รายงานการใชแ้ ละพฒั นาหลกั สตู รโรงเรยี นวดั ชนิ วราราม (เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม)์ : ปฐมวยั 51
1.9) เพือ่ ฝกึ ให้มีลักษณะนิสยั ใฝ่รู้ ใฝเ่ รียน
1.10) เพือ่ ฝกึ ลักษณะนิสัยให้มคี ณุ ธรรม จริยธรรม
2.4.21 แนวการจดั กิจกรรม
1) การสนทนาหรือการอภิปราย เป็นการพูดคุย ซักถามระหวา่ งเดก็ กับครู หรือเด็กกับ
เดก็ เปน็ การสง่ เสรมิ พัฒนาการทางภาษาด้านการพูดและการฟัง โดยการกำหนดประเด็นในการสนทนา
หรืออภิปรายเด็กจะได้แสดงความคิดเห็นและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ครูหรือผู้สอนเปิดโอกาส
ใหเ้ ด็กซกั ถาม โดยใชค้ ำถามกระตนุ้ หรือเลา่ ประสบการณ์ทแ่ี ปลกใหม่ นาเสนอปญั หาที่ ท้าทายความคิด
การยกตัวอย่าง การใช้สื่อประกอบการสนทนาหรือการอภิปรายด้วยสื่อของจริง ของจำลอง รูปภาพ
หรือสถานการณจ์ ำลอง
2) การเล่านิทาน และการอา่ นนิทาน เปน็ กจิ กรรมทค่ี รูหรือผู้สอนเล่าหรอื อา่ นเรอ่ื งราว
จากนิทาน โดยการใช้น้ำเสียงประกอบการเล่าแตกต่างตามบุคลิกของตัวละคร เลือกสาระของนิทานให้
เหมาะสมกับวัย สื่อที่ใช้ได้แก่ หนังสือนิทาน หนังสือภาพ แผ่นภาพ หุ่นมือ หุ่นนิ้วมือ หรือการแสดง
ทา่ ทางประกอบการเล่าเร่ือง โดยครใู ช้คำถามเพอ่ื กระตนุ้ การเรยี นรู้
3) การสาธิต เปน็ กจิ กรรมทเ่ี ด็กได้เรยี นรูจ้ ากประสบการณต์ รง โดยแสดงหรอื ทำสง่ิ ที่
ต้องการให้เด็กได้สังเกตและเรียนรู้ตามข้ันตอนของกิจกรรมนั้นๆ และเด็กได้อภิปรายและร่วมกันสรุป
การเรียนรู้ การสาธิต ให้เด็กอาสาสมัครเปน็ ผู้สาธิตร่วมกับครูหรือผู้สอน เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติจริงด้วย
ตนเอง เชน่ การเพาะเมลด็ พชื การประกอบอาหาร การเป่าลกู โป่ง การเล่นเกมการศกึ ษา
4) การทดลอง/ปฏบิ ัติการ เปน็ กิจกรรมท่ีจัดใหเ้ ด็กได้รับประสบการณต์ รง จากการลง
มือปฏิบัติทดลอง การคิดแก้ปัญหา มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะคณิตศาสตร์ ทักษะ
ภาษา ส่งเสริมให้เด็กเกิดข้อสงสัย สืบค้นคาตอบด้วยตนเอง ผ่านการวิเคราะห์ สังเคราะห์อย่างง่าย
สรุปผลการทดลอง อภิปรายผลการทดลอง และสรุปการเรียนรู้ โดยกิจกรรมการทดลองวิทยาศาสตร์
ง่าย ๆ
5) การประกอบอาหาร เป็นกจิ กรรมท่ีจัดใหเ้ ดก็ ได้เรยี นรู้ผ่านการทดลองโดยเปดิ โอกาส
ให้เด็กได้ลงมือทดสอบและปฏิบัติการด้วยตนเองเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของผัก เนื้อสัตว์ ผลไม้ด้วย
วธิ กี ารต่างๆ เชน่ ตม้ นึง่ ผัด ทอด หรือการรบั ประทานสด เดก็ จะได้รับประสบการณจ์ ากการสังเกตการ
เปลี่ยนแปลงของอาหาร การรับรู้รสชาติและกล่ินของอาหาร ด้วยการใช้ประสาทสัมผัสและการทำงาน
ร่วมกัน
6) การเพาะปลูก เป็นกจิ กรรมท่ีเนน้ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์ ซึง่
เด็กจะได้เรียนรู้การบูรณาการจะทำให้เด็กได้รับประสบการณ์โดยทำความเข้าใจความต้องการของ
สิ่งมีชีวิตในโลก และช่วยให้เด็กเข้าใจความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งท่ีอยู่รอบตัวโดยการสังเกต
เปรยี บเทยี บ และการคิดอยา่ งมีเหตุผลซงึ่ เปน็ การเปิดโอกาสใหเ้ ด็กได้ค้นพบและเรียนรูด้ ้วยตนเอง
7) การศึกษานอกสถานท่ี เปน็ การจัดกิจกรรมทศั นศกึ ษาทใ่ี หเ้ ดก็ ได้เรยี นร้สู ภาพความ
รายงานการใชแ้ ละพฒั นาหลกั สตู รโรงเรยี นวดั ชนิ วราราม (เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม)์ : ปฐมวยั 52
เป็นจริงนอกห้องเรียน จากแหล่งเรียนรู้ในสถานศึกษา หรือ แหล่งเรียนรู้ในชุมชน เช่น ห้องสมุด สวน
สมุนไพร วัด ไปรษณีย์ พิพิธภัณฑ์ เพื่อเป็นการเพิ่มพูนประสบการณ์แก่เด็ก โดยครูและเด็กร่วมกัน
วางแผนศกึ ษาสิง่ ทตี่ อ้ งการเรียนรูก้ ารเดนิ ทาง และสรปุ ผลการเรียนรทู้ ไ่ี ดจ้ ากการไปศกึ ษานอกสถานที่
8) การเลน่ บทบาทสมมติ เปน็ กจิ กรรมใหเ้ ดก็ สมมติตนเองเป็นตัวละคร และแสดง
บทบาทต่างๆตามเนื้อเรื่องในนิทาน เรื่องราวหรือสถานการณ์ต่าง ๆ โดยใช้ความรู้สึกของเด็กในการ
แสดง เพื่อให้เด็กเข้าใจเรื่องราว ความรู้สึกและพฤติกรรมของตนเองและผูอ้ ื่น ๆ โดยใช้สื่อประกอบการ
เล่นสมมติ เช่น หุ่นสวมศีรษะที่คาดศีรษะรปู คนและสัตว์รปู แบบต่างๆ เครื่องแต่งกาย และอุปกรณ์ของ
จรงิ ชนดิ ตา่ ง ๆ
9) การร้องเพลง ท่องคาคลอ้ งจอง เป็นกิจกรรมท่ีจดั ให้เด็กไดเ้ รยี นรู้เกยี่ วกับภาษ
จังหวะ และการแสดงท่าทางให้สัมพันธ์กับเนื้อหาของเพลงหรือคำคล้องจอง ครูหรือผู้สอนควรเลือกให้
เหมาะกับวัยของเด็ก
10) การเล่นเกม เปน็ กิจกรรมท่นี ำเกมการเรยี นรู้เพือ่ ฝึกทกั ษะการคดิ การแกป้ ญั หา
และการทำงานเปน็ กลุ่ม เกมท่ีนำมาเลน่ ไมเ่ น้นการแขง่ ขนั
11) การแสดงละคร เปน็ กจิ กรรมทีเ่ ด็กจะไดเ้ รียนร้เู กี่ยวกับการลำดับเร่อื งราว
การเรียงลำดับเหตกุ ารณ์ หรือเรื่องราวจากนิทาน การใช้ภาษาในการสื่อสารของตัวละคร เพื่อให้เด็กได้
เรยี นรู้และทำความเข้าใจบุคลิกลักษณะของตัวละครท่เี ดก็ สวมบทบาท
12) การใช้สถานการณ์จาลอง เปน็ กิจกรรมทีเ่ ดก็ ไดเ้ รยี นรแู้ นวทางการปฏบิ ตั ิตนเมื่อ
อยูใ่ นสถานการณ์ท่ีครูหรือผู้สอนกำหนด เพื่อให้เดก็ ได้ฝึกการแก้ปัญหา เชน่ น้ำทว่ ม โรคระบาด พบคน
แปลกหนา้
2.4.22 กจิ กรรมศลิ ปะสรา้ งสรรค์
กิจกรรมศิลปะสรา้ งสรรค์ เปน็ กิจกรรมท่ีช่วยให้เด็กไดแ้ สดงออกทางอารมณ์ ความรู้สกึ
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และจินตนาการ โดยใช้ศิลปะ เช่น การวาดภาพระบายสี การปั้น การฉีก ตัด
ปะ การพิมพ์ภาพ หรือ วิธีการอื่นๆ ที่เด็กได้ คิดสร้างสรรค์และเหมาะสมกับพัฒนาการ เช่น การเล่น
พลาสติกสรา้ งสรรค์
1) จดุ ประสงค์
1.1) เพื่อพัฒนากลา้ มเนอื้ มอื และตาให้ประสานสมั พนั ธ์กัน
1.3) เพ่ือสง่ เสรมิ การปรบั ตัวในการทำงานรว่ มกบั ผอู้ ืน่
1.4) เพอื่ ส่งเสริมการแสดงออกและความม่ันใจในตนเอง
1.5) เพือ่ ส่งเสริมคณุ ธรรม จริยธรรม และทักษะทางสังคม
1.6) เพ่อื ส่งเสริมทักษะทางภาษา
1.7) เพอ่ื ฝกึ ทกั ษะการสงั เกต และการแกป้ ัญหา
1.8) เพอ่ื ส่งเสริมความคดิ ริเริ่มสรา้ งสรรค์ และจินตนาการ
รายงานการใชแ้ ละพฒั นาหลกั สตู รโรงเรยี นวดั ชนิ วราราม (เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม)์ : ปฐมวยั 53
2) แนวการจดั กิจกรรม
2.1) เตรยี มจัดโต๊ะและอุปกรณ์ให้พรอ้ ม และเพยี งพอกอ่ นทำกิจกรรม โดยจัดไว้
หลายๆกิจกรรมและอย่างน้อย 3–5 กิจกรรม เพ่ือให้เดก็ มอี สิ ระในการเลือกทำกิจกรรมที่สนใจ
2.2) สรา้ งขอ้ ตกลงในการทำกิจกรรม เพื่อฝึกให้เด็กมวี ินัยในการอยูร่ ่วมกนั
2.3) การจัดใหเ้ ดก็ ทำกจิ กรรม ใหเ้ ด็กเลอื กทำกจิ กรรมอยา่ งมีระเบยี บ และทยอยเขา้
ทำกจิ กรรมโดยจดั โต๊ะละ 5–6 คน
2.4) การเปล่ยี นและหมุนเวยี นทำกิจกรรม ต้องสรา้ งข้อตกลงกับเดก็ ให้ชัดเจน เช่น
หากกจิ กรรมใดมเี พอ่ื นครบจำนวนทีก่ ำหนดแลว้ ใหค้ อยจนกว่าจะมีทีว่ ่าง หรอื ให้ทำกิจกรรรมอ่ืนก่อน
2.5) กิจกรรมใดเปน็ กิจกรรมใหม่ หรือการใช้วสั ดุ อุปกรณใ์ หม่ ครจู ะตอ้ งอธบิ าย
วธิ ีการทำวธิ กี ารใช้ วธิ ีการทาความสะอาด และการเก็บของเข้าที่
2.6) เมอื่ ทำงานเสรจ็ หรือหมดเวลา ควรเตอื นให้เดก็ เก็บวสั ดุ อปุ กรณ์ เครอ่ื งมือ
เครือ่ งใช้เขา้ ทีแ่ ละช่วยกันดูแลห้องใหส้ ะอาด
2.4.23 กจิ กรรมเสรี / เล่นตามมุม
กจิ กรรมเสรี เปน็ กจิ กรรมทเ่ี ปดิ โอกาสใหเ้ ดก็ เลน่ อสิ ระตามมมุ ประสบการณ์ที่จัดไว้
เช่น มุมบล็อก มุมหนังสือ มุมร้านค้า มุมบ้าน มุมวิทยาศาสตร์ เป็นต้น มุมประสบการณ์ต่างๆ เหล่านี้
เด็กมีโอกาสเลือกเล่น ได้อย่างเสรี ตามความสนใจ และความต้องการของเด็กทัง้ เป็นรายบุคคลและเปน็
กลุ่มย่อย ใหเ้ ดก็ มโี อกาสคิดแกป้ ญั หาดว้ ยตนเอง การจัดกจิ กรรมให้เดก็ เลือกทำกิจกรรมอย่างอสิ ระ โดย
เลือกทำกิจกรรมสร้างสรรค์อย่างน้อย 1 –2 อย่าง ในแต่ละวัน สังเกตพฤติกรรมของเด็กและดูแลอย่าง
ใกลช้ ดิ ขณะเด็กเลน่ สบั เปล่ยี นหรอื เพิม่ เติมส่อื เครือ่ งเล่นในแต่ละมมุ ประสบการณเ์ ป็นระยะ
1) จุดประสงค์
1.1) เพ่ือส่งเสรมิ พัฒนาการด้านกล้ามเน้อื ใหญ่ กล้ามเนื้อเล็ก และการประสานสัมพนั ธ์
ระหว่างมอื กับตา
1.2) เพอื่ สง่ เสริมใหร้ ้จู ักปรบั ตัวอยรู่ ว่ มกับผอู้ น่ื มีวนิ ัยเชิงบวก รู้จักการรอคอย
เอ้ือเฟื้อเผอ่ื แผ่ และให้อภัย
1.3) เพอ่ื ส่งเสรมิ ใหเ้ ด็กมโี อกาสปฏิสมั พันธก์ ับเพ่ือน ครู และส่ิงแวดล้อม
1.4) เพอ่ื ส่งเสริมพัฒนาการทางด้านภาษา
1.5). เพอื่ สง่ เสรมิ ให้เด็กมีนสิ ัยรกั การอ่าน
1.6) เพอ่ื สง่ เสรมิ ให้เดก็ เกิดการเรยี นรู้ดว้ ยตนเองจากการสำรวจ การสังเกต และการ
ทดลอง
1.7) เพ่อื ส่งเสรมิ ใหเ้ ด็กพัฒนาความคิดสรา้ งสรรค์และจนิ ตนาการ
1.8) เพื่อส่งเสริมการคิดแกป้ ัญหา การคดิ อย่างมเี หตผุ ลเหมาะสมกับวยั
