The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน เทศบาลตำบลลานสัก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by เทศบาลตำบลลานสัก, 2022-08-25 00:00:40

แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับทบทวน พ.ศ. 2565

เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน เทศบาลตำบลลานสัก

แผนพัฒนาท้องถิ่น
ฉบพับ.ศท.บ๒ท๕ว๖น๖
พ-.ศ๒. ๕๒๗๕๐๖๕

เทศบาลตำบลลานสัก
อำเภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี





คำนำ

เนื่องด้วยพระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กร
ปกครองส่วนท้องถ่ิน พ.ศ. ๒๕๔๒ หมวด ๒ มาตรา ๑๖ (๑) ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการ
จัดทาแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน พ.ศ. ๒๕๔๘ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับท่ี ๓)
พ.ศ. ๒๕๖๑ ไดก้ าหนดให้องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นมีอานาจและหน้าท่ีในการจัดทาแผนพัฒนาท้องถ่ิน
เพ่ือใช้เปน็ กรอบในการจดั ทางบประมาณรายจ่ายประจาปี งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม และงบประมาณ
จากเงนิ สะสม นั้น

ดงั นน้ั เพื่อให้การดาเนินการให้เป็นไปตามกฎหมายดังกล่าว และตามหนังสือด่วนท่ีสุด
ท่ี มท 0810.3/ว 7467 ลงวันที่ 14 ธันวาคม 2563 เร่ือง แนวทางการจัดทาแผนพัฒนาขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถน่ิ (พ.ศ.2566 – 2570) ฉบับทบทวน พ.ศ. 2565 ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
และเพ่ือให้แผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีความสอดคล้องและเช่ือมโยงกับแผน
จังหวัด แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด รวมทั้งแผนปฏิบัติราชการประจาปีจังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจาปี
กลมุ่ จงั หวดั ตลอดจนสามารถบูรณาการแผนงาน/โครงงาน/กิจกรรม และงบประมาณในพื้นท่ีได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ เทศบาลตาบลลานสัก จึงดาเนินการจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. ๒๕66 – ๒๕70)
ฉบับทบทวน พ.ศ. 2565 ขน้ึ เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการบริหารพัฒนาท้องถ่ินให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
และเปา้ หมาย กอ่ ใหเ้ กิดประโยชนแ์ ละสามารถตอบสนองความตอ้ งการพัฒนาในด้านต่างๆของประชาชน
ในเขตเทศบาลตาบลลานสกั ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

เทศบาลตาบลลานสัก
กรกฎาคม ๒๕๖๕



สำรบัญ

เรอื่ ง หนำ้

ส่วนที่ ๑ สภำพทว่ั ไปและขอ้ มลู พนื้ ฐำน ๑–8

สว่ นท่ี ๒ ยทุ ธศำสตรก์ ำรพฒั นำองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ 9 – 25

ส่วนที่ ๓ กำรนำแผนพัฒนำทอ้ งถ่ินไปส่กู ำรปฏบิ ตั ิ 26

- บัญชีสรปุ โครงกำรพัฒนำ (แบบ ผ. ๐๑) 27

- รำยละเอียดโครงกำรพฒั นำ (แบบ ผ. ๐๒) 28 – 58

- บญั ชีสรุปโครงกำรพัฒนำทนี่ ำมำจำกแผนพัฒนำชุมชน (แบบ ผ. 01/1) 59

- รำยละเอยี ดโครงกำรพัฒนำท่นี ำมำจำกแผนพฒั นำชมุ ชน (แบบ ผ. ๐๒/๑)60 – 65

- รำยละเอยี ดโครงกำรพฒั นำ โครงกำรที่เกินศกั ยภำพ (แบบ ผ. 02/2) 66 - 67

- บัญชีครุภณั ฑ์ (แบบ ผ. ๐๓) 68

สว่ นที่ ๔ กำรติดตำมและประเมินผล 69 – 79

ภำคผนวก 80 - 82

***********************************

1

ส่วนที่ 1
สสภภาาพพททว่ั ไปแลละะขขอ้ ้อมมลู ูลพพน้ื น้ืฐาฐนาน

๑. ดา้ นกายภาพ

1.1 ทตี่ งั้ ของชุมชน

เทศบาลตาบลลานสัก เดิมมีฐานะเป็นสุขาภิบาลตาบลานสัก อยู่ในเขตการปกครองของอาเภอลานสัก
จดั ตงั้ ขน้ึ ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย ลงวนั ท่ี 31 ตลุ าคม 2527 ประกาศในราชกิจจานุเษกษา เล่มที่ 102
ตอนที่ 27 ลงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2528 ต่อมาได้รับการเปล่ียนแปลงฐานะของสุขาภิบาลเป็นเทศบาล
ประกาศในราชกิจจานุเษกษา ฉบับกฤษฎีกา เล่มที่ 116 ตอนท่ี 9 ก ลงวันท่ี 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2542 ซึ่ง
ปจั จุบนั แยกพนื้ ที่การดแู ลออกเปน็ 6 ชุมชน

เทศบาลตาบลลานสัก ตั้งอยู่เลขท่ี 222 หมู่ที่ 2 ตาบลลานสัก อาเภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี ต้ังอยู่
ทางทิศตะวันตกของท่ีว่าการอาเภอลานสัก ห่างจากที่ว่าการอาเภอลานสัก ประมาณ 2 กิโลเมตร อยู่ห่างจาก
ศาลากลางจังหวัดอุทัยธานีประมาณ 59 กิโลเมตร ห่างจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 285 กิโลเมตร
สามารถเดินทางตดิ ต่อได้เพยี งทางรถทางเดียว ตามเส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3438 ซึ่งเป็นทางสายหลักที่
ใช้ในการเดนิ ทางโดยมีอาณาเขตตดิ ตอ่ ดังนี้

ทศิ เหนือ ติด หมู่ที่ 2 ตาบลลานสกั
ทศิ ใต้ ติด หมูท่ ี่ 4 ตาบลลานสัก หมทู่ ี่ 1, 2 และหมูท่ ่ี 4 ตาบลปา่ ออ้

ทิศตะวันออก ติด หมทู่ ่ี 11 ตาบลประดยู่ ืน
ทศิ ตะวนั ตก ติด หมทู่ ี่ 1,9 ตาบลลานสกั

เทศบาลตาบลลานสัก มีเน้ือที่รวมท้ังหมดประมาณ 13 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 8,125 ไร่
เป็นเทศบาลตาบลขนาดเลก็ โดยมีการแยกพนื้ ที่การดแู ลออกเปน็ 6 ชุมชน ดงั นี้

ชมุ ชนที่ 1 ร่วมใจพฒั นา

ชุมชนท่ี 2 อย่ดู มี สี ขุ
ชมุ ชนท่ี 3 บา้ นเกา่ พัฒนา

ชุมชนท่ี 4 ลานสักพฒั นา
ชุมชนที่ 5 บ้านนาไร่เดยี วพัฒนา
ชุมชนท่ี 6 คลองชยั พฒั นา

2

1.2 ลกั ษณะภมู ิประเทศ

สภาพพ้ืนทีเ่ ปน็ ทีร่ าบและท่ีราบสูง ประมาณ 95% และเปน็ พนื้ ที่นา้ 5% ของพ้นื ทีเ่ ขตเทศบาล

ตาบลลานสกั ทง้ั หมด

1.3 ลกั ษณะภูมิอากาศ

ภมู อิ ากาศ มี 3 ฤดู ไดแ้ ก่

ฤดรู อ้ น เร่ิมตง้ั แต่ เดอื นมกราคม ถึง เดือนเมษายน

ฤดูฝน เริ่มต้งั แต่ เดือนพฤษภาคม ถงึ เดอื นสิงหาคม

ฤดหู นาว เรม่ิ ตั้งแต่ เดือนกันยายน ถงึ เดือนธนั วาคม

1.4 ลกั ษณะของดนิ

ลักษณะสภาพดินส่วนใหญ่ของตาบลลานสักเปน็ ดนิ ร่วนปนทราย
1.5 ลักษณะของแหล่งนา้

แหลง่ น้าในเขตเทศบาลตาบลลานสัก ประกอบด้วย

1. ลาคลอง ประกอบด้วย ลาคลองทับเสลา ลาคลองฆอ้ งชยั
2. ฝายทีส่ าคัญ ประกอบดว้ ย ฝายปากเหมือง

1.6 ลักษณะของไมแ้ ละปา่ ไม้
พนื้ ท่เี ขตเทศบาลตาบลลานสกั โดยสว่ นใหญ่เป็นป่าปลกู ข้นึ เอง ได้แก่ ไมส้ ัก ไม้ยคู า

3

2. ด้านการเมอื ง/การปกครอง

2.1 เขตการปกครอง

เทศบาลตาบลลานสกั โดยแบ่งการปกครองออกเปน็ 2 เขต จานวน 6 ชมุ ชน ประกอบดว้ ย

เขต ๑

ชุมชนที่ 2 อยู่ดีมสี ขุ นางพรรณี บญุ นาดี ประธานชุมชน

ชมุ ชนท่ี 3 บา้ นเกา่ พฒั นา น.ส.พรรษมณ ศิรโิ ยธา ประธานชุมชน

ชมุ ชนท่ี 4 ลานสักพฒั นา นายสทิ ธนิ นั ท ธรรมสถติ ย์ ประธานชมุ ชน (บางสว่ น)

ชมุ ชนที่ 5 บา้ นนาไร่เดยี วพฒั นา นายสมนึก ปานพลอย ประธานชมุ ชน (บางส่วน)

ชมุ ชนท่ี 6 คลองชยั พฒั นา นางมณฑล ใบเนียม ประธานชุมชน (บางสว่ น)

เขต ๒

ชุมชนท่ี ๑ รว่ มใจพัฒนา นางวิเชยี ร กสุ โุ มทย์ ประธานชมุ ชน

ชมุ ชนท่ี 4 ลานสักพัฒนา นายสทิ ธนิ นั ท ธรรมสถติ ย์ ประธานชมุ ชน

ชมุ ชนที่ 5 บ้านนาไร่เดยี วพัฒนา นายสมนึก ปานพลอย ประธานชมุ ชน

ชมุ ชนท่ี 6 คลองชัยพัฒนา นางมณฑล ใบเนยี ม ประธานชมุ ชน

2.2 การเลอื กตั้ง

เทศบาลตาบลลานสกั แบง่ เขตการเลือกตงั้ เป็นจานวน 2 เขต คือเขตเลือกตั้งที่ 1 จานวน 5 ชุมชน คือ

ชมุ ชนท่ี 2,3,4 (บางส่วน), 5 (บางส่วน), 6 (บางสว่ น) และเขตเลอื กตัง้ ท่ี 2 จานวน 4 ชมุ ชนที่ 1,4,5,6

3. ประชากร
3.1 ข้อมูลเก่ยี วกบั ประชากร
ประชากรในเขตเทศบาลตาบลลานสักมีจานวนทั้งสิ้น 3,520 คน แยกเป็นชายจานวน 1,737 คน

หญงิ 1,783 คน จานวนครัวเรอื นทง้ั สนิ้ 2,099 ครวั เรือน แยกเป็น

ท่ี ตา้ บล ชาย หญงิ รวม ครัวเรือน

1 ลานสกั (คน) (คน) (คน) (หลงั คนเรอื น)
2 ประดู่ยืน
1,564 1,587 3,151 2,067

105 114 219 99

รวมทงั้ สิน้ 1,669 1,701 3,370 2,166

(ข้อมูล ณ เดอื น กรกฎาคม 2565)

4

ขอ้ มลู เปรียบเทยี บย้อนหลัง 5 ปี และการคาดการณจ์ านวนประชากรในอนาคต (ปี พ.ศ. 2563)

ขอ้ มลู 5 ปี ชาย หญิง รวม

2559 1,811 1,812 3,623

ผลต่าง 59-60 -41 -2 -43

% ผลต่าง -2.26 -0.11 -1.19

2560 1,770 1,810 3,580

ผลต่าง 60-61 -15 -28 -43

% ผลต่าง -0.85 -1.55 -1.2

2561 1,755 1,782 3,537

ผลต่าง 61-62 -18 1 -17

% ผลต่าง -1.03 0.06 -0.48

2562 1,737 1,783 3,520

ผลต่าง 62-63 -48 -55 -103

% ผลต่าง -2.76 -3.08 -2.93

2563 1,689 1,728 3,417

ผลต่าง 63-64 -6 0 -6

% ผลต่าง -0.36 0.00 -0.18

2564 1,683 1,728 3,411

คาดการณ์ 2565 1,680 1,720 3,400

(ขอ้ มลู ณ เดือน กนั ยายน พ.ศ. 2564)

3.2 ช่วงอายแุ ละจา้ นวนประชากร (เฉพาะสัญชาติไทย)

กลุ่มอายุ ชาย (คน) จ้านวนประชากร รวม (คน)
หญิง (คน)

