The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิชาศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค21002 ม.ต้น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

วิชาศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค21002 ม.ต้น

วิชาศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค21002 ม.ต้น

142

2. สงั คมไทยยดึ มั่นในพระพทุ ธศาสนา
วดั มีความสัมพันธก บั ชมุ ชนมากในอดีต วัด เปน แหลงการศกึ ษาของฆราวาสและภิกษุ
สามเณร เปน สถานที่อบรมขัดเกลาจิตใจ โดยใชธรรมะ เปนเคร่ืองช้ีนําในการดําเนิน
ชวี ติ โดยมีพระภกิ ษุ เปน ผอู บรมส่งั สอนพุทธศาสนกิ ชนใหเปนคนดี มศี ีลธรรม

3. สังคมไทยเปน สังคมเกษตร
อาชีพเกษตรกรรม เปนอาชีพที่เปนพ้ืนฐานทางเศรษฐกิจ ซ่ึงในปจจุบันมีการนํา
เทคโนโลยีมาใชใ นการเกษตรมากขน้ึ ทาํ ใหมกี ารพัฒนาเปนเกษตรกรรมอุตสาหกรรม
จากพื้นฐานการมีอาชีพเกษตรกรรม ทําใหคนไทยรักความเปนอยูที่เรียบงาย
ไมท ะเยอทะยานเกนิ ฐานะ มจี ติ ใจออนโยนเอื้อเฟอ เผื่อแผ

143

4. สงั คมไทยใหก ารเคารพผูอาวโุ ส
การแสดงความเคารพ การใหเกยี รตผิ อู าวโุ ส มผี ลตอ การแสดงออกของคนในสังคม ใน
ดา นกริ ยิ าวาจา ความเคารพ และความเกรงใจ ทาํ ใหเ ดก็ ๆ หรอื ผนู อ ย รูจักออ นนอม
ถอ มตนตอผใู หญ

5. สงั คมไทยเปน สงั คมระบบเครือญาติ
สังคมไทย เปนสังคมท่ีอยูรวมกันเปนครอบครัวขนาดใหญ มีความสัมพันธกันอยาง
ใกลชดิ ทําใหมีความผูกพัน และหวงใยในทุกขสุขของกันและกัน อุปการะเกื้อกูลกัน
ซง่ึ สมาชกิ ในครอบครวั ทกุ คน ถือเปน หนาท่ีท่ีตอ งประพฤติปฏิบตั ิตอกนั

144

6. สังคมไทยมีการเปลีย่ นแปลงอยา งรวดเร็ว
เนอ่ื งจากมีการเปดรบั วฒั นธรรมตา งชาติเขา มามาก และระบบเศรษฐกิจเปนแบบทนุ นิยม
โดยเฉพาะเมืองใหญ เชน กรุงเทพฯ เชียงใหม ภูเก็ต เปนตน แตในชนบทจะมี
การเปล่ียนแปลงชากวา เมอื งใหญ ทําใหมขี นบธรรมเนียมประเพณีท่ีดีงามคงอยู

145

หากเราสามารถใชชีวิตโดยการประยุกตใ ชห ลักการของระบอบประชาธปิ ไตย ท้ัง 5 หลกั ใหเ ขา
กบั สภาพสังคมและวิถีชีวิตไทยไดอยางสมดุล เชื่อวาสังคมไทย จะสามารถอยูรวมกันไดอยางสันติมี
สทิ ธิเสรีภาพ และความอบอุนในรูปแบบของวิถีชีวิตได โดยมีแนวทางของการเปนพลเมืองดีตามวิถี
ประชาธิปไตย โดยพจิ ารณาจากบทบาทหนา ท่ขี องตนเองที่มีตอสว นเกย่ี วขอ ง ดังนี้

1. บทบาทหนา ท่ีและความรบั ผดิ ชอบตอ ตนเอง ไดแก
1.1 ยดึ มั่นในคุณธรรมและศีลธรรม
1.2 พัฒนาคณุ ภาพชีวติ ของตนเองใหม คี วามรู ฉลาดทนั โลก ทันเหตุการณ
1.3 ประกอบอาชีพที่ซื่อสตั ยด วยความขยันหมนั่ เพยี ร
1.4 สนใจตดิ ตามขา วความเปนไปในทางการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ และสังคม

2. บทบาทหนา ทีแ่ ละความรบั ผดิ ชอบตอครอบครวั
2.1 ทาํ หนาท่สี มาชกิ ในครอบครวั ใหสมบรู ณ
2.2 ชว ยกิจกรรมงานตา ง ๆ ในครอบครวั อยา งเต็มใจ
2.3 ชว ยกันดูแลประหยัดคาใชจ ายในครอบครวั
2.4 รบั ฟง และแลกเปลีย่ นความคดิ เห็นซึ่งกนั และกนั ในครอบครัว
2.5 ไมท ําใหส มาชิกในครอบครวั รูสกึ วาถูกทอดท้ิง

3. บทบาทหนา ทีแ่ ละความรบั ผดิ ชอบตอ สังคมและประเทศชาติ
3.1 ดานเศรษฐกจิ
1) ประกอบอาชีพที่เกดิ ผลดีทางเศรษฐกจิ ตอชมุ ชนและประเทศชาติ
2) เสยี ภาษีอากรใหแ กร ฐั อยางถกู ตอ ง
3) ประหยดั การใชจ า ย
3.2 ดานการเมือง
1) สนใจตดิ ตามขา วคราวความเปน ไปทางดา นการเมืองในประเทศ
2) สนบั สนนุ การปกครองระบอบประชาธิปไตย
3) เขา รวมในกิจกรรมตา ง ๆ ทม่ี อี ยูในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย
4) เคารพสิทธแิ ละเสรภี าพของบุคคลอน่ื
5) สนใจตดิ ตามความเปน ไปและปญ หาทางดา นสงั คมของชุมชน
3.3 ดานสงั คม
1) ยึดมัน่ ในระเบยี บวนิ ยั และปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายของบา นเมือง
2) ยอมรบั ความแตกตา งในดา นบุคคล
3) มีความรูสกึ เปนสว นหน่ึงของสังคมและประเทศชาติ

146

4) ใหค วามชว ยเหลอื ในการทํางานเพ่ือสังคม
หากแตล ะบคุ คลสามารถปฏบิ ตั ติ ามบทบาทหนาทแี่ ละความรบั ผดิ ชอบไดอยางครบถวนกไ็ ด
ชือ่ วา เปน “พลเมอื งดตี ามวถิ ีประชาธปิ ไตย”

กจิ กรรมที่ 12
1. ใหผ ูเรียนวิเคราะหและเขยี นบอกลักษณะสาํ คัญของสงั คมในปจจุบัน โดยเปรยี บเทียบกับ

ลักษณะของสังคมไทยตามท่ีมีผูวิเคราะหไวแลว เพ่ือพิจารณาวามีลักษณะใดบางท่ี
เปล่ยี นแปลงหรอื สญู หายไปแลว และลักษณะใดบางท่ียังคงอยูพรอมกับบอกความรูสึกของ
ผเู รียนที่มีตอสภาพสงั คมในปจจุบนั

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. ผูเรียนวิเคราะหบทบาทหนาท่ีและความรับผิดชอบของผูเรียนที่ปฏิบัติตอสมาชิกใน
ครอบครัววา เปนไปตามหลักการของระบอบประชาธิปไตยหรือไม บทบาทหนาที่ดังกลาวมี
เรือ่ งใดบางที่ควรสงเสรมิ และมเี รือ่ งใดบางทีค่ วรละท้ิง

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. ในฐานะทผ่ี เู รียนเปน หนวยหนึ่งของสังคมและประเทศผเู รยี นจะปฏิบตั ติ นอยา งไร จึงจะไดชอื่ วา
เปน พลเมอื งดขี องประเทศท่ีมกี ารปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริยท รง
เปนประมขุ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

147

บทท่ี 5

สทิ ธมิ นษุ ยชน

สาระสาํ คญั

มนุษยทุกคน เกิดมามีเกียรติศักดิ์ศรีเทาเทียมกัน ยอมจะไดรับความคุมครองจากรัฐตาม
มาตรฐานเดียวกันกับประเทศอ่ืน ๆ ซ่ึงรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ได
บญั ญตั สิ ิทธมิ นุษยชนขน้ั พื้นฐานไว เพอื่ ปกปองคมุ ครองประชาชนทุกคนมิใหถ กู ละเมิดสิทธิและรักษา
สิทธขิ องตนได

ผลการเรยี นรูท่ีคาดหวงั

1. อธิบายที่มาของแนวคดิ เรื่องสิทธิมนุษยชนได
2. อธบิ ายหลกั สทิ ธมิ นษุ ยชนสากลได
3. ยกตัวอยา งแนวทางในการคุม ครองตนเองและผูอ่ืนตามหลกั สทิ ธิมนุษยชนได

ขอบขายเนือ้ หา

เรือ่ งท่ี 1 กําเนดิ และหลกั สิทธมิ นษุ ยชน
เรื่องที่ 2 การคมุ ครองตนเองและผูอ่ืนตามหลักสิทธิมนษุ ยชน

สอื่ ประกอบการเรียนรู

1. คอมพวิ เตอรอ นิ เทอรเ นต็
2. เอกสารสทิ ธมิ นษุ ยชนสากล
3. บทความทางวิชาการ

148

149

เรือ่ งที่ 1 กําเนดิ และหลกั สทิ ธมิ นษุ ยชน
(Human Rights)

1.1 ความเปนมาของสิทธิมนุษยชน

สิทธมิ นุษยชน คอื อะไร

ไดม ผี ใู หค วามหมายของสิทธมิ นษุ ยชนไววา หมายถึง สทิ ธิตา ง ๆ ที่แสดงถึงคุณคาแหงความ

เปน มนษุ ย
หากสทิ ธิมนุษยชน หมายถึง สิทธิตาง ๆ ท่ีแสดงถึงคุณคาความเปนมนุษยแลวแตในสภาพ

ขอ เทจ็ จรงิ ทางสังคมมนุษยกลับมิไดรับสิทธิหรือการปฏิบัติท่ีแสดงถึงคุณคาความเปนมนุษย จึงเกิด
พฒั นาการในเรอื่ งสทิ ธมิ นุษยชนขน้ึ

ความตื่นตวั ในเรือ่ ง สิทธมิ นุษยชน โดยเฉพาะในประเทศท่ีปกครองในระบอบประชาธิปไตย
สิทธิมนุษยชนมีที่มาอยางไร วไล ณ ปอมเพชร. http:/www.action4change.com/ เมื่อวันที่ 5 มีนาคม

2553 ไดศึกษาคนควาและเรยี บเรยี งถึงความเปนมาของสิทธิมนษุ ยชน ไวว า
สิทธิมนุษยชน ไดม ีพฒั นาการมาจาก ความพยายามของมนุษยที่จะใหศักดิ์ศรีของมนุษยชน

ไดรบั การเคารพ และจากการตอสู เพ่ือเสรภี าพ และความเสมอภาคท่ีเกิดข้ึนในดินแดนตาง ๆ ทั่วโลก
แนวความคิดเรื่องสิทธิมนุษยชน เกิดจากบรรดานักคิดที่มาจากหลากหลายประเพณีทางวัฒนธรรม

และศาสนา ตอมาผูบริหารประเทศและนักกฎหมายตางก็มีบทบาทในการสงเสริมแนวความคิด
ดังกลาว และรางข้ึนเปนเอกสารที่ใชปกปองสิทธิของบุคคลและคอย ๆ กลายเปนบทบัญญัติและ

รัฐธรรมนญู ของชาติตาง ๆ
ในชวงปลายสงครามโลกคร้ังที่ 2 มีการดําเนินการจัดต้ังองคการสหประชาชาติขึ้นบรรดา

ผนู ําของประเทศสมาชกิ ดง้ั เดมิ 50 ประเทศไดรวมลงนามในกฎบัตรสหประชาชาติ (The Charter of
the United Nations) เมือ่ วนั ท่ี 26 มถิ นุ ายน ค.ศ. 1945 (พ.ศ. 2488) ซ่งึ ประกาศเปาหมายหลักของ

องคการสหประชาชาติ ซึ่งไดถือกําเนิดข้ึนอยางเปนทางการ ในวันท่ี 24 ตุลาคม ค.ศ. 1945 (พ.ศ.
2488) วา “เพ่ือปกปองคนรุนตอไปจากภยั พบิ ัตสิ งคราม และเพ่อื ยืนยนั ความศรัทธาในสิทธิมนุษยชน

ข้ันพ้ืนฐานในศักด์ิศรีและคุณคาของมนุษยและในสิทธิอันเทาเทียมกันของบุรุษและสตรี” มาตรา 1
ของกฎบัตรสหประชาชาติ ระบวุ า จดุ มงุ หมายประการหน่งึ ของสหประชาชาติ คือ “เพ่ือบรรลุความ

รว มมือระหวางชาติ ในการสงเสริมและสนบั สนุนใหมกี ารเคารพสิทธิมนุษยชนและเสรภี าพขัน้ พื้นฐาน
สาํ หรบั มนษุ ยทกุ คน โดยไมค ํานึงถงึ เช้อื ชาติ เพศ ภาษา หรอื ศาสนา”

150

ดวยเหตุท่ีกฎบัตรสหประชาชาติ เปนสนธิสัญญาท่ีบรรดาประเทศสมาชิกองคการ
สหประชาชาตริ วมลงนาม จงึ ถอื วา มีขอผูกพันทางกฎหมายทีบ่ รรดาสมาชกิ จะตอ งปฏิบัติตามรวมถึง
การสงเสริมสิทธิมนุษยชนและการรวมมือกับสหประชาชาติตลอดจนนานาประเทศ เพ่ือใหบรรลุ
วัตถุประสงคท่ีบัญญัติไวในกฎบัตร อยางไรก็ตาม กฎบัตรสหประชาชาติมิไดมีรายละเอียดเกี่ยวกับ
สทิ ธมิ นษุ ยชนโดยตรงหรอื กลไกท่ีจะชว ยใหประเทศสมาชกิ ปกปอ งสทิ ธิมนุษยชน คร้นั ป ค.ศ.1945 (พ.ศ.
2488) องคการสหประชาชาติ ไดจัดต้งั คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน (Committee on Hunan Rights) ข้ึน
มีหนาที่รางกฎเกณฑระหวางประเทศเกี่ยวกับเร่ืองสิทธิมนุษยชน จึงเกิดปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิ
มนุษยชน (Universal Declaration of Human Rights) ซ่ึงสหประชาชาตไิ ดมีมติรับรอง เมื่อวันท่ี
10 ธนั วาคม ค.ศ. 1948 (พ.ศ. 2491)

ปฏิญญาสากลวา ดวยสิทธมิ นุษยชน ซ่ึงบรรดาประเทศสมาชิกองคการสหประชาชาติไดรวม
รับรอง เมื่อ ค.ศ. 1948 (พ.ศ. 2491) ถือเปนมาตรฐานในการปฏิบัติตอกันของมวลมนุษย และของ
บรรดานานาชาติ ถงึ แมว าปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนษุ ยชน จะมไิ ดม ผี ลบังคับทางกฎหมายเชนเดียวกับ
สนธสิ ญั ญา อนสุ ญั ญา หรือขอตกลงระหวางประเทศ แตปฏิญญาสากลฉบับนี้ นับวามีพลังสําคัญทาง
ศลี ธรรม จริยธรรม และมอี ทิ ธิพลทางการเมืองไปท่ัวโลก และถือเปนหลักเกณฑสําคัญในการปฏิบัติ
เก่ียวกบั สิทธิมนุษยชนท่บี รรดาประเทศทว่ั โลกยอมรบั ขอ ความในปฏญิ ญาสากลวา ดว ยสทิ ธมิ นุษยชน
เปน พ้ืนฐานในการดาํ เนนิ งานขององคการสหประชาชาติ และมีอิทธิพลสําคัญตอการรางรัฐธรรมนูญ
ของบรรดาประเทศท่ีมกี ารรา งรฐั ธรรมนญู ในเวลาตอ มา โดยเฉพาะอยางยงิ่ บรรดาประเทศอาณานคิ ม
ไดอางปฏญิ ญาสากลวาดวยสิทธิมนษุ ยชน ในการประกาศอสิ รภาพ ชวง ค.ศ. 1950 ถึง 1960 (พ.ศ.
2493 - 2503) และหลายประเทศนําขอความในปฏิญญาสากลมาใชในการรางรัฐธรรมนูญของตน
รฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ก็มีขอความที่สอดคลองกับปฏิญญาสากลฯ เชน ใน
มาตรา 4 วา : “ศักด์ิศรคี วามเปน มนษุ ยส ิทธิและเสรีภาพของบคุ คลยอมไดร บั ความคุมครอง”

เมือ่ สหประชาชาติ มีมติรบั รองปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน องคการสหประชาชาติ
ประกอบดวย ประเทศสมาชิกเพียง 58 ประเทศ จากน้ันมาจํานวนประเทศสมาชิกเพิ่มข้ึน จนมี
จํานวนเกินกวาสามเทาของสมาชิกเดิม อทิ ธิพลของปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน ขยายมากขึ้น
จนเปนท่ียอมรับในระดับสากล และเปนท่ีอางอิงถึงเม่ือมีปญหาเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนในประเทศ
ท้ังหลายทั่วโลก เมื่อพิจารณาดูมาตราตาง ๆ ของปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน จะเห็นวา
มาตราแรกแสดงถงึ ความเปนสากลของสทิ ธิมนษุ ยชน โดยกลา วถงึ ความเทาเทียมกันของศักดิ์ศรีและ
สิทธิของมนษุ ยทุกคน ปรากฏในคําปรารภ ซึ่งเร่ิมดวยขอความที่เนนการยอมรับ“ศักด์ิศรีประจําตัว
และสทิ ธิซ่ึงเทา เทยี มกนั และไมอาจโอนใหแ กกันไดของสมาชิกทงั้ มวล ของครอบครัวมนษุ ย”