1.9) เพือ่ สง่ เสริมใหเ้ ด็กฝึกคิด วางแผน และตัดสินในการทำกจิ กรรม
1.20) เพอื่ ส่งเสรมิ ใหม้ ีทักษะพื้นฐานทางวทิ ยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
รายงานการใชแ้ ละพฒั นาหลกั สตู รโรงเรยี นวดั ชนิ วราราม (เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม)์ : ปฐมวยั 54
1.11) เพื่อฝกึ การทำงานร่วมกนั ความรับผิดชอบ และระเบยี บวินัย
2.4.24 แนวการจัดกจิ กรรม
1) แนะนำมุมเล่นใหม่ เสนอแนะวิธใี ช้ การเลน่ ของเล่นบางชนิด
2) เดก็ และครูรว่ มกันสรา้ งขอ้ ตกลงเก่ียวกบั การเล่น
3) ครเู ปิดโอกาสใหเ้ ดก็ คดิ วางแผน ตัดสนิ ใจเลอื กเล่นอย่างอิสระ เลอื กทำกิจกรรมท่ี
จัดขนึ้ ตามความสนใจของเดก็ แตล่ ะคน
4) ขณะเด็กเล่น / ทำงาน ครูอาจชี้แนะ หรอื มสี ว่ นร่วมในการเลน่ กบั เด็กได้
5) เด็กตอ้ งการความชว่ ยเหลือและคอยสังเกตพฤติกรรมการเล่นของเดก็ พร้อมทัง้ จด
บันทกึ พฤติกรรมทนี่ ่าสนใจ
6) เตอื นให้เดก็ ทราบล่วงหน้ากอ่ นหมดเวลาเล่น ประมาณ 3 – 5 นาที
7) ใหเ้ ดก็ เกบ็ ของเล่นเข้าท่ีให้เรียบร้อยทุกคร้งั เม่ือเสรจ็ สิน้ กิจกรรม
2.4.25 กิจกรรมกลางแจง้
กิจกรรมกลางแจง้ เป็นกจิ กรรมที่จัดใหเ้ ด็กมีโอกาสออกไปนอกห้อง เพ่ือออกกำลงั
เคลื่อนไหวร่างกาย และแสดงออกอย่างอสิ ระ โดยยึดความสนใจและความสามารถของเด็กแตล่ ะคนเป็น
หลัก ให้โอกาสเด็กเลือกเล่นกลางแจ้งอย่างอิสระทุกวัน โดยครูคอยดูแลอย่างใกล้ชิด หมั่นตรวจเครื่อง
เลน่ สนามและอปุ กรณต์ า่ งๆ ให้อยใู่ นสภาพทปี่ ลอดภัยและใช้การได้ดีอยู่เสมอ หลังเลิกกิจกรรมให้เด็กได้
พกั ผ่อนหรอื น่ังพกั กิจกรรมกลางแจ้งที่จดั ใหเ้ ดก็ ในแต่ละวนั ไดแ้ ก่
1) การเลน่ เครื่องเล่นสนาม
2) การเลน่ ทราย
3) การเลน่ นำ้
4) การเลน่ สมมุติในบ้านจำลอง
5) การเลน่ ในศูนยช์ ่างไม้
6) การเล่นกบั อุปกรณ์กฬี า
7) การเล่นเกมการละเลน่
1) จดุ ประสงค์
1.1) เพ่ือพัฒนากล้ามเน้ือใหญ่ กลา้ มเน้อื เลก็ และการประสานสมั พนั ธ์ของอวยั วะ
ต่างๆ
1.2) เพื่อสง่ เสรมิ ให้มีรา่ งกายแขง็ แรง สขุ ภาพดี
1.3) เพอ่ื ส่งเสรมิ ให้เกิดความสนุกสนาน ผ่อนคลายความเครียด
1.4) เพื่อปรบั ตัว เล่นและทางานร่วมกับผูอ้ นื่
1.5) เพื่อเรยี นรกู้ ารระมัดระวัง รักษาความปลอดภยั ทัง้ ของตนเองและผู้อ่นื
1.6) เพื่อฝึกการตัดสนิ ใจ และแกป้ ัญหาด้วยตนเอง
1.7) เพื่อสง่ เสรมิ ใหม้ ีความอยากรอู้ ยากเหน็ ส่งิ ตา่ งๆ ทแี่ วดลอ้ มรอบตวั
รายงานการใชแ้ ละพฒั นาหลกั สตู รโรงเรยี นวดั ชนิ วราราม (เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม)์ : ปฐมวยั 55
1.8) เพือ่ พฒั นาทักษะการเรยี นรูต้ ่าง ๆ เชน่ การสังเกต การเปรียบเทยี บ การจำแนก
ฯลฯ
2.4.26 แนวการจดั กจิ กรรม
1.1) เด็กและครรู ่วมกันสรา้ งข้อตกลง
1.2) จัดเตรยี มวัสดุอุปกรณป์ ระกอบการเลน่ ใหพ้ รอ้ ม
1.3) สาธติ การเล่นเครอ่ื งเล่นสนามบางชนดิ
1.4) ใหเ้ ด็กเลอื กเลน่ อิสระตามความสนใจและให้เวลาเลน่ นานพอควร
1.5) จดั กิจกรรมให้เหมาะสมกับวัย เช่น การเลน่ นำ้ เล่นทราย เล่นบา้ นตุ๊กตา
เล่นในมุมช่างไม้ เล่นบล็อกกลวง เครื่องเล่นสนาม เกมการละเล่น เล่นอุปกรณ์กีฬาสำหรับเด็ก เล่น
เครื่องเลน่ ประเภทล้อเล่อื น เล่นของเลน่ พ้นื บา้ น
1.6) ขณะเด็กเล่นตอ้ งคอยดูแลความปลอดภยั และสงั เกตพฤตกิ รรมการเลน่
การอยูร่ ่วมกนั กบั เพื่อนของเด็กอยา่ งใกล้ชิด
1.7) เมอ่ื หมดเวลาควรใหเ้ ดก็ เก็บของใช้หรือของเล่นให้เรียบร้อย
1.8) ให้เด็กทำความสะอาดร่างกายและดูแลเคร่ืองแต่งกายให้เรียบรอ้ ยหลงั
เล่น
2.4.27 กิจกรรมเกมการศึกษา
เกมการศึกษา เปน็ เกมการเล่นท่ีชว่ ยพฒั นาสตปิ ัญญา มกี ฎเกณฑก์ ตกิ างา่ ยๆ สามารถ
เลน่ คนเดียวหรอื เลน่ เป็นกลุ่มได้ ชว่ ยใหเ้ ด็กรูจ้ กั สงั เกต คิดหาเหตผุ ลและเกดิ ความคิดรวบยอดเก่ียวกับสี
รูปร่าง จำนวน ฯลฯ การเล่นเกมการศึกษาในระยะแรกเริ่มใช้ของจริง การเล่นเกมในแต่ละวันให้เด็กได้
เล่นทั้งเกมชุดใหม่และชุดเก่า จัดให้เด็กหมุนเวียนเล่นเกมตามความเหมาะสม การเล่นเกมเมื่อเลิกเล่น
แลว้ จัดเกบ็ รวมไว้เป็นชดุ ๆ
1) จดุ ประสงค์
1.1) เพอื่ ฝึกทักษะการสงั เกต จำแนกและเปรยี บเทยี บ
1.2) เพอ่ื ฝึกการแยกประเภท การจัดหมวดหมู่
1.3) เพื่อสง่ เสริมการคดิ หาเหตุผล และตัดสนิ ใจแกป้ ญั หา
1.4) เพื่อสง่ เสริมให้เด็กเกิดความคิดรวบยอดเกีย่ วกับสงิ่ ที่ไดเ้ รียนรู้
1.5) เพอ่ื สง่ เสรมิ การประสานสมั พันธ์ระหว่างมือกบั ตา
1.6) เพื่อปลูกฝังคุณธรรมและจริยธรรมต่างๆ เช่น ความรับผิดชอบ ความ
เอ้อื เฟอ้ื เผื่อแผ่
2) แนวการจดั กจิ กรรม
2.1) แนะนำกิจกรรมใหม่
2.2) สาธติ / อธบิ าย วิธเี ล่นเกมอยา่ งเปน็ ข้นั ตอนตามประเภทของเกม
2.3) ใหเ้ ด็กหมุนเวยี นเขา้ มาเลน่ เป็นกลมุ่ หรือรายบุคคล
รายงานการใชแ้ ละพฒั นาหลกั สตู รโรงเรยี นวดั ชนิ วราราม (เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม)์ : ปฐมวยั 56
2.4) ขณะทเี่ ด็กเล่นเกม ครูเป็นเพียงผู้แนะนำ
2.5) เม่อื เดก็ เล่นเกมแตล่ ะชดุ เสรจ็ เรียบรอ้ ย ควรใหเ้ ด็กตรวจสอบความ
ถกู ตอ้ งดว้ ยตนเองหรอื รว่ มกันตรวจกับเพื่อน หรอื ครเู ป็นผู้ชว่ ยตรวจ
2.6) ให้เด็กนำเกมทีเ่ ล่นแล้วเก็บใส่กลอ่ ง เข้าทีใ่ ห้เรยี บร้อยทุกคร้งั กอ่ นเล่น
เกมชุดอนื่
2.4.28 การจดั การเรียนรู้โดยโครงการ (Project Approach)
โรงเรียนวัดชินวราราม(เจริญผลวิทยาเวศม์) จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยนำรูปแบบการจัก
ประสบการณ์การเรียนรู้โดยโครงการ(Project Approach) เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยเรียนรู้เรื่องราว
ต่างๆทีส่ นใจ ใหโ้ อกาสเดก็ ไดค้ น้ พบ และเรยี นร้จู ากประสบการณต์ รงกับเร่ืองราว สง่ิ ของ บุคคล สถานท่ี
หรือชุมชนที่แวดล้อมตัวเด็ก ตามวิธีการของตนเอง กล้าคิด กล้าแสดงออก โดยครูเป็นผู้สนับสนุน
ช่วยเหลือและจัดเตรียมสภาพแวดล้อมรวมทั้งสื่อ วสั ดอุ ุปกรณ์ ท้งั นี้กำหนดให้ครูผสู้ อนชั้นอนุบาลปีที่ 1
,2 และ 3 จัดการเรยี นรโู้ ดยโครงการ ปีการศึกษาละ 1 โครงการ โดยมีกระบวนการจดั ประสบการณ์การ
เรียนรู้โดยโครงการ 3 ระยะ ดงั นี้
ระยะที่ 1 ทบทวนความรู้และความสนใจ
ระยะท่ี 2 คน้ ควา้ และมีประสบการณ์ใหม่
ระยะที่ 3 ประเมิน สะทอ้ นกลับ และแลกเปล่ยี นงานโครงการ
2.4.29 การจดั การเรียนรโู้ ดยใชก้ ระบวนการสบื เสาะหาความรู้ ตามโครงการบา้ น
นกั วทิ ยาศาสตรน์ อ้ ย ประเทศไทย
โรงเรียนวัดชินวราราม(เจริญผลวิทยาเวศม์) ได้ใช้รูปแบบการจัดประสบการณ์การ
เรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย เพื่อ
สง่ เสรมิ ใหเ้ ด็กได้สังเกต สำรวจ คน้ คว้า ทดลอง และแก้ปญั หาดว้ ยตนเอง รูจ้ ักคิด มคี วามคิดสร้างสรรค์
ให้โอกาสเด็กได้ใช้ความคิดของตนเองได้มากที่สุด ผ่านกิจกรรมการทดลองวิทยาศาสตร์ในโครงการ
“บ้านนกั วิทยาศาสตรน์ ้อย ประเทศไทย” ซึง่ กระบวนการสบื เสาะหาความรปู้ ระกอบดว้ ย 5 ขัน้ ตอน คือ
การสร้างความสนใจ (Engagement) การสำรวจและค้นหา (Exploration) การอธิบาย (Explanation)
การขยายความรู้ (Elaboration) และการประเมนิ ผล (Evaluation) ท้งั น้กี ิจกรรมท่จี ะใหน้ ักเรียนสำรวจ
ตรวจสอบ จะต้องเชื่อมโยงกับความคิดเดิม และนำไปสู่การแสวงหาความรู้ใหม่และได้ใช้กระบวนการ
และทักษะต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์และการสืบเสาะหาความรู้ ซึ่งโรงเรียนวัดชินวราราม(เจริญผลวิทยา
เวศม์) ได้ประยุกต์ขั้นตอนของกระบวนการสืบเสาะหาความรู้เพื่อให้เหมาะสมกับสำหรับเด็กปฐมวัย
ดังน้ี
ขัน้ ที่ 1 ผู้เรยี นมีส่วนร่วมในการตง้ั คำถามเชิงวิทยาศาสตรอ์ ยา่ งง่ายๆ
ขัน้ ท่ี 2 ผเู้ รียนทำการสำรวจตรวจสอบเกบ็ รวบรวมข้อมูลโดยการสงั เกต สำรวจ สบื ค้น
หรอื ทดลอง และ บันทกึ ผลการสำรวจตรวจสอบดว้ ยวธิ ีที่เหมาะสมกบั วยั
รายงานการใชแ้ ละพฒั นาหลกั สตู รโรงเรยี นวดั ชนิ วราราม (เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม)์ : ปฐมวยั 57
ข้นั ท่ี 3 ผเู้ รียนตอบคำถามที่ตัง้ ขึ้นโดยใชผ้ ลจากการสำรวจตรวจสอบมาสร้างคำอธิบาย
ท่มี เี หตุผล
ขนั้ ท่ี 4 การนำเสนอผลการสำรวจตรวจสอบให้กับผอู้ นื่ ดว้ ยวิธีทเี่ หมาะสมกบั วยั และ
ความสามารถ
2.4.30 สอ่ื พัฒนาการเรียนรู้
โรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) จัดให้มีสื่อเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการเรียนรู้
ของเด็ก สื่อประกอบการจัดกิจกรรม เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม
และสติปัญญา โดยจัดให้มีสื่อทั้งที่เป็นประเภท 2 มิติ และ 3 มิติ ที่เป็นสื่อของจริง สื่อธรรมชาติ ส่ือที่
