รายงานประจำปีพ.ศ. 2565 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน P a g e | 84 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ จัดอบรมให้ความรู้หลักสูตรการใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีการแปรรูปสินค้าเกษตร การพัฒนา ผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ การทำสื่อประชาสัมพันธ์ และการวางแผนการตลาด และฝึกปฏิบัติ จำนวนผู้เข้ารับ อบรม 31 คน ในวันที 20-22 พฤษภาคม 2565 จำนวน 3 วัน การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่/ต่อยอดผลิตภัณฑ์เดิม/บรรจุภัณฑ์ กระเทียมแคปซูล บรรจุขวด โดยใช้อุปกรณ์ การตลาดที่ได้รับการอุดหนุนจากรัฐ ในการแปรรูป โครงการส่งเสริมการพัฒนาระบบตลาดภายในสำหรับสินค้าเกษตร ภายใต้แผนงานบูรณาการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการตลาดสินค้าเกษตร เชื่อมโยงเครือข่ายสินค้า คลัสเตอร์ ของ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ ผู้แทนสหกรณ์และ/หรือกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตสินค้าเกษตรและ/หรือสินค้าเกษตรแปรรูป ใน 4 กลุ่มสินค้า ได้แก่ ข้าว ผลไม้ ประมงและปศุสัตว์ และโคนม/โคเนื้อ ที่สินค้ามีศักยภาพพร้อมจำหน่าย 3. ตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินโครงการ 1. ผลผลิต (Output) : สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาการบริหาร จัดการ ด้านการตลาด การเชื่อมโยงเครือข่ายคลัสเตอร์ จำนวน 231 แห่ง 2. ผลลัพธ์ (Outcome) : ปริมาณธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ ขยายตัวร้อยละ 3 3. มูลค่าสินค่าเกษตรที่ซื้อขายผ่านช่องทางการตลาด (ล้านบาท) ผลิตภัณฑ์ก่อนได้รับการพัฒนา ผลิตภัณฑ์หลังการพัฒนา
รายงานประจำปีพ.ศ. 2565 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน P a g e | 85 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 4. ผลสัมฤทธิ์/ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดำเนินงานโครงการ 8.1 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเป็นองค์กรหลักในการบริหารจัดการการตลาดสินค้าเกษตร 8.2 สมาชิกสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และเกษตรกรมีตลาดรองรับสินค้าเกษตร 5. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลการเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 18,000 15,500 86 6. สรุปผลการดำเนินงานโครงการ 6.1 ผลสำเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม เชิงปริมาณ : สหกรณ์และหรือกลุ่มเกษตรกร ไม่น้อยกว่า 3 แห่ง สามารถตกลงเบื้องต้น (มี แผนการขับเคลื่อน ความร่วมมือในระยะเวลาต่อไป) อย่างน้อยแห่งละ 1 คู่ เชิงคุณภาพ : ยอดจำหน่ายสินค้าเกษตรและ/หรือสินค้าเกษตรแปรรูปของสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกร เป้าหมายที่จำหน่ายผ่านช่องทางการตลาดที่เกิดจากโครงการ (คู่ค้าใหม่) 6.2 ผลสัมฤทธิ์/ผลการดำเนินโครงการ 1. ปริมาณธุรกิจ (รวบรวมและแปรรูป) ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเป้าหมาย ปี 2565 เพิ่มขึ้นเทียบกับ ปี 2564 2.ยอดจำหน่ายสินค้าเกษตรและ/หรือสินค้าเกษตรแปรรูปของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เป้าหมายที่จำหน่ายผ่านช่องทางการตลาดที่เกิดจากโครงการ (คู่ค้าใหม่ ที่เกิดจากการเชื่อมโยงเครือข่ายผ่าน การเข้า ร่วมกิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการเชื่อมโยงเครือข่ายด้านการผลิตและการตลาดสินค้าเกษตรคุณภาพ (ระดับประเทศ) 3. ยอดจำหน่ายสินค้าเกษตรและ/หรือสินค้าเกษตรแปรรูปของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เป้าหมายที่จำหน่ายผ่านช่องทางการตลาดที่เกิดจากโครงการ (ช่องทางออนไลน์) ตัวอย่างแคตตาล็อกสินค้าที่จัดทำ
รายงานประจำปีพ.ศ. 2565 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน P a g e | 86 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร โครงการส่งเสริมการดำเนินธุรกิจร้านค้าสหกรณ์ในรูปแบบซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ปีงบประมาณ 2565 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาการดำเนินธุรกิจร้านค้าสหกรณ์ในรูปแบบซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ 2. เพื่อส่งเสริมการเชื่อมโยงธุรกิจระหว่างร้านค้าสหกรณ์และเครือข่ายสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกรผู้ผลิตสินค้า 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ สหกรณ์การเกษตรสบเมย จำกัด 3. ตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินโครงการ 1. ร้านค้าสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการได้รับการพัฒนาและส่งเสริมการดำเนินธุรกิจ 2. ร้อยละ 80 ของสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการฯ มีการเชื่อมโยงนำสินค้าจากสมาชิกและ เครือข่ายสหกรณ์กลุ่มเกษตรกร มาจำหน่ายผ่านซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ 4. ผลสัมฤทธิ์/ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดำเนินงานโครงการ 1. ขยายโอกาสทางการตลาดสินค้าสหกรณ์ ผ่านซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ 2. มูลค่าธุรกิจจัดจำหน่ายของสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้น 5. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลการเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 3,800 3,800 100 6. สรุปผลการดำเนินงานโครงการ 6.1 ผลสำเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม เชิงปริมาณ : ร้อยละ 80 ของสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการฯ มีการเชื่อมโยงนำสินค้าจากสมาชิกและ เครือข่ายสหกรณ์กลุ่มเกษตรกร มาจำหน่ายผ่านซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ เชิงคุณภาพ : ร้านค้าสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการได้รับการพัฒนาและส่งเสริมการดำเนินธุรกิจ 6.2 ผลสัมฤทธิ์/ผลการดำเนินโครงการ ส่งเสริมการดำเนินธุรกิจการจัดหาสินค้ามาจำหน่ายของสหกรณ์ สร้างความร่วมมือระหว่างเครือข่ายสหกรณ์ สร้างความร่วมมือระหว่างเครือข่ายสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร รวมถึงขยายโอกาสทางการตลาด กระจายรายได้ให้กับ เกษตรกรผู้ผลิตสินค้าผ่านการบริหารจัดการของร้านค้าในรูปแบบซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ ไปสู่สมาชิกและประชาชนใน ชุมชนให้ได้บริโภคสินค้าที่มีคุณภาพ ปลอดภัย ในราคาที่เป็นธรรม อันจะเป็นการส่งเสริมให้สหกรณ์เป็นกลไกในการ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจคุณภาพชีวิตของสมาชิกเกษตรกรและสังคมอย่างยั่งยืน
รายงานประจำปีพ.ศ. 2565 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน P a g e | 87 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ภาพกิจกรรม โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้ ภายใต้ โครงการนำลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพการเกษตร 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ เพื่อสนับสนุนให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถพัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพการเกษตรได้เข้าถึงองค์ ความรู้ด้านการผลิต สามารถสร้างอาชีพการเกษตรอย่างยั่งยืน ให้เกิดความมั่นคงในการประกอบอาชีพ การเกษตร 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย ผู้เข้าร่วมโครงการเสริมสร้างทักษะและผู้เข้าร่วมโครงการนำลูกหลาน เกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพการเกษตร ตัวแทนหน่วยงานภาคี และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง รวม 7 ราย 3. ตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินโครงการ ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 ได้รับการพัฒนาทักษะในประกอบอาชีพด้านการเกษตร 4. ผลสัมฤทธิ์/ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดำเนินงานโครงการ 1 ผู้เข้าร่วมโครงการ ได้เข้าถึงองค์ความรู้ ปัจจัยการผลิต รวมถึงการสร้างอาชีพการเกษตรอย่างยั่งยืน ให้เกิดความมั่นคงในการประกอบอาชีพการเกษตรอย่างยั่งยืน 2 เพิ่มจำนวนเกษตรกรรุ่นใหม่ในภาคเกษตรกรรม บรรเทาปัญหาเกษตรกรสูงอายุและเสริมสร้างความ เข้มแข็งของภาคการเกษตรและสถาบันเกษตรกร 5. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลการเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 17,655 17,655 100
รายงานประจำปีพ.ศ. 2565 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน P a g e | 88 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 6. สรุปผลการดำเนินงานโครงการ 6.1 ผลสำเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม เชิงปริมาณ : ร้อยละ 80 ของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการฯ มีการพัฒนาทักษะในการประกอบ อาชีพทางด้านการเกษตร เชิงคุณภาพ : เกษตรกรเข้าร่วมโครงการได้รับการพัฒนาองค์ความรู้ด้านการเกษตร รวมถึงการ สร้างอาชีพทางการเกษตรอย่างยั่งยืน ให้เกิดความมั่นคงในการประกอบอาชีพ 6.2 ผลสัมฤทธิ์/ผลการดำเนินโครงการ เกษตรกรเข้าร่วมโครงการสามารถสร้างรายได้ เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ และได้รับการพัฒนา ทักษะอาชีพ ให้มีรายได้จากการเกษตรอย่างยั่งยืนต่อไป ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ โครงการ "ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ กรมส่งเสริมสหกรณ์" 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1 เพื่อศึกษาวิเคราะห์ กำหนดเป้าหมาย ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่เพื่อวางแผน ปฏิบัติงาน ด้านการตลาดแปลงใหญ่ 2. เพื่อสื่อสารทำความเข้าใจแผนปฏิบัติงานด้านการตลาดแปลงใหญ่กับผู้ที่เกี่ยวข้อง 3. เพื่อดำเนินการตามแผนปฏิบัติงานด้านการตลาดแปลงใหญ่ 4. เพื่อจัดกิจกรรม/อบรมถ่ายทอดความรู้ด้านการรวมกลุ่ม/ด้านการตลาด แก่เกษตรกรแปลง ใหญ่ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ แปลงใหญ่ แปลงปี 2563 จำนวน 15 แปลง 3. ตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินโครงการ จัดกิจกรรม/อบรมถ่ายทอดความรู้ด้านการรวมกลุ่ม/ด้านการตลาด แก่เกษตรกรแปลงใหญ่ ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
รายงานประจำปีพ.ศ. 2565 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน P a g e | 89 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 4. ผลสัมฤทธิ์/ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดำเนินงานโครงการ 1. ร่วมศึกษาวิเคราะห์ กำหนดเป้าหมาย ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่เพื่อวางแผน ปฏิบัติงาน ด้านการตลาดแปลงใหญ่ 2. สื่อสารทำความเข้าใจแผนปฏิบัติงานด้านการตลาดแปลงใหญ่กับผู้ที่เกี่ยวข้อง 3. ดำเนินการตามแผนปฏิบัติงานด้านการตลาดแปลงใหญ่ 5. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลการเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 4,500 4,500 100 6. สรุปผลการดำเนินงานโครงการ 6.1 ผลสำเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม 1. ศึกษาวิเคราะห์ กำหนดเป้าหมาย ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่เพื่อวางแผนปฏิบัติงาน ด้านการตลาดแปลงใหญ่ 2. สื่อสารทำความเข้าใจแผนปฏิบัติงานด้านการตลาดแปลงใหญ่กับผู้ที่เกี่ยวข้อง 3. ดำเนินการตามแผนปฏิบัติงานด้านการตลาดแปลงใหญ่ 6.2 ผลสัมฤทธิ์/ผลการดำเนินโครงการ 1. ศึกษาวิเคราะห์ กำหนดเป้าหมาย ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่เพื่อวางแผนปฏิบัติงาน ด้านการตลาดแปลงใหญ่ 2. สื่อสารทำความเข้าใจแผนปฏิบัติงานด้านการตลาดแปลงใหญ่กับผู้ที่เกี่ยวข้อง 3. ดำเนินการตามแผนปฏิบัติงานด้านการตลาดแปลงใหญ่ ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ
รายงานประจำปีพ.ศ. 2565 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน P a g e | 90 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพและ ความเข้มแข็งของสหกรณ์ในโครงการ พัฒนาพื้นที่โครงการหลวงประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1. เพื่อให้บุคลากรสหกรณ์ ประกอบด้วย สมาชิก กรรมการ และฝ่ายจัดการของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถนำองค์ความรู้ไปปรับใช้ให้สามารถปิดบัญชีได้ตามกำหนดและดำเนินการผ่านเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์ 2. เพื่อให้สมาชิก กรรมการ และฝ่ายจัดการของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เกิดการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ร่วมกันในแนวทางส่งเสริมสหกรณ์ให้ปิดบัญชีได้และผ่านเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์ได้ 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ ฝ่ายจัดการ คณะกรรมการ และสมาชิกสหกรณ์ สหกรณ์เป้าหมาย จำนวน 3 แห่งๆละ 15 คน รวมทั้งสิ้น 45 คน ตามรายชื่อสหกรณ์ดังนี้ 1. สหกรณ์การเกษตรโครงการหลวงแม่ลาน้อย จำกัด 2. สหกรณ์การเกษตรโครงการหลวงบ้านดง จำกัด 3. สหกรณ์พัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงสบเมย จำกัด 3. ตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินโครงการ 1. สมาชิกคณะกรรมการฝ่ายจัดการสหกรณ์เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพ และเสริมสร้างความเข้มแข็งของสหกรณ์ในโครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง จำนวน 15 ราย 2. สมาชิกสหกรณ์ที่เข้าร่วมประชุมมีความรู้ จัดทำแผนและแนวทางการพัฒนาสหกรณ์ให้ปิดบัญชีได้และ ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์ร้อยละ 60 จากจำนวนสมาชิกสหกรณ์ทั้งหมดที่เข้าร่วมประชุม 3. สหกรณ์เป้าหมายมีการจัดทำแผนการพัฒนาให้ปิดบัญชีได้และผ่านเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์ 4. สหกรณ์มีแนวทางในการปฏิบัติเพื่อให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานและยกระดับชั้น 4. ผลสัมฤทธิ์/ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดำเนินงานโครงการ 1. สหกรณ์เป้าหมายในโครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง สามารถนำความรู้ที่ได้ไป ใช้ประโยชน์แก่สหกรณ์ให้ปิดบัญชีได้และผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรมส่งเสริมสหกรณ์ 2. สหกรณ์เป้าหมายในโครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง สามารถจัดทำแผนการพัฒนาให้ ปิดบัญชีได้และผ่านเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ 3. สหกรณ์เป้าหมายในโครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง สามารถจัดทำแผนยกระดับชั้น 2 สู่ชั้น 1 อย่างน้อย 1 แผน 5. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลการเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 17,100 17,100 100
รายงานประจำปีพ.ศ. 2565 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน P a g e | 91 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 6. สรุปผลการดำเนินงานโครงการ 6.1 ผลสำเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม เชิงปริมาณ : เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ ฝ่ายจัดการ คณะกรรมการ และสมาชิก สหกรณ์ สหกรณ์เป้าหมาย จำนวน 3 แห่งๆละ 15 คน รวมทั้งสิ้น 45 คน เชิงคุณภาพ : สมาชิกคณะกรรมการฝ่ายจัดการสหกรณ์เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อ พัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างความเข้มแข็งของสหกรณ์ในโครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง จำนวน 15 ราย 2. สหกรณ์เป้าหมายในโครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง สามารถจัดทำแผนการพัฒนาให้ ปิดบัญชีได้และผ่านเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ 3. สหกรณ์เป้าหมายในโครงการพัฒนาพื้นที่โครงการหลวง สามารถจัดทำแผนยกระดับชั้น 2 สู่ชั้น 1 อย่างน้อย 1 แผน 6.2 ผลสัมฤทธิ์/ผลการดำเนินโครงการ 1. ฝ่ายจัดการ คณะกรรมการ และสมาชิกสหกรณ์ในพื้นที่เป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการสามารถ นำองค์ความรู้ไปปรับใช้กับสหกรณ์ได้ สหกรณ์มีการจัดทำแผนการยกระดับชั้นความเข้มแข็งชั้น 2 สู่ชั้น 1 ได้ 2. สหกรณ์ได้กำหนดแผนงานการดำเนินธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่าย ได้แก่แผนการจำหน่าย สินค้าเงินสดการปรับปรุงแนวทางการบันทึกสินค้าการดำเนินธุรกิจรวบรวมและแปรรูปได้แก่ การตลาดออนไลน์ 3. สหกรณ์ได้กำหนดแผนงานธุรกิจสินเชื่อ ได้แก่ติดตามการชำระหนี้เงินกู้ของสมาชิกการ ดำเนินธุรกิจรวบรวมและแปรรูป ได้แก่ การจัดหาและเพาะพันธุ์กล้าการรวบรวมผลผลิตกาแฟและพืชผัก 4. สหกรณ์ได้กำหนดแผนงานดำเนินธุรกิจรวบรวมผลผลิตทางการเกษตร (กาแฟ,พืชผัก) จาก สมาชิกสหกรณ์การดำเนินธุรกิจจัดหาฯ ได้แก่จัดหาและเพาะพันธุ์กล้า ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรม
รายงานประจำปีพ.ศ. 2565 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน P a g e | 92 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน โดยประยุกต์ใช้รูปแบบของสหกรณ์เพื่อเตรียมความพร้อมในรูปแบบของกลุ่มเตรียมสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1. เพื่อแนะนำ ส่งเสริมให้ความรู้เกี่ยวกับอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ แก่กลุ่มหมู่บ้านในพื้นที่โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงเพื่อแก้ปัญหาพื้นที่เฉพาะ 2. เพื่อจัดทำฐานข้อมูลกลุ่มหมู่บ้านให้เป็นปัจจุบัน 3. เพื่อจัดกิจกรรมการมีส่วนร่วมโดยประยุกต์ใช้รูปแบบของการสหกรณ์ส่งเสริมให้เกิดการรวมกลุ่ม 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ ผู้เข้าประชุมเชิงปฏิบัติการฯ ประกอบด้วยเกษตรกรในพื้นที่เป้าหมายโครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบ โครงการหลวงเพื่อแก้ปัญหาพื้นที่เฉพาะ จำนวนหมู่บ้านละ ๓๐ คน ตามรายชื่อหมู่บ้านดังนี้ 1. บ้านแกงหอมกะเหรี่ยง หมู่ 7 ตำบลเมืองแปง อำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน 2. บ้านห้วยหมีศรีสวัสดิ์ หมู่ 8 ตำบลเมืองแปง อำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน 3. บ้านห้วยฮะ หมู่ 3 ตำบลเมืองแปง อำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน 4. บ้านแม่เหมืองหลวง หมู่ 4 ตำบลโป่งสา อำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน 5. บ้านแม่ยะน้อย หมู่ 4 ตำบลแม่ฮี้ อำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน 3. ตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินโครงการ 1. เกษตรกรและประชาชนได้รับการให้ความรู้ความเข้าใจในการพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือซึ่ง กันและกัน จำนวน 150 ราย 2. เกษตรกรและประชาชนมีแนวคิดในการรวมกลุ่มเพื่อจัดตั้งและดำเนินงานในรูปแบบ สถาบันเกษตรกรเพื่อเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเอง 4. ผลสัมฤทธิ์/ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดำเนินงานโครงการ เกษตรกรและประชาชนในพื้นที่เป้าหมายโครงการส่งเสริมสหกรณ์ในพื้นที่โครงการพัฒนา พื้นที่สูงแบบโครงการหลวงเพื่อแก้ปัญหาพื้นที่เฉพาะ มีความรู้ความเข้าใจในการพึ่งพาตนเองและการช่วยเหลือ ซึ่งกันและกัน สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการบริหารจัดการกลุ่มของตนเองในชุมชน และตลอดจนมีแนวคิด ในการรวมกลุ่มเพื่อจัดตั้งและดำเนินงานในรูปแบบสถาบันเกษตรกรเพื่อเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเอง และชุมชนอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน 5. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลการเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 39,000 39,000 100
รายงานประจำปีพ.ศ. 2565 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน P a g e | 93 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 6. สรุปผลการดำเนินงานโครงการ 6.1 ผลสำเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม เชิงปริมาณ : เกษตรกรและประชาชนในพื้นที่เป้าหมายจำนวน 5 หมู่บ้านๆ ละ 30 ราย รวมเป็นจำนวนทั้งสิ้น 150 ราย เชิงคุณภาพ : 1. เกษตรกรและประชาชนได้รับการให้ความรู้ความเข้าใจในการพึ่งตนเอง และช่วยเหลือซึ่งกันและกัน คิดเป็นร้อยละ 90 ของจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ 2. เกษตรกรและประชาชนมีแนวคิดในการรวมกลุ่มเพื่อจัดตั้งและดำเนินงานในรูปแบบ สถาบันเกษตรกรเพื่อเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเอง จำนวน 5 หมู่บ้าน 6.2 ผลสัมฤทธิ์/ผลการดำเนินโครงการ เกษตรกรและประชาชนในพื้นที่เป้าหมายโครงการส่งเสริมสหกรณ์ในพื้นที่โครงการ พัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงเพื่อแก้ปัญหาพื้นที่เฉพาะ จำนวน 5 หมู่บ้านเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจใน การพึ่งพาตนเองและการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการบริหารจัดการกลุ่มของ ตนเองในชุมชน และตลอดจนมีแนวคิดในการรวมกลุ่มเพื่อจัดตั้งและดำเนินงานในรูปแบบสถาบันเกษตรกรเพื่อ เป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเองและชุมชนอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน 7. ปัญหาอุปสรรคของการดำเนินโครงการ 1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความต้องการสาธารณูปโภคพื้นฐาน เช่น ถนน ไฟฟ้า สัญญานโทรศัพท์ และแหล่งน้ำเพื่อการเกษตรเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ด้านการผลิตต้องการความรู้เรื่องการเพาะปลูกพืชเพื่อ เพิ่มปริมาณและคุณภาพของผลผลิต 2. ผู้เข้าร่วมโครงการส่วนใหญ่ไม่มีความรู้ในเรื่องการทำบัญชีครัวเรือน การให้ข้อมูลบาง ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ
รายงานประจำปีพ.ศ. 2565 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน P a g e | 94 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร โครงการทัศนศึกษาเพื่อเสริมสร้างประสบการณ์ด้านการสหกรณ์ให้แก่นักเรียนและครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์ โรงเรียนตามพระราชดำริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1) เพื่อเปิดโลกทัศน์และสร้างประสบการณ์ด้านการสหกรณ์ และประสบการณ์ด้านอื่น ๆ ให้กับ คณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์นักเรียนและสมาชิกสหกรณ์ 2) เพื่อให้คณะกรรมการสหกรณ์นักเรียนได้เข้าใจในระบบการทำงานของสหกรณ์จริงในชุมชน และ สามารถเปรียบเทียบกับสหกรณ์ของนักเรียน 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ นักเรียนที่เป็นคณะกรรมการสหกรณ์ ผู้สังเกตการณ์ และครูที่รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์ในโรงเรียนตาม พระราชดำริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในจังหวัดแม่ฮ่องสอน 3. ตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินโครงการ 3.1 นักเรียน/ครู/ผู้สังเกตการณ์ โรงเรียนพื้นที่โครงการตามพระราชดำริสมเด็จ พระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เข้าร่วมกิจกรรมทัศนศึกษา 3.2 นักเรียน/ครู/ผู้สังเกตการณ์เกิดแนวคิด/เกิดการพัฒนา นำความรู้ประสบการณ์ที่ได้รับนำไปปรับ ใช้ในกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 4. ผลสัมฤทธิ์/ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดำเนินงานโครงการ 4.1 ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้และประสบการณ์ ตามพระราชดำริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีที่ต้องการให้เด็กและเยาวชนได้เปิดโลกทัศน์ และประสบการณ์นอกห้องเรียน 4.2 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้มาปรับใช้ในการบริหารจัดการในกิจกรรมสหกรณ์โรงเรียน และการเรียนการสอนโดยใช้เทคนิคเรียนรู้ผ่านกิจกรรมต่าง ๆ เช่น ด้านสหกรณ์ กิจกรรมด้านอาชีพ 4.3 ผู้เข้าร่วมโครงการได้สร้างความสัมพันธ์อันดีกับเพื่อนนักเรียนต่างโรงเรียน ส่งเสริมการมีส่วนร่วม การเรียนรู้ การแก้ไขปัญหาร่วมกัน รู้จักการช่วยตนเองและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน 5. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลการเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 243,600 241,190 99.01 6. สรุปผลการดำเนินงานโครงการ 6.1 ผลสำเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม เชิงปริมาณ : โรงเรียนจำนวน 19 แห่ง รวมนักเรียน 635 ราย เข้าร่วมโครงการ เชิงคุณภาพ : นำความรู้ประสบการณ์ที่ได้รับนำไปปรับใช้ในกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน
รายงานประจำปีพ.ศ. 2565 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน P a g e | 95 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ โครงการส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียนเพียงหลวงในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตน ราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดีประจำปีงบประมาณ พ.ศ 2565 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1. เพื่อสนองงานตามพระดำริ ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ที่ต้องการให้นักเรียนโรงเรียนเพียงหลวงมีทักษะพื้นฐานการใช้ชีวิตของเด็กที่ขาดโอกาส 2. เพื่อส่งเสริมความรู้ และทักษะด้านสหกรณ์ และสร้างลักษณะนิสัยที่สอดคล้องกับอุดมการณ์ สหกรณ์ และสร้างความคุ้นเคยกับระบบสหกรณ์ให้กับนักเรียนขณะศึกษา 3. เพื่อให้ผู้บริหารโรงเรียน ครูผู้สอนวิชาสหกรณ์ ครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน และ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ได้มีส่วนร่วมวางแผนการขับเคลื่อนการจัดกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนของโรงเรียนให้ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ นักเรียน ครู โรงเรียนเพียงหลวง 11 (บ้านสล่าเจียงตอง) ตำบลเสาหิน อำเภอแม่สะเรียง จังหวัด แม่ฮ่องสอน จำนวน 30 ราย 3. ตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินโครงการ 1. นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ด้านการสหกรณ์เพิ่มขึ้น และมีความเข้าใจเรื่อง อุดมการณ์ หลักการและวิธีการสหกรณ์ 4. ผลสัมฤทธิ์/ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดำเนินงานโครงการ 1. ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจการจัดกระบวนการเรียนรู้การสหกรณ์ และทักษะในเรื่องอุดมการณ์ หลักการและวิธีการสหกรณ์ พร้อมทั้งปลูกฝังลักษณะนิสัยการช่วยตนเอง และช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ตามอุดมการณ์สหกรณ์ 2. ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องสหกรณ์นักเรียน สามารถนำความรู้ มาปรับใช้ในกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียน
รายงานประจำปีพ.ศ. 2565 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน P a g e | 96 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 5. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลการเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 5,400.00 5,312.50 98.96 6. สรุปผลการดำเนินงานโครงการ 6.1 ผลสำเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม เชิงปริมาณ : นักเรียน และครูที่เข้าร่วมโครงการฯ จำนวนทั้งสิ้น 30 ราย เชิงคุณภาพ : ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ด้านการสหกรณ์เพิ่มขึ้น โดยผ่านการทำ แบบทดสอบความรู้การสหกรณ์ (ก่อน-หลัง) เข้ารับการอบรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 6.2 ผลสัมฤทธิ์/ผลการดำเนินโครงการ หลังจากนักเรียนผ่านการอบรมได้มีความรู้ ความเข้าใจการจัดกระบวนการเรียนรู้การ สหกรณ์และทักษะในเรื่องอุดมการณ์ หลักการและวิธีการสหกรณ์ พร้อมทั้งปลูกฝังลักษณะนิสัยการช่วยตนเอง และช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ตามอุดการณ์สหกรณ์ 7. ปัญหาอุปสรรคของการดำเนินโครงการ 1. ช่วงเวลาที่ได้รับจัดสรรงบประมาณ อยู่ในช่วงฤดูฝนทำให้การเดินทางเข้าไปดำเนินงานค่อยข้าง ยากลำบาก เนื่องจากสภาพเส้นทางทุรกันดารต้องลัดเลาะตามลำห้วย ไม่มีสัญญานโทรศัพท์ ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการฯ
รายงานประจำปีพ.ศ. 2565 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน P a g e | 97 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1. เพื่อเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร 2. เพื่อให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร และบุคลากรของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้ น้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ และแสดงความจงรักภักดีเป็นราชสักการะแด่สมเด็จพระบรมโอรสา ธิราช ฯสยามมกุฎราชกุมาร ที่ได้สร้างคุณประโยชน์แก่ประเทศชาติอย่างอเนกอนันต์ 3. เพื่อให้เกษตรกรที่มีปัญหาด้านเกษตรในพื้นที่ห่างไกล สามารถเข้าถึงการบริการทาง วิชาการ และได้รับการแก้ไขปัญหาด้านการเกษตรอย่างครบวงจรในคราวเดียวกัน 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ กลุ่มเป้าหมายประกอบด้วย เกษตรกร ประชาชนทั่วไปกลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่เข้าร่วม กิจกรรม จำนวน 203 ราย - ครั้งที่ 1 ณ ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรอำเภอปาย (บ้านสวนอคิราห์เกษตรตามรอยพ่อ) บ้านท่าปาย อำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน - ครั้งที่ 2 ณ ที่ว่าการอำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน จังหวัดแม่ฮ่องสอน - ครั้งที่ 3 ณ องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยห้อม อำเภอแม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอน - ครั้งที่ 4 ณ โรงเรียนสังวาลวิทยา ตำบลแม่เหาะ อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน 3. ตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินโครงการ 1. เกษตรกรและประชาชนได้รับการให้ความรู้ความเข้าใจในการพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือซึ่ง กันและกัน จำนวน 150 ราย 2. เกษตรกรและประชาชนมีแนวคิดในการรวมกลุ่มเพื่อจัดตั้งและดำเนินงานในรูปแบบ สถาบันเกษตรกรเพื่อเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเอง 4. ผลสัมฤทธิ์/ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดำเนินงานโครงการ ประชาชนที่เข้าร่วมงานมีความสนใจในเรื่องสหกรณ์ได้รับคำปรึกษาคำแนะนำ และความรู้ เกี่ยวกับสหกรณ์ และมีความสนใจที่จะเข้าเป็นสมาชิกสหกรณ์และร่วมทำธุรกิจกับสหกรณ์ในพื้นที่ 5. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
รายงานประจำปีพ.ศ. 2565 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน P a g e | 98 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลการเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 9,100 9,100 100 6. สรุปผลการดำเนินงานโครงการ 6.1 ผลสำเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม เชิงปริมาณ : มีเกษตรกรและประชาชนที่ร่วมงาน มาลงทะเบียนคลินิกสหกรณ์ ทั้ง 4 ครั้ง จำนวน 203 คน เข้าสอบถามข้อมูลและปรึกษาเรื่องสหกรณ์ ประมาณ 55 คน เชิงคุณภาพ : เกษตรกรและประชาชนทั่วไปที่เข้ามารับบริการด้านคลินิกสหกรณ์ ได้รับ ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการรวมกลุ่ม ทั้งให้คำปรึกษาด้านการสหกรณ์แก่สมาชิกสหกรณ์และประชาชนทั่วไป ที่มารับบริการ 6.2 ผลสัมฤทธิ์/ผลการดำเนินโครงการ 1. เกษตรกรประชาชนทั่วไปที่เข้าร่วมงานมีความสนใจในเรื่องสหกรณ์ได้รับคำปรึกษา คำแนะนำ และความรู้เกี่ยวกับสหกรณ์ และมีความสนใจที่จะเข้าเป็นสมาชิกสหกรณ์และร่วมทำธุรกิจกับ สหกรณ์ในพื้นที่ 2. ประชาชนและบุคลากรของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้มีส่วนร่วมในการแสดง ความสามัคคี เกิดพลังจิตอาสา และได้แสดงความจงรักภักดีต่อสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯสยามกุฎราชกุมาร 7. ปัญหาอุปสรรคของการดำเนินโครงการ เนื่องจากช่วงจัดงานอยู่ในช่วงสถานการณ์ COVID-19 ทางผู้จัดงานเลยจำกัดจำนวนผู้เข้ารับบริการคลินิกเกษตร ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการฯ โครงการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1. เพื่อให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีกิจกรรมการดำเนินงานที่สอดคล้องกับปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง และใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการบริหารจัดการธุรกิจหรือกิจกรรมต่าง ๆ ทั้งในระดับ องค์กรและระดับสมาชิก
รายงานประจำปีพ.ศ. 2565 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน P a g e | 99 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 2. เพื่อเป็นการส่งเสริม สนับสนุน ช่วยเหลือ ติดตามให้เกษตรกรที่เคยเข้าร่วมโครงการขยายผลการนำ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ ให้สามารถดำเนินกิจกรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงได้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน 3. เพื่อคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตร ที่เคยเข้าร่วมโครงการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตั้งแต่ปี พ.ศ.2551 และได้นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไป ประยุกต์ใช้ ทั้งในระดับองค์กรและระดับสมาชิก จนสามารถเป็นแบบอย่างแก่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรและ สมาชิกอื่นได้ 4. เพื่อให้ทราบถึงผลการดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรค และแนวทางแก้ไขในการดำเนินโครงการ 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ 1) สหกกรณ์การเกษตร ศชพ.บ้านห้วยตอง จำกัด อ.ปาย 2) สหกกรณ์การเกษตร ศชพ.ละอูบพัฒนา จำกัด อ.แม่ลาน้อย 3) สหกรณ์โครงการธนาคารอาหารชุมชนบ้านนาป่าแปก จำกัด อ.เมืองแม่ฮ่องสอน 4) สหกรณ์การเกษตรโครงการหลวงแม่สะเรียง จำกัด อ.แม่สะเรียง 5) สหกรณ์พัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงสบเมย จำกัด อ.สบเมย 3. ตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินโครงการ 4. ผลสัมฤทธิ์/ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดำเนินงานโครงการ 5. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลการเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 1,900 1,900 100 6. สรุปผลการดำเนินงานโครงการ 6.1 ผลสำเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม เชิงปริมาณ : สหกกรณ์การเกษตร ศชพ.ละอูบพัฒนา จำกัด ได้รับการคัดเลือกเป็นสหกรณ์ ต้นแบบที่น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินงาน ประจำปี พ.ศ.2565 เชิงคุณภาพ : สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไป ประยุกต์ใช้ในการดำเนินงานอย่างเป็นรูปธรรม และมีการดำเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ
รายงานประจำปีพ.ศ. 2565 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน P a g e | 100 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร วันสหกรณ์นักเรียน 7 มิถุนายน สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน และโรงเรียนในการส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนภายใต้ โครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร ตามพระราชดำริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ในพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้เข้าร่วมกิจกรรมวันสหกรณ์นักเรียน ในรูปแบบออนไลน์ ทางเพจ Facebook Live สำนักถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้ มีความรู้ความเข้าใจการสหกรณ์และร่วมกิจกรรมอีกมากมาย อาทิ การดำรงชีวิตโดยสามเณรโรงเรียนพุทธ โกศัยวิทยา จ.แพร่, กิจกรรมสหกรณ์นักเรียนบ้านหนองปลาไหลราษฎร์บำรุง จ.ฉะเชิงเทรา,กิจกรรมสหกรณ์ นักเรียน รร.ตชด.วัดสุธาสินี รร.ตชด.บ้านต้นม่วง จ.กาญจนบุรี พร้อมทั้งตอบคำถามรับของรางวัล การบริหารเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ 1. ที่มาของกองทุนพัฒนาสหกรณ์ กองทุนพัฒนาสหกรณ์ หรือ กพส. เป็นกองทุนที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542 มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นทุนส่งเสริมกิจการของสหกรณ์ โดยการรวบรวมเงินทุนหมุนเวียนต่าง ๆ ที่กรมส่งเสริมสหกรณ์ รับผิดชอบ โอนมาเป็นของกองทุนพัฒนาสหกรณ์ ซึ่งนับเป็นแหล่งเงินทุนที่สนับสนุนการดำเนินงานของสหกรณ์ทุก ประเภท ในการให้สินเชื่อแก่สหกรณ์ในการดำเนินธุรกิจ เพื่อเป็นทุนหมุนเวียนในการให้เงินกู้แก่สมาชิก การรวบรวม ผลผลิต การจัดหาสินค้ามาจำหน่าย เป็นเงินกู้ระยะสั้น 1 ปีการลงทุนในสินทรัพย์เป็นเงินกู้ระยะยาวไม่เกิน 15 ปีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 1.5 -5.5 ต่อปี ตามชั้นลูกหนี้ ซึ่งจะมีการจัดชั้นทุกปีและโครงการพิเศษอื่นอีกในอัตรา ดอกเบี้ยร้อยละ 1 ต่อปีสหกรณ์ทุกประเภทสามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนได้ 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ 1) สหกรณ์ทุกประเภทในจังหวัดแม่ฮ่องสอน 2) มีทุนเรือนหุ้นไม่ต่ำกว่า 50,000 บาท 3) มีวินัยทางการเงิน และไม่มีหนี้ผิดนัดค้างชำระต่อกรมส่งเสริมสหกรณ์ทุกเงินทุน สำหรับกรณี สหกรณ์ได้รับการผ่อนผัน การขยายเวลาชำระหนี้ การลดหนี้ การปรับปรุงโครงสร้างหนี้ การไกล่เกลี่ยคดี การประนีประนอมหนี้ และสหกรณ์สามาถชำระหนี้ได้ตามเงื่อนไข 4) ไม่มีการทุจริตและไม่มีข้อบกพร่องทางการเงิน และทางบัญชี ในกรณีที่สหกรณ์มีข้อบกพร่องหรือ ทุจริตต้องได้รับการแก้ไขแล้ว 5) สหกรณ์ตั้งใหม่ไม่เกิน 1 ปี ให้กู้ได้ไม่เกิน 500,000 บาท
รายงานประจำปีพ.ศ. 2565 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน P a g e | 101 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 3. การดำเนินโครงการ 1) สำรวจและจัดทำข้อมูลความต้องการเงิน กู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ 2) ให้คำแนะนำสหกรณ์ในการจัดทำคำขอกู้เงิน กองทุนพัฒนาสหกรณ์ 3) รับคำขอกู้จากสหกรณ์/ตรวจสอบเอกสารประกอบคำขอกู้/วิเคราะห์คำขอกู้ 4) เตรียมเอกสารการประชุม/จัดประชุมคณะกรรมกำรพิจารณาเงินกู้ กพส. ระดับจังหวัด 5) จัดทำรายงานผลการประชุมเสนอผู้มีอำนาจพิจารณาอนุมัติ/ไม่อนุมัติ 6) แจ้งผลการประชุมให้สหกรณ์ทราบ/รายงานขอเบิกเงิน จากกรมส่งเสริมสหกรณ์ 7) รับหนังสือขอเบิกรับเงินกู้จากสหกรณ์//ตรวจสอบความถูกต้องเอกสาร/ขออนุมัติเบิกจ่ายเงินกู้ให้สหกรณ์ 8) แจ้งผลการเบิกจ่ายให้สหกรณ์และกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ทราบ พร้อมทั้งให้สหกร์ออกใบเสร็จส่งให้ จังหวัดภายในเวลากำหนด 9) ติดตามตรวจสอบการใช้เงินกู้ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ 10) เร่งรัดการชำระหนี้ก่อนและหลังครบกำหนดชำระ 11) ยืนยันยอดเงินกู้คงเหลือ 12) จัดชั้นลูกหนี้ของสหกรณ์เสนอกรมส่งเสริมสหกรณ์/แจ้งผลการจัดชั้นให้สหกรณ์ 13) ตรวจสอบหลักประกันเงินกู้/เรียกให้สหกรณ์จัดทำหลักประกันเงินกู้เพิ่มเติม 14) จัดทำรายงานผลการปฏิบัติงานประจำเดือน/ประจำไตรมาส/ประจำปี 5. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลการเบิกจ่าย ร้อยละ กองทุนพัฒนาสหกรณ์ (เงินนอกงบประมาณ) 134,790 บาท 133,061 บาท 99.00 6. สรุปผลการดำเนินงานโครงการ 6.1 ผลสำเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม ในปีงบประมาณ พ.ศ.2565 คณะอนุกรรมการพิจารณาเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ ระดับจังหวัด ได้ อนุมัติวงเงินให้สหกรณ์รวมทั้งสิ้น 23,730,000 บาท ได้แก่ 1)โครงการปกติ จำนวน 15,800,000 บาท (8 สหกรณ์ 12 สัญญา วัตถุประสงค์เพื่อให้สมาชิกกู้ยืม 4,500,000 บาท, รวบรวมผลิต 5,500,000 บาท, จัดหาสินค้ามาจำหน่าย 5,800,000 บาท) โครงการพิเศษ จำนวน 7,930,000 บา (9 สหกรณ์ 6 โครงการ 12 สัญญา วัตถุประสงค์เพื่อให้สมาชิกกู้ยืม 4,630,000 บาท, รวบรวมผลิต 2,100,000 บาท, จัดหาสินค้ามาจำหน่าย 1,200,000 บาท) 6.2 ผลสัมฤทธิ์/ผลการดำเนินโครงการ สหกรณ์ได้รับเงินกู้สอดคล้องกับแผนธุรกิจและฤดูการผลิตของสมาชิก ทำให้การใช้เงินกู้ตรง ตามวัตถุประสงค์ และสามารถส่งชำระหนี้ได้ตามกำหนด อีกทั้งการปฏิบัติในการให้บริการกับสมาชิกอย่างเต็ม ใจ โปร่งใสและเสมอภาคทุกสหกรณ์ ทำให้สหกรณ์มีความเชื่อถือและให้ความร่วมมือในด้านต่างๆ กับสำนักงาน สหกรณ์จังหวัดเป็นอย่ำงดี อีกทั้งสหกรณ์ได้รับเงินกู้ดอกเบี้ยต่ำช่วยลดต้นทุนให้แก่สหกรณ์และสมาชิกสหกรณ์
รายงานประจำปีพ.ศ. 2565 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน P a g e | 102 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 7. ปัญหาอุปสรรคของการดำเนินโครงการ การจัดทำเอกสารของสหกรณ์ยังขาดความรอบครอบ เช่น บัตรประจำตัวประชาชนผู้ค้ำประกัน หมดอายุ ทำให้เกิดความล่าช้าในการเบิกจ่ายเงินให้กับสหกรณ์ 8. แนวทางการแก้ไข หรือข้อเสนอแนะ แนะนำให้ฝ่ายจัดการและกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ มีการตรวจสอบเอกสารให้รอบครอบก่อนดำเนินการ จัดส่งให้จังหวัด เพื่อไม่ให้เกิดความล้าช้าในการเบิกจ่าย ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ โครงการสนับสนุนเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ (โครงการพิเศษ) ให้แก่สหกรณ์ในพื้นที่ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริและสหกรณ์ในพื้นที่โครงการหลวง ปี 2565 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ สนับสนุนเงินกู้ดอกเบี้ยร้อยละ ๑ ต่อปี เพื่อเป็นทุนหมุนเวียนในการจัดหาปัจจัยการผลิต และ/หรือ รวบรวม/แปรรูปผลิตผลและผลิตภัณฑ์ของสมาชิก ให้กับสหกรณ์ในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ และสหกรณ์ในพื้นที่โครงการหลวง ในวงเงินสหกรณ์ละไม่เกิน ๘00,00๐ บาท ระยะเวลาให้กู้ไม่เกิน 1 ปี 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ สหกรณ์ในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริและสหกรณ์ในพื้นที่โครงการหลวง ได้แก่ 1) สหกรณ์โครงการธนาคารอาหารชุมชนบ้านแม่ปาง จำกัด 2) สหกรณ์การเกษตรโครงการหลวงบ้านดง จำกัด 3) สหกรณ์การเกษตรโครงการหลวงบ้านอมพาย จำกัด 3. ตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินโครงการ จำนวนสหกรณ์ในพื้นที่โครงการฯ ที่ได้รับเงินกู้ กพส. อัตราดอกเบี้ยร้อยละ ๑ ต่อปี เพื่อเป็นทุนดำเนิน ธุรกิจบริการแก่สมาชิก ในการจัดหาปัจจัยการผลิต และ/หรือ รวบรวม/แปรรูปผลิตผลและผลิตภัณฑ์ของสมาชิก 4. ผลสัมฤทธิ์/ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดำเนินงานโครงการ สหกรณ์ในพื้นที่โครงการ มีเงินทุนหมุนเวียนเพื่อทำธุรกิจตอบสอนงความต้องการของสมาชิกได้มากขึ้น ส่งผลถึงโอกาสสร้างความเข้มแข็งให้สหกรณ์และชุมชนในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริและโครการหลวง
รายงานประจำปีพ.ศ. 2565 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน P a g e | 103 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 5. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลการเบิกจ่าย ร้อยละ กองทุนพัฒนาสหกรณ์ (เงินนอกงบประมาณ) 1,200,000 บาท 1,200,000 บาท 100 6. สรุปผลการดำเนินงานโครงการ 6.1 ผลสำเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม สหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการฯ 3 แห่ง ได้รับเงินกู้ดอกเบี้ยร้อยละ 1 จากกองทุนพัฒนาสหกรณ์ ตามโครงการพิเศษ ในระยะเวลาที่กำหนด 6.2 ผลสัมฤทธิ์/ผลการดำเนินโครงการ สหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการฯ นำเงินกู้ กพส. ไปดำเนินการจัดหาสินค้ามาจำหน่ายให้แก่สมาชิก ในราคาที่ถูกกว่าท้องตลาด และสหกรณ์มีปริมาณธุรกิจที่เพิ่มขึ้นมากกว่าร้อยละ 3 ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ โครงการเพิ่มศักยภาพการดำเนินธุรกิจรวบรวมกาแฟในสถาบันเกษตรกร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1) เพื่อเพิ่มศักยภาพและสนับสนุนสถาบันเกษตรกรให้เป็นแหล่งรองรับผลผลิตกาแฟของสมาชิก สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 2) เพื่อส่งเสริมพัฒนาการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็งและสามารถ แข่งขันได้ด้วยการสนับสนุนเงินทุนหมุนเวียน อัตราดอกเบี้ยต่ำ 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ สหกรณ์การเกษตรโครงการหลวงแม่ลาน้อย จำกัด 3. ตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินโครงการ 1) ร้อยละ 70 ของสหกรณ์ที่ขอกู้เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ ได้รับการสนับสนุนเงินกู้และนำไปใช้ตาม วัตถุประสงค์โครงการ 2) ร้อยละ 70 ของสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการสามารถรวบรวมหรือแปรรูปกาแฟเพิ่มขึ้น
รายงานประจำปีพ.ศ. 2565 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน P a g e | 104 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 4. ผลสัมฤทธิ์/ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดำเนินงานโครงการ 1) สหกรณ์มีขีดความสามารถในการแข่งขันสามารถเป็นแหล่งรองรับผลผลิตกาแฟของสมาชิกสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร 2) สหกรณ์มีความเข้มแข็งสามารถพัฒนาคุณภาพกาแฟและขยายตลาดกาแฟเพิ่มขึ้น 5. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลการเบิกจ่าย ร้อยละ กองทุนพัฒนาสหกรณ์ (เงินนอกงบประมาณ) 500,000 บาท 500,000 บาท 100 6. สรุปผลการดำเนินงานโครงการ 6.1 ผลสำเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม สหกรณ์ได้รับเงินกู้ดอกเบี้ยร้อยละ 1 จากกองทุนพัฒนาสหกรณ์ตามโครงการพิเศษ ในระยะเวลาที่กำหนด 6.2 ผลสัมฤทธิ์/ผลการดำเนินโครงการ สหกรณ์นำเงินกู้ กพส. ไปดำเนินการรวบรวมกาแฟจากสมาชิกในราคาที่สูงกกว่าท้องตลาด และสหกรณ์มีปริมาณธุรกิจที่เพิ่มขึ้นมากกว่าร้อยละ 3 โครงการส่งเสริมการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ดีในสถาบันเกษตรกร ปี 2565 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ เพื่อสนับสนุนเงินทุนหมุนเวียนอัตราดอกเบี้ยต่ำให้แก่สหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการส่งเสริมการผลิตและ กระจายเมล็ดพันธุ์ดีในสถาบันเกษตรกร ปี ๒๕๖๕ ในการดำเนินธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการผลิตเมล็ดพันธุ์ ได้แก่ เพื่อจัดหาเมล็ดพันธุ์ชั้นพันธุ์ขยาย เพื่อเป็นเงินทุนหมุนเวียนให้สมาชิกท่าแปลงเมล็ดพันธุ์ และเพื่อเป็นเงินทุน หมุนเวียนให้สหกรณ์รับซื้อผลผลิตส่าหรับปรับปรุงเป็นเมล็ดพันธุ์ 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ สหกรณ์การเกษตรแม่ลาน้อย จำกัด 3. ตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินโครงการ 1) สหกรณ์จะต้องมีปริมาณธุรกิจรวบรวม จัดหาสินค้ามาจำหน่าย เพิ่มขึ้น และมีการวัดผลให้ เป็นไป ตามแผนงานและความเป็นไปได้ในการดำเนินโครงการฯ 2) สหกรณ์สามารถลดต้นทุนการบริหารจัดการของสหกรณ์ได้ 3) สมาชิกสหกรณ์สามารถลดต้นทุนในการเพาะปลูกเมล็ดพันธุ์ได้ 4) สมาชิกมีรายได้เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับการเพาะปลูกผลผลิตทั่วไป
