The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนพัฒนาท้องถิ่น พ.ศ.2566 - 2570 ของเทศบาลตำบลลานสัก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by เทศบาลตำบลลานสัก, 2021-11-15 03:24:32

แผนพัฒนาท้องถิ่น พ.ศ.2566 - 2570

แผนพัฒนาท้องถิ่น พ.ศ.2566 - 2570 ของเทศบาลตำบลลานสัก

คำนำ

เนื่องด้วยพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ หมวด ๒ มาตรา ๑๖ (๑) ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการ
จัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๘ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ ๓)
พ.ศ. ๒๕๖๑ ได้กำหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอำนาจและหน้าท่ีในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถ่ิน
เพือ่ ใช้เปน็ กรอบในการจัดทำงบประมาณรายจา่ ยประจำปี งบประมาณรายจา่ ยเพม่ิ เติม และงบประมาณ
จากเงินสะสม น้ัน

ดังนั้น เพื่อให้การดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมายดังกล่าว และตามหนังสือด่วนที่สุด
ที่ มท 0810.3/ว 7467 ลงวันที่ 14 ธันวาคม 2563 เรื่อง แนวทางการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น (พ.ศ.2566 – 2570) ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และเพื่อให้แผนพัฒนา
ท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีความสอดคล้องและเชื่อมโยงกับแผนจังหวัด แผนพัฒนากลุ่ม
จังหวัด รวมทั้งแผนปฏิบัติราชการประจำปีจังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจำปีกลุ่มจังหวัด ตลอดจน
สามารถบูรณาการแผนงาน/โครงงาน/กิจกรรม และงบประมาณในพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เทศบาล
ตำบลลานสัก จึงดำเนินการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. ๒๕66 – ๒๕70) ขึ้น เพื่อใช้เป็นแนวทาง
ในการบริหารพัฒนาท้องถิ่นให้บรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย ก่อให้เกิดประโยชน์และสามารถ
ตอบสนองความต้องการพัฒนาในด้านต่างๆของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลลานสักได้อย่าง
มีประสทิ ธิภาพ

เทศบาลตำบลลานสัก
ตุลาคม 2564

สารบญั

เร่อื ง หน้า

ส่วนที่ ๑ สภาพทวั่ ไปและขอ้ มูลพื้นฐาน ๑–8

ส่วนท่ี ๒ ยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ 9 – 24

สว่ นที่ ๓ การนำแผนพัฒนาทอ้ งถนิ่ ไปสูก่ ารปฏิบตั ิ 25

- บัญชสี รุปโครงการพัฒนา (แบบ ผ. ๐๑) 26

- รายละเอียดโครงการพัฒนา (แบบ ผ. ๐๒) 27 – 61

- บญั ชีสรุปโครงการพัฒนาที่นำมาจากแผนพัฒนาชุมชน (แบบ ผ. 01/1) 62

- รายละเอียดโครงการพฒั นา (แบบ ผ. ๐๒/1) 63 – 68

- รายละเอียดโครงการทเ่ี กนิ ศกั ยภาพ (แบบ ผ. ๐๒/๑) 69 – 70

- บญั ชีครภุ ณั ฑ์ (แบบ ผ. ๐๓) 71 – 74

สว่ นที่ ๔ การตดิ ตามและประเมนิ ผล 75 – 85

***********************************

1

สว่ นที่ 1
สสภภาพทัว่ ไปปแแลละะขข้ออ้ มมลู ูลพพืน้ ฐืน้ าฐนาน

๑. ด้านกายภาพ

1.1 ทต่ี ง้ั ของชมุ ชน

เทศบาลตำบลลานสัก เดมิ มฐี านะเปน็ สขุ าภิบาลตำบลานสกั อยใู่ นเขตการปกครองของอำเภอลานสัก

จัดตั้งขึ้นตามประกาศกระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ 31 ตุลาคม 2527 ประกาศในราชกิจจานุเษกษา เล่มที่ 102
ตอนที่ 27 ลงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2528 ต่อมาได้รับการเปลี่ยนแปลงฐานะของสุขาภิบาลเป็นเทศบาล
ประกาศในราชกิจจานุเษกษา ฉบับกฤษฎีกา เล่มที่ 116 ตอนที่ 9 ก ลงวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2542 ซ่ึง
ปัจจุบันแยกพ้ืนทก่ี ารดูแลออกเป็น 6 ชุมชน

เทศบาลตำบลลานสัก ตั้งอยู่เลขที่ 222 หมู่ที่ 2 ตำบลลานสัก อำเภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี ตั้งอยู่
ทางทิศตะวันตกของที่ว่าการอำเภอลานสัก ห่างจากที่ว่าการอำเภอลานสัก ประมาณ 2 กิโลเมตร อยู่ห่างจาก
ศาลากลางจังหวัดอุทัยธานีประมาณ 59 กิโลเมตร ห่างจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 285 กิโลเมตร
สามารถเดินทางติดต่อได้เพียงทางรถทางเดียว ตามเส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3438 ซึ่งเป็นทางสายหลกั ท่ี
ใชใ้ นการเดนิ ทางโดยมอี าณาเขตตดิ ตอ่ ดงั น้ี

ทิศเหนือ ตดิ หมทู่ ี่ 2 ตำบลลานสัก
ทิศใต้ ติด หม่ทู ี่ 4 ตำบลลานสกั หมู่ที่ 1,2 และหมู่ที่ 4 ตำบลป่าอ้อ
ทิศตะวันออก ติด หมทู่ ี่ 11 ตำบลประด่ยู ืน
ทิศตะวันตก ตดิ หมทู่ ่ี 1,9 ตำบลลานสกั

เทศบาลตำบลลานสัก มีเนื้อท่ีรวมทั้งหมดประมาณ 13 ตารางกโิ ลเมตร หรือประมาณ 8,125 ไร่
เป็นเทศบาลตำบลขนาดเล็ก โดยมีการแยกพนื้ ทก่ี ารดูแลออกเปน็ 6 ชุมชน ดงั น้ี

ชุมชนท่ี 1 รว่ มใจพฒั นา
ชุมชนท่ี 2 อยู่ดีมีสขุ
ชุมชนท่ี 3 บ้านเกา่ พัฒนา
ชมุ ชนที่ 4 ลานสักพฒั นา
ชมุ ชนท่ี 5 บ้านนาไร่เดยี วพัฒนา
ชุมชนท่ี 6 คลองชยั พัฒนา

2

1.2 ลักษณะภูมิประเทศ

สภาพพื้นท่เี ป็นทรี่ าบและทีร่ าบสงู ประมาณ 95% และเป็นพืน้ ทน่ี ำ้ 5% ของพื้นท่เี ขต

เทศบาลตำบลลานสักท้งั หมด

1.3 ลักษณะภมู ิอากาศ

ภูมอิ ากาศ มี 3 ฤดู ไดแ้ ก่

ฤดูร้อน เร่มิ ตัง้ แต่ เดือนมกราคม ถงึ เดอื นเมษายน

ฤดฝู น เรมิ่ ตง้ั แต่ เดอื นพฤษภาคม ถงึ เดือนสงิ หาคม

ฤดูหนาว เรม่ิ ตั้งแต่ เดือนกันยายน ถงึ เดือนธันวาคม

1.4 ลกั ษณะของดนิ
ลกั ษณะสภาพดินสว่ นใหญ่ของตำบลลานสกั เปน็ ดินร่วนปนทราย

1.5 ลกั ษณะของแหล่งน้ำ
แหล่งน้ำในเขตเทศบาลตำบลลานสกั ประกอบดว้ ย
1. ลำคลอง ประกอบดว้ ย ลำคลองทับเสลา ลำคลองฆอ้ งชัย
2. ฝายท่ีสำคญั ประกอบด้วย ฝายปากเหมอื ง

1.6 ลักษณะของไมแ้ ละปา่ ไม้
พนื้ ท่เี ขตเทศบาลตำบลลานสัก โดยส่วนใหญ่เป็นปา่ ปลกู ขึ้นเอง ได้แก่ ไมส้ กั ไม้ยคู า

3

2. ด้านการเมอื ง/การปกครอง

2.1 เขตการปกครอง

เทศบาลตำบลลานสกั โดยแบ่งการปกครองออกเป็น 2 เขต จำนวน 6 ชมุ ชน ประกอบดว้ ย

เขต ๑

ชุมชนท่ี 2 อยู่ดมี สี ุข นางพรรณี บุญนาดี ประธานชุมชน

ชมุ ชนที่ 3 บ้านเกา่ พัฒนา น.ส.พรรษมณ ศิริโยธา ประธานชมุ ชน

ชมุ ชนท่ี 4 ลานสักพัฒนา นายถงุ เงนิ เวสภักตร์ ประธานชมุ ชน (บางส่วน)

ชมุ ชนท่ี 5 บ้านนาไรเ่ ดยี วพัฒนา นายสมนึก ปานพลอย ประธานชุมชน (บางสว่ น)

ชมุ ชนที่ 6 คลองชยั พัฒนา นางมณฑล ใบเนียม ประธานชมุ ชน (บางสว่ น)

เขต ๒

ชมุ ชนท่ี ๑ ร่วมใจพฒั นา นางวิเชียร กสุ โุ มทย์ ประธานชมุ ชน

ชมุ ชนท่ี 4 ลานสกั พัฒนา นางถุงเงิน เวสภกั ตร์ ประธานชมุ ชน

ชมุ ชนท่ี 5 บ้านนาไรเ่ ดียวพฒั นา นายสมนกึ ปานพลอย ประธานชุมชน

ชมุ ชนท่ี 6 คลองชยั พัฒนา นางมณฑล ใบเนยี ม ประธานชมุ ชน

2.2 การเลือกต้งั

เทศบาลตำบลลานสัก แบ่งเขตการเลือกตั้งเป็นจำนวน 2 เขต คือเขตเลือกต้ังท่ี 1 จำนวน 5 ชมุ ชน คือ

ชุมชนที่ 2,3,4 (บางส่วน), 5(บางสว่ น), 6(บางส่วน) และเขตเลอื กตั้งที่ 2 จำนวน 4 ชมุ ชนท่ี 1,4,5,6

3. ประชากร
3.1 ข้อมูลเกยี่ วกบั ประชากร
ประชากรในเขตเทศบาลตำบลลานสักมีจำนวนทั้งสิ้น 3,520 คน แยกเป็นชายจำนวน 1,737 คน

หญงิ 1,783 คน จำนวนครวั เรือนทัง้ ส้นิ 2,099 ครัวเรือน แยกเปน็

ท่ี ตำบล ชาย หญงิ รวม ครวั เรอื น

1 ลานสกั (คน) (คน) (คน) (หลังคนเรือน)
2 ประดยู่ ืน
1,577 1,607 3,184 2,049

106 121 227 98

รวมท้ังสิน้ 1,683 1,728 3,411 2,147

(ข้อมลู ณ เดือน กันยายน พ.ศ. 2564)

4

ข้อมูลเปรียบเทยี บย้อนหลงั 5 ปี และการคาดการณจ์ ำนวนประชากรในอนาคต (ปี พ.ศ. 2563)

ขอ้ มูล 5 ปี ชาย หญงิ รวม

2559 1,811 1,812 3,623

ผลตา่ ง 59-60 -41 -2 -43

% ผลตา่ ง -2.26 -0.11 -1.19

2560 1,770 1,810 3,580

ผลต่าง 60-61 -15 -28 -43

% ผลตา่ ง -0.85 -1.55 -1.2

2561 1,755 1,782 3,537

ผลตา่ ง 61-62 -18 1 -17

% ผลตา่ ง -1.03 0.06 -0.48

2562 1,737 1,783 3,520

ผลตา่ ง 62-63 -48 -55 -103

% ผลต่าง -2.76 -3.08 -2.93

2563 1,689 1,728 3,417

ผลต่าง 63-64 -6 0 -6

% ผลต่าง -0.36 0.00 -0.18

2564 1,683 1,728 3,411

คาดการณ์ 2565 1,680 1,720 3,400

(ข้อมูล ณ เดอื น กันยายน พ.ศ. 2564)

3.2 ชว่ งอายุและจำนวนประชากร (เฉพาะสัญชาตไิ ทย)

กล่มุ อายุ ชาย (คน) จำนวนประชากร รวม (คน)
หญิง (คน)

น้อยกวา่ 1 ปี 13 9 22

1 – 10 ปี 165 156 321

11 – 20 ปี 215 181 396

21 – 30 ปี 224 232 456

31 – 40 ปี 247 225 472

41 – 50 ปี 266 276 542

51 – 60 ปี 269 270 539

61 – 70 ปี 179 222 401

71 – 80 ปี 74 97 171

81 – 90 ปี 24 50 74

91 – 100 ปี 7 9 16

มากกว่า 100 ปี 0 1 1

รวม 1,683 1,728 3,411

(ข้อมลู ณ เดือน กันยายน พ.ศ. 2564)

จำนวนประชากรมีแนวโนม้ ลดลงทกุ ปี โดยมีจำนวนมากที่สุดในช่วงอายุ 41-50 ปี

5

4. สภาพทางสงั คม

4.1 การศกึ ษา

- โรงเรยี นระดับประถมศึกษา จำนวน 3 แห่ง คอื โรงเรียนอนุบาลลานสัก โรงเรียนบ้านนาไร่เดียว

และ โรงเรียนอนบุ าลศรลี านสกั

- ศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลลานสกั จำนวน 1 ศูนย์ (4 ห้องเรยี น)

- ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบตามอธั ยาศัย จำนวน 1 แห่ง

- ห้องสมุดประชาชน (กศน.) จำนวน 1 แหง่

4.2 สาธารณสขุ

- โรงพยาบาลของรฐั บาล (60 เตยี ง) จำนวน 1 แห่ง

- คลินิก จำนวน 3 แห่ง

- รา้ นขายยา จำนวน 5 แห่ง

บุคลากรทางการแพทยท์ ี่ปฏบิ ัติหนา้ ท่ีในสถานพยาบาลทุกแห่ง ทุกสงั กัด

- แพทย์ จำนวน 10 คน

- ทันตแพทย์ จำนวน 8 คน

- เภสชั กร จำนวน 7 คน

- พยาบาลวชิ าชีพ จำนวน 55 คน

- นักวิชาการสาธารณสุข จำนวน 10 คน

4.3 อาชญากรรม

เทศบาลตำบลานสักอยู่ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของสถานีตำรวจภูธรลานสัก ประกอบกับแต่ละชุมชน

มีอาสาสมัครตำรวจบ้าน ชุดรักษาความสงบหมู่บ้าน คอยเป็นกำลังสำคัญในการแจ้งเบาะแสและข้อมูลข่าวสาร

ให้กบั ทางราชการทราบอย่ตู ลอดเวลาทำให้ปญั หาอาชญากรรมในพื้นที่อยใู่ นระดับน้อย

4.4 ยาเสพติด

เทศบาลตำบลานสักอยใู่ นเขตพ้นื ที่รบั ผดิ ชอบของสถานตี ำรวจภูธรลานสกั ประกอบกบั แตล่ ะชุมชน

มอี าสาสมัครตำรวจบา้ น ชุดรักษาความสงบหมู่บา้ น คอยเปน็ กำลังสำคญั ในการแจง้ เบาะแสและขอ้ มูลข่าวสาร

ใหก้ บั ทางราชการทำใหป้ ัญหายาเสพตดิ ในพนื้ ท่ีอยใู่ นระดบั นอ้ ย

4.5 การสงั คมสงเคราะห์

เทศบาลตำบลลานสักได้ดำเนนิ การด้านสังคมสงเคราะห์ ดำเนินการจา่ ยเบี้ยยงั ชีพให้กับผู้สูงอายุ ผู้พกิ าร

และผู้ป่วยเอดส์ การช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม รับลงทะเบียนและประสานโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการ

เลี้ยงดูเดก็ แรกเกดิ ประสานการขอทำบตั รสำหรบั ผู้พิการ

5. ระบบบรกิ ารพนื้ ฐาน

5.1 การคมนาคมขนสง่

การเดนิ ทางมายงั เทศบาลตำบลลานสกั สามารถเดนิ ทางได้หลายทางทัง้ จากตัวจงั หวดั และผ่านอำเภอ