151

สิทธิทร่ี ะบุไวในปฏญิ ญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนจําแนกออกไดอยางกวาง ๆ 2 ประเภท
คอื ประเภทแรก เกย่ี วกับสทิ ธขิ องพลเมอื งและสิทธิทางการเมือง ซึ่งรวมถึงสิทธิในชีวิตเสรีภาพและ
ความมนั่ คงของบุคคล อิสรภาพจากความเปน ทาสและการถูกทรมาน ความเสมอภาคในทางกฎหมาย
การคมุ ครองเมือ่ ถกู จับกกั ขัง หรือเนรเทศ สิทธทิ ี่จะไดรับการพิจารณาคดีอยางเปนธรรม การมีสวนรวม
ทางการเมอื ง สทิ ธิในการสมรส และการตั้งครอบครัว เสรีภาพขั้นพ้ืนฐานในทางความคิด มโนธรรม
และศาสนา การแสดงความคิดเห็น และการแสดงออก เสรีภาพในการชมุ นุม และเขารวมสมาคม
อยางสนั ติสิทธิ ในการมสี วนในรฐั บาลของประเทศตน โดยทางตรงหรือโดยการสงผูแทน ที่ไดรับการ
เลอื กตั้งอยางเสรี สวนสทิ ธิ ประเภทที่สอง คอื สทิ ธิทางเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งครอบคลุม
ถงึ สทิ ธิในการทาํ งานการ ไดร บั คาตอบแทนเทา กันสําหรับงานท่ีเทากัน สิทธิในการกอต้ังและเขารวม
สหภาพแรงงาน สทิ ธใิ นมาตรฐานการครองชีพที่เหมาะสม สิทธใิ นการศึกษา และสิทธิในการเขารวม
ใชชวี ติ ทางวัฒนธรรมอยา งเสรี

ลักษณะเฉพาะของสิทธิมนุษยชนท่ีระบุไวในปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน มี
ดังตอไปนี้

1. เปน สทิ ธิทตี่ ิดตวั มากบั มนษุ ย (Inherent) เมอื่ คนเกิดมาจะมสี ิทธิมนุษยชนติดตัวมาดวย
เพราะมคี วามเปน มนษุ ย ดังนน้ั สิทธิมนษุ ยชน จงึ เปน สทิ ธิท่ตี ดิ ตัวแตล ะคนมา ไมมีการให
หรือซอ้ื หรือสืบทอดมา

2. เปนสทิ ธทิ เี่ ปนสากล (Universal) คอื เปนสิทธขิ องมนุษยท กุ คนเหมอื นกัน ไมว า จะมี
เชื้อชาติ เพศ หรอื นับถือศาสนาใด ไมวาจะเปนผูที่มาจากพ้ืนฐานทางสังคมหรือการเมือง
อยางใด มนุษยทกุ คนเกิดมามีอิสรเสรี มคี วามเทา เทียมกนั ในศักดิศ์ รีและสิทธิ

3. เปนสิทธิที่ไมอาจถายโอนใหแกกันได (Inalienable) คือ ไมมีใครจะมาแยงชิงเอา
สทิ ธมิ นษุ ยชนไปจากบุคคลใดบุคคลหนึ่งได ถึงแมวากฎหมายของประเทศจะไมยอม
รับรองสิทธิมนษุ ยชน หรือแมว าจะละเมิดสิทธมิ นษุ ยชนก็ตาม ประชาชนของประเทศนนั้
ก็ยังมีสิทธิมนุษยชนอยู ตัวอยาง เชน ในสมัยคาทาส ทาสทุกคนมีสิทธิมนุษยชน
ถึงแมวาสทิ ธิเหลาน้ันจะถกู ละเมดิ ก็ตาม

4. เปนสิทธิที่ไมถูกแยกออกจากกัน (Indivisible) กลาวคือ เพ่ือที่จะมีชีวิตอยูอยางมี
ศักดิ์ศรี มนุษยทุกคนยอมมีสิทธิที่จะมีเสรีภาพ มีความมั่นคง และมีมาตรฐานการ
ดาํ รงชีวติ ท่ีเหมาะสมกับความเปน มนษุ ย ดงั นัน้ สิทธิตา ง ๆ ของมนษุ ยชนจะตอ งไมถูก
แยกออกจากกนั

152

ตอมา หลักการของปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน ไดมีการแปลเจตนาและขยาย
ขอความใหละเอียดยิ่งข้ึนดวยการรางเปนกติการะหวางประเทศท่ีมีผลบังคับทางกฎหมายและ
สหประชาชาติ มีมติรบั รอง เมอ่ื วนั ที่ 16 ธนั วาคม ค.ศ. 1966 (พ.ศ. 2509) คอื กตกิ าระหวางประเทศ
วาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political
Rights - ICCPR) การทีส่ หประชาชาติ มีมตริ ับรองกติการะหวางประเทศดงั กลา วนี้ ทําใหบรรดานานา
ประเทศสมาชกิ ขององคการสหประชาชาติไมเ พยี งแตเหน็ ชอบดว ยกับสิทธติ า ง ๆ ทีร่ ะบุไวในปฏิญญา
สากลวาดวยสิทธิมนุษยชน แตยังถือเปนมาตรการในการปฏิบัติตามดวย หมายความวา บรรดา
ประเทศที่ใหสตั ยาบรรณ (Ratify) หรือ รับรองกติการะหวางประเทศดังกลาว จะตองปฏิบัติตาม
ขอความในกติการะหวางประเทศ มีขอผูกพันท่ีจะตองเคารพ และปฏิบัติตามเง่ือนไขของกติกา
ระหวางประเทศ และรวมไปถึงตองสงรายงานการปฏิบัติตามกติการะหวางประเทศใหแก
สหประชาชาติเปนประจาํ ดว ย เม่อื กตกิ าระหวางประเทศท้งั สองฉบบั มีผลในการบังคับใช ค.ศ. 1976
(พ.ศ. 2519) ไดเขาเปนภาคีจนปจ จบุ นั นับได 134 ประเทศ

นอกจากกติการะหวางประเทศทั้งสองฉบับที่กลาวมาแลวน้ียังมีอนุสัญญา (Conventions)
คําประกาศ (Declarations) ขอเสนอแนะ (Recommendations) ท่ีเกี่ยวกับรายละเอียดของสิทธิ
มนษุ ยชนตามเจตนารมณของปฏิญญาสากลวา ดวยสทิ ธิมนษุ ยชนและกตกิ าระหวา งประเทศท้ังสองฉบับ
คําประกาศและขอเสนอแนะ คือ เปนมาตรฐานสากลสําหรับบรรดาประเทศสมาชิกขององคการ
สหประชาชาติ แตไมมีผลผูกพันทางกฎหมายเชนเดียวกับอนุสัญญา ซึ่งมีผลบังคับใหประเทศที่เปน
ภาคีของอนสุ ัญญาตองปฏบิ ตั ติ าม ตัวอยา งของอนุสญั ญาวา ดว ยสทิ ธมิ นุษยชน เชน อนุสญั ญาวาดวย
สิทธิเด็ก (Convention on The Rights of the Child) อนุสญั ญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติ
สตรีในทุกรูปแบบ (Convention on the Elimination of all Forms of Discrimination Against
Women)

อนสุ ญั ญาวา ดว ยสทิ ธิเดก็ มีผลบงั คบั ใชเ ม่ือวันท่ี 2 กันยายน ค.ศ. 1990 (พ.ศ. 2523) ท่ีไดมี
มติรับรองของสมชั ชาสหประชาชาติ เมื่อวันท่ี 20 พฤศจกิ ายน ค.ศ. 1987 (พ.ศ. 2520) ปจจุบันน้ีประเทศ
สมาชกิ องคก ารสหประชาชาตกิ วา 180 ประเทศ ใหสัตยาบรรณรับรองอนสุ ญั ญาดงั กลาว และบรรดา
ประเทศภาคีของอนุสัญญาวา ดวยสิทธิเด็กตางก็หาวิถีทางท่ีจะปฏิบัติตามขอผูกมัดของอนุสัญญา โดย
ถอื วา เดก็ เปนผูทจี่ ะตอ งไดรับการดูแลปกปอง และเนนถึงความสําคัญของชีวติ ครอบครวั ของเดก็ ดว ย
(โปรดดรู ายละเอียดในอนุสัญญาวาดว ยสิทธิเดก็ ในภาคผนวก)

อนสุ ญั ญาวาดวยการขจัด การเลอื กปฏิบัติตอสตรีในทกุ รปู แบบ ไดร บั การรบั รองจากสมัชชา
สหประชาชาติ เมอ่ื วนั ท่ี 18 ธนั วาคม ค.ศ. 1979 (พ.ศ. 2522) และมผี ลบังคับใชในวันท่ี 2 กันยายน ค.ศ. 1987
(พ.ศ. 2530) ในปจจุบันประเทศภาคีของอนุสัญญาดังกลาวนับไดกวา 150 ประเทศจุดประสงคของ
อนุสัญญาฉบับนี้ คือ ความเสมอภาคระหวางชายและหญิง และเพ่ือปองกันการเลือกปฏิบัติตอสตรี

153

โดยเฉพาะอยางยิ่ง การเลือกปฏิบัติในรูปแบบของการบังคับใหแตงงาน ความรุนแรงในครอบครัว
โอกาสในการศกึ ษา การดแู ลดานสาธารณสขุ ตลอดจนการเลอื กปฏบิ ตั ิในสถานทีท่ าํ งาน

ทก่ี ลา วมาทั้งหมดนี้ เปน ความเปน มาของสิทธมิ นษุ ยชนสากล ความเปน “สากล” เร่มิ เห็นได
ชัดเจนจากปฏญิ ญาสากลวาดวยสทิ ธมิ นษุ ยชน ซึ่งเปนมาตรฐานระดับนานาชาติท่เี กย่ี วกบั การปกปอ ง
ศกั ดศ์ิ รี และสทิ ธมิ นษุ ยชน ตอ มาจึงเกิดกตกิ าสญั ญาระหวา งชาติ ตลอดจน อนสุ ัญญาฉบับตา ง ๆ ซ่งึ มี
ขอผูกพันในทางกฎหมายที่จะตองปฏิบัติตามบทบัญญัติในกติการะหวางประเทศ และอนุสัญญา
ทแ่ี ตล ะประเทศไดเ ขารวมเปน ภาคี

ความเปน “สากล” ของปฏญิ ญาสากลวา ดว ยสิทธิมนุษยชน แสดงไวอ ยา งชัดเจนในปฏญิ ญา
ขอท่ี 1 ซึ่งเนน ถงึ ความเทา เทียมกนั ของศักดศ์ิ รี และสทิ ธขิ องมนุษยทุกคน และในขอที่ 2 ซ่ึงกลาวถึง
ความชอบธรรมของมนุษยทุกคนในสิทธิและเสรีภาพท่ีระบุไวในปฏิญญาสากล โดยไมมีการจําแนก
ความแตกตา งในเร่ืองใดทัง้ สน้ิ

สหประชาชาตแิ ละองคกรตา ง ๆ ในระบบของสหประชาชาติ เชน ยูเนสโก และยูนิเซฟ เปนตน
ไดหาวิถีทางท่ีจะใหบรรดาประเทศสมาชิกปฏิบัติตามมาตรฐานสากลแหงสิทธิมนุษยชน แตความ
พยายามตาง ๆ ยอมไรผล ถาปราศจากความรวมมือของแตละประเทศ สําหรับประเทศไทยสิทธิ
มนษุ ยชน หมายความถึง ศักดศ์ิ รคี วามเปน มนุษย ความเสมอภาค เสรีภาพ และอิสรภาพในชีวิตและ
รางกาย ซึ่งเปนสิทธิตามธรรมชาติของมนุษยและเปนสิทธิที่ไดรับการรับรอง หรือคุมครองตาม
บทบัญญตั ขิ องรฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. 2540) กฎหมายที่เกี่ยวของและตามหลักสากล
วาดวยสิทธมิ นษุ ยชน ตลอดจนแนวปฏิบตั ขิ องกฎหมายระหวา งประเทศ และขอตกลงระหวา งประเทศ
ท่ปี ระเทศไทยมพี นั ธกรณี ทจี่ ะตองปฏิบตั ติ าม แตกระน้ันก็ตามสทิ ธิมนษุ ยชน ก็ยงั มีการละเมิดกนั อยู
โดยทั่วไปในสงั คมไทย และถาหากไมหาทางปองกันและแกไข แนวโนมของการละเมิดก็จะทวีความ
รนุ แรงขนึ้ ยากแกการแกไข และยังทําลายชือ่ เสียง เกียรตภิ มู ิ และภาพพจนข องประเทศดวย อยา งไร-
กต็ าม ถาคนไทยเขาใจความหมายของสทิ ธิมนษุ ยชนอยางถูกตอง ถาเรายอมรับวา มนษุ ยทุกคนเกิดมา
มเี สรภี าพ และมคี วามเสมอภาคในศักดิศ์ รีและสิทธิ และถามกี ารปฏบิ ัติตอกนั ดว ยความรักและเคารพ
ในศักดศ์ิ รีของกันและกันฉันทพี่นอง คนในสังคมไทยท่ีมีความแตกตางหลากหลาย ก็จะสามารถอยู
รว มกนั ไดอ ยา งสนั ตสิ ุข ปราศจากการเบยี ดเบยี น และละเมิดสิทธขิ องกันและกัน

1.2 พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย

นพนิธิ สุริยะ http://gotoknow.org/blog/works-of-archannop/51974 ไดศึกษาพัฒนาการ
ของสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ไวว า

ภายหลงั การเปลีย่ นแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยมาสูระบอบการ
ปกครองแบบประชาธิปไตย เมื่อ พ.ศ. 2475 มีรัฐธรรมนูญฉบบั แรก คือ พระราชบญั ญัติธรรมนูญการ

154

ปกครองแผนดนิ สยามชัว่ คราว พ.ศ. 2475 แมธรรมนูญการปกครองฉบับแรกของไทย จะมิไดกลาวถึง
หรอื รับรองสิทธิเสรีภาพ ตลอดจนสทิ ธมิ นษุ ยชนเลย แตจากคําประกาศของคณะราษฎรทป่ี ระกาศวา

1. ตองรักษาความเปนเอกราชทั้งหลาย ไดแก เอกราชในทางการเมือง การศาล
การเศรษฐกิจ ฯลฯ ของประเทศใหม่ันคง

2. ตองรกั ษาความปลอดภัยภายในประเทศใหการประทษุ รา ยตอกันลดนอ ยลงใหม าก
3. ตองบาํ รุงความสขุ สมบูรณในทางเศรษฐกิจ โดยรัฐบาลใหมจะจัดหางานใหทุกคนทํา

และจะตอ งวางโครงการเศรษฐกจิ แหง ชาติ ไมละเลยใหราษฎรอดอยาก
4. ตองใหราษฎรมสี ิทธเิ สมอภาค
5. ตองใหราษฎรมอี สิ รภาพ มคี วามเปน อสิ ระ เมอื่ เสรภี าพนไ้ี มข ัดหลกั ดงั กลา วขา งตน

การไดนําหลักการของสิทธิมนุษยชนไปใชในทางปฏิบัติ และระบุรับรองใหราษฎรมีสิทธิ
เสมอภาคกนั แสดงใหเหน็ การตระหนกั ถึงความสําคัญของเร่ืองดังกลาว จึงวิเคราะหไดวา เปาหมาย
ของการเปล่ยี นแปลงการปกครองไปสรู ะบอบประชาธปิ ไตยโดยคณะราษฎร เปนจุดเร่ิมตนของความ
เคลื่อนไหวในดานสทิ ธิมนุษยชนในประเทศไทยอยางชัดเจน และเปนรปู ธรรมครั้งแรก

รัฐธรรมนูญฉบบั ท่ี 2 ของไทย คอื รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2475 ไดปรากฏ
บทบัญญตั ิที่ใหการรับรองสิทธิเสรภี าพแกป ระชาชนชาวไทยไวใ นหมวดท่ี 2 วา ดว ยสทิ ธแิ ละหนา ที่ของ
ชนชาวสยาม ซ่งึ มีสาระสําคญั ใหก ารรับรองหลกั ความเสมอหนา กันในกฎหมาย เสรีภาพในการนับถือ
ศาสนา เสรภี าพในรางกาย เคหสถาน ทรัพยส ิน การพดู การเขียน การโฆษณา การศึกษาอบรม การ
ประชุม การตั้งสมาคม และการอาชีพ โดยบทบัญญัติดังกลาว ถือเปนการใหค วามรับรองสิทธิและ
เสรภี าพของประชาชนอยางเปนทางการในรฐั ธรรมนญู เปนคร้ังแรก

ขณะเดียวกันนั้น สยามประเทศไดมีการปรับปรุงแกไขกฎหมายและระบบกระบวนการ
ยุตธิ รรม เพื่อใหท ดั เทียมนานาอารยประเทศ และเปนทีย่ อมรับของรฐั ตา งชาติดวย ความมงุ หมายทจี่ ะ
เรยี กรองเอกราชทางการศาลกลับคืนมาเปนของไทย แนวความคิดในการคุมครองสิทธมิ นุษยชนจึง
ปรากฏอยใู นกฎหมายหลายฉบับ อีกท้ังมีความพยายามสรางกลไกคุมครองสิทธิมนุษยชนไวโดยตรง
และโดยออมผานทางสถาบันตุลาการดวย โดยเฉพาะอยางย่ิงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ
อาญา พ.ศ. 2477 มบี ทบญั ญตั ิทใ่ี หก ารรับรองและคุมครองสิทธิของผูตองหาและจําเลยในคดีอาญา
ซ่ึงแตกตา งจากระบบจารีตนครบาลท่ีมีมาแตเ ดมิ อยา งสน้ิ เชงิ