อยู่ใกล้ตัวเด็ก สื่อสะท้อนวัฒนธรรม สื่อที่ปลอดภัยต่อตัวเด็ก สื่อเพ่ือพัฒนาเด็กในด้านต่างๆให้ครบทุก
ด้าน สื่อที่เอื้อให้เด็กเรียนรู้ผ่านประสาทสัมผัสทั้งห้า โดยการจัดการใช้สื่อเริ่มต้นจาก สื่อของจริง
ภาพถ่าย ภาพโครงร่าง และ สัญลักษณ์ ใช้สื่อเหมาะสมกับวัย วุฒิภาวะ ความแตกต่างระหว่างบุคคล
ความสนใจและความต้องการของเด็กทห่ี ลากหลาย โรงเรยี นวัดชินวรารามเจรญิ ผลวทิ ยาเวศม์) มุ่งเน้น
ให้เด็กๆได้เรียนรู้จากสื่อที่มีความหลากหลายและได้เรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียนและในชุมช น เพื่อ
เน้นให้เด็กสร้างองค์ความรู้ที่เกิดจากการได้ลงมือปฏิบัติจริง ทั้งนี้ โรงเรียนได้จัดสื่อสำหรับเด็กปฐมวัย
ดังน้ี
1) สอ่ื ท่ีได้จากการจัดซ้ือ จดั หา เชน่ หนังสอื นิทาน เกมการศึกษา ของเลน่ เครื่อง
ดนตรี เครอ่ื งกีฬา
2) สือ่ ประเภททค่ี รูผู้สอนจัดทำ เช่น สอื่ ประจำหน่วยการเรยี นรู้
3) สอ่ื ทไ่ี ด้รับการบริจาคจากผู้ปกครอง เชน่ ตุ๊กตา เครือ่ งมือ เครอ่ื งใช้ เสือ้ ผ้า ที่เป็น
ของจริง
4) สอ่ื วสั ดุธรรมชาตจิ ากชมุ ชน
5) สื่อประเภทเทคโนโลยี อาทิ เครอื่ งเล่นเทป วดี ทิ ศั นค์ อมพวิ เตอร์
6) ส่อื ทีเ่ ป็นภมู ปิ ญั ญาท้องถนิ่
ในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย โรงเรียนวัดชินวรารามเจริญผล
วทิ ยาเวศม)์ กำหนดให้มกี ารใช้สือ่ ในกิจกรรมและมมุ ประสบการณ์ตา่ ง ๆ ดังนี้
2.4.31 กจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ์ /กจิ กรรมในวงกลม สื่อมีดงั นี้
1) สอ่ื ของจริงท่อี ยู่ใกลต้ ัวและสอ่ื จากธรรมชาติหรอื วัสดุท้องถน่ิ เช่น ต้นไม้ ใบไม้
เปลอื กหอย เสื้อผา้ ฯลฯ
2) สื่อท่จี ำ ลองขนึ้ เช่น ลกู โลก ตกุ๊ ตาสตั ว์ ฯลฯ
3) ส่ือประเภทภาพ เช่น ภาพพลิก ภาพโปสเตอร์ หนังสือภาพ ฯลฯ
4) สื่อเทคโนโลยี เชน่ วิทยุ เครือ่ งบนั ทึกเสียง เคร่อื งขยายเสยี ง โทรศพั ท์ ฯลฯ
กจิ กรรมสรา้ งสรรค์ มวี ัสดุ อุปกรณ์ ดงั น้ี
รายงานการใชแ้ ละพฒั นาหลกั สตู รโรงเรยี นวดั ชนิ วราราม (เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม)์ : ปฐมวยั 58
(1) การวาดภาพและระบายสี
- สเี ทยี นแทง่ ใหญ่ สีไม้ สีชอล์ก สนี า้ํ
- พู่กนั ขนาดใหญ่ (ประมาณเบอร์ 12)
- กระดาษ
- เสอื้ คลุม หรอื ผ้ากนั เปื้อน
(2) การเลน่ กบั สี
- การเปา่ สี มี กระดาษ หลอดกาแฟ สีนา้ํ
- การหยดสี มี กระดาษ หลอดกาแฟ พู่กัน สีนํ้า
- การพบั สี มี กระดาษ สีนํา้ พูก่ ัน
- การเทสี มี กระดาษ สนี ํ้า
- การละเลงสี มี กระดาษ สีนาํ้ แป้งเปียก
(3) การพิมพภ์ าพ
- แมพ่ ิมพต์ ่าง ๆ จากของจรงิ เช่น น้ิวมอื ใบไม้ กา้ นกลว้ ย ฯลฯ
- แม่พิมพ์จากวัสดอุ ่ืน ๆ เชน่ เชือก เส้นด้าย ตรายาง ฯลฯ
- กระดาษ ผา้ เช็ดมือ สโี ปสเตอร์ (สีนํ้า สีฝุ่น ฯลฯ)
(4) การปั้น เช่น ดินนํ้ามัน ดินเหนียว แป้งโดว์ แผ่นรองปั้น แม่พิมพ์รูปต่าง ๆ ไม้นวม
แป้ง
(5) การพับ ฉีก ตัดปะ เช่น กระดาษ หรือวัสดุอื่นๆที่จะใช้พับ ฉีก ตัด ปะ กรรไกร
ขนาดเล็กปลายมน กาวนา้ํ หรือแป้งเปียก ผา้ เช็ดมือ
(6) การประดิษฐ์เศษวัสดุ เช่น เศษวัสดุต่าง ๆ มีกล่องกระดาษ แกนกระดาษ เศษผา้
เศษไหม กาว กรรไกร สี ผา้ เชด็ มือ
(7) การรอ้ ย เชน่ ลูกปัด หลอดกาแฟ หลอดด้าย ฯลฯ
(8) การสาน เชน่ กระดาษ ใบตอง ใบมะพรา้ ว ฯลฯ
(9) การเลน่ พลาสตกิ สรา้ งสรรค์ พลาสติกชิ้นเลก็ ๆ รปู ทรงตา่ ง ๆ สามารถนำมาตอ่
เป็นรปู แบบต่าง ๆ ตามความต้องการ
(10) การสร้างรปู เช่น จากกระดานปกั หมุด จากแป้นตะปูที่ใชห้ นงั ยางหรอื เชือกผกู ดงึ
ให้เป็นรูปร่างตา่ ง ๆ
กิจกรรมกลางแจ้ง สอ่ื มีดงั นี้
(1) เครื่องเล่นสนาม เช่น เครอื่ งเล่นสำ หรบั ปนี ป่าย เคร่ืองเล่นประเภทล้อเล่ือน ฯลฯ
(2) ที่เล่นทราย มที รายละเอยี ด เครือ่ งเลน่ ทราย เคร่อื งตวง ฯลฯ
(3) ท่เี ลน่ นํา้ มภี าชนะใส่น้ําหรอื อา่ งนาํ้ วางบนขาตัง้ ทม่ี นั่ คง ความสงู พอทเ่ี ด็กจะยืนได
พอดี เสื้อคลุมหรือผ้ากันเปื้อนพลาสติก อุปกรณ์เล่นนํา้ เช่น ถ้วยตวง ขวดต่างๆสายยาง กรวยกรอกน้ํา
ตกุ๊ ตายาง
รายงานการใชแ้ ละพฒั นาหลกั สตู รโรงเรยี นวดั ชนิ วราราม (เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม)์ : ปฐมวยั 59
เกมการศกึ ษา ส่อื ประเภทเกมการศกึ ษามีดังนี้
(1) เกมจบั คู่
- จบั คู่รปู ร่างท่ีเหมือนกัน - จับคูภ่ าพเงา
- จับคภู่ าพท่ีซอ่ นอย่ใู นภาพหลัก - จับค่สู ่ิงทม่ี คี วามสมั พนั ธ์กัน สง่ิ ท่ใี ช้คูก่ นั
- จบั คภู่ าพสว่ นเต็มกบั ส่วนยอ่ ย - จับคู่ภาพกับโครงรา่ ง
- จบั คภู่ าพช้นิ สว่ นทห่ี ายไป - จับคภู าพทเี่ ป็นประเภทเดยี วกนั
- จับคู่ภาพที่ซอ่ นกัน - จบั คู่ภาพสมั พันธ์แบบตรงกนั ข้าม
- จบั คู่ภาพที่สมมาตรกัน - จบั คแู่ บบอุปมาอุปไมย
- จับค่แู บบอนุกรม
(2) เกมภาพตัดต่อ
- ภาพตดั ตอ่ ทสี่ มั พันธ์กับหนว่ ยการเรยี นต่าง ๆ เชน่ ผลไม้ ผกั ฯลฯ
(3) เกมจดั หมวดหมู่
- ภาพสิ่งตา่ ง ๆ ท่นี ำมาจัดเปน็ พวก ๆ
- ภาพเกี่ยวกับประเภทของใช้ในชวี ติ ประจำวัน
- ภาพจัดหมวดหม่ตู ามรูปร่าง สี ขนาด รูปทรงเรขาคณติ
(4) เกมวางภาพตอ่ ปลาย (โดมิโน)
- โดมิโนภาพเหมือน
- โดมโิ นภาพสัมพนั ธ์
(5) เกมเรียงลำดบั
- เรียงลำดบั ภาพเหตกุ ารณต์ อ่ เนื่อง
- เรยี งลำดับขนาด
(6) เกมศกึ ษารายละเอียดของภาพ (ลอตโต)
(7) เกมจบั คแู่ บบตารางสัมพนั ธ์ (เมตริกเกม)
(8) เกมพนื้ ฐานการบวก
กิจกรรมเสรี /การเลน่ ตามมุม มสี ่ือประกอบการเรยี นรู้ในมมุ ประสบการณ์
ประกอบด้วย
(1) มมุ บทบาทสมมติ จัดเปน็ มมุ เลน่ ดังนี้
(1.1) มุมบ้าน
- ของเล่นเครื่องใช้ในครัวขนาดเล็ก หรือของจำ ลอง เช่น เตา กะทะ ครก
กาน้าํ เขยี ง มีดพลาสตกิ หม้อ จาน ชอ้ น ถ้วยชาม กะละมัง ฯลฯ
- เคร่อื งเลน่ ต๊กุ ตา เสอ้ื ผ้าตุ๊กตา เตยี ง เปลเด็ก ตุ๊กตา
- เครอื่ งแต่งบา้ นจำลอง เชน่ ชุดรบั แขก โต๊ะเคร่อื งแป้ง หมอนอิง กระจก
ขนาดเห็นเต็มตัว หวี ตลบั แป้ง ฯลฯ
รายงานการใชแ้ ละพฒั นาหลกั สตู รโรงเรยี นวดั ชนิ วราราม (เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม)์ : ปฐมวยั 60
- เครื่องแต่งกายบุคคลอาชีพต่าง ๆ ที่ใช้แล้ว เช่น ชุดเครื่องแบบทหาร
ตำรวจชดุ เสอื้ ผ้าผ้ใู หญ่ชายและหญิง รองเท้า กระเปา๋ ถอื ทไี่ มใ่ ชแ้ ล้ว ฯลฯ
- โทรศัพท์ เตารีดจำลอง ท่รี ดี ผา้ จำลอง
- ภาพถา่ ยและรายการอาหาร
(1.2) มุมหมอ
- เครื่องเล่นจำลองแบบเครอ่ื งมอื แพทยแ์ ละอปุ กรณ์การรกั ษาผู้ปว่ ย เช่น หฟู งั
เสือ้ คลุมหมอ ฯลฯ
- อุปกรณส์ ำหรบั เลยี นแบบการบันทกึ ข้อมลู ผู้ป่วย เช่น กระดาษ ดินสอ ฯลฯ
(1.3) มมุ ร้านค้า
- กลอ่ งและขวดผลิตภณั ฑต์ ่างๆท่ีใช้แลว้
- อุปกรณป์ ระกอบการเล่น เชน่ เครื่องคดิ เลข ลูกคิด ธนบัตรจำลอง ฯลฯ
(2) มุมบล็อก
- ไม้บล็อกหรอื แทง่ ไมท้ ม่ี ขี นาดและรูปทรงต่างๆกนั จำ นวนตั้งแต่ 50 ชนิ้ ขน้ึ ไป
- ของเลน่ จำลอง เช่น รถยนต์ เคร่อื งบิน รถไฟ คน สัตว์ ต้นไม้ ฯลฯ
- ภาพถ่ายตา่ งๆ
- ที่จัดเก็บไม้บล็อกหรือแท่งไม้อาจเป็นชั้น ลังไม้หรือพลาสติก แยกตามรูปทรง
ขนาด
(3) มมุ หนังสือ
- หนงั สือภาพนทิ าน สมุดภาพ หนงั สอื ภาพทม่ี ีคำ และประโยคสน้ั ๆพรอ้ มภาพ
- ช้นั /ท่ีวางหนังสือ
- อปุ กรณต์ า่ ง ๆ ที่ใช้ในการสรา้ งบรรยากาศการอ่าน เช่น เส่อื พรม หมอน ฯลฯ
- สมุดเซน็ ยืมหนงั สือกลับบา้ น
- อปุ กรณส์ ำหรับการเขียน
- อปุ กรณเ์ สริม เช่น เครื่องเล่นเทป ตลับเทปนิทานพร้อมหนังสือนิทาน หฟู งั ฯลฯ
(4) มมุ วิทยาศาสตร์ หรอื มมุ ธรรมชาติศึกษา
-วสั ดตุ า่ ง ๆ จากธรรมชาติ เช่น เมล็ดพืชต่าง ๆ เปลือกหอย ดนิ หิน แร่ ฯลฯ
- เครอ่ื งมอื เครอื่ งใชใ้ นการสำรวจ สังเกต ทดลอง เชน่ แวน่ ขยาย แมเ่ หล็ก เข็มทิศ
เครอ่ื งช่ัง ฯลฯ
2.4.32 แหล่งเรียนรู้สำหรบั เด็กปฐมวยั
โรงเรียนวัดชินวรารา (เจริญผลวิทยาเวศม์) จัดแหล่งเรียนรู้เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้
สำหรับเด็กปฐมวัย แบ่งเป็นแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน และแหล่งเรียนรู้ภายนอกโรงเรียน ซ่ึง
ประกอบด้วยบุคคลและสถานที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งแหล่งเรียนรู้ในชุมชนและภูมิปัญญาท้องถิ่น โดย
โรงเรียนมีวัตถุประสงค์ในการใชแ้ หลง่ เรียนรสู้ ำหรบั เดก็ ปฐมวยั ดังนี้
รายงานการใชแ้ ละพฒั นาหลกั สตู รโรงเรยี นวดั ชนิ วราราม (เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม)์ : ปฐมวยั 61
1) เพื่อขยายความคดิ ในการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ให้กว้างขวางขึน้
2) เพือ่ สนบั สนุนใหจ้ ดั ประสบการณ์การเรียนรใู้ หส้ อดคลอ้ งกับหลกั สูตรและเป็นการ
จดั การเรยี นรูต้ ามแนวปฏริ ูปการเรียนรู้
3) เพอ่ื สนบั สนนุ การใช้แหล่งเรยี นรูท้ ี่มีอยูแ่ ลว้ ใหเ้ กดิ คุณค่าต่อการเรยี นรู้ของผู้เรียน