บ้านไร่ หากใช้เสน้ ทางท่ผี ่านตวั จงั หวัดจะมาได้ตามสายเอเชยี ถา้ ใช้เส้นทางทผ่ี ่านอำเภอบา้ นไร่แมจ้ ะต้องแยกผา่ น

อำเภอต่าง ๆ ในหลายจังหวดั แต่ ปริมาณรถน้อยกวา่ สามารถเดนิ ทางได้สะดวกและมที ิวทัศน์ทสี่ วยงาม

มรี ายละเอียดของเส้นทาง เสน้ ทางในการเดินทางดังนี้

เส้นทางท่ี 1 ถนนสายเอเชีย – ตวั จงั หวดั อุทัยธานี - อำเภอลานสกั

จากกรงุ เทพฯ ไปตามทางหลวงหมายเลข 1 แลว้ แยกทางหมายเลข 32 แล้วแยกเข้าซา้ ยเข้าตาม

จังหวดั อทุ ยั ธานี ไปตามหมายเลขทีใ่ ช้ 333 จนถึง อ.หนองฉาง จากนน้ั เล้ยี วขวาตามทางหลวงหมายเลข

3438 ไปอกี ประมาณ 29 กโิ ลเมตร จะถึงทีว่ า่ การอำเภอลานสัก

6
เส้นทางท่ี 2 ผา่ นจังหวดั สุพรรณบุรี– อำเภอดอนเจดีย์– อำเภอดา่ นชา้ ง– อำเภอบ้านไร่ – อำเภอลานสกั
จากกรุงเทพฯไปตามทางหลวงหมายเลข 37 แล้วแยกเข้าทางหลวงหมายเลข 340 ผา่ นอำเภอลาดบวั
หลวงไปตามทางไปตามอำเภอทางหลวงเขา้ จังหวดั สุพรรณบรุ ี ถงึ อำเภอศรีประจันต์ แยกเข้าไปตามทางหลวง
หมายเลข 3038 ผ่านอำเภอดอนเจดียแ์ ล้วตรงเข้าไปตามทางหลวงหมายเลข 3264 แล้วเลยี้ วซ้ายไปตาม
ถนนผ่านอำเภอด่านชา้ ง อำเภอบา้ นไร่ และถงึ อำเภอลานสกั

5.2 การไฟฟา้
มีหน่วยบริการผู้ใช้ไฟฟ้า สังกัดการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค สำนักงานหน่วยบริการไฟฟ้า จำนวน 1 แห่ง

ตัง้ อยู่ในชมุ ชนที่ 1 ในเขตเทศบาลตำบลานสกั อำเภอลานสกั จงั หวัดอทุ ัยธานี
5.3 การประปา
การประปาในเขตเทศบาลตำบลานสัก อย่ใู นความรับผิดชอบของการประปาส่วนภูมภิ าค และการประปา

หมู่บ้านที่คณะกรรมการชุมชนดูแลรักษา จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ ชุมชน 5,6 และเทศบาลตำบลลานสักดูแลรักษา
จำนวน 3 แห่ง ไดแ้ ก่ ชุมชน 3, 4, และ 5

5.4 โทรศัพท์
ในเขตเทศบาลตำบลานสัก มีการสื่อสารที่สำคัญ ได้แก่ ทางโทรศัพท์บ้านและโทรศัพท์เคลื่อนที่ และมี

เครอื ขา่ ยของโทรศพั ทเ์ คล่อื นท่ีท่ีใชไ้ ด้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ไดแ้ ก่ AIS, DTAC, TRUE
5.5 ไปรษณีย์หรอื การส่อื สารหรือการขนสง่ และวสั ดุ ครุภัณฑ์
มีที่ทำการไปรษณีย์ลานสัก จำนวน 1 แห่ง ตั้งอยู่ในชุมชนที่ 2 ในเขตเทศบาลตำบลานสัก อำเภอ

ลานสกั จังหวดั อุทยั ธานี
6. ระบบเศรษฐกิจ

6.1 การเกษตร
ประชาชนในเทศบาลตำบลลานสกั ประมาณรอ้ ยละ 70 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เช่น ทำนา

ทำไร่ โดยมพี ืชผลทางการเกษตรที่สำคัญไดแ้ ก่ อ้อย ข้าว ข้าวโพด ซง่ึ ถือวา่ เป็นพชื เศรษฐกิจของพืน้ ที่
6.2 การประมง
เทศบาลตำบลลานสกั ไมม่ พี ้นื ทต่ี ิดทะเล และไม่มีการทำประมงน้ำจืด
6.3 การปศสุ ตั ว์
ประชาชนในเทศบาลตำบลลานสกั ประมาณรอ้ ยละ 10 มีการเลีย้ งโคและกระบอื
6.4 การบริการ
ประชาชนไดร้ บั การบริการทจี่ ำเปน็ จากหนว่ ยงานของรฐั ในเขตเทศบาลตำบลลานสกั

6.5 การทอ่ งเทย่ี ว
มีสถานที่ท่องเที่ยวในเขตเทศบาล ได้แก่ บริเวณหน้าที่ว่าการอำเภอลานสัก ซึ่งเทศบาลได้ดำเนินการ

จัดสร้างหุ่นจำลองสัตว์ป่าเพื่อจัดทำเป็นแหล่งท่องเที่ยวและเป็นประตูสู่มรดกโลกห้วยขาแข้ง ตลาดปากเหมือง
และสวนสุขภาพเทศบาลตำบลลานสัก โดยมีลานออกกำลังกาย ศาลาพักผ่อน และปลูกต้นไม้สวยงามบริเวณ
ฝายปากเหมอื งลำคลองห้วยทับเสลา

7
6.6 อุตสาหกรรม

ในเขตเทศบาลตำบลลานสักมีโรงชำแหละและแปรรปู สกุ รจำนวน 1 แหง่ สามารถฆ่าและชำแหละ
สุกรได้จำนวน 50 ตัว/วนั

6.7 การพาณชิ ยแ์ ละกลุ่มอาชีพ
การพาณชิ ย์
- สถานีบริการน้ำมนั จำนวน 5 แห่ง
- ศนู ย์การคา้ /หา้ งสรรพสนิ คา้ จำนวน 4 แห่ง
- ธนาคารพาณชิ ย์ จำนวน 1 แห่ง
- ธนาคารภายใตก้ ารกำกบั ดแู ลของรฐั บาล จำนวน 2 แหง่
- สหกรณก์ ารเกษตร จำนวน 1 แห่ง
- สถานท่รี บั ซื้อผลผลติ ทางการเกษตร จำนวน ๑ แห่ง
- ตลาดนดั จำนวน 2 แห่ง
- ตลาดสด (เอกชน) จำนวน 2 แหง่
กลมุ่ อาชีพ
- กลมุ่ แม่บา้ นชุมชน 6
- กลุ่มหมเู สาวรส
- กลุม่ ผลติ ภณั ฑร์ ไี ซเค้ิลจากวสั ดเุ หลอื ใช้
- กล่มุ ทอผา้ บา้ นเกา่

6.8 แรงงาน
ราษฎรส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 70 ประกอบอาชีพทำการเกษตรกรรม ได้แก่ ทำนา ทำไร่ ทำสวน

ทเี่ หลอื ประกอบอาชพี สว่ นตัวและรับจ้าง
7. ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม

7.1 การนับถือศาสนา
ประชาชนส่วนใหญ่ในเขตเทศบาลตำบลานสัก ประมาณร้อยละ 99 นับถือศาสนาพุทธ และร้อยละ 1

นบั ถือศาสนาอื่นๆ ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพทุ ธ โดยมีศาสนสถานในเขตเทศบาลตำบลานสัก ดังน้ี
- วัด จำนวน 2 แหง่ ได้แก่
วดั ลานสกั
วดั นาไร่เดียว
- คริสตจกั ร จำนวน 2 แห่ง
- มัสยดิ จำนวน 1 แหง่

7.2 ประเพณีและงานประจำปี
เทศบาลตำบลานสักมีงานประเพณีสำคัญ ประกอบด้วย งานทำบุญประจำปีศาลเจ้าพ่อเจ้ามาลานสัก

และการจดั งานประเพณีในวนั สำคัญตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ วันสงกรานต์ วนั ลอยกระทง และวันเขา้ พรรษา ฯลฯ
7.3 ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ ภาษาถิ่น
ภูมิปัญญาทอ้ งถิน่ ทสี่ ำคญั ในเทศบาลตำบลานสกั มีดงั น้ี
1. หมอดิน 2.ครทู ำบายศร(ี ชมุ ชน1) 3. หมอสมนุ ไพรพน้ื บ้าน (ชมุ ชน 4)

8

7.4 สินคา้ พืน้ เมืองและของที่ระลึก
- ผ้าทอบ้านเก่า
- หมูเสาวรส
- กลมุ่ แมบ่ ้านชุมชน 6
- กลุ่มผลิตภัณฑร์ ีไซเคลิ้ จากวัสดุเหลอื ใช้

8. ทรพั ยากรธรรมชาติ
8.1 น้ำ
น้ำทป่ี ระชาชนในเทศบาลตำบลานสกั ใช้สำหรับการอปุ โภค-บริโภคและทำการเกษตร มดี งั นี้
1. ลำคลอง ประกอบดว้ ย ลำคลองทบั เสลา ลำคลองฆ้องชัย
2. ฝายที่สำคัญ ประกอบดว้ ย ฝายปากเหมือง
8.2 ป่าไม้
เทศบาลตำบลลานสักไมม่ ีพน้ื ทต่ี ิดกบั ป่าไม้
8.3 ภเู ขา
เทศบาลตำบลลานสกั ไมม่ พี ้นื ทตี่ ิดกับภูเขา
8.4 ทรัพยากรธรรมชาติท่ีสำคัญ
ไมส้ กั ซงึ่ ได้รับการคมุ้ ครองและอนุรักษ์ไว้ สามารถพบเหน็ ได้ทั่วไปและเปน็ เอกลกั ษณ์ทีส่ ำคัญของ

ชาวลานสกั จงั หวดั อทุ ยั ธานี

9

ส่วนท่ี 2
ยุทธยศุทาธสศตาร์กสาตรรพอ์ ัฒงคนก์าอรงปคก์กครรปอกงคสรว่อนงสท่ว้อนงทถ้อน่ิ งถ่นิ

๑๑.. คคววาามมสสมั ัมพพนั ันธร์ ธะร์ หะวห่าวงแา่ ผงแนผพนัฒพนาัฒรนะดาบัรมะดหภับามคหภาค

๑.๑ แผนยทุ ธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ.2560 – 2579)
วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความม่ันคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลัก

ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง”หรือเป็นคติพจนป์ ระจำชาติว่า “มนั่ คง มั่งค่งั ย่งั ยนื ”
๑. ยุทธศาสตรด์ า้ นความมนั่ คง
แนวทางดำเนินงาน
(๑) การเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักและการปกครองระบอบประชาธิปไตย

อันมีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมุข
(๒) การปฏริ ปู กลไกการบรหิ ารประเทศ
(3) การป้องกนั และแก้ไขการกอ่ ความไมส่ งบในจังหวัดแดนภาคใต้
(4) การบริหารจัดการความมั่นคงชายแดนและชายฝัง่ ทะเล
(5) การพฒั นาระบบ กลไก มาตรการและความร่วมมอื ระหว่างประเทศทุกระดับ
(6) การพัฒนาเสริมสร้างศักยภาพการผนกึ กาลังป้องกนั ประเทศและกองทัพ
(7) การพัฒ นาระบบการเตรียมพร้อมแห่งชาติ รักษาความม่ันคงของฐาน

ทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม และการปกป้องรักษาผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล รวมท้ังเสริมสร้างความ
มั่นคงทางอาหารพลังงาน และน้ำ

(8) การปรับกระบวนการทางานของกลไกที่เกี่ยวข้องจากแนวดิ่งสู่แนวระนาบมากขน้ึ

๒. ยุทธศาสตรด์ า้ นการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
แนวทางดำเนนิ งาน

(๑) การพฒั นาสมรรถนะทางเศรษฐกจิ
(๒) การพฒั นาภาคการผลิตและบริการ ภาคเกษตร
(๓) การพัฒนาผู้ประกอบการและเศรษฐกจิ ชมุ ชน
(๔) การพัฒนาพื้นทเ่ี ศรษฐกิจพเิ ศษและเมอื ง
(๕) การลงทุนพฒั นาโครงสรา้ ง
(๖) การเช่ือมโยงกับภูมภิ าคและเศรษฐกิจโลก

๓. ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพคน
แนวทางดำเนินงาน

(๑) การพฒั นาศักยภาพคนตลอดช่วงชวี ติ
(๒) การยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษาและการเรียนรู้ให้ มคี ณุ ภาพ เท่าเทียมและทัว่ ถงึ
(3) การสร้างเสริมใหค้ นมีสขุ ภาวะที่ดี
(4) การสร้างความอย่ดู มี สี ขุ ของครอบครัวไทยใหเ้ อื้อต่อการพัฒนาคน

10

ของชุมชน ๔. ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเทา่ เทยี มกนั ทางสังคม
แนวทางดำเนินงาน
(๑) การสรา้ งความม่ันคงและการลดความเหลอื่ มล้ำทางดา้ นเศรษฐกิจและสงั คม
(๒) การพฒั นาระบบบริการและระบบบริหารจดั การสขุ ภาพ
(๓) การสร้างสภาพแวดล้อมและนวตั กรรมทเี่ อ้ือตอ่ การดำรงชีวิตในสงั คมสูงวัย
(๔) การสร้างความเข้มแขง็ ของสถาบนั ทางสังคมทุนทางวัฒนธรรมและความเขม้ แขง็

(๕) การพฒั นาการสือ่ สารมวลชนให้เป็นกลไกในการสนับสนนุ การพฒั นา

๕. ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการสร้างการเตบิ โตบนคณุ ภาพชวี ิตที่เป็นมติ รต่อสิ่งแวดลอ้ ม
แนวทางดำเนนิ งาน
(๑) การจดั ระบบอนุรกั ษ์ ฟ้นื ฟแู ละป้องกันการทำลายทรัพยากรธรรมชาติ
(๒) การวางระบบบริหารจัดการน้ำให้มีประสิทธิภาพท้ัง ๒๕ ลุ่มน้ำ เน้นการปรับระบบ

การบริหารจัดการอุทกภยั อยา่ งบรู ณาการ
(๓) การพัฒนาและใชพ้ ลงั งานทเ่ี ปน็ มติ รกับสง่ิ แวดล้อมในทกุ ภาคเศรษฐกิจ
(๔) การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชงิ นเิ วศและเมืองท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม
(๕) การร่วมลดปญั หาโลกร้อนและปรบั ตวั ให้พร้อมกบั การเปลย่ี นแปลงสภาพภูมิอากาศ
(๖) การใชเ้ ครอ่ื งมือทางเศรษฐศาสตรแ์ ละนโยบายการคลงั เพ่ือส่ิงแวดล้อม

๖. ยุทธศาสตร์ดา้ นการปรบั สมดุลและพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การภาครัฐ
แนวทางดำเนนิ งาน
(1) การปรับปรงุ การบริหารจดั การรายได้และรายจ่ายของภาครัฐ
(2) การพฒั นาระบบการให้บรกิ ารประชาชนของหนว่ ยงานภาครัฐ
(3) การปรบั ปรุงบทบาท ภารกจิ และโครงสรา้ งของหนว่ ยงานภาครฐั

ใหม้ ขี นาดทเ่ี หมาะสม
(4) การวางระบบบริหารราชการแบบบรู ณาการ
(5) การพฒั นาระบบบรหิ ารจัดการกำลังคนและพัฒนาบุคลากรภาครัฐในการ

ปฏิบตั ริ าชการ
(6) การตอ่ ตา้ นการทุจริตและประพฤตมิ ิชอบ
(7) การปรบั ปรงุ กฎหมาย ระเบยี บ และขอ้ บงั คับ