รายงานประจำปีพ.ศ. 2565 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน P a g e | 105 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 4. ผลสัมฤทธิ์/ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดำเนินงานโครงการ 1) สหกรณ์ที่ได้รับสนับสนุนเงินกู้ ได้รับผลตอบแทนจากการกู้เงินในอัตราดอกเบี้ยต่ำ ร้อยละ ๑ ต่อปี เพื่อนำมาดำเนินธุรกิจตามโครงการ เมื่อเทียบกับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จากแหล่งอื่นๆ ซึ่งจะสามารถ ลดต้นทุนใน การดำเนินธุรกิจ 2) สมาชิกที่เข้าร่วมโครงการสามารถลดต้นทุนการเพาะปลูกเมล็ดพันธุ์ จากการได้รับเงินทุนหมุนเวียน ดอกเบี้ยต่ำและสามารถจำาหน่ายผลผลิตสำหรับปรับปรุงเป็นเมล็ดพันธุ์ได้ในราคาที่สูงกว่าราคา ผลผลิตทั่วไป 5. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลการเบิกจ่าย ร้อยละ กองทุนพัฒนาสหกรณ์ (เงินนอกงบประมาณ) 500,000 บาท 500,000 บาท 100 6. สรุปผลการดำเนินงานโครงการ 6.1 ผลสำเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม สหกรณ์มีปริมาณธุรกิจรวบรวมเพิ่มขึ้น และสามารถลดต้นทุนการบริหารจัดการของสหกรณ์ ได้ รวมไปถึงสมาชิกสหกรณ์สามารถลดต้นทุนในการเพาะปลูกเมล็ดพันธุ์ได้ 6.2 ผลสัมฤทธิ์/ผลการดำเนินโครงการ สหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการฯ นำเงินกู้ กพส. ไปดำเนินการรวบรวมผลผลิตจากสมาชิกในราคา ที่สูงกว่าท้องตลาด ทำให้สมาชิกมีรายได้เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับการเพาะปลูกผลผลิตทั่วไป และสหกรณ์มีปริมาณ ธุรกิจที่เพิ่มขึ้นมากกว่าร้อยละ 3 โครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อการพัฒนาอาชีพ ปีที่ 3 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1) เพื่อสนับสนุนเงินทุนแก่สหกรณ์ ให้สมาชิกกู้ยืมเป็นทุนหมุนเวียนในการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ทางการเกษตร เพื่อเพิ่มรายได้อย่างยั่งยืนในการประกอบอาชีพให้แก่สมาชิก 2) เพื่อสนับสนุนสหกรณ์ให้มีเงินทุนหมุนเวียนอัตราดอกเบี้ยต่ำ ในการให้บริการสมาชิก 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ 1) สหกรณ์การเกษตรแม่ลาน้อย จำกัด 2) สหกรณ์การเกษตร ศชพ.ละอูบพัฒนา จำกัด 3. ตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินโครงการ 1) สหกรณ์ที่กู้เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ใช้เงินตามวัตถุประสงค์ร้อยละ 90 2) สมาชิกที่ได้รับเงินกู้มีรายได้เพิ่มขึ้นขั้นต่ำ อย่างน้อยร้อยละ 70
รายงานประจำปีพ.ศ. 2565 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน P a g e | 106 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 4. ผลสัมฤทธิ์/ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดำเนินงานโครงการ 1. สหกรณ์สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนอัตราดอกเบี้ยต่ำในการให้บริการสมาชิกมากขึ้น 2. ช่วยเพิ่มศักยภาพด้านการผลิตให้แก่สมาชิก และสะสมเงินออมในรูปทุนเรือนหุ้น 3. สมาชิกมีรายได้เพิ่มขึ้น สามารถลดต้นทุนการผลิต จากการได้รับเงินกู้อัตราดอกเบี้ยต่ำกว่าเงินกู้ปกติ ของสหกรณ์ และต่ำกว่าแหล่งเงินทุนอื่น และสามารถสร้างรายได้เพิ่มจากการประกอบอาชีพการเกษตร 4. กองทุนพัฒนาสหกรณ์สามารถช่วยเหลือสมาชิกในการลดต้นทุนการผลิต 5. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลการเบิกจ่าย ร้อยละ กองทุนพัฒนาสหกรณ์ (เงินนอกงบประมาณ) 3,600,000 บาท 3,600,000 บาท 100 6. สรุปผลการดำเนินงานโครงการ 6.1 ผลสำเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม สหกรณ์เข้าถึงแหล่งเงินทุนอัตราดอกร้อยละ 1 และให้บริการสมาชิกในอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 1 ลดต้นทุนการผลิตมีรายได้เพิ่มขึ้น เพิ่มศักยภาพด้านการผลิตให้แก่สมาชิก และสะสมเงินออมในรูปทุนเรือนหุ้น 6.2 ผลสัมฤทธิ์/ผลการดำเนินโครงการ สหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการฯ นำเงินกู้ กพส. ไปดำเนินการให้สมาชิกกู้ยืม สมาชิกได้รับเงินกู้ อัตราดอกเบี้ยต่ำกว่าเงินกู้ปกติของสหกรณ์ และต่ำกว่าแหล่งเงินทุนอื่น และสามารถสร้างรายได้เพิ่มจากการ ประกอบอาชีพการเกษตร โครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อฟื้นฟูการดำเนินธุรกิจสหกรณ์ 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1) เพื่อสนับสนุนเงินทุนหมุนเวียนดอกเบี้ยต่ำให้แก่สหกรณ์ใช้ในการฟื้นฟูการดำเนินธุรกิจ 2) ส่งเสริมให้สหกรณ์มีสภาพคล่องทางการเงิน เสริมสร้างศักยภาพการดำเนินธุรกิจให้สหกรณ์ มีความพร้อมสามารถดำเนินธุรกิจในการให้บริการสมาชิกได้อย่างต่อเนื่อง 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ สหกรณ์ทุกประเภท ที่มีผลการดาเนินงานขาดทุนย้อนหลัง ต่อเนื่อง 3 ปี และมีผลการดำเนินงาน ขาดทุนสะสมย้อนหลัง ไม่ต่ำกว่า 2 ปี ได้แก่ 1) สหกรณ์การเกษตรแม่สะเรียง จำกัด 2) สหกรณ์การเกษตรเมืองปาย จำกัด
รายงานประจำปีพ.ศ. 2565 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน P a g e | 107 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 3. ตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินโครงการ 1) กองทุนพัฒนาสหกรณ์ สนับสนุนเงินกู้ให้แก่สหกรณ์ ในการดำเนินธุรกิจเพื่อฟื้นฟูผลการดำเนินงาน ได้ไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 90 ของสหกรณ์ตามโครงการ 2) สหกรณ์ที่กู้เงินตามโครงการ ใช้เงินตรงตามวัตถุประสงค์ ร้อยละ 100 3) สหกรณ์ที่กู้เงินตามโครงการ มีผลการดาเนินงานดีขึ้นกว่าปีที่ผ่านมาไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60 4. ผลสัมฤทธิ์/ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดำเนินงานโครงการ 1) สหกรณ์มีเงินทุนหมุนเวียนใช้ในการฟื้นฟูการดำเนินธุรกิจตามแผน 2) สหกรณ์มีสภาพคล่องทางการเงิน ช่วยเพิ่มศักยภาพด้านการผลิต การตลาด และการขยายปริมาณ ธุรกิจของสหกรณ์ ในการให้บริการสมาชิก และมีผลการดำเนินงานดีขึ้น 3) ช่วยลดภาระต้นทุนในการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ จากการได้รับเงินกู้อัตราดอกเบี้ยต่ำกว่า แหล่งเงินทุนอื่น 5. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลการเบิกจ่าย ร้อยละ กองทุนพัฒนาสหกรณ์ (เงินนอกงบประมาณ) 1,600,000 บาท 1,600,000 บาท 100 6. สรุปผลการดำเนินงานโครงการ 6.1 ผลสำเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม สหกรณ์ได้รับเงินกู้ดอกเบี้ยร้อยละ 1 จากกองทุนพัฒนาสหกรณ์ตามโครงการพิเศษ ในระยะเวลาที่ กำหนด ทำให้มีสภาพคล่องทางการเงิน ช่วยเพิ่มศักยภาพด้านการผลิต การตลาด และการขยายปริมาณธุรกิจของสหกรณ์ 6.2 ผลสัมฤทธิ์/ผลการดำเนินโครงการ สหกรณ์นำเงินกู้ กพส. ไปดำเนินการรวบรวมผลผลิตจากสมาชิกในราคาที่สูงกกว่าท้องตลาด สหกรณ์ลดภาระต้นทุนในการดำเนินธุรกิจ และสหกรณ์มีปริมาณธุรกิจที่เพิ่มขึ้น โครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อการแก้ปัญหาหนี้และฟื้นฟูอาชีพสมาชิกสหกรณ์ ปีที่ 2 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1) เพื่อสนับสนุนเงินทุนแก่สหกรณ์ ให้สมาชิกกู้ยืมเป็นทุนหมุนเวียนในการฟื้นฟูอาชีพ 2) เพื่อแก้ปัญหาหนี้ค้างชำระของสมาชิกสหกรณ์ โดยการฟื้นฟูอาชีพให้มีรายได้ที่มั่นคงและเพียงพอ 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ 1) สหกรณ์การเกษตรเมืองแม่ฮ่องสอน จำกัด 2) สหกรณ์การเกษตรแม่ลาน้อย จำกัด 3) สหกรณ์การเกษตรแม่สะเรียง จำกัด
รายงานประจำปีพ.ศ. 2565 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน P a g e | 108 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 3. ตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินโครงการ 1) จำนวนสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการส่งชำระหนี้ได้ตามกำหนด ไม่น้อยกว่าร้อยละ 100 ๒) จำนวนสมาชิกสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้เพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 4. ผลสัมฤทธิ์/ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดำเนินงานโครงการ 1) สหกรณ์มีโอกาสเข้าถึงแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต่ำ เพื่อช่วยเหลือสมาชิกที่ได้รับความเดือดร้อน จากหนี้ค้างชำระกับสหกรณ์ 2) สมาชิกสหกรณ์ที่มีหนี้ค้างชำระสามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต่ำ รวมทั้งมีเงินทุนหมุนเวียนใน การประกอบอาชีพ พัฒนาอาชีพ และฟื้นฟูอาชีพ 3) สมาชิกมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการประกอบอาชีพ เพียงพอต่อการส่งชำระหนี้ และใช้จ่ายในครัวเรือน 5. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลการเบิกจ่าย ร้อยละ กองทุนพัฒนาสหกรณ์ (เงินนอกงบประมาณ) 750,000 บาท 750,000 บาท 100 6. สรุปผลการดำเนินงานโครงการ 6.1 ผลสำเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม สหกรณ์ได้รับเงินกู้ดอกเบี้ยร้อยละ 1 จากกองทุนพัฒนาสหกรณ์ตามโครงการพิเศษใน ระยะเวลาที่กำหนด และทำให้สมาชิกสหกรณ์เข้าถึงแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต่ำเพื่อนำไปประกอบอาชีพ 6.2 ผลสัมฤทธิ์/ผลการดำเนินโครงการ สหกรณ์นำเงินกู้ กพส. ไปดำเนินการให้สินเชื่อแก่สมาชิกในอัตราดอกเบี้ยต่ำเป็นการลดภาระ ต้นทุนในการประกอบอาชีพ โครงการนำลูกหลานเกษตรกรกลับบ้านสานต่ออาชีพการเกษตร ปี พ.ศ.2565 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1) เพื่อสนับสนุนเงินทุนแก่สหกรณ์ในโครงการนำลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพ การเกษตร เป็นเงินกู้แก่สมาชิกในโครงการ 2) เพื่อสนับสนุนเงินทุนหมุนเวียนแก่สหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการนำลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพการเกษตร 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ สหกรณ์การเกษตรเมืองปาย จำกัด
รายงานประจำปีพ.ศ. 2565 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน P a g e | 109 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 3. ตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินโครงการ 1) สหกรณ์ที่กู้เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ใช้เงินตามวัตถุประสงค์ร้อยละ ๙๐ ๒) สมาชิกร้อยละ ๘0 ที่กู้เงิน ได้รับประโยชน์จากเงินกู้ ด้านการลดต้นทุน/มีรายได้เพิ่ม 4. ผลสัมฤทธิ์/ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดำเนินงานโครงการ 1) สหกรณ์สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนอัตราดอกเบี้ยต่ำในการให้บริการสมาชิก ๒) ช่วยเพิ่มศักยภาพด้านการผลิต และการตลาดแก่สมาชิก และมีเงินออมในรูปทุนเรือนหุ้น ๓) สมาชิกสามารถลดต้นทุนการผลิต มีรายได้สุทธิเพิ่มขึ้น 5. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลการเบิกจ่าย ร้อยละ กองทุนพัฒนาสหกรณ์ (เงินนอกงบประมาณ) 280,000 บาท 280,000 บาท 100 6. สรุปผลการดำเนินงานโครงการ 6.1 ผลสำเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม สหกรณ์ได้รับเงินกู้ดอกเบี้ยร้อยละ 1 จากกองทุนพัฒนาสหกรณ์ตามโครงการพิเศษ ใน ระยะเวลาที่กำหนด และทำให้สมาชิกสหกรณ์เข้าถึงแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต่ำเพื่อนำไปประกอบอาชีพ 6.2 ผลสัมฤทธิ์/ผลการดำเนินโครงการ สหกรณ์นำเงินกู้ กพส. ไปดำเนินการให้สินเชื่อแก่สมาชิกในอัตราดอกเบี้ยต่ำเป็นการลดภาระ ต้นทุนในการประกอบอาชีพ ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ โครงการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกร เพื่อเข้าถึงแหล่งเงินทุน ในการผลิตและการตลาด ระดับจังหวัด 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1) สนับสนุนเงินกู้ยืมให้กับกลุ่มเกษตรกรเฉพาะที่มีมาตรฐาน เพื่อให้มีเงินกู้ยืมใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียน ในแต่ละปี ช่วงขยายระยะโครงการ รวม 3 ปี (พ.ศ.2565 - 2568) 2) เพื่อส่งเสริมเกษตรกรให้สามารถจัดหาปัจจัยการผลิตทางการเกษตรที่มีคุณภาพ และราคายุติธรรม ตรงตามความประสงค์ของเกษตรกรเอง เพื่อเป็นการลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกร รวมทั้งสร้างรายได้เพิ่ม จากการรวบรวมผลผลิตเพื่อจำหน่าย หรือแปรรูปผลผลิตร่วมกัน