อย่างแท้จริง
4) เพอื่ กระต้นุ และพฒั นาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ทสี่ อดคลอ้ งกับท้องถน่ิ และ
เป็นระบบมากข้ึน
5) เพ่อื สง่ เสรมิ ความสมั พันธ์ท่ีดรี ะหวา่ งโรงเรียนและชุมชนแหลง่ เรียนรู้สำคญั ท่ี
โรงเรยี นใชจ้ ัดประสบการณก์ ารเรียนรูส้ ำหรบั เด็กปฐมวัยมดี ังนี้
2.4.33 แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรยี น
1) ห้องคอมพวิ เตอร์ 2) สวนเศรษฐกจิ พอเพยี ง
3) ป้ายนิเทศ 4) หอ้ งสมดุ
5) สวนสมนุ ไพร 6) ห้องเรียนรภู้ าษาอังกฤษ
7) ตกึ เจริญผล จรยิ ศกึ ษา 8) หอ้ งนาฏศลิ ป์
แหลง่ เรียนรูภ้ ายนอกโรงเรียน
1) วดั ชนิ วรารามวรวิหาร
2) โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำบลบางขะแยง
3) สถานที่อนรุ ักษ์พนั ธ์ปลา
4) บ้านทำขนมเปี๊ยะ
5) บรษิ ัทไทยน้ำทพิ ย์
6) บริษทั เสรมิ สขุ
7) บรษิ ทั พาโก้
8) วัดเจตวงศ์
2.4.34 การจดั สภาพแวดล้อมและบรรยากาศการเรยี นรู้
โรงเรียนวัดชนิ วราราม(เจริญผลวิทยาเวศม)์ .ตระหนักและเห็นความสำคัญของการจัด
สภาพแวดลอ้ มท่สี ง่ เสรมิ บรรยากาศการเรียนรูข้ องเดก็ ปฐมวยั เป็นอย่างย่งิ เนื่องจากธรรมชาติของเด็กใน
วัยนี้สนใจที่จะเรียนรู้ ค้นคว้า ทดลอง และต้องการสัมผัสกับสิ่งแวดล้อมรอบๆตัว ดังนั้น การจัดเตรียม
สิ่งแวดล้อมอยา่ งเหมาะสมตามความต้องการของเด็ก จึงมีความสำคัญที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการ
เรียนรู้ของเด็ก เด็กสามารถเรียนรู้จากการเล่นที่เป็นประสบการณ์ตรงที่เกิดจากการรับรู้ด้วยประสาท
สมั ผัสท้ังห้า จงึ จำเปน็ ต้องจัดสิง่ แวดล้อมในโรงเรียนให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการ เพ่ือส่งผล
ให้บรรลุจุดหมายในการพัฒนาเดก็
การจัดสภาพแวดล้อมและบรรยากาศการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย โรงเรียนวัดชินวราราม(เจริญ
ผลวิทยาเวศม)์ คำนงึ ถึงส่งิ ต่อไปน้ี
รายงานการใชแ้ ละพฒั นาหลกั สตู รโรงเรยี นวดั ชนิ วราราม (เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม)์ : ปฐมวยั 62
1) ความสะอาด ความปลอดภยั
2) ความมีอิสระอย่างมขี อบเขตในการเล่น
3) ความสะดวกในการทำ กจิ กรรม
4) ความพรอ้ มของอาคารสถานท่ี เช่น หอ้ งเรยี น หอ้ งนาํ้ ห้องสว้ ม สนามเด็กเล่น ฯลฯ
5) ความเพียงพอเหมาะสมในเร่ืองขนาด นา้ํ หนัก จำ นวน สีของสอ่ื และเครอื่ งเลน่
6) บรรยากาศในการเรยี นรู้ การจดั ที่เลน่ และมมุ ประสบการณ์ตา่ ง ๆ
โรงเรียนวัดชนิ วราราม(เจรญิ ผลวิทยาเวศม)์ จึงกำหนดหลักการจดั สภาพแวดล้อมและ
บรรยากาศการเรยี นร้ภู ายในและภายนอกหอ้ งเรยี นไวด้ ังน้ี
2.4.35 สภาพแวดล้อมและบรรยากาศการเรียนรู้ภายในห้องเรยี น
จัดบรรยากาศที่เน้นความเป็นระเบียบ สะอาด สวยงาม ปลอดภัย มีมุมประสบการณ์
ต่างๆเพื่อให้เอื้อต่อการพัฒนาการและการจัดการเรียนรู้ของเด็ก จัดให้มีที่ว่างให้เด็กๆ สามารถทำ
กิจกรรมได้อย่างสะดวก เน้นให้ห้องเรยี นมีแสงสวา่ งและสีสนั สบายตา มีตู้สำหรับเก็บของใช้สว่ นตัวของ
เด็กแต่คนเพ่ือปลูกฝังความมีวินัย ความเปน็ ระเบียบ และการร้จู ักเก็บรักษาของใช้ของตนเอง ซ่ึงจัดแบ่ง
พ้นื ท่ีให้เหมาะสมกบั การประกอบกิจกรรมตามหลักสตู ร ดังนี้
1) พื้นทอ่ี ำนวยความสะดวกเพอื่ เด็กและผู้สอน
1.1) ทีแ่ สดงผลงานของเดก็ จัดเปน็ แผน่ ปา้ ย หรือทแี่ ขวนผลงาน
1.2) ท่เี ก็บแฟ้มผลงานของเด็ก จดั ทำเป็นกล่องหรอื จัดใสแ่ ฟ้มรายบคุ คล
1.3) ท่ีเก็บเครอ่ื งใช้ส่วนตวั ของเด็ก ทำเป็นช่องตามจำนวนเด็ก
1.4) ทเ่ี กบ็ เครือ่ งใชข้ องผสู้ อน เช่น อุปกรณ์การสอน ของสว่ นตัวผสู้ อน ฯลฯ
1.5) ปา้ ยนิเทศตามหน่วยการสอนหรอื ส่ิงท่ีเด็กสนใจ
2) พนื้ ทป่ี ฏิบตั กิ จิ กรรมและการเคลอื่ นไหว
จดั พ้ืนที่ท่ีเด็กสามารถจะทำงานได้ด้วยตนเอง และทำกจิ กรรมด้วยกันในกลุ่มเล็ก หรือ
กล่มุ ใหญ่ เด็กสามารถเคล่ือนไหวได้อยา่ งอสิ ระจากกจิ กรรมหน่งึ ไปยังกิจกรรมหน่งึ โดยไมร่ บกวนผู้อนื่
3) พื้นท่จี ัดมุมเลน่ หรอื มุมประสบการณ์
จดั แยกส่วนที่ใชเ้ สียงดังและเงียบออกจากกัน เช่น มุมบลอ็ กอยู่ห่างจากมุมหนังสือ มุม
บทบาทสมมติอยูต่ ิดกบั มุมบล็อก มมุ วทิ ยาศาสตร์อยใู่ กล้มุมศลิ ปะ ฯลฯ จัดให้มีของเล่น วัสดุอุปกรณ์ใน
มมุ อยา่ งเพียงพอตอ่ การเรยี นรขู้ องเด็ก
2.4.36 สภาพแวดลอ้ มและบรรยากาศการเรียนรู้ภายนอกห้องเรียน
จัดสภาพภายนอกห้องเรียนตามแนวโรงเรียนน่าดู น่าอยู่ น่ามอง มีการจัดสวนหย่อม
ประเภทสวนผกั สวนครวั เพอ่ื เป็นตัวอย่างแก่เดก็ และชุมชน มแี ปลงเกษตรพืชสมุนไพร มตี ้นไมก้ ารเรียนรู้
ฝาผนงั พูดได้ มีมมุ บ้านหลงั นอ้ ย สนามเดก็ เลน่ เพ่อื สนบั สนนุ ให้เดก็ เรียนรู้อยู่กลางธรรมชาติ เรยี นรู้อย่าง
มีความสุข สอดคล้องกับพัฒนาการตามวัย ซึ่งจัดแบ่งพื้นที่ให้เหมาะสมกับการประกอบกิจกรรมตาม
หลกั สตู ร ดังนี้
รายงานการใชแ้ ละพฒั นาหลกั สตู รโรงเรยี นวดั ชนิ วราราม (เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม)์ : ปฐมวยั 63
1) บรเิ วณสนามเดก็ เล่น จดั พ้ืนผิวของสนามที่ไม่เป็นอันตรายต่อเดก็ มีพ้ืนท่ีสำหรับ
เล่นของเล่นที่มีล้อ รวมทั้งที่ร่ม ที่โล่งแจ้ง พื้นดินสำหรับขุด ที่เล่นนํ้า บ่อทรายพร้อมอุปกรณ์
ประกอบการเล่น เครื่องเล่นสนามสำหรับปีนป่าย ทรงตัว ฯลฯ ทั้งนี้ไม่ติดกับบริเวณที่มีอันตราย และ
หมั่นตรวจตราเครอ่ื งเลน่ ใหอ้ ยใู่ นสภาพแข็งแรง ปลอดภัยอย่เู สมอ และหม่ันดแู ลเรอื่ งความสะอาด
2) ท่นี ัง่ เลน่ พักผ่อน จัดที่นั่งไวใ้ ต้ต้นไม้มีรม่ เงา สำหรบั ใชจ้ ัดกิจกรรมกลุ่มย่อย ๆ
หรอื กจิ กรรมท่ตี อ้ งการความสงบ หรอื จดั เป็นลานนทิ รรศการให้ความรแู้ ก่เดก็ และผปู้ กครอง
3) บรเิ วณธรรมชาติ ปลูกไม้ดอก ไม้ประดับ และพืชผกั สวนครัว
2.4.37 การประเมนิ พฒั นาการ
โรงเรียนวัดชินวราราม(เจริญผลวิทยาเวศม์) ถือว่าการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย
เป็นกระบวนการต่อเนื่องและเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมปกติตามตารางกิจกรรมประจำวันและ
ครอบคลมุ พฒั นาการของเด็กทุกด้าน ไดแ้ ก่ ด้านร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สงั คม และสตปิ ัญญา เพือ่ นำผล
มาใช้ในการจัดกิจกรรมหรือประสบการณ์พัฒนาเด็กให้เต็มตามศักยภาพของแต่ละคน โดยยึดหลักการ
และขั้นตอนการประเมินพัฒนาการตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ซึ่งมีรายละเอียด
ดังน้ี
2.4.38 หลกั การประเมินพฒั นาการ
1) ประเมินพฒั นาการของเด็กครบทุกดา้ นและนำ ผลมาพฒั นาเด็ก
2) ประเมินเป็นรายบคุ คลอย่างสมํ่าเสมอตอ่ เนื่องตลอดปี
3) สภาพการประเมนิ ควรมลี กั ษณะเช่นเดยี วกบั การปฏิบัติกิจกรรมประจำ วัน
4) ประเมินอย่างเป็นระบบ มีการวางแผน เลือกใช้เครื่องมือและจดบันทึกไว้เป็น
หลักฐาน
5) ประเมินตามสภาพจริงดว้ ยวิธกี ารหลากหลายเหมาะกับเดก็ รวมท้งั ใช้แหลง่ ขอ้ มลู
หลายๆดา้ น ไม่ใชก้ ารทดสอบ
2.4.39 ข้นั ตอนการประเมนิ พัฒนาการ
การประเมนิ พฒั นาการเดก็ ปฐมวัย มขี ้ันตอนต่างๆ ดงั ต่อไปน้ี
1) ศกึ ษาและทำความเขา้ ใจพัฒนาการของเดก็ ในแต่ละชว่ งอายทุ ุกด้าน ไดแ้ ก่ ด้
รา่ งกายอารมณ์ จิตใจ สงั คม และ สติปัญญา
2) วางแผนเลอื กใช้วิธีการและเคร่อื งมอื ที่เหมาะสมสำหรับใชบ้ นั ทกึ และประเมิน
พฒั นาการ
3) ดำเนินการประเมนิ และบันทึกพฒั นาการ
4) ประเมินและสรุป
5) รายงานผล
6) ใหผ้ ู้ปกครองมสี ่วนร่วมในการประเมนิ
รายงานการใชแ้ ละพฒั นาหลกั สตู รโรงเรยี นวดั ชนิ วราราม (เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม)์ : ปฐมวยั 64
2.4.40 วิธีการประเมนิ
จดั ใหม้ กี ารประเมนิ พัฒนาการเด็กทุกด้านโดยใชว้ ธิ ีการประเมนิ ที่หลากหลาย เนน้ การ
ประเมินตามสภาพจริง โดยมีวิธีการประเมนิ พัฒนาการดังนี้
1) การสงั เกตและบนั ทึกพฤติกรรมของเด็ก
2) การสัมภาษณ์ สนทนา ซกั ถามเด็ก
3) การสัมภาษณ์ สนทนา ซกั ถามผู้ปกครอง
4) การตรวจผลงาน ประเมนิ ชิน้ งานอยา่ งตอ่ เน่อื ง
5) การรวบรวมผลงานท่ีแสดงความก้าวหนา้ ของเด็กรายบคุ คล (portfolio)
6) การประเมินการเจรญิ เติบโต
2.4.41 เครอ่ื งมือทใ่ี ช้ในการประเมนิ
1) แบบสำรวจรายการพฤติกรรมของเดก็
2) แบบบนั ทึกการเลอื กเล่นตามมมุ
3) การบันทึกสุขภาพ
4) แบบสมั ภาษณ์
5) แบบสงั เกตพฤตกิ รรม
6) แบบบันทกึ คำพูด
2.4.42 เกณฑก์ ารประเมิน
ใชเ้ กณฑก์ ารประเมินระดบั คุณภาพ 3 ระดับ ดังนี้
ระดบั 3 หมายถึง ดี ปรากฏพฤตกิ รรมตามช่วงอายุ เปน็ ไปตามสภาพทพี่ ึงประสงค์
ระดับ 2 หมายถึง พอใช้ ปรากฏพฤติกรรมตามช่วงอายุ เป็นไปตามสภาพที่พึง
ประสงค์ โดยมีการกระตนุ้
ระดับ 1 หมายถงึ ควรสง่ เสริม ไมป่ รากฏพฤติกรรมตามชว่ งอายทุ ่ีเปน็ ตามสภาพท่ีพึง
ประสงค์