๑.๒ แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๑๒
กรอบวิสัยทัศน์ จากสถานะของประเทศและบริบทการเปล่ียนแปลงต่างๆ ที่ประเทศกำลังประสบ

อยู่ ทำให้การกำหนดวสิ ัยทศั น์แผนพฒั นาฯ ฉบับที่ ๑๒ ยังคงมีความต่อเนื่องจากวิสัยทัศน์แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑
และกรอบหลักการของการวางแผนท่ีน้อมนำและประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ยึดคนเป็น
ศูนย์กลางของการพัฒนาอย่างมีส่วนร่วม การพัฒนาที่ยึดหลักสมดุล ยั่งยืน โดยวิสัยทัศน์ของการพัฒนาใน
แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี ๑๒ ต้องให้ความสำคัญกับการกำหนดทิศทางการพัฒนาที่มุ่งสู่การเปล่ียนผ่านประเทศไทย
จากประเทศท่ีมีรายได้ปานกลางไปส่ปู ระเทศท่มี ีรายได้สูง มคี วามมั่นคง และยั่งยืน สังคมอยูร่ ่วมกันอยา่ งมคี วามสุข
และนำไปสกู่ ารบรรลุวสิ ยั ทศั น์ระยะยาว “ม่นั คง มง่ั คั่ง ยั่งยืน” ของประเทศ

11
การกำหนดตำแหนง่ ทางยุทธศาสตรข์ องประเทศ (Country Strategic Positioning)

เป็ น การกำห น ด ต ำแห น่ งท างยุ ท ธศาส ต ร์ของป ระเท ศที่ส อด ค ล้ องกับ ยุ ทธ ศาส ต ร์ช าติ ท่ี ส ำนั กงาน
คณะกรรมการพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ได้จัดทำขึ้น ประเทศไทยเปน็ ประเทศรายได้สูงที่มกี ารกระจาย
รายได้อย่างเป็นธรรม เป็นศูนย์กลางด้านการขนส่งและโลจิสติกส์ของภูมิภาค สู่ความเป็นชาติการค้าและบริการ
(Trading and Service Nation) เป็นแหล่งผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์และเกษตรปลอดภัย แหล่งอุตสาหกรรม
สร้างสรรค์และมีนวัตกรรมสงู ทีเ่ ปน็ มติ รต่อสิง่ แวดล้อม

เป้าหมาย

คณุ ภาพ 1. การหลุดพน้ จากกับดักประเทศรายไดป้ านกลางส่รู ายได้สูง
2. การพฒั นาศักยภาพคนให้สนบั สนุนการเจรญิ เติบโตของประเทศและการสร้างสังคมสูงวัยอยา่ งมี

๓. การลดความเหลอ่ื มลำ้ ในสังคม
๔. การสรา้ งการเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกิจและสงั คมทเ่ี ปน็ มติ รกบั ส่งิ แวดลอ้ ม
5. การบรหิ ารราชการแผ่นดนิ ท่ีมีประสทิ ธภิ าพ

แนวทางการพฒั นา
๑. การเสรมิ สรา้ งและพัฒนาศกั ยภาพทุนมนุษย์
๑.๑ เพื่อปรับเปลีย่ นให้คนในสังคมไทยมีค่านิยมตามบรรทดั ฐานท่ดี ีทางสังคม
๑.๒ เพอ่ื เตรยี มคนในสงั คมไทยใหม้ ที กั ษะในการดำรงชวี ติ สำหรบั โลกศตวรรษท่ี ๒๑
๑.๓ เพอื่ ส่งเสรมิ ใหค้ นไทยมีสขุ ภาวะทดี่ ตี ลอดชว่ งชีวิต
๑.๔ เพอ่ื เสริมสร้างสถาบนั ทางสังคมใหม้ คี วามเข้มแขง็ เอ้ือต่อการพัฒนาคนและประเทศ
2. การสร้างความเปน็ ธรรมลดความเหล่ือมล้ำในสังคม
๒.๑ เพ่ือขยายโอกาสทางเศรษฐกิจและสังคมให้แกก่ ลุ่มประชากรร้อยละ๔๐ทีม่ ีรายได้ต่ำสุด
๒.๒ เพ่อื ใหค้ นไทยทุกคนเขา้ ถึงบริการทางสังคมทมี่ ีคุณภาพได้อย่างทวั่ ถึง
๒.๓ เพอื่ สร้างความเขม้ แข็งให้ชมุ ชน
3. สร้างความเข้มแขง็ ทางเศรษฐกจิ และแข่งขันได้อย่างย่ังยนื
3.1 เพ่อื สรา้ งความเขม้ แข็งของแรงขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจใหส้ นับสนุนการเพมิ่ รายไดต้ ่อหัว
- เพื่อเพมิ่ ศักยภาพของฐานการผลิตและฐานรายได้เดิมและสรา้ งฐานการผลิตและรายไดใ้ หม่
- เพ่ือสนับสนุนการกระจายการขยายตัวของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและการแบ่งปันผลประโยชน์
อยา่ งเปน็ ธรรม และสนับสนนุ เศรษฐกิจที่เปน็ มติ รกบั สิง่ แวดลอ้ ม
- เพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจสร้างความเข้มแข็งและรักษาวินัยทางการเงิน การคลงั และ
พฒั นาเครือ่ งมอื ทางการเงินที่สนับสนุนการระดมทนุ ที่มีประสิทธภิ าพ
3.2 สร้างความเข้มแข็งให้กับเศรษฐกิจรายสาขาเพื่อยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขัน
ของภาคเกษตร อุตสาหกรรม บริการ และการค้าการลงทนุ ดงั น้ี
- เพ่ือส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรมในการสร้างมูลค่าและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของสินค้า
และบริการ
- เพอ่ื ส่งเสริมและพฒั นาเศรษฐกจิ ชีวภาพให้เป็นฐานรายได้ใหม่ท่สี ำคญั พฒั นาระบบ การบรหิ าร
จัดการความเส่ียงและมีการปรับตัวให้พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศเพื่อให้ฐาน
การผลิตภาคเกษตรและรายไดเ้ กษตรกรมคี วามมั่นคง
- เพ่ือเร่งผลักดันให้สินค้าเกษตรและอาหารของไทยมีความโดดเด่นในด้านคุณ ภาพ
มาตรฐานและความปลอดภัยในตลาดโลก

12
- เพ่ือเพิ่มศกั ยภาพของอตุ สาหกรรมสำคญั เดมิ ให้สามารถต่อยอดสู่อุตสาหกรรมแห่ง อนาคตที่ใช้
เทคโนโลยสี มยั ใหมอ่ ยา่ งเขม้ ข้น และสรา้ งรากฐานการพฒั นาอตุ สาหกรรมใหม่ บนฐานของความ
เป็นมิตรตอ่ สิ่งแวดลอ้ ม
- เพ่ื อเพ่ิ มศักยภ าพ ของฐานบริการเดิมและขยายฐานบ ริการใหม่ในการปรับ ตัวสู่
เศรษฐกิจฐานบริการท่ีเข้มแข็งขึ้น รวมทั้งพัฒนาอุตสาหกรรมท่องเท่ียวให้เติบโตอย่างสมดุล
และยงั่ ยืน
- เพื่อพัฒ นาปัจจัยสนับสนุนและอำนวยความสะดวกทางการค้าและการลงทุนให้
สนับสนุนการเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันของผู้ประกอบการไทย รวมท้ังพัฒนาสังคม
ผู้ประกอบการ
- เพื่อพัฒนาระบบการเงินของประเทศให้สนับสนุนการเพ่ิมขีดความสามารถใน การแข่งขันของ
ภาคการผลติ และบริการ การค้า และการลงทนุ
- เพื่อสร้างความเข้มแข็งขององค์กรการเงินฐานรากและระบบสหกรณ์ให้สนับสนุนบริการทาง
การเงนิ ในระดับฐานรากและเกษตรกรรายยอ่ ย
4. การเติบโตทเี่ ปน็ มิตรกบั สิ่งแวดล้อมเพ่อื การพฒั นาอย่างยัง่ ยนื
๔.๑ รกั ษา ฟ้นื ฟู ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละมีการใชป้ ระโยชน์อยา่ งยัง่ ยนื และเป็นธรรม
๔.๒ สร้างความมน่ั คงด้านน้ำของประเทศ และบริหารจัดการทรพั ยากรน้ำทง้ั ระบบใหม้ ี
ประสทิ ธภิ าพ
๔.๓ บรหิ ารจดั การสิ่งแวดลอ้ ม และลดมลพิษให้มีคุณภาพดีขน้ึ
๔.๔ พัฒนาขีดความสามารถในการลดกา๊ ซเรือนกระจกและการปรับตัวเพ่ือลดผลกระทบจาก
การเปล่ยี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ และการรบั มือกับภัยพบิ ัติ
5. ด้านความมนั่ คง
๕.๑ เพ่ือปกป้องสถาบันพระมหากษัตริย์และเสริมสร้างความมั่นคงภายใน รวมท้ังปูองกัน
ปัญหา ภยั คุกคามทเี่ ปน็ อุปสรรคต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการเมอื งของชาติ
๕.๒ เพ่ือสร้างความพร้อมและผนึกกำลังของทุกภาคส่วน ให้มีขีดความสามารถในการบริหาร
จัดการด้านความมั่นคง และมศี กั ยภาพในการปอู งกนั และแก้ไขสถานการณท์ ีเ่ กดิ จากภัย
คุกคามท้งั ภัยทาง ทหารและภัยคุกคามอื่นๆ
๕.๓ เพ่ือเสริมสร้างความร่วมมือด้านความม่ันคงกับมิตรประเทศในการสนับสนุนการรักษา
ความสงบสขุ และผลประโยชน์ของชาติ
๕.๔ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารนโยบายด้านความมั่นคงและนโยบายทางเศรษฐกิจ
สงั คม ทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ มให้มีความเป็นเอกภาพ
6. การเพ่มิ ประสิทธภิ าพและธรรมาภบิ าลในภาครัฐ
๑.๑ เพือ่ ให้ภาครฐั มขี นาดเลก็ มีการบริหารจดั การทด่ี ี และได้มาตรฐานสากล
๑.๒ เพ่ือให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีการบริหารจัดการและให้บริการแก่ประชาชนใน
ท้องถ่ิน ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ประสิทธผิ ล และโปร่งใสตรวจสอบได้
๑.๓ เพ่อื ลดปญั หาการทุจรติ และประพฤติมชิ อบของประเทศ
๑.๔ เพื่อพฒั นาระบบและกระบวนการทางกฎหมายใหส้ ามารถอำนวยความสะดวกด้วย
ความ รวดเร็วและเปน็ ธรรมแก่ประชาชน ๒

13
7. ดา้ นการพฒั นาโครงสรา้ งพ้ืนฐานและระบบโลจสิ ตกิ ส์

๑.๑ เพ่ือพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ส่ิงอำนวยความสะดวกด้านการขนส่งและการค้า รวมท้ังมี
กลไก กำกบั ดูแล การประกอบกิจการขนสง่ ท่ีมีประสิทธภิ าพและโปรง่ ใสใหส้ ามารถสนบั สนนุ
การเพ่มิ ขดี ความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ และยกระดับคณุ ภาพชีวิต ใหแ้ กป่ ระชาชน
๑.๒ เพื่อสร้างความมั่นคงทางพลังงาน เพ่ิมประสิทธิภาพการใช้พลังงาน และส่งเสริมการใช้
พลงั งานทดแทนและพลงั งานสะอาด ตลอดจนขยายโอกาสทางธรุ กจิ ในภูมิภาคอาเซียน
๑.๓ เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพและขยายการให้บริการด้านโครงสร้างพ้ืนฐานดิจิทัลอย่างทั่วถึง
ทั้งประเทศ ในราคาที่เหมาะสมเป็นธรรม และส่งเสริมธุรกิจดิจิทัลใหม่ และนวัตกรรม รวมท้ัง
พัฒนาระบบ ความปลอดภัยทางไซเบอร์ให้มีความม่ันคง และคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคลให้แก่
ผู้ใช้บริการ
๑.๔ เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพและขยายการให้บริการโครงสร้างพื้นฐานด้านน้ำประปาทั้งใน
เชงิ ปรมิ าณและคุณภาพใหค้ รอบคลมุ ทว่ั ประเทศ ลดอัตราน้ำสูญเสยี ในระบบประปา
และสรา้ งกลไกการบริหาร จดั การการประกอบกจิ การน้ำประปาในภาพรวมของประเทศ
๑.๕ เพื่อพฒั นาอุตสาหกรรมตอ่ เนอ่ื งทเ่ี กิดจากลงทุนด้านโครงสรา้ งพืน้ ฐาน เพื่อลดการ
นำเข้าจาก ตา่ งประเทศ และสรา้ งโอกาสทางเศรษฐกจิ ใหก้ ับประเทศ
8. ด้านวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัยและนวัตกรรม
๘.๑ เพอ่ื สรา้ งความเข้มแข็งและยกระดับความสามารถดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ขน้ั
กา้ วหนา้ ใหส้ นับสนนุ การสรา้ งมูลคา่ ของสาขาการผลติ และบริการเปา้ หมาย
๘.๒ เพื่อสรา้ งโอกาสการเข้าถึงและนำเทคโนโลยีไปใชใ้ หก้ บั เกษตรกรรายย่อย วสิ าหกิจ
ชมุ ชน และวิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อม
๘.๓ เพอื่ พัฒนานวตั กรรมท่มี ่งุ เน้นการลดความเหล่อื มล้ำและยกระดับคุณภาพชวี ติ ของ
ประชาชน ผู้สงู อายุ ผูด้ ้อยโอกาสทางสังคม และเพมิ่ คณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ ม
๘.๔ เพอื่ บูรณาการระบบบรหิ ารจดั การวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วจิ ยั และนวตั กรรม
ใหส้ ามารถ ดำเนนิ งานไปในทิศทางเดียวกนั
9. การพฒั นาภาคเมอื งและพน้ื ท่ีเศรษฐกจิ
๙.๑ เพื่อกระจายความเจริญและโอกาสทางเศรษฐกิจไปสู่ภูมิภาคอยา่ งทัว่ ถึงมากข้ึน
๙.๒ เพอื่ พฒั นาเมืองศูนยก์ ลางของจังหวัดให้เปน็ เมืองนา่ อยู่สำหรบั คนทุกกลมุ่
๙.๓ เพื่อพัฒนาและฟื้นฟูพื้นที่ฐานเศรษฐกิจหลักให้ขยายตัวอย่างเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
และ เพ่ิมคณุ ภาพชีวิตของคนในชุมชน
๙.๔ เพื่อพัฒนาพ้ืนที่เศรษฐกิจใหม่ให้สนับสนุนการเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันและ
การพฒั นาในพนื้ ทอี่ ยา่ งยัง่ ยืน
10. ด้านการตา่ งประเทศ ประเทศเพอ่ื นบา้ นและภมู ภิ าค
๑๐.๑ เพื่อใช้ประโยชน์จากจุดเด่นของทำเลท่ีตั้งของประเทศไทยท่ีเป็นจุดเชื่อมโยงสำคัญ
ของแนวระเบียงเศรษฐกิจต่างๆ ให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มศักยภาพในการพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมของไทย
๑๐.๒ เพ่ือขยายโอกาสด้านการค้าการลงทุนระหว่างประเทศ และยกระดับให้ประเทศเป็น
ฐานการผลิตและการลงทนุ ทมี่ ศี ักยภาพและโดดเดน่
๑๐.๓ เพ่ือเพิ่มบทบาทของไทยในเวทีโลกด้วยการส่งเสริมบทบาทที่สร้างสรรค์ของไทยใน
กรอบ ความร่วมมอื ต่างๆ รวมท้ังการสนับสนุนการขบั เคลื่อนการพัฒนาภายใตก้ รอบ
เปา้ หมายการพฒั นาท่ยี ่งั ยนื (Sustainable Development Goals: SDGs)

