The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ต้นแบบสูงวัย เล่มที่ 1 พ.ศ.2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by science cmu, 2020-12-07 01:38:21

ต้นแบบสูงวัย เล่มที่ 1 พ.ศ.2563

ต้นแบบสูงวัย เล่มที่ 1 พ.ศ.2563

Keywords: ต้นแบบสูงวัย

ª¡. Áª.
เลม่ ที่ ๑ พ.ศ.๒๕๖๓

๙๖ ๙๓ ๙๒ ๙๑

๘๘ ๘๘ ๘๖ ๘๖
๘๖ ๘๕ ๘๑ ๘๑

ชมรมผ ยงใหม่
ู้เกษียณ มหาวิทยาลัยเชี

ชมรมผเู้ กษียณ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ (ชก. มช.)

รศ.ดร.นิทศั น จิระอรณุ : ถา ยภาพ

ชก. มช.

ที่ม�่ า... ที่ไ่� ป
บุุคลากรของมหาวิิทยาลััยเชีียงใหม่่ที่่�เกษีียณราชการไปแล้้ว
มีีอยู่่�จำ�ำ นวนมาก บุุคลากรเหล่่านี้้�มีีวิิถีีการดำำ�รงชีีวิิต ทั้้�งในเรื่่�องของ
การดููแลสุุขภาพ การบริโิ ภค การออกกำำ�ลัังกาย และการใช้ช้ ีีวิิตประจำำ�วันั
ที่่�แตกต่่างกัันออกไป ที่่�สำำ�คััญพบว่่ามีีผู้้�ที่�มีีอายุุมากกว่่า ๘๐ ปีีขึ้�้นไป
จำำ�นวนมาก เป็็นผู้้�ที่�มีีสุุขภาพแข็็งแรงทั้้�งร่่างกายและจิิตใจ ซึ่่�งหากได้้นำ�ำ
เรื่่�องราวการดำำ�เนิินชีีวิิตของผู้�้อาวุุโสเหล่่านี้้�มาเผยแพร่่เป็็นข้้อคิิดแนวทาง
แนะนำ�ำ การดำ�ำ รงชีีวิิตหลัังเกษีียณแล้้วก็็น่่าจะเป็็นประโยชน์์ และสร้้าง
แรงบัันดาลใจที่่�ดีี คณะกรรมการ ชก.มช. จึึงได้้แต่่งตั้�งคณะทำำ�งานขึ้�้นมา
รับั ผิิดชอบในการคัดั เลืือกสููงวัยั ต้้นแบบจำำ�นวน ๑๒ ท่่าน เพื่่อ� ไปดำ�ำ เนิินการ
สััมภาษณ์์ เก็็บข้้อมููลและนำ�ำ มาจััดทำำ�เป็็นหนัังสืือเล่่มนี้้� แน่่นอนผู้้�อาวุุโส
สููงวััยต้้นแบบไม่่ได้้มีีเฉพาะ ๑๒ ท่่านแรกนี้้� ยัังมีีอีีกเป็็นจำ�ำ นวนมากซึ่่�ง
ทางชมรมฯ จะได้้ดำำ�เนิินการจััดพิิมพ์์ต่อ่ ๆไป
ในการทำำ�งาน คณะทำ�ำ งานได้้กำำ�หนดคำำ�ถามมาตรฐาน ๓ ข้้อ
(๑) เพื่่�อให้้ทราบถึึงสถานภาพทางครอบครััวและความเป็็นอยู่่�ปััจจุุบััน
(๒) เพื่�่อให้้ทราบจริิยวััตรประจำ�ำ วััน และ (๓) ขอคำำ�แนะนำำ�จากท่่านเพื่่�อ
ฝากไปถึึงสมาชิิก ชก.มช.ให้้ใช้้ชีีวิิตวััยเกษีียณอย่่างมีีคุุณภาพและสมาร์์ท
แล้้วแบ่่งกัันออกไปพบปะและเก็็บข้้อมููล นำำ�มาร้้อยเรีียงเขีียนออกมาเป็็น
หนัังสืือเล่ม่ นี้้�
คณะทำ�ำ งานหวัังว่่าหนัังสืือเล่่มนี้้�จะเป็็นประโยชน์์และช่่วยสร้้าง
แรงบัันดาลใจให้้กับั สมาชิกิ ชก. มช. ต่่อไป

ศ.ดร. ทวีีศักั ดิ์์� ระมิิงค์ว์ งศ์์

๑ ธัันวาคม ๒๕๖๓

ชก. มช.

สารจากอธิิการบดีี
มหาวิทิ ยาลัยั เชียี งใหม่่ ได้ส้ นับั สนุนุ การดำ�ำ เนินิ งานของชมรมผู้เ�้ กษียี ณ
มหาวิทิ ยาลัยั เชียี งใหม่่ (ชก.มช.) ที่่จ� ะเป็น็ ตัวั เชื่อ�่ มโยงระหว่า่ งมหาวิทิ ยาลัยั
กับั ผู้้�ที่เ� กษียี ณไปแล้ว้ มหาวิทิ ยาลัยั ตระหนักั ดีวี ่า่ ผู้เ�้ กษียี ณเป็น็ ผู้้�ที่ม� ีศี ักั ยภาพ
มีีพลััง ที่่�ยัังสามารถช่่วยเหลืือมหาวิิทยาลััย ช่่วยเหลืือสัังคม ได้้เป็็นอย่่างดีี
เพียี งแต่ว่ ่า่ ขณะนี้้ก� ลไกที่่ม� ียี ังั ไม่ส่ ามารถเอื้อ� อำ�ำ นวยให้ผ้ ู้เ�้ กษียี ณได้ใ้ ช้ศ้ ักั ยภาพ
และความมีจี ิติ บริกิ ารที่่ม� ีอี ยู่ไ�่ ด้อ้ ย่า่ งเต็ม็ ที่่ห� รืือที่่ต� ้อ้ งการ ในระยะหนึ่่ง� ปีทีี่่ผ� ่า่ นมา
ชก.มช. ได้แ้ สดงให้เ้ ห็น็ ว่า่ สามารถสร้า้ งเครืือข่า่ ยของผู้เ�้ กษียี ณของมหาวิทิ ยาลัยั
เชียี งใหม่ข่ ึ้น�้ มาได้ใ้ นระดับั หนึ่่ง� ซึ่ง�่ มหาวิทิ ยาลัยั ก็พ็ ร้อ้ มที่่จ� ะให้ก้ ารสนับั สนุนุ
กิจิ กรรมของ ชก.มช. ตามความเหมาะสมและจำ�ำ เป็น็ ซึ่ง�่ สิ่ง� ที่่ม� หาวิทิ ยาลัยั
อยากเห็็นคืือ ผู้�เ้ กษีียณของมหาวิิทยาลััยเชีียงใหม่่เป็็นผู้้�ที่�มีีสุุขภาพแข็็งแรง
มีคี ุณุ ภาพชีวี ิติ ที่่ด� ี ี มีพี ลังั และมีจี ิติ บริกิ ารที่่จ� ะกลับั มาช่ว่ ยเหลืือมหาวิทิ ยาลัยั
และสังั คมตามศักั ยภาพ ทั้้ง� นี้้ � ชก.มช. จะสามารถช่ว่ ยมหาวิทิ ยาลัยั ในเรื่อ� งนี้้�
ได้เ้ ป็น็ อย่า่ งดีี
ในนามของมหาวิทิ ยาลัยั เชียี งใหม่่ ขอแสดงความยินิ ดีกี ับั ความสำ�ำ เร็จ็
ของหนังั สืือ “สููงวัยั ต้น้ แบบ ชก.มช.” ซึ่ง�่ หนังั สืือเล่ม่ นี้้จ� ะเป็น็ แรงบันั ดาลใจที่่ด� ีี
ให้้กัับผู้�เ้ กษีียณรุ่�นหลัังๆ ให้้สามารถดำ�ำ รงชีีวิิตได้้อย่่างมีีความสุุข มีีคุุณภาพ
และสมาร์ท์ และขอชื่น�่ ชมเป็น็ กำ�ำ ลังั ใจให้ก้ ับั คณะกรรมการของ ชก.มช. ทุกุ ท่า่ น
ที่่�จะได้้ทำ�ำ สิ่่�งดีีๆ ให้้กัับผู้�้เกษีียณและมหาวิิทยาลััยเชีียงใหม่่ ในการนี้้�
ขออำ�ำ นวยพรให้ก้ ารจัดั ทำ�ำ หนังั สืือ “สููงวัยั ต้น้ แบบ ชก.มช.” ในครั้ง� นี้้� ดำ�ำ เนินิ ไป
ด้ว้ ยความเรียี บร้อ้ ย สัมั ฤทธิ์ผ�์ ล ตามวัตั ถุปุ ระสงค์ท์ี่่ต�ั้ง� ไว้ท้ ุกุ ประการ