นอ้ ยกวา่ 1 ปี 13 9 22

1 – 10 ปี 165 156 321

11 – 20 ปี 215 181 396

21 – 30 ปี 224 232 456

31 – 40 ปี 247 225 472

41 – 50 ปี 266 276 542

51 – 60 ปี 269 270 539

61 – 70 ปี 179 222 401

71 – 80 ปี 74 97 171

81 – 90 ปี 24 50 74

91 – 100 ปี 7 9 16

มากกว่า 100 ปี 0 1 1

รวม 1,683 1,728 3,411

(ขอ้ มูล ณ เดือน กันยายน พ.ศ. 2564)

จานวนประชากรมแี นวโนม้ ลดลงทุกปี โดยมจี านวนมากทีส่ ุดในช่วงอายุ 41 - 50 ปี

5

4. สภาพทางสังคม

4.1 การศึกษา

- โรงเรียนระดับประถมศึกษา จานวน 3 แห่ง คือ โรงเรียนอนุบาลลานสัก โรงเรียนบ้านนาไร่เดียว

และโรงเรียนอนุบาลศรลี านสัก

- ศูนย์พฒั นาเดก็ เล็กเทศบาลตาบลลานสัก จานวน 1 ศูนย์ (4 ห้องเรยี น)

- ศนู ย์การศึกษานอกระบบตามอัธยาศยั จานวน 1 แหง่

- หอ้ งสมุดประชาชน (กศน.) จานวน 1 แห่ง

4.2 สาธารณสขุ

- โรงพยาบาลของรัฐบาล (60 เตียง) จานวน 1 แหง่

- คลินิก จานวน 3 แห่ง

- ร้านขายยา จานวน 5 แห่ง

บคุ ลากรทางการแพทย์ท่ีปฏิบตั หิ น้าทใี่ นสถานพยาบาลทุกแหง่ ทกุ สงั กดั

- แพทย์ จานวน 10 คน

- ทนั ตแพทย์ จานวน 8 คน

- เภสัชกร จานวน 7 คน

- พยาบาลวิชาชีพ จานวน 55 คน

- นกั วิชาการสาธารณสุข จานวน 10 คน

4.3 อาชญากรรม

เทศบาลตาบลานสักอยู่ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของสถานีตารวจภูธรลานสัก ประกอบกับแต่ละชุมชน

มีอาสาสมัครตารวจบ้าน ชุดรักษาความสงบหมู่บ้าน คอยเป็นกาลังสาคัญในการแจ้งเบาะแสและข้อมูลข่าวสาร

ให้กบั ทางราชการทราบอย่ตู ลอดเวลาทาใหป้ ัญหาอาชญากรรมในพน้ื ท่ีอยใู่ นระดบั นอ้ ย

4.4 ยาเสพติด

เทศบาลตาบลานสักอยู่ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของสถานีตารวจภูธรลานสัก ประกอบกับแต่ละชุมชน

มีอาสาสมัครตารวจบ้าน ชุดรักษาความสงบหมู่บ้าน คอยเป็นกาลังสาคัญในการแจ้งเบาะแสและข้อมูลข่าวสาร

ใหก้ บั ทางราชการทาให้ปญั หายาเสพตดิ ในพนื้ ที่อยู่ในระดบั น้อย

4.5 การสังคมสงเคราะห์

เทศบาลตาบลลานสักไดด้ าเนนิ การด้านสังคมสงเคราะห์ ดาเนนิ การจ่ายเบี้ยยังชพี ใหก้ ับผู้สูงอายุ ผู้พิการ

และผปู้ ว่ ยเอดส์ การช่วยเหลอื ผูป้ ระสบปญั หาทางสังคม รับลงทะเบียนและประสานโครงการเงินอุดหนุนเพ่ือการ

เล้ยี งดูเดก็ แรกเกดิ ประสานการขอทาบัตรสาหรบั ผู้พกิ าร

5. ระบบบรกิ ารพ้ืนฐาน

5.1 การคมนาคมขนสง่

การเดินทางมายังเทศบาลตาบลลานสัก สามารถเดินทางได้หลายทางทั้งจากตัวจังหวัดและผ่านอาเภอ

บ้านไร่ หากใช้เส้นทางที่ผา่ นตัวจงั หวัดจะมาได้ตามสายเอเชยี ถ้าใช้เส้นทางทีผ่ ่านอาเภอบ้านไร่แม้จะต้องแยกผ่าน

อาเภอต่าง ๆ ในหลายจงั หวัดแต่ ปรมิ าณรถนอ้ ยกวา่ สามารถเดินทางได้สะดวกและมีทวิ ทัศนท์ ี่สวยงาม

มีรายละเอยี ดของเส้นทาง เสน้ ทางในการเดินทางดังน้ี

เสน้ ทางที่ 1 ถนนสายเอเชีย – ตัวจงั หวัดอทุ ัยธานี - อาเภอลานสกั

จากกรุงเทพฯ ไปตามทางหลวงหมายเลข 1 แลว้ แยกทางหมายเลข 32 แล้วแยกเข้าซ้ายเข้าตามจังหวัด

อทุ ัยธานี ไปตามหมายเลขที่ใช้ 333 จนถึง อ.หนองฉาง จากน้ันเลี้ยวขวาตามทางหลวงหมายเลข 3438 ไปอีก

ประมาณ 29 กโิ ลเมตร จะถงึ ทีว่ า่ การอาเภอลานสัก

6
เสน้ ทางที่ 2 ผ่านจังหวดั สุพรรณบรุ ี – อาเภอดอนเจดีย์ – อาเภอด่านช้าง– อาเภอบ้านไร่ – อาเภอลานสกั

จากกรุงเทพฯ ไปตามทางหลวงหมายเลข 37 แล้วแยกเข้าทางหลวงหมายเลข 340 ผา่ นอาเภอลาดบัวหลวง
ไปตามทางไปตามอาเภอทางหลวงเข้าจังหวัดสุพรรณบุรี ถึง อาเภอศรีประจันต์ แยกเข้าไปตามทางหลวงหมายเลข
3038 ผ่านอาเภอดอนเจดีย์แล้วตรงเข้าไปตามทางหลวงหมายเลข 3264 แล้วเลี้ยวซ้ายไปตามถนนผ่านอาเภอ

ดา่ นช้าง อาเภอบา้ นไร่ และถึงอาเภอลานสกั
5.2 การไฟฟา้

มีหน่วยบริการผู้ใช้ไฟฟ้า สังกัดการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค สานักงานหน่วยบริการไฟฟ้า จานวน 1 แห่ง
ตงั้ อยู่ในชมุ ชนท่ี 1 ในเขตเทศบาลตาบลานสกั อาเภอลานสกั จงั หวัดอุทยั ธานี

5.3 การประปา

การประปาในเขตเทศบาลตาบลานสัก อยู่ในความรับผิดชอบของการประปาส่วนภูมิภาค และการประปา
หมู่บ้านท่ีคณะกรรมการชุมชนดูแลรักษา จานวน 2 แห่ง ได้แก่ ชุมชน 5,6 และเทศบาลตาบลลานสักดูแลรักษา

จานวน 3 แห่ง ได้แก่ ชมุ ชน 3, 4, และ 5
5.4 โทรศพั ท์
ในเขตเทศบาลตาบลานสัก มีการส่ือสารท่ีสาคัญ ได้แก่ ทางโทรศัพท์บ้านและโทรศัพท์เคล่ือนที่ และมี

เครือขา่ ยของโทรศพั ท์เคล่อื นท่ีท่ใี ชไ้ ด้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ได้แก่ AIS, DTAC, TRUE
5.5 ไปรษณยี ห์ รอื การส่ือสารหรือการขนส่ง และวสั ดุ ครุภัณฑ์

มีที่ทาการไปรษณยี ล์ านสกั จานวน 1 แห่ง ต้ังอยู่ในชุมชนที่ 2 ในเขตเทศบาลตาบลานสัก อาเภอลานสัก
จงั หวัดอุทัยธานี
6. ระบบเศรษฐกิจ

6.1 การเกษตร
ประชาชนในเทศบาลตาบลลานสักประมาณร้อยละ 70 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เช่น ทานา ทาไร่

โดยมพี ืชผลทางการเกษตรที่สาคญั ไดแ้ ก่ อ้อย ข้าว ข้าวโพด ซ่งึ ถือวา่ เปน็ พืชเศรษฐกิจของพนื้ ที่
6.2 การประมง
เทศบาลตาบลลานสักไม่มพี น้ื ทต่ี ดิ ทะเล และไมม่ กี ารทาประมงน้าจดื

6.3 การปศสุ ัตว์
ประชาชนในเทศบาลตาบลลานสกั ประมาณรอ้ ยละ 10 มกี ารเลย้ี งโคและกระบือ

6.4 การบรกิ าร
ประชาชนได้รบั การบริการทจ่ี าเป็นจากหน่วยงานของรัฐในเขตเทศบาลตาบลลานสกั

6.5 การทอ่ งเทย่ี ว

มีสถานทท่ี อ่ งเที่ยวในเขตเทศบาล ได้แก่ บริเวณหน้าที่ว่าการอาเภอลานสัก ซ่ึงเทศบาลได้ดาเนินการ
จัดสร้างหุ่นจาลองสัตว์ป่าเพ่ือจัดทาเป็นแหล่งท่องเท่ียวและเป็นประตูสู่มรดกโลกห้วยขาแข้ง ตลาดปากเหมือง

และสวนสขุ ภาพเทศบาลตาบลลานสัก โดยมีลานออกกาลังกาย ศาลาพักผ่อน และปลูกต้นไม้สวยงามบริเวณฝาย
ปากเหมืองลาคลองหว้ ยทบั เสลา

7
6.6 อตุ สาหกรรม

ในเขตเทศบาลตาบลลานสักมีโรงชาแหละและแปรรปู สกุ รจานวน 1 แห่ง สามารถฆ่าและชาแหละสุกร
ไดจ้ านวน 50 ตัว/วัน

6.7 การพาณชิ ยแ์ ละกลุ่มอาชีพ

การพาณชิ ย์
- สถานีบริการน้ามัน จานวน 5 แห่ง

- ศูนยก์ ารค้า/หา้ งสรรพสนิ คา้ จานวน 4 แหง่
- ธนาคารพาณชิ ย์ จานวน 1 แหง่
- ธนาคารภายใตก้ ารกากับดูแลของรัฐบาล จานวน 2 แหง่

- สหกรณ์การเกษตร จานวน 1 แหง่
- สถานท่ีรับซื้อผลผลิตทางการเกษตร จานวน ๑ แหง่

- ตลาดนดั จานวน 2 แหง่
- ตลาดสด (เอกชน) จานวน 2 แหง่
กลุ่มอาชพี

- กลุ่มแมบ่ ้านชุมชน 6
- กลมุ่ หมูเสาวรส

- กลมุ่ ผลติ ภณั ฑ์รีไซเคิล้ จากวสั ดเุ หลอื ใช้
- กลุ่มทอผ้าบา้ นเก่า
6.8 แรงงาน

ราษฎรส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 70 ประกอบอาชีพทาการเกษตรกรรม ได้แก่ ทานา ทาไร่ ทาสวน
ที่เหลอื ประกอบอาชพี ส่วนตัวและรับจ้าง

7. ศาสนา ประเพณี วฒั นธรรม
7.1 การนบั ถอื ศาสนา
ประชาชนส่วนใหญ่ในเขตเทศบาลตาบลานสัก ประมาณร้อยละ 99 นับถือศาสนาพุทธ และร้อยละ 1

นับถือศาสนาอนื่ ๆ ประชาชนส่วนใหญน่ บั ถือศาสนาพทุ ธ โดยมศี าสนสถานในเขตเทศบาลตาบลานสัก ดังนี้
- วดั จานวน 2 แห่ง ไดแ้ ก่

วัดลานสัก
วัดนาไร่เดียว
- คริสตจักร จานวน 2 แห่ง

- มัสยดิ จานวน 1 แหง่
7.2 ประเพณแี ละงานประจ้าปี

เทศบาลตาบลานสักมงี านประเพณีสาคัญ ประกอบด้วย งานทาบุญประจาปีศาลเจ้าพ่อเจ้ามาลานสัก
และการจัดงานประเพณีในวนั สาคัญตา่ งๆ ได้แก่ วนั สงกรานต์ วนั ลอยกระทง และวนั เข้าพรรษา ฯลฯ

7.3 ภูมิปญั ญาทอ้ งถ่ิน ภาษาถน่ิ

ภูมิปญั ญาทอ้ งถ่นิ ที่สาคัญในเทศบาลตาบลานสัก มีดงั นี้
1. หมอดิน 2. ครูทาบายศรี (ชุมชน1) 3. หมอสมุนไพรพนื้ บ้าน (ชุมชน 4)