14

๑.๓ แผนพัฒนาภาค/แผนพัฒนากล่มุ จงั หวัด/แผนพัฒนาจังหวัด

➢ แผนพัฒนาภาคเหนอื

ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนา

(1) ปรับโครงสร้างการผลิตสู่การพึ่งตนเองตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และปรับระบบการ
ผลิตที่สร้างมูลค่าเพ่ิมอย่างสมดุล เพื่อคงความเป็นฐานเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน เช่น การพัฒนา
ประสทิ ธภิ าพการผลติ และสรา้ งมลู คา่ เพ่ิมใหผ้ ลิตภณั ฑ์การเกษตร

(2) ยกระดับการค้าและบริการให้ได้มาตรฐาน ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของกระแสตลาดเน้นการ
พัฒนาบุคลากร โครงสร้างพื้นฐาน และสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ เช่น ระบบโลจิสติกส์เพื่อ
การสนบั สนนุ การคา้ การพฒั นาแหล่งทอ่ งเที่ยว

(3) พัฒนาเมอื งศนู ยก์ ลางความเจรญิ และเมอื งชายแดนเพื่อรองรบั การเชอ่ื มโยงในระดับนานาชาติ

(4) พัฒนาคนและสังคมให้พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง มีความม่ันคงและอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน เช่น
สขุ ภาพ ดา้ นการศึกษา แรงงาน ฯลฯ

(5) พัฒนาศักยภาพของสถาบันครอบครัวและชุมชนให้มีความเข้มแข็งในการพัฒนาที่นำไปสู่การ
พึ่งตนเองมภี ูมิคมุ้ กนั ตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

(6) บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน เน้นการอนุรักษ์ฟื้นฟูและใช้
ประโยชนอ์ ยา่ งสมดลุ และเตรยี มการปอ้ งกนั และรบั มอื ภัยธรรมชาติ

ทิศทางการพัฒนากลุ่มจังหวัดและจังหวัด ให้มีความเชื่อมโยงกับแผนการบรหิ ารราชการแผ่นดิน พ.ศ.
2551 – 2554 และแผนพัฒนาฉบับที่ 11 รวมท้ังแผนพฒั นาด้านต่างๆ ดงั นี้

(1) กลุ่มจงั หวดั ภาคเหนือตอนบน 1 ประกอบด้วย เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง และแม่ฮ่องสอน
มีทศิ ทางการพฒั นาด้านการฟื้นฟูทรพั ยากรธรรมชาติ พฒั นาบริการพนื้ ฐานชองเมืองและส่ิงแวดลอ้ ม พัฒนา
เครอื ข่ายคมนาคม และสรา้ งมูลค่าเพิ่มทางภาคการผลิตและบรกิ ารบนพื้นฐานของความรแู้ ละวฒั นธรรม
ภูมปิ ัญญาท้องถิ่น

(2) กลมุ่ จังหวดั ภาคเหนือตอนบน 2 ประกอบด้วย เชียงราย พะเยา แพร่ และนา่ น มุง่ พัฒนาให้
เป็นประตูการค้า การลงทุน พัฒนาการเกษตรอนิ ทรยี ์ พัฒนาการท่องเทีย่ วชายแดนและการท่องเท่ียวอนรุ ักษ์
และสืบสานวฒั นธรรมลา้ นนาและภูมปิ ัญญาท้องถิ่น แลเรง่ ฟ้นื ฟูทรพั ยากรธรรมชาติ

(3) กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ประกอบด้วย สุโขทัย ตาก เพชรบูรณ์ อตุ รดิตถ์ และ
พิษณโุ ลก เนน้ การสนับสนนุ ใหเ้ กดิ ความม่นั คงดา้ นทรัพยากรธรรมชาตปิ า่ ไม้และนำ้ สร้างมูลค่าเพมิ่ การท่องเที่ยว
เชิงประวตั ิศาสตรแ์ ละศาสนา การพฒั นาให้เปน็ ศูนยก์ ลางการคา้ บรกิ าร การขนส่งและการกระจายสนิ ค้า

(4) กลุ่มจงั หวัดภาคเหนือตอนล่าง 2 ประกอบด้วน กำแพงเพชร นครสวรรค์ พิจติ ร
และอทุ ัยธานี เนน้ พฒั นาขา้ วและผลติ ภัณฑ์แปรรูปการเกษตรอย่างครบวงจร สรา้ งมลู ค่าเพิ่มจากผลผลติ และ
วัสดุทางการเกษตร พัฒนาให้เป็นศนู ยก์ ลางการกระจายสินคา้ พฒั นาแหล่งท่องเที่ยวท่ีมคี วามโดดเดน่ และ
การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม เรง่ แก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ำจากภาวะฝนแลง้

โครงการสำคัญ
(1) โครงการพฒั นามูลค่าเพม่ิ ใหก้ ับเกษตรกรผู้ผลิตสินคา้ เกษตรอนิ ทรยี ์
(2) โครงการยกระดับสินค้าหัตกรรมและการท่องเท่ียวลา้ นนาส่สู ากล
(3) โครงการพัฒนาเมืองเชียงใหม่ – ลำพูน รองรบั การเปน็ ศนู ย์กลางความเจรญิ ทีเ่ ช่ียมโยงกับนานาชาติ
และอนภุ มู ภิ าคลุ่มน้ำโขงตอนบน

15

(4) โครงการสืบสานพฒั นาองค์ความร้ภู มู ปิ ัญญาและศิลปวัฒนธรรมล้านนา
(5) โครงการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้ำในระดับชุมชน
(6) โครงการเพ่มิ สมรรถนะการบริหารจดั การนำ้ ตน้ ทุน

➢ แผนพฒั นากลมุ่ จังหวัด ภาคเหนือตอนลา่ ง

วิสัยทัศน์ “เป็นศูนยก์ ลางธรุ กิจขา้ ว สินคา้ เกษตร การท่องเทีย่ วธรรมชาตแิ ละวัฒนธรรมลำ้ คา่ ”

พันธกจิ
1. ผลิตข้าวและสนิ ค้าเกษตรท่ีปลอดภัย มีคุณภาพตามมาตรฐาน
2. ส่งเสริมการแปรรูปขา้ วและสนิ ค้าเกษตรโดยใช้นวตั กรรมเทคโนโลยที ่ีเหมาะสม
3. พัฒนาตลาดและช่องทางการค้าขา้ วและสินค้าเกษตรส่ตู ลาดเปา้ หมายท้ังในและต่างประเทศ
4. พัฒนาการทอ่ งเที่ยวธรรมชาติ ประวัตศิ าสตร์ และวตั นธรรม เพ่ือใหไ้ ดม้ าตรฐานเป็นที่ยอมรบั ของ

ชาวไทยและชาวตา่ งชาติ

เปา้ ประสงค์
1. ผลผลิตขา้ วและสนิ ค้าเกษตรทีป่ ลอดภัย มีคุณภาพตามมาตรฐาน
2. ผลติ ภณั ฑแ์ ปรรปู จากข้าวและสินคา้ เกษตรทีเ่ กิดจากการใช้นวตั กรรมผา่ นกระบวนการผลิตทไ่ี ด้

มาตรฐานและสรา้ งมูลค่า
3. ธุรกจิ ข้าวและสนิ คา้ เกษตรปลอดภัยมชี ่องทางและการตลาดเพิ่มขึน้ ท้ังในประเทศและ
4. การเชอื่ มโยงการท่องเท่ยี วธรรมชาติ ประวตั ิศาสตร์ และวฒั นธรรมการท่องเท่ียวเชิงเกษตรเปน็ ท่ี

รจู้ กั และยอมรับของนักท่องเที่ยว ทัง้ ชาวไทยและชาวต่างประเทศ

ประเด็นยทุ ธศาสตร์
1. พฒั นาโครงสร้างพนื้ ฐาน กระบวนการผลิตข้าว และสนิ คา้ เกษตรท่ีปลอดภยั เพ่ือตอบสนองความ

ตอ้ งการของผบู้ รโิ ภคทั้งในประเทศและตา่ งประเทศ
2. สง่ เสริมการแปรรูป การตลาด และการกระจายสินค้าเกษตร เพ่ือสรา้ งมูลค่าเพิ่มและสรา้ งขีด

ความสามารถในการแข่งขนั
3. พฒั นาศกั ยภาพการท่องเท่ียวตามมาตรฐานเพื่อดึงดูดนกั ท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ

กลยุทธ์
1. พฒั นาแหล่งน้ำและระบบบรหิ ารจดั การนำ้ เพ่ือสนับสนุนการผลติ ดา้ นการเกษตร
2. พัฒนา/ฟื้นฟูทรัพยากรดินทเ่ี ส่อื มคณุ ภาพให้มีคุณภาพเหมาะสมกับการผลติ สินคา้ เกษตร
3. พฒั นากระบวนการผลติ ข้าว และส้นิ คา้ เกษตรปลอดภัยตามความเหมาะสมของพื้นท่ี (Zoning)
4. สง่ เสริมการผลติ ข้าว และสนิ คา้ เกษตรทป่ี ลอดภัยตามมาตรฐาน GAP เพือ่ มุ่งสเู่ กษตรอินทรีย์
5. พัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานทางคมนาคมขนส่ง และระบบโลจิสติกสร์ องรับ การคา้
6. สง่ เสริม/พฒั นาการแปรรูปขา้ ว/สินค้าเกษตรท่ีได้มาตรฐาน
7. สง่ เสรมิ และสนับสนนุ การใชน้ วตั กรรมและพฒั นาเพื่อแปรรูปขา้ วและสินค้าเกษตรไปสู่ผลติ ภณั ฑ์ทมี่ ี
มลู ค่าสูง
8. เพิ่มขีดความสามารถการแขง่ ขันทางการคา้ ของกลุ่มจังหวดั
9. พัฒนาสถานประกอบการแปรรปู ข้าวและสินค้าเกษตรให้ได้มาตรฐานสากล
10. พัฒนา/ฟืน้ ฟูแหล่งทอ่ งเท่ยี วตามมาตรฐานการท่องเท่ียว
11. พฒั นาสินคา้ บริการ และปจั จัยสนบั สนนุ การทอ่ งเท่ียว
12. พัฒนาการตลาดการท่องเทีย่ ว

16

ตวั ช้ีวัด
1. ผลผลติ ข้าว ออ้ ย มันสำปะหลัง และสนิ ค้าเกษตรที่เพมิ่ ข้ึน (ปลี ะ 2%)
2. รายได้จากการจำหน่ายท่เี พิ่มขนึ้ (ปีละ 2%)
3. ร้อยละท่ีเพ่ิมข้ึนจำนวนเกษตรทีเ่ ขา้ ร่วมเครือขา่ ยสนิ คา้ เกษตรปลอดภยั (ปีละ 2%)
4. ร้อยละมลู คา่ ข้าวและสนิ ค้าเกษตรปลอดภัยทีเ่ พ่ิมขน้ึ (ปีละ 2%)
5. ร้อยละของจำนวนนักท่องเทย่ี วที่เพมิ่ ข้นึ (ปีละ 3%)
6. ร้อยละของรายไดจ้ ากการท่องเท่ยี วทเ่ี พม่ิ ขึน้ (ปีละ 3%)

➢ แผนพัฒนาจงั หวดั อทุ ยั ธานี

วิสัยทัศน์ "เมืองท่องเทีย่ วเชิงนเิ วศ เกษตรปลอดภัย สังคมอุทัยผาสกุ "

เปา้ ประสงคร์ วม
1. การเติบโตทางเศรษฐกจิ ภาคเกษตรและการทอ่ งเทย่ี วเพ่ิมขึ้น
2. แหลง่ ท่องเทย่ี วเชิงนเิ วศ และบริการดา้ นการท่องเที่ยวได้รับการพฒั นาไดม้ าตรฐาน และมคี วาม

ปลอดภัย
3. ผลผลิตทางการเกษตร เกษตรแปรรปู มคี ุณภาพปลอดภัย มลู ค่าผลผลติ เพ่มิ ขึน้
4. ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความมั่นคงและปลอดภัยในการดำรงชีวติ และเข้าถึงสวสั ดกิ ารภาครฐั

ทมี่ ีคุณภาพอย่างทวั่ ถงึ
5. ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม อยู่ในเกณฑม์ าตรฐาน มีความสมดุลรองรับการเปลยี่ นแปลงของ

สภาพภมู อิ ากาศ

ประเด็นยทุ ธศาสตร์จงั หวัด :
ประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี 1 สร้างคุณค่าด้านการทอ่ งเท่ยี ว ควบคู่วถิ ีชวี ิตเอกลักษณ์และวัฒนธรรมของ
จังหวัดสู่สากล
มงุ่ เน้นการท่องเทีย่ วเชิงนิเวศ โดยการส่งเสรมิ ใหม้ ีการพัฒนาแหล่งท่องเท่ียว สถานทท่ี ่องเทย่ี ว บริการ

ด้านการท่องเที่ยว ประกอบด้วยแหล่งทอ่ งเทย่ี วธรรมชาติ (Natural Attractions) หรอื ที่เกดิ จากสภาพแวดล้อม
ตามธรรมชาติ ทีม่ าจากพน้ื ฐานความอุดมสมบรู ณ์ทางธรรมชาติของจงั หวดั แหลง่ ท่องเท่ียวที่มนษุ ยส์ รา้ งขึ้น
(Manufactured Attractions) เช่น สถาปัตยกรรมทางประวัตศิ าสตร์ ศาสนสถาน เป็นตน้ แหล่งท่องเที่ยวทาง
วัฒนธรรมและวิถีชวี ิต โดยใหเ้ กิดความปลอดภยั ไดม้ าตรฐานการท่องเที่ยวไทยและยกระดบั สมู่ าตรฐานการ
ทอ่ งเทยี่ วของอาเซยี นในอนาคต การสง่ เสรมิ การท่องเท่ียวเชิงนิเวศให้ความสำคญั ในดา้ นส่งิ แวดล้อม สงั คม และ
วฒั นธรรม โดยส่งเสรมิ ให้ชมุ ชนและผปู้ ระกอบการด้านการท่องเท่ยี วเข้ามามสี ่วนร่วมในการบรหิ ารจัดการการ
ท่องเท่ียว โดยเรง่ การประชาสมั พนั ธเ์ ชิงรุก การเชือ่ มโยงผ้ปู ระกอบการธุรกิจบริการต่อเน่อื งและจัดหาตลาดดา้ น
การท่องเท่ียวใหม่ๆ รองรบั การเตบิ โตดา้ นการท่องเทย่ี วของจังหวดั เพอื่ ม่งุ สู่การพัฒนาการท่องเท่ยี วแบบยงั่ ยืน
(sustainable Tourism)

กลยทุ ธ์
1. สง่ เสริมการทอ่ งเทยี่ วเชิงนเิ วศให้มคี วามเปน็ เอกลกั ษณ์ โดดเด่นของจังหวดั และเชื่อมโยงธุรกจิ

บริการตอ่ เน่ือง
2. พัฒนาศักยภาพการท่องเท่ียวโดยชุมชน และสง่ เสรมิ ผปู้ ระกอบการดา้ นการท่องเที่ยวใหม้ ี

ศกั ยภาพสามารถบรหิ ารจัดการการท่องเทย่ี วอย่างยัง่ ยนื
3. พฒั นาส่ิงอำนวยความสะดวกสินคา้ และบริการ ดา้ นการทอ่ งเทีย่ วให้ได้มาตรฐาน ปลอดภยั และ

เหมาะสม

17

4. เรง่ ประชาสัมพันธ์เชิงรกุ และจัดหาตลาดการท่องเทยี่ วใหม่ โดยเนน้ นักท่องเทยี่ วกลมุ่ เฉพาะ
(Green and Eco tourists)

ประเด็นยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 ยกระดบั สนิ ค้าเกษตรและเกษตรแปรปู ให้มคี ณุ ภาพและปลอดภยั
มมี ูลค่าเพ่ิมสูงขึ้น