ศาสตราจารย์์คลิินิิก นายแพทย์น์ ิิเวศน์์ นัันทจิิต
อธิิการบดีีมหาวิิทยาลััยเชียี งใหม่่

เล่ม่ ที่�่ ๑ พ.ศ.๒๕๖๓

สารบััญ

ที่่�มาที่่�ไป ก
สารจากอธิกิ ารบดีี

สููงวัยั ต้น้ แบบ ชก.มช.

รองศาสตราจารย์์ปราณีตี สวััสดิิรักั ษา ๗
ศาสตราจารย์เ์ กีียรติิคุุณ นพ.บริิบูรู ณ์์ พรพิบิ ููลย์์ ๑๒
ผู้ช�้ ่ว่ ยศาสตราจารย์์จััน เกริกิ มธุกุ ร ๑๕
ศาสตราจารย์์เกียี รติิคุุณ นพ.อาวุุธ ศรีีศุุกรีี ๒๐
ศาสตราจารย์เ์ กียี รติิคุุณ สุุวัฒั ก์์ นิิยมค้้า ๒๗
รองศาสตราจารย์์ สมหมาย เปรมจิิตต์์ ๓๑
ศาสตราจารย์์เกียี รติคิ ุุณ นพ.พงษ์์ศิริ ิิ ปรารถนาดีี ๓๗
รองศาสตราจารย์จ์ ินิ ตนา สุุนทรธรรม ๔๑
รองศาสตราจารย์์มัณั ฑนา เกีียรติิพงษ์์ ๔๕
รองศาสตราจารย์ส์ ุุภาพ ณ เชียี งใหม่่ ๔๙
ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์์สุุจินิ ดา นิมิ มานนิิตย์์ ๕๒
คุณุ มลิิวัลั ย์์ ดำำ�รงศักั ดิ์์�
เสีียงสะท้้อน จาก อาจารย์์ หมอบริิบูรู ณ์์ พรพิิบูรู ย์์ ๕๗
คณะกรรมการจัดั ทำำหนัังสืือ
๕๙

ชก. มช.
เล่มที่ ๑ พ.ศ.๒๕๖๓

ชก. มช.

รองศาสตราจารยปราณีต สวัสดิรักษา

คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยเชยี งใหม

เกิดวนั ท่ี ๑๔ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๔๖๗
ปจจุบันอายุ ๙๖ ป

ชก. มช.

รองศาสตราจารย์ป์ ราณีีต สวัสั ดิริ ัักษา

“ อันั ความกรุณุ าปราณีี จะมีีใครบัังคับั ก็ห็ าไม่่
หลั่ง่� มาเองเหมือื นฝนอัันชื่่�นใจ จากฟากฟ้้าสุรุ าลััยสู่่แ� ดนดินิ
ข้้อความนี้้�องค์พ์ ระธีีรราชเจ้า้ พระโปรดเกล้า้ ประทานให้้ใจถวิลิ
ใช้ค้ ุุณค่า่ กรุณุ าไว้้อาจิณิ ดั่ง� วาริินจากฟากฟ้า้ สู่�่ สากล
อันั พวกเราเหล่า่ นักั เรีียนพยาบาล ปณิิธานอนุุกููลเพิ่่ม� พููนผล
เรียี นวิิชากรุณุ าช่่วยปวงชน ผู้�เจ็บ็ ไข้ไ้ ด้พ้ ้น้ ทรมาน
แม้้โรคร้้ายจัักแพร่่พิษิ ถึงึ ปลิดิ ชีพี จะยึึดหลัักดวงประทีปี คือื สงสาร
ยอมเหนื่่�อยยากตรากตรำ�ำ ใจสำำ�ราญ อุุทิศิ งานเพื่่อ� คนไข้้ทั้้ง� ใจกาย......

”พระบาทสมเด็จ็ พระมงกุุฏเกล้า้ เจ้า้ อยู่�่ หัวั และท่่านผู้�หญิิงละเอีียดพิบิ ููลสงคราม ประพันั ธ์์คำำ�ร้้อง

บทเพลงข้้างบนเป็็นบทเพลงประจำ�ำ ของวิิชาชีีพพยาบาลที่่�สะท้้อน
ให้้เห็็นถึึงบทบาทของพยาบาล วิิชาชีีพพยาบาล ซึ่่�งท่่านรองศาสตราจารย์์
ปราณีตี สวััสดิิรัักษา อดีตี รองคณบดีี คณะพยาบาล-ศาสตร์์ มหาวิทิ ยาลััย
เชีียงใหม่่ ที่่ม� ีีอายุคุ รบ 96 ปีี ในปีนี ี้้ถ� ืือเป็น็ อาจารย์พ์ ยาบาล ต้้นแบบของ
ผู้้�สูงวััยที่่�ได้้ปฏิิบััติิงานในรั้�วของมหาวิิทยาลััยเชีียงใหม่่ มาเป็็นเวลานาน
ด้้วยความวิิริิยะอุุตสาหะ ทำ�ำ ประโยชน์์
ให้้แก่่โรงพยาบาลและสถานศึึกษา เช่่น
คณะพยาบาลศาสตร์์ ตลอดจนสัังคม
รอบข้า้ ง อย่่างไม่รู่้�สึกเหน็็ดเหนื่�อ่ ยสมกับั
เป็น็ ครููพยาบาลผู้้ใ� ห้ข้ อง 5 แผ่่นดิิน.....