ระยะเวลาประเมนิ
โรงเรยี นวัดชินวราราม(เจริญผลวิทยาเวศม)์ กำหนดการประเมนิ พฒั นาการเด็กปฐมวัย
ไวด้ ังน้ี
1) การประเมินระหว่างการเรียนรู้ ให้ครูผู้สอนประเมินพัฒนาการตามจุดประสงค์การ
เรยี นรขู้ องแตล่ ะหนว่ ยการเรียนรู้
2) การประเมนิ รายภาคเรียน ให้ครผู ูส้ อนประเมนิ พัฒนาการตามมาตรฐานคณุ ลักษณะ
ทพ่ี งึ ประสงค์ของหลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวัย ปกี ารศึกษาละ 2 คร้ัง และสรุปผล
3) การประเมนิ เม่อื จบหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั
เอกสาร/หลกั ฐานแสดงผลการประเมนิ พัฒนาการ
1) สมุดบนั ทกึ พัฒนาการ (อบ.1)
รายงานการใชแ้ ละพฒั นาหลกั สตู รโรงเรยี นวดั ชนิ วราราม (เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม)์ : ปฐมวยั 65
2) สมุดบันทึกพัฒนาการ (อบ.2)
2.4.43 การบรหิ ารจดั การหลักสตู รสถานศึกษาปฐมวยั
โรงเรียนวัดชินวราราม(เจริญผลวิทยาเวศม์) กำหนดภารกิจการบริหารจัดการหลักสูตร
สถานศึกษาปฐมวยั ไว้ดังน้ี
1) การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษา การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาใน
การ
บริหารจดั การหลกั สตู รสถานศึกษา ได้แก่
1.1) สร้างความตระหนักให้แก่บุคคล ซึ่งประกอบด้วยคณะกรรมการสถานศึกษา
ผู้บริหาร ครูผูส้ อน ผ้ปู กครอง ชุมชน นกั เรยี น ทั้งนเี้ พ่อื ให้เห็นความสำคัญ ความจำเป็นท่ีต้องร่วมมือกัน
บริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษา โดยมีข้อมูลที่แสดงความรู้ ความเข้าใจ
เกี่ยวกับการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยของบุคลากรที่เกี่ยวข้อง มีเอกสารและหลักฐานเผยแพร่
ความรู้เกี่ยวกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย และบุคลากรที่เกี่ยวข้องมีความสนใจ และกระตือรือร้นที่จะ
หาความรเู้ ก่ยี วกับหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศักราช 2560
1.2) พัฒนาบุคลากรของสถานศกึ ษาให้มคี วามรู้ ความเข้าใจ เกีย่ วกับการพฒั นา
หลักสูตรสถานศึกษา โดยมีคณะทำงานที่รับผิดชอบเอกสารหลักสูตร มีข้อมูลเกี่ยวกับความต้องการ
พัฒนาความรู้เกี่ยวกับการศึกษาปฐมวัยของบุคลากรในสถานศึกษา และมีบัญชีรายชื่อสถานศึกษาและ
แหลง่ เรยี นรู้
1.3) ดำเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการของสถานศึกษา ซึ่งประกอบด้วย
คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการการศึกษาปฐมวัย และคณะกรรมการอื่น ๆ ตามความ
จำเป็น และชี้แจงให้คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเองสอดคล้องกับ
นโยบายของสถานศึกษา
1.4) จัดทำระบบสารสนเทศของสถานศึกษา มีการจัดทำข้อมูลพื้นฐานของโรงเรยี น
ชุมชน และข้อมูลการดำเนินงานอย่างเป็นระบบ และมีข้อมูลเกี่ยวกับการจัดทำหลักสูตรทั้งในอดีต
ปัจจุบัน และอนาคต และจะต้องเป็นข้อมูลสารสนเทศที่มีคุณภาพทั้งในด้านความถูกต้อง เชื่อถือได้มี
ความเป็นปัจจบุ นั สามารถตอบสนองผูใ้ ช้ไดท้ นั เหตกุ ารณ์
1.5) จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาปฐมวัย โดยนำข้อมูลสารสนเทศของ
สถานศึกษา ชุมชน มาใช้ในการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่มีความสอดคล้องกับสภาพของ
สถานศึกษา เป็นกระบวนการพัฒนาปรับปรุงการจัดการศึกษาของสถานศึกษาทั้งระบบทั่วทั้งองค์กร
กำหนดเป็นแผนพฒั นาอยา่ งต่อเน่อื ง โดยทกุ กิจกรรมท่เี ปน็ องค์ประกอบหลกั ของระบบการจดั การศึกษา
ได้แก่ หลกั สูตร การจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ การประเมนิ พัฒนาการ การบรหิ ารจดั การ การปกครอง
การพัฒนาวชิ าชีพ บุคลากร การบริหารงบประมาณ และการมสี ว่ นร่วมของผปู้ กครอง ชุมชน จัดทำเป็น
เอกสารให้ทุกคนรบั ทราบและดำเนินการตามแผนพฒั นาท่ีกำหนดข้ึน
รายงานการใชแ้ ละพฒั นาหลกั สตู รโรงเรยี นวดั ชนิ วราราม (เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม)์ : ปฐมวยั 66
1.6) เผยแพร่ประชาสัมพันธ์หลักสูตรให้กับผู้ปกครอง นักเรียน หน่วยงาน องค์กรใน
ชุมชนทุกฝ่ายได้รับทราบด้วยวิธีการที่หลากหลาย และขอความร่วมมือ โดยมีการประชาสัมพันธ์
หลกั สูตร ความเคลือ่ นไหวของหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั ให้กบั บุคลากรในสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน
ทราบ และบคุ ลากรทกุ ฝา่ ยอาสาทจี่ ะชว่ ยเผยแพร่ประชาสัมพนั ธ์
2) การจัดทำหลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั
2.1) ศกึ ษา วิเคราะห์ขอ้ มลู ที่เก่ยี วขอ้ ง
2.2) กำหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ เป้าหมายของการจัดการศึกษาของสถานศึกษาใน
ระดับปฐมวัย
2.3) กำหนดมาตรฐานคุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์
2.4) กำหนดโครงสรา้ งหลักสตู รสถานศึกษาปฐมวยั สาระการเรยี นรู้รายปี
2.5) กำหนดการจดั ประสบการณ์
2.6) กำหนดการสร้างบรรยากาศการเรียนรู้
2.7) กำหนดการประเมนิ พัฒนาการ
2.8) กำหนดสอื่ และแหลง่ เรียนรู้
2.9) กำหนดการบริหารจัดการหลักสูตร การนำหลกั สูตรไปใช้ การจดั งบประมาณ
อาคารสถานท่ี วสั ดอุ ุปกรณ์ และบุคลากรให้สอดคล้องกับหลักสตู รสถานศกึ ษา
3) การวางแผนดำเนนิ การใช้หลกั สตู ร
3.1) สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ บรรยากาศและสิ่งแวดล้อมที่ดีในโรงเรียน เช่น
สะอาดปลอดภัย สะดวกสบาย และสง่ เสรมิ การใฝ่รู้ สนองความสนใจทีจ่ ะเรียนรู้ ค้นคว้า ทดลอง และ
สัมผัสของเด็ก จัดเตรียมสิ่งแวดล้อมอย่างเหมาะสมกับความต้องการของเด็ก รวมถึงสอดคล้องกับ
สภาพและความต้องการของหลกั สตู ร เพื่อสง่ ผลให้บรรลุจุดหมายในการพฒั นาเดก็
3.2) จัดหา เลือกใช้ ทำและพัฒนาสื่อ ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช
2560และหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย มุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้ด้วยตนเอง พัฒนาเด็กปฐมวัยทั้งด้าน
ร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ใช้สื่ออย่างเหมาะสมกับวัย วุฒิภาวะ ความแตกต่าง
ระหว่างบคุ คล ความสนใจและความต้องการของเดก็ ที่หลากหลาย โดยมีแนวทางดังนี้
3.2.1) จดั ทำและจัดหาสือ่ ทีม่ ีอยใู่ นท้องถิน่ มาประยุกตใ์ ชเ้ ป็นส่อื การเรยี นรู้
3.2.2) ศกึ ษา คน้ ควา้ วจิ ัยเพื่อพฒั นาส่อื การเรียนรใู้ หส้ อดคล้องกบั กระบวนการ
เรยี นรูข้ องผเู้ รียน
3.2.3) จัดทำและจัดหาสื่อ สำหรับการศึกษาค้นคว้าของผู้เรียน และสำหรับ
เสริมความรู้ของผูส้ อน
3.2.4) ศึกษาวิธีการเลือกและการใชส้ ื่อการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพเหมาะสม
หลากหลายและสอดคล้องกับวธิ กี ารเรยี นรู้ ความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล
รายงานการใชแ้ ละพฒั นาหลกั สตู รโรงเรยี นวดั ชนิ วราราม (เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม)์ : ปฐมวยั 67
3.2.5) ศึกษาวิเคราะห์และประเมินคุณภาพมาตรฐานสื่อการเรียนรู้ที่จัดทำขึ้น
เองและที่เลือกนำมาใชป้ ระกอบการเรยี นรู้
3.2.6) จัดหาและจัดให้มีแหล่งการเรียนรู้ ศูนย์การเรียนรู้ที่ประสิทธิภาพใน
สถานศึกษาและในชุมชน เพื่อศกึ ษาคน้ ควา้ แลกเปล่ยี นประสบการณ์การเรยี นรู้
3.2.7) จัดให้มีเครือข่ายการเรียนรู้ เพื่อเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนการเรียนรู้
ระหวา่ งสถานศึกษา ทอ้ งถ่นิ ชุมชนและสังคมอ่ืน
3.2.8) จัดให้มีการกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานเกี่ยวกับสื่อ และ
การใช้สอ่ื การเรยี นรเู้ ป็นระยะ ๆ
3.3) จัดประสบการณ์การเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับจิตวิทยาพัฒนาการและการ
เรียนรู้ของเด็ก ใช้หลักการบูรณาการ โดยจัดประสบการณ์ผ่านการเล่น พัฒนาเด็กโดยองค์รวม จัด
เนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน โดยคำนึงความแตกต่าง
ระหว่างบุคคล และบริบทที่เด็กอาศัยอยู่ ให้เด็กได้เรียนรู้ทั้งกระบวนการและผลผลิตผ่านสื่อและแหล่ง
เรยี นรู้ที่หลากหลาย โดยจัดการประเมนิ พัฒนาการเป็นกระบวนการอย่างต่อเนื่อง และให้ผ้ปู กครองและ
ชุมชนมสี ว่ นรว่ มในการพัฒนาเดก็
4) การดำเนนิ การบรหิ ารหลักสูตร(การใช้หลักสูตร)
การดำเนินการบริหารหลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวัย คอื การใชห้ ลกั สูตรตามทศิ ทางท่ี
สถานศึกษากำหนดให้บรรลุผลสำเร็จ จัดการเรียนการสอนและดำเนินกิจกรรมต่างๆตามแผนปฏิบัติ
การของสถานศึกษา การดำเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาเป็นวิธีการที่ดีสามารถใช้บรหิ าร
จัดการหลักสตู รได้ประสบผลสำเร็จ
5) การกำกบั ตดิ ตาม ประเมนิ ผลและรายงาน