รายงานประจำปีพ.ศ. 2565 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน P a g e | 110 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 3) สร้างโอกาสการเข้าถึงแหล่งเงินทุนให้กับเกษตรกร เพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาและสร้างความยั่งยืน ในการเพิ่มทุนภายใน เพื่อให้การบริหารจัดการกลุ่มเกษตรกรมีศักยภาพและความเข้มแข็งต่อไป 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ กลุ่มเกษตรชาวนาเมืองปอน 3. วิธีดำเนินโครงการ 1) กลุ่มเกษตรกรทำโครงการขอกู้และส่งคำขอกู้ต่อคณะกรรมการพิจารณาเงินกู้ ระดับจังหวัด พิจารณาเพื่อเสนอผู้มีอำนาจอนุมัติตามหลักเกณฑ์ที่กรมส่งเสริมสหกรณ์กำหนด 2) จังหวัดแจ้งผลการอนุมัติให้กลุ่มเกษตรกรทราบ และให้กลุ่มเกษตรกรทำาหนังสือสัญญากู้และ หนังสือค้ำประกันเงินกู้ 3) จังหวัดเบิกจ่ายเงินกู้ให้กลุ่มเกษตรกรและรายงานให้กรมส่งเสริมสหกรณ์ทราบ 4) สำนักงานสหกรณ์จังหวัด ตรวจสอบการดำเนินงาน ของกลุ่มเกษตรกร ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ การใช้เงินกู้ยืม และตัวชี้วัดความสำเร็จตามแผนปฏิบัติงาน 4. ตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินโครงการ 1) กลุ่มเกษตรกรสามารถมีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น 2) กลุ่มเกษตรกรสามารถส่งชำระหนี้คืนได้ตามกำาหนดไม่ต่ำกว่าร้อยละ 9๘ (อัตราเสี่ยงในการชำระ หนี้ไม่ได้เพียงร้อยละ ๒ ) 3) กลุ่มเกษตรกรมีเงินทุนภายในเพิ่มขึ้นในภาพรวมไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕ ในแต่ละปี 5. ผลสัมฤทธิ์/ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดำเนินงานโครงการ 1) กลุ่มเกษตรกรมีเงินทุนในการพัฒนาศักยภาพในการดำเนินธุรกิจได้อย่างกว้างขวาง สามารถจัดหา วัสดุอุปกรณ์การผลิต ทั้งพืชและสัตว์มาบริการสมาชิกได้อย่างทั่วถึงสอดคล้องกับความต้องการของสมาชิก 2) สมาชิกกลุ่มเกษตรกรมีเงินทุนพอในการประกอบอาชีพการเกษตร สามารถลดต้นทุนการผลิต และ รายได้เพิ่มขึ้นเพียงพอแก่การดำรงชีพ 3) กลุ่มเกษตรกรมีฐานะการเงินมั่นคง มีทรัพย์สิน มีความเข้มแข็ง สามารถช่วยเหลือตนเอง และ สมาชิกได้ 6. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลการเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน (เงินงบประมาณ) 5,500 บาท 5,500 บาท 100 กองทุนสงเคราะห์ เกษตรกร (เงินนอกงบประมาณ) 500,000 บาท 500,000 บาท 100
รายงานประจำปีพ.ศ. 2565 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน P a g e | 111 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 7. สรุปผลการดำเนินงานโครงการ 7.1 ผลสำเร็จตามตัวชี้วัด/กิจกรรม กลุ่มเกษตรชาวนาเมืองปอน ได้รับเงินกู้ปลอดดอกเบี้ยจากกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ใน ระยะเวลาที่กำหนด เพื่อนำไปจัดหาปุ๋ยมาจำหน่ายให้กับสมาชิกในราคาถูก 7.2 ผลสัมฤทธิ์/ผลการดำเนินโครงการ สมาชิกกลุ่มเกษตรชาวนาเมืองปอน ได้เข้าถึงปุ๋ยเพื่อใช้ในการผลิตในราคาถูก และช่วยลด ต้นทุนการผลิต ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ “แนวทางการให้บริการของกองทุน และแลกเปลี่ยน เรียนรู้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์” 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1) เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับแนวทางการบริหารจัดการเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ให้กับ สหกรณ์ที่กู้เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ ทั้งสหกรณ์ที่กู้เงินรายเดิม และสหกรณ์ที่กู้เงินรายใหม่ 2) เพื่อสร้างความรับรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักเกณฑ์การให้เงินกู้ กพส. การจัดทำแผนธุรกิจสหกรณ์ การจัดทำแผนงานโครงการ ประกอบคำขอกู้เงิน กพส. การจัดทำเอกสารประกอบการขอเงินกู้ กพส. ตามวัตถุประสงค์ขอการขอกู้เงินของสหกรณ์ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ในการดำเนินงาน ของสหกรณ์ 3) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ 1) ประธานสหกรณ์ กรรมการสหกรณ์ ผู้จัดการสหกรณ์ เจ้าหน้าที่สหกรณ์ จำนวน 22 คน 2) ข้าราชการ พนักงานราชการ ที่ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับกองทุนพัฒนาสหกรณ์ จำนวน 18 คน 3. ตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินโครงการ ร้อยละจำนวนผู้เข้าร่วมประชุมโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ “แนวทางการให้บริการของกองทุนและ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์” ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
รายงานประจำปีพ.ศ. 2565 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน P a g e | 112 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 4. ผลสัมฤทธิ์/ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดำเนินงานโครงการ บุคลากรของสหกรณ์มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับแนวทางการบริหารจัดการเงิน กพส. หลักเกณฑ์ การให้เงินกู้ กพส. การจัดทำแผนธุรกิจสหกรร์ การจัดทำแผนงาน/โครงการประกอบคำขอกู้เงิน กพส. การ จัดทำเอกสารประกอบคำขอกู้ กพส. เพื่อเพิ่มโอกาสให้สหกรณ์เข้าถึงแหล่งเงินทุนเพิ่มมากขึ้น รวามถึงกรม ส่งเสริมสหกรณ์ สามารถนำข้อเสนอแนะ ข้อคิดเห็นปัญหาหรืออุปสรรคต่างๆ จากสหกรณ์ มาปรับปรุงการ บริการจัดการเงิน กพส. ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 5. งบประมาณที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลการเบิกจ่าย ร้อยละ กองทุนพัฒนาสหกรณ์ (เงินนอกงบประมาณ) 14,700 บาท 14,700 บาท 100 6. สรุปผลการดำเนินงานโครงการ 6.1 ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางการบริหารของกองทุน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการจัดการเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ ดังนี้ 1) หลักเกณฑ์การให้เงินกู้ กพส. - ผู้เข้าร่วมประชุมเข้าใจในหลักเกณฑ์การให้เงินกู้ กพส. 2) การจัดแผนธุรกิจสหกรณ์ - ผู้เข้าร่วมประชุมเข้าใจในการจัดแผนธุรกิจสหกรณ์ 3) การจัดแผนงานหรือโครงการประกอบคำขอกู้เงิน กพส. - ผู้เข้าร่วมประชุมเข้าใจในการจัดแผนงานและโครงการประกอบคำขอกู้เงิน กพส. 4) การจัดทำเอกสารประกอบการขอกู้เงิน กพส. - ผู้เข้าร่วมประชุมเข้าใจในการจัดทำเอกสารประกอบการขอกู้เงิน กพส. 5) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ปัญหาและอุปสรรคๆ ในการดำเนินงาน - สหกรณ์ได้มีการแลกเปลี่ยนในประเด็นกว้างๆ เช่น สหกรณ์ไม่ได้ส่งคำขอสำรวจความ ต้องการเงินกู้ในคราวสำรวจ แต่ปัจจุบันต้องการเงินกู้ กพส. จะดำเนินการอย่างไรได้บ้าง ซึ่งกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารจัดการสหกรณ์ ได้ชี้แจงและแนะนำแนวทางให้ทราบในเบื้องต้นเกี่ยวกับประเด็นดังกล่าว 6.2 ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะอื่นๆ - สหกรณ์ภาคเกษตร มีข้อเสนอแนะขอให้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ให้กู้ระยะยาว ที่มี วัตถุประสงค์ ให้สมาชิกกู้ยืม และจัดหาสินค้ามาจำหน่าย เพื่อให้สหกรณ์มีเงินทุนหมุนเวียนในการดำเนินธุรกิจ ระยะยาวขึ้น
รายงานประจำปีพ.ศ. 2565 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน P a g e | 113 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ส่วนที่ 3
รายงานประจำปีพ.ศ. 2565 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน P a g e | 114 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ผลการเข้าร่วมบูรณาการกับหน่วยงานต่างๆ ภายในจังหวัด : สหกรณ์การเกษตรตำบลห้วยผา จำกัด และสหกรณ์ บริการมวลชนแม่ฮ่องสอน จำกัด มีการเริ่มดำเนินธุรกิจจัดหาสินค้าอุปโภค - บริโภคมาจำหน่ายให้แก่สมาชิก ในราคา ยุติธรรม โดยสำรวจความต้องการของสมาชิกก่อนจัดซื้อสินค้าทุกครั้ง และจัดส่งสินค้าให้สมาชิกถึงบ้าน เพื่อความ สะดวกของสมาชิก และเป็นการเพิ่มส่วนร่วมในการดำเนินธุรกิจ และปริมาณธุรกิจให้แก่สหกรณ์ ชื่องาน/โครงการ/กิจกรรม โครงการส่งเสริมการรวบรวมผลผลิตทางการเกษตร และจำหน่ายผลิตผักปลอดภัย ผลการเข้าร่วมบูรณาการกับหน่วยงานต่างๆ ภายในจังหวัด : (สรุปกิจกรรมที่ดำเนินงาน) ผลการเข้าร่วมบูรณาการกับหน่วยงานต่างๆ ภายในจังหวัด : โครงการรวบรวม และแปรรูปผลผลิตทาง การเกษตร (ข้าวเปลือก กข 21) ของกลุ่มเกษตรกรทำนาปางหมู มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการพัฒนา/เพิ่ม ศักยภาพธุรกิจที่มีอยู่และต่อยอดธุรกิจรวบรวมผลผลิตการเกษตรสู่ธุรกิจแปรรูป และเพื่อเป็นการเพิ่มมูลค่า ผลผลิตการเกษตร เพิ่มช่องทาง การจัดจำหน่ายผลผลิตการเกษตรของสมาชิกสหกรณ์ และแก้ไข/บรรเทา ปัญหาราคาผลผลิตตกต่ำ ในปีบัญชี 2565 กลุ่มเกษตรกรทำนาปางหมู รวบรวมข้าวเปลือกได้จำนวน 15.24 ตัน ใช้เงินทุนภายในของกลุ่มเกษตรกรในการรวบรวม จำนวน 150,410.- บาท ซึ่งผลผลิตที่รวบรวมได้จัดจำหน่ายให้แก่ สหกรณ์เครือข่าย อาทิเช่น สหกรณ์การเกษตรแม่ลาน้อย จำกัด สหกรณ์การเกษตรเมืองแม่ฮ่องสอน และพ่อค้า เรียบ สำหรับการแปรรูปข้าวสารบรรจุถุงของกลุ่มเกษตรกรฯ อยู่ในช่วงเริ่มต้นธุรกิจ ซึ่งกลุ่มเกษตรกรฯ มีแผน ในการปรับปรุง พัฒนา ต่อยอดผลิตภัณฑ์ และประชาสัมพันธ์ให้เป็นที่รู้จักยิ่งขึ้นภายใต้ชื่อ “ข้าวหอมปางหมู” ต่อไป กิจกรรมส่งเสริมธุรกิจจัดหาสินค้าอุปโภค - บริโภคมาจำหน่ายให้แก่สมาชิก ของสหกรณ์การเกษตรตำบลห้วยผา จำกัด และสหกรณ์บริการมวลชนแม่ฮ่องสอน จำกัด โครงการรวบรวมและแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร กลุ่มเกษตรกรทำนาปางหมู รูปภาพกิจกรรม
รายงานประจำปีพ.ศ. 2565 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน P a g e | 115 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร กลุ่มฯ รวบรวมผลผลิตการเกษตร (ข้าว กข 21) จำนวน 15.24 ตัน จากสมาชิก เพื่อจำหน่ายให้แก่ สหกรณ์การเกษตรแม่ลาน้อย จำกัด สหกรณ์การเกษตรเมืองแม่ฮ่องสอน จำกัด และพ่อค้าทั่วไป ในราคากิโลกรัมละ 10.25 – 11.00 บาท กลุ่มเกษตรกรรวบรวมและแปรรูปข้าว กข 21 เป็นข้าวสารบรรจุถุงภายใต้ชื่อ “ข้าวหอมปางหมู” สหกรณ์พัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงสบเมย จำกัด สหกรณ์พัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงสบเมย จำกัด มุ่งเน้นดำเนินงานเพื่อส่งเสริมและ พัฒนาชุมชนบนพื้นที่สูงทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม มุ่งเน้นการขับเคลื่อนการดำเนินธุรกิจของ สหกรณ์และสร้างเครือข่ายความร่วมมือ โดยได้ผลักดันให้สหกรณ์โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงสบ เมย จำกัด เป็นสถาบันเกษตรกรหลักในพื้นที่ มีระบบการบริหารจัดการ และการขับเคลื่อนการดำเนินธุรกิจของ สหกรณ์ที่ดีทางโครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงสบเมย ร่วมกับสหกรณ์พัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการ หลวงสบเมย จำกัด จึงกำหนดจัดกิจกรรมโครงการผ่ากระบอกออมสินไม้ไผ่ เพื่อการออมทรัพย์ในวันออมทรัพย์ แห่งชาติ ประจำปี พ.ศ. 2565 เนื่องในวันที่ 31 ตุลาคมของทุกปี เป็นวันออมแห่งชาติ ทั้งนี้โครงการพัฒนาพื้นที่ สูงแบบโครงการหลวงสบเมยจึงร่วมกับทางสหกรณ์พัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงสบเมย จำกัด จัดกิจกรรม ผ่ากระบอกออมสินไม้ไผ่ เพื่อการออมทรัพย์เนื่องในวันออมทรัพย์แห่งชาติโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อกระตุ้นและ ส่งเสริมการออมให้สมาชิกสหกรณ์ รวมถึงกระตุ้นการขับเคลื่อนการดำเนินกิจกรรมของสหกรณ์พัฒนาพื้นที่สูง แบบโครงการหลวงสบเมย จำกัด และสร้างเครือข่ายระหว่างสหกรณ์ในพื้นที่อำเภอสบเมยต่อไป รูปภาพกิจกรรม