8

7.4 สินค้าพนื้ เมอื งและของทร่ี ะลึก

- ผ้าทอบ้านเก่า
- หมเู สาวรส
- กลมุ่ แม่บ้านชุมชน 6

- กลุ่มผลติ ภัณฑ์รีไซเคิ้ลจากวัสดุเหลอื ใช้
8. ทรัพยากรธรรมชาติ

8.1 น้า
นา้ ที่ประชาชนในเทศบาลตาบลานสักใชส้ าหรบั การอุปโภค – บรโิ ภค และทาการเกษตร มดี ังนี้
1. ลาคลอง ประกอบด้วย ลาคลองทบั เสลา ลาคลองฆอ้ งชยั

2. ฝายทสี่ าคัญ ประกอบด้วย ฝายปากเหมือง
8.2 ป่าไม้

เทศบาลตาบลลานสักไมม่ พี ืน้ ทต่ี ิดกับป่าไม้
8.3 ภเู ขา

เทศบาลตาบลลานสกั ไม่มีพืน้ ที่ติดกบั ภูเขา

8.4 ทรัพยากรธรรมชาติทสี่ ้าคัญ
ไมส้ กั ซง่ึ ไดร้ บั การคุ้มครองและอนุรักษ์ไว้ สามารถพบเห็นไดท้ ั่วไปและเป็นเอกลักษณ์ทส่ี าคัญของ

ชาวลานสกั จงั หวดั อทุ ยั ธานี

26

สว่ นที่ 3
กากรานรนาาแแผผนนพพัฒัฒนนาาทท้อ้องงถถิน่ ่นิ ไไปปสสู่กกู่าราปรปฏิบฏตับิ ิ ตั ิ

๑. ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาและแผนงาน

ท่ี ยุทธศาสตร์ ด้าน แผนงาน หน่วยงาน หน่วยงาน
รับผิดชอบหลัก สนับสนนุ

1 ยุทธศาสตร์ด้านโครงสร้างพ้ืนฐาน ด้านการเศรษฐกจิ แผนงานอตุ สาหกรรม กองช่าง
และการโยธา

ด้านการเศรษฐกจิ แผนงานการเกษตร กองชา่ ง

2 ยทุ ธศาสตร์ด้านการบริหาร ด้านการเศรษฐกจิ แผนงานการเกษตร กองสาธารณสุขฯ

ทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อม

3 ยุทธศาสตร์ด้านการพฒั นาเศรษฐกจิ ด้านบริหารงานท่ัวไป แผนงานบริหารงาน สานกั ปลดั เทศบาล
กองสาธารณสุขฯ
และการท่องเทีย่ ว ท่วั ไป

ด้านบริการชมุ ชนและสังคม แผนงานสาธารณสุข

ด้านบริการชุมชนและสังคม แผนงานการศาสนา สานกั ปลดั เทศบาล
วัฒนธรรมและ
นันทนาการ เทศบาลตาบลลานสัก

4 ยุทธศาสตร์ด้านการพฒั นาคุณภาพ ดา้ นบรหิ ารงานทว่ั ไป แผนงานบรหิ ารงาน สานกั ปลัดเทศบาล
และสังคมที่มคี ุณภาพ ท่ัวไป

ดา้ นบรกิ ารชุมชนและสงั คม แผนงานการศึกษา กองการศกึ ษา

ด้านบรกิ ารชุมชนและสังคม แผนงานสาธารณสุข กองสาธารณสุขฯ

ด้านบริการชุมชนและสงั คม แผนงานสังคม สานกั ปลัดเทศบาล
สงเคราะห์

ด้านบริการชุมชนและสงั คม แผนงานเคหะละชุมชน กองช่าง

ด้านบรกิ ารชมุ ชนและสังคม แผนงานสร้างความ สานกั ปลดั เทศบาล

เข้มแขง็ ของชมุ ชน

ดา้ นบรกิ ารชมุ ชนและสงั คม แผนงานการศาสนา กองการศึกษา

วฒั นธรรมและ
นนั ทนาการ

การดาเนินงานอ่ืน แผนงานงบกลาง กองสาธารณสุขฯ

5 ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการพฒั นาการเมือง ด้านบริหารงานทว่ั ไป แผนงานบรหิ ารงาน สานักปลัดเทศบาล
และการบรหิ าร ทวั่ ไป กองคลงั

ดา้ นบรหิ ารงานท่ัวไป แผนงานการรักษาความ สานกั ปลัดเทศบาล
สงบภายใน

รวม 5 ยทุ ธศาสตร์ ดา้ นการเศรษฐกิจ แผนงานอตุ สาหกรรม กองช่าง
4 ด้าน และการโยธา 5 สว่ นราชการ

11 แผนงาน

9

ส่วนท่ี 2
ยุทธยศุทาธสศตาร์กสาตรรพ์อัฒงคนก์าอรงปคก์กครรปอกงคสรว่องนสท่ว้อนงทถ้อ่ินงถนิ่

๑๑.. คคววาามมสสมั มัพพันนัธร์ ธะร์ หะวห่าวงแา่ ผงแนผพนัฒพนาฒั รนะดาบัรมะดหภบั ามคหภาค

๑.๑ แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ.2561 – 2580)
วิสยั ทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งค่ัง ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลัก

ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง”หรือเปน็ คตพิ จน์ประจาชาติว่า “มนั่ คง มง่ั คง่ั ย่ังยืน”
๑. ยุทธศาสตรด์ า้ นความมนั่ คง
แนวทางดาเนินงาน
(๑) การเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักและการปกครองระบอบประชาธิปไตย

อันมพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข
(๒) การปฏริ ปู กลไกการบรหิ ารประเทศ
(3) การป้องกันและแกไ้ ขการก่อความไมส่ งบในจงั หวัดแดนภาคใต้
(4) การบรหิ ารจัดการความมัน่ คงชายแดนและชายฝง่ั ทะเล
(5) การพัฒนาระบบ กลไก มาตรการและความร่วมมือระหวา่ งประเทศทุกระดบั
(6) การพัฒนาเสริมสร้างศักยภาพการผนกึ กาลังป้องกันประเทศและกองทพั
(7) การพัฒนาระบบการเตรียมพร้อมแห่งชาติ รักษาความมั่นคงของฐาน

ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และการปกป้องรักษาผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล รวมท้ังเสริมสร้างความ
มน่ั คงทางอาหารพลงั งาน และน้า

(8) การปรับกระบวนการทางานของกลไกทีเ่ กี่ยวข้องจากแนวด่ิงสูแ่ นวระนาบมากขน้ึ

๒. ยุทธศาสตรด์ า้ นการสรา้ งความสามารถในการแข่งขัน
แนวทางดาเนินงาน

(๑) การพฒั นาสมรรถนะทางเศรษฐกจิ
(๒) การพฒั นาภาคการผลติ และบริการ ภาคเกษตร
(๓) การพฒั นาผู้ประกอบการและเศรษฐกิจชมุ ชน
(๔) การพัฒนาพื้นท่ีเศรษฐกิจพิเศษและเมือง
(๕) การลงทุนพัฒนาโครงสรา้ ง
(๖) การเชือ่ มโยงกับภมู ภิ าคและเศรษฐกจิ โลก

๓. ยุทธศาสตร์การพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพคน
แนวทางดาเนินงาน

(๑) การพฒั นาศกั ยภาพคนตลอดช่วงชวี ติ
(๒) การยกระดบั คุณภาพการศกึ ษาและการเรียนรใู้ ห้ มีคุณภาพ เท่าเทียมและท่วั ถงึ
(3) การสร้างเสรมิ ให้คนมีสขุ ภาวะท่ดี ี
(4) การสรา้ งความอยูด่ ีมสี ุขของครอบครัวไทยใหเ้ ออื้ ตอ่ การพฒั นาคน

10

ของชุมชน ๔. ยุทธศาสตร์ดา้ นการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทยี มกันทางสังคม
แนวทางดาเนินงาน
(๑) การสร้างความมั่นคงและการลดความเหลือ่ มล้าทางด้านเศรษฐกิจและสงั คม
(๒) การพฒั นาระบบบริการและระบบบริหารจดั การสุขภาพ
(๓) การสร้างสภาพแวดลอ้ มและนวตั กรรมท่ีเอื้อต่อการดา้ รงชวี ติ ในสงั คมสงู วัย
(๔) การสร้างความเข้มแข็งของสถาบนั ทางสังคมทุนทางวัฒนธรรมและความเข้มแขง็

(๕) การพัฒนาการสื่อสารมวลชนให้เป็นกลไกในการสนับสนุนการพฒั นา

๕. ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการสรา้ งการเตบิ โตบนคุณภาพชีวิตทีเ่ ป็นมิตรตอ่ ส่งิ แวดลอ้ ม
แนวทางดาเนนิ งาน
(๑) การจดั ระบบอนุรักษ์ ฟนื้ ฟูและป้องกันการทา้ ลายทรัพยากรธรรมชาติ

(๒) การวางระบบบริหารจัดการน้าให้มีประสิทธิภาพท้ัง ๒๕ ลุ่มน้า เน้นการปรับระบบ
การบริหารจดั การอทุ กภัยอย่างบรู ณาการ

(๓) การพฒั นาและใช้พลงั งานที่เปน็ มติ รกับสิ่งแวดล้อมในทุกภาคเศรษฐกิจ

(๔) การพฒั นาเมอื งอุตสาหกรรมเชิงนิเวศและเมอื งทีเ่ ปน็ มติ รกับสิ่งแวดล้อม
(๕) การรว่ มลดปญั หาโลกรอ้ นและปรับตัวใหพ้ ร้อมกบั การเปลยี่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ
(๖) การใชเ้ คร่อื งมอื ทางเศรษฐศาสตร์และนโยบายการคลงั เพือ่ ส่งิ แวดลอ้ ม

๖. ยทุ ธศาสตร์ด้านการปรบั สมดุลและพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการภาครฐั
แนวทางดาเนินงาน

(1) การปรบั ปรงุ การบริหารจัดการรายได้และรายจ่ายของภาครฐั
(2) การพฒั นาระบบการให้บริการประชาชนของหน่วยงานภาครัฐ

(3) การปรับปรงุ บทบาท ภารกจิ และโครงสร้างของหนว่ ยงานภาครัฐ
ให้มขี นาดท่ีเหมาะสม

(4) การวางระบบบริหารราชการแบบบรู ณาการ

(5) การพฒั นาระบบบริหารจดั การก้าลังคนและพฒั นาบุคลากรภาครฐั ในการ
ปฏบิ ัติราชการ

(6) การต่อต้านการทุจริตและประพฤตมิ ชิ อบ
(7) การปรับปรงุ กฎหมาย ระเบยี บ และขอ้ บงั คบั

๑.๒ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒

กรอบวสิ ยั ทัศน์ จากสถานะของประเทศและบริบทการเปล่ียนแปลงต่างๆ ที่ประเทศก้าลังประสบ
อยู่ ท้าใหก้ ารกา้ หนดวสิ ยั ทัศนแ์ ผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ ๑๒ ยังคงมีความต่อเนอ่ื งจากวิสัยทศั นแ์ ผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี ๑๑

และกรอบหลักการของการวางแผนท่ีน้อมน้าและประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ยึดคนเป็น
ศูนย์กลางของการพัฒนาอย่างมีส่วนร่วม การพัฒนาที่ยึดหลักสมดุล ยั่งยืน โดยวิสัยทัศน์ของการพัฒนาใน
แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี ๑๒ ต้องให้ความส้าคัญกับการก้าหนดทิศทางการพัฒนาที่มุ่งสู่การเปลี่ยนผ่านประเทศไทย

จากประเทศที่มรี ายได้ปานกลางไปสู่ประเทศที่มรี ายไดส้ ูง มีความมั่นคง และยั่งยนื สังคมอยูร่ ่วมกนั อยา่ งมีความสุข
และน้าไปส่กู ารบรรลวุ สิ ยั ทศั นร์ ะยะยาว “มั่นคง มั่งคงั่ ยัง่ ยนื ” ของประเทศ

11
การกาหนดตาแหนง่ ทางยทุ ธศาสตรข์ องประเทศ (Country Strategic Positioning)

เป็น การก้ าห นดต้ าแ หน่ งทางยุ ทธ ศาสตร์ขอ งประ เทศที่สอดคล้ อง กับยุ ทธ ศาสตร์ชาติท่ี ส้านัก งาน
คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้จัดท้าข้ึน ประเทศไทยเป็นประเทศรายได้สูงท่ีมีการกระจาย
รายได้อย่างเป็นธรรม เป็นศูนย์กลางด้านการขนส่งและโลจิสติกส์ของภูมิภาค สู่ความเป็นชาติการค้าและบริการ

(Trading and Service Nation) เป็นแหล่งผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์และเกษตรปลอดภัย แหล่งอุตสาหกรรม
สร้างสรรค์และมนี วตั กรรมสูงที่เปน็ มิตรต่อสง่ิ แวดล้อม