รศ.ปราณีีต สวัสั ดิิรัักษา รับั พระราชทานเข็็มรางวััลที่่� ๑ จาก
พระบาทสมเด็จ็ พระปรเมนทรมหาอานัันทมหิิดล (รัชั กาลที่่� ๘)

2 เมื่่�อวันั ที่่� ๒๓ เมษายน พ.ศ. ๒๔๘๙

เล่ม่ ที่่� ๑ พ.ศ.๒๕๖๓

รองศาสตราจารย์์ปราณีตี สวัสั ดิิรัักษา เกิิดเมื่อ�่ วัันที่่� 14 มิถิ ุุนายน
พ.ศ.2467 ที่่ก� รุุงเทพมหานคร มีพี ี่่น� ้้อง 6 คน ชาย 1 คน และหญิิง 5 คน
ปััจจุุบัันเสีียชีีวิิต เหลืือแต่่ท่่านอาจารย์์และหลาน 4 คน ในขณะนี้้�อยู่�่ที่�
กรุุงเทพมหานคร ปััจจุุบัันท่่านอาศััยอยู่่�กัับผู้้�ดู แลที่่�ดููแลท่่านมาประมาณ
20 ปีี ที่่บ� ้า้ นพักั ที่่�ถนนศิิริิมัังคลาจารย์์ ซอย 7 จัังหวัดั เชียี งใหม่่

ในปีี พ.ศ. 2502 มีีการสร้้างโรงพยาบาลสวนดอกเพื่�่อให้้เป็็น
แหล่่งฝึึกของนัักศึึกษาสาขาวิิทยาศาสตร์์การแพทย์์ในสมััยนั้้�น หลัังจากที่่�
ท่่านอาจารย์์จบการศึึกษาพยาบาลและผดุุงครรภ์์จากคณะแพทยศาสตร์์
ศิิริิราชพยาบาล และประกาศนีียบััตรผดุุงครรภ์์จากประเทศออสเตรเลีีย
ท่่านก็ไ็ ด้ม้ ีโี อกาสไปศึึกษาต่่อที่่� School of Nursing, Boston University
สหรััฐอเมริิกา จนถึึง พ.ศ. 2505 ท่่านได้้กลัับมาดำ�ำ รงตำ�ำ แหน่่งหััวหน้้า
บริิการพยาบาลของโรงพยาบาลสวนดอกในขณะนั้้�น และในปีี 2508
ท่่านได้้ปฏิิบััติิหน้้าที่่�ครููพยาบาล ด้้านการเรีียนการสอนภาควิิชาผดุุงครรภ์์
และอนามััย ในคณะแพทยศาสตร์์ ต่่อมาใน ปีี พ.ศ. 2512 ท่่านได้้
ย้้ายมาปฏิิบััติิงานเป็็นอาจารย์์ภาควิิชาการพยาบาลสููติิและนรีีเวชวิิทยา
คณะพยาบาลศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยเชีียงใหม่่ และเมื่่อ� ปีี พ.ศ. 2522 ท่า่ น
ดำำ�รงตำำ�แหน่่งเป็น็ รองคณบดีี คณะพยาบาลศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยเชียี งใหม่่

3

ชก. มช.

จนถึึงปีี พ.ศ. 2527 ซึ่�ง่ เป็็นปีีที่่�ท่่านเกษีียณอายุรุ าชการจากมหาวิทิ ยาลััย
เชีียงใหม่ ่ นับั ได้้ว่่าท่า่ นเป็น็ ผู้้�ที่บ� ุุกเบิิกงานบริกิ ารของโรงพยาบาลสวนดอก
และเป็็นผู้้�ร่วมวางรากฐานให้้แก่่โรงพยาบาลของโรงเรีียนแพทย์์แห่่งแรก
ในภููมิิภาค นัับว่่าเป็็นความภาคภููมิิใจของศิิษย์์พยาบาลและผู้้�ร่วมงาน
สหสาขาวิชิ าชีพี ทุุกสมัยั
อาจารย์์เป็็นผู้้�ที่�มีีความโอบอ้้อมอารีี มีีคุุณธรรมสููง ช่่วยเหลืือ
ผู้�้ใต้้บัังคัับบััญชาและลููกศิิษย์์พยาบาลอยู่่�เป็็นประจำำ� ท่่านเป็็นต้้นแบบ
ของการดููแลสุุขภาพกาย ใจ และช่่วยเหลืือสัังคมมาโดยตลอด เพราะคิิด
มาตลอดว่่าไม่่อยากเป็็นภาระของใครโดยไม่่จำ�ำ เป็็น ขณะที่่�ท่่านยัังทำ�ำ งาน
ที่่�โรงพยาบาลสวนดอก ท่่านเป็็นแกนนำำ�ในการจััดตั้้�งหน่่วยแพทย์์อาสา
เคลื่�่อนที่่� สมเด็็จพระศรีีนคริินทราบรมราชชนนีี และประสานผู้้�เกี่�ยวข้้อง
ในการออกพื้้�นที่่� หลัังจากเกษีียณอายุุ ท่่านยัังได้้ปฏิิบััติิงานเป็็นจิิตอาสาที่่�
มููลนิิธิิเด็็กกำำ�พร้้าบ้า้ นกิ่�งแก้้ววิิบููลสัันติเิ ชียี งใหม่ ่ ถนนวัวั ลาย ทุกุ วัันราชการ
ยกเว้น้ วันั พระ โดยทำำ�หน้า้ ที่่เ� ป็น็ ผู้ใ�้ ห้ค้ ำำ�แนะนำำ�และเป็น็ ล่า่ มให้แ้ ก่อ่ าคันั ตุกุ ะ
ชาวต่่างชาติิที่่�มาเยี่�ยมและบริิจาคเงิินให้้แก่่มููลนิิธิิฯ นอกจากนั้้�นยัังเป็็น
ผู้้�ร่วมก่อ่ ตั้�งสโมสรไลอ้้อนสตรีคี ำำ�ดาราเชีียงใหม่ ่ อีีกด้ว้ ย
ปััจจุุบัันท่่านช่่วยงานสัังคม
ต่่างๆ อยู่�่ บ้้างตามสมควร ได้แ้ ก่่ สมาคม
พ ย า บ า ล แ ห่่ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ส า ข า
ภาคเหนืือ ร่่วมกิิจกรรมสำำ�คััญของ
คณะพยาบาลศาสตร์์ เช่่น วัันไหว้้ครูู
วัั น สถ า ป น า ค ณ ะ พ ย า บ า ล ศ า ส ต ร์์
วันั รดน้ำำ��ดำ�ำ หััว เป็็นต้้น