รายงานประจำปีพ.ศ. 2565 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน P a g e | 116 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร วัตถุประสงค์ 3.1 เพื่อกระตุ้นและส่งเสริมการออมให้สมาชิกสหกรณ์ ในพื้นที่โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการ หลวงสบเมย 3.2 เพื่อกระตุ้นการขับเคลื่อนการดำเนินกิจกรรมของสหกรณ์พัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง สบเมย จำกัดและเชื่อมโยงระหว่างสหกรณ์ในพื้นที่อำเภอสบเมย 3.3 เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ และความเข้มแข็งของกลุ่มสหกรณ์ 4. เป้าหมาย 4.1 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : สมาชิกสหกรณ์พัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงสบเมย จำกัด ได้รับ ความรู้และประโยชน์จากการจัดทำบัญชีต้นทุนและบัญชีครัวเรือน 4.2 เป้าหมายเชิงปริมาณ : สมาชิกสหกรณ์พัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงสบเมย จำกัด ที่เข้าร่วม กิจกรรม จำนวน 80 ราย ออมทรัพย์กับสหกรณ์ เป็นเงิน 50,000.- บาท 5. วิธีดำเนินการ ๕.๑ จัดกิจกรรมการผ่ากระบอกไม้ไผ่ออมสิน และรับเงินฝากออมทรัพย์ของสมาชิกกลุ่มสหกรณ์พัฒนา พื้นที่สูงแบบโครงการหลวงสบเมย จำกัด ๕.๒ ถ่ายทอดความรู้ เรื่อง การจัดทำบัญชีต้นทุน และบัญชีครัวเรือน ภาพกิจกรรมผ่ากระบอกออมสินไม้ไผ่ เพื่อการออมทรัพย์ในวันออมทรัพย์แห่งชาติ ประจำปี พ.ศ. 2565 สหกรณ์การเกษตรแม่ลาน้อย จำกัด สำนักงานตั้งอยู่เลขที่ 423 หมู่ที่ 1 ถนนแหล่งพาณิชย์ ตำบลแม่ลาน้อย อำเภอแม่ลาน้อย จังหวัด แม่ฮ่องสอน รหัสไปรษณีย์ 58120 โทรศัพท์ 0-5368-9016 โทรสาร 0-5368-9114 เว็บไซต์http://www.ca[email protected] จดทะเบียนวันที่ 19 กันยายน 2521 ปัจจุบันมีสมาชิก 1,925 คน (แยกเป็น สมาชิกสามัญ 1,452 คน สมาชิกสมทบ 473 คน คณะกรรมการดำเนินการ จำนวน 11 คน ผู้ตรวจสอบ กิจการ จำนวน 2 คน ฝ่ายจัดการ จำนวน 10 คน )
รายงานประจำปีพ.ศ. 2565 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน P a g e | 117 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ผลการดำเนินงาน ย้อนหลัง 3 ปี ปีบัญชีสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2563 กำไร(ขาดทุน) สุทธิ 1,206,246.78 บาท ปีบัญชีสิ้นสุด 31 มีนาคม 256๔ กำไร(ขาดทุน) สุทธิ 394,064.16 บาท ปีบัญชีสิ้นสุด 31 มีนาคม 2565 กำไร(ขาดทุน) สุทธิ 169,375.31 บาท กิจกรรมที่โดดเด่นของสหกรณ์การเกษตรแม่ลาน้อย จำกัด การดำเนินธุรกิจรวบรวมผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ สหกรณ์การเกษตรแม่ลาน้อย จำกัด ดำเนินการรวบรวมผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ในทุกปี ได้จัดทำโครงการ พัฒนาศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถในการดำเนินธุรกิจข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ครบวงจร มีสมาชิกเข้าร่วมโครงการ จำนวน 425 ราย ในพื้นที่ 7 ตำบล พื้นที่เพาะปลูก จำนวน 4,250 ไร่ แผนรวบรวม จำนวน 3,000 ตัน ใช้งบประมาณ 14 ล้านบาท เริ่มดำเนินงาน เดือน ธันวาคม 2564 –กุมภาพันธ์ 2565 มีความพร้อมในเรื่อง ต้นทุนการผลิตแก่สมาชิก (เงินทุน ปุ๋ย ยา เมล็ดพันธุ์) มีโกดัง ลานตาก รถตักล้อยาง รถบรรทุก 6 ล้อ ยกดั้มคอกเกษตร เครื่องวัดความชื้น เครื่องชั่ง เครื่องอบลด ความชื้น โดยจำหน่ายให้ตลาดปลายทาง บริษัทเบทราโก , สหกรณ์ผู้เลี้ยงไก่ไข่ เชียงใหม่-ลำพูน จำกัด , ผู้เลี้ยงสัตว์ทั่วไป , บริษัทพรเทพอะโกรเทค จำกัด , หจก.ด่านจรูญ , บริษัทรวมพรมิตรโภคภัณฑ์ โกดังเก็บข้าวโพด ลานตาก เครื่องชั่ง เครื่องวัดความชื้น เครื่องอบลดความชื้น ชื่องาน/โครงการ/กิจกรรม พลังเครือข่ายสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน ร่วมรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของ องค์ผู้ให้กำเนิดสหกรณ์ "พระราชวรวงศ์เธอกรมหมื่นพิทยาลงกรณ์" พระบิดาแห่งการสหกรณ์ไทย ผลการเข้าร่วมบูรณาการกับหน่วยงานต่างๆ ภายในจังหวัด : (สรุปกิจกรรมที่ดำเนินงาน) 26 กุมภาพันธ์ 2565 วันสหกรณ์แห่งชาติ ประจำปี พ.ศ. 2565 จังหวัดแม่ฮ่องสอน เครือข่ายสหกรณ์ จังหวัดแม่ฮ่องสอน ร่วมกับสำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน และสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์จังหวัด รถตักล้อยาง
รายงานประจำปีพ.ศ. 2565 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน P a g e | 118 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร แม่ฮ่องสอน จัดงานวันสหกรณ์แห่งชาติ ประจำปี 2565 ณ สหกรณ์การเกษตรสบเมย จำกัด ภายใต้มาตรการ ป้องกัน โควิด - 19 โดยมีนายคีตวุฒิ นับแสง สหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน เป็นประธาน เพื่อถวายสักการะและ รำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณขององค์ผู้ให้กำเนิดสหกรณ์ "พระราชวรวงศ์เธอกรมหมื่นพิทยาลงกรณ์" พระบิดา แห่งการสหกรณ์ไทย และพิธีเปิดซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์การเกษตรสบเมย จำกัด เพื่อเป็นศูนย์รวมสินค้าเกษตร ผลิตภัณฑ์ ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดแม่ฮ่องสอน อีกทั้งสินค้าอุปโภคบริโภค ในราคายุติธรรม มุ่งเน้นเพิ่มรายได้ให้แก่เกษตรกรสมาชิก และลดค่าใช้จ่ายของชุมชน ในการนี้เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2565 สหกรณ์การเกษตรสบเมย จำกัด ได้ประกอบพิธีทางศาสนาเปิดซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์
รายงานประจำปีพ.ศ. 2565 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน P a g e | 119 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร
รายงานประจำปีพ.ศ. 2565 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน P a g e | 120 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน งบแสดงฐานะการเงิน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2565 หน่วย : บาท หมายเหตุ ปี 2565 ปี 2564 สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินฝากคลัง 168,405.00 158,475.00 ลูกหนี้เงินยืมในงบประมาณ 32,988.00 - เงินทดรองราชการ 5,000.00 ค้างรับจากรมบัญชีกลาง 106,242.00 รวมสินทรัพย์ หมุนเวียน 312,635.00 158,475.00 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน อาคารและสิ่งปลูกสร้าง-สุทธิ 1,754,688.52 - ครุภัณฑ์และอุปกรณ์สุทธิ 10,108,342.91 10,996,217.91 รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 11,863,031.43 10,996,217.91 รวมสินทรัพย์ 12,175,666.43 11,154,692.91 หนี้สิน หนี้สินหมุนเวียน เจ้าหนี้การค้า - ภายนอก 40,590.43 681,264.29 เจ้าหนี้อื่น 2,266.26 สาธารณูปโภคค้างจ่าย - 1,403.84 ใบสำคัญค้างจ่าย 106,800.00 รวมหนี้สินหมุนเวียน 149,656.69 682,668.13 หนี้สินไม่หมุนเวียน เงินทดรองราชการรับจากคลัง 5,000.00 - เงินรับฝากและเงินประกัน 168,405.00 158,475.00 รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน 173,405.00 158,475.00 รวมหนี้สิน 323,061.69 841,143.13 ทุน ทุนของหน่วยงาน 52,349.63 52,349.63 รายได้สูง (ต่ำ) กว่าค่าใช้จ่ายสะสม 11,800,255.11 3,973,410.01 ขาดทุนสุทธิ - 314,101.03 รวมส่วนของทุน 11,852,604.74 4,339,860.67 รวมส่วนของหนี้สินและทุน 12,175,666.43 5,181,003.80
รายงานประจำปีพ.ศ. 2565 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน P a g e | 121 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน งบแสดงผลการดำเนินงานทางการเงิน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2565 (หน่วย:บาท) หมายเหตุ ปี 2565 ปี 2564 รายได้จากการดำเนินงาน รายได้จากรัฐบาล รายได้จากงบบุคลากร 3,464,070.00 3,313,144.05 รายได้จากงบลงทุน 595,700.00 37,500.00 รายได้จากงบดำเนินงาน 5,000,066.38 4,296,972.24 รายได้จากงบอุดหนุน 615,100.00 4,460,829.46 รายได้จากงบกลาง 220,897.25 129,282.00 รวมรายได้จากรัฐบาล 9,895,833.63 12,237,727.75 รายได้จากแหล่งอื่น รายได้รับเงินกู้ - 669,900.00 รายได้ค่าธรรมเนียมอื่น 400.00 11,227.00 รายได้ดอกเบี้ยอื่น 6.99 3,363.17 รายได้ค่าของเบ็ดเตล็ด - สกร.รับเงินนอก 43,200.00 86,149.51 ปรับเงินฝากคลัง 53,130.00 174,235.00 รายได้เหลือจ่าย 6,267.77 16,200.00 รายได้ไม่ใช่ภาษีอื่น 694.89 รวมรายได้จากแหล่งอื่น 103,699.65 961,074.68 รวมรายได้จากการดำเนินงาน 9,999,533.28 13,198,802.43 (หน่วย:บาท)
รายงานประจำปีพ.ศ. 2565 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน P a g e | 122 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร (หน่วย:บาท) หมายเหตุ ปี 2565 ปี 2564 ค่าใช้จ่ายจากการดำเนินงาน ค่าตอบแทนพนักงานราชการ 3,464,070.00 3,313,144.05 ค่าใช้จ่ายเงินอุดหนุนอื่น 615,100.00 4,445,829.46 ตัดจำหน่าย Software 23,619.95 7,148.73 เงินเบิกเกินส่งคืน 141,665.00 233,050.59 โอนเงินให้ สกร. 53,130.00 174,235.00 โอนเงินรายได้ให้ บก. 7,369.65 30,790.17 ปรับเงินฝากคลัง 43,200.00 86,149.51 ค่าตอบแทนพิเศษ 96,224.00 - ค่าตอบเทนใช้สอยและวัสดุ 3,985,692.86 4,496,391.44 ค่าสาธารณูปโภค 273,943.08 251,221.66 ค่าใช้จ่ายงบกลาง 184,897.25 129,282.00 ค่าใช้จ่ายตามาตรการของรัฐ - 669,900.00 ค่าเสื่อมราคาครุภัณฑ์ 858,434.96 874,825.82 รวมค่าใช้จ่าย 9,747,346.75 14,711,968.43 รายได้สูง/(ต่ำ) กว่าค่าใช้จ่ายสุทธิ 252,186.53 - 1,513,166.00
รายงานประจำปีพ.ศ. 2565 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน P a g e | 123 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน งบแสดงผลงานทางการเงิน สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2565 (หน่วย:บาท) หมายเหตุ ปี 2565 ปี 2564 รายละเอียดประกอบที่ 1 ค่าตอบแทนพิเศษ เงินสมทบประกันสังคม 90,024.00 81,854.00 เงินกองทุนทดแทน 6,200.00 6,200.00 รวม 96,224.00 88,054.00 รายละเอียดประกอบ 2 ค่าตอบแทน ค่าใช้สอย และค่าวัสดุ ค่าล่วงเวลา 1,127,740.00 2,337,030.00 ค่าเช่าบ้าน 512,300.00 483,479.96 ค่าใช้จ่ายอบรมในประเทศ 3,410.00 0.00 ค่าใช้จ่ายอบรมภายนอก 367,525.00 601,685.00 ค่าเบี้ยเลี้ยง 282,002.00 333,629.00 ค่าที่พัก 177,158.00 143,210.00 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางในประเทศ 117,623.84 119,306.71 ค่าวัสดุ 493,163.34 529,556.32 ค่าซ่อมแซมและค่าบำรุงรักษา 341,009.73 561,113.70 ค่าเชื้อเพลิง 361,670.20 247,421.00 ค่าจ้างเหมาบริการบุคคลาภายนอก 1,054,159.00 1,207,749.00 ค่าเบี้ยประกันภัย 5,590.75 5,590.75 ครุภัณฑ์ต่ำกว่าเกณฑ์ 0.00 60,300.00 ค่าใช้จ่ายในการประชุม 237,455.00 165,120.00 ค่าใช้สอยอื่นๆ 4,850.00 1,200.00 รวม 3,985,692.86 4,496,391.14 รวมทั้งสิ้น 4,081,916.86 4,584,445.44
รายงานประจำปีพ.ศ. 2565 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน P a g e | 124 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร หมายเหตุที่ 1 -สรุปนโยบายบัญชีที่สำคัญ งบการเงินรวมของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2565ได้จัดทำขึ้นตามหลักการ และนโยบายบัญชีภาครัฐ โดยการบัญชีของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้จัดทำรายงานการเงินรวบรวมจากข้อมูลในระบบ New GFMI ขอบเขตของข้อมูลในรายงาน รายงานที่ปรากฎในรายงาน รวมถึงสินทรัพย์ หนี้สิน และค่าใช้จ่ายซึ่งเป็นของรัฐบาลในภาพรวมแต่ให้หน่วยงานเป็น ผู้รับผิดชอบในการดูแลรักษาและการรักษาและการบริหารจัดการให้แก่รัฐบาลภายใต้อำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย และรวมถึงสินทรัพย์ หนี้สิน รายได้และค่าใช้จ่าย ซึ่งเป็นรายการที่เกิดขึ้น การรับรู้รายได้ รายได้จากเบิกงบประมาณรับรู้เมื่อได้รับอนุมัติคำขอเบิกจากรมบัญชีกลาง รายได้เงินนอกงบประมาณ รับรู้เมื่อเกิดรายได้รายได้แผ่นดิน ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำหน่าย คำนวนจากราคาทุนของครุภัณฑ์ อาคารและสิ่งปลูกสร้าง โดยวิธีเส้นตรงตามอายุการใช้งานโดยประมาณอายุการ ใช้งานของสินทรัพย์ ดังนี้ - อาคารและสิ่งปลูกสร้าง 15 ปี - ครุภัณฑ์ต่างๆ 3 - 15 ปี หมายเหตุที่ 2 -เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด (หน่วย:บาท) หมายเหตุ ปี 2565 ปี 2564 เงินสดในมือ 0.00 0.00 เงินฝากธนาคารในงบประมาณ 0.00 0.00 เงินทดรองราชการ 5,000.00 0.00 เงินฝากคลัง 168,405.00 158,475.00 รวมเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 173,405.00 158,475.00 หมายเหตุที่ 3 ลูกหนี้ ลูกหนี้เงินยืมในงบประมาณ นางสาวอัญชนา สิรสิทธิ์สืบเชื้อ 14,230.00 0.00 นายคีตวุฒิ นับแสง 9,558.00 0.00 นายเอกบดี จันภักษานนท์ 9,200.00 0.00 รวมลูกหนี้ 32,988.00 0.00 รายได้จากเงินงบประมาณ (ค้างรับจากกรมบัญชีกลาง) ค่าจ้างเหมาบริการ-บุคคลภายนอก(ทำความสะอาด) 9,000.00 0.00 ค่าจ้างเหมาบริการ-บุคคลภายนอก(พนักงานรักษาความปลอดภัย) 22,800.00 0.00 ค่าจ้างเหมาบริการ-บุคคลภายนอก(ทำความสะอาด) 9,000.00 0.00 ค่าจ้างเหมาบริการ-บุคคลภายนอก(พนักงานขับรถยนต์) 33,000.00 0.00 ค่าเช่าบ้าน 33,000.00 0.00 รวมรายได้ค้างรับ 106,800.00 0.00 หมายเหตุที่ 5 ที่ดิน อาคาร ครุภัณฑ์และอุปกรณ์ อาคารสำนักงาน 901,813.52 497,000.00 สิ่งปลูกสร้าง 852,875.00 675,875.00