5.1) การนิเทศ กำกับ ติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการหลักสูตรและงาน
วิชาการภายในสถานศึกษา โดยจัดระบบการกำกับ ติดตาม ประเมินผลและรายงานคุณภาพการจัด
การศึกษาที่มีประสิทธิภาพ ให้ทุกฝ่ายที่มีส่วนร่วมรับผิดชอบมองเห็นภาพความสำเรจ็ ปัญหา อุปสรรค
ตลอดจนการให้ความร่วมมือ ช่วยเหลือ ส่งเสริมสนับสนุนการวางแผนการดำเนินงานจัดการศึกษา
ปฐมวัยใหม้ คี ณุ ภาพอย่างแทจ้ ริงดี
2.4.45 การเชอื่ มตอ่ ของการศกึ ษาระดับปฐมวยั กับระดับประถมศึกษาปที ี่ 1
การเชื่อมต่อของการศึกษาระดับปฐมวัยกับระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 มีความสำคัญ
อย่างยง่ิ ต่อการจัดการศึกษาและจดั การเรียนการสอนท่เี หมาะสมกบั ธรรมชาติการเรยี นรู้และพัฒนาการ
ของเด็กแต่ละคน เพื่อให้เด็กทุกคนสามารถพัฒนาและเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสมตามวยั โรงเรียนวัดชนิ ว
ราราม(เจริญผลวิทยาเวศม์) มนี โยบายใหบ้ ุคลากรทกุ ฝ่ายท่เี กยี่ วข้องให้ความสนใจต่อการลดช่องว่างของ
ความไม่เข้าใจในการจดั การศึกษาทั้งสองระดับ คอื ระดับการศึกษาปฐมวัย และ ระดับประถมศึกษา ซึ่ง
จะส่งผลต่อการจัดการเรียนการสอน ตัวเด็ก ผู้สอน ผู้ปกครองและบุคลากรทางการศึกษาอืน่ ๆท้ังระบบ
รายงานการใชแ้ ละพฒั นาหลกั สตู รโรงเรยี นวดั ชนิ วราราม (เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม)์ : ปฐมวยั 68
โดยกำหนดให้ผู้สอนระดับปฐมวัย กับผู้สอนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 สร้างความเข้าใจร่วมกัน ซ่ึง
ผู้บริหารสถานศึกษา พ่อแม่ ผู้ปกครอง ชุมชน และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายเป็นผู้ให้การสนับสนุนและ
ช่วยเหลือทีเ่ หมาะสม เพื่อให้เด็กสามารถปรับตัวรับความเปลี่ยนแปลงในช่วงรอยเชื่อมต่อได้เป็นอย่างดี
สามารถพฒั นาการเรยี นรูไ้ ด้อยา่ งราบร่ืนและ ประสบผลสำเร็จตามเปา้ หมายหลักสูตรท่ีกำหนดไว้
2.5. การประเมนิ หลกั สตู ร
2.5.1 รปู แบบการประเมนิ หลักสตู ร
ในเรื่องรูปแบบของการประเมินหลักสูตร ได้มีนักวิชาการซึ่งเชี่ยวชาญทางด้านหลักสูตร
และการประเมินผลเสนอแนะหลายรูปแบบด้วยกัน ซึ่งสามารถนำมาศึกษาเพื่อเลือกใช้ให้เหมาะสมกับ
ความตอ้ งการ ในปจั จุบันรูปแบบของการประเมนิ หลกั สตู รสามารถแบง่ ได้เปน็ 2 ประเภทใหญๆ่ คอื
2.5.1.1 รูปแบบของการประเมินหลักสูตรที่สร้างเสร็จใหม่ ๆ เป็นการ
ประเมินผลก่อนนำหลักสูตรไปใช้ซ่ึงในกลุม่ นีจ้ ะเสนอรูปแบบที่เด่น ๆ คือ รูปแบบการประเมินหลักสตู ร
ด้วยเทคนิคการวเิ คราะห์แบบปยุ แซงค์(Puissance Analysis Technique)
2.5.1.2 รูปแบบการประเมินหลักสูตรในระหว่างหรือหลังการใช้หลักสูตร ซึ่งใน
กลุ่มนี้สามารถแบ่งเป็น กลมุ่ ยอ่ ย ๆ ได้เปน็ 3 กลมุ่ ดงั น้ี
1) รูปแบบการประเมินหลักสูตรที่ยึดจุดมุ่งหมายเป็นหลัก (Goal
Attainment Model)
2) รูปแบบการประเมินหลักสูตรที่ไม่ยึดเป้าหมาย (Goal Free
Evaluation Model)
3) รูปแบบการประเมินหลักสูตรที่ช่วยในการตัดสินใจ (Decision
Making Model)
รายงานการใชแ้ ละพฒั นาหลกั สตู รโรงเรยี นวดั ชนิ วราราม (เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม)์ : ปฐมวยั 69
บทที่ 3
วธิ กี ารดำเนนิ การศึกษา
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินหลักสูตรปฐมวัยโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผล
วิทยาเวศม์) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 เพื่อจัดทำรายงานการใช้
และพัฒนาหลักสูตรปฐมวัยโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) การประเมินหลักสูตรในครั้งน้ี
คณะผศู้ ึกษาไดด้ ำเนินการ ดังนี้
3.1 กลุ่มเปา้ หมาย
3.1.1 ประชากร คือ ผู้บรหิ ารโรงเรียน ครูผสู้ อน นักเรยี นโรงเรยี นวัดชนิ วราราม (เจริญผลวิทยา
เวศม)์ และผูป้ กครอง
3.1.2 กลมุ่ ตัวอยา่ งท่ใี ห้ขอ้ มูลในการประเมนิ ครงั้ นี้ประกอบด้วย
- ผู้บริหารโรงเรียน คณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่ม
สาระ และครรู ะดับช้ันปฐมวยั จำนวน 20 คน
3.2. เคร่อื งมือทใี่ ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมูล
3.2.1 แบบสอบถามเพ่ือประเมินการบริหารจดั การหลกั สูตรและกจิ กรรมของโรงเรียนวัดชินวรา
ราม (เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม)์ โดยประเมนิ 3 ดา้ น ดังนี้
3.2.1.1 ประเมินคุณภาพหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยของหลักสูตรสถานศึกษา
โรงเรยี นวัดชนิ วราราม (เจรญิ ผลวิทยาเวศม์)
3.2.1.2 ประเมินด้านวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย จุดหมาย มาตรฐานคุณลักษณะท่ี
พึงประสงคส์ าระการเรียนรู้รายปีของหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม)์
3.2.1.3 ประเมินองค์ประกอบการจัดเวลาเรียน การจัดประสบการณ์ การจัด
สภาพแวดล้อม สื่อ และแหล่งเรียนรู้ของหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยา
เวศม์)
3.2.2 รวบรวมข้อมลู จากการประเมินหลกั สูตรโรงเรียนวัดชินวราราม (เจรญิ ผลวิทยา
เวศม์) และข้อเสนอแนะเพื่อเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรไปใช้ในการพัฒนาหลักสูตรให้มีความ
สมบรู ณย์ งิ่ ๆ ขน้ึ ไป
รายงานการใชแ้ ละพฒั นาหลกั สตู รโรงเรยี นวดั ชนิ วราราม (เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม)์ : ปฐมวยั 70
บทที่ 4
วิธีการดำเนินการศกึ ษา
การประเมินหลักสูตรปฐมวัยโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) พุทธศักราช 2560
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2561) ผู้ศึกษาได้นำข้อมูลที่ได้ มาทำการวิเคราะห์ และนำเสนอตามลำดับ
ดงั ตอ่ ไปนี้
4.1 ผลการประเมินการบรหิ ารและการจดั การหลกั สตู รสถานศึกษาตามเคร่อื งมือของกลุ่มนิเทศ
ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1
สอบถามจากผู้บริหารโรงเรียน คณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ
และครูระดับปฐมวัยจำนวน 20 คน นำมาวิเคราะห์ ประมวลผล ในการจัดทำรายงานผลการใช้และ
พฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษา ประจำปกี ารศกึ ษา 2562
รายงานการใชแ้ ละพฒั นาหลกั สตู รโรงเรยี นวดั ชนิ วราราม (เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม)์ : ปฐมวยั 71
รายงานการใชแ้ ละพฒั นาหลกั สตู รโรงเรยี นวดั ชนิ วราราม (เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม)์ : ปฐมวยั 72
รายงานการใชแ้ ละพฒั นาหลกั สตู รโรงเรยี นวดั ชนิ วราราม (เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม)์ : ปฐมวยั 73
บทท่ี 5
สรุป อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ
การศึกษาครั้งนี้ผู้ศึกษามุ่งที่จะประเมินหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผล
วทิ ยาเวศม์) โดยมี วัตถุประสงค์
1) ประเมินคุณภาพหลกั สตู รสถานศึกษาปฐมวยั ของหลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนวัดชนิ วราราม
(เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม)์
2) ประเมนิ ดา้ นวสิ ยั ทัศน์ พนั ธกิจ เป้าหมาย จุดหมาย มาตรฐานคุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์สาระ
การเรียนรูร้ ายปีของหลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวดั ชินวราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม)์
3) ประเมินองค์ประกอบการจัดเวลาเรียน การจัดประสบการณ์ การจัดสภาพแวดล้อม สื่อ
และแหล่งเรยี นรู้ของหลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นวัดชนิ วราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม)์
4) ประเมินการใช้และพัฒนาหลักสตู รจากผู้บริหารและครผู ้สู อน
5) จัดทำรายงานการใช้และพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์) เพ่ือ
สนองระบบประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา
สรุปผลการประเมนิ
ผลการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย โรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์)
พบว่า ภาพรวมอยใู่ นระดับ “มาก” โดยสรปุ ผลการประเมิน ดังน้ี
5.1 สรุปผลการประเมนิ การบริหารและการจัดการหลักสูตรสถานศึกษาตามเครือ่ งมือของกล่มุ
นิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี
เขต 1 (ภาคผนวก) สอบถามจากผู้บริหารโรงเรียนคณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย หัวหน้ากลุ่มสาระการ
เรียนรู้ 8 กลุ่มและสาระครูระดับชั้นปฐมวัย จำนวน 20 คน นำมาวิเคราะห์ ประมวลผล ในการจัดทำ