เนน้ ใหเ้ กดิ การพัฒนาสินค้าสินคา้ เกษตรและเกษตรแปรรูป ใหม้ ีคณุ ภาพและปลอดภัยต่อเกษตรกรและ
ผู้บริโภค ปรับปรงุ กระบวนการผลิตสินค้าเกษตรโดยใชเ้ ทคโนโลยี กระตนุ้ ใหม้ กี ารลดการใชส้ ารเคมี พัฒนาพันธุ์พชื
พันธสุ์ ตั ว์ ประมงและปจั จัยการผลติ จดั หา/พัฒนาแหล่งน้ำเพอื่ การเกษตรการลดต้นทนุ การผลิต เพม่ิ มูลคา่ ผลผลติ
ทางการเกษตรและพฒั นาการแปรรูปสินค้าเกษตรให้มีความหลากหลาย และส่งเสรมิ การรวมกล่มุ เกษตรกร
รวมทัง้ วิสาหกจิ ชุมชน ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ การตลาดในลักษณะการเชื่อมโยงเครือข่ายการรวมกลุ่มของเกษตรกร
ใหม้ ีความเขม้ แขง็ เพ่ิมอำนาจในการตอ่ รองในตลาดสินคา้ เกษตร

กลยุทธ์
1. พฒั นาระบบการผลิตสนิ ค้าเกษตร การแปรรปู การตลาดใหม้ คี ุณภาพ ได้มาตรฐานให้มคี วาม

หลากหลาย สอดคล้องกับความต้องการของตลาด และเป็นมติ รกบั ส่ิงแวดลอ้ ม
2. สรา้ งการเชือ่ มโยงเครอื ขา่ ยการรวมกลุ่มของเกษตรกรใหเ้ ขม้ แข็งและเพิม่ อำนาจการตอ่ รองใน

ตลาดสินค้าเกษตร
3. พัฒนาและบริหารจัดการน้ำ เพื่อการเกษตรและอุปโภคบรโิ ภค อยา่ งมแี บบแผนและเกิด

ประสิทธิภาพสงู สดุ
4. การพฒั นาสายพนั ธ์ุ พชื ปศสุ ัตว์ ประมง เพื่อการเพ่ิมมูลค่าผลผลิตทางการเกษตร

ประเด็นยทุ ธศาสตร์ที่ 3 ยกระดบั การพฒั นาคุณภาพชีวิตตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง
เสรมิ สรา้ งความมั่นคงภายในและความสงบเรียบร้อย

เน้นประชาชนมีคณุ ภาพชีวิตทด่ี มี คี วามมนั่ คงและปลอดภัย รองรับการเขา้ สสู่ ังคมผู้สูงอายุ ประชาชน
สามารถเขา้ ถงึ สวัสดกิ ารของภาครฐั อยา่ งมีคุณภาพและทั่วถงึ ด้านสุขภาพอนามยั การสาธารณสุข การศึกษา
การมงี านทำ การมรี ายได้ การอำนวยความยุติธรรม ควบคู่กับการส่งเสริมกิจกรรมทางศาสนา ศิลปวฒั นธรรม
และปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงรวมถงึ การพัฒนาโครงสรา้ งพืน้ ฐานดา้ นต่างๆ และระบบสาธารณปู โภคทจี่ ำเป็นต่อ
ประชาชน

กลยทุ ธ์
1. เสรมิ สร้างการอำนวยความยุติธรรม สิทธิมนุษยชนความปลอดภยั ในชวี ติ และทรัพย์สินและความ

มัน่ คง
2. เสรมิ สร้างการนำทนุ ทางศาสนา ศลิ ปวัฒนธรรม มาสรา้ งคณุ ค่าทางสงั คม
3. สร้างเสริมสุขภาวะของประชาชน
4. พฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐานเสริมความปลอดภยั ทางถนนและระบบการขนส่งสาธารณะให้ได้

มาตรฐานรวมถงึ จิตสำนกึ ในการลดอบุ ตั เิ หตุอุบัติภยั ใหก้ บั ประชาชน
5. พฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐานแหลง่ นำ้ เพอื่ การอุปโภค-บรโิ ภคใหม้ คี ุณภาพ
6. สง่ เสริมการมงี านทำ การคุ้มครองแรงงานนอกระบบ
7. พัฒนาระบบการดูแลและสง่ เสริมสุขภาพผู้สงู อายุเพ่ือรองรับการเปล่ียนแปลงเขา้ สู่สังคมผู้สูงอายุ
8. พัฒนาคุณภาพการให้บรกิ ารทางการสาธารณสุขและสงั คมอย่างทั่วถึง

18
ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ที่ 4 การบริหารจดั การทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอยา่ งสมดุล และ

เป็นระบบบนพนื้ ฐานการมีส่วนรว่ มของทกุ ภาคสว่ น
เน้นการดแู ลรักษา ฟ้นื ฟู ปอ้ งกนั และอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม ท้งั ในระดบั ครวั เรอื น
องค์กร สถานศึกษา และชุมชนโดยเนน้ การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาตคิ วบคู่กบั การแกไ้ ขปัญหาสง่ิ แวดล้อม
ทเี่ ปน็ ปัญหาสำคัญของจังหวัดไดแ้ ก่ ปัญหานำ้ และขยะมูลฝอย ดว้ ยการปลูกจิตสำนึกการมีส่วนร่วมใหก้ บั
ประชาชนและการสร้างเครือข่ายด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม

กลยทุ ธ์
1. พฒั นาระบบเฝา้ ระวังรกั ษาคณุ ภาพสิง่ แวดลอ้ ม และระบบแจ้งเตอื นภัยให้ครอบคลุมพื้นที่เสย่ี ง
2. เพ่ิมพ้ืนทีป่ ่าไม้และอนรุ กั ษ์ เพอ่ื รักษาความม่นั คงของฐานทรพั ยากรพ้นื ทป่ี ่าไม้
3. เฝ้าระวังและปอ้ งกนั คุณภาพน้ำในแมน่ ำ้ สายหลกั ให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน
4. ส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนเข้ามามสี ว่ นรว่ มในการบริหารจดั การแก้ไขปญั หาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ

สิ่งแวดล้อม
5. ส่งเสรมิ การอนุรักษ์พลังงานและพฒั นาพลงั งานทดแทน

1.4 ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาขององค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ินในเขตจังหวดั

วิสัยทัศน์ จังหวัดอทุ ยั ธานี กนิ ดี อยดู่ ี ส่ิงแวดล้อมดี ภายใตห้ ลกั ธรรมาภิบาล ประสานความรว่ มมอื กับทุกทอ้ งถ่นิ

เปา้ ประสงคร์ วม
๑. พฒั นาโครงสรา้ งพื้นฐาน

2. สรา้ งความสมดลุ และฟ้ืนฟูทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม

3.พฒั นาเศรษฐกิจและส่งเสริมการท่องเทย่ี ว

4.พัฒนาคณุ ภาพชวี ติ และส่งเสรมิ อาชีพตามแนวทางปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง

5.พัฒนาองค์กรส่ธู รรมาภิบาล และสร้างความรว่ มมือกับทกุ ท้องถิ่น

6.ส่งเสริมการศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรมอนั ดีงามของทอ้ งถ่นิ

7.ส่งเสรมิ การมสี ว่ นรว่ มของประชาชนและองคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่

เปา้ ประสงคเ์ ชิงยุทธศาสตร์

1. เพอ่ื ใหจ้ ังหวัดอุทัยธานมี ีโครงสร้างพ้นื ฐานท่สี มบูรณค์ รอบคลุมทกุ พ้ืนที่
2. มรี ะบบป้องกนั ภยั ธรรมชาติควบคู่กับการรักษา ฟ้นื ฟูทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อมเพื่อ

สรา้ งความสมดลุ
3. เพอ่ื ใหป้ ระชาชนมีรายได้เพม่ิ ขน้ึ
4. เพอื่ ใหป้ ระชาชนในจงั หวดั อทุ ัยธานีมคี ุณภาพชวี ิตทีด่ ตี ามหลกั แนวทางปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
5. เพื่อใหอ้ งคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ินในเขตจังหวัด มกี ารบูรณาการทำงานร่วมกนั โดยยึดหลัก

ธรรมาภบิ าล
6. เพอ่ื สง่ เสริมสนับสนุนการจดั การศกึ ษาและสาธารณสุขในทอ้ งถน่ิ
7. เพอ่ื ส่งเสริมและพฒั นาการทอ่ งเทีย่ วของจงั หวัดอทุ ัยธานี
8. เพื่ออนรุ ักษ์ และส่งเสรมิ ศาสนา ศลิ ปวฒั นธรรม ประเพณี และอัตลักษณ์ของชมุ ชน

19
ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 การพัฒนาโครงสรา้ งพน้ื ฐาน
กลยุทธ์

๑. ก่อสรา้ ง ปรับปรุง บำรงุ รกั ษาเสน้ ทางคมนาคมและระบบสาธารณปู โภคโดยบูรณาการ
ความรว่ มมอื กบั องค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่

๒. พฒั นาแหลง่ นำ้ เพื่อการอุปโภคบรโิ ภค ให้มีคณุ ภาพ และนำ้ เพื่อการเกษตร
3. บูรณาการทำงานร่วมกับทกุ หนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวขอ้ งและเครือขา่ ยการบรหิ ารจดั การนำ้ อยา่ งมสี ว่ นร่วม

ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 การบรหิ ารและพัฒนาทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมอย่างมีส่วนร่วม
กลยทุ ธ์

๑. สร้างระบบปอ้ งกัน อนรุ ักษ์ และฟ้นื ฟทู รัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม
2. สง่ เสรมิ และร่วมมือกับทกุ ภาคส่วนในการอนรุ ักษ์ฟื้นฟูพ้ืนที่ตน้ น้ำ ป่าไม้ และปา่ ชมุ ชน
3. จัดการขยะ มลพิษ ของเสยี อันตราย และสิง่ ปฏกิ ลู และมรี ะบบการจดั การขยะตงั้ แตต่ ้นทาง
4. สง่ เสริมพัฒนา และสนับสนนุ การเกษตรและอาหารปลอดภัยให้เปน็ มติ รกับสง่ิ แวดล้อม
5. สง่ เสริมและสนับสนนุ การใชพ้ ลังงานทดแทน

ยุทธศาสตร์ท่ี 3 การพัฒนาเศรษฐกจิ และการท่องเที่ยว
กลยุทธ์

๑. พัฒนาและสง่ เสรมิ อาชีพให้แกป่ ระชาชนควบคู่ไปกบั การส่งเสรมิ การตลาดเชอ่ื มโยงสภู่ มู ิภาค
๒. ส่งเสริมการท่องเทีย่ วเชิงนิเวศ ศาสนา ศลิ ปวัฒนธรรมและเชิงอนรุ กั ษโ์ ดยชมุ ชน
3. พัฒนาแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วและมกี ลไกการเช่อื มโยงธุรกิจการท่องเทยี่ วเชงิ นเิ วศโดยชมุ ชน
4. สง่ เสรมิ แนวความคิดเศรษฐกิจพอเพยี ง และการแก้ไขปญั หาความยากจน
5. ส่งเสรมิ อาชีพการเกษตร และผลติ ภณั ฑด์ า้ นการเกษตรปลอดภยั
6. สง่ เสริม สนบั สนนุ และพัฒนา สนิ ค้า OTOP
7. สง่ เสริมและสนับสนุนระบบสหกรณแ์ ละวสิ าหกิจชุมชน
8. สง่ เสริมและสนบั สนนุ เพือ่ ให้สินค้าและบริการของชมุ ชนไดร้ บั การรบั รองมาตรฐาน

ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาคนและสงั คมท่มี คี ุณภาพ
กลยุทธ์

๑. สง่ เสรมิ คุณภาพชีวติ ของประชาชนให้อยู่ดีมีสุข ปราศจากยาเสพตดิ ลดปัญหาการใชค้ วามรุนแรง
ในชมุ ชน ครอบครวั และสังคม

๒. ส่งเสริมการกีฬาและนันทนาการ
๓. สง่ เสรมิ และสนับสนุนการจัดการศึกษาและสาธารณสขุ ในท้องถิ่น
๔. ส่งเสรมิ สนบั สนนุ อนุรักษ์ และฟื้นฟขู นบธรรมเนยี ม ประเพณี ศาสนา ศิลปวฒั นธรรม

ภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่น และอัตลักษณข์ องชุมชน
5. ส่งเสรมิ และพัฒนาศักยภาพเด็ก สตรี ผ้สู ูงอายุ คนพิการ ผปู้ ว่ ยเอดส์ และผ้ดู ้อยโอกาส
6. สง่ เสรมิ ให้ความรดู้ า้ นภาษาใหแ้ กป่ ระชาชนในทอ้ งถ่นิ ในการเปน็ ประชาคมอาเซยี น
7. สง่ เสรมิ และปลกู ฝงั การรกั ษาวินยั หนา้ ท่ี มจี ติ สำนึกและความรับผดิ ชอบต่อสงั คม

20

ยทุ ธศาสตร์ท่ี 5 การเมือง การบริหาร
กลยทุ ธ์

๑. พฒั นาสมรรถนะและขีดความสามารถในการทำงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
๒. สง่ เสริมบทบาทการมีสว่ นร่วมของภาคประชาชน
๓. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) เพ่อื การบริหารและบรกิ าร
๔. ส่งเสรมิ การบรหิ ารกจิ การบ้านเมอื งตามหลักธรรมาภบิ าล
๕. พฒั นาประสทิ ธิภาพการเฝ้าระวังและระบบการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั
6. ส่งเสริมการทำงานแบบบรู ณาการขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน
7. สง่ เสริมกระบวนการทำงานเพ่อื นำไปสูน่ โยบายไทยแลนด์ 4.0

2. ยุทธศาสตร์ของการปกครองส่วนท้องถน่ิ

2.1 วิสยั ทศั น์
“ชาวลานสกั รักษส์ ่งิ แวดลอ้ ม เพยี บพร้อมคุณธรรม นำการพัฒนาที่ยงั่ ยนื ”

2.2 ยุทธศาสตร์
1. ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาโครงสร้างพ้นื ฐาน
2. ยทุ ธศาสตร์การบรหิ ารทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม
3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจและการท่องเทยี่ ว
4. ยุทธศาสตร์การพฒั นาคนและสังคมให้มีคุณภาพ
5. ยทุ ธศาสตร์การเมอื ง การบรหิ าร

2.3 เป้าประสงค์
1. เพอ่ื พัฒนาโครงสรา้ งพ้ืนฐาน
2. เพ่อื พฒั นาการบริหารทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม
3. เพื่อพฒั นาเศรษฐกจิ และการทอ่ งเท่ียว
4. เพือ่ พัฒนาคนและสงั คมให้มคี ุณภาพ
5. เพ่อื พฒั นาการเมือง การบริหาร

2.4 ตัวช้ีวดั
1. จำนวนโครงการดา้ นโครงสรา้ งพ้ืนฐานในด้านตา่ งๆที่เทศบาลจดั ให้มขี ้ึนในแตล่ ะปี
2. จำนวนครวั เรอื นในเขตเทศบาลตำบลลานสักสามารถบริหารจดั การขยะได้ด้วยตนเองและมี

ความเข้าในการอนุรักษ์และฟ้ืนฟูทรัพยากรธรรมชาตเิ พม่ิ ขึ้น
3. จำนวนประชาชนในเขตเทศบาล มีความรู้และเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาการท่องเท่ียว

และจำนวนกลุ่มสง่ เสริมอาชพี ในเขตเทศบาลมรี ายไดเ้ พิ่มขนึ้ และพึ่งตนเองได้ มากขึ้น
4. จำนวนผู้สูงอายุ ผู้พิการ และประชาชนโดยทั่วไปท่ีมีสิทธิและลงทะเบียนกับเทศบาลเพ่ือ

ขอรบั สิทธิไดร้ บั บรกิ ารอย่างทวั่ ถงึ ทุกคน
5. เทศบาลตำบลลานสกั มีผลการปฏบิ ัติงานท่ีมปี ระสิทธภิ าพเพ่ิมขึน้

21

2.5 ค่าเป้าหมาย
1. เทศบาลจดั ใหม้ ีโครงสร้างพนื้ ฐานในดา้ นตา่ งๆ เพื่อใหบ้ รกิ ารประชาชนไดป้ ีละ 3 โครงการ
2. จำนวนครวั เรอื นในตำบลบาลตำบลลานสักสามารถบรหิ ารจดั การขยะได้ดว้ ยตนเองและมี