รายงานประจำปีพ.ศ. 2565 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน P a g e | 125 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร (หน่วย:บาท) หมายเหตุ ปี 2565 ปี 2564 หมายเหตุที่ 5 ที่ดิน อาคาร ครุภัณฑ์และอุปกรณ์ ครุภัณฑ์สำนักงาน 1,033,829.08 1,008,829.08 ครุภัณฑ์ยานพาหนะ 7,266,000.00 7,266,000.00 คุรภัณฑ์ไฟฟ้า&วิทยุ 20,200.00 20,200.00 ครุภัณฑ์โฆษณา 396,680.00 396,680.00 ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ 1,0567,551.83 857,551.83 ครุภัณฑ์บ้านครัว 9,500.00 9,500.00 ครุภัณฑ์ไม่ระบุฯ 204,912.00 204,912.00 โปรแกรมคอมฯ 119,670.00 59,670.00 รวมที่ดิน อาคาร ครุภัณฑ์และอุปกรณ์ 11,863,034.43 10,996,217.91 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม 8,622,265.05 7,740,210.14 ที่ดิน อาคาร ครุภัณฑ์และอุปกรณ์สุทธิ 3,240,766.38 3,256,007.77 ค่าเสื่อมราคาสะสมประกอบด้วย อาคารสำนักงาน 901,813.52 497,000.00 สิ่งปลูกสร้าง 852,875.00 675,875.00 ครุภัณฑ์สำนักงาน 1,033,829.08 1,008,829.08 ครุภัณฑ์ยานพาหนะ 7,266,000.00 7,266,000.00 คุรภัณฑ์ไฟฟ้า&วิทยุ 20,200.00 20,200.00 ครุภัณฑ์โฆษณา 396,680.00 396,680.00 ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ 1,057,551.83 857,551.83 ครุภัณฑ์บ้านครัว 9,500.00 9,500.0 ครุภัณฑ์ไม่ระบุฯ 204,912.00 204,912.00 โปรแกรมคอมฯ 119,670.00 59,670.0 รวมที่ดิน อาคาร ครุภัณฑ์และอุปกรณ์ 11,863,031.43 10,996,217.91 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม 8,622,265.05 7,740,21 ที่ดิน อาคาร ครุภัณฑ์และอุปกรณ์สุทธิ 3,240,766.38 3,256,007.7 ค่าเสื่อมราคาสะสมประกอบด้วย คสส. อาคาร สนง. 139,640.89 79,519.99 คสส. สิ่งปลูกสร้าง 677,341.42 637,021.23 คสส ครุภัณฑ์สำนักงาน 689,684.43 556,454.66 คสส ครุภัณฑ์ยานพาหนะ 5,722,171.66 5,226,7 คสส ไฟฟ้า&วิทยุ 14,651.24 12,510.72 คสส ครุภัณฑ์โฆษณา 334,948.58 299,280.34 คสส คอมพิวเตอร์ 796,104.22 704,583.07 คสส ครุภัณฑ์บ้านครัว 9,499.00 9,499.00
รายงานประจำปีพ.ศ. 2565 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน P a g e | 126 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร (หน่วย:บาท) หมายเหตุ ปี 2565 ปี 2564 คสส ครุภัณฑ์ไม่ระบุฯ 204,908.00 204,908.00 คสส-โปรแกรมคอมฯ 33,315.61 9,695.66 ค่าเสื่อมราคาสะสมประกอบด้วย 8,622,265.05 7,740,210.14 หมายเหตุที่ 6 เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้การค้า บริษัท โตโยต้าล้านนา จำกัด 6,530.21 บริษัท โตโยต้าล้านนา จำกัด 6,728.16 บริษัท โตโยต้าล้านนา จำกัด 20,180.20 บริษัท โปรอินเตอร์เทรด จำกัด 1,446.00 บริษัท โปรอินเตอร์เทรด จำกัด 2,800.00 บริษัท โปรอินเตอร์เทรด จำกัด 2,905.86 หจก.แม่ฮ่องสอนมิตรอะไหล่ 9,900.00 บริษัท แอดไวซ์ แม่ฮ่องสอน จำกัด 40,000.00 หจก.ต้นว่านเคเบิ้ลทีวี 6,000.00 อุลลา มีเดีย อาตส์ 15,000.0 บริษัท แอดไวซ์ แม่ฮ่องสอน จำกัด 33,600.00 หจก.ตันตกานต์กรุ๊ป 406,000.00 หจก.แม่ฮ่องสอนมิตรอะไหล่ 12,900.00 หจก.กมลสดใส เอ็นจิเนียริ่ง 39,700.00 บริษัท แอดไวซ์ แม่ฮ่องสอน จำกัด 22,000.00 ร้านมิสเตอร์คอมพิวเตอร์ 5,060.00 บริษัท แอดไวซ์ แม่ฮ่องสอน จำกัด 24,000.00 บริษัท โตโยต้า ล้านนา จำกัด 7,045.95 บริษัท เซว่นโปรอินเตอร์เทรด จำกัด 11,994.00 บริษัท แอดไวซ์ แม่ฮ่องสอน จำกัด 23,000.00 บริษัท แอดไวซ์แม่ฮ่องสอน จำกัด 7,600.00 ร้านปึ๊ดดีไซน์ 4,500.00 หจก.ปรีชาเครื่องครัว 2,920.00 หจก.แม่ฮ่องสอนมิตรอะไหล่ 3,500.00 หจก.ปรีชาเครื่องครัว 550.00 บริษัท เซว่นโปรอินเตอร์เทรด จำกัด 4,510.00 บริษัท เซว่นโปรอินเตอร์เทรด จำกัด 52.80 บริษัท แอดไวซ์ แม่ฮ่องสอน จำกัด 1,350.00 บริษัท เซว่นโปรอินเตอร์เทรด จำกัด 81.54 รวมเจ้าหนี้ 40,590.43 681,264.29
รายงานประจำปีพ.ศ. 2565 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน P a g e | 127 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร ภำคผนวก สรุปผลส ำเร็จตำมตัวชี้วัดหลัก (เชิงปริมำณและเชิงคุณภำพ) ประจ ำปี งบประมำณ (พ.ศ. 2563 - 2565) ส่วนที่ 5
รายงานประจำปีพ.ศ. 2565 WE ARE HOPE เรา คื ส่วนที่ 5 ภาคผนวก สรุปผลสำเร็จตามตัว ของงาน/โครงการตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณ ชื่องาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก แผนงานพื้นฐาน แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน (ในปีงบประมาณ 2562 แผนงานพื้นฐานนี้อยู่ในยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม) ผลผลิตสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ (ในปีงบประมาณ 2561 และ 2562 ผลผลิตนี้อยู่ในแผนงานพื้นฐานด้านการแก้ไขปัญหาความยากจน ลดความเหลื่อมล้ำ และสร้างก เชิงปริมาณ - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ - จำนวนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการผลิต การตลาด การบริหาร และการบริหารจัดการ - จำนวนสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเพิ่มขึ้น เชิง - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีสถานะการดำเนินกิจการ มีอัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้นจากปีก่อน - จำนวนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีอัตราส่วนเงินออมของสมาชิกต่อหนี้สินของสมาชิกเพิ่มขึ้นจากปีก่อนไม่น้อยกว่า - สหกรณ์ที่มีข้อบกพร่องได้รับการแก้ไขแล้ว ไม่น้อยกว่า - สหกรณ์มีความเข้มแข็งในระดับ 1 และระดับ 2 อย่างน้อย - กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง - อัตราการขยายตัวปริมาณธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า - อัตราการขยายตัวปริมาณธุรกิจสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในงาน/โครงการที่เข้าร่วมขับเคลื่อนงานนโยบายรัฐบาลไม่ต่ำกว่า - จำนวนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีอัตราส่วนเงินออมต่อหนี้สินเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า - อัตราส่วนเงินออมต่อหนี้สินของสมาชิกในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีสัดส่วนที่เพิ่มขึ้น
5 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน P a g e | 128 คือ ความหวังของเกษตรกร วชี้วัดหลัก (เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ) ณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ (พ.ศ. 2563 - 2565) หน่วยนับ ปี 2565 ปี2564 ปี 2563 แผน ผล แผน ผล แผน ผล การเติบโตจากภายใน) แห่ง 38 38 37 38 47 48 แห่ง 38 38 37 38 47 48 ราย - 634 - 418 346 586 งคุณภาพ ร้อยละ 3 3 3 3 3 3 ร้อยละ 62 62 62 62 61 61 ร้อยละ 90 100 100 100 100 100 ร้อยละ 90 96 88 94 80 93 ร้อยละ 25 100 25 75 23 23 ร้อยละ 3 3 3 3 3 3 ร้อยละ 3 3 3 3 3 3 ร้อยละ 62 62 62 62 100 100 ร้อยละ 62 62 62 62 61 61
รายงานประจำปีพ.ศ. 2565 WE ARE HOPE เรา คื ชื่องาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก กิจกรรมการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เชิงคุณภาพ - ระดับความสำเร็จในการปรับปรุงหรือพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมส่งเสริมสหกรณ์ - ระดับความสำเร็จในการปรับปรุงหรือพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ - อัตราการเข้าถึงและใช้ประโยชน์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมส่งเสริมสหกรณ์ กิจกรรมส่งเสริมและพัฒ เชิง - สหกรณ์มีความเข้มแข็งในระดับ 1 และระดับ 2 อย่างน้อย - กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีสถานะการดำเนินกิจการ มีอัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้นจากปีก่อน - จำนวนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีอัตราส่วนเงินออมของสมาชิกต่อหนี้สินของสมาชิกเพิ่มขึ้นจากปีก่อนไม่น้อยกว่า - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ - จำนวนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการผลิต การตลาด การบริหาร และการบริหารจัดการ - จำนวนสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเพิ่มขึ้น เชิง - สหกรณ์ผ่านการประเมินการจัดชั้นคุณภาพ การควบคุมภายใน ในระดับพอใช้ขึ้นไป ไม่น้อยกว่า - สหกรณ์มีสมาชิกมีส่วนร่วมในการใช้บริการของสหกรณ์ ไม่น้อยกว่า - สหกรณ์มีความสามารถในการดำเนินธุรกิจอยู่ในระดับต่ำกว่ามาตรฐานขึ้นไป ไม่น้อยกว่า - สหกรณ์ไม่มีข้อบกพร่อง หรือมีข้อบกพร่องแต่ได้รับการแก้ไข - กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง
5 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน P a g e | 129 คือ ความหวังของเกษตรกร หน่วยนับ ปี 2565 ปี2564 ปี 2563 แผน ผล แผน ผล แผน ผล ร้อยละ - - - - - - ร้อยละ - - - - - - ร้อยละ - - - - - - ฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร งปริมาณ ร้อยละ 90 96 88 94 80 93 ร้อยละ 25 100 24 100 23 100 แห่ง 38 38 37 38 48 48 ร้อยละ 3 3 3 3 3 3 ร้อยละ 62 62 62 62 61 61 แห่ง 38 38 37 38 48 48 แห่ง 38 38 37 38 48 48 ราย - 634 - 418 346 586 งคุณภาพ ร้อยละ 90 70 70 70 86 86 ร้อยละ 60 70 70 45 60 60 ร้อยละ - 60 60 60 86 86 ร้อยละ 90 100 100 100 100 100 ร้อยละ 25 100 24 100 23 100
รายงานประจำปีพ.ศ. 2565 WE ARE HOPE เรา คื ชื่องาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก -อัตราส่วนเงินออมต่อหนี้สินของสมาชิกในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีสัดส่วนที่เพิ่มขึ้น - อัตราการขยายตัวปริมาณธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในงาน/โครงการที่เข้าร่วมขับเคลื่อนงานนโยบายรัฐบาล ไม่ต่ำกว่า - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐานกรมส่งเสริมสหกรณ์ กิจกรรมส่งเสริมความรู้ด้านการสหกรณ์ เชิงปริมาณ - เกษตรกรและสมาชิกได้รับการพัฒนาความรู้เรื่องการสหกรณ์ - ผู้เข้าอบรมมีแผนการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้หลังการอบรม - เกษตรกรและประชาชนทั่วไปและสมาชิกได้รับการพัฒนาความรู้เรื่องการสหกรณ์ - นักเรียน/นักศึกษา ได้รับความรู้เรื่องของการสหกรณ์ - ผู้เข้าอบรมมีแผนการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้หลังการอบรม กิจกรรมการบริหารโลจิสติกส์ในสหกรณ์ เชิงปริมาณ - เกิดต้นแบบการนำระบบโลจิสติกส์มาใช้ในสหกรณ์ เชิงคุณภาพ - สมาชิกสหกรณ์ได้รับความรู้เรื่องโลจิสติกส์ไม่น้อยกว่า กิจกรรมการจัดงานแสดงสินค้าสหกรณ์ เชิงปริมาณ - จำนวนการจัดงานแสดงสินค้าสหกรณ์ดำเนินการได้บรรลุวัตถุประสงค์ แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานยุทธศาสตร์เกษตรสร้างมูลค่า โครงการส่งเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เชิงปริมาณ - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรส่งเสริมให้สมาชิกทำการเกษตรปลอดภัย
5 l สำนักงานสหกรณ์จังหวัดแม่ฮ่องสอน P a g e | 130 คือ ความหวังของเกษตรกร หน่วยนับ ปี 2565 ปี2564 ปี 2563 แผน ผล แผน ผล แผน ผล ร้อยละ 62 62 62 62 61 61 ร้อยละ 3 3 3 3 3 3 ร้อยละ 80 55 82 63 80 80 ราย - 300 - 418 - 300 ร้อยละ - 100 - 100 100 100 ราย - 300 - 239 - 300 ราย - 653 - 615 - 300 ร้อยละ - 100 - 100 - 100 แห่ง - - - - - - ร้อยละ - - - - - - ครั้ง - 2 - - - - แห่ง - - - - - -