รายงานผลการใช้และพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2562
ระดบั การปฏบิ ัติ 1 มีการปฏิบตั ิไมค่ รบ และไมช่ ัดเจน
ระดบั การปฏบิ ตั ิ 2 มีการปฏิบตั ิครบถว้ น แต่ไม่ชดั เจน
ระดับการปฏบิ ตั ิ 3 มีการปฏิบัตคิ รบถ้วน และชดั เจน
รายงานการใชแ้ ละพฒั นาหลกั สตู รโรงเรยี นวดั ชนิ วราราม (เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม)์ : ปฐมวยั 74
ตอนท่ี 1 การประเมนิ คณุ ภาพหลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวัย
ท่ี รายการ ผลการประเมนิ สรุประดับความคิดเห็น
3 2 1 ของระดับการปฏบิ ตั ิงาน
1 ปรัชญาการศึกษาปฐมวัยของสถานศกึ ษา X = 2.84
1.1 แสดงแนวคิดและความเชื่อในการจัดการศึกษาเพ่ือ มกี ารปฏิบตั ิครบถว้ น และ
พัฒนาเด็กปฐมวยั ชัดเจน ครบถ้วน ชัดเจน
1.2 มคี วามสอดคล้องกับหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย
พุทธศักราช 2560
1.3 มีความเชือ่ มโยงกับความเชื่อในการจดั การศึกษาเพอ่ื
พฒั นาเด็กปฐมวยั
1.4 ผมู้ สี ว่ นเกย่ี วข้องทุกฝ่ายมีสว่ นรว่ มในการกำหนด
ปรัชญาการศึกษา
2 วิสยั ทศั น์ พนั ธกจิ เป้าหมาย X = 2.81
2.1 มคี วามชัดเจนและสอดคล้องกบั ปรัชญาการศึกษา มีการปฏบิ ตั ิครบถ้วน และ
ปฐมวัยของสถานศึกษา ชดั เจน
2.2 แสดงความคาดหวังและวิธีการพฒั นาเด็กปฐมวยั ใน
อนาคตไดช้ ัดเจน
2.3 แสดงถึงจดุ เนน้ อตั ลักษณ์ เอกลักษณ์ ทตี่ อ้ งการของ
สถานศึกษา
2.4 มกี ารกำหนดเปา้ หมายท่ีตอ้ งการในเชงิ ปรมิ าณหรอื
เชิงคณุ ภาพ
3 จุดหมาย X = 2.87
3.1 มคี วามสอดคล้องและครอบคลมุ จุดหมายของ มีการปฏิบตั คิ รบถ้วน และ
หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศกั ราช 2560 ชดั เจน
3.2 มคี วามสอดคล้องกบั ปรชั ญา วิสยั ทศั น์ การศึกษา
ปฐมวัยของสถานศกึ ษา
3.3 มีความเป็นไปได้ในการนำไปสู่การปฏิบตั ติ าม
จุดหมายท่ีกำหนดในหลกั สตู ร
4 มาตรฐานคณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์ X = 2.85
4.1 นำมาตรฐานคณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงคแ์ ละสภาพท่ีพงึ มกี ารปฏบิ ัตคิ รบถ้วน และ
ประสงค์ มากำหนดในหลักสูตรสถานศกึ ษาปฐมวัย ชดั เจน
ครบถ้วน
รายงานการใชแ้ ละพฒั นาหลกั สตู รโรงเรยี นวดั ชนิ วราราม (เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม)์ : ปฐมวยั 75
ที่ รายการ ผลการประเมนิ สรุประดับความคิดเห็น
3 2 1 ของระดับการปฏิบตั ิงาน
4.2 นำมาตรฐานคณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงคแ์ ละสภาพท่ีพึง
ประสงคม์ าจัดแบง่ กล่มุ อายุเด็ก และระดับชนั้ เรยี นได้ X = 2.87
ชดั เจน ครบถ้วน มีการปฏิบตั ิครบถว้ น และ
5 การจัดเวลาเรียน ชดั เจน
5.1 มีการกำหนดเวลาเรยี นต่อ 1 ปีการศึกษาไม่น้อยน้อย
กว่า 180 วนั X = 2.83
5.2 มกี ารกำหนดเวลาเรียนแต่ละวนั ไม่น้อยกวา่ มกี ารปฏิบตั คิ รบถ้วน และ
5 ชั่วโมง ชัดเจน
5.3 มกี ารกำหนดชว่ งเวลาการจดั กิจกรรมประจำวนั
เหมาะสมกับวยั และความสนใจของเด็ก X = 2.98
6 สาระการเรียนรูร้ ายปี มกี ารปฏิบตั ิครบถ้วน และ
6.1 มคี วามสอดคลอ้ งกบั มาตรฐาน ตวั บ่งชี้ สภาพทพ่ี ึง ชดั เจน
ประสงค์ในแตล่ ะช่วงวยั
6.2 มีการกำหนดครอบคลุมประสบการณส์ ำคัญและสาระ
ทีค่ วรเรยี นรู้ ตามหลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช
2560
6.3 มกี ารจัดแบ่งสาระการเรียนร้เู หมาะสมกบั ช่วงเวลาใน
การจดั หนว่ ยประสบการณ์
การจัดประสบการณ์
7.1 มีกำหนดการจัดประสบการณ์โดยใช้หลกั การ
บรู ณาการผา่ นการเล่นทส่ี อดคล้องกับพฒั นาการตามวัย
ของเด็ก
7 7.2 มรี ปู แบบการจัดประสบการณส์ อดคล้องกับปรัชญา
วสิ ยั ทัศน์ และจดุ หมายของการจดั การศึกษาปฐมวัย
7.3 มกี ำหนดการจดั ประสบการณแ์ ต่ละช่วงอายทุ ่ี
เหมาะสมกับวัยและความสนใจของเด็ก
7.4 มกี ำหนดการจดั ประสบการณเ์ น้นให้เดก็ ลงมือปฏิบตั ิ
รเิ รม่ิ และมสี ว่ นร่วมในการออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรู้
รายงานการใชแ้ ละพฒั นาหลกั สตู รโรงเรยี นวดั ชนิ วราราม (เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม)์ : ปฐมวยั 76
ท่ี รายการ ผลการประเมิน สรุประดับความคิดเห็น
32 1 ของระดับการปฏิบัตงิ าน
7.5 มีกำหนดการจัดประสบการณ์เปดิ โอกาสให้
เดก็ มีปฏิสมั พนั ธ์กับบคุ คล สอ่ื และใช้แหล่งการ X = 2.88
เรียนรู้ทห่ี ลากหลาย มีการปฏบิ ัตคิ รบถ้วน และ
7.6 มกี ำหนดการจัดประสบการณ์สง่ เสรมิ ใหเ้ ด็ก ชัดเจน
มีทกั ษะชีวิตและการปฏิบัติตนตามแนวทางหลกั
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง X = 2.88
7.7 มกี ำหนดการจัดประสบการณ์ส่งเสรมิ การ มีการปฏบิ ตั คิ รบถ้วน และ
พัฒนาการให้เด็กเปน็ เด็กดี มีวนิ ยั และมีความ ชัดเจน
เปน็ ไทย X = 2.88
การจดั สภาพแวดล้อม ส่อื และแหล่งเรยี นรู้ มกี ารปฏบิ ตั ิครบถ้วน และ
8.1 ระบุแนวการจดั สภาพแวดล้อมภายในและ ชดั เจน
ภายนอกที่เอื้อตอ่ การเรียนรู้ของเดก็
8 8.2 มีสอ่ื ท่ีหลากหลาย เหมาะสมและเพียงพอ X = 2.88
8.3 มีแหล่งเรยี นรใู้ นและนอกสถานศกึ ษาท่ี มีการปฏิบัติครบถ้วน และ
สง่ เสรมิ พัฒนาการและการเรียนรขู้ องเด็ก ชัดเจน
9 การประเมนิ พฒั นาการ
9.1 มกี ารประเมนิ พฒั นาการเด็กครอบคลมุ
มาตรฐานคุณลักษณะพงึ ประสงค์
9.2 มีการประเมนิ พฒั นาการตามสภาพจริง
การบริหารจัดการหลกั สตู ร
10.1 มคี วามพรอ้ มด้าน ครู บุคลากร และข้อมลู
สารสนเทศ
10 10.2 มงี บประมาณและทรัพยากรสนบั สนุน
เพยี งพอ
10.3 มกี ารวางแผนการประเมนิ หลักสูตร
สถานศกึ ษา (ก่อน-ระหว่าง-หลังการใช)้
10.4 มีแผนการนิเทศ ติดตามการนำหลกั สตู ร
สถานศกึ ษาปฐมวัยสู่การปฏบิ ัติ
การเชอื่ มต่อของการศึกษา
11 11.1 ผู้บริหารมกี ารวางแผนและสร้างความเข้าใจ
แก่ ผู้สอนปฐมวัย ผู้สอนประถมศึกษา ที่เก่ยี วข้อง
รายงานการใชแ้ ละพฒั นาหลกั สตู รโรงเรยี นวดั ชนิ วราราม (เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม)์ : ปฐมวยั 77
พ่อแม่ ผ้ปู กครอง และชมุ ชน ในการสร้างรอย
เชื่อมตอ่ ของหลักสตู รทง้ั สองระดับ
11.2 ครผู ้สู อนปฐมวัยและประถมศึกษา มีการ
แลกเปลย่ี นและกำหนดแนวทางการทำงาน
รว่ มกนั
11.3 มแี นวทางการจดั กจิ กรรมใหเ้ ด็กปฐมวัยมี
ความพร้อมในการเรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 1
ของครูผู้สอนร่วมกันด้วยวิธกี ารหลากหลาย
11.4 มกี ารจดั เตรยี มข้อมูลสารสนเทศของเด็ก
ปฐมวยั รายบุคคลสง่ ตอ่ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 1
เพอื่ การวางแผนพฒั นาเดก็ ร่วมกนั
สรปุ ผลการประเมนิ จากการสำรวจข้อมูลของผู้ใหข้ ้อมูลหลกั
กลุม่ ผู้ให้ขอ้ มลู หลกั สรปุ ระดับความคดิ เหน็ โดยภาพรวม
สรุปผลการประเมินการบริหารและการจัดการ
หลักสูตรสถานศึกษาตามเครื่องมือของกลุ่มนิเทศติดตาม
และประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 สอบถามจาก
ผู้บริหารโรงเรียนคณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย หัวหน้ากลุ่ม X = 2.87
สาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระและครูระดับชั้นปฐมวัย มีการปฏบิ ัติครบถ้วนและชัดเจน
จำนวน 20 คน นำมาวเิ คราะห์ ประมวลผล ในการจัดทำ
รายงานผลการใช้และพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
ประจำปกี ารศกึ ษา 2562
ขอ้ เสนอแนะเพิม่ เติมอืน่ ๆ
1. ควรมกี ารพฒั นาปรบั ปรุงสู่หลกั สตู รท้องถิน่ ให้นกั เรยี นในระดับปฐมวัยไดเ้ รียนรู้
2. ควรจัดจำนวนห้องเรยี นให้เพยี งพอต่อนกั เรียนเพ่ือการเรียนรูท้ ่ที ่ัวถึง
3. การบริหารจดั การหลกั สตู ร ควรมกี ารนิเทศเพ่ือกำกบั ติดตามการนำหลักสตู รไปใช้อยา่ ง
ต่อเนือ่ งเพื่อให้การจดั การบริหารหลกั สตู รสถานศึกษาดำเนนิ ไปอยา่ งถูกทิศถูกทางและถกู ต้อง สง่ ผลให้
เกดิ ประสทิ ธิภาพและเกดิ ประสิทธผิ ลในการใช้หลกั สูตรทดี่ ียิง่ ๆ ข้ึนไป
รายงานการใชแ้ ละพฒั นาหลกั สตู รโรงเรยี นวดั ชนิ วราราม (เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม)์ : ปฐมวยั 78
อภปิ รายผลการประเมนิ หลกั สูตร
จากผลการประเมินการใช้หลักสูตรปฐมวัยโรงเรียนวัดชินวราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์)
พทุ ธศักราช 2560 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2561) ประเมินการบรหิ ารและการจัดการหลักสตู รสถานศึกษา
ตามเครื่องมือของกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 (ภาคผนวก) สอบถามจากผู้บริหารโรงเรียนคณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระและครูระดับชั้นปฐมวัย ตัวแทนนักเรียน จำนวน 20 คน
นำมาวิเคราะห์ ประมวลผล ในการจัดทำรายงานผลการใช้และพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ประจำปี