เปา้ หมาย

คณุ ภาพ 1. การหลดุ พ้นจากกับดกั ประเทศรายได้ปานกลางสู่รายไดส้ งู
2. การพฒั นาศกั ยภาพคนให้สนบั สนุนการเจริญเติบโตของประเทศและการสรา้ งสงั คมสูงวัยอย่างมี

๓. การลดความเหล่อื มลา้ ในสงั คม
๔. การสร้างการเจริญเตบิ โตทางเศรษฐกจิ และสังคมทเ่ี ปน็ มิตรกับสงิ่ แวดลอ้ ม
5. การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ ทมี่ ีประสิทธภิ าพ

แนวทางการพัฒนา

๑. การเสรมิ สรา้ งและพัฒนาศักยภาพทนุ มนุษย์
๑.๑ เพ่อื ปรับเปลย่ี นใหค้ นในสงั คมไทยมคี ่านิยมตามบรรทดั ฐานที่ดที างสังคม

๑.๒ เพือ่ เตรียมคนในสงั คมไทยใหม้ ที กั ษะในการดา้ รงชีวติ ส้าหรบั โลกศตวรรษท่ี ๒๑
๑.๓ เพอ่ื สง่ เสริมใหค้ นไทยมสี ขุ ภาวะทด่ี ตี ลอดชว่ งชีวิต
๑.๔ เพอ่ื เสริมสร้างสถาบันทางสงั คมให้มีความเขม้ แขง็ เอ้อื ต่อการพฒั นาคนและประเทศ

2. การสร้างความเปน็ ธรรมลดความเหล่อื มลาในสังคม
๒.๑ เพ่อื ขยายโอกาสทางเศรษฐกิจและสงั คมให้แกก่ ลมุ่ ประชากรรอ้ ยละ ๔๐ ที่มีรายไดต้ ้่าสุด

๒.๒ เพื่อให้คนไทยทกุ คนเข้าถึงบรกิ ารทางสังคมท่ีมีคุณภาพไดอ้ ย่างท่วั ถงึ
๒.๓ เพ่อื สรา้ งความเข้มแข็งให้ชุมชน
3. สรา้ งความเข้มแขง็ ทางเศรษฐกิจและแขง่ ขนั ได้อยา่ งยัง่ ยืน

3.1 เพ่อื สรา้ งความเขม้ แข็งของแรงขบั เคลือ่ นทางเศรษฐกิจใหส้ นบั สนนุ การเพมิ่ รายได้ต่อหวั
- เพื่อเพิ่มศักยภาพของฐานการผลติ และฐานรายได้เดิมและสรา้ งฐานการผลิตและรายได้ใหม่

- เพื่อสนับสนุนการกระจายการขยายตัวของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและการแบ่งปันผลประโยชน์
อยา่ งเป็นธรรม และสนับสนนุ เศรษฐกจิ ทเ่ี ปน็ มิตรกบั สิง่ แวดล้อม
- เพอื่ รักษาเสถยี รภาพทางเศรษฐกิจสร้างความเขม้ แข็งและรักษาวินัยทางการเงิน การคลัง และ

พฒั นาเครื่องมือทางการเงินทส่ี นบั สนนุ การระดมทนุ ท่ีมีประสทิ ธิภาพ
3.2 สร้างความเข้มแข็งให้กับเศรษฐกิจรายสาขาเพื่อยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขัน

ของภาคเกษตร อตุ สาหกรรม บริการ และการค้าการลงทนุ ดงั นี้
- เพื่อส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรมในการสร้างมูลค่าและเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตของสินค้า
และบริการ

- เพ่ือสง่ เสริมและพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพใหเ้ ปน็ ฐานรายได้ใหม่ทีส่ ้าคญั พัฒนาระบบ การบริหาร
จดั การความเส่ียงและมกี ารปรบั ตัวให้พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศเพ่ือให้ฐาน

การผลติ ภาคเกษตรและรายได้เกษตรกรมีความมน่ั คง
- เพื่อเร่งผลักดันให้สินค้าเกษตรและอาหารของไทยมีความโดดเด่นใ นด้านคุณภาพ
มาตรฐาน และความปลอดภัยในตลาดโลก

12

- เพ่ือเพิ่มศกั ยภาพของอตุ สาหกรรมส้าคัญเดมิ ให้สามารถตอ่ ยอดสู่อุตสาหกรรมแห่ง อนาคตที่ใช้
เทคโนโลยีสมยั ใหมอ่ ย่างเขม้ ขน้ และสร้างรากฐานการพฒั นาอตุ สาหกรรมใหม่ บนฐานของความ
เป็นมิตรต่อสง่ิ แวดล้อม
- เพื่อเพ่ิมศักยภาพของฐานบรกิ ารเดิมและขยายฐานบรกิ ารใหมใ่ นการปรบั ตัวสู่ เศรษฐกจิ
ฐานบริการท่ีเข้มแข็งขึ้น รวมท้ังพัฒนาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวให้เติบโตอย่างสมดุลและยั่งยืน
- เพ่อื พฒั นาปัจจัยสนบั สนุนและอ้านวยความสะดวกทางการคา้ และการลงทนุ ให้ สนับสนนุ
การเพิ่มขดี ความสามารถในการแข่งขนั ของผู้ประกอบการไทย รวมทัง้ พฒั นาสังคม ผู้ประกอบการ
- เพอ่ื พัฒนาระบบการเงนิ ของประเทศให้สนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถใน การแข่งขันของ
ภาคการผลติ และบรกิ าร การค้า และการลงทุน
- เพื่อสร้างความเข้มแข็งขององค์กรการเงินฐานรากและระบบสหกรณ์ให้สนับสนุนบริการทาง
การเงนิ ในระดบั ฐานรากและเกษตรกรรายย่อย
4. การเติบโตทเ่ี ปน็ มิตรกับสิง่ แวดล้อมเพือ่ การพฒั นาอยา่ งยั่งยนื
๔.๑ รกั ษา ฟ้ืนฟู ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละมีการใชป้ ระโยชนอ์ ยา่ งย่ังยนื และเป็นธรรม
๔.๒ สรา้ งความมน่ั คงด้านน้าของประเทศ และบรหิ ารจดั การทรัพยากรน้าท้งั ระบบให้มี
ประสทิ ธภิ าพ
๔.๓ บริหารจดั การสง่ิ แวดล้อม และลดมลพิษให้มีคุณภาพดขี ึ้น
๔.๔ พัฒนาขดี ความสามารถในการลดก๊าซเรือนกระจกและการปรบั ตัวเพอื่ ลดผลกระทบจาก
การเปลีย่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ และการรับมอื กบั ภยั พิบัติ
5. ด้านความมัน่ คง
๕.๑ เพ่ือปกป้องสถาบันพระมหากษัตริย์และเสริมสร้างความมั่นคงภายใน รวมท้ังป้องกัน
ปัญหา ภยั คกุ คามทเี่ ป็นอปุ สรรคต่อการพฒั นาเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของชาติ
๕.๒ เพ่ือสร้างความพร้อมและผนึกก้าลังของทุกภาคส่วน ให้มีขีดความสามารถในการบริหาร
จดั การดา้ นความมนั่ คง และมีศกั ยภาพในการปอู งกนั และแกไ้ ขสถานการณท์ เ่ี กิดจากภยั
คกุ คามทัง้ ภัยทาง ทหารและภัยคุกคามอ่ืนๆ
๕.๓ เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือด้านความมั่นคงกับมิตรประเทศในการสนับสนุนการรักษา
ความสงบสุขและผลประโยชน์ของชาติ
๕.๔ เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารนโยบายด้านความม่ันคงและนโยบายทางเศรษฐกิจ
สังคม ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมใหม้ ีความเปน็ เอกภาพ
6. การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพและธรรมาภบิ าลในภาครฐั
๑.๑ เพือ่ ให้ภาครฐั มีขนาดเลก็ มกี ารบริหารจัดการท่ดี ี และไดม้ าตรฐานสากล
๑.๒ เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการบริหารจัดการและให้บริการแก่ประชาชนใน
ทอ้ งถนิ่ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ประสิทธิผล และโปร่งใสตรวจสอบได้
๑.๓ เพือ่ ลดปญั หาการทุจริตและประพฤติมชิ อบของประเทศ
๑.๔ เพื่อพฒั นาระบบและกระบวนการทางกฎหมายให้สามารถอ้านวยความสะดวกด้วย
ความ รวดเรว็ และเปน็ ธรรมแกป่ ระชาชน ๒

13
7. ด้านการพัฒนาโครงสรา้ งพืนฐานและระบบโลจสิ ตกิ ส์

๑.๑ เพื่อพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน ส่ิงอ้านวยความสะดวกด้านการขนส่งและการค้า รวมทั้งมี
กลไก ก้ากับ ดแู ล การประกอบกจิ การขนสง่ ทมี่ ีประสทิ ธิภาพและโปร่งใสให้สามารถสนบั สนนุ
การเพิม่ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ และยกระดบั คณุ ภาพชวี ิต ใหแ้ กป่ ระชาชน

๑.๒ เพ่ือสร้างความม่ันคงทางพลังงาน เพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน และส่งเสริมการใช้
พลงั งานทดแทนและพลังงานสะอาด ตลอดจนขยายโอกาสทางธุรกิจในภมู ภิ าคอาเซียน

๑.๓ เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพและขยายการให้บริการด้านโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัลอย่างทั่วถึง
ท้ังประเทศ ในราคาท่ีเหมาะสมเป็นธรรม และส่งเสริมธุรกิจดิจิทัลใหม่ และนวัตกรรม รวมทั้ง
พัฒนาระบบ ความปลอดภัยทางไซเบอร์ให้มีความมั่นคง และคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคลให้แก่

ผใู้ ช้บรกิ าร
๑.๔ เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพและขยายการให้บริการโครงสร้างพื้นฐานด้านน้าประปาทั้งใน

เชงิ ปรมิ าณและคณุ ภาพให้ครอบคลุมทัว่ ประเทศ ลดอตั ราน้าสูญเสยี ในระบบประปา
และสรา้ งกลไกการบรหิ าร จดั การการประกอบกจิ การน้าประปาในภาพรวมของประเทศ
๑.๕ เพอ่ื พัฒนาอุตสาหกรรมตอ่ เนือ่ งที่เกดิ จากลงทุนดา้ นโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อลดการ

นา้ เข้าจาก ต่างประเทศ และสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจให้กับประเทศ
8. ด้านวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจยั และนวตั กรรม

๘.๑ เพื่อสร้างความเข้มแขง็ และยกระดบั ความสามารถดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ขั้น
กา้ วหน้า ใหส้ นับสนนุ การสร้างมลู ค่าของสาขาการผลิตและบริการเป้าหมาย
๘.๒ เพอื่ สร้างโอกาสการเขา้ ถึงและนา้ เทคโนโลยีไปใช้ใหก้ ับเกษตรกรรายย่อย วิสาหกิจ

ชุมชน และวสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม
๘.๓ เพอ่ื พฒั นานวัตกรรมทม่ี ่งุ เน้นการลดความเหลอ่ื มล้าและยกระดับคณุ ภาพชีวติ ของ

ประชาชน ผู้สงู อายุ ผดู้ อ้ ยโอกาสทางสงั คม และเพ่ิมคุณภาพส่ิงแวดลอ้ ม
๘.๔ เพ่อื บูรณาการระบบบริหารจัดการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจยั และนวตั กรรม
ให้สามารถ ดา้ เนินงานไปในทศิ ทางเดียวกนั

9. การพัฒนาภาคเมืองและพนื ทเี่ ศรษฐกจิ
๙.๑ เพ่ือกระจายความเจรญิ และโอกาสทางเศรษฐกิจไปสูภ่ มู ิภาคอยา่ งทว่ั ถึงมากข้ึน

๙.๒ เพ่ือพฒั นาเมอื งศูนยก์ ลางของจงั หวัดให้เปน็ เมอื งน่าอย่สู า้ หรบั คนทกุ กลุ่ม
๙.๓ เพื่อพัฒนาและฟ้ืนฟูพ้ืนที่ฐานเศรษฐกิจหลักให้ขยายตัวอย่างเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม
และ เพมิ่ คุณภาพชีวติ ของคนในชุมชน

๙.๔ เพื่อพัฒนาพ้ืนท่ีเศรษฐกิจใหม่ให้สนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันและ
การพฒั นาในพ้ืนทอี่ ย่างย่งั ยืน

10. ด้านการต่างประเทศ ประเทศเพือ่ นบา้ นและภูมิภาค
๑๐.๑ เพ่ือใช้ประโยชน์จากจุดเด่นของท้าเลท่ีต้ังของประเทศไทยที่เป็นจุดเช่ือมโยงส้าคัญ
ของแนวระเบียงเศรษฐกิจต่างๆ ให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มศักยภาพในการพัฒนาเศรษฐกิจ

และสังคมของไทย
๑๐.๒ เพื่อขยายโอกาสด้านการค้าการลงทุนระหว่างประเทศ และยกระดับให้ประเทศเป็น

ฐานการผลิตและการลงทนุ ทีม่ ศี ักยภาพและโดดเดน่
๑๐.๓ เพ่ือเพิ่มบทบาทของไทยในเวทีโลกด้วยการส่งเสริมบทบาทที่สร้างสรรค์ของไทยใน
กรอบ ความร่วมมือต่างๆ รวมท้ังการสนบั สนุนการขับเคลอ่ื นการพัฒนาภายใตก้ รอบ

เป้าหมายการพฒั นาทยี่ ง่ั ยืน (Sustainable Development Goals: SDGs)

14

๑.๓ แผนพฒั นาภาค/แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด/แผนพฒั นาจังหวดั

 แผนพัฒนาภาคเหนอื

ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนา

(1) พัฒนาการท่องเท่ียวและธุรกิจบริการต่อเนื่องให้มีคุณภาพ สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มอย่างยั่งยืน
และกระจายประโยชน์อย่างท่ัวถึง รวมทั้งต่อยอดการผลิตสินค้าและบริการที่มีศักยภาพสูง

ด้วยภมู ปิ ญั ญาและนวัตกรรม
(2) ใช้โอกาสจากเขตเศรษฐกิจพเิ ศษ และการเชือ่ มโยงกับอนภุ มู ภิ าค GMS BIMSTEC และ AEC เพอื่

ขยายฐานเศรษฐกจิ ของภาค

(3) ยกระดบั เปน็ ฐานการผลิตเกษตรอินทรยี แ์ ละเกษตรปลอดภัย เชอื่ มโยงสอู่ ุตสาหกรรมเกษตรแปร
รูปที่สรา้ งมูลค่าเพ่ิมสูงพฒั นาศักยภาพของสถาบนั ครอบครวั และชมุ ชนใหม้ คี วามเขม้ แข็งในการ

พฒั นาทนี่ ้าไปสกู่ ารพึ่งตนเองมีภูมิคุ้มกนั ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
(4) บรหิ ารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มอย่างยงั่ ยืน เนน้ การอนรุ กั ษ์ฟนื้ ฟูและใช้

ประโยชน์อยา่ งสมดุล และเตรียมการปอ้ งกันและรับมอื ภยั ธรรมชาติ

(5) อนุรักษ์และฟน้ื ฟปู า่ ต้นนา้ ใหค้ งความสมบรู ณ์ จัดระบบบรหิ ารจัดการนา้ อยา่ งเหมาะสมและ
เช่อื มโยงพ้ืนทเี่ กษตรใหท้ ว่ั ถงึ ปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หามลพิษหมอกควันอย่างย่ังยืน

ทศิ ทางการพฒั นากล่มุ จงั หวดั และจงั หวัด ใหม้ คี วามเช่ือมโยงกับแผนการบริหารราชการแผน่ ดนิ
พ.ศ.2551 – 2554 และแผนพฒั นาฉบับที่ 11 รวมทั้งแผนพฒั นาดา้ นต่างๆ ดงั นี้

(1) กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 ประกอบด้วย เชียงใหม่ ล้าพูน ล้าปาง และแม่ฮ่องสอน

มีทิศทางการพัฒนาด้านการฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ พัฒนาบริการพื้นฐานชองเมืองและสิ่งแวดล้อม พัฒนา
เครือข่ายคมนาคม และสร้างมูลค่าเพ่ิมทางภาคการผลิตและบริการบนพ้ืนฐานของความรู้และวัฒนธรรม

ภูมิปญั ญาท้องถนิ่
(2) กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 2 ประกอบด้วย เชียงราย พะเยา แพร่ และน่าน มุ่งพัฒนาให้เป็น

ประตูการคา้ การลงทุน พัฒนาการเกษตรอนิ ทรีย์ พฒั นาการท่องเที่ยวชายแดนและการท่องเท่ียวอนุรักษ์และสืบ

สานวัฒนธรรมล้านนาและภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน แลเรง่ ฟ้ืนฟูทรัพยากรธรรมชาติ
(3) กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ประกอบด้วย สุโขทัย ตาก เพชรบูรณ์ อุตรดิตถ์ และพิษณุโลก

เน้นการสนับสนุนให้เกิดความมั่นคงด้านทรัพยากรธรรมชาติป่าไม้และน้า สร้างมูลค่าเพิ่มการท่องเท่ียวเชิง
ประวตั ศิ าสตร์และศาสนา การพัฒนาให้เป็นศนู ย์กลางการคา้ บริการ การขนสง่ และการกระจายสนิ ค้า

(4) กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 2 ประกอบด้วน ก้าแพงเพชร นครสวรรค์ พิจิตร และอุทัยธานี

เน้นพัฒนาข้าวและผลติ ภัณฑแ์ ปรรปู การเกษตรอย่างครบวงจร สรา้ งมลู คา่ เพิม่ จากผลผลิตและวัสดุทางการเกษตร
พัฒนาให้เป็นศูนย์กลางการกระจายสินค้า พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวท่ีมีความโดดเด่น และการอนุรักษ์

ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม เร่งแกไ้ ขปัญหาการขาดแคลนน้าจากภาวะฝนแลง้
โครงการสาคัญ
(1) โครงการพัฒนามูลค่าเพิ่มใหก้ ับเกษตรกรผผู้ ลิตสนิ คา้ เกษตรอินทรีย์

(2) โครงการยกระดบั สนิ คา้ หตั กรรมและการทอ่ งเทีย่ วล้านนาสูส่ ากล
(3) โครงการพัฒนาเมืองเชียงใหม่ – ลา้ พนู รองรับการเป็นศนู ย์กลางความเจริญทีเ่ ช่ียมโยงกับนานาชาติ

และอนุภูมภิ าคล่มุ น้าโขงตอนบน

15

(4) โครงการสบื สานพฒั นาองคค์ วามรภู้ มู ิปญั ญาและศลิ ปวฒั นธรรมล้านนา

(5) โครงการพัฒนาประสทิ ธภิ าพการบริหารจัดการน้าในระดบั ชมุ ชน
(6) โครงการเพิ่มสมรรถนะการบริหารจดั การนา้ ต้นทนุ

 แผนพัฒนากลุ่มจงั หวัด ภาคเหนือตอนล่าง

วิสัยทัศน์ “ยกระดับสินค้าเกษตรปลอดภัยท่ีมีนวัตกรรม แหล่งอุตสาหกรรมฐานชีวภาพ เสริมสร้าง

ศักยภาพการท่องเท่ียวและบริการ เป็นศูนย์กลางการค้าการลงทุนเชื่อมโยงเศรษฐกิจภูมิภาคสู่การพัฒนา
อย่างย่ังยนื ”

พนั ธกิจ

1. พฒั นาการบริหารจัดการนา้ และส่งเสรมิ ระบบโครงสร้างพนื้ ฐาน พฒั นาผลผลิตและเพม่ิ มูลค่า
สนิ ค้าเกษตรปลอดภยั ได้มาตรฐาน ครบวงจรด้วยนวตั กรรมและเทคโนโลยี

2. พัฒนาอุตสาหกรรมแปรรูป และอุตสาหกรรมฐานชีวภาพ ให้เติบโตอย่างเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม
และสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน

3. ยกระดบั แหลง่ ทอ่ งเท่ยี ว สนิ คา้ และบริการด้านการท่องเท่ียว ยกระดบั ใหไ้ ด้มาตรฐานปลอดภยั

เป็นทยี่ อมรบั
4. พฒั นาและยกระดบั การเชือ่ มโยงโครงข่ายโลจสิ ตกิ ส์และส่งเสริมการค้าการลงทนุ

เป้าประสงค์
1. ยกระดบั คณุ ภาพและมาตรฐานสินค้าเกษตรปลอดภยั เพิ่มมลู ค่าและนวัตกรรมการแปรรปู ภายใต้

การพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพเศรษฐกิจหมุนเวียนและเศรษฐกิจสเี ขยี ว (BCG model) ส่กู ารพฒั นาอย่างยัง่ ยนื (SDGs)

2. พัฒนาศกั ยภาพการทอ่ งเทีย่ วเนน้ คุณค่าและย่ังยืน ได้มาตรฐานและปลอดภัยเป็นที่ยอมรับในระดับ
สากล

3. เปน็ ศูนย์กลางการคา้ การลงทนุ และจดุ ยุทธศาสตร์ทางโลจสิ ตกิ ส์ท่สี ้าคญั ของภมู ภิ าค
ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์

1. เพ่มิ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้า การผลิตและการสร้างมูลค่าเพ่ิมสินค้าเกษตร อุตสาหกรรม

ฐานชวี ภาพ ส่งเสริมการตลาดด้วยนวตั กรรม และเทคโนโลยีตลอดหว่ งโซอ่ ปุ ทาน
2. พัฒนาการท่องเทย่ี วที่ได้มาตรฐาน ปลอดภยั และยง่ั ยืนยกระดบั สูส่ ากล

3. ส่งเสรมิ การค้า การลงทนุ โครงขา่ ยคมนาคม และส่ิงอ้านวยความสะดวก รองรับการพัฒนาและเพ่ิม
ขีดความสามารถในการแข่งขนั ของภมู ภิ าค

กลยุทธ์

1. พัฒนาโครงสร้างพนื้ ฐาน แหล่งนา้ และระบบบริหารจดั การน้า เพอ่ื รองรบั การผลิตด้านการผลติ
เกษตร อตุ สาหกรรม การขนสง่ ระบบโลจสิ ติกส์ ดา้ นการคา้ การลงทนุ

2. พฒั นากระบวนการผลติ การแปรรูป การตลาด สินค้าเกษตรปลอดภัยให้ได้มาตรฐานตาม
ความเหมาะสมของพื้นท่ี (Zoning)

3. ยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ บคุ ลากรด้านการเกษตร

4. สง่ เสริมและสนับสนุนการใชน้ วัตกรรมและเทคโนโลยี เพ่มิ ขีดความ สามารถในการแขง่ ขันด้านการ
ผลิต การแปรรปู การคา้ และการตลาดสินค้าเกษตรของกลมุ่ จังหวัด

5. เพม่ิ ชอ่ งทางและส่งเสรมิ การผลิต การคา้ และการตลาดให้กบั สินค้าเกษตร ตลอดจนการแปรรูป
ปรับให้เขา้ กบั วถิ ใี หม่ (New normal) โดยเฉพาะการปลกู พืชสมุนไพรสา้ คญั

6. พัฒนา/ฟนื้ ฟแู หลง่ ท่องเท่ยี ว และเส้นทางการเชอ่ื มการทอ่ งเทีย่ ว ตามมาตรฐานการท่องเทย่ี ว

7. พฒั นาสินค้า บริการ และปัจจัยสนับสนุนการทอ่ งเท่ียวให้ไดร้ ะดบั มาตรฐาน

16
8. พฒั นาการตลาดและประชาสัมพนั ธ์การทอ่ งเท่ยี ว
9. พัฒนาผูป้ ระกอบการและบุคลากรดา้ นทอ่ งเทีย่ ว
10. การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเท่ียวและกิจกรรมการท่องเที่ยวในกลุ่มจังหวัดภาคเหนือ
ตอนล่าง 2
11. เสริมสร้างความร่วมมือดา้ นการคา้ การลงทนุ ทั้งในและระหวา่ งประเทศ
12. พฒั นาสง่ เสรมิ กลุม่ จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 2 ให้เป็นศนู ยก์ ลางโลจิสติกสแ์ ละการคมนาคม
ในพ้นื ทอ่ี ยา่ งยงั่ ยนื
13. สรา้ งมลู คา่ เพ่มิ ในสินค้าและบรกิ าร
14. พฒั นาศักยภาพของผูป้ ระกอบการดา้ นดิจิทัล นวัตกรรมและเทคโนโลยี
15. เพิ่มชอ่ งทางรายไดจ้ ากการคา้ การลงทนุ
ตวั ชวี ัด
1. จา้ นวนผลผลิตต่อไรข่ องสนิ ค้าเกษตรปลอดภัยและเกษตรแปรรปู ได้มาตรฐานเพ่ิมขึน้ เฉล่ียรอ้ ยละ 2 ตอ่ ปี
2. จ้านวนเกษตรกรไดร้ บั มาตรฐานเกษตรปลอดภยั เพ่มิ ข้นึ เฉลี่ยรอ้ ยละ 2 ต่อปี
3. จ้านวนพื้นทที่ า้ การผลิตเกษตรปลอดภัยได้มาตรฐานเพม่ิ ขนึ้ เฉลยี่ ร้อยละ 2 ตอ่ ปี
4. แหล่งนา้ และระบบการบรหิ ารจัดการน้าได้รับการพฒั นาและแกไ้ ขปัญหาเพ่ิมขึ้น ไมน่ ้อยกวา่ 2 แหล่ง
5. เสน้ ทางคมนาคมไดร้ บั การพฒั นา/ปรับปรุงเพมิ่ ขน้ึ ไมน่ อ้ ยกว่า 2 สายทาง
6. จ้านวนผู้มาเย่ยี มเยือนที่เพ่ิมข้นึ เฉลย่ี รอ้ ยละ 2 ต่อปี
7. รายได้จากการท่องเทย่ี วท่เี พิ่มขึน้ เฉลีย่ ร้อยละ 2 ตอ่ ปี
8. เสน้ ทางคมนาคมไดร้ ับการพฒั นา/ปรับปรุงเพมิ่ ข้นึ ไมน่ อ้ ยกว่า 2 สายทาง
9. จา้ นวนบคุ ลากรดา้ นการทอ่ งเทย่ี วไดร้ บั การพฒั นาเพ่มิ ขึ้น เฉลี่ยรอ้ ยละ 2 ต่อปี
10. อัตราการขยายตวั ของเศรษฐกจิ เพ่ิมขึ้น เฉลย่ี ร้อยละ 2 ตอ่ ปี
11. อตั ราการขยายตัวภาคบรกิ ารเพิม่ ขนึ้ เฉลี่ยร้อยละ 2 ตอ่ ปี
12. กา้ ไรของวิสาหกิจชมุ ชนขนาดกลางและย่อมเพม่ิ ขนึ้ เฉลย่ี รอ้ ยละ 2 ตอ่ ปี
13. อัตราเพิม่ ของรายได้จากการจ้าหนา่ ยสินคา้ OTOP เพิ่มขึน้ เฉลย่ี ร้อยละ 2 ต่อปี

 แผนพัฒนาจงั หวดั อุทัยธานี

วสิ ยั ทัศน์ "เมอื งเกษตรปลอดภยั ทอ่ งเท่ยี วเชิงนเิ วศสขุ ใจ สังคมอทุ ยั ผาสุก"

เป้าประสงคร์ วม
1. การเติบโตทางเศรษฐกจิ ของจังหวดั ขยายตัวเพม่ิ ข้นึ
2. พฒั นาแหล่งท่องเท่ยี วเชงิ นเิ วศ และการบรกิ ารดว้ ยนวัตกรรม เพ่ือให้มมี าตรฐานความ

ปลอดภัยและมลู ค่าทางเศรษฐกิจสูงข้นึ
3. ยกระดบั มาตรฐานเกษตรปลอดภัย เกษตรอนิ ทรยี ์
4. ประชาชนมคี ุณภาพชีวิตท่ีดี มคี วามมน่ั คงและปลอดภยั ในการด้ารงชีวิต และเขา้ ถึง

สวัสดิการภาครัฐทมี่ คี ณุ ภาพอย่างทัว่ ถงึ
5. ทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม อยู่ในเกณฑม์ าตรฐานก้าหนด

17
ประเด็นยุทธศาสตรจ์ ังหวัด :

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ยกระดับมาตรฐานการผลิตเกษตรปลอดภัย เกษตรอินทรีย์ ให้มีมูลค่าเพ่ิม
มุ่งเน้นให้เกิดการพัฒนาสินค้าสินค้าเกษตรปลอดภัยในผลผลิตเกษตรทุกประเภท นับตั้งแต่ ผลผลิต
จากพืช ปศุสัตว์ และประมง ยกระดับสู่สินค้าเกษตรอินทรีย์ และส่งเสริมการแปรรูปให้มีคุณภาพและปลอดภัย

ต่อเกษตรกรและผู้บริโภค ปรับปรุงกระบวนการผลิตสินค้าเกษตรที่ลดการใช้สารเคมีพัฒนาพันธ์ุพืชพันธ์ุสัตว์
ประมงและปัจจัยการผลิตจัดหา/พัฒนาแหล่งน้าเพ่ือการเกษตรการลดต้นทุนการผลิต เพ่ิมมูลค่าผลผลิต

ทางการเกษตรและพัฒนาการแปรรูปสินค้าเกษตรให้มีความหลากหลาย และส่งเสริมการรวมกลุ่มเกษตรกร
รวมท้ังวิสาหกจิ ชุมชน ส่งเสริมและสนับสนุนการตลาดในลกั ษณะการเชอื่ มโยงเครอื ขา่ ยการรวมกลุ่มของเกษตรกร
ใหม้ คี วามเขม้ แข็งเพมิ่ อ้านาจในการต่อรองในตลาดสนิ คา้ เกษตร

กลยุทธ์
1. พัฒนาปัจจัยพื้นฐานด้านการเกษตรและพัฒนาเกษตรกรและปัจจัยพ้ืนฐานด้านการเกษตร

ทั้งโครงสร้างพื้นฐานและบริหารจัดการน้า เพื่อการเกษตรและอุปโภค - บริโภค อย่างมีแบบแผน และเกิด
ประสิทธภิ าพสูงสดุ

2. พฒั นาความเข้มแข็งกลมุ่ เกษตรกร และสร้างการเช่ือมโยงเครือขา่ ยการรวมกล่มุ เกษตรกร

3. จดั ระบบโซนนง่ิ (Zoning) พ้นื ทเ่ี กษตรบรู ณาการครบวงจร และเชื่อมโยงกบั ผู้ซอ้ื /ผู้บริโภคขั้นสดุ ท้าย
4. สร้างมูลค้าเพิม่ สินค้าตวั บงช้ีทางภมู ิศาสตร์ (GI) และสินค้าอัตลกั ษณ์ (กระบอื ลุ่มนา้ สะแกกรงั ไก่แสม

ดา้ ปลาแรด)
5. พฒั นาระบบการผลิตเกษตรย่ังยืน ระบบเกษตรและพฒั นาผลผลิตให้มคี ุณภาพ ได้มาตรฐานใหม้ คี วาม

หลากหลายและลดต้นทุนการผลิต

6. พัฒนานวตั กรรมสินค้าเกษตรสู่สินค้าท่มี ลู ค่าสงู
7. แปรรปู ผลผลติ เกษตรสู่อาหารท่ีตอบสนองกลุ่มเปา้ หมาย เพ่ือสรา้ งมลู ค่าเพิ่ม ขยายสู่ตลาดผู้บริโภคขั้น

สุดทา้ ยและเปน็ มิตรกับสิ่งแวดล้อม
8. พัฒนาระบบโลจิสติกส์ใหส้ ามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
9. ส่งเสริม และพัฒนาพชื สมุนไพรแบบครบวงจร โดยใช้ชุมชนเปน็ ฐาน เพือ่ ใช้ประโยชน์ และสร้าง

มลู ค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ การท่องเทยี่ ว สุขภาพ
10. พัฒนาการตลาดและประชาสัมพนั ธ์ทงั้ สินค้าเกษตรปลอดภัย เกษตรอนิ ทรยี ์ สนิ ค้าตวั บง่ ชที้ าง

ภมู ิศาสตร์ (GI) และสินค้าอัตลักษณ์
ประเด็นยุทธศาสตรท์ ่ี 2 สร้างคุณค่าดา้ นการทอ่ งเทย่ี ว ควบควู่ ิถชี ีวิตอตั ลักษณ์ และวฒั นธรรมของ
จังหวดั สูส่ ากล

มุ่งเน้นการทอ่ งเทีย่ วเชงิ นิเวศอนั ประกอบไปดว้ ย การทอ่ งเท่ียวเชิงธรรมชาติ การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
การท่องเที่ยววิถีชุมชน การท่องเท่ียวเชิงเกษตร และการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ โดยส่งเสริมให้มีการพัฒนาแหล่ง

ท่องเท่ียว สถานท่ีท่องเท่ียว บริการด้านการท่องเท่ียว ประกอบด้วยแหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติ ( Natural
Attractions) หรือที่เกิดจากสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติท่ีมาจากพื้นฐานความอุดมสมบูรณ์ทางธรรมชาติของ
จังหวัด แหล่งท่องเที่ยวท่ีมนุษย์สร้างขึ้น (Manufactured Attractions) เช่น สถาปัตยกรรมทางประวัติศาสตร์

ศาสนาสถาน เป็นต้น แหล่งท่องเท่ียวทางวัฒนธรรมและวิถีชีวิต โดยให้เกิดความปลอดภัยได้มาตรฐานการ
ท่องเท่ียวไทยและยกระดับสมู่ าตรฐานการท่องเท่ียวของอาเซียนในอนาคต การส่งเสริมการท่องเท่ียวเชิงนิเวศให้

ความสา้ คัญในดา้ นสิง่ แวดลอ้ ม สงั คม และวฒั นธรรมโดยส่งเสรมิ ให้ชุมชนและผปู้ ระกอบการด้านการท่องเที่ยวเข้า
มามีส่วนร่วมในการบรหิ ารจดั การการท่องเท่ียวโดยเร่งการประชาสัมพันธ์ การเชื่อมโยงผู้ประกอบการและจัดหา
ตลาดด้านการท่องเทยี่ วใหมๆ่ รองรบั การเติบโตดา้ นการทอ่ งเทย่ี วของจังหวัดเพอื่ มงุ่ ส่กู ารพัฒนาการท่องเที่ยวแบบ

ย่งั ยืน (sustainable Tourism)

18

กลยุทธ์
1. พฒั นาฐานข้อมูลการท่องเที่ยวทุกประเภทอย่างเปน็ ระบบครบวงจร
2. พัฒนา ฟื้นฟูแหล่งท่องเท่ียว โครงสร้างพ้ืนฐานและสิ่งอ้านวยความสะดวกด้านการท่องเท่ียว

ทกุ ประเภทแบบครบวงจร
3. พัฒนาส่งเสรมิ และสนบั สนุนสินค้า และบรกิ ารด้านการท่องเท่ยี ว
4. พัฒนามลู ค่าเพ่ิมและนวัตกรรมการท่องเที่ยว (Smart Tourism)
5. เพิม่ ประสิทธภิ าพการท้าการตลาดด้านท่องเทย่ี วเชิงรกุ
6. บรู ณาการความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชนในการเสริมสร้างความเข้มแข็งของ ศักยภาพแหล่ง

ท่องเที่ยวและบุคลากรด้านการท่องเท่ียว
ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 ยกระดับการพฒั นาคุณภาพชีวติ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เสรมิ สร้างความมน่ั คงภายในและความสงบเรยี บร้อย
มุ่งเนน้ การสรา้ งสงั คมอทุ ยั ผาสกุ ที่มีความมนั่ คงและปลอดภยั ในชีวิตและทรัพย์สิน ครอบครัวพร้อมหน้า

และอบอุ่น มีสุขภาพกายและสุขภาพใจท่ีแข็งแรง และมีระบบสวัสดิการของภาครัฐและชุมชนท่ีหนุนเสริม
ช่วยเหลือประชาชนและนาสู่สังคมแห่งการพึ่งตนเอง โดยครอบคลุมความสามารถเข้าถึงสวัสดิการของภาครัฐ
อย่างมีคณุ ภาพและท่ัวถึงด้านสขุ ภาพอนามยั การสาธารณสุขการศึกษาการมีงานทาการ มีรายได้การอ้านวยความ
ยุตธิ รรมควบค่กู บั การส่งเสริมกิจกรรมทางศาสนา ศลิ ปวฒั นธรรม และปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง รวมถึงการพัฒนา
โครงสรา้ งพื้นฐานดา้ นต่างๆและระบบสาธารณูปโภคทจ่ี า้ เป็นต่อประชาชน

กลยุทธ์
1. การพัฒนาสขุ ภาวะทั้งด้านกายและจิต ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงระบบสวัสดิการของภาครัฐอย่างมี

คณุ ภาพและท่ัวถึงและสามารถดูแลและร่วมเฝ้าระวัง ตลอดจนป้องกนั โรคระบาด/โรคติดต่อได้
2. การพัฒนาทักษะชีวิตตลอดทุกช่วงวัย ให้มคี วามเท่าทันต่อกระแสบริโภคนิยมและอิทธิพลของ Social

Media
3. การจดั การแรงงานในพ้นื ท่ี ทง้ั ในเรือ่ งส่งเสริมการมีงานท้า และคุ้มครองแรงงานนอกระบบ
4. ส่งเสริมพัฒนาอาชีพ/รายได้ ท้ังในเรือ่ งทักษะฝมี อื แรงงานและความเป็นผู้ประกอบการ
5. สร้างความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ด้วยการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานเสริมความปลอดภัยทาง

ถนน และระบบการขนส่งสาธารณะให้ได้มาตรฐาน รวมถึงจติ สา้ นกึ ในการลดอุบัตเิ หตุ อุบัตภิ ัยให้กบั ประชาชน
6. พัฒนาระบบสวัสดกิ ารและบรหิ ารจดั การกองทุนร่วมสวัสดกิ ารภาครฐั และชุมชนที่หนุนเสริมช่วยเหลือ

ประชาชนและน้าสู่สังคมแห่งการพ่ึงตนเองในระดบั ต้าบล
7. การเตรียมความพร้อมการก้าวเขา้ สสู่ งั คมผู้สูงอายุ

ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 การบรหิ ารจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมอยา่ งสมดุล แบบมี
สว่ นรว่ ม ของทกุ ภาคส่วน

มุง่ เน้นการดูแลรักษาระบบนิเวศของจังหวัดอุทัยธานี ท่ีมีความสมบูรณ์และความหลากหลายท้ังพืชและ
สตั ว์ ด้วยการดูแลรกั ษาฟนื้ ฟูปอ้ งกัน และอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมท้ังในระดับครัวเรือนองค์กร
สถานศึกษา และชุมชนโดยการส่งเสริมประชาชนท่ีอยู่ในบริเวณติดกับพ้ืนท่ีป่ากันชน (Buffer Zone) ทาง
การเกษตรผสมผสานหรือวนเกษตร และปลูกจิตสานึกการมีส่วนร่วมให้กับประชาชนและการสร้างเครือข่าย
ดา้ นการอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม

19
กลยุทธ์

1. พัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านสง่ิ แวดล้อม และการอนรุ ักษ์พลงั งาน
2. พัฒนาเมอื งท่เี ปน็ มิตรต่อสงิ่ แวดล้อม
3. สง่ เสริมการอนรุ กั ษ์พลงั งาน เพอ่ื ใหม้ ีการใช้เทคโนโลยีพลงั งานทดแทน
4. สง่ เสริมให้ประชาชนท้าวนเกษตรหรอื เกษตรกรรมย่งั ยืน ทเ่ี ป็นมติ รกับส่งิ แวดล้อม
5. พฒั นาการบรหิ ารจดั การขยะและน้าเสยี แบบครบวงจร
6. สร้างกลไกการขับเคล่ือนการสร้างระบบการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการอนุรักษ์
ทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม
7. สร้างจิตส้านึก การบริหารจัดการทรัพยากรประมงให้ชุมชน ก้าหนดเขตอนุรักษ์ สร้างแหล่งที่อยู่
อาศยั และเพิ่มปริมาณผลผลติ สัตว์นา้ ให้เป็นแหล่งขยายพันธุ์

1.4 ยุทธศาสตร์การพฒั นาขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ินในเขตจังหวัด

วิสยั ทศั น์ จงั หวดั อุทยั ธานี กนิ ดี อยดู่ ี ส่งิ แวดล้อมดี ภายใต้หลักธรรมาภิบาล ประสานความร่วมมอื กับทกุ ทอ้ งถิ่น

เปา้ ประสงค์รวม
๑. พฒั นาโครงสร้างพนื้ ฐาน
2. สร้างความสมดุลและฟืน้ ฟทู รพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
3. พัฒนาเศรษฐกจิ และสง่ เสรมิ การทอ่ งเทยี่ ว
4. พัฒนาคณุ ภาพชีวิตและสง่ เสรมิ อาชพี ตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
5. พฒั นาองคก์ รสูธ่ รรมาภบิ าล และสร้างความร่วมมอื กับทกุ ทอ้ งถน่ิ
6. สง่ เสริมการศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรมอันดงี ามของท้องถิน่
7. ส่งเสริมการมีสว่ นร่วมของประชาชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่
8. พฒั นาระบบบริการสาธารณสขุ ตามเกณฑ์มาตรฐานและส่งเสริมการปอ้ งกันโรคเพ่ิมเตมิ

เปา้ ประสงค์เชงิ ยทุ ธศาสตร์
1. เพือ่ ใหม้ รี ะบบโครงสร้างพ้ืนฐานทั่วถงึ ครอบคลุมทกุ พื้นที่
2. เพื่อใหม้ กี ารพัฒนาเกษตรปลอดภยั และอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม
3. เพอ่ื ให้มกี ารสง่ เสรมิ และพฒั นาอาชพี แกร่ าษฎร
4. เพอ่ื ใหม้ กี ารพัฒนาคุณภาพชีวติ สขุ ภาพท่ดี ี การศกึ ษา และการกฬี าใหแ้ ก่ประชาชน
5. เพ่อื เปน็ การสง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชนมสี ว่ นรว่ มเพื่อสร้างความเข้มแข็งสู่ชมุ ชน
6. เพื่อใหม้ กี ารพฒั นาหนว่ ยบริการสาธารณสุขและงานดา้ นสาธารณสุข

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 การพัฒนาโครงสร้างพืนฐาน
กลยุทธ์

๑. ก่อสรา้ ง ปรบั ปรุง บา้ รุงรกั ษาเส้นทางคมนาคมและระบบสาธารณูปโภคโดยบูรณาการ
ความร่วมมอื กบั องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ

๒. พัฒนาแหลง่ นา้ เพือ่ การอปุ โภคบริโภค และน้าเพื่อการเกษตรใหม้ ีคณุ ภาพ
3. มีการจัดต้ังเครอื ขา่ ยบรหิ ารจดั การน้าอยา่ งมสี ว่ นร่วม
4. บูรณาการการท้างานรว่ มกนั กบั ทุกหนว่ ยงาน

20
ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 การบรหิ ารและพฒั นาทรัพยากรธรรมชาติ ส่งิ แวดลอ้ ม และเกษตรกรรม

กลยุทธ์
๑. สง่ เสริมอาชพี การเกษตรและผลิตภัณฑ์ ดา้ นการเกษตรปลอดภัย
๒. ส่งเสริมแนวความคดิ เศรษฐกจิ พอเพยี งและการแก้ไขปญั หาความยากจน

๓. สง่ เสริมและสนบั สนุนการใช้พลงั งานทางเลือกและพลงั งานทดแทน
๔. ส่งเสรมิ และร่วมมอื กับทกุ ภาคส่วนในการอนรุ กั ษฟ์ ้นื ฟูทรัพยากรธรรมชาติ

และสงิ่ แวดลอ้ ม
๕. บูรณาการความร่วมมอื กบั ภาครฐั ในการเฝ้าระวงั ตดิ ตามคุณภาพน้าในแมน่ ้าสะแกกรงั
และคลองสาขา

๖. สง่ เสรมิ การคดั แยกขยะมลู ฝอยในครวั เรอื นอยา่ งเปน็ ระบบ
7. คัดแยก/รวบรวมขยะอันตรายและนา้ ส่งให้ อบจ.อทุ ัยธานีก้าจดั ตามหลักวชิ าการ

ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 การพฒั นาเศรษฐกิจและการทอ่ งเทย่ี วสู่ความยง่ั ยนื
กลยทุ ธ์

๑. พฒั นาและส่งเสริมอาชพี ให้แก่ประชาชนควบคู่ไปกบั การส่งเสรมิ การตลาดเช่ือมโยง

ส่ภู มู ภิ าค
2. ส่งเสริมสนบั สนุนและพัฒนาสินค้า OTOP

3. ส่งเสรมิ การทอ่ งเทย่ี วเชิงนิเวศ ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมและเชงิ อนรุ ักษ์
4. พฒั นาแหล่งทอ่ งเทยี่ วและมีกลไกการเช่ือมโยงการท่องเท่ียวเชิงนเิ วศโดยชุมชน
๕. ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ ระบบสหกรณแ์ ละวสิ าหกิจชมุ ชน

๖. ส่งเสริมและสนับสนนุ เพือ่ ใหส้ นิ ค้าและบริการของชมุ ชนไดร้ ับการรบั รองมาตรฐาน
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 การพฒั นาคนและสังคมที่มคี ณุ ภาพ

กลยทุ ธ์
๑. สง่ เสริมคณุ ภาพชีวติ ของประชาชนให้อยู่ดมี ีสขุ ปราศจากยาเสพตดิ ลดปญั หาการใช้

ความรนุ แรงในชมุ ชน ครอบครัวและสงั คม

2. ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพเดก็ สตรี ผสู้ ูงอายุ คนพกิ าร และผดู้ ้อยโอกาส
3. สง่ เสริมและปลูกฝงั การรักษาวินยั หน้าท่ี มีจิตส้านึกและความรบั ผิดชอบตอ่ สงั คม

4. ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ การจดั การศึกษาในทอ้ งถนิ่
5. ส่งเสรมิ การกฬี าและนันทนาการ
6. ส่งเสริม สนบั สนนุ อนุรักษ์ และฟน้ื ฟู ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศลิ ปวฒั นธรรม

ภมู ิปญั ญาท้องถนิ่ และอตั ลกั ษณข์ องชมุ ชน
7. สง่ เสรมิ ใหค้ วามรดู้ า้ นภาษาให้แก่ประชาชนในทอ้ งถน่ิ ในการเปน็ ประชาคมอาเซยี น

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 5 การเมือง การบริหาร
กลยุทธ์

๑. พฒั นาการบรกิ ารสาธารณะใหร้ วดเร็ว เขา้ ถึงทุกพ้ืนที่และตอบสนองความตอ้ งการของประชาชน

2. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการบริหารและการบรกิ าร
3. ส่งเสรมิ การบรหิ ารจดั การบา้ นเมืองตามหลักธรรมาภบิ าล

4. พัฒนาประสทิ ธภิ าพการเฝา้ ระวังและ ระบบการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั
5. สง่ เสริมการทา้ งานแบบบูรณาการของ อปท.
6. ส่งเสริมกระบวนการท้างานเพือ่ น้าไปสู่ นโยบายไทยแลนด์ ๔.๐

7. สง่ เสริมบทบาทการมีสว่ นรว่ มภาคประชาชน

21

ยทุ ธศาสตร์ท่ี 6 การพัฒนาดา้ นการสาธารณสขุ

กลยทุ ธ์
1. พฒั นางานสาธารณสุขมลู ฐานใหส้ อดคล้องกับปญั หาสขุ ภาพของประชาชนอย่างทัว่ ถงึ

และมีประสทิ ธภิ าพ

2. การป้องกนั และคมุ โรคติดตอ่ แกป่ ระชาชนในพื้นท่ี
3. พัฒนาระบบบรกิ ารสขุ ภาพครอบคลมุ ทุกกลุ่มวยั โดยการมสี ว่ นรว่ มของประชาชน

4. พฒั นาและส่งเสริมใหป้ ระชาชนมีความรูเ้ กี่ยวกับการใชพ้ ืชสมนุ ไพรและแพทย์ทางเลอื ก
5. ประชาชนเข้าถงึ การบริการด้านการแพทย์
6. พัฒนาระบบสง่ ตอ่ และระบบสารสนเทศทางการแพทยฉ์ กุ เฉนิ

7. ทุกกล่มุ วัยไดร้ บั การคดั กรอง ปอ้ งกนั และควบคมุ โรคไมต่ ิดต่อ

2. ยทุ ธศาสตร์ขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น

2.1 วสิ ัยทัศน์
“ชาวลานสกั รักษส์ ง่ิ แวดลอ้ ม เพียบพร้อมคณุ ธรรม นา้ การพัฒนาท่ยี ง่ั ยนื ”

2.2 ยทุ ธศาสตร์
1. ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาโครงสรา้ งพนื้ ฐาน
2. ยุทธศาสตร์การบริหารทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม
3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกจิ และการทอ่ งเทย่ี ว
4. ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาคนและสังคมใหม้ ีคุณภาพ
5. ยุทธศาสตร์การเมอื ง การบรหิ าร

2.3 เป้าประสงค์
1. เพ่อื พฒั นาโครงสรา้ งพื้นฐาน
2. เพอ่ื พัฒนาการบริหารทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม
3. เพือ่ พฒั นาเศรษฐกจิ และการท่องเท่ยี ว
4. เพ่อื พัฒนาคนและสังคมให้มคี ุณภาพ
5. เพือ่ พฒั นาการเมือง การบริหาร

2.4 ตวั ชีวัด
1. จา้ นวนโครงการดา้ นโครงสร้างพน้ื ฐานในดา้ นต่างๆทีเ่ ทศบาลจดั ให้มีขึ้นในแต่ละปี
2. จา้ นวนครัวเรือนในเขตเทศบาลต้าบลลานสักสามารถบริหารจัดการขยะได้ด้วยตนเองและมี

ความเข้าในการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรพั ยากรธรรมชาติเพ่ิมขน้ึ
3. จ้านวนประชาชนในเขตเทศบาล มีความรู้และเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาการท่องเที่ยว

และจ้านวนกลุ่มสง่ เสรมิ อาชีพในเขตเทศบาลมีรายได้เพม่ิ ขน้ึ และพ่ึงตนเองได้ มากข้ึน
4. จ้านวนผู้สูงอายุ ผู้พิการ และประชาชนโดยทั่วไปที่มีสิทธิและลงทะเบียนกับเทศบาลเพื่อ

ขอรบั สทิ ธไิ ด้รับบริการอยา่ งทว่ั ถึงทกุ คน
5. เทศบาลต้าบลลานสักมีผลการปฏิบัตงิ านที่มปี ระสิทธภิ าพเพม่ิ ขนึ้

22

2.5 คา่ เป้าหมาย
1. เทศบาลจดั ใหม้ ีโครงสรา้ งพ้ืนฐานในด้านตา่ งๆ เพ่อื ให้บริการประชาชนไดป้ ีละ 3 โครงการ
2. จ้านวนครัวเรือนในต้าบลบาลต้าบลลานสักสามารถบริหารจัดการขยะได้ด้วยตนเองและ

มีความเข้าในการอนุรักษ์และฟ้ืนฟทู รพั ยากรธรรมชาติเพ่ิมขน้ึ ร้อยละ 20 ครวั เรือน/ปี
3. จ้านวนประชาชนในเขตเทศบาล มีความรู้และเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาการท่องเท่ียว

และจา้ นวนกลมุ่ ส่งเสรมิ อาชีพในเขตเทศบาลมีรายไดเ้ พ่ิมข้นึ และพ่ึงตนเองได้มากขนึ้ รอ้ ยละ 10 คน/ปี
4. จ้านวนผู้สูงอายุ ผู้พิการ และประชาชนโดยท่ัวไปท่ีมีสิทธิและลงทะเบียนกับเทศบาลเพ่ือ

ขอรับสทิ ธิไดร้ บั บรกิ ารอย่างทั่วถึงทกุ คน 100%
5. เทศบาลต้าบลลานสกั มผี ลการปฏิบัติงานท่ีมปี ระสิทธภิ าพเพม่ิ ข้นึ 60%

2.6 กลยทุ ธ์
1. สนับสนนุ โครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ
2. พฒั นาแหลง่ นา้ เพอื่ การอุปโภค - บริโภค และท้าการเกษตร
3. อนรุ ักษ์ ฟ้ืนฟูทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม
4. สง่ เสริมสร้างงาน สรา้ งอาชพี ให้กับประชาชน
5. ส่งเสริมด้านการค้า การบรกิ ารและการทอ่ งเท่ียวเชงิ นเิ วศและเชิงอนุรักษ์
6. สง่ เสรมิ แนวความคิดเศรษฐกิจพอเพียง และแก้ไขปญั หาความยากจน
7. สนับสนุนและสง่ เสริมกระบวนการพัฒนาชมุ ชนและการพฒั นาสวสั ดิการสงั คมชุมชน
8. ส่งเสรมิ และสนับสนนุ ด้านการกฬี าและนันทนาการ
9. สง่ เสรมิ และจดั การศกึ ษาในทอ้ งถน่ิ
10. ส่งเสรมิ อนุรักษ์และพัฒนาขนบธรรมเนยี ม ประเพณี ศลิ ปวฒั นธรรม และภูมิปญั ญาท้องถน่ิ
11. พัฒนาประสทิ ธิภาพในการปฏิบตั งิ านในดา้ นต่างๆเพ่อื ใหบ้ ริการประชาชนไดอ้ ยา่ งท่วั ถึง
12. ส่งเสรมิ ให้ทกุ ภาคส่วนเขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการปฏิบัตงิ านในด้านต่างๆ ของเทศบาลภายใต้
หลักธรรมาภิบาล
13. การพฒั นาระบบสารสนเทศ (IT) เพอื่ การบริหาร
14. ส่งเสรมิ การบริหารกจิ การบา้ นเมอื งท่ดี ี
15. พัฒนาประสทิ ธภิ าพการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย เพอื่ ความปลอดภยั ในชวี ติ และ
ทรัพยส์ นิ ของประชาชน

2.7 จุดยนื ทางยุทธศาสตร์
๑) พัฒนาชุมชนให้น่าอยู่มีความปลอดภัย โดยได้รับบริการสาธารณะด้านโครงสร้างพ้ืนฐาน

ทจี่ า้ เปน็ เพ่ือความสะดวก รวดเร็ว และรองรับการขยายตัวของชมุ ชนและเศรษฐกจิ
๒) พัฒนาระบบการศึกษา ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมส้าคัญทางศ าสนา อนุรักษ์

ศิลปวัฒนธรรมทอ้ งถ่ินใหค้ งอยู่สบื ไป
๓) สง่ เสรมิ และพัฒนาศกั ยภาพคนและความเขม้ แขง็ ของชุมชนในการพึ่งตนเองตามหลักปรัชญา

ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
๔) กา้ จดั ขยะมูลฝอยสง่ิ ปฏิกูลและมลภาวะสิง่ แวดลอ้ มในท้องถ่ินอยา่ งมรี ะบบและมีความยงั่ ยืน
๕) เทศบาลมีการบรหิ ารจัดการภาครฐั ท่ดี แี ละมสี ว่ นร่วมจากทกุ ภาคส่วน

23
๒.๘ ความเช่ือมโยงของยทุ ธศาสตร์ในภาพรวม

การจัดท้าแผนพฒั นาท้องถ่นิ ของเทศบาลมีความเช่ือมโยงของยุทธศาสตร์ในภาพรวม ดงั นี้
วิสยั ทัศน์

ยุทธศาสตร์การพฒั นาของเทศบาล

เป้าประสงค์

ตวั ชีวัด

คา่ เป้าหมาย

กลยทุ ธ์

จุดยืนทางยทุ ธศาสตร์

24

๓. การวเิ คราะหเ์ พือ่ พฒั นาท้องถนิ่

๓.๑ การวิเคราะหก์ รอบการจดั ทายุทธศาสตรข์ ององคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ

ในการจัดท้าแผนพัฒนาท้องถ่ินของเทศบาลได้ใช้การวิเคราะห์ SWOT Analysis/Demand

(Demand Analysis)/Global Demand และ Trend ปัจจัยและสถานการณก์ ารเปลยี่ นแปลงท่ีมผี ลต่อการพัฒนา

อย่างน้อยตอ้ งประกอบด้วย การวิเคราะหศ์ กั ยภาพดา้ นเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านทรัพย์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ซง่ึ มีรายละเอียดดังนี้

๑. จดุ แขง็ (S : Strength)
 ประชาชนและผูน้ ้าชุมชน มีความพร้อมทีจ่ ะให้ความร่วมมอื กบั ทางราชการในการพัฒนาทอ้ งถนิ่ ของ

ตนเองให้พัฒนาไปอย่างยงั่ ยนื
 ชมุ ชนไดร้ ับการบริการสาธารณะดา้ นโครงสร้างพน้ื ฐานครบถ้วน มีเส้นทางคมนาคมสะดวก
 ประชาชนยังยึดมัน่ ในขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมทอ้ งถน่ิ
 อยูใ่ กลแ้ หลง่ ทอ่ งเทยี่ วทางธรรมชาติ และเขตอนุรักษพ์ ันธุ์สัตว์ปา่
 ประชากรส่วนใหญ่มอี าชพี เกษตรกรรมผลผลิตทางการเกษตรทสี่ ้าคัญ ไดแ้ ก่ ออ้ ย ข้าวมนั ส้าปะหลงั
 มีการประสานความรว่ มมอื ระหวา่ งเทศบาลกับสว่ นราชการในพน้ื ท่ี
 มีความสงบ ไม่มปี ญั หาด้านความปลอดภยั และดา้ นมลพิษ
 มีวัด 2 แหง่ วัดคริสต์ 1 แห่ง
 มีสถาบันการเงิน กองทุนหมบู่ า้ น มีกลุ่มอาชีพต่างๆ

๒. จุดอ่อน (W : Weakness)
 ประชาชนไมส่ ามารถรวมกลุม่ กันเพื่อด้าเนินการด้านเศรษฐกจิ ของชมุ ชนในรูปแบบของกลมุ่ อาชพี

ได้อย่างเข้มแขง็
 ขาดแหลง่ เกบ็ กักนา้ เพ่ือการอปุ โภคบรโิ ภคและเพอื่ การเกษตร
 ขาดสถานศึกษาระดับฝึกอาชพี ไม่มีสถานประกอบกจิ การขนาดใหญ่ ไม่มีโรงงานในพน้ื ท่ี
 เทศบาลตา้ บลลานสัก มีจ้านวนบคุ ลากรยงั ไมค่ รบตามต้าแหน่ง ประกอบกับเครือ่ งมือไมเ่ พียงพอ

เนอื่ งจากงบประมาณจ้ากัด
 ปัญหาหนส้ี นิ ของเกษตรกร

๓. โอกาส (O : Opportunity)
 รัฐบาลมีนโยบายให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการพฒั นาทอ้ งถ่นิ ของตนเอง
 รฐั บาลมีแผนการพัฒนาประเทศอยา่ งย่ังยนื ตอ่ เน่ือง ผ่านโครงการและเงนิ อุดหนุนต่างๆ

๔. ข้อจากัด (T : Threat)
 เทศบาลต้าบลลานสักเปน็ เทศบาลขนาดเล็กมีงบประมาณจ้ากัด
 งบประมาณทไ่ี ด้รบั จากส่วนกลาง ไม่เพียงพอในการบริหารงาน
 กฎหมายและระเบยี บต่างๆในการปฏบิ ัตงิ านท้าให้ขาดความคลอ่ งตัวในการบริหารงาน
 การพฒั นาบางดา้ นต้องเป็นไปตามกฎหมาย จึงไมส่ ามารถดา้ เนนิ การแกป้ ญั หาได้ ต้องอาศัยความ

เสียสละของชุมชนเท่านน้ั ซงึ่ บางคร้ังกท็ า้ ไดย้ าก

25

๓.๒ การประเมินสถานการณส์ ภาพแวดลอ้ มภายนอกที่เกย่ี วข้อง
ในการจัดทา้ แผนพัฒนาทอ้ งถิ่นของเทศบาลนั้น ได้ท้าการประเมินสถานการณ์สภาพแวดล้อมภายนอก

ทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง ซึง่ มรี ายละเอียดดังน้ี

1. ดา้ นโครงสรา้ งพืนฐาน
1.1 ประชาชนตอ้ งการเส้นทางในการสญั จรไปมาเพมิ่ มากขน้ึ
1.2 ไฟฟา้ สอ่ งสว่างทางและทส่ี าธารณะยงั ไม่สามารถด้าเนินการครอบคลุมพ้ืนทไี่ ด้ท้ังหมด
1.3 รางระบายน้ายงั ไม่เพียงพอ เกิดการอดุ ตนั ทา้ ใหม้ นี า้ ขังเปน็ บางจดุ
1.4 แหล่งนา้ ในการเกษตรไม่พอเพยี งในชว่ งฤดแู ล้งและน้าประปาสา้ หรับอุปโภค - บรโิ ภคและยังไมไ่ ด้

มาตรฐาน
2. เพอ่ื พัฒนาการบริหารทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม
2.1 ปญั หาเรื่องการบริหารจัดการขยะในชุมชน
2.2 ประชาชนขาดจิตสา้ นึกในการการอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอ้ ม

3. เพอื่ พฒั นาเศรษฐกิจและการทอ่ งเท่ยี ว
3.1 ประชาชนไม่สามารถรวมกลุ่มกันเพ่ือด้าเนินการด้านเศรษฐกิจของชุมชนในรูปของกลุ่มอาชีพ

อยา่ งเขม้ แขง็ และขาดแหล่งเงินลงทุนในการทา้ กิจการและประกอบอาชพี
3.2 ผลผลิตทางการเกษตรราคาตกต้า่ เน่ืองจากต้องผ่านพ่อค้าแมค่ ้าคนกลาง

4. เพ่อื พฒั นาคนและสงั คมใหม้ ีคณุ ภาพ
4.1 การศกึ ษาส่อื การเรียนการสอนยังไม่พอเพยี ง เดก็ นกั เรียนไม่ได้รับการศกึ ษาตอ่ ในระดับที่สูงกว่า

ขน้ั พ้ืนฐาน และขาดงบประมาณในการศกึ ษา ครอบครวั ยากจน
4.2 เยาวชนและวัยรุ่นติดเกมส์ บหุ รี่ เหลา้ ยาเสพติด และทอ้ งก่อนวยั อนั สมควร
4.3 ประชาชนไม่ค่อยใหค้ วามส้าคญั กับการออกก้าลงั กายและการดูแลสุขภาพของตวั เอง
4.5 ศิลปะ วัฒนธรรม จารีต ประเพณี ถูกสังคมสมัยใหม่ค่อยๆเปลี่ยนแปลงไปและไม่ค่อยมีผู้สืบ

ทอดภมู ิปัญญาทอ้ งถน่ิ

5. เพ่ือพฒั นาการเมือง การบรหิ าร
5.1 ขาดแคลนบคุ ลากรในการปฏิบตั งิ านตามต้าแหน่ง
5.2 ขาดอปุ กรณเ์ ครอื่ งมอื เครอ่ื งใชใ้ นการปฏิบัติงาน
5.3 ประชาชนไม่คอ่ ยใหค้ วามสา้ คญั กบั การมสี ่วนร่วมในการแสดงความคิดเหน็








































Click to View FlipBook Version