําเนินการปกครองประเทศโดยทั่ว ๆ ไป ไมจํากัดวาเปนพวกใด คณะใด เพื่อจะได
ชว ยเหลือนาํ ทางใหแกสมาชกิ ซ่งึ ราษฎรเลือกตั้งขน้ึ มา แตค รั้นเมือ่ ถงึ เวลาที่จะตั้งสมาชิก
ประเภทที่ 2 ขึ้น ขา พเจา หาไดม ีโอกาสแนะนําในการเลือกเลย และคณะรัฐบาลก็เลือกเอา
แตเฉพาะผูท่ีเปนพวกของตนเกือบทั้งน้ัน มิไดคํานึงถึงความชํานาญ นอกจากน้ี


Click to View FlipBook Version