การศึกษา 2562 ปรากฏผลของการ การจัดประสบการณ์โดยใช้หลักการบูรณาการผ่านการเล่นที่
สอดคล้องกับพัฒนาการตามวัยของเด็ก ปรัชญา วิสัยทัศน์ และจุดหมายของการจัดการศึกษาปฐมวัย
เหมาะสมกับวัยและความสนใจของเด็ก เน้นให้เด็กลงมือปฏิบัติ ริเริ่มและมีส่วนร่วมในการออกแบบ
กจิ กรรมการเรยี นรู้ทเี่ ปิดโอกาสใหเ้ ด็กมีปฏิสมั พนั ธก์ บั บุคคล สือ่ และใชแ้ หลง่ การเรยี นรทู้ ่หี ลากหลาย
ส่งเสริมให้เดก็ มีทักษะชีวิตและการปฏิบตั ิตนตามแนวทางหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาส่งเสรมิ
การพัฒนาการใหเ้ ด็กเป็นเด็กดี มวี นิ ยั และมคี วามเป็นไทย ในภาพรวมมกี ารปฏบิ ัติและมคี วามชดั เจน
ขอ้ เสนอแนะ
1. การประเมินการใชห้ ลกั สูตรครัง้ ตอ่ ไป ควรพฒั นาเครอื่ งมือให้สามารถเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ได้
ครอบคลุมประเดน็ มากย่ิงขึน้
2. ควรประเมินหลักสูตรสถานศึกษา ด้วยรปู แบบของการวิจยั เต็มรปู แบบ ทุกๆ 3 ปี
3. ควรจัดการประเมินเมนิ หลักสตู รแยกตามกิจกรรมท่ีจดั และตามแผนการจัดการเรียนรู้จะทำ
ให้ไดข้ ้อมูลเพอื่ การพัฒนาให้ดยี ิ่งๆ ขน้ึ ไป
4. โรงเรียนตอ้ งนำข้อเสนอแนะจากทุกขัน้ ตอน มาดำเนินการแกไ้ ขปัญหา เชน่ ปัญหาดา้ นการ
จดั กจิ กรรมการเรียนรู้ เพ่ือให้สามารถพฒั นางานการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างมีประสิทธภิ าพและเกิด
ประสิทธิผลเพื่อความเปน็ เลิศทางวิชาการ
รายงานการใชแ้ ละพฒั นาหลกั สตู รโรงเรยี นวดั ชนิ วราราม (เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม)์ : ปฐมวยั 79
บรรณานกุ รม
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
กรุงเทพฯ: ชมุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
จงฤดี ไสยสตั ย.์ (2549). การประเมนิ หลักสตู รสถานศึกษาของโรงเรยี น ในสังกดั สำนกั งานเขต
ใจทพิ ย์ เชอ้ื รตั นพงษ์. (2539). การพฒั นาหลักสูตร : หลักการและแนวปฏิบัต.ิ พิมพค์ รง้ั ที่
3.กรงุ เทพฯ: อลีนเปรส.
ชวลติ ชูกาแพง. (2551). การพัฒนาหลกั สตู ร. พิมพ์คร้งั ท่ี 2. กรงุ เทพฯ: คิวพ.ี
ทวศี ักด์ิ จนิ ดานุรกั ษ์. (2549). “การพัฒนาหลักสูตร” ใน ประมวลสาระชดุ วชิ าการประเมนิ หลกั สตู ร
และการเรยี นการสอน หน่วยท่ี 2. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราชสาขาวิชา
ศกึ ษาศาสตร.์
ธีรชยั เนตรถนอมศักด.์ิ (2550). “การพัฒนาหลักสูตร” ใน เอกสารประกอบการสอนวชิ า 230401.
ขอนแกน่ : คลงั นานาวิทยา.
นภิ ารตั น์ ทพิ โชติ. (2550). การประเมนิ หลกั สูตรสถานศึกษาชว่ งช้ันท่ี 1 และ 2 : กรณีศกึ ษา
โรงเรยี นวดั บงึ ทองหลาง เขตบางกะปิ กรงุ เทพมหานคร. วทิ ยานพิ นธก์ ารศึกษา
มหาบณั ฑติ สาขาวิชาการวจิ ยั และสถิติทางการศึกษา บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยั ศรีนคริ
นทรวิโรฒ.
บญุ ชม ศรสี ะอาด. (2547). วิธกี ารทำสถิตสิ ำหรับการวิจยั . พิมพ์คร้งั ท่ี 4. กรุงเทพฯ:สุรยิ าสาส์นการ
พิมพ์.117
บญุ ศรี พรหมมาพนั ธ.ุ์ (2551). "สัมมนาการประเมนิ หลักสตู ร" ใน ประมวลสาระวชิ าสัมมนาการ
ประเมินการศึกษา หนว่ ยที่ 12. นนทบุร:ี มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าชสาขาวิชา
ศกึ ษาศาสตร์.
ประชุม รอดประเสรฐิ . (2539). การบรหิ ารโครงการ. พมิ พ์ครงั้ ท่ี 2. กรงุ เทพฯ: เนตกิ ุลการพมิ พ.์
เปร่ือง จันดา. (2549). การบรหิ ารจัดการหลกั สูตรสถานศึกษาของสถานศึกษา สังกดั สานักงาน
เขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาในจังหวัดเพชรบูรณ.์ วิทยานพิ นธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต
สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ .พยนต์ งว่ นทอง. (2553).
การประเมินหลกั สูตรสถานศึกษา พุทธศักราช 2553
ไพโรจน์ เตมิ เตชาติพงศ.์ (2551). รูปแบบของหลกั สตู ร ในการพัฒนาหลกั สตู ร หนว่ ยที่ 3.ขอนแก่น:
คลงั นานาวิทยา.
เยาวดี รางชัยกลุ วบิ ูลย์ศร.ี (2553). การประเมินโครงการ แนวคิดและแนวปฏิบัติ. พมิ พค์ รง้ั ที่ 7.
กรงุ เทพฯ: สานักพมิ พแ์ ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .
รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. (24 สิงหาคม 2550). ราชกิจจานุเบกษา
รายงานการใชแ้ ละพฒั นาหลกั สตู รโรงเรยี นวดั ชนิ วราราม (เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม)์ : ปฐมวยั 80
บรรณานกุ รม (ต่อ)
เล่ม 124 ตอนท่ี 74 ก.
ลดั ดาวลั ย์ เพชรโรจน์. (2549). ความร้พู น้ื ฐานเกย่ี วกบั การประเมนิ หลักสตู รและการเรียนการสอนใน
ประมวลสาระชดุ วิชาการประเมินหลักสตู รและการเรียนการสอน หน่วยท่ี 3. นนทบุรี:
มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช.
วฒั นาพร ระงบั ทุกข์. (2544). การจดั ทาหลกั สตู รสถานศึกษาตามหลกั สูตรการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน
พุทธศกั ราช 2544. กรงุ เทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.
วชิ ัย วงษใ์ หญ่. (2535). การประเมนิ หลกั สูตรใน ประมวลสาระชุดวิชาการพฒั นาหลกั สตู รและ
วธิ ีทางการสอน หนว่ ยท่ี 13. นนทบรุ :ี มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช.118
ศรสี มร พุ่มสะอาด. (2549). “การประเมินหลักสตู รและการเรียนการสอน” ใน ประมวลสาระ
ชุดวชิ าการประเมนิ หลักสูตรและการเรยี นการสอน หนว่ ยที่ 13. นนทบุรี:
มหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช.
ศิริชยั กาญจนวาส.ี (2545). "ทฤษฎกี ารประเมนิ และการตัดสนิ ใจ" ใน ประมวลสาระชดุ วชิ า
การประเมินและการจัดการโครงการประเมิน หน่วยที่ 2. นนทบรุ ี:
มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช.
_______. (2551). หลกั การและแนวปฏิบตั ใิ นการประเมินนโยบาย แผนงาน โครงการและหลักสูตร
ในประมวลสาระชุดวชิ าการประเมนิ และการจดั การโครงการประเมนิ หน่วยท่ี 12. นนทบุรี :
มหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช.
______. (2552). เทคนิคการประเมินโครงการ. พมิ พค์ ร้ังที่ 6. นนทบรุ ี: จตพุ ร ดไี ซน์.
______. (2553). หลักสูตรโรงเรียนวัดชนิ วราราม (เจริญผลวทิ ยาเวศม์) พุทธศักราช 2553 (ฉบับ
ปรบั ปรุง 2561 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551. ปทุมธานี : โรงเรยี นวดั
ชนิ วราราม (เจริญผลวิทยาเวศม์).
สมชาย วางหา. (2550). การประเมินหลักสตู รสถานศึกษาขัน้ พ้นื ฐานโรงเรียนบา้ นใหม่ อำเภอวังชิ้น
จังหวดั แพร่. วิทยานพิ นธค์ รศุ าสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบรหิ ารการศกึ ษา บัณฑิต
วทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั ราชภฏั อตุ รดติ ถ.์
เสาวนี ตรีพทุ ธรัตน์. (2551). ความรู้พน้ื ฐานเกี่ยวกบั การพัฒนาหลกั สูตร ใน การพัฒนาหลักสตู ร
หน่วยที่ 1. ขอนแกน่ : คลงั นานาวิทยา.
เสาวนี ตรพี ทุ ธรตั น์. (2547). ปจั จัยองค์กรทีส่ ่งผลต่อความมปี ระสิทธิภาพในการนำหลักสตู ร
การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานพุทธศักราช 2544 ไปใช้ในโรงเรยี นสังกดั สำนักงานการศึกษาขน้ั
พน้ื ฐานภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื . วิทยานิพนธ์ปรญิ ญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวชิ าการบริหาร
การศกึ ษา บัณฑิตวิทยาลัยมหาวทิ ยาลัยขอนแก่น.
เสาวนี ตรพี ทุ ธรตั น์ และคณะ. (2548). รายงานการประเมินผล หลกั สูตรประกาศนยี บตั ร แนวคดิ
รายงานการใชแ้ ละพฒั นาหลกั สตู รโรงเรยี นวดั ชนิ วราราม (เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม)์ : ปฐมวยั 81
บรรณานุกรม (ต่อ)
พนื้ ฐานเกย่ี วกบั การจัดการความขดั แยง้ ด้านนโยบายสาธารณะโดยสันตวิ ิธี ร่นุ ที่ 3.
มหาวิทยาลยั ขอนแก่น.
สนุ ยี ์ ภพู่ นั ธ์. (2546). แนวคิดพืน้ ฐานการสร้างและการพัฒนาหลกั สตู ร. กรงุ เทพฯ: จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลยั .
Eisner, E. (1985). The educational imagination. New York : Teacher College Press.
Good, Carter V. (1973). Dictionary of Education. New York: McGraw – Hill Book.
Reinmannand, P. & Mandl (1999). Implementation. Konstruktivistischer
LernumgebungenIn Johannes - Kepler University, Australia. Curriculum Implemention -
Limiting andfacilitating factors.
Stufflebeam, Daniel L. (1973). “Education Evaluation and Decision – Making,” in
Education Evaluation : Theory and Practice. Belmont California : Wadssorth
Company.
รายงานการใชแ้ ละพฒั นาหลกั สตู รโรงเรยี นวดั ชนิ วราราม (เจรญิ ผลวทิ ยาเวศม)์ : ปฐมวยั 82