ตอมา วนั ที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 มีการประกาศใชรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
พ.ศ. 2489 เปน รัฐธรรมนญู ฉบับท่ี 3 และเปน ครั้งแรกที่มีการบญั ญตั ริ บั รองสทิ ธขิ องประชาชนในการเสนอ
เรอ่ื งราวรองทกุ ข และเสรีภาพในการจัดต้งั คณะพรรคการเมืองในรัฐธรรมนูญ สวนเสรีภาพในการประชุม
โดยเปด เผย ในรัฐธรรมนญู ฉบับกอ นไดเ ปล่ียนเปน เสรภี าพในการชุมนุมสาธารณะ

155

ในระหวางท่ีรัฐธรรมนูญ ฉบับท่ี 4 มีผลใชบังคับป พ.ศ. 2490 ปรากฏกระแสที่สําคัญ คือ
เกิดการรวมตวั ของกรรมกร ในชื่อวา “สหอาชวี ะกรรมกรแหงประเทศไทย” ซึง่ เปนการรวมตวั กนั ของ
กรรมกรจากกจิ การสาขาตา ง ๆ เชน โรงเลื่อย โรงสี รถไฟ เปนตน เนื่องจากกรรมกรเหลานี้ถูกกดขี่
คาจางแรงงานอยางมาก อันเปนผลมาจากการเติบโตของภาคอุตสาหกรรมอยา งรวดเร็ว ภายหลัง
สงครามโลกครัง้ ท่ี 2 กระแสความเคลอื่ นไหวที่เกิดขึ้น เปน การรวมตัวกนั เพอ่ื เรยี กรอ งตอสังคมและรฐั
ใหสนองความตอ งการท่ีจาํ เปน ของตน ทาํ ใหสงั คมตระหนักถงึ สทิ ธเิ สรีภาพและสิทธิมนุษยชนอันเปน
การแสดงออกถึงการคุมครองสทิ ธิมนุษยชนอีกรปู แบบหนง่ึ ที่เกิดจากการกระทําของเอกชนดวย

ใน ป พ.ศ. 2491 สหประชาชาติ ไดประกาศใชปฏญิ ญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน ค.ศ. 1948
อันเปน ชวงเวลาทปี่ ระเทศไทยกาํ ลังรา งรฐั ธรรมนญู ฉบับท่ี 5 รัฐธรรมนูญฉบับท่ี 5 คอื รฐั ธรรมนญู แหง
ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2492 จงึ ไดร ับอทิ ธิพลจากการประกาศใชป ฏิญญาสากลของสหประชาชาติมี
บทบัญญัตทิ ใ่ี หก ารรับรองสิทธิและเสรีภาพเปนจาํ นวนมาก และละเอยี ดกวารัฐธรรมฉบับกอ น ๆ

หลกั การในปฏิญญาสากลวา ดว ยสิทธิมนษุ ยชน ค.ศ. 1948 (พ.ศ. 2491) ท่ีไดร ับการบรรจุลง
ไวใ นรัฐธรรมนูญฉบบั ท่ี 5 นอกเหนือจากสทิ ธทิ ่เี คยรับรองไวในรัฐธรรมนูญฉบับกอน ๆ ไดแก หลักการ
ไดร ับความคมุ ครองอยา งเสมอภาคกนั ตามรัฐธรรมนญู ท้งั นี้ ไมวา บุคคลน้ันจะมีกําเนิดหรือนบั ถือ
ศาสนาแตกตา งกันกต็ าม (มาตรา 26) สิทธิของประชาชนที่ไมถ ูกเกณฑแ รงงาน ท้ังน้ี เวน แตในกรณีที่
เปนการปองกนั ภยั พบิ ตั สิ าธารณะ ซ่งึ เกิดขน้ึ โดยฉกุ เฉนิ เฉพาะเวลาที่ประเทศอยูในภาวะการรบ หรือ
ภาวะสงคราม หรือในสถานการณฉุกเฉินเทาน้ัน (มาตรา 32) เสรีภาพในการสื่อสารถึงกันโดยทาง
ไปรษณียห รือทางอ่นื ท่ชี อบดว ยกฎหมาย (มาตรา 40) เสรีภาพในการเลอื กถน่ิ ทีอ่ ยู และการประกอบ
อาชพี (มาตรา 41) สิทธิของบคุ คลทีจ่ ะไดรับความคุมครองในครอบครัวของตน (มาตรา43) ตลอดจน
การใหก ารรบั รองแกบ คุ คล ซ่งึ เปนทหาร ตํารวจ ขาราชการประจําอ่ืน และพนักงานเทศบาลท่ีจะมี
สทิ ธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ เหมือนดังพลเมืองคนอ่ืน ๆ (มาตรา 42) ปรากฏการณท่ีสําคัญอีก
ประการ คือ มกี ารนําเอาสิทธใิ นกระบวนการยตุ ธิ รรมทางอาญามาบญั ญัตริ บั รองไวในรฐั ธรรมนญู เชน

หลักท่วี า “บุคคลจะไมตองรบั โทษทางอาญา เวนแตจะไดกระทําการอนั กฎหมายซง่ึ ใช
อยูในเวลาที่กระทํานั้น บัญญตั ิเปนความผิดและกําหนดโทษไว และโทษท่ีจะลงแก
บุคคลน้ันจะหนักกวาโทษทีก่ ําหนดไวในกฎหมายซึ่งใชอยใู นเวลาที่กระทําความผิด
มิได” (มาตรา 29) ซึง่ เปนหลกั พนื้ ฐานทส่ี ําคญั ในการดําเนินคดีอาญาและไดรับการ
บญั ญัติในรัฐธรรมนูญฉบบั ตอมาจนถงึ ปจจุบนั
หลักความคมุ ครองผูตอ งหาและจําเลยทีจ่ ะไดรบั การสนั นิษฐานไวก อ นวา ไมม คี วามผิด
กอนที่จะมีคําพิพากษาอันถึงท่ีสุด รวมถึงสิทธิที่จะไดรับการพิจารณาในการประกัน
และการเรยี กหลักประกนั พอสมควรแกก รณีดว ย (มาตรา 30) และ

156

สิทธิที่จะไมถ ูกจับกมุ คุมขงั หรือตรวจคน ตวั บคุ คลไมวา กรณีใด ๆ เวนแตจ ะมีกฎหมาย
บัญญตั ไิ วใ หส ามารถกระทาํ ได (มาตรา 31)

นอกจากน้แี ลว การกาํ หนดแนวนโยบายแหงรฐั ไวใ นหมวด 5 อนั เปน หมวดที่วาดวยแนวทาง
สําหรับการตรากฎหมายและการบรหิ ารราชการตามนโยบาย ซึง่ แมจ ะไมก อใหเกิดสิทธิในการฟองรองรัฐ
หากรฐั ไมปฏิบัติตาม แตกเ็ ปนการกําหนดหนาที่แกรัฐ ซ่ึงมีความเก่ียวพันกับการสงเสริมและพัฒนา
หลักสทิ ธมิ นษุ ยชนในรัฐธรรมนญู ฉบับตอ ๆ มา

ในทางปฏบิ ัติสทิ ธมิ นษุ ยชนในประเทศไทยไดรับการรับรองคุมครองอยางจริงจังเพยี งใดน้ัน
ขึน้ อยูกบั สถานการณบานเมืองสภาพเศรษฐกิจสังคม ตลอดจนทัศนคติของผูปกครอง เจาหนาท่ีรัฐ
และประชาชน ผูเปนเจาของสิทธนิ ั่นเอง เพราะตอ มาธรรมนญู การปกครองราชอาณาจกั ร พ.ศ. 2502
รฐั ธรรมนูญฉบบั ที่ 7 ไมป รากฏบทบญั ญัตริ ับรองสิทธิเสรภี าพแตอ ยางใด และการประกาศใชธ รรมนูญ
การปกครองราชอาณาจักร พุทธศกั ราช 2515 เมอ่ื วันที่ 15 ธนั วาคม 2515 ชวงรัฐบาลเผด็จการไมมี
บทบัญญตั ิมาตราใดท่ใี หก ารรับรองสทิ ธิและเสรภี าพแกป ระชาชนชาวไทยเลย จนกระท่งั ภายหลังเกิด
เหตุการณเ รียกรองประชาธิปไตยโดยนิสติ นักศึกษา เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2516 จึงมีการประกาศใช
รฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2517 เมื่อวันท่ี 7 ตุลาคม 2517 ซึ่งไดรับการยอมรับวาเปน
รฐั ธรรมนูญฉบับที่ดีท่ีสุดและเปนประชาธิปไตยมากที่สุด มีบทบัญญัติคลายคลึงกับรัฐธรรมนูญแหง
ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492 และมีการวางหลักการใหมในการใหความคุม ครองสิทธิและ
เสรีภาพของประชาชนมากยิ่งขึ้น ทั้งในดานท่ีมีการจํากัดอํานาจรัฐท่ีจะเขามาแทรกแซงอันมี
ผลกระทบตอสิทธิและเสรภี าพของประชาชน และในดานการเพ่ิมหนาที่ใหแกรัฐในการใหบริการแก
ประชาชนใหมีคณุ ภาพชีวิตทด่ี ขี ้นึ เชน ชายและหญงิ มีสิทธิเทาเทียมกัน (มาตรา 28) สิทธิทางการเมือง
ในการใชสิทธเิ ลือกต้ังและสทิ ธอิ อกเสียงประชามติ (มาตรา 29) สทิ ธทิ ี่จะไมถกู ปด โรงพมิ พหรอื หามทํา
การพิมพเวนแตม คี ําพพิ ากษาถงึ ทสี่ ุดใหป ดโรงพิมพหรอื หามทําการพิมพ (มาตรา 40) เสรีภาพในทาง
วิชาการ (มาตรา 42) การกําหนดใหพรรคการเมือง ตองแสดงท่ีมาของรายไดและการใชจายโดย
เปด เผย (มาตรา 45) และเสรีภาพในการเดินทางภายในราชอาณาจักร (มาตรา 47) นอกจากน้ีแลว
สิทธิในทางกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของผูตองหาและจําเลยยังไดรับการบัญญัติรับรองไวใน
รัฐธรรมนญู ฉบับน้ีดว ย ไดแก สทิ ธิทจี่ ะไดรบั การสอบสวนหรือพจิ ารณาคดีดวยความรวดเร็วและเปน
ธรรมสทิ ธิท่ีจะไดร บั การชวยเหลอื จากรฐั ในการจัดหาทนายความ (มาตรา 34) สิทธิที่จะไมใหถอยคํา
เปนปฏิปกษตอตนเอง อันจะทําใหตนถูกฟองเปนคดีอาญาและถอยคําของบุคคลที่เกิดจากการถูก
ทรมาน ขูเ ขญ็ หรือใชก ําลังบังคับหรอื การกระทําใด ๆ ทท่ี ําใหถ อ ยคําน้ันเปน ไปโดยไมสมัครใจ ไมอ าจ

157

รบั ฟง เปน พยานหลกั ฐานได (มาตรา35) และสิทธิที่จะไดคาทดแทนหากปรากฏในภายหลังวาบุคคล
นัน้ มไิ ดเปน ผกู ระทําความผิด (มาตรา 36)

เม่ือวันที่ 22 ตุลาคม 2519 ประเทศไทยไดประกาศใชรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2519 เปนรฐั ธรรมนูญฉบับที่ 11 ซ่ึงมีบทบัญญัติรับรองสิทธิและเสรีภาพไวเพียงมาตราเดียว
คือ มาตรา 8 ซ่ึงบัญญัติวา “บุคคลมีสิทธิและเสรีภาพภายใตบทบัญญัติแหงกฎหมาย” นับวาเปน
บทบัญญัติที่ใหสิทธิเสรีภาพกวางขวางมาก แตไมมีการกําหนดวาเปนสิทธิเสรีภาพชนิดใด ตอมา
เม่ือวันที่ 9 พฤศจิกายน 2520 มีการประกาศใชร ัฐธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พ.ศ.2520
เปน รฐั ธรรมนูญฉบบั ท่ี 12 ซงึ่ ไมม บี ทบัญญตั ิใดเลยทีใ่ หก ารรับรองสิทธิและเสรภี าพแกป ระชาชน

รฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2521 ซึ่งเปนรัฐธรรมนูญฉบับท่ี 13 ประกาศใช
เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2521 นําบทบัญญัติที่ใหการรับรองสิทธิและเสรีภาพมาบัญญัติไวอ ีกโดยมี
สาระสําคัญสวนใหญเหมือนกับรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2517 แตตัด
บทบัญญตั เิ กยี่ วกับการรับรองความเสมอภาคของชายและหญิง เสรภี าพในทางวิชาการ และเสรีภาพ
ในการประกอบอาชพี ออกไป

ภายหลังจากหัวหนารักษาความสงบเรียบรอยแหงชาติ ไดกระทําการยึด และควบคุมการ
ปกครองประเทศไวเ ปนผลสําเรจ็ เมื่อวันท่ี 23 กุมภาพนั ธ 2534 และประกาศยกเลิก รฐั ธรรมนูญแหง
ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2521 แลวไดป ระกาศใช ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช
2524 แทนโดยใหไว เมื่อวันท่ี 1 มีนาคม 2534 ซ่ึงไมปรากฏมีบทบัญญัติใดเลยที่ใหการรับรองสิทธิ
เสรีภาพแกประชาชน

ตอมาในป พ.ศ. 2538 ไดมีการแกไขเพ่ิมเติม รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช
2534 โดยเพมิ่ หมวดท่ี 3 วา ดวยสิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย ตามทปี่ ระกาศไวใ นรฐั ธรรมนญู แหง
ราชอาณาจักรไทยแกไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 5) พุทธศักราช 2538 เม่ือวันที่ 10กุมภาพันธ 2538 ซ่ึง
นําเอาบทบัญญัติท่ีใหการรับรองสิทธิเสรีภาพที่เคยบัญญัติไวในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
พทุ ธศกั ราช 2517 มาบัญญัติไวอ กี ครง้ั แตไ ดตัดเสรีภาพในทางวชิ าการออกและเพมิ่ บทบญั ญตั ริ บั รอง
สทิ ธิในการไดร ับบริการทางสาธารณสขุ ทไ่ี ดมาตรฐาน (มาตรา 41) สิทธใิ นการเสนอเรอ่ื งราวรองทุกข
(มาตรา 48) และสิทธิในการรบั ทราบขอมูลหรือขา วสารหนว ยงานราชการ (มาตรา 48 ทวิ)

ตลอดระยะเวลาของการพฒั นาแนวความคดิ เก่ยี วกับสทิ ธมิ นษุ ยชนในประเทศไทย แมจะถูก
ขัดขวางโดยปญหาการเมืองการปกครองเปนบางเวลา แตการคุมครองสิทธิมนุษยชนโดยทางออม
ปรากฏใหเห็นผานทางกลไกของรัฐ เชน กรณีที่ฝายนิติบัญญัติพิจารณาและออกกฎหมายท่ีไมเปน
การจํากัดสิทธิและเสรีภาพของประชาชนจนเกินไป การตรวจสอบการทํางานของฝายบริหารโดย
ฝายนิตบิ ญั ญัติ การตรวจสอบการทํางานของเจา หนาท่ีฝายปกครองโดยฝายบริหาร เพอ่ื มิใหเจาหนาท่ี
ใชอาํ นาจในทางทมี่ ิชอบดวยกฎหมายและเปนการละเมิดสทิ ธขิ องประชาชน การพิจารณาพพิ ากษาคดี

158

ขององคกรตุลาการโดยยึดหลักกฎหมาย เพ่ืออํานวยความยุติธรรมแกประชาชนเหลาน้ี นับวาเปน
กลไกการคุม ครองสิทธิมนุษยชน แมจะมิไดมคี วามมุงหมายใหเ ปนผลโดยตรงก็ตาม

การดําเนินการขององคกรรัฐ เพื่อคุมครองสิทธิมนุษยชนโดยตรงปรากฏขึ้นพรอมกับการจัดต้ัง
สาํ นักงานคุมครองสทิ ธเิ สรภี าพและผลประโยชนข องประชาชน (สคช.) สังกดั กรมอยั การ

เม่ือ พ.ศ. 2525 ซ่ึงปจจุบันไดเปล่ียนช่อื เปน “สํานักงานคุมครองสิทธิและชวยเหลือทาง
กฎหมายแกประชาชน (สคช.)” แตการดําเนินงานขององคกรมีขอบเขตจํากัด สืบเน่ืองจากกรอบ
อํานาจหนา ท่ขี องพนกั งานอัยการตามกฎหมายตา ง ๆ สว นการดําเนนิ งานขององคก รพัฒนาเอกชนเพ่งิ
มีการกอตัวขึ้นอยางเปนทางการภายหลังเกิดเหตุการณวิปโยค 14 ตุลาคม 2516 และ 6 ตุลาคม2519
องคกรแรกท่ีถูกกอตงั้ เมือ่ พ.ศ. 2519 คอื สหภาพเพื่อสิทธิเสรภี าพของประชาชน และในปเดียวกันน้ัน
ก็มกี ารกอตัง้ “กลมุ ประสานงานศาสนาเพ่อื สังคม” (กศส.) หลงั จากนั้นก็มีการรวมตวั กันของบคุ คลทง้ั
ในรปู องคกรสมาคม มลู นิธิ คณะกรรมการ คณะทํางาน กลมุ ศูนย สถาบนั ตาง ๆ เพ่ือทําหนาที่ในการ
สงเสริมและคุมครองสิทธิเสรีภาพ ตลอดจนสิทธิมนุษยชนในแงตาง ๆ แกประชาชน เชน สิทธิของ
จําเลยหรือสิทธิทางการเมือง เปนตน ผูตองหาในกระบวนการยุติธรรมสิทธิของเกษตรกร สิทธิเด็ก
สทิ ธิสตรี สทิ ธผิ ใู ชแ รงงานและสทิ ธจิ ากการกาํ เนดิ และความเปน มาของสิทธิมนษุ ยชนในตา งประเทศ
และประเทศไทยจนถงึ ปจจบุ ัน สามารถแบง พฒั นาการในเรอ่ื งสิทธิมนุษยชน ไดเปน 3 ระยะ ไดแก

ระยะทหี่ นงึ่ ระยะแหง การเรมิ่ ตน เปน ยคุ ที่สภาพทางสงั คม มีการกดข่ีขมเหง ไมเคารพ
ตอศักดิ์ศรีประจําตัวของมนุษย มีการเอารัดเอาเปรียบแกงแยง และไมมีกฎหมายหรือกฎเกณฑที่
ชัดเจนในการใหห ลกั ประกันเรอ่ื ง สทิ ธิแกป ระชาชน

ระยะที่สอง ระยะแหงการเรียนรู เปนชวงที่ผูคนในสังคมเรียกรองถามหาสิทธิและ
เสรภี าพ มีความขัดแยง ระหวางผูป กครองกับกลุม คนในประเทศ มีการตอสูในระยะน้ี เร่ิมมีกฎหมาย
หรือกลไกในการคุมครองสิทธิมนุษยชน ผูคนเริ่มเรียนรูถึงสิทธิของตนเอง โดยชวงทายของระยะน้ี
ผคู นใหค วามสาํ คัญของสิทธติ นเอง แตอาจละเลย หรือมกี ารละเมดิ สทิ ธแิ ละเสรภี าพของผูอน่ื บา ง

ระยะท่ีสาม ระยะแหง การเคารพสทิ ธิมนุษยชน เปนชวงท่ีประชาชนมีการรวมกลุมกัน

เพื่อเหตผุ ลในการปกปองและพิทักษสิทธิมนุษยชน มีการรณรงคใหตระหนักถึงการเคารพสิทธิของ

ผูอ่ืนการใชอํานาจหรือใชสิทธิ มีการคํานึงถึงสิทธิเสรีภาพของประชาชน การใชสิทธิเสรีภาพของ

ประชาชนเปน ไปอยา งกวางขวาง

159

เร่ืองที่ 2 การคุม ครองตนเองและผอู ืน่
ตามหลักสิทธมิ นุษยชน

หากจะกลา วถงึ การคมุ ครองตนเองและผูอืน่ ตามหลกั สทิ ธมิ นุษยชนคําถาม คือ การคุมครอง
สทิ ธิมนุษยชนควรเร่มิ จากที่ไหน?

หากเราจะหาคําตอบจากกวา งไปหาแคบ ไดแก รัฐบาล สังคม สถานท่ที าํ งาน ครอบครวั และ
ปจเจกบคุ คล

หากเราจะหาคําตอบจากแคบขยายไปกวางก็ตองเริ่มจากปจเจกบุคคล ครอบครัว สถานท่ี
ทาํ งาน สงั คม และรัฐบาล

หมายความวา การสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชนควรเร่ิมตนกับทุก ๆ ภาคสวน
โดยเฉพาะอยางย่งิ การปลกู ฝงมโนธรรมสํานกึ ในแตละปจเจกชน

หลกั การพ้นื ฐานในเรอ่ื งสิทธมิ นุษยชนมีดงั น้ี
1. สิทธมิ นษุ ยชนเปน สิทธติ ามธรรมชาตทิ ่มี มี าตั้งแตเกดิ
2. สิทธมิ นุษยชนเปน สทิ ธิซ่ึงเสมอกนั ของมนุษยทุกคน
3. สิทธมิ นุษยชนเปนสิทธขิ ั้นพ้นื ฐานท่ีไมอ าจโอนใหแกกันได
4. สทิ ธมิ นษุ ยชนเปน สิทธขิ น้ั พน้ื ฐานที่ไมอ าจแบงแยกได

160

จากหลกั การพืน้ ฐานในเรือ่ ง สทิ ธมิ นุษยชน เราจึงมองเหน็ เปา หมายของการดําเนินการเรื่อง
สิทธมิ นษุ ยชนวา เปา หมายน้ันกค็ อื เพื่อใหม วลมนุษยชาตมิ อี ิสรภาพไดร บั ความเปน ธรรมและอาศยั อยู
รว มกันอยา งสันติ

หากมนษุ ยท ุกคนจะไดรบั การคุมครองตามสิทธมิ นุษยชน จะตอ งมีเสรีภาพในชวี ติ เร่ืองใดบา ง
จึงจะไดรับสิทธิตาง ๆ ตามหลักการพ้ืนฐานของสิทธิมนุษยชน เสรีภาพที่มนุษยทุกคนตองไดรับ
เพ่อื ใหไดร บั สิทธติ า ง ๆ ตามหลักการพ้นื ฐานของสทิ ธมิ นษุ ยชน คือ

1. เสรีภาพในการแสดงออก
2. เสรภี าพในความเชอื่
3. เสรีภาพจากความหวาดกลวั และอสิ รภาพทพี่ ึงปรารถนา

การละเมดิ สทิ ธิมนษุ ยชนในประเทศไทย

ตัวอยาง การละเมดิ สทิ ธมิ นษุ ยชนในประเทศไทยท่เี กดิ ขึ้น เชน
1. การละเมิดสทิ ธมิ นุษยชนจากภาคเอกชน/ประชาชน ไดแก การประทุษรายตอชีวิต

รางกาย เสรภี าพอนามยั ทรัพยส นิ รวมถึงการเอารัดเอาเปรียบอยางไมเปนธรรมจาก
ผูที่มสี ถานภาพทางสงั คมหรือทางเศรษฐกจิ ท่ีดีกวา เปนตน
2. การละเมิดสิทธิมนุษยชนจากภาครัฐ เชน การใชอํานาจท่ไี มเปนธรรมหรือการใช
อํานาจโดยมีทัศนคติเชิงอํานาจนิยม ไมวาจะเปนการละเมิดทางนโยบายของรัฐ
การออกกฎหมาย หรือบริหารราชการท่ีมีผลกระทบตอสิทธิเสรีภาพรวมตลอดถึงวิถี
ชวี ิตของชุมชน เปนตน

แนวทางการคมุ ครองตนเองและผอู น่ื จากการถูกละเมดิ สิทธิมนุษยชน

1. ไมเปนผูก ระทาํ ความรนุ แรงใด ๆ ตอ บคุ คลอน่ื
2. ไมยอมใหบ คุ คลอ่นื กระทําความรุนแรงตอ ตนเอง
3. ไมเ พิกเฉยเมื่อพบเห็นการละเมิดสทิ ธิตอบคุ คลอ่นื ควรแจง เจา หนาทท่ี ่ีเกยี่ วขอ งหรือให

ความชว ยเหลอื ตามสมควรในสว นทีท่ าํ ได
4. มกี ารรวมกลมุ ในภาคประชาชนอยา งเปนระบบ และจัดตงั้ เปน องคก รมูลนิธิ ฯลฯ เพ่ือ

ปกปอ งคุม ครองผูออนแอกวาในสงั คม เพื่อใหเ กดิ พลังในการตรวจสอบเรียกรองใหรัฐ
มกี ารจดั ทํากฎหมายทเ่ี กดิ ประโยชนตอ สวนรวม
5. รณรงคใ หม ีการเหน็ คณุ คา และความสาํ คญั ของการปกปองและสง เสริมสิทธิมนุษยชน

161

กิจกรรมท่ี 13
1. ใหศ กึ ษาและสรุปความเปนมาของสิทธิมนษุ ยชนในประเทศไทย

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………….......................................................................

2. ใหหาตัวอยา งการถกู ละเมดิ สทิ ธิมนษุ ยชนกรณบี ุคคลถูกละเมดิ จากเอกชนและ
แนวทางในการแกไข

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………......................................................................

3. ใหหาตัวอยา งการถูกละเมดิ สิทธิมนษุ ยชนกรณบี ุคคลถูกละเมดิ จากภาครฐั และ
แนวทางการแกไข

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………..............................................................................

162

บทที่ 6

การมสี ว นรว มในการปองกันและปราบปรามการทุจริต

สังคมไทยใหความสําคัญกับ เรื่อง คุณธรรม จริยธรรม ความดี ความซื่อสัตย สุจริต
มาตง้ั แตสมัยโบราณถงึ กบั มีคําพงั เพยวา “ซื่อกนิ ไมห มด คดกนิ ไมน าน” ไวส อนลกู หลานมาจนทุกวนั น้ี
และเน่ืองจากเรามีศาสนาเปนท่ียึดเหนี่ยว กาํ กับจิตใจใหต้ังม่ันอยูในความดี ความงาม ความซื่อสัตย
ไมค ดโกงใหผ ูอืน่ เดอื ดรอ น จงึ มีคาํ สอนทีถ่ า ยทอดกันมาหลายช่วั อายคุ น เชน “ทําดีไดดี ทําชั่วไดชัว่ ”
“คนดีตกนํา้ ไมไหล ตกไฟไมไหม” ความเชือ่ เชนนม้ี ีอยูในหมูคนทุกระดับในสังคมตั้งแตพระมหากษัตริย
ขาราชการ และ ไพรฟา ประชาชน มพี ธิ กี รรมทางการปกครองท่ีสะทอนใหเห็นถึงคานิยมในความดีและ
คนดตี องมีความซือ่ สตั ยทยี่ ังคงเช่อื มันอยใู นกลมุ ของขา ราชการระดับสําคัญ ๆ อยูคือ พิธีดื่มน้ําพิพัฒนสัตยา
สาบานตนตอ พระมหากษัตริย และสิง่ ศักดสิ์ ิทธ์ิ ซง่ึ ปจจุบันยังมีใหเ หน็ อยู

อยา งไรก็ตาม กระแสโลภาภิวัตนท่ีกําลังเกิดข้ึนท่ัวโลก รวมทั้งการไหลบาของสังคม
และวัฒนธรรมนานาชาติท่ไี มส ามารถหยุดย้งั ได ประชาชนคนไทยโดยเฉพาะเยาวชนและผูใชแรงงาน
ตา งถูกชกั นาํ ใหหลงใหลการเปน นกั บรโิ ภคนยิ ม วัตถุนิยม ตดิ ยึดอยกู ับความสุขจากเงินทอง ความฟุมเฟอย
ฟุงเฟอ สุรุยสุราย ความมีหนามีตาในสังคม ยกยองคนรวยมากกวาคนดี ไมใหความสําคัญกับ
ครอบครัวและสายใยผกู พนั ในครอบครวั เหมือนเดมิ กลา วกนั วา เดก็ ๆ สมัยนี้จะเลือกไหว เลือกนับถือ
คนรวย คนมีอาํ นาจวาสนา มียศ มีตาํ แหนงมากกวาคนจน คนดีที่เปนผูเฒาผูแกท่ีเปนหลักของชุมชน
เหมือนเดิมแลว ความเอื้อเฟอเผ่ือแผ ความเมตตาอารี ความชวยเหลือเกื้อกูล สมัครสมานสามัคคี
พ่ึงพาอาศัยกันระหวางผูคนในชุมชน เกือบไมมีปรากฏใหเห็นมีการแขงขันชิงดีชิงเดนกันรุนแรง
ท้ังการเรียน การทํางาน การดํารงชีวิตทวีมากข้ึน กอใหเกิดการทุจริต เลนพรรคเลนพวก อยาง
กวา งขวาง แพรหลายไปทกุ ระดบั ทกุ วงการ

พฤติกรรมท่ีทุจริตไมถูกตองบางครั้งมองเปนเร่ืองท่ีเปนประโยชนแกบานเมืองและ
ไดรับการยกยอง เชน ผูมีอํานาจออกกฎหมายหรือจัดทําโครงการที่เปนประโยชนแกสังคม
ประเทศชาติ แตเ บื้องหลังมีพฤติกรรมท่ีแอบซอนผลประโยชนใหตนเอง ญาตพิ ่ีนอง หรือครอบครัว
หรือพรรคพวกมากกวา ที่เรียกกันวา มีผลประโยชนทับซอน มองผิวเผินเปนเร่ืองท่ีดียอมรับไดแต
จริง ๆ แลวเปนการทุจริต ประพฤติมิชอบท่ีบานเมืองประสบความเสียหายอยางยิ่ง มีการเปดเผย
ผลการศกึ ษาขององคก รความโปรงใสระหวางประเทศในป 2555 วา ประเทศไทยมีการทุจริตโกงกิน
เปนอันดับท่ี 88 จากการสํารวจ 176 ประเทศทั่วโลก โดยหลนมาจากอันดับท่ี 80 ในการจัดลําดับ
ครั้งกอน ติดกลุมเดียวกับประเทศดอยพัฒนาในแอฟริกา เชน มาลาวี มอร็อคโก แซมเบีย และ
สวาซีแลนด และเช่ือวาอนั ดับการทุจรติ คอรรัปชนั่ ระดบั โลกของไทยจะหลน ลงตอ ไปอีกอยางตอเนื่อง
สวนผลการสํารวจความเหน็ คนไทยท่ัวประเทศของสํานักโพลลห ลายแหง ในป พ.ศ. 2555 พบขอมูลท่ี

163

นาตกใจอยางย่ิงในทํานองเดียวกัน คือ ประชาชนกวารอยละ 79 - 58 ยอมรับไดถารัฐบาลทุจริต
คอรรัปชนั่ แตข อใหตนเองไดป ระโยชนดว ย ทง้ั น้ี ประชาชนดงั กลา วเนน กลมุ เดก็ และเยาวชนมากที่สดุ
รองลงมา คือ กลุมนักเรียน นักศึกษา พอคานักธุรกิจ พนักงานบริษัทเอกชน เกษตรกร ขาราชการ
พนักงานรฐั วิสาหกจิ และกลมุ แมบานเกษียณอายรุ าชการ ตามลําดับ

ผลการสาํ รวจวิจยั ดังกลาวนี้ จะเห็นไดวา คานิยมในความดีในปจจุบันเปล่ียนไปมาก
เปน คานยิ มทมี่ ีใหเห็นในทกุ แหงของสังคมไทย ตง้ั แตในครอบครัว ในชุมชนรา นคา ในหมูนักการเมือง
ขาราชการ แมกระทั่งในหองเรียนและสถานศึกษา จะเปนปญหาสังคมท่ีหย่ังรากลึกลงไปทุกทีใน
สงั คมไทย ฉะน้นั จงึ เปน เร่ืองทเ่ี ราจะตองรเู ทาทนั มจี ิตสํานกึ และมีสวนรวมที่จะชวยกันปองกันแกไข
ขจัดปญหาทุจริตคอรรัปชั่นเหลาน้ีใหหมดไป ตามแนวทางท่ีสํานักงานปองกันและปราบปราม
การทจุ ริตแหงชาติ (ป.ป.ช.) ไดกําหนดเปนมาตรการในการแกไขปญหาในภาพรวมท่ีเนนการมีสวนรวม
ของประชาชนในการปอ งกนั และปราบปรามการทุจริต ซึง่ หมายถงึ การใหประชาชนเขาไปมีบทบาท
ในฐานะที่เปนสวนหน่ึงของผูดําเนินการดวย โดยการวางระบบใหประชาชนกลาคิดกลาทําในส่ิงที่
ถกู ตอ ง กลาตดั สินใจในกรอบของการเคารพสทิ ธ์ขิ องผูอ ่นื และสงเสริมใหทาํ งานเปนรูปแบบเครือขาย
เช่ือมโยงกันทั้งระดับบุคคลและระดับองคกรโดยมีฐานะเทาเทียมกัน ถักทอรอยเรียงกันดวย
วตั ถุประสงคเดียวกนั เพ่อื เพมิ่ พลงั และความมน่ั ใจในการมสี ว นรว มของประชาชนในการปองกันและ
ปราบปรามการทุจริตใหหมดไป มาตรการดงั กลาวพอสรปุ ได ดังนี้
1. วธิ สี รา งความตระหนักใหประชาชนมสี วนรวมในการตอ ตานการทจุ รติ

การใหป ระชาชนมสี วนรวมกับสํานักงาน ป.ป.ช. ในการตอตานการทุจริตโดยวิธีการ
สรางความตระหนกั อาจพิจารณาไดดังน้ี

1.1 ปลูกจติ สาํ นกึ คานยิ ม คณุ ธรรมจริยธรรมและสรางวินัยแกทุกภาคสวน โดยการ
สงเสริมการดําเนินชีวติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง สงเสริมการปฏิบตั ิตามหลักคุณธรรม
จรยิ ธรรมและวินัย ใชการศึกษาเปน เครอ่ื งมอื ในการปอ งกันเสรมิ สรางความรู ทกั ษะ ทศั นคติ ปลูกฝง
จิตสํานึกใหนักเรียน นักศึกษา เยาวชน และประชาชนอยางตอเน่ือง รวมทั้งผลักดันคานิยม
การปอ งกันการทจุ ริต ความซอื่ สัตยสจุ รติ รังเกียจการทุจรติ เปนคานยิ มแหง ชาติ

1.2 รวมมือในการสรา งการมสี ว นรว มและเครอื ขา ยปองกันและปราบปรามการทุจริต
ในทุกภาคสว นโดย

1) การประชาสัมพันธตอตา นการทจุ รติ ประพฤติมชิ อบทกุ รปู แบบ
2) เสรมิ สรา งกระบวนการมสี ว นรวมของประชาชนทกุ ภาคสว น
3) เสรมิ สรา งความเขม แข็งของเครือขา ยใหมขี วญั และกาํ ลังใจในการทาํ งาน

164

1.3 สง เสริมความเปน อสิ ระ และสรางประสิทธิภาพใหแกองคกรท่ีมีหนาที่ตรวจสอบ
การทุจริต โดยเฉพาะสํานักงาน ป.ป.ช. ใหปราศจากการแทรกแซงของอิทธิพลจากภาคการเมือง
ภาคราชการ และภาคธุรกิจ และถวงดลุ อาํ นาจภาครฐั ทเ่ี กย่ี วของทกุ ระดับ เปดโอกาสใหประชาชนเขาถึง
ขอ เทจ็ จรงิ อยางทันการณ

1.4 สงเสริมการสรางมาตรฐาน จรรยาบรรณวิชาชีพแกบุคลากรของหนวยงาน ท่ีมี
หนาท่ีตรวจสอบการทุจรติ รวมท้ังการเสริมสรางความรูทักษะและจริยธรรมแกบุคลากร รวมท้ัง
เสริมสรางขวัญกําลังใจและการบริหารงานบุคลากร การสรางความรวมมือดานวิชาการกับองคกร
ตา งประเทศดวย

2. สรา งความเขาใจท่ีถกู ตอ งใหก ับประชาชนและหนวยงานเครอื ขายเก่ยี วกบั กฎหมายท่เี กี่ยวของ
ในการปอ งกันและปราบปรามการทจุ ริต

คณะกรรมการ ป.ป.ช. ตองรับเปน หนาท่ีในการดําเนินงานรวมกับหนว ยงานเครือขาย
ในการสงเสริมใหประชาชนชาวไทยมีความรู ความเขา ใจที่ถูกตองในเรื่องกฎหมาย ระเบียบ และ
มาตรการตา ง ๆ ทจ่ี ะเปนประโยชนในการรวมมือกนั ปองกันพฤติกรรมการทุจริตคอรรัปช่ันรูปแบบ
ตาง ๆ ตามท่ีกําหนดไวในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย กําหนดใหรัฐตองมีหนาที่สงเสริม
สนับสนนุ การมสี ว นรว มของประชาชนในการตรวจสอบการใชอํานาจรัฐทุกระดับ ในรูปแบบองคกร
ทางวิชาชพี โดยเฉพาะขอ กฎหมายท่เี กี่ยวขอ งในการปฏิบัตงิ าน เพอื่ ปองกนั ปญหาการทจุ รติ คอรรปั ชน่ั
ท่ีผูปฏิบัติงานและเครือขายภาคประชาชนควรทราบ เชน รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2550 มาตรา 87 (3) ที่กําหนดใหมีการสงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมของ
ประชาชนในการตรวจสอบการใชอํานาจรัฐทุกระดับ และพระราชบญั ญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนูญวาดว ย
การปองกันและปราบปรามการทุจริต พุทธศกั ราช 2542 (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2554 มาตรา 19 (13)
วาดวยการเสรมิ สรางทศั นคติและคานยิ มเกี่ยวกบั ความซื่อสัตยสุจริต รวมทั้งดําเนินการใหประชาชน
หรือกลมุ บคุ คลมสี ว นรว มในการปองกันและปราบปรามการทุจรติ ทัง้ นี้ มรี ายละเอยี ดทส่ี ามารถศกึ ษา
คน ควาไดจาก www.nacc.go.th (เว็บไซตของ ป.ป.ช.)

3. การกระตนุ จติ สาํ นึกการมีสว นรวมในการปอ งกันและปราบปรามการทจุ ริต
เพ่ือใหผเู รียนเกิด ความเขาใจ ตระหนัก และมีจิตสํานึกในการมีสวนรวมท่ีจะปองกัน

การทุจริตประพฤติมิชอบในชุมชน และสังคม หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา
ขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จงึ ไดก าํ หนดแนวทางการเรียนรู ในรูปแบบกรณีศึกษา ใหผูเรียนไดฝก
ทักษะการคิด วิเคราะห การมีสวนรวมในการแกปญหาการทุจรติ รูปแบบตาง ๆ ดวยเจตนาที่จะให
ผเู รยี นสามารถนาํ ไปเปน แนวทางในการปฏิบัติ เพื่อประโยชนตอ ตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคม

165

จนเกิดการพฒั นาจติ สาํ นกึ ในการปอ งกนั และปราบปรามการทุจรติ ได กิจกรรมทั้งหมด ประกอบดวย
6 กรณีศึกษา ไดแก

1. เร่ือง “เศรษฐใี หม” หรือ “แมครวั ”
2. เรื่อง “การตรวจรบั สงเดช”
3. เรอื่ ง “เรือ่ งเลา ของโดเรมอนที่ยังไมเ คยเลา”
4. เรื่อง “สายนําจบั เท็จ”
5. เรื่อง “อะไรอยใู นกลอ งไม”
6. เรอื่ ง “รถปลูกสะระแหน”

ทั้งนี้ผเู รียนและผูสอนจะตอ งรวมมอื กนั นําขอมลู ทั้งดาน วชิ าการ ระเบียบ กฎหมาย
ทไ่ี ดม กี ารสรุปรวบรวมไวในเอกสาร คูมือการจดั กิจกรรมการเรยี นรู เรื่อง การมีสว นรวมของประชาชน
ในการปองกนั และปราบปรามการทจุ ริต รวมกบั ขอ มูลปญหาความตอ งการสภาพแวดลอม ของชุมชน
ทองถ่นิ และคณุ ธรรมจรยิ ธรรม ท่ีตนเองมอี ยมู าตดั สนิ ใจแกป ญหาตา ง ๆ ใหล ลุ วงไปไดอยางเหมาะสม
ตอ ไป

166

กรณศี กึ ษาเรือ่ งที่ 1
เร่ือง “เศรษฐีใหม” หรือ “แมครวั ”
วตั ถปุ ระสงค
1. ระบปุ ญ หาการทจุ รติ จากการใชอํานาจหนาทใี่ นทางทไี่ มถ กู ตอ ง
2. บอกคณุ ธรรมในการปฏบิ ัติงานได
3. เกิดจติ สํานึกในการปองการการทจุ ริต
เนอื้ หาสาระ
1. คณุ ธรรมในการทํางานเพ่อื ปองกนั หรอื หลีกเลยี่ งการทจุ ริต
2. สาํ นกึ ดานความซือ่ สตั ยตอ การปฏบิ ัตงิ าน

กรณีศึกษา
เจาหนาท่ี ป.ป.ช. ช่ือ คุณสืบ ไดไปตรวจดูบัญชีท่ี ป.ป.ช. จัดไวใหประชาชนเขามา

ตรวจสอบ บญั ชที รัพยส ินของนักการเมอื งทแ่ี สดงตอ ป.ป.ช. คุณสืบเปดดบู ญั ชตี าง ๆ ของนักการเมืองพบวา
หุนของนักการเมอื ง ระดับหัวหนา พรรครายหน่ึงในบริษัทยักษใหญที่เปนของนักการเมืองผูน้ันเอง ทําไม
จึงมีหนุ อยูไมมาก แตผ ถู ือหุนรายใหญของบริษัท คือ คุณสมศรี ซึ่งเปนแมครัวบานนักการเมืองใหญ
รายนั้น คุณสบื เรมิ่ ไดเ คาของการถือหนุ แทนนกั การเมือง จงึ ไดทาํ การปลอมตัวเขาไปเพื่อหาหลักฐาน
และพบวา คุณสมศรี เปน ผูถือหนุ รายใหญข องบรษิ ัทนักการเมอื งทค่ี ณุ สมศรเี ปนแมครัว

ประเดน็
1. จากเนื้อหาเรื่อง “เศรษฐีใหม” หรือ “แมครัว” การกระทําของนางสมศรีขัดตอ

กฎหมายวาดว ยการปองกนั และปราบปรามการทุจรติ หรือไม เพราะเหตใุ ด
2. จากเนื้อหาเรอ่ื ง “เศรษฐใี หม” หรอื “แมค รวั ” การกระทําของนายจา งของนางสมศรี

สะทอนถงึ การขัดตอ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม อยา งไร

ใบความรู
- เรอ่ื งความซือ่ ตรงกับความซ่อื สตั ย

167

ใบงาน
1. ใหผ เู รียนศกึ ษากรณศี กึ ษา
2. แบงกลุมอภิปรายตามประเด็นที่กาํ หนด
3. ใหต ัวแทนกลุมออกมานาํ เสนอผลของการอภปิ รายกลุม
4. ใหผูสอนและผเู รียนรวมกนั สรปุ แนวคดิ ท่ไี ดจ ากผลการอภิปรายกลมุ
5. ใหผ เู รียนรว มกันวางแผนและจัดทํากจิ กรรมการเรียนรูต อ เนื่องพรอมสรุปรายงานผล

กิจกรรมเรียนรูตอเนือ่ ง
ผูเรียนรวมกันจัดทํากิจกรรม/โครงการ เพื่อสงเสริมการปองกันและปราบปราม

การทจุ รติ พรอ มจัดทาํ สรปุ รายงานผล เสนอผสู อน

สือ่ และแหลง การเรียนรู
- Internet
- ส่อื สง่ิ พิมพ/ วารสาร/หนงั สอื พมิ พ

168

กรณศี ึกษาเรือ่ งที่ 1
เรอ่ื ง “เศรษฐใี หม” หรือ “แมค รวั ”

กฎหมาย ป.ป.ช. กาํ หนดใหนักการเมืองตั้งแต นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี ส.ส. ส.ว.
รวมทง้ั เจาหนา ทขี่ องรฐั ทีม่ ีตาํ แหนง สงู ตอ งย่ืนบญั ชีแสดงรายการทรพั ยส นิ และหน้ีสิน ตอ ป.ป.ช. เม่อื
เขาดํารงตําแหนงและพนจากตําแหนง เพ่ือตรวจสอบวามีทรัพยสินอะไรเพิ่มขึ้นผิดปกติหรือไม
หลังจากยน่ื บญั ชแี ลว ป.ป.ช. ตอ งเปดเผยบัญชฯี ของนกั การเมืองตอสาธารณะ

เจา หนาที่ ป.ป.ช. ช่อื คณุ สืบ ไดไปตรวจดูบญั ชฯี ที่ ป.ป.ช. จัดไวใหประชาชนเขามา
ตรวจสอบ คุณสืบเปดดูบัญชีฯ ตาง ๆ ของนักการเมืองแลวก็มาสะดุดสงสัยและต้ังขอสังเกตวา
หุนของนักการเมืองระดับหัวหนาพรรครายหน่ึงในบริษัทยักษใหญท ี่เปนของนักการเมืองผูนั้นเอง
ทําไมจงึ มีหุน อยูไ มมาก แลว หุนท่ีเหลอื เปน ของใคร

เมอ่ื คณุ สบื ต้ังขอสังเกตแลว จงึ คนหาความจริงโดยคณุ สืบเริ่มจากการไปคนหารายชื่อ
ผูถือหุนในบริษัทยักษใหญดังกลาว จึงพบวามีผูถือหุนรายใหญของบริษัท คือ คุณสมศรี แสดงวา
คุณสมศรตี อ งเปน “เศรษฐีใหม” แน ๆ เพราะไมเ คยไดย ินชอ่ื ติดอนั ดับเศรษฐเี มอื งไทยมากอ น คุณสืบ
จึงไปตรวจสอบจากทะเบียนราษฎรของกระทรวงมหาดไทย ซ่ึงจะมีชื่อของคนไทยทุกคนที่มี
บัตรประจําตัวประชาชนในทะเบียนราษฎรจะมีขอมูลบุคคลวา ชื่อ – สกุลใด เคยเปลี่ยนช่ือ สกุล
อยา งไร อายเุ ทา ใด หนา ตาเปน อยา งไร บดิ ามารดาชอ่ื อะไร พรอมที่อยอู าศัย

คุณสืบ ทราบวา คุณสมศรีน้นั มบี านพักอยูในจดั หวัดภาคอีสาน คุณสืบจงึ เก็บสมั ภาระ
เดินทางไปจังหวัดภาคอีสาน เพ่ือไปหาคุณสมศรี เมื่อไปถึงบานเลขท่ีตามท่ีปรากฏในทะเบียนราษฎร
คุณสืบไดพบกับบานไมเกา ๆ หลังหน่ึง ตั้งอยูนอกเขตอําเภอเมืองเล็กนอย คุณสืบคิดอยูในใจวา
“เศรษฐใี หม” เปน คนสมถะ มีบา นหลังเล็ก ๆ พออยูอาศัย ไมฟงุ เฟอ เหมือนเศรษฐีคนอ่ืน จึงไดเขาไป
เคาะประตบู าน ปรากฏวา มคี ณุ ยายคนหนึง่ เดินออกมาเปดประตู คณุ สืบอางวา รูจักกบั คุณสมศรีจะ
มาหาคุณสมศรี ไดรับคําตอบจากคุณยายวาคุณสมศรีไปทํางานอยูกรุงเทพฯ คณุ สืบจึงถามคุณยายวา
คุณสมศรี ทาํ งานทไ่ี หน จะตดิ ตอ ไดอ ยางไร คณุ ยายจึงใหหมายเลขโทรศัพท แตไ มไ ดบ อกวาทํางานทีไ่ หน
เม่อื คุณสืบ ไดร บั แลว ก็ขอลาและขอบคุณคณุ ยายตามมารยาทสงั คมไทย

จากนนั้ คณุ สืบจึงเดินทางกลบั กรงุ เทพฯ และไดโทรศัพทไ ปตามหมายเลขทค่ี ุณยายใหไว
โดยขอพูดกับคุณสมศรี คนรบั สายตอบวา คณุ สมศรไี ปจายกบั ขาวท่ตี ลาด คณุ สืบยงั คิดในใจวา เด๋ียวน้ี
เศรษฐีใหมไ ปจา ยกบั ขา วทตี่ ลาดเอง จงึ ไดบ อกกับคนรบั โทรศัพทวา วันน้คี ุณสมศรอี อกไปจา ยกบั ขาวเอง
เลยหรอื ผูรบั โทรศพั ทจ งึ ตอบวา ไปจายกับขาวทกุ วนั เพราะเปน แมค รวั

169

คณุ สบื เร่มิ ไดเ คาของการถอื หุนแทนนกั การเมือง แตเ พอื่ ความชัดเจนในเรอื่ งนี้ คุณสืบ
จึงไดปลอมตวั ไปทบี่ า นหลงั ดงั กลาว เพ่อื หาขอ มูลใหแ นช ดั วา เปน บา นของนกั การเมอื งเจาของบริษัท
ยักษใ หญจริงหรอื ไม โดยคุณสืบไดหาขอ มลู มากอนวา คุณสมศรีจะไปจา ยกบั ขา วในเวลาบาย ๆ จึงได
วางแผนเขา ไปเวลาประมาณบายสองโมง และจากการท่ีคุณสบื ปลอมตัวเขาไป จึงมีหลักฐานยืนยันไดวา
คณุ สมศรี เปนแมครวั บา นนักการเมอื งใหญรายนจ้ี ริง และเปนคุณสมศรรี ายเดยี วกบั ที่เปนผถู อื หนุ รายใหญ
ของบริษทั นกั การเมืองทคี่ ุณสมศรีเปน แมครัว คณุ สมศรีจงึ เปลย่ี นฐานะใหมจ ากเศรษฐีใหม กลายเปน
แมค รวั ซะแลว

ประเด็น
1.จากกรณีศึกษาเร่ือง “เศรษฐีใหมหรือแมครัว” การกระทําของนางสมศรีขัดตอ

กฎหมายวาดวยการปองกนั และปราบปรามการทุจริตหรอื ไม เพราะเหตใุ ด
2. จากกรณีศึกษาเร่ือง “เศรษฐีใหมหรือแมครัว” การกระทําของนายจางของ

นางสมศรีสะทอนถึงการขัดตอ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม อยา งไร

170

ใบความรู
“ซื่อตรง” กบั “ซื่อสัตย”

ความหมายของคําสองคํา คือ “ซ่ือตรง” กับ “ซ่ือสัตย” ตามพจนานุกรมฉบับ
ราชบัณฑติ ยสถาน ป 2542 ไดก ลา วไว คือ

“ซ่ือตรง” แปลวา ประพฤติตรง ไมเอนเอง ไมคดโกง ใหสังเกตคําวา ประพฤติ
ประพฤติ คอื วาจา และการกระทํา ถา ทางพระ จะหมายถึง วจกี รรม กายกรรม

“ซ่ือสัตย” หมายถึง ประพฤติตรงและจริงใจ ไมคิดคดทรยศ ไมคดโกง และ
ไมห ลอกลวงเหมือนกับคําวา คุณธรรม จริยธรรม คําวา จริยธรรม บอกแตเพียงความประพฤติ คือ
คําพดู และการกระทํา แตถาพดู ถงึ คุณธรรมตองรวมใจดวย

สรุปไดว า ซ่ือตรง คือ ส่ิงทป่ี ระพฤตอิ อกมาใหป รากฏ แลวสังคมตัดสนิ วา ตรงหรือไมตรง
แตถา ซือ่ สัตย นอกจากจะประพฤตติ รงแลว ยังตองพัฒนาที่จติ ใจ มคี วามจริงใจดว ย
สุภาษิตสะทอนความซือ่ ตรง

สุภาษิต เรื่อง ความซื่อตรงและความซื่อสัตย ซึ่งความจริงคนไทย ไต ลาว ซ่ึงเปน
คนกลุมเดียวกัน และมีจํานวนกวารอยลานคนยกยอง เร่ือง ความซื่อตรงและความซื่อสัตย มาเปน
ความดอี นั ดบั หน่งึ โดยสุภาษติ โบราณจากสถานทตี่ า ง ๆ มีดังนี้ คอื

กบั ขาวอรอยเพราะเกลือ

(The meal is good, thanks to the salt)

คนดีเพราะซือ่ สตั ย

(A man is good due to his honesty)

สวนดี ตองรูวธิ ปี ลูก ซื่อ กนิ ไมหมด
ลกู ดี ตองรูวธิ ีสอน คด กนิ ไมนาน

171

สมัยกอนในปม น้ํามันสามทหาร ทตี่ วั ถงั น้ํามันจะมีปายวา “ซ่ือกินไมหมด คดกินไมนาน”
ซ่ึงเม่ือกอนคําน้ีมีเยอะ แตปจจุบันหายไปที่หายไปไมใช เพราะสามทหารหมดไป แตอาจหายไป
เพราะคนไทยไมเ ชือ่ คา นิยมน้แี ลว คานิยมอาจเปล่ยี นแปลงไปเปน “ซอ่ื ไมม ีกนิ แตคดมีกินจนเหลือกิน”
กเ็ ปน ได แตหากพิจารณาแบบยาว ๆ แลวจะเหน็ วา ซ่ือกินไมห มดหรอก แตค ดกินไมน าน น่ันแหละที่
เปน จรงิ

172

กรณศี ึกษาเรือ่ งท่ี 2
เร่อื ง การตรวจรับสง เดช

วัตถปุ ระสงค
1. บอกคณุ ธรรมในการปฏบิ ตั ิงานได
2. มีสว นรว มในการปองกันการทุจริตในหนวยงาน
3. เกดิ จิตสาํ นกึ ในการปองการการทจุ รติ

เนื้อหาสาระ
1. ชอ งทางการสงเร่อื งรองเรยี นการทุจรติ
2. คุณธรรม จริยธรรม ของผปู ฏบิ ัติงาน

กรณศี ึกษา
จากการไตส วนขอเท็จจรงิ ของ ป.ป.ช. ไดความวา เมื่อป พ.ศ. 2545 องคการบริหาร

สวนตําบลแหงหนึ่ง ไดสอบราคาจางเหมากอสรางอาคารอเนกประสงคคอนกรีตเสริมเหล็ก 2 ช้ัน วงเงิน
1,904,000 บาท โดยมีนาย ก ผูถกู กลาวหา เมอื่ ครง้ั ดํารงตาํ แหนงนายกองคก ารบริหารสว นตําบล เปน
ประธานกรรมการตรวจการจา ง ในการดาํ เนินการกอ สรา งปรากฏวา ผูรับจางกอสรางไมถูกตองตาม
แบบรปู รายการที่องคก ารบริหารสวนตาํ บลกาํ หนดหลายรายการ เปนเหตุใหหัวหนาสวนโยธาในฐานะ
ผูควบคุมงาน ทาํ บันทกึ เสนอผูถูกกลาวหาในฐานะประธานกรรมการตรวจการจาง แจงใหผ ูรับจางแกไขให
ถูกตอง ตอมาผูรับจางไดเขามาดําเนินการแกไขงานแลว แตก็ยังไมถูกตองตามแบบรูปรายการที่
กําหนดอีก หัวหนาสวนโยธาในฐานะผูควบคุมงานและคณะกรรมการตรวจการจาง จึงไดมีบันทึก
เสนอผูถกู กลา วหาอกี ครง้ั เพื่อแจงใหผูรบั จางดําเนินการแกไขโดยดวน แตปรากฏวาผูถกู กลา วหาไดมี
คาํ สง่ั อนุมัติเบกิ จา ยเงินใหแกผ รู บั จา งทาํ ใหองคก ารบริหารสวนตําบลตองเบิกจายเงินคาจางกอสราง
ใหแ กผ รู ับจา งไปโดยท่ีงานยังไมเสร็จสมบูรณเ ปนเหตุใหท างราชการไดร ับความเสียหาย

173

ประเด็น
จากกรณีศึกษา เร่ือง ตรวจรับสงเดช นายก อบต. กระทําความผิดในเร่ืองใด และ

สงผลตอ คณุ ธรรมในการบรหิ ารงานอยางไร

ใบความรู
- ชอ งทางการสง เรื่องรองเรียนการทจุ ริต

ใบงาน
1. ใหผูเรียนศกึ ษากรณีศกึ ษา
2. แบงกลมุ อภปิ รายแสดงความคิดเหน็ ตามประเด็นทีก่ ําหนดให
3. ใหผ สู อนและผูเ รยี นสรุปแนวคดิ ทไี่ ดจ ากการอภปิ รายกลุมรว มกนั

กจิ กรรมการเรยี นรูอ ยา งตอ เน่ือง
- ใหผเู รียนรวมกนั จัดทํากิจกรรม/โครงการในการรณรงคการปองกันและปราบปราม

การทจุ ริตในชมุ ชน พรอ มจัดทําสรปุ รายงานเสนอผูสอน

สอื่ /แหลง คน ควา
- หนังสือพมิ พ/ วารสาร
- ส่ือ Internet
- สํานักงาน ป.ป.ช.

174

ใบความรู
ชองทางการสงเรอื่ งรอ งเรยี นการทจุ ริต

หากพบเห็นเจาหนาท่ีของรัฐกระทําความผิดทุจริตตอหนาที่ กระทําความผิดตอ
ตาํ แหนง หนา ท่ี หรอื กระทาํ ความผดิ ตอ ตําแหนงหนา ท่ใี นความยุติธรรม รํ่ารวยผิดปกติ หรือมีทรัพยสิน
เพม่ิ ขึน้ ผิดปกติ สามารถทําหนงั สือรองเรยี นตอ สํานักงาน ป.ป.ช. ตามหลักเกณฑต อไปน้ี

1. มีหนังสือ “เรียน เลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช.” หรือ “ตู ปณ. 100 เขตดุสิต
กรุงเทพฯ 10300” หรือเขารองทุกขกลาวโทษตอพนักงานสอบสวน ณ สถานีตํารวจในเขตอํานาจ
สอบสวน โดยพนกั งานสอบสวนจะสง เรื่องไปยงั สาํ นักงาน ป.ป.ช. เพ่ือดําเนินการตอ ไป

2. ใหมีรายละเอียดการรองเรียน ดงั น้ี

(1) ชอ่ื – สกุล ท่อี ยู และหมายเลขโทรศัพทของผกู ลาวหา
(2) ชือ่ – สกลุ ตาํ แหนง สังกดั ของผูถกู กลา วหา (ตอ งเปน เจา หนาทีข่ องรัฐ หรือ พน จากตําแหนง ไมเกิน 5 ป)
(3) ระบขุ อ กลา วหาการกระทําความผิดฐานทุจริตตอ หนา ที่ การกระทําความผิดตอตําแหนงหนาที่ราชการหรือ
ตําแหนงหนา ที่ในการยตุ ิธรรม ราํ่ รวยจนผดิ ปกติ หรือมที รัพยสนิ เพิม่ ข้นึ ผิดปกติ
(4) บรรยายการกระทาํ ความผดิ อยา งละเอยี ดตามหัวขอ ดังน้ี

- กรณีกลาวหากระทําความผิดฐานทุจรติ ตอหนาท่ีกระทําความผิดตอตําแหนงหนาท่ีราชการ หรือ
กระทําความผดิ ตอ ตําแหนง หนาทใี่ นการยุตธิ รรม

ก. การกระทาํ ความผิดเกดิ ข้ึนเมื่อใด
ข. มขี น้ั ตอนหรอื รายละเอียดการกระทาํ ความผดิ อยางไร
ค. มีพยานบคุ คลรูเห็นเหตกุ ารณห รือไม
ง. ในเรื่องนี้ไดรองเรียนตอหนวยงานใด หรือยื่นฟองตอ ศาลใด เมื่อใด และผลเปนประการใด
- กรณกี ลาวหาวารํ่ารวยผิดปกตหิ รือมีทรัพยส นิ เพ่ิมขนึ้ ผิดปกติ
ก. ฐานะเดมิ ของผูกลาวหาและภริยาหรือสามี รวมทงั้ บิดามารดาของทงั้ สองฝายเปนอยา งไร
ข. ผูถกู กลาวหา และภรยิ าหรอื สามี มอี าชีพอ่ืน ๆ หรอื ไม ถา มอี าชีพอ่ืนแลวมรี ายไดมากนอ ยเพยี งใด
ค. ทรัพยส นิ ทจ่ี ะแสดงใหเ ห็นวาร่าํ รวยผดิ ปกติฯ อะไรบาง

175

3. ลงลายมือชื่อ และเขียนช่ือ – สกุล ดวยตัวบรรจง พรอมแจงท่ีอยขู องผูกลาวหาใหชัดเจน
หากตองการใหสํานักงาน ป.ป.ช. ปกปดช่ือ – สกุล และที่อยูใหระบุชัดเจนดวย สวนกรณีที่ไมเปดเผย
ชื่อ – สกุลจรงิ ถือวาเปน บัตรสนเทห ใหสงแบบไปรษณยี ตอบรับ (เพอ่ื จะไดรบั ทราบวา หนงั สือรองเรียน
สงถึง ป.ป.ช. แลว) เพราะสํานักงาน ป.ป.ช. จะติดตอกับผูรองเรียนโดยตรงกับผูรองเรียนที่แจง
ชื่อ – สกลุ และทอี่ ยเู ทา นัน้

4. สายดวน Call Center 1205
5. สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัด มีอํานาจหนาที่ในการสงเสริมการปองกันและปราบปราม
การทุจริต โดยประสานความรวมมือกับประชาชนและสวนราชการเพื่อเผยแพรความรูแกประชาชน
การเสริมสรางทัศนคติและคานิยมในความซ่ือสัตยสุจริต การสงเสริมใหประชาชนหรือกลุมบคุ คล
ทุกภาคสวนเขามามีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามการทุจริต รวมท้ังการเสนอมาตรการ
ความเห็นหรือขอเสนอแนะตอคณะกรรมการ ป.ป.ช. เพื่อประโยชนในการปองกันและปราบปราม
การทุจรติ นอกจากน้กี รรมการปองกนั และปราบปรามการทุจริตประจําจังหวัด ยังไดแบงเบาภาระงาน
ของคณะกรรมการ ป.ป.ช. เชน การตรวจสอบขอเท็จจรงิ เพ่ือเสนอคณะกรรมการ ป.ป.ช. พจิ ารณาตอไป
การตรวจสอบความถูกตองและความมีอยูจริง รวมทั้งความเปลี่ยนแปลงของทรัพยสินและหนี้สินที่
ผูม ีหนา ท่ยี น่ื บญั ชีไดย่ืนตอคณะกรรมการ ป.ป.ช. ท้ังน้ี การดําเนินการดังกลาว คณะกรรมการ ป.ป.ช.
จะเปนผกู ําหนดหลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารใหก รรมการ ป.ป.ช. ประจําจังหวัดดาํ เนนิ การ

อนง่ึ กรรมการ ป.ป.ช. ประจําจงั หวดั มีหนาท่ีย่นื บัญชแี สดงรายการทรัพยส ินและหนี้สิน
ตอ คณะกรรมการ ป.ป.ช. และอาจถูกตรวจสอบโดยประชาชนได กลาวคือ ประชาชนผูมีสิทธ์ิเลือกต้ัง
จาํ นวนไมนอยกวาหาพันคน สามารถเขาชื่อรองเรียนขอตอคณะกรรมการ ป.ป.ช วากรรมการปองกัน
และปราบปรามการทุจริตประจําจงั หวัด ผใู ดขาดความเท่ียงธรรม จงใจฝา ฝนรัฐธรรมนูญ หรอื กฎหมาย
หรือมีพฤติการณท่ีเปนการเสื่อมเสียแกเกียรติศักด์ิของการดํารงตําแหนงอยางรายแรง ซ่ึงหากมี
การกลาวหาดงั กลาวแลว คณะกรรมการ ป.ป.ช. อาจกําหนดใหกรรมการ ป.ป.ช. ประจําจังหวัดผูนั้น
ยตุ กิ ารปฏิบัติหนาที่ไวก อ นกไ็ ด

176

กรณศี กึ ษาเรือ่ งที่ 3
เรอื่ งเลา ของโดเรมอนทยี่ งั ไมเคยเลา
วัตถุประสงค
1. บอกแนวทางในการเสรมิ สรางคุณธรรมได
2. ใชค ณุ ธรรมในการปฏิบตั ติ นปอ งกันการทุจริตได
3. เกดิ จติ สาํ นึกในการปอ งการการทจุ รติ
เนอ้ื หาสาระ
1. คุณธรรมในการทํางานเพ่ือปองกนั หรอื หลกี เลยี่ งการทจุ ริต
2. การมสี วนรวมของประชาชน

กรณีศกึ ษา
โนบิตะและเพ่ือน ๆ ไดใชของวิเศษของโดเรมอนในการสรางประเทศใหมใน

โลกอนาคตและไดอาสาเปนนักการเมืองฝายบริหาร ไจแอนท เปนเจาหนาท่ีของรัฐ ซูเนะโอะ เปน
บริษทั เอกชน สวนชิซกู ะ เปนฝายตรวจสอบ โดเรมอน เปนฝายสนับสนุนในทุก ๆ เรื่อง ในประเทศ
ของโลกใหม มีการบริหารกิจการบานเมืองเหมือนโลกมนุษย มีการเก็บภาษี เพ่ือนําไปสราง
สาธารณูปโภค ไฟฟา นํา้ ประปา ถนนหนทาง โรงพยาบาล โรงเรียน เวลาผานไป โนบิตะ กลายเปน
นักการเมืองที่ลงทุนทาํ การซื้อเสียง เพื่อใหป ระชากรเลอื กตนเองมาบรหิ ารประเทศ เม่อื ไดอํานาจรัฐก็
จับมอื กับไจแอน ททเ่ี ปน เจา หนา ทร่ี ัฐออกนโยบายตาง ๆ เอื้อประโยชนใหกับซูเนะโอะที่เปนนักธุรกิจ
และมีผลประโยชนรวมกัน เรียกการกระทําของคนทั้งสามวา “การทุจริตเชิงนโยบาย” สวน ชิชูกะ
ทําอะไรสามคนนัน้ ไมไดเ ลย เพราะถกู จํากดั ทงั้ บทบาทและอาํ นาจหนา ที่

ประเด็น
จากเนือ้ หาเรื่อง “เร่ืองเลาของโดเรมอ นทย่ี งั ไมเ คยเลา ” หากผูเ รียนเปนโนบิตะซึ่งเปน

ผูบริหารประเทศ ผูเรียนจะทาํ การบริหารประเทศอยางไร เพื่อใหประชากรในประเทศสามารถอยู
รว มกันไดอ ยางมีความสุข

177

ใบงาน

1. ใหผเู รยี นศึกษากรณีศกึ ษา
2. แบงกลมุ อภปิ รายแสดงความคิดเห็นตามประเดน็ ท่ีกําหนดให
3. ใหผ สู อนและผเู รยี นรว มกันศึกษาหาขอมลู ประกอบการอภปิ รายหาเหตผุ ล
4. ใหผ ูสอนและผเู รยี นสรุปแนวคดิ ทีไ่ ดจากการอภปิ รายรว มกัน
5. ใหผ ูเ รียนรว มทาํ กจิ กรรมการเรียนรตู อเนอ่ื งพรอ มสรุปรายงานผล

กจิ กรรมการเรียนรตู อเนอ่ื ง
ใหผูเรียนรว มกันจดั ทํากิจกรรม/โครงการในการปองกันและปราบปรามการทุจริตใน

ชุมชน พรอมจัดทาํ สรปุ รายงานเสนอผูสอน

สอ่ื และแหลงการเรยี นรู
- Internet
- บทความตาง ๆ
- หนงั สือพมิ พ

178

กรณศี กึ ษาเรื่องที่ 3
เรอื่ งเลาของโดเรมอนทย่ี ังไมเ คยเลา

ถาพูดถึงการตูนท่ีเปนท่ีรูจักของผูคนมากมายบนโลกนี้ คงไมมีใครท่ีไมรูจักเจาแมว
หุนยนตท ชี่ ่อื วา “โดเรมอ น” ซึง่ เปน การต นู ท่ลี ูกของผมชอบมาก ตองดูกอ นนอนทกุ คนื และดวยเหตุนี้
จึงทาํ ใหผมรบั รเู ร่ืองราวของโดเรมอนไปโดยปริยายแบบไมทนั ต้ังตวั

กอนนอนในคืนหน่ึงลูกของผมก็ยงั คงดูโดเรมอนเหมอื นเชนเคย ในคืนฝนตกฟารอง
โครมคราม ผมหนังอานหนังสือเก่ยี วกับการทุจรติ เชิงนโยบายไปพราง ๆ เพราะเรอ่ื งนก้ี าํ ลังฮติ แตห ูก็

ไดยินเรื่องทก่ี ําลังฉายอยูจับใจความไดคราว ๆ วา โนบิตะไดคะแนนสอบเทากับศูนย คุณครูฝาก
กระดาษคําตอบทไ่ี ดคะแนนไปใหคุณแมดู ระหวางเดนิ ทางกลบั บานพรอ มไจแอนท ซูเนโอะ และซิชูกะ

โนบติ ะก็มีความคิดวาจะเก็บกระดาษคาํ ถามไปซอนในโลกอนาคต ซ่งึ เพอ่ื น ๆ ทุกคนเห็นดดี วย จึงได
ไปปรกึ ษา (เชงิ บังคับ) กับโดเรมอน แลวไฟฟาก็เกิดดับขึ้นมากะทันหันท้ังบาน เม่ือไมมีอะไรดู ลูกก็

อา งวา นอนไมหลับ รบเราใหผ มเลาเรอื่ งโดเรมอนทก่ี ําลังฉายอยกู อนไฟดบั ใหจ บ ผมจึงแตงเร่ืองตอ ไป
เลยวา เร่ืองมีอยูวา เม่ือโดเรมอนไดรับคําปรึกษาแกมบังคับก็เสนอใหทุกคนเขาประตูกาลเวลา

นั่งไทมแมชชีนไปสูโลกอนาคต ซึ่งเปนดาวดวงหน่ึงท่ีมีสภาพแวดลอมคลายโลก แตกตางตรงไมมี
ส่ิงมีชีวิตอยูเลย เม่ือไปถึงทุกคนเกิดความประทับใจ จึงคิดสรางประเทศขึ้นบนโลกใหมนี้ ตางลง

ความเหน็ วา หัวใจของการอยรู วมกนั คอื การมหี ลักเกณฑ แมบทท่ีทุกคนตองเคารพเพื่อความสงบสุข
ของสังคม ต้ังชื่อหลักเกณฑแมบทนี้วา “รัฐธรรมนูญ” หลักของรัฐธรรมนูญมีอยูไมก่ีประการ

แตประการทส่ี ําคัญท่ีสดุ ทีท่ ุกคนจําข้ึนใจ คอื บคุ คลยอมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษา และเพ่ือ
ไมใหเกิดความสับสนในการสรางโลกใหม โนบิตะรับอาสาเปนนักการเมืองฝายบริหาร ไจแอนทเปน

เจาหนาที่ของรัฐ ซูเนโอะเปนบริษัทเอกชน สวนซิชูกะเปนฝายตรวจสอบ การสรางประเทศใหมของ
ฝา ยตาง ๆ โดเรมอนทําหนา ทส่ี นบั สนุนในทุก ๆ เรื่อง วิธีที่งายและเร็วท่ีสุดก็คือ หยิบของวิเศษออก

จากกระเปาหนาทอ ง ครง้ั นกี้ ห็ ยบิ เคร่ืองถา ยสําเนาประชากรออกมา ปรากฏวาท้ังโนบิตะ และเพื่อน ๆ
ตางเอารูปสงิ สาราสตั วม าเขา เคร่ืองถายสําเนาประชากร ผลออกมาปรากฏวา สิงสาราสัตวเหลานั้น

เมื่อฟกออกจากไขก็เดิน 2 ขา และพดู ไดเ หมือนคน มกี ารขยายเผาพันธุ โดยการใชเครื่องถายสําเนา
ประชากร โดเรมอนกําชับทุกคนวาอยาไปยุงกับปุม Reset ท่ีอยูดานหลังของเคร่ือง มิฉะนั้นจะเกิด

ความหายนะ
ในประเทศของโลกใหมมกี ารบรหิ ารกิจการบา นเมืองเหมือนโลกมนุษย มีการเก็บภาษี

เพือ่ นาํ ไปสรางสาธารณปู โภค ไฟฟา นาํ้ ประปา ถนนหนทาง โรงพยาบาล โรงเรยี น
เวลาผา นไปนิสยั ของแตละคนก็เปล่ยี นไป โนบิตะทเ่ี ปน นกั การเมืองก็ลงทุนทําการซื้อเสียง

เพ่อื ใหป ระชากรเลอื กตนเองมาบรหิ ารประเทศ เมือ่ ไดอํานาจรัฐกจ็ บั มือกบั ไจแอน ททีเ่ ปนเจาหนาที่รัฐ

179

ออกนโยบายตาง ๆ เอื้อประโยชนใหกับซูเนโอะท่ีเปนนักธุรกิจ และมีผลประโยชนรวมกัน เรียกการ
กระทําของคนทั้งสามวา “การทุจริตเชิงนโยบาย” สวนซิชูกะทําอะไรสามคนนั้นไมไดเลย เพราะ
ถูกจํากดั ทัง้ บทบาทและอาํ นาจหนาท่ี

ลูกผมยงั ไมหลบั แทรกคาํ ถามขน้ึ วา “พอครับทําไมเคาไมโ กงกันตรง ๆ เลยละครบั ”
“คอื พวกนักการเมอื งพวกนีเ้ คา กลวั ถูกจบั ไดวา ทุจรติ และเคา ยงั มีจติ สํานกึ อยบู า ง” ผมตอบ
“แลว พวกไมมีจติ สาํ นกึ ละพอ เปน แบบไหน”
“พวกไมมีจิตสํานึกก็พวกเจาหนาที่ของรัฐที่ใชอํานาจหนาท่ีกําหนดหลักเกณฑตาง ๆ เพื่อ
เอือ้ ประโยชนใ หแ กต นเองและพรรคพวกโดยไมส นวาประชากรผเู สยี ภาษีเคาจะคิดยังไง” ผมตอบลูก
ไปใหคลายสงสยั

แลวโลกใบใหมที่โนปตะกับเพื่อน ๆ สรางข้ึนก็มีคนไรจิตสํานึกเพิ่มข้ึนเร่ือย ๆ
ประชากรเกิดการตอตานและนําไปสูความรุนแรง เพราะทนการกระทําของเจาหนาท่ีท่ีไรจิตสํานึก
ไมได โดเรมอนเองทนไมไหวจึงกดปุม Reset เคร่ืองถายสําเนาประชากรแลวทุกอยางก็หายไปใน
พริบตา แลวโดเรมอนพาโนบิตะกับเพื่อน ๆ กลับมาในโลกปจจุบัน จากนั้นโนบิตะก็ตัดสินใจนํา
กระดาษคาํ ตอบของตนกลบั ไปใหแ มตามครูส่งั

“สนุกจังเลยพอ” ผมย้ิมแลวบอกใหลูกเขานอน ลูกหลับไปนานแลว ผมยังไดยินแต
เสยี งเลานิทานของตวั เองอยา งแจมชัดในมโนสํานึกในตอนที่วา

“บุคคลยอมเสมอกันในกฎหมายและไดรับความคุมครองตามกฎหมายเทาเทียมกัน
การเลือกปฏิบัติโดยไมเปนธรรมตอบุคคล เพราะเหตุแหงความแตกตางในเรื่องสถานะของบุคคล
ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม จะกระทาํ มไิ ด บุคคลยอ มมสี ิทธิเสมอกันในการรับการศกึ ษา”

ประเด็น
จากเนื้อหาเรอื่ ง “เรือ่ งเลา ของโดเรมอนท่ยี ังไมเ คยเลา ” หากผูเรียนเปนโนบิตะซึ่งเปน

ผูบริหารประเทศ ผูเรียนจะทาํ การบริหารประเทศอยางไร เพ่ือใหประชากรในประเทศสามารถอยู
รว มกนั ไดอยา งมคี วามสุข

180

กรณศี ึกษาเรอ่ื งท่ี 4
เรือ่ ง สายนาํ จบั เท็จ

วัตถุประสงค
1. อธิบายคณุ ธรรมในการปฏิบัติงานได
2. วเิ คราะหวิธีการปองกันการทจุ ริตในการปฏิบตั ิงานได
3. มีจติ สาํ นกึ ในการปอ งกันปญหาการทุจริต

เนือ้ หาสาระ
1. กฎหมายทเ่ี ก่ียวของกบั การปฏิบตั ิหนาที่
2. คณุ ธรรมในการทํางานเพื่อปองกนั หรือหลีกเลี่ยงการทุจรติ

กรณีศกึ ษา
สายนําจบั หมายถงึ ผูทแี่ จงขอ มูลในการกระทําความผิดตอเจาหนาที่ผูมีอํานาจ เพื่อ

ดําเนินการจับกุมและการมีคดีสายสืบนําจับ...เท็จ หมายถึง ไมมีสายนําจับตัวจริงเปนการสราง
หลกั ฐานเท็จขึ้นมาเปนสายสืบ การจายเงินสนิ บนและเงินรางวัลแกผ ูแจงความนําจับ หรือสายนําจับ
รวมท้ังเจาหนาท่ีท่ีทําการจับกุมส่ิงของลักลอบหนีภาษี โดยเจาหนาที่ผูจับกุมจะไดเงินรางวัล 30%
ของมูลคาสิ่งของทจี่ ับกุมได แตถ า หากมีผแู จงความนาํ จบั หรอื สายแจง ความนําจับตอ เจา หนาที่ สายที่
แจงนําจับกจ็ ะไดเ งนิ สินบน 30% สว นเจา หนา ทีจ่ ะไดเงินรางวัล 25% ของมลู คาส่ิงของท่จี บั กมุ ไดรวม
เปน เงนิ รางวัลที่จะไดเพ่มิ มากขน้ึ เปน 55% (30%+25%) จงึ เปนมลู เหตจุ งู ใจใหจ ัดทาํ หลักฐานใบแจง
ความเท็จขึ้นมา โดยอางวามสี ายแจงความไวท ัง้ ๆ ท่ีเปนการจบั กุมตามหนาท่เี ทา น้ัน

ประเดน็
จากเน้อื หาเรอื่ ง “สายนําจับเท็จ” ผเู รียนเห็นวา เจาพนักงานผูสรางหลักฐานการนํา

จบั เทจ็ ข้ึนมา เพอื่ ผลประโยชนดา นใด และขดตอหลกั คณุ ธรรม จริยธรรมในดา นใด

181

ใบงาน

1. ใหผ ูเรียนศึกษากรณศี ึกษา
2. แบงกลมุ อภปิ รายแสดงความคดิ เหน็ ตามประเดน็ ที่กาํ หนดให
3. ใหผูสอนและผูเรียนรวมกันศกึ ษาหาขอมูลประกอบการอภปิ ราย
4. ใหผ ูส อนและผเู รียนสรปุ แนวคิดทีไ่ ดจากการอภปิ รายรว มกนั
5. ใหผ เู รยี นรวมทาํ กิจกรรมการเรยี นรูต อเนื่อง พรอ มสรุปรายงานผล

กิจกรรมการเรยี นรตู อเนื่อง
ใหผ ูเรียนทํากิจกรรม/โครงการ นําเสนอแนวทางการปอ งกนั การทุจรติ ในสว นราชการ

พรอมจดั ทาํ รายงานเสนอผูส อน

สือ่ และแหลงเรียนรู
1. Internet
2. หนงั สือพิมพ/เอกสารวชิ าการ

182

กรณศี ึกษาเรอ่ื งท่ี 4
เร่อื ง “สายนาํ จับ...เท็จ

ความนํา สายนําจับ หมายถึง ผูท่ีแจงขอมูลในการกระทําความผิดตอเจาหนาที่ผูมี
อํานาจ เพื่อดาํ เนนิ การจับกุม และการมีคดสี ายสบื นําจับ..เท็จ หมายถงึ ไมมสี ายนาํ จับตวั จรงิ เปนการ
สรางหลักฐานเท็จข้นึ มาเปน สายสบื การจายเงนิ สนิ บนและเงนิ รางวัลแกผ ูแจง ความนาํ จบั หรือสายนําจับ
รวมท้ังเจาหนาท่ีที่ทําการจับกุมส่ิงของลักลอบหนีภาษี โดยเจา หนาที่ผูจับกุมจะไดเงินรางวัล 30%
ของมลู คา สิ่งของที่จบั กมุ ได แตถ า หากมีผูแจงความนําจับหรอื สายแจง ความนําจบั ตอ เจาหนา ที่ สายท่ี
แจงความนาํ จบั ก็จะไดเงนิ สินบน 30% สว นเจา หนา ท่ีจะไดเงินรางวัล 25% ของมลู คา ส่ิงของทจี่ ับกมุ ได

คาํ กลา วหา รองเรียนวา เจาหนา ท่ีจดั ทาํ ใบแจงความนาํ จับทองคําแทง เปนเท็จ ทั้ง ๆ ท่ี
เปนการจบั กุมตามอํานาจหนาท่ี มิไดมีสายแจงความนําจับ เพราะเจาหนาท่ีจะไดท้ังเงินสินบนและ
รางวัลเพิ่มขึ้นเปนเงิน 55% (30% + 25%) ของมูลคาส่ิงของท่ีจับได โดยในใบแจงความนําจับระบุ
รายละเอยี ดวาในเวลา 06.00 น. ของวันท่ี 10 สงิ หาคม 2552 มีสายมาแจงความนําจับตอเจาหนาท่ี
ประจําดานชายแดนวาจะมฝี รง่ั นาํ ทองคาํ แทง ผูกมัดดวยผาขาวมาติดกับตัวฝร่ัง รวมทั้งหมด 30 กิโลกรัม
ฝรั่งจะน่ังรถยนตแท็กซ่ี หมายเลขทะเบียน 1234 จะมาถึงดานชายแดน เวลา 10.00 น.ของวันที่
10 สิงหาคม 2552 เรามาดกู ันวาสายที่แจงความนําจับทองคําแทงจํานวน 30 กิโลกรัม จะมีตัวตนจริง
หรอื ไม

มีขอ สังเกตสาํ หรับคดวี า สายท่ีแจงความนําจับจะไมเปดเผยท่ีอยู จะมีเพียง “ลายพิมพ
นว้ิ มอื ” เทา นน้ั การสืบคนไมสามารถคนหาเจาของลายนิ้วมือได จึงตองใชพยานแวดลอม หมายถึง
พยานหลักฐานท่ีจะหักลางไดวา ไมมีสายนําจับจริง ในหลักฐานใบแจงความนําจับทราบวามี
ผูเก่ียวของ คือ ฝร่ังที่ถูกจับกุม คนขับรถแท็กซ่ี หมายเลขทะเบียน 1234 ผูโดยสารในรถแท็กซ่ี
หวั หนา ควิ แท็กซ่ี เจา หนาทที่ ด่ี าํ เนนิ การตรวจคนจับกุม และเจาหนาท่ีผูรับแจงความนําจับ จากการ
สอบปากคาํ บคุ คลดงั กลาวขางตนไดขอเท็จจริงวา ฝรั่งที่ถูกจับช่ือ นายโจ ไดเดินทางโดยรถไฟจาก
กรงุ เทพฯ ถึงหาดใหญ เวลา 07.00 ของวันที่ 10 สิงหาคม 2552 แลวจึงไปทีค่ ิวรถแท็กซี่หมายเลข
ทะเบยี น 1234 ซ่งึ มีนายดีเปน คนขับรถ นอกจากน้นั ยังมีผูโดยสารน่ังไปดวยอีก 2 คน รวมคนขับกับ
ฝรงั่ เปน 4 คน หวั หนาคิวแท็กซใ่ี หก ารวา แท็กซที่ ่คี วิ จะออกตามคิวที่จัดไว เม่ือผูโดยสารเต็มคันก็จะ
ออกทนั ที แลวควิ แท็กซ่ีคันตอไปก็จะเขามาจอดรอรับผูโดยสารตอไป จะไมมีการจองรถแท็กซ่ีคันไหน
ไวก อน เพราะเปนไปตามลําดับท่ีจัดไว เมื่อสายสืบไปท่ีคิวรถก็ไดสอบถามวา ในวันที่ 10 สิงหาคม 2552
มีใครจองรถแท็กซี่หมายเลขทะเบียน 1234 ไวกอนหรือไม ก็ไมปรากฏวามีการจอง เม่ือขอมูลเปน
อยางน้.ี .. ก็หมายความวา กอ นเวลา 7.20 น. ของวนั ท่ี 10 สิงหาคม 2552 ไมมีผูใดทราบไดวา นายโจ

183

จะข้นึ รถแท็กซ่ีคนั ใด หมายเลขทะเบียนใด... การท่สี ายไปแจงความนําจบั ในเวลา 06.00 น. ของวันที่
10 สงิ หาคม 2552 ไมนา จะเปน ไปไดจงึ เปนขอ พริ ธุ ขอ ท่ีหนึ่งแลว

เมื่อรถแทก็ ซี่ หมายเลขทะเบียน 1234 ออกจากอาํ เภอหาดใหญ ถงึ อาํ เภอสะเดา ตอง
ผา นการตรวจจากดานชายแดนทุกคนั กอ นเดนิ ทางออกนอกประเทศ คนขับรถและผูโ ดยสารไดล งจากรถ
เพอ่ื ใหเ จา หนาทต่ี รวจดวู า มีของผดิ กฎหมายลกั ลอบออกนอกประเทศหรอื ไม เจา หนา ทไี่ ดตรวจภายในรถ
และกระโปรงทายรถ แตไ มพ บสิง่ ของผดิ กฎหมาย ขณะทคี่ นขบั รถและผโู ดยสารจะเขา ไปในรถแท็กซี่
บังเอิญทีค่ นขบั รถไปชนที่ตัวของนายโจผูโดยสาร จงึ รูส ึกวา มขี องแข็งท่ีบริเวณลําตัวนายโจ จึงไปแจง
ใหเจาหนาท่ีตรวจคนตว นายโจ จึงไดพบทองคําแทงผูกติดมากับตัวนายโจ เจาหนาท่ีจึงไดทําการ
จับกุมนายโจ และเจาหนาที่ที่รับแจงความนําจับซ่ึงเปนผูถูกกลาวหายอมทราบขอมูลดีวาจะมี
การลักลอบนําทองคําแทงออกนอกประเทศกลับไมอยูในท่ีเกิดเหตุ กลับไปน่ังดื่มกาแฟในที่ทําการ
ชัน้ บน

ประเดน็ ใหผูเรียนศึกษาเรอ่ื ง “สายนาํ จบั เท็จ” แลว ผูเ รยี นเหน็ วา เจาพนักงานผสู รา งหลกั ฐาน
การนําจับเท็จขึ้นมาเพ่อื ผลประโยชนดานใด และขดั ตอหลักคณุ ธรรม จรยิ ธรรมในดา นใด

184

กรณศี กึ ษาเร่อื งที่ 5
เร่อื ง อะไรอยใู นกลอ งไม

วัตถปุ ระสงค
1. ระบุปญหาการทุจริตจากการใชอํานาจหนา ท่ีในทางทไี่ มถูกตอ ง
2. บอกคณุ ธรรมในการปฏิบัตติ น เพอ่ื การปอ งกันการทุจริตได
3. เกดิ จิตสาํ นกึ ในการปอ งกันการทุจริต

เน้อื หาสาระ
1. ระเบยี บวธิ ีปฏิบตั ิในการนาํ สนิ คา เขาประเทศ
2. คณุ ธรรมในการทาํ งานเพือ่ ปองกัน หรอื หลีกเลีย่ งการทุจริต

กรณีศึกษา
นายเฮียง (นามสมมติ) เปนพอคาผูมีอิทธิพลในวงการธุรกิจและวงการเมือง ไดพา

นักการเมืองและขาราชการช้ันผูใหญ จํานวนประมาณ 12 คน ไปเที่ยงเมืองจีน โดยนายเฮียง เปน
ผอู อกคา ใชจายใหท้งั หมด

ในวันเดินทางกลบั นายเฮยี ง ไดส ําแดงรายการส่ิงของโดยอา งวาเปนของทผี่ ูเดนิ ทางทั้ง
12 คน นําติดตัวเขา มาแจงวาเปน ไมแ กะสลกั ธรรมดา บรรจุใน 4 ลงั ใหญ เปนวิธีการที่นายเฮียง กระทํา
เพอ่ื การลักลอบนาํ สินคามีคา จากเมืองจนี เขาประเทศ และสรางความสนิทสนมคุนเคยและใหส่ิงของ
แกเ จาหนาที่ผูตรวจเปน ประจํา

คราวนี้นายเฮียง นําส่ิงของมาฝากนายเอ (นามสมมติ) เจาหนาท่ีผูตรวจสินคาและ
แจง วา ส่งิ ของเหลานี้เปน ของผูโดยสาร 12 คน ก็เกิดความเกรงใจและยังไดรับของฝากจากนายเฮียง
กย็ งิ่ เกรงใจมากขึ้น จึงไดคํานวณและจัดเก็บภาษีเปนเงิน 1,000 บาท นายเฮียงจึงใชใบเสร็จรับเงิน
คาภาษีดงั กลา วเปนใบเบิกทาง เพื่อขนสงิ่ ของออกจากลานสนามบิน นายดี (นามสมมติ) ท่ีอยูบริเวณ
ดงั กลาวเห็นทา ทางผิดปกตจิ งึ เขาไปสอบถาม นายเฮียงแสดงใบเสร็จรับเงินคาภาษีใหนายดี ตรวจดู
แตนายดี เหน็ วาใบเสร็จรับเงินคาภาษีสําหรับส่ิงของ 4 ลังใหญ ทําไมจึงเสียภาษีเพียง 1,000 บาท
จึงขอกักของไวตรวจสอบ จากการตรวจสอบพบวา 2 ใน 4 ลัง เปน งาชางแกะสลัก สวนอีก 2 ลัง
เปน เคร่ืองลายครามโบราณของแทส มัยราชวงศถัง
ประเด็น

1. การทาํ หนาทขี่ องนาย เอ เปน การทุจริตจากการใชอ าํ นาจหนาทห่ี รือไม เพราะเหตุใด
และมีผลเสียหายอยา งไร

2. การปฏิบัตติ นของ นายดี สอดคลองกบั หลกั คณุ ธรรมใด เพราะอะไร
3. ทานไดร ับประโยชนอะไรบา ง จากกรณศี ึกษาเรอื่ งนี้

185

ใบงาน

1. ใหผูเรยี นศึกษากรณีศึกษา
2. แบงกลมุ อภปิ ราย ตามประเด็นที่กาํ หนด
3. ใหต วั แทนกลมุ ออกมานาํ เสนอผลของการอภปิ รายกลุม
4. ใหผสู อนและผูเ รยี นรวมกนั สรุปแนวคิด ทไ่ี ดจากผลการอภปิ รายกลุม
5. ใหผ ูเรยี นรวมกนั วางแผนและจดั ทาํ กิจกรรมการเรยี นรตู อเน่ือง
พรอ มสรปุ รายงานผล

กิจกรรมการเรียนรูตอ เนื่อง
ผเู รียนรวมกนั จดั ทํากิจกรรม/โครงการ เพ่อื สงเสรมิ การปองกนั และปราบปรามการทุจรติ

พรอ มจดั ทําสรปุ รายงานผลเสนอผสู อน

สื่อและแหลง เรยี นรู
1. สือ่ Internet
2. ผรู ู หรือหนว ยงานเกยี่ วกบั ระเบยี บวธิ ปี ฏิบตั ใิ นการนําสินคาเขาประเทศ

186

กรณศี ึกษาเรื่องที่ 6
เร่อื ง รถปลกู สะระแหน

วตั ถุประสงค
1. ระบกุ ารทจุ ริตในการใชตําแหนงหนาที่
2. บอกคุณธรรมในการปฏิบตั งิ านในหนาท่เี พื่อการปอ งกันการทจุ ริตได
3. เกดิ จิตสํานึกในการปอ งกันการทุจริต

เน้ือหาสาระ
1. การเสยี ภาษีการนาํ สนิ คาเขา ประเทศ
2. คุณธรรมในการทาํ งานเพือ่ ปอ งกนั หรอื หลีกเลีย่ งการทจุ ริต

กรณีศกึ ษา
ตามกฎหมายระบุวา ผูที่นําวัตถุดิบเขามาในประเทศเพอื่ ใชผลิตสินคา แลวสงออก

ตา งประเทศภายใน 1 ปนับแตว นั ทน่ี าํ วตั ถุดิบเขามา จะสามารถขอรับคนื เงินภาษีนําเขาวัตถุดิบท่ีจายไว
ตอนนําวตั ถดุ ิบเขามา

เร่ืองมีอยูวา มีผูประกอบธุรกิจรายหนึ่งไดยื่นขอรับคืนเงินภาษีนําเขาวัตถดุ ิบ รวม
6,400,000 บาท ตอหนวยงานราชการที่ไดเก็บภาษีนําเขาวัตถุดิบ โดยจัดทําหลักฐานวาไดสง
สนิ คาออกนอกประเทศ น่ันคือ ใบขนสินคาขาออก จํานวน 8 ฉบับ ใบขนสินคาขาออกไดระบวุ ันท่ี
ขนสนิ คา ออกและหมายเลขทะเบียนรถบรรทุกท่ีขนสนิ คา ออกนอกประเทศ ซ่ึงผานดา นชายแดนทาง
ภาคใตท่ีอยูติดกับประเทศมาเลเซียโดยผานดานชายแดน - ดานในเวลา 15.00 น. และผานดาน
ชายแดน - ดานนอก เวลา 13.00 น. ในวันเดียวกนั โดยมีเจา หนาท่ีดา นชายแดนท้งั ดา นในและดานนอก
ตรวจสนิ คาและลงชือ่ กาํ กับไวในใบขนสนิ คาขาออก

จากการสืบหาขอมูลและหลักฐาน พบวา ไมมีการใชรถบรรทุกรับจางขนสินคาให
ผูประกอบธุรกจิ รายน้ี และจากการดูรถที่มีหมายเลขทะเบียนตรงกับรถบรรทุกท่ีระบุในใบขนสินคา
ขาออกหรือไม ปรากฏวา เปน รถทมี่ ีหมายเลขทะเบียนตรงกัน แตสภาพความเปนจริง คือ มีตนไมเลื้อย
เตม็ ไปหมด ไมสามารถขับเคล่ือนไดแลว จึงเรียกวา “รถปลูกสะระแหน” น่ีเปนที่มาของการจัดทํา
เอกสารใบขนสนิ คาขาออกอันเปนเท็จ โดยนําทะเบยี นรถทไ่ี มไ ดใ ชแ ลวมาระบใุ นใบขนสนิ คา ขาออก

เม่ือไปถึงดานชายแดน - มาเลเซีย สภาพแวดลอมของดานที่นี่มีองคประกอบหลัก
คลายกับดานชายแดนท่ัวไป คือ มีอาคารที่ทําการ มี “ดานใน” คือ ดานท่ีตรวจรถยนตทุกคันที่จะ
เดินทางออกนอกประเทศ ถาเปนรถบรรทุกสินคาจะตองดําเนินพิธีการ โดยผูประกอบธุรกิจท่ีจะ
ขนสนิ คาออกจะตอ งยืน่ เอกสารใบขนสินคาขาออก โดยมีรายละเอียดหลกั คือ ระบุสินคา หมายเลข
ทะเบยี นรถ เจาหนา ท่ที ด่ี านชายแดนจะทําการตรวจสมุ สนิ คาและตรวจสอบหมายเลขทะเบียนรถวา
ตรงตามใบขนสินคาขาออกหรือไม ถาถูกตองเจาหนาท่ีจะลงช่ือผานการตรวจพรอมลงวัน เดือน ป

187

เวลา ในใบขนสนิ คา ขาออก เมื่อผานดานน้แี ลวรถจะแลนออกไปที่ชายแดน ซึ่งมีระยะทางหางออกไป
ประมาณ 200 - 300 เมตร จะมอี กี ตําแหนง เรยี กวา “ดานนอก” เจาหนาที่ประจาํ ดานนอกจะตรวจ
ใบขนสินคาขาออกวาถูกตองหรือไม เจาหนาท่ีดานในไดลงชื่อผานการตรวจมาแลวหรือไม
เม่อื ตรวจสอบแลว เจา หนา ที่ประจําดา นนอกจะลงชอ่ื ผานการตรวจและลงวนั เวลา ในใบขนสนิ คา ขาออก
อกี ครงั้ หนง่ึ จากน้นั รถจึงแลน ออกจากประเทศไทยไปยังดานชายแดนของประเทศมาเลเซีย

จากการตรวจสถานที่พบวา จากดานนอกของไทยไปยังดานชายแดนของประเทศ
มาเลเซียจะมีถนนเพียงเสนเดียวแลนตรงไปที่ดานชายแดนประเทศมาเลเซีย โดยทั้งสองจุดนี้มี
ระยะหางประมาณ 500 เมตร ตามปกตคิ วรจะใชเวลาแลน นานสกั เทาไร

นอกจากนั้นเจาหนาท่ีดานในและดานนอกยืนยันวาเปนลายมือช่ือของตนจริง โดยมี
เวลาผานดา นใน เวลา 15.00 น. แตเวลาผานดานนอกลงเวลา 13.00 น. ในใบขนสินคาขาออก ซึ่ง
เปน หลักฐานเท็จท่ที าํ ขึน้ อยางลวก ๆ

ประเด็น
1. การกระทาํ ของเจา หนา ที่ดานชายแดนกระทําการทุจรติ หรอื ไม และมผี ลกระทบให

เกิดความเสยี หายอยางไร
2. จากกรณีศกึ ษาทานคดิ วาเจา หนา ที่ดานชายแดนควรใชหลักธรรมใดในการดํารงชีวิต

เพราะอะไร
3. จากการศกึ ษาตามกรณศี ึกษาทา นไดประโยชนอะไรบา ง

188

ใบงาน

1. ใหผูเรยี นศกึ ษากรณศี ึกษา
2. แบง กลุมผเู รียนอภปิ รายตามประเดน็ ท่กี าํ หนด
3. ใหต วั แทนกลมุ ออกมานาํ เสนอผลการอภปิ รายกลมุ
4. ใหผ ูส อนและผูเรยี นรว มกนั สรปุ แนวคดิ ท่ีไดจากผลการอภปิ รายกลมุ
5. ใหผูเรียนวางแผนและจดั ทาํ กจิ กรรมการเรยี นรตู อเนื่องพรอ มสรุปรายงานผล

กิจกรรมการเรยี นรตู อเนื่อง
ผูเรียนรวมกันจัดทํากิจกรรม/โครงการ เพื่อสงเสริมการปองปราบการทุจริตพรอม

จดั ทําสรปุ รายงานผลเสนอผูส อน

สือ่ และแหลง เรียนรู
1. สอื่ Internet
2. ผรู ู หรอื หนวยงานเกีย่ วกบั ระเบียบวธิ ปี ฏบิ ตั ิในการจดั เกบ็ ภาษีสินคา เขาประเทศ

189

บรรณานกุ รม

การทุจริตคอื อะไร, เขาถึง www.oknation.net วันที่ 19 มีนาคม 2556.
การศาสนา, กรม. เอกสารเผยแพรเก่ียวกับองคการศาสนาตาง ๆ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพก รมการ

ศาสนา, มปพ.

การศกึ ษานอกโรงเรยี น,กรม. ชุดวิชาพัฒนาสงั คมและชุมชน ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน . กรงุ เทพฯ
: เอกพมิ พไทย จํากัด, มปพ.

____________________ชุดวชิ าพัฒนาสังคมและชมุ ชน ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย. กรุงเทพฯ
: เอกพิมพไ ทย จาํ กัด, มปพ.

จม่ืนอรดรณุ ารกั ษ (แจม สุนทรเวช). พระราชประเพณี (ตอน 3). กรงุ เทพฯ : องคการการคา ของ
คุรสุ ภา, 2514.

จักราวธุ คาทว.ี สันติ/สามัคค/ี ปรองดอง/คา นยิ ม 12 ประการ ของ คสช. : เนื้อหาชวยสอน และ
จัดกจิ กรรมเพอื่ นคร,ู 2557. (เอกสารอดั สาเนา).

ชุลีพร สุสวุ รรณ และสุทธิราภรณ บริสุทธ์ิ. ความรูรอบตัวขนบธรรมเนียมและประเพณีไทย.
กรุงเทพฯ : โรงพมิ พท พิ ยส ทิ ธิ์, 2544.

เดอื น คาํ ดี. ศาสนาเบอ้ื งตน . กรุงเทพฯ : ภาควิชาปรัชญาและศาสนา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.
2531.

มหามกฎุ ราชวิทยาลัยในพระราชูปถัมภ. พระสูตรและอรรถกถาแปลงทุกขกนิกายชาดก เลมท่ี 3
ภาคท่ี 4. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พม หามกฎุ ราชวทิ ยาลัยฒ 2534.

190

ทองสืบ ศุภมารค. พระพทุ ธศาสนาในกัมพูชา. กรุงเทพฯ : สภาวิจยั แหงชาต,ิ 2544.

ประยูรศกั ดิ์ ชลายนเดชะ. มุสลิมในประเทศไทย. กรงุ เทพฯ : อมรินทรพ ร้ินต้ิงกรฟุ จํากัด, 2531.

____________________มุสลิมในประเทศไทย. คร้ังที่ 2 กรุงเทพฯ : โครงการหอสมุดกลาง
อสิ ลาม, 2546

บรรเทิง พานจิตร. ประเพณี วฒั นธรรมไทยและคติความเชื่อ. กรงุ เทพฯ : โอเดยี นสโตร. 2549.

ราชกจิ จานเุ บกษา เลมท่ี 127 ตอนที่ 69 ก. ประกาศวันท่ี 12 พฤศจิกายน 2553.
พระราชบัญญัติวฒั นธรรมแหงชาติ พทุ ธศกั ราช 2553.

วศนิ อสิ ทสระ. พุทธโอวาทกอนปรินิพพาน. ครง้ั ที่ 4 กรงุ เทพฯ : ศลิ ปะสยามบรรจุภัณฑและ การ
พิมพ จาํ กดั , 2548.

สมโพธิ ผลเต็ม (น.อ.) ปรชั ญาคมคาํ กลอน 100 เรือ่ งแรก. กรงุ เทพฯ : ทรงสริ วิ รรณ จํากัด, 2545.

สชุ ีพ ปญุ ญานภุ าพ. ศาสนาเปรียบเทียบ. กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลยั รามคาํ แหง, 2534.

สาํ นกั กฎหมาย สาํ นกั งานคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทุจรติ แหง ชาติ (ป.ป.ช.).
รวมกฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ทีเ่ กย่ี วขอ งกับการปอ งกันและปราบปรามการทจุ ริต,
2555.

_______. “ยทุ ธศาสตรชาติวาดว ยการปอ งกันและปราบปรามการทุจรติ ”. สาํ นกั งาน
คณะกรรมการปอ งกันและปราบปรามการทจุ ริตแหง ชาติ.

_______. กรอบเนือ้ หาสาระ เรอื่ ง การมสี วนรวมของประชาชนในการปองกันและปราบปราม

191

การทุจรติ , 2556. เอกสารอดั สาํ เนา
สาํ นกั งานคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทุจริตแหง ชาติ (ป.ป.ช.).

รวมพลังเดนิ หนาฝาวกิ ฤตคอรรปั ชัน, เอกสารประชาสัมพนั ธ มปป.

_______. โครงการเสริมสรางเครือขา ยประชาชนในการพทิ กั ษสาธารณสมบตั ิ, 2553 (เอกสาร
อดั สาํ เนา)

เวบ็ ไซต http://www.k-tc.co.th/festival.php สบื คนเม่อื วันท่ี 2 มีนาคม 2553.

เวบ็ ไซต http://www.larnbuddhism.com/grammathan/promvihan.html เรื่อง “พรหมวิหาร
4” สบื คนเม่อื วนั ท่ี 2 มีนาคม 2553.

เวบ็ ไซต http://www.th.wikipedia.org/wiki เรื่อง “ประวตั พิ ทุ ธศาสนา” จากวิกิพเี ดีย สารานุกรม
เสรี สืบคนเม่ือวันท่ี 3 มนี าคม 2553

เว็บไซต http://www.wlc2chaina.com/about_china.html บทความเรื่องประเพณี วัฒนธรรมจีน
สืบคนเมือ่ วนั ท่ี 3 มีนาคม 2553.

เว็บไซต http://www.e-learning.mfu.ac.th/mflu/16041010/chapter1/Lesson1.htm#13
รวม บทความของพงศเ พ็ญ ศกุนตาภยั . เรื่องรฐั ธรรมนญู และการปกครอง. กรงุ เทพฯ : โรง
พมิ พจ ุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2534. สืบคน เม่ือวันที่ 3 มนี าคม 2553

เว็บไซต http://www.riis3.royin.go.th/dictionary.asp สบื คน เม่ือวันท่ี 11 กุมภาพนั ธ 2553.

เวบ็ ไซต http://www.gotoknow.org/blog/works-of-archannop/51974 บทความของนายนพ
นธิ ิ สรุ ิยะ เรื่อง “วิวัฒนาการสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ตอนที่ 2” สืบคนเมื่อวันท่ี 3
มนี าคม 2553.


Click to View FlipBook Version