4

เล่ม่ ที่�่ ๑ พ.ศ.๒๕๖๓

ในด้้านกิิจวััตรประจำ�ำ วััน ปััจจุุบัันอาจารย์์ช่่วยเหลืือตนเองได้้
ปานกลาง มีีผู้้�ดูแลคอยช่่วยดููแลและจััดเตรีียมอาหารให้้ ในช่่วงกลางวััน
จะเดิินออกกำ�ำ ลัังกายเล็ก็ ๆ น้อ้ ยๆ หน้า้ บ้า้ นหรืือเดิินในบ้้าน ไม่เ่ คยงีบี หลับั
เวลากลางวันั อาจารย์์จะเข้้านอนไม่เ่ กิินสามทุ่�มทุุกวัันและตื่น�่ นอนตอนเช้้า
ประมาณ 6.00 น ผู้้�ช่วยผู้้�จัดการบ้้านกิ่�งแก้้วจะมารัับ-ส่่งอาจารย์์ทุุกวััน
ยกเว้้นวัันพระ ตั้้�งแต่่เวลา 07.00-15.00 น แต่่ในช่่วงหลัังอาจารย์์จะ
ไปช่่วยเฉพาะวัันที่่�มีีผู้�้มาบริิจาคของเท่่านั้้�น ซึ่่�งกิิจกรรมนี้้�ช่่วยให้้อาจารย์์
ได้้พบปะผู้้�คนและช่่วยเหลืือสัังคมที่่�ขาดแคลน ปััจจุุบัันมีีโรคประจำำ�ตััว
เพียี งอย่า่ งเดียี วคืือ ความดันั โลหิติ สููง ซึ่ง่� จำำ�เป็น็ ต้อ้ งไปพบแพทย์ ์ 2-3 เดืือน
ต่่อครั้�ง ทั้้�งนี้้�จะมีีรถของโรงพยาบาลมารัับ ในเรื่�่องการรัับประทานอาหาร
อาจารย์ร์ ัับประทานได้้ทุกุ อย่า่ ง แต่่จะหลีกี เลี่�ยงอาหารประเภทที่่�มีีไขมันั สููง
ส่ว่ นระบบการขัับถ่่ายปกติิ สายตาดีี ไม่่ได้้สวมแว่่นสายตา
เคล็็ดลัับของอาจารย์์ในเรื่�่องการดููแลสมอง ไม่่ให้้หลงลืืมง่่าย คืือ
การเล่่นเกมส์์ลัับสมอง (ฉบัับหนัังสืือ) ทุุกวัันที่่�มีีเวลาว่่าง และสวดมนต์์
ประมาณ 1 ชั่่ว� โมง

5

ชก. มช. “

“ชีวี ิิตหลัังเกษียี ณเป็น็ ชีีวิิตที่่ท� ่า่ นจะได้้มีีเวลาแสวงหาความสุขุ ใส่่ตัวั
มีีเวลาคิิดวิเิ คราะห์์เรื่�องราวในอดีีตที่่ท� ่่านได้้ปฏิบิ ััติมิ า
ท่า่ นอาจารย์์ได้้ให้้ข้อ้ คิดิ ดีี ๆ สำ�ำ หรับั ผู้เ�้ กษีียณว่่า ชีวี ิิตหลัังเกษีียณ
เป็็นชีีวิิตที่่�ท่่านจะได้้มีีเวลาแสวงหาความสุุขใส่่ตััว มีีเวลาคิิดวิิเคราะห์์
เรื่�่องราวในอดีีตที่่�ท่่านได้้ปฏิิบััติิมา สิ่�งสำ�ำ คััญที่่� ท่่านต้้องเข้้มงวด คืือ
การดูแู ลสุขุ ภาพของตนเอง เลืือกรับั ประทานอาหารที่่เ� หมาะกับั วัยั ไม่ค่ วร
รัับประทานอาหารรสจััด ไม่่ควรรัับประทานอาหารให้้มากจนเกิินไป และ
สิ่ง� สำ�ำ คัญั คืือการสวดมนต์์ ทำำ�สมาธิิ ไม่ว่ ่า่ ท่่านจะยึึดหลัักศาสนาอะไร และ
สิ่ง� ที่่ผ� ู้เ้� กษียี ณควรปฏิบิ ัตั ิเิ ป็น็ อย่า่ งยิ่ง� คืือการช่ว่ ยเหลืือสังั คมในรููปแบบต่า่ งๆ
ตามความเหมาะสม

6

เล่่มที่�่ ๑ พ.ศ.๒๕๖๓

ชก. มช.

ศาสตราจารยเ กยี รตคิ ณุ นายแพทยบ รบิ รู ณ พรพบิ ูลย

คณะแพทยศาสตร มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม

เกิดวนั ท่ี ๑๗ กมุ ภาพนั ธ พ.ศ. ๒๔๗๐
ปจจุบนั อายุ ๙๓ ป

7

ชก. มช.

ศาสตราจารย์เ์ กีียรติคิ ุณุ นายแพทย์บ์ ริบิ ูรู ณ์์ พรพิบิ ูลู ย์์

ศาสตราจารย์เ์ กียี รติคิ ุณุ นายแพทย์บ์ ริบิ ูรู ณ์์ พรพิบิ ูลู ย์์ ปููชนียี บุคุ คล
อีกี ท่่านหนึ่่�ง ของคณะแพทยศาสตร์์ มหาวิิทยาลััย เชียี งใหม่ ่ ที่่เ� ป็็นต้้นแบบ
ด้้านสุขุ ภาพอนามัยั แม้้ว่่าท่่านจะมีีอายุุมากถึึง 93 ปี ี ย่่าง 94 ปีี แล้้วก็ต็ าม
อาจารย์์เกิิดที่่จ� ัังหวััดอุทุ ัยั ธานีี ณ วัันที่่ � 17 กุมุ ภาพัันธ์์ พ.ศ. 2470 สมรส
กับั แพทย์ห์ ญิิง รัังสีี พรพิิบููลย์์ มีีบุตุ รทั้้ง� หมด 3 คน หลาน 6 คน ปัจั จุบุ ันั
พำำ�นัักอยู่�่ กัับภรรยา บุตุ ร หลาน ณ บ้้านเลขที่่� 28 ถนนทองกวาว ตำ�ำ บล
สันั ติธิ รรม อำำ�เภอเมืือง จังั หวัดั เชีียงใหม่่