ความเขา้ ในการอนุรักษ์และฟ้ืนฟทู รพั ยากรธรรมชาติเพ่มิ ข้ึนรอ้ ยละ 20 ครวั เรอื น/ปี
3. จำนวนประชาชนในเขตเทศบาล มีความรู้และเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาการท่องเที่ยว

และจำนวนกลุม่ สง่ เสริมอาชพี ในเขตเทศบาลมีรายไดเ้ พ่ิมขนึ้ และพง่ึ ตนเองได้ มากขึ้น ร้อยละ 10 คน/ปี
4. จำนวนผู้สูงอายุ ผู้พิการ และประชาชนโดยทั่วไปท่ีมีสิทธิและลงทะเบียนกับเทศบาลเพื่อ

ขอรับสิทธไิ ดร้ ับบริการอย่างท่ัวถงึ ทกุ คน 100%
5. เทศบาลตำบลลานสกั มีผลการปฏบิ ัติงานที่มปี ระสิทธภิ าพเพ่ิมข้ึน 60%

2.6 กลยุทธ์
1. สนับสนนุ โครงสร้างพนื้ ฐานทางเศรษฐกิจ
2. พัฒนาแหล่งนำ้ เพ่ือการอุปโภค-บรโิ ภค และทำการเกษตร
3. อนุรกั ษ์ ฟ้นื ฟูทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม
4. สง่ เสรมิ สรา้ งงาน สรา้ งอาชีพใหก้ ับประชาชน
5. สง่ เสริมด้านการคา้ การบริการและการท่องเทยี่ วเชงิ นเิ วศและเชิงอนุรักษ์
6. ส่งเสริมแนวความคดิ เศรษฐกิจพอเพยี ง และแก้ไขปญั หาความยากจน
7. สนับสนนุ และสง่ เสริมกระบวนการพัฒนาชุมชนและการพัฒนาสวสั ดกิ ารสังคมชุมชน
8. ส่งเสรมิ และสนบั สนุนด้านการกีฬาและนนั ทนาการ
9. สง่ เสรมิ และจัดการศึกษาในทอ้ งถ่นิ
10. สง่ เสรมิ อนรุ กั ษ์และพฒั นาขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวฒั นธรรม และภูมปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่
11. พฒั นาประสทิ ธภิ าพในการปฏิบัตงิ านในดา้ นต่างๆเพ่ือให้บรกิ ารประชาชนได้อยา่ งท่ัวถึง
12. สง่ เสรมิ ให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีสว่ นรว่ มในการปฏิบัติงานในดา้ นต่างๆของเทศบาลภายใต้
หลกั ธรรมาภิบาล
13. การพฒั นาระบบสารสนเทศ (IT) เพ่ือการบริหาร
14. สง่ เสรมิ การบริหารกิจการบา้ นเมอื งท่ดี ี
15. พัฒนาประสิทธภิ าพการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั เพ่ือความปลอดภัยในชวี ิตและ
ทรพั ยส์ นิ ของประชาชน

2.7 จุดยนื ทางยุทธศาสตร์
๑) พัฒนาชุมชนให้น่าอยู่มีความปลอดภัย โดยได้รับบริการสาธารณะด้านโครงสร้างพื้นฐาน

ท่จี ำเป็นเพ่ือความสะดวก รวดเร็ว และรองรับการขยายตวั ของชมุ ชนและเศรษฐกจิ
๒) พฒั นาระบบการศึกษา ส่งเสรมิ และสนับสนนุ กจิ กรรมสำคัญทางศาสนา อนุรักษ์

ศลิ ปวฒั นธรรมทอ้ งถิน่ ให้คงอยู่สืบไป
๓) ส่งเสรมิ และพัฒนาศกั ยภาพคนและความเขม้ แขง็ ของชมุ ชนในการพ่งึ ตนเองตามหลักปรัชญา

ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
๔) กำจดั ขยะมูลฝอยส่ิงปฏกิ ลู และมลภาวะสิง่ แวดลอ้ มในท้องถน่ิ อยา่ งมรี ะบบและมีความย่งั ยืน
๕) เทศบาลมกี ารบรหิ ารจดั การภาครัฐที่ดแี ละมสี ว่ นรว่ มจากทุกภาคสว่ น

22
๒.๘ ความเชอ่ื มโยงของยทุ ธศาสตร์ในภาพรวม

การจัดทำแผนพฒั นาท้องถ่นิ ของเทศบาลมีความเช่อื มโยงของยุทธศาสตรใ์ นภาพรวม ดังนี้
วิสยั ทัศน์

ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาของเทศบาล

เป้าประสงค์

ตวั ชวี้ ดั

ค่าเปา้ หมาย

กลยุทธ์

จดุ ยืนทางยทุ ธศาสตร์

23

๓. การวเิ คราะห์เพ่ือพฒั นาทอ้ งถ่ิน

๓.๑ การวเิ คราะหก์ รอบการจดั ทำยุทธศาสตร์ขององค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ

ในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นของเทศบาลได้ใช้การวิเคราะห์ SWOT Analysis/Demand

(Demand Analysis)/Global Demand และ Trend ปจั จยั และสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงท่ีมีผลตอ่ การพัฒนา

อย่างน้อยต้องประกอบด้วย การวิเคราะห์ศักยภาพดา้ นเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านทรัพย์ธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม

ซึง่ มีรายละเอยี ดดังนี้

๑.จุดแข็ง (S : Strength)
➢ ประชาชนและผ้นู ำชมุ ชน มีความพร้อมที่จะให้ความร่วมมือกับทางราชการในการพัฒนาท้องถิน่ ของ

ตนเองให้พัฒนาไปอย่างย่ังยืน
➢ ชุมชนไดร้ ับการบริการสาธารณะดา้ นโครงสร้างพ้ืนฐานครบถ้วน มีเสน้ ทางคมนาคมสะดวก
➢ ประชาชนยังยึดม่นั ในขนบธรรมเนยี มประเพณีและวัฒนธรรมท้องถนิ่
➢ อยู่ใกล้แหลง่ ท่องเทย่ี วทางธรรมชาติ และเขตอนรุ กั ษ์พันธุส์ ัตว์ป่า
➢ ประชากรส่วนใหญม่ อี าชีพเกษตรกรรมผลผลิตทางการเกษตรทส่ี ำคญั ได้แก่ อ้อย ขา้ วมนั สำปะหลงั
➢ มีการประสานความรว่ มมอื ระหว่างเทศบาลกบั ส่วนราชการในพืน้ ที่
➢ มคี วามสงบ ไมม่ ีปญั หาด้านความปลอดภัยและด้านมลพิษ
➢ มวี ดั 2 แห่ง วัดครสิ ต์ 1 แหง่
➢ มสี ถาบนั การเงนิ กองทนุ หมู่บ้าน มกี ลุ่มอาชีพต่างๆ

๒. จุดออ่ น (W : Weakness)
➢ ประชาชนไม่สามารถรวมกลุ่มกันเพอื่ ดำเนนิ การด้านเศรษฐกจิ ของชมุ ชนในรปู แบบของกลุม่ อาชีพได้

อย่างเข้มแข็ง
➢ ขาดแหลง่ เก็บกักน้ำเพ่ือการอปุ โภคบรโิ ภคและเพ่ือการเกษตร
➢ ขาดสถานศึกษาระดบั ฝกึ อาชพี ไม่มสี ถานประกอบกิจการขนาดใหญ่ ไม่มโี รงงานในพื้นท่ี
➢ เทศบาลตำบลลานสัก มีจำนวนบคุ ลากรยงั ไม่ครบตามตำแหนง่ ประกอบกบั เคร่ืองมือไม่เพียงพอ

เนือ่ งจากงบประมาณจำกัด
➢ ปญั หาหน้ีสินของเกษตรกร

๓.โอกาส (O : Opportunity)
➢ รัฐบาลมีนโยบายใหป้ ระชาชนมสี ่วนร่วมในการพฒั นาท้องถ่ินของตนเอง
➢ รฐั บาลมีแผนการพฒั นาประเทศอย่างยงั่ ยนื ต่อเนอ่ื ง ผา่ นโครงการและเงนิ อดุ หนุนต่างๆ

๔.ข้อจำกดั (T : Threat)
➢ เทศบาลตำบลลานสักเปน็ เทศบาลขนาดเล็กมงี บประมาณจำกัด
➢ งบประมาณท่ีได้รับจากส่วนกลาง ไม่เพียงพอในการบริหารงาน
➢ กฎหมายและระเบียบตา่ งๆในการปฏบิ ตั ิงานทำใหข้ าดความคล่องตวั ในการบรหิ ารงาน
➢ การพัฒนาบางด้านตอ้ งเป็นไปตามกฎหมาย จึงไมส่ ามารถดำเนนิ การแก้ปัญหาได้ ต้องอาศยั ความ

เสียสละของชุมชนเท่านั้น ซึง่ บางคร้ังก็ทำได้ยาก

24

๓.๒ การประเมนิ สถานการณ์สภาพแวดล้อมภายนอกที่เกยี่ วข้อง
ในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นของเทศบาลนั้น ได้ทำการประเมนิ สถานการณ์สภาพแวดล้อมภายนอกท่ี

เกย่ี วขอ้ ง ซงึ่ มรี ายละเอียดดังนี้

1.ดา้ นโครงสรา้ งพน้ื ฐาน
1.1 ประชาชนต้องการเสน้ ทางในการสญั จรไปมาเพิ่มมากขึ้น
1.2 ไฟฟ้าส่องสว่างทางและท่ีสาธารณะยงั ไม่สามารถดำเนนิ การครอบคลมุ พ้นื ท่ไี ด้ทง้ั หมด
1.3 รางระบายนำ้ ยังไม่เพียงพอ เกดิ การอุดตนั ทำให้มีน้ำขงั เปน็ บางจดุ
1.4 แหลง่ นำ้ ในการเกษตรไมพ่ อเพียงในช่วงฤดแู ลง้ และนำ้ ประปาสำหรับอปุ โภค-บริโภคและยังไมไ่ ด้

มาตรฐาน
2. เพอื่ พัฒนาการบรหิ ารทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม
2.1 ปญั หาเรอ่ื งการบริหารจัดการขยะในชุมชน
2.2 ประชาชนขาดจติ สำนึกในการการอนุรักษท์ รพั ยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดลอ้ ม

3. เพื่อพัฒนาเศรษฐกจิ และการท่องเที่ยว
3.1 ประชาชนไม่สามารถรวมกลุ่มกันเพื่อดำเนินการด้านเศรษฐกิจของชุมชนในรูปของกลุ่มอาชีพ

อย่างเข้มแข็งและขาดแหลง่ เงนิ ลงทนุ ในการทำกจิ การและประกอบอาชีพ
3.2 ผลผลติ ทางการเกษตรราคาตกตำ่ เนื่องจากตอ้ งผ่านพอ่ คา้ แมค่ า้ คนกลาง

4. เพื่อพัฒนาคนและสังคมใหม้ คี ุณภาพ
4.1 การศึกษาสื่อการเรียนการสอนยงั ไมพ่ อเพียง เดก็ นักเรียนไม่ได้รับการศึกษาต่อในระดบั ท่สี ูงกว่า

ขั้นพืน้ ฐาน และขาดงบประมาณในการศกึ ษา ครอบครัวยากจน
4.2 เยาวชนและวยั รุ่นตดิ เกมส์ บุหร่ี เหล้า ยาเสพติด และทอ้ งก่อนวยั อันสมควร
4.3 ประชาชนไม่ค่อยใหค้ วามสำคัญกบั การออกกำลังกายและการดูแลสุขภาพของตัวเอง
4.5 ศลิ ปะ วฒั นธรรม จารตี ประเพณถี ูกสังคมสมัยใหมค่ ่อยๆเปลี่ยนแปลงไปและไม่คอ่ ยมีผู้สืบ

ทอดภมู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ

5. เพอ่ื พฒั นาการเมือง การบรหิ าร
5.1 ขาดแคลนบุคลากรในการปฏิบัตงิ านตามตำแหน่ง
5.2 ขาดอุปกรณ์เครื่องมือ เคร่ืองใชใ้ นการปฏิบตั ิงาน
5.3 ประชาชนไมค่ ่อยใหค้ วามสำคญั กบั การมสี ่วนร่วมในการแสดงความคดิ เห็น

25

สว่ นที่ 3
กากรานรนำำแแผผนนพพัฒัฒนนาาททอ้้องงถถิน่ ่นิ ไไปปสสู่ก่กู าารปรปฏิบฏตัิบิ ัติ

๑. ยุทธศาสตร์การพฒั นาและแผนงาน

ท่ี ยทุ ธศาสตร์ ดา้ น แผนงาน หนว่ ยงาน หนว่ ยงาน
รับผิดชอบหลัก สนบั สนุน

1 ยุทธศาสตร์ด้านโครงสรา้ งพ้ืนฐาน ดา้ นการเศรษฐกิจ แผนงานอตุ สาหกรรม กองช่าง
และการโยธา
ด้านการเศรษฐกิจ กองชา่ ง
แผนงานการเกษตร กองสาธารณสุขฯ
2 ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการบริหาร ดา้ นการเศรษฐกิจ
แผนงานการเกษตร สำนกั ปลดั เทศบาล
ทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอ้ ม
แผนงานบรหิ ารงาน กองสาธารณสขุ ฯ
3 ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ ดา้ นบริหารงานทั่วไป ท่วั ไป สำนักปลดั เทศบาล
และการท่องเที่ยว แผนงานสาธารณสุข
สำนกั ปลดั เทศบาล
ดา้ นบริการชมุ ชนและสงั คม แผนงานการศาสนา
วัฒนธรรมและ กองการศึกษา
ด้านบริการชุมชนและสังคม นันทนาการ กองสาธารณสุขฯ
แผนงานบริหารงาน สำนักปลดั เทศบาล
4 ยทุ ธศาสตร์ด้านการพัฒนาคุณภาพ ดา้ นบรหิ ารงานทว่ั ไป ท่ัวไป เทศบาลตำบลลาน ัสก
และสังคมทีม่ คี ณุ ภาพ แผนงานการศกึ ษา กองชา่ ง
ด้านบรกิ ารชุมชนและสงั คม แผนงานสาธารณสุข สำนักปลดั เทศบาล
ด้านบริการชุมชนและสังคม แผนงานสังคม
ด้านบรกิ ารชมุ ชนและสงั คม สงเคราะห์ กองการศกึ ษา
แผนงานเคหะละชุมชน
ด้านบริการชุมชนและสงั คม แผนงานสร้างความ กองสาธารณสุขฯ
ด้านบริการชมุ ชนและสังคม เข้มแข็งของชมุ ชน สำนกั ปลดั เทศบาล
กองคลัง
ด้านบรกิ ารชมุ ชนและสงั คม แผนงานการศาสนา สำนกั ปลดั เทศบาล
วฒั นธรรมและ
การดำเนนิ งานอ่นื นนั ทนาการ กองช่าง
แผนงานงบกลาง
5 ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการพฒั นาการเมอื ง ดา้ นบรหิ ารงานทว่ั ไป แผนงานบริหารงาน 5 สว่ นราชการ
และ การบรหิ าร ทวั่ ไป
แผนงานการรักษาความ
ดา้ นบรหิ ารงานทว่ั ไป สงบภายใน
แผนงานอุตสาหกรรม
ดา้ นการเศรษฐกิจ และการโยธา
11 แผนงาน
รวม 5 ยทุ ธศาสตร์ 4 ดา้ น

2. บัญชีโครงการพัฒนาท้องถิ่น บัญชีสรุปโ

ยทุ ธศาสตร์ แผนพัฒนาท้องถ่นิ (

ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 การพัฒนาโครงสร้างพนื้ ฐาน เทศบาลตาบลลานสัก อา
1.1 แผนงานอุตสาหกรรมและการโยธา
1.2 แผนงานการเกษตร ปี 2566 ปี 2567
จานวน งบประมาณ
รวม โครงการ (บาท) จานวน งบประมาณ
ยุทธศาสตร์ท่ี 2 การบริหารทรัพยากรธรรมชาติ
และส่ิงแวดลอ้ ม โครงการ (บาท)

2.1 แผนงานการเกษตร 9 3,370,000 9 3,370,000
รวม
1 200,000 1 200,000
ยุทธศาสตร์ท่ี 3 การพัฒนาเศรษฐกจิ และการท่องเที่ยว
3.1 แผนงานบรหิ ารงานทั่วไป 10 3,570,000 10 3,570,000
3.2 แผนงานสาธารณสขุ
3.3 แผนงานการศาสนา วฒั นธรรมและนันทนาการ 3 100,000 3 100,000
รวม 3 100,000 3
100,000
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาคนและสงั คมท่ีมีคณุ ภาพ 1 100,000 1
4.1 แผนงานบรหิ ารงานท่ัวไป 1 20,000 1 100,000
4.2 แผนงานการศึกษา 1 80,000 1 20,000
4.3 แผนงานสาธารณสขุ 3 200,000 3 80,000
4.4 แผนงานสงั คมสงเคราะห์ 200,000
4.5 แผนงานเคหะและชุมชน 5 760,000 5
4.6 แผนงานสรา้ งความเขม้ แข็งของชุมชน 18 7,230,000 18 760,000
4.7 แผนงานการศาสนา วฒั นธรรมและนันทนาการ 9 300,000 9 7,230,000
4.8 แผนงานงบกลาง 1 200,000 1 300,000
รวม 3 2,200,000 3 200,000
12 1,270,000 12 2,200,000
ยุทธศาสตร์ท่ี 5 การพัฒนาการเมืองการบริหาร 9 695,000 9 1,270,000
5.1 แผนงานบรหิ ารงานท่ัวไป 1 200,000 1 695,000
5.2 แผนงานการรักษาความสงบภายใน 58 12,855,000 58 200,000
5.3 แผนงานอุตสาหกรรมและการโยธา 12,855,000
รวม 7 6,281,600 7
รวมท้ังส้ิน 14 2,029,000 14 6,281,600
2 800,000 2 2,029,000
23 9,110,600 23 800,000
97 25,835,600 97 9,110,600
25,835,600

แบบ ผ.01

โครงการพัฒนา ปี 2569 ปี 2570 รวม 5 ปี
( พ.ศ. 2566 - 2570 ) จานวน งบประมาณ จานวน งบประมาณ
าเภอลานสัก จงั หวดั อทุ ัยธานี โครงการ (บาท) โครงการ (บาท) จานวน งบประมาณ

ปี 2568 โครงการ (บาท)
จานวน งบประมาณ
โครงการ (บาท)

9 3,370,000 9 3,370,000 9 3,370,000 45 16,850,000
1 200,000 1 200,000 1 200,000 5 1,000,000
10 3,570,000 10 3,570,000 10 3,570,000 50 17,850,000

3 100,000 3 100,000 3 100,000 15 500,000

3 100,000 3 100,000 3 100,000 15 500,000

1 100,000 1 100,000 1 100,000 5 500,000

1 20,000 1 20,000 1 20,000 5 100,000

1 80,000 1 80,000 1 80,000 5 400,000

3 200,000 3 200,000 3 200,000 15 1,000,000

5 760,000 5 760,000 5 760,000 25 3,800,000
18 7,230,000 18 7,230,000 18 7,230,000 90 36,150,000
9 300,000 9 300,000 9 300,000 45 1,500,000
1 200,000 1 200,000 1 200,000 5 1,000,000
3 2,200,000 3 2,200,000 3 2,200,000 15 11,000,000
12 1,270,000 12 1,270,000 12 1,270,000 60 6,350,000
9 695,000 9 695,000 9 695,000 45 3,475,000
1 200,000 1 200,000 1 200,000 5 1,000,000
58 12,855,000 58 12,855,000 58 12,855,000 290 64,275,000

7 6,281,600 7 6,281,600 7 6,281,600 35 31,408,000
14 2,029,000 14 2,029,000 14 2,029,000 70 10,145,000
2 800,000 2 800,000 2 800,000 10 4,000,000
23 9,110,600 23 9,110,600 23 9,110,600 115 45,553,000
97 25,835,600 97 25,835,600 97 25,835,600 485 129,178,000
26

2. บัญชีโครงการพัฒนาท้องถิน่

รายละเอียดโค

แผนพฒั นาท้องถ่นิ (พ.ศ

เทศบาลตาบลลานสัก อาเภ

ก. ยุทธศาสตร์จังหวัดท่ี 3 ส่งเสริมและพฒั นาคณุ ภาพชีวิต ความมั่นคง การดารงชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ

ข. ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในเขตจังหวัดที่ 1 การพฒั นาโครงสร้างพน้ื ฐาน

1. ยุทธศาสตร์การพฒั นาโครงสร้างพน้ื ฐาน

1.1 แผนงานอตุ สาหกรรมและการโยธา

เปา้ หมาย

ท่ี โครงการ วัตถปุ ระสงค์ (ผลผลิตของโครงการ) 2566

(บาท)

1 โครงการวางท่อลอดเหลี่ยม เพ่ือระบายน้าและแกไ้ ข ความกวา้ ง 1.50ม.x1.50ม. 500,000

บรเิ วณถนนซอยโรงโม่ ปัญหาน้าท่วม ผวิ จราจรกว้าง 6.00 ม.

2 โครงการก่อสร้างทางระบายน้า เพ่ือระบายน้า และแก้ไข ขดุ ลอกลา้ คลองพรอ้ มท้าแนว 400,000
พรอ้ มกันแนวคนั คลองโปร่ง ปัญหาน้าท่วม คนั ดนิ บริเวณคันคลอง
บรเิ วณชุมชน 5 ความยาว 100.00 เมตร

3 โครงการซอ่ มแซมถนน คสล. เพ่ือให้ประชาชนไดม้ ถี นน ความกว้าง 2.00 ม. 700,000
บริเวณ ร.ร นาไร่เดยี ว และ ใชใ้ นการคมนาคมไดส้ ะดวก 500,000
วดั นาไร่เดยี ว ถึง บ้านนายเกลื่อน รวดเร็ว ความยาว 700.00 ม.

4 โครงการวางท่อระบายน้า คสล. เพื่อระบายน้าและแกไ้ ข ความหนา 0.15 ม.
บรเิ วณดา้ นทิศตะวนั ตก ปัญหาน้าท่วมขัง
ข้างส้านักงานเทศบาล หรือพืนที่ด้าเนินการไมน่ ้อยกวา่
ตา้ บลลานสกั
1,400 ตร.ม.

วางท่อระบายน้าขนาดเส้นผา่
ศูนย์กลาง 0.60 เมตร พรอ้ ม
บ่อพัก คสล. ขนาด 1.00 x
1.00 เมตร จ้านวน 31 บ่อ
พรอ้ มฝาบ่อพัก คสล.จ้านวน31
ฝา ความยาว 315.00 เมตร

(ตามแบบเทศบาลต้าบลลาน

สักกา้ หนด)

27

แบบ ผ.02

ครงการพฒั นา
ศ. 2566 - 2570 )
ภอลานสัก จังหวัดอทุ ัยธานี

งบประมาณและท่ีผา่ นมา ตวั ช้ีวดั ผลลัพธท์ ่ีคาดวา่ หนว่ ยงาน
2570 KPI จะไดร้ ับ ที่รับผดิ ชอบ
2567 2568 2569 (บาท)
500,000 รอ้ ยละ 80 ช่วยลดและแก้ไข กองช่าง
(บาท) (บาท) (บาท) ปัญหาน้าท่วม
ของพืนที่ไดร้ ับ กองชา่ ง
500,000 500,000 500,000 ความสะดวก ชว่ ยลดและแก้ไข
สบายในการ ปัญหาน้าท่วม กองชา่ ง
400,000 400,000 400,000 สัญจรไปมา
400,000 รอ้ ยละ 50 ประชาชนไดร้ ับ กองชา่ ง
700,000 700,000 700,000 ของประชาชน ความสะดวกสบาย
มที างระบายน้า ในการสัญจรไปมา
500,000 500,000 500,000 ป้องกันปัญหา และลดการเกิด
น้าท่วม อบุ ัตเิ หตุ
700,000 ร้อยละ 80 ช่วยลดและแกไ้ ข
ของพืนที่ไดร้ บั ปัญหาน้าท่วม
ความสะดวก
สบายในการ
สญั จรไปมา

500,000 ร้อยละ 50

ของประชาชน

มีทางระบายน้า
ป้องกนั ปัญหา

น้าท่วม

7

2. บัญชีโครงการพฒั นาท้องถน่ิ

รายละเอียดโค

แผนพฒั นาท้องถ่นิ (พ.ศ

เทศบาลตาบลลานสัก อาเภ

ก. ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 3 ส่งเสริมและพัฒนาคณุ ภาพชีวิต ความมั่นคง การดารงชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ

ข. ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ ในเขตจังหวัดท่ี 1 การพฒั นาโครงสร้างพื้นฐาน

1. ยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพน้ื ฐาน

1.1 แผนงานอุตสาหกรรมและการโยธา

เปา้ หมาย

ที่ โครงการ วัตถปุ ระสงค์ (ผลผลิตของโครงการ) 2566

(บาท)

5 โครงการก่อสรา้ งรางระบายน้า เพื่อแก้ไขปัญหาน้าท่วม ก่อสรา้ งรางระบายน้า คสล. 170,000

จากครวั น้าขาว - ลงคลอง ขนาดความกว้าง 0.50 ม.

หน้าวัดลานสกั ความลกึ เฉลย่ี 0.50-1.00 ม.

ความยาว 170.00 ม.

พรอ้ มฝาราง คสล. ความกว้าง

0.40 ม. ความหนา 0.15 ม.

จ้านวน 425 ฝา หรอื คิดเป็น

พืนท่ีด้าเนินการไม่น้อยกว่า 85.00 ตร.ม.

(ตามแบบที่เทศบาลตา้ บลลานสกั ก้าหนด)

6 โครงการก่อสร้างคนั กันน้า เพื่อให้ประชาชนมีน้าใช้ จ้านวน 1 โครงการ 200,000

คลองทับเสลาบริเวณหลงั หุ่นสัตว์ เพียงพอ ความยาว 300 เมตร

ความสูง 3.00 เมตร

7 โครงการเช่ือมต่อระบบประปา เพ่ือให้ประชาชนมีน้าใช้ วางท่อ PVC เสน้ ผ่าศนู ย์กลาง 300,000
กับ อบต.ลานสกั บรเิ วณซอย เพียงพอ 3 นิว 13.5 ชัน ความยาวรวม
โรงโม่ ชุมชน 5 บ้านพุหล่ม 1,200 เมตร

8 โครงการขยายถนนบริเวณโรงสี เพ่ือให้ประชาชนมีถนนใช้ เทคอนกรีต ความกว้าง 0.50 100,000
บ้านใหม่ ในการคมนาคม เมตร ความยาว 275.00 เมตร
ความหนา 0.15 เมตร หรอื มี
พืนที่ดา้ เนินการไม่น้อยกว่า
137.50 ตร.ม.(ตามแบบ
เทศบาลตา้ บลลานสักก้าหนด)

28

แบบ ผ.02

ครงการพัฒนา
ศ. 2566 - 2570 )
ภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี

งบประมาณและท่ีผา่ นมา 2569 ตวั ช้ีวัด ผลลัพธท์ ี่คาดว่า หนว่ ยงาน
2567 2568 (บาท) 2570 KPI จะไดร้ ับ ท่ีรับผดิ ชอบ
(บาท) (บาท) (บาท)
170,000 ลดปัญหาการเกิดน้า กองช่าง
170,000 170,000 170,000 รอ้ ยละ 70 ท่วมขัง
ของประชาชน
ที่ไดร้ ับความ
สะดวก

200,000 200,000 200,000 200,000 จ้านวน ประชาชนมีน้าไว้ใช้ กองช่าง
300,000 300,000 300,000 ครัวเรอื นมีน้า อย่างเพียงพอ กองช่าง
100,000 100,000 100,000 ใช้อย่าง กองช่าง
เพียงพอ ประชาชนมีน้าไว้ใช้
อย่างเพียงพอ
300,000 จ้านวน
ครวั เรือนมีน้า ประชาชนไดร้ ับความ
ใช้อย่าง สะดวกในการเดนิ ทาง
เพียงพอ

100,000 รอ้ ยละ 60
ประชาชน ได้รับ
ประโยชน์

8

2. บัญชีโครงการพฒั นาท้องถ่ิน

รายละเอียดโค

แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ

เทศบาลตาบลลานสัก อาเภ

ก. ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 3 ส่งเสริมและพฒั นาคุณภาพชีวิต ความม่ันคง การดารงชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ

ข. ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ ในเขตจังหวัดท่ี 1 การพฒั นาโครงสร้างพ้ืนฐาน

1. ยุทธศาสตร์การพฒั นาโครงสร้างพนื้ ฐาน

1.1 แผนงานอุตสาหกรรมและการโยธา

เปา้ หมาย

ที่ โครงการ วตั ถปุ ระสงค์ (ผลผลิตของโครงการ) 2566

(บาท)

9 โครงการปรับปรุงผวิ ถนนบรเิ วณ เพื่อให้ประชาชนมีถนนใช้ เทคอนกรีต ความหนา 0.15 500,000

ทางเข้าโรงเรยี นอนุบาลลานสกั ในการคมนาคม เมตรหรอื มีพืนที่ดา้ เนินการไม่

ผา่ นชุมชนบ้านเก่าพัฒนาถึง น้อยกว่า3,200.00 ตร.ม.

ทางเข้ารีสอร์แสนสขุ (ตามแบบเทศบาลต้าบลลานสัก

ก้าหนด)

รวม 9 3,370,000

29

แบบ ผ.02

ครงการพฒั นา
ศ. 2566 - 2570 )
ภอลานสัก จังหวัดอทุ ัยธานี

งบประมาณและที่ผา่ นมา 2570 ตวั ช้ีวัด ผลลพั ธ์ท่ีคาดวา่ หนว่ ยงาน
2567 2568 2569 (บาท) KPI จะไดร้ ับ ท่ีรับผดิ ชอบ
(บาท) (บาท) (บาท)
500,000 รอ้ ยละ 60 ของ ประชาชนไดร้ ับความ กองช่าง
500,000 500,000 500,000 ประชาชนที่ใช้ สะดวกในการเดินทาง
ถนนสัญจรไปมา

3,370,000 3,370,000 3,370,000 3,370,000

9

2. บญั ชีโครงการพัฒนาท้องถนิ่

รายละเอียดโค

แผนพฒั นาท้องถิ่น (พ.ศ

เทศบาลตาบลลานสัก อาเภ

ก. ยุทธศาสตร์จังหวัดท่ี 3 ส่งเสริมและพฒั นาคุณภาพชีวิต ความมั่นคง การดารงชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ

ข. ยุทธศาสตร์การพฒั นาขององค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ ในเขตจังหวัดที่ 1 การพฒั นาโครงสร้างพน้ื ฐาน

1. ยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพนื้ ฐาน

1.2 แผนงานการเกษตร

ที่ เปา้ หมาย

โครงการ วัตถุประสงค์ (ผลผลิตของโครงการ) 2566

(บาท)

1 โครงการก่อสร้างท้านบกันน้า เพื่อให้ประชาชนมีน้าใช้ เสรมิ คันดนิ ความกว้าง 3.00 200,000
บริเวณคลองบุ่งตาใจ เพียงพอ
เมตร ความยาว 300.00 เมตร

ความสงู 2.00 เมตร

รวม 1 10 200,000
รวมทั้งสิ้น 3,570,000 3

30

แบบ ผ.02

ครงการพัฒนา
ศ. 2566 - 2570 )
ภอลานสัก จังหวัดอทุ ัยธานี

งบประมาณและท่ีผ่านมา 2570 ตวั ชี้วัด ผลลัพธ์ที่คาดว่า หน่วยงาน
2567 2568 2569 (บาท) KPI จะไดร้ ับ ที่รับผดิ ชอบ
(บาท) (บาท) (บาท) 200,000
200,000 200,000 200,000 จ้านวนครัวเรอื น ประชาชนมีน้าไว้ใช้ กองช่าง
มีน้าใช้อย่าง อย่างเพียงพอ
เพียงพอ

200,000 200,000 200,000 200,000
3,570,000 3,570,000 3,570,000 3,570,000

0

2. บัญชีโครงการพัฒนาท้องถ่ิน

รายละเอียดโค

แผนพฒั นาท้องถิ่น ( พ
เทศบาลตาบลลานสัก อาเภ

ก. ยุทธศาสตร์จังหวัดท่ี 4 ส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมอย่างเป็นระบบบนพ

ข. ยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในเขตจังหวัดอุทัยธานีท่ี 2 การบริหารทรัพยากรธร

2. ยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม

2.1 แผนงานการเกษตร

ท่ี เป้าหมาย
(ผลผลิตของโครงการ)
โครงการ วัตถุประสงค์ 2566
เยาวชน/ประชาชน (บาท)
1 โครงการอบรมให้ความรู้แก่ เพือ่ ปลกู ฝงั ให้เยาวชนมี 30,000

ประชาชนด้านการอนุรักษ์ กระบวนการคิดเชิงอนุรกั ษ์ ในเขตเทศบาลตาบล
และฟืน้ ฟูทรัพยากรธรรมชาติ และเรยี นรู้แนวทางการแก้ไข ลานสกั
และสิ่งแวดลอ้ ม ปัญหาสิ่งแวดลอ้ มเพอ่ื การ
พัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน

2 โครงการรักษ์นา รักป่า เพื่อรณรงค์สร้างจิตสานึกให้ คณะผู้บรหิ าร สมาชิกสภา 20,000
รกั ษาแผน่ ดนิ
กับผู้รว่ มกิจกรรม เจ้าหน้าทีแ่ ละประชาชน

ทั่วไป

3 โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช เพอ่ื สนองพระราชดาริและ คณะผู้บรหิ าร สมาชิกสภา 50,000

อันเน่ืองมาจากพระราชดาริ สืบสานพระราชปณิธาน เจ้าหน้าท่แี ละประชาชน

สมเดจ็ พระกนิษฐาธิราชเจ้า สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า ทวั่ ไป

กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราช

สยามบรมราชกุมารี สุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

รวม 3 100,000 1
3

แบบ ผ.02

ครงการพฒั นา
พ.ศ. 2566 - 2570 )
ภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี

พื้นฐานการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน

รรมชาติและส่ิงแวดล้อม

งบประมาณและทผ่ี ่านมา ตัวชี้วัด ผลลัพธท์ ค่ี าดว่า หน่วยงาน
2567 2568 2569
(บาท) (บาท) (บาท) 2570 KPI จะได้รับ ท่ีรับผิดชอบ
30,000 30,000 30,000
(บาท)

30,000 ร้อยละ 70 ของ เยาวชน/ประชาชน กอง

ผู้เข้าอบรมรู้และ ใช้ความรู้ท่ีอบรมมา สาธารณสุข

เข้าใจการอนุรักษ์ ไปสรา้ งสิ่งทีด่ ีและเป็น และสงิ่ แวดล้อม

และฟนื้ ฟูทรพั ยากร ประโยชน์ตอ่ สงั คมได้

ธรรมชาติฯ

20,000 20,000 20,000 20,000 รอ้ ยละ 80 ของ ประชาชนเห็นความ กอง
ประชาชนได้รับ
ประโยชน์ สาคัญของการอนุรักษ์ สาธารณสุข

ทรัพยากรป่าไม้ และสงิ่ แวดล้อม

50,000 50,000 50,000 50,000 ร้อยละ 80 ของ ประชาชนเห็นความ กอง
ประชาชนไดร้ ับ
ประโยชน์ สาคัญของการอนุรักษ์ สาธารณสุข

พันธุกรรมพืชตามแนว และสงิ่ แวดล้อม

พระราชดาริ

100,000 100,000 100,000 100,000
31

2. บัญชีโครงการพฒั นาทอ้ งถน่ิ

รายละเอียดโค

แผนพฒั นาทอ้ งถ่ิน ( พ

เทศบาลตาบลลานสัก อาเภ

ก. ยุทธศาสตร์จังหวัดท่ี 3 ส่งเสริมและพฒั นาคุณภาพชีวิต ความม่ันคง การดารงชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ

ข. ยุทธศาสตร์การพฒั นาขององค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ ในเขตจังหวัดอุทยั ธานที ่ี 3 การพฒั นาเศรษฐกิจและการ

3. ยุทธศาสตร์การพฒั นาเศรษฐกิจและการทอ่ งเที่ยว
3.1 แผนงานบริหารงานท่ัวไป

ที่ โครงการ วัตถุประสงค์ เปา้ หมาย 2566
(ผลผลิตของโครงการ) (บาท)

1 โครงการอันเนื่องมาจาก เพื่อส่งเสริมการดาเนินการ ประชาชนในเขตเทศบาล 100,000
พระราชดาริฯ ตามโครงการอันเนื่องมาจาก ตาบลลานสัก

พระราชดาริ

รวม 1 100,000
32

แบบ ผ.02

ครงการพฒั นา
พ.ศ. 2566 - 2570 )
ภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี

จพอเพยี ง

รท่องเท่ียว

งบประมาณและที่ผ่านมา ตัวช้วี ัด ผลลัพธ์ท่ีคาดว่า หนว่ ยงาน
2567 2568 2569 ที่รับผิดชอบ
(บาท) (บาท) (บาท) 2570 KPI จะได้รับ
สานักปลัด
100,000 100,000 100,000 (บาท) เทศบาล

100,000 ร้อยละ 70 เกิดความรู้ ความเข้าใจ

ประชาชนได้รบั และน้อมนาโครงการ

ความรแู้ ละ ตามโครงการอันเน่ือง

ความเข้าใจ มาจากพระราชดาริไป

มากขนึ้ ใช้ในการดาเนินชีวิต

100,000 100,000 100,000 100,000
2

2. บัญชีโครงการพฒั นาท้องถ่นิ

รายละเอียดโค

แผนพฒั นาทอ้ งถิ่น ( พ

เทศบาลตาบลลานสัก อาเภ

ก. ยุทธศาสตร์จังหวัดท่ี 3 ส่งเสริมและพฒั นาคุณภาพชีวิต ความม่ันคง การดารงชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ

ข. ยุทธศาสตร์การพฒั นาขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ ในเขตจังหวัดอุทัยธานที ี่ 3 การพฒั นาเศรษฐกิจและการ

3. ยุทธศาสตร์การพฒั นาเศรษฐกิจและการทอ่ งเที่ยว

3.2 แผนงานสาธารณสุข

ท่ี โครงการ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย 2566
(ผลผลิตของโครงการ)

(บาท)

1 โครงการส่งเสริมพฒั นางานด้าน เพ่ือส่งเสริมความรดู้ ้าน จัดการประกวด ร้านค้า 20,000

สุขาภบิ าลอาหาร สุขาภิบาลอาหาร โดยการสุม่ ตรวจ

รวม 1 20,000
33

แบบ ผ.02

ครงการพฒั นา
พ.ศ. 2566 - 2570 )
ภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี

จพอเพยี ง

รท่องเท่ียว

งบประมาณและท่ีผ่านมา ตัวชว้ี ัด ผลลัพธ์ที่คาดว่า หนว่ ยงาน
2567 2568 2569 2570 KPI
(บาท) (บาท) (บาท) (บาท) จะได้รับ ที่รับผิดชอบ
20,000 20,000 20,000 20,000 ร้อยละ 60
ประชาชนตนื่ ตัว กอง
ของร้านค้า
ท่ีเข้าร่วม มีความรใู้ นเรอื่ งความ สาธารณสุข
กิจกรรม สะอาดและปลอดภยั และส่ิงแวดล้อม

20,000 20,000 20,000 20,000
3

2. บัญชีโครงการพฒั นาทอ้ งถ่ิน

รายละเอียดโค

แผนพฒั นาท้องถ่นิ ( พ

เทศบาลตาบลลานสัก อาเภ

ก. ยุทธศาสตร์จังหวัดที่ 3 ส่งเสริมและพฒั นาคุณภาพชีวิต ความมั่นคง การดารงชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ

ข. ยุทธศาสตร์การพฒั นาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัดอุทัยธานที ่ี 3 การพฒั นาเศรษฐกิจและการ

3. ยุทธศาสตร์การพฒั นาเศรษฐกิจและการทอ่ งเที่ยว

3.3 แผนงานการศาสนา วัฒนธรรมและนนั ทนาการ

ท่ี โครงการ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย 2566
(ผลผลิตของโครงการ)

(บาท)
1 โครงการส่งเสริมและกระต้นุ การ เพ่ือส่งเสรมิ และกระตุ้นการ แหล่งทอ่ งเท่ียวและเศรษฐกิจ 80,000

ทอ่ งเท่ียวในเขตเทศบาลตาบล ท่องเที่ยวในเขตเทศบาล ในเขตเทศบาลตาบลลานสัก
ลานสัก ตาบลลานสัก

รวม 1 3 80,000

รวมท้ังสิ้น 200,000
34

แบบ ผ.02

ครงการพฒั นา
พ.ศ. 2566 - 2570 )
ภอลานสัก จังหวัดอุทยั ธานี

จพอเพยี ง

รท่องเท่ียว

งบประมาณและท่ีผ่านมา ตัวชีว้ ัด ผลลัพธ์ที่คาดว่า หนว่ ยงาน
2567 2568 2569
(บาท) (บาท) (บาท) 2570 KPI จะได้รับ ที่รับผิดชอบ
80,000 80,000 80,000
(บาท)

80,000 ร้อยละ 80 แหล่งทอ่ งเท่ียวในเขต สานัก

ของประชาชน เทศบาลตาบลลานสัก ปลัดเทศบาล

รบั รแู้ หล่ง เป็นที่รจู้ ักของบคุ คลทั่วไป

ท่องเท่ียวใน

เขตเทศบาล

ตาบลลานสัก

80,000 80,000 80,000 80,000

200,000 200,000 200,000 200,000
4

2. บญั ชีโครงการพฒั นาทอ้ งถ่ิน

รายละเอียดโค
แผนพฒั นาทอ้ งถ่ิน ( พ
เทศบาลตาบลลานสัก อาเภ

ก. ยุทธศาสตร์จงั หวัดท่ี 3 ส่งเสริมการและพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ความมั่นคง การดารงชวี ิตตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พ

ข. ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นในเขตจังหวัดอทุ ยั ธานที ่ี 4 การพฒั นาคนและสงั คมใหม้ ีคณุ ภา

4. ยุทธศาสตร์การพฒั นาคนและสังคมที่มีคณุ ภาพ

4.1 แผนงานบริหารงานทั่วไป วตั ถปุ ระสงค์ เปา้ หมาย 2566
ท่ี โครงการ (ผลผลติ ของโครงการ) (บาท)
100,000
1 โครงการเทศบาลพบประชาชน เพื่อรับทราบปัญหา/รับฟัง คณะผู้บริหาร สมาชกิ สภา
ข้อเสนอแนะและเปิดโอกาส เทศบาล พนกั งานเทศบาล
ใหป้ ระชาชนไดแ้ สดงความ ลกู จ้างประจา พนกั งานจา้ ง
คดิ เห็น ตลอดจนการมสี ว่ นร่วม และประชาชนในเขต

เทศบาลตาบลลานสกั

2 โครงการสง่ เสริมความรู้ดา้ นสทิ ธิ เพ่ือสง่ เสริมความรู้ ในดา้ น คณะผู้บริหาร สมาชกิ สภา 30,000
หนา้ ที่พลเมือง ความมีวินัย สทิ ธิพลเมือง ความมีวินัย เทศบาล พนกั งานเทศบาล
คา่ นยิ มประชาธิปไตย และความ คา่ นิยมประชาธิปไตย และมี ลกู จ้างประจา พนักงานจ้าง
เป็นเจา้ ของท้องถิ่น ความรัก หวงแหนบา้ นเกดิ และประชาชนในเขต
เทศบาลตาบลลานสกั

3 โครงการจัดงานพระราชพิธี จัดกจิ กรรมเพื่อแสดงออก ขา้ ราชการ นักเรียน พ่อคา้ 600,000
รัฐพธิ ี และวันสาคญั ของชาติ ถึงความจงรักภกั ดี ประชาชนชาวอาเภอลานสกั 35
ตอ่ สถาบัน ชาติ ศาสนา
และพระมหากษัตริย์

แบบ ผ.02

ครงการพฒั นา
พ.ศ. 2566 - 2570 )
ภอลานสกั จังหวัดอทุ ยั ธานี

พอเพยี ง

าพ

งบประมาณและท่ีผา่ นมา ตวั ชี้วัด ผลลพั ธท์ ่ีคาดวา่ หน่วยงาน
2567 2568 2569
(บาท) (บาท) (บาท) 2570 KPI จะไดร้ ับ ท่ีรับผิดชอบ
100,000 100,000 100,000
(บาท)

100,000 ร้อยละ 80 ประชาชนมสี ว่ นร่วม สำนัก
ปลดั เทศบำล
ของ ในการกาหนด

กลุ่มเป้าหมาย นโยบายท้องถ่ินและ

ไดเ้ สนอแนะ รับทราบผลการ

ร่วมแสดง ดาเนนิ งานตา่ ง ๆ ใน

ความคดิ เห็น รอบปีท่ีผา่ นมา

30,000 30,000 30,000 30,000 ร้อยละ 80 กลุ่มเปา้ หมายรู้สทิ ธิ สำนัก
ของ หน้าที่พลเมือง ปลดั เทศบำล

กลุ่มเปา้ หมาย ความมวี ินัย คา่ นิยม
มีความรู้เพ่ิมขึ้น ประชาธิปไตย และ

มีความรักหวงแหน
บ้านเกิด

600,000 600,000 600,000 600,000 จานวนผู้เขา้ ประชาชนมคี วาม สำนัก
5 ร่วมกจิ กรรม จงรักภกั ดตี อ่ สถาบนั ปลดั เทศบำล
ชาติ ศาสนา และ
พระมหากษัตริย์

2. บญั ชโี ครงการพฒั นาทอ้ งถิ่น

รายละเอยี ดโค
แผนพฒั นาทอ้ งถิ่น ( พ
เทศบาลตาบลลานสกั อาเภ

ก. ยทุ ธศาสตร์จังหวดั ที่ 3 สง่ เสริมการและพฒั นาคณุ ภาพชีวิต ความม่ันคง การดารงชวี ติ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พ

ข. ยุทธศาสตร์การพฒั นาขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่นในเขตจังหวดั อทุ ยั ธานที ่ี 4 การพฒั นาคนและสงั คมใหม้ คี ณุ ภา

4. ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาคนและสงั คมที่มีคณุ ภาพ

4.1 แผนงานบริหารงานท่ัวไป วัตถปุ ระสงค์ เปา้ หมาย 2566
ท่ี โครงการ (ผลผลิตของโครงการ) (บาท)
20,000
4 โครงการสง่ เสริมคณุ ธรรม เพื่อสง่ เสริมคณุ ธรรม คณะผู้บริหาร สมาชกิ สภา
จริยธรรมและศลี ธรรม จริยธรรมและศลิ ธรรม เทศบาล พนกั งานเทศบาล
ของประชาชนใหอ้ ยู่ร่วมกนั พนกั งานครู ลกู จ้างประจา
อย่างมคี วามสขุ พนกั งานจา้ งและประชาชน
ในเขตเทศบาลตาบลลานสกั

5 อุดหนุนกิจการสาธารณกุศล เพื่อสนับสนนุ กิจการของ เพ่ือชว่ ยเหลอื ผู้ปว่ ย ผู้พิการ 10,000
ก่ิงกาชาดอาเภอลานสกั กิ่งกาชาดอาเภอลานสกั ผู้สงู อายุ ผู้ยากไร้ และ
จังหวัดอทุ ยั ธานี ให้เปน็ ไปตามภารกิจ ผู้ประสบภยั พิบตั ติ า่ งๆใน
พ้ืนท่ี

รวม 5 760,000
36


Click to View FlipBook Version