8

เล่ม่ ที่�่ ๑ พ.ศ.๒๕๖๓

ศ.นพ.บริิบููรณ์์ พรพิิบููลย์์ สำำ�เร็็จ
การศึึกษาจากคณะ แพทยศาสตร์์
จุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย หลัังจากนั้้�น
ไปศึึกษาต่่อในระดัับปริิญญาโทด้้าน
ชีีวเคมีี ณ มหาวิิทยาลััย Vanderbilt
ประเทศสหรััฐอเมริิกา เมื่่�อสำำ�เร็็จการ
ศึึกษาแล้้วท่่านกลัับมารัับราชการเป็็น
อาจารย์ท์ ี่่ค� ณะแพทยศาสตร์ ์ จุฬุ าลงกรณ์์
มหาวิิทยาลััย ได้้ระยะหนึ่่�ง ก็็ได้้ย้้าย
มาเป็็นอาจารย์์แพทย์์ที่่�คณะแพทยศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยเชีียงใหม่่
เมื่่�อ พ.ศ.2505 โดยประจำำ�ที่่�ภาควิิชาชีีวเคมีี ตำำ�แหน่่งสุุดท้้ายก่่อนเกษีียณ
อายุรุ าชการ ดำำ�รงตำำ�แหน่ง่ ศาสตราจารย์์ ระดัับ 10 และตำำ�แหน่ง่ หัวั หน้า้
ภาควิิชาชีวี เคมีี
กิิจวััตรประจำำ�วัันของอาจารย์์ มีีลัักษณะที่่�แตกต่่างจากผู้้�ที่�เข้้าสู่�่
วััยสููงอายุุท่่านอื่่�นๆ โดยจะเข้้านอนประมาณสี่�ทุ่�ม และตื่่�นนอนประมาณ
8.30–9.30 น. หลัังจากตื่่�นนอนจะทำำ�กายบริิหารยืืดกล้้ามเนื้้�อบนเตีียง
หรืือออกมาเดิินหน้า้ บ้า้ น ในขณะเดีียวกัันจะช่่วยดููแลภรรยาเล็็ก ๆ น้อ้ ย ๆ
แม้ว้ ่่าจะมีผี ู้้�ดูแลช่่วยเหลืืออยู่�่แล้้วก็็ตาม ในช่ว่ งเวลากลางวันั อาจารย์จ์ ะใช้้
เวลาว่่างในการเขีียนหนัังสืือเรื่่�องสั้ �นทั้้�งนี้้�
หนัังสืือที่่�นัับว่่ามีีคุุณค่่าอย่่างยิ่�งสำ�ำ หรัับ
นัักวิิชาการและผู้้�ที่�เข้้าสู่่�วััยชรา ได้้แก่่
หนังั สืือ “โลกยามชรา: แนวการเตรียี มตัวั
เพื่�่อเป็็นสุขุ ” ซึ่�่งมีที ั้้ง� หมด 4 เล่ม่

9

ชก. มช.

นอกจากนั้้�นอาจารย์ย์ ังั ใช้เ้ วลาศึึกษาธรรมะ และดููทีวี ีี ซึ่�่งรายการที่่�
อาจารย์์ชื่่�นชอบ คืือพวกมวย ฟุตุ บอล ส่ว่ นอาหารที่่ช� อบ ส่ว่ นใหญ่่จะเป็น็
พวกเนื้้อ� ปลาชนิดิ ต่า่ งๆ เช่น่ ปลานึ่่�ง ซาซิิมิิ และพวกตีีนไก่่ตุ๋น� เป็น็ ต้้น
ในช่ว่ งชีวี ิติ ที่่ผ� ่า่ นมา อาจารย์ไ์ ด้ท้ ำ�ำ กิจิ กรรมเพื่อ�่ สังั คมหลายอย่า่ ง อาทิิ
1. ประธานกรรมการบริหิ ารมููลนิธิ ิศิ าสตราจารย์ด์ ร.หม่อ่ มหลวงตุ้�ย
ชุุมสาย
2. กรรมการที่่�ปรึึกษากองทุุนหมอเจ้้าฟ้้า คณะแพทยศาสตร์์
มหาวิทิ ยาลัยั เชียี งใหม่่
3. รองประธานกรรมการมููลนิธิ ิิการศึึกษาไทย-ญี่่�ปุ่่�น เออิชิ ิิ
4. กรรมการมููลนิิธิิสงเคราะห์์ผู้้�สูงอายุุภาคเหนืือ
5. กรรมการมููลนิิธิิโรงเรีียนบาลีีสาธิติ ศึึกษา มจร.เชีียงใหม่่
6. ประธานมููลนิิธิิโรตารีีภาค 3360 โรตารีสี ากลหลายสมัยั
7. กรรมการดำ�ำ เนินิ งานศููนย์ศ์ ึึกษาผู้้�สูงอายุ ุ สถาบันั ราชภัฏั เชียี งใหม่่
8. ที่่�ปรึึกษาสถาบันั ชีวี ิติ วิิทยา มหาวิทิ ยาลััยพายััพ
9. ที่่�ปรึึกษาเครืือข่า่ ยองค์์กรดำำ�เนินิ งานผู้้�สูงอายุ ุ จัังหวัดั เชียี งใหม่่
10. ที่่�ปรึึกษาสภาผู้้�สู งอายุุแห่่งประเทศไทยในพระราชููปถััมภ์์
สมเด็จ็ พระศรีนี คริินทราบรมราชชนนีี สาขาจัังหวัดั เชียี งใหม่่
11. บรรณาธิิการจุุลสารข่่าววิิจััยผู้้�สู งอายุุ สภาผู้้�สู งอายุุแห่่ง
ประเทศไทย ฯ
12. บรรณาธิิการสารสัมั พัันธ์ผ์ ู้้�สูงอายุ ุ จังั หวัดั เชียี งใหม่่

10

เล่ม่ ที่�่ ๑ พ.ศ.๒๕๖๓ “

“ให้้ (Give)
มากกว่่า
รัับ (Take)
และทำำ�จิิตใจให้้ดีี
ควบคุุมอารมณ์์
ไม่่ให้้โมโห

จากประสบการณ์ช์ ีวี ิติ ที่่ม� ากมาย อาจารย์ด์ ำำ�รงตนเป็น็ แบบอย่า่ งที่่ด� ีี
แก่บ่ ุุตรหลานและคนรอบข้้างอีกี ทั้้ง� ยังั ดููแลตััวเองเป็็นอย่า่ งดีี แม้ว้ ่่าปัจั จุุบััน
จะมีีปััญหาเกี่ �ยวกัับจอประสาทตาเสื่่�อม น้ำำ��ตาลในกระแสเลืือดสููงเล็็กน้้อย
ก็็ตาม อาจารย์์มีีความปรารถนาที่่�จะให้้ผู้้�ที่�เกษีียณอายุุราชการ ใช้้ศิิลปะ
ในการดำ�ำ เนิินชีีวิิต โดยยึึดหลััก
“ให้้ (Give) มากกว่า่ รับั (Take)”
และทำ�ำ จิิตใจให้้ดีี ควบคุุมอารมณ์์
ไม่่ให้้โมโห นอกจากนั้้�น ต้้องดููแล
ด้้านร่า่ งกายด้้วยการออกกำ�ำ ลังั กาย
เลืือกอาหารที่่�เหมาะสม และเสริิม
ไวตามินิ บางอย่า่ ง

11

ชก. มช.

ชก. มช.

ผูชวยศาสตราจารยจัน เกริกมธุกร

คณะศกึ ษาศาสตร มหาวิทยาลยั เชยี งใหม

เกิดวันที่ ๑๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๑
ปจจบุ ันอายุ ๙๒ ป

12

เล่่มที่�่ ๑ พ.ศ.๒๕๖๓

ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์จ์ ััน เกริิกมธุุกร
ผู้�้ช่่วยศาสตราจารย์์จันั เกริิกมธุกุ ร เกิิดเมื่่�อ 15 มิถิ ุนุ ายน 2471
ปััจจุุบัันอายุุ 92 ปีี อาจารย์์เกิิดที่่�อำำ�เภอมโนรมย์์ จัังหวััดชััยนาท สำ�ำ เร็็จ
การศึึกษาจากวิิทยาลััยวิิชาการศึึกษาบางแสน เคยเป็็นครููโรงเรีียนมััธยม
ที่่�จัังหวััดชััยนาท และเป็น็ ครููใหญ่่ที่่� โรงเรีียนอำำ�เภอมโนรมย์์ ต่อ่ มาได้ด้ ำำ�รง
ตำ�ำ แหน่่งศึึกษานิิเทศก์์ หลายจัังหวััดทางภาคอีีสาน ปีี 2507 ได้้ย้้ายมา
บรรจุทุ ี่่ม� หาวิทิ ยาลัยั เชียี งใหม่่ โดยการชักั ชวนของรองศาสตราจารย์ส์ มพงษ์์
ชื่่�นตระกููล อาจารย์์สอนวิิชาประวััติิศาสตร์์ วิิชาภููมิิศาสตร์์ ต่่อมาได้้ดำำ�รง
ตำ�ำ แหน่่งบริิหาร เป็็น คณบดีคี ณะศึึกษาศาสตร์์
ชีีวิิตครอบครััวสมรสกัับรองศาสตราจารย์์เทีียบ เกริิก มธุุกร
(เสีียชีีวิิต) มีีบุุตรสาวสามคน ซึ่่�งจบการศึึกษาด้้านวิิทยาศาสตร์์ สุุขภาพ
ทั้้�งหมด สองคนโตทำ�ำ งานอยู่่�ที่� กรุุงเทพฯ ส่่วนคนเล็็กเป็็นพยาบาล ได้้
ลาออกจากงานมาดููแลพ่่อและแม่่ช่่วงที่่�คุุณแม่่ป่่วย ในปััจจุุบัันอาจารย์์
พัักอยู่�่ กัับลููกสาวและหลานอีีก 1 คน ชีีวิิตปััจจุุบัันอยู่�่อย่่างเรีียบง่่าย
ด้้วยการพัักผ่อ่ น คืือ การนอน
แต่่หััวค่ำำ�� และตื่�่น 6 โมงเช้้า
กลางวัันอาจารย์์ชอบที่่�จะดูู
ทีวี ีี เกี่ย� วกับั กีฬี าเป็น็ ส่ว่ นใหญ่่
มีีการเมืืองบ้า้ งเล็็กน้อ้ ย

13

“ ชก. มช.

“ทำำ�ตััวให้ส้ บาย
และจิิตใจอย่า่ ให้้เครีียด

ถามอาจารย์์ว่่าอาจารย์์ ดููแลสุุขภาพอย่่างไร ที่่�ทำำ�ให้้อายุุยืืนมาถึึง
92 ปีี อาจารย์์บอกว่่า ก็็พัักผ่่อนให้้เพีียงพอ ออกกำ�ำ ลัังกายแบบง่่าย ๆ
ตามสภาพของร่า่ งกาย โดยยืืดแขน ยืืดขา รวมทั้้�งอาหารที่่�ทานเป็น็ ประจำ�ำ
ในตอนเช้า้ คืือ น้ำำ��ผลไม้้ปั่่น� น้ำ�ำ�เต้้าหู้้� ไข่่ลวก 2 ฟอง ตามที่่ล� ููกสาวที่่เ� คยเป็็น
พยาบาลจััดให้ ้ ส่่วนอาหารมื้อ� อื่่�นเป็น็ ประเภทปลาเป็็นส่ว่ นใหญ่่
ข้้อเสนอแนะที่่� ท่่านอาจารย์์ ฝากไว้้ สั้้�น ๆ สำำ�หรัับ สว.มช. คืือ
ทำำ�ตััวให้้สบายและจิิตใจอย่า่ ให้้เครีียด
นอกจากนี้้� อาจารย์์มีีข้้อเสนอแนะผ่่านชมรมถึึงมหาวิิทยาลััย
ด้้วยว่่า สำำ�หรัับผู้�้สููงอายุุที่่�เกษีียณจากมหาวิิทยาลััย น่่าที่่�จะมีีทีีมแพทย์์
หมุนุ เวียี นมาเยี่ย� มตามบ้้าน เป็น็ ระยะ ๆ เพื่อ่� ช่ว่ ยดูแู ลสุขุ ภาพและแนะนำ�ำ
การปฏิิบัตั ิิตััว คิดิ ว่า่ จะทำ�ำ ให้้ผู้ส้� ูงู วััยได้้มีีความสุุขและตื่่น� ตััวต่อ่ การรอรับั
การดูแู ลรักั ษาต่อ่ ไป

14

เล่่มที่่� ๑ พ.ศ.๒๕๖๓

ชก. มช.

ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยอาวุธ ศรีศุกรี

คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

เกิดวันที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๗๒
ปจจุบันอายุ ๙๑ ป

15

ชก. มช.

ศาสตราจารย์์เกีียรติคิ ุณุ นายแพทย์์อาวุุธ ศรีีศุุกรีี
ศาสตราจารย์์เกีียรติิคุุณ นพ. อาวุุธ ศรีีศุุกรีี เกิิดที่่�กรุุงเทพฯ
สำ�ำ เร็จ็ การศึึกษาแพทยศาสตรบัณั ฑิติ เกียี รตินิ ิยิ มอันั ดับั 2 จากมหาวิทิ ยาลัยั
แพทยศาสตร์์ (มหาวิทิ ยาลััยมหิดิ ล) ปี ี 2495 และประกาศนีียบััตรวิิชาชีีพ
เฉพาะทางในสาขาประสาทวิิทยา ปี ี 2503 เริ่�มรัับราชการที่่ม� หาวิิทยาลััย
มหิดิ ล ปี ี 2495- 2503 และมาทำำ�งานที่่ม� หาวิทิ ยาลัยั เชียี งใหม่ ่ ปี ี 2504
ดำำ�รงตำำ�แหน่ง่ คณบดีคี ณะแพทยศาสตร์์ ปีี 2521 - 2525 ผู้้�อำ�นวยการ
สำำ�นักั หอสมุุด ปี ี 2527 - 2528 อธิิการบดีี ปี ี 2528 – 2532 และ
เป็็นนายกสภามหาวิิทยาลััยราชภััฏเชีียงใหม่่ ปีี 2538 - 2546 และ
2548 - 2555 เป็็นกรรมการสภามหาวิิทยาลััยเชียี งใหม่ ่ ปี ี 2555 และ
เป็็นอุุปนายกสภามหาวิิทยาลัยั เชียี งใหม่ ่ ปี ี 2558 - 2562 รวมทั้้�งรัักษา
การตำ�ำ แหน่่งอธิิการบดีีมหาวิิทยาลััยเชีียงใหม่่ช่่วงปีี 2558 - 2562
อาจารย์์เกษีียณอายุุราชการปีี 2533 ปััจจุุบัันยัังทำ�ำ หน้้าที่่�เป็็นเลขาธิิการ
สถาบัันแพทยศาสตร์์แห่่งประเทศไทย ซึ่่�งทำ�ำ หน้้าที่่�นี้้�มาได้้ 36 ปีีแล้้ว
แนวคิิดที่่�อาจารย์์ได้้พััฒนาปรัับปรุุงระบบการคััดเลืือกนัักศึึกษาแพทย์์เข้้า
มหาวิทิ ยาลัยั มานั้้น� ทำ�ำ ให้้
ม ห า วิิ ท ย า ลัั ย ใ น ส่่ ว น
ภููมิิภาคได้้เด็็กเก่่ง และ
มีี คุุ ณ ภ า พ ดีี ร ว ม ทั้้� ง
เ ด็็ ก เ ก่่ ง มีี คุุ ณ ภ า พ ไ ด้้
กระจายไปสู่ม�่ หาวิทิ ยาลัยั
ในส่ว่ นภููมิิภาคได้้มากขึ้น้�

16

เล่่มที่�่ ๑ พ.ศ.๒๕๖๓

ศ.เกียี รติคิ ุุณ นพ.อาวุธุ ศรีศี ุุกรี ี อุุปนายกสภามหาวิทิ ยาลััยเชีียงใหม่่ บริิจาคเงิินจำ�ำ นวน 100,000 บาท
สมทบทุนุ มููลนิิธิโิ รงพยาบาลสวนดอก คณะแพทยศาสตร์์ มช.

หลัักการทำ�ำ งานของอาจารย์์ได้้มาจากการที่่�อาจารย์์เป็็นหมอ
ซึ่่�งหมอจะปฏิิเสธงานไม่่ได้้ ปััจจุุบัันอาจารย์์ก็็ยัังเป็็นคณะกรรมการอยู่่�
หลายชุดุ และเนื่่อ� งจากอายุมุ ากขึ้น�้ จึึงพยายามจะลดลง และใช้ก้ ารประชุมุ
ทางไกลมาช่่วยทำำ�ให้ก้ ารเดินิ ทางน้อ้ ยลง
ครอบครััวและชีีวิติ ประจำำ�วันั
อาจารย์พ์ ัักอยู่�่ที่บ� ้้านถนนอารัักษ์์ ซึ่�ง่ บุุตรสาว 2 คน ก็็อาศััยอยู่ใ�่ น
บริเิ วณเดียี วกันั อาจารย์ม์ ีกี ิจิ วัตั รประจำ�ำ วันั ด้ว้ ยการดููแลต้น้ ไม้แ้ ละสวนที่่บ� ้า้ น
ส่ว่ นกิจิ กรรมอื่น�่ ๆ ก็ม็ ีอี ่า่ นหนังั สืือพิมิ พ์,์ อ่า่ นหนังั สืือประเภทเรื่อ� งราวในอดีตี ,
ดููหนัังจากทาง Netflix, ดููละครทาง YouTube, ดููข่่าว (ข่่าวการเมืืองจะ
ติิดตามน้้อย), เล่่นอิินเทอร์์เน็็ต, ฟัังดนตรีีคลาสสิิกจากแผ่่นเสีียงไวนิิล,
และอื่�น่ ๆ ซึ่�ง่ อาจารย์์บอกว่่า เน้้นทำ�ำ อะไรที่่�ทำ�ำ ให้้เกิิดความสบายๆ ไม่่มีี
ข้้อกำ�ำ หนดตายตัวั อยากทำ�ำ อะไรก็ท็ ำ�ำ อยู่�เฉยๆ มันั จะไม่ด่ ีี
สิ่�งสำ�ำ คััญสำ�ำ หรัับชีีวิิตประจำ�ำ วัันของอาจารย์์คืือพัักผ่่อนเต็็มที่่� โดย
เข้า้ นอนประมาณ 4 – 5 ทุ่�ม และตื่น�่ แต่เ่ ช้า้ ประมาณ 6.00 น. สำ�ำ หรับั ปัญั หา
ด้า้ นสุขุ ภาพ อาจารย์บ์ อกว่า่ ก็ม็ ีตี ามอายุ ุ มีปี ัญั หาด้า้ นการเดินิ บ้า้ ง, เคยมีปี ัญั หา
ด้้านความดัันสููง, ปััญหาไต ซึ่�ง่ ทำ�ำ ให้้ต้้องลดอาหารโปรตีีนประเภทเนื้้�อแดง
ด้ว้ ยการทานปลา ส่ว่ นไก่แ่ ละเป็ด็ ก็น็ านๆ รับั ประทานครั้ง� ไข่จ่ ะทานเฉพาะ
ไข่ข่ าว, ทานวิติ ามินิ , ตอนเย็น็ จะรับั ประทานอาหารไม่ม่ ากนักั

17

ชก. มช.

อาจารย์ก์ ล่า่ วว่า่ ตนเองโชคดีที ี่่ล� ููกๆ ไม่ม่ ีีปัญั หา ลููกชายคนโตทำ�ำ งาน
เป็น็ ผู้้�จัดการโรงงาน, แต่ง่ งาน มีลี ููกหลาน อยู่�่ที่ก� รุงุ เทพฯ ลููกสาวทั้้ง� สองที่่อ� ยู่่�
เชียี งใหม่ก่ ็ช็ ่ว่ ยกันั ตั้ง� โรงงานเซรามิกิ ‘เตาเม็ง็ ราย’ และดำำ�เนินิ การ ‘สถาบันั
พลัังจิิตตานุภุ าพ สาขาเชีียงใหม่่’
อาจารย์ย์ ังั ได้ใ้ ห้ข้ ้อ้ คิดิ เพิ่่ม� เติมิ ว่า่ ครอบครัวั มีคี วามหมายมาก เมื่อ�่ เรา
อายุมุ าก รู้�สึกว่า่ จะทำำ�อะไรได้น้ ้อ้ ยลง ไม่แ่ อ็ค็ ทีฟี (Active) เท่า่ เดิมิ ครอบครัวั
ที่่�ดีชี ่ว่ ยเป็น็ กำำ�ลังั ใจได้้มาก ถ้า้ เราทรีตี (Treat) ลููกดีี ให้้เขาเป็น็ ตัวั เอง ดููแล
เขาอยู่�่ ห่า่ งๆ ลููกก็็จะดููแลเรา ปฏิิบัตั ิติ ่่อเราดีี
อาจารย์์บอกถึึงความรู้�สึ กว่่า สมััยก่่อนคนที่่�เกษีียณอยู่่�ได้้ไม่่นาน
ก็็มัักจะเสีียชีีวิิต สมััยนี้้�คนอายุุ 70 ก็็เหมืือนอายุุ 60, คนอายุุ 60
ก็็เหมืือนคนอายุุ 50 ในสมััยก่่อน หลัังเกษีียณฯ ท่่านอาจารย์์เองก็็ไม่่ได้้
รู้�สึกว่า่ ตนเองเปลี่ย� นแปลงไป พอเมื่่อ� มีีอายุปุ ระมาณ 75 ปีี ถึึงเริ่ม� รู้ส� ึึกถึึง
ความเปลี่ย� นแปลงบ้้าง

18

เล่่มที่�่ ๑ พ.ศ.๒๕๖๓ “

“อย่า่ ยุ่�งกับั เรื่อ�่ งของคนอื่น�่ มากนักั ทำ�ำ อะไรๆ
แบบ ‘โลว์์คีีย์’์ (Low Key) ถ้้าไม่โ่ ลว์์คีีย์์
อาจจะมีเี รื่อ�่ งเดืือดร้้อนได้้
ข้้อคิิดฝากไปยัังสมาชิิก ชก.มช
๑. ให้้ใช้้ชีีวิิตวััยเกษีียณโดยที่่ท� ำ�ำ อะไรๆ ให้้สบายที่่�สุดุ อย่า่ เครีียด
เพราะความเครีียดเป็็นศััตรููอัันดัับหนึ่่�งของคนมีีอายุุ ถ้้าเห็็นว่่าเริ่�มมีี
ความเครียี ดก็็ต้้องหาทางทำำ�ให้้ความเครีียดหายไปโดยเร็ว็ ที่่�สุดุ
๒. ควรทำ�ำ อะไรทุุกอย่่างโดยใช้้ทางสายกลาง อาจารย์์ได้้ยึึดและ
ปฏิิบััติติ ามแนวทางของในหลวง รัชั กาลที่่� 9
๓. อย่่ายุ่�งกัับเรื่่�องของคนอื่่�นมากนััก ทำำ�อะไรๆ แบบ ‘โลว์์คีีย์์’
(Low Key) ถ้้าไม่่โลว์์คีีย์์ อาจจะมีีเรื่�อ่ งเดืือดร้้อนได้้

19

ชก. มช.

ชก. มช.

ศาสตราจารยเกียรติคุณ สุวัฒก นิยมคา

คณะศกึ ษาศาสตร มหาวิทยาลัยเชยี งใหม

เกิดวนั ที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๗๕
ปจจบุ นั อายุ ๘๘ ป

20

เล่ม่ ที่่� ๑ พ.ศ.๒๕๖๓

ศาสตราจารย์เ์ กีียรติคิ ุณุ สุุวััฒก์์ นิยิ มค้้า
ศาสตราจารย์เ์ กีียรติิคุุณ สุุวัฒั ก์์ นิิยมค้้า เกิิดวัันที่่ � 1 ม.ค. 2475
(ปััจจุุบัันอายุุ 88 ปีี) ที่่� อ.พิิมาย จ.นครราชสีีมา ต่่อมาย้้ายไปอยู่�่และ
เรีียนจบชั้้�นมัธั ยมต้้นที่่� จ.บุุรีีรััมย์์ และเรีียนจบระดัับมัธั ยมศึึกษาตอนปลาย
ที่่โ� รงเรียี นสวนกุุหลาบวิทิ ยาลััย
ศ.สุวุ ัฒั ก์ ์ สำำ�เร็จ็ การศึึกษาระดับั ปริญิ ญาตรีที างฟิสิ ิกิ ส์ท์ ี่่�จุฬุ าลงกรณ์์
มหาวิิทยาลััย และจบเพิ่่�มเติิมทางด้้านครุุศาสตร์์ที่่�คณะครุุศาสตร์์ จุุฬาฯ
หลัังจบการศึึกษา ศ.สุุวััฒก์์ ทำ�ำ งานที่่�คณะครุุศาสตร์์ จุุฬาฯ ช่่วงปีี
พ.ศ.2502 – 2506

ด้้วยเหตุุผลที่่�อาจารย์์ไม่่ชอบอยู่�่กรุุงเทพฯ โอนย้้ายมาทำ�ำ งานที่่�
มหาวิทิ ยาลัยั เชีียงใหม่ ่ ปี ี 2507 สอนที่่ภ� าควิิชาฟิิสิกิ ส์์ คณะวิิทยาศาสตร์์
โดยสอนวิิชาฟิิสิิกส์์สำำ�หรัับนัักศึึกษาปีี 1 ที่่ไ� ม่ใ่ ช่่นักั ศึึกษาคณะวิิทยาศาสตร์์
และส่่วนใหญ่จ่ ะเน้้นการทำำ�งานทางด้้านการบริิหาร

21

ชก. มช.

อาจารย์์ ได้้เขีียนโครงการจััดตั้้�งคณะศึึกษาศาสตร์์เมื่่�อปีี 2508
โดยมีีกำำ�หนดเปิิดสอนปีี 2511 และเมื่�่อมีีการเปิิดสอนคณะศึึกษาศาสตร์์
อาจารย์์ได้ย้ ้้ายไปสอนที่่ค� ณะศึึกษาศาสตร์์
สำ�ำ หรับั ตำ�ำ แหน่ง่ บริหิ ารอาจารย์ด์ ำ�ำ รงตำ�ำ แหน่ง่ คณบดีคี ณะศึึกษาศาสตร์์
เกษียี ณอายุรุ าชการเมื่อ�่ ปี ี 2535 หลังั เกษียี ณยังั คงทำ�ำ งานต่อ่ อีกี กว่า่ 20 ปีี
ได้ร้ ับั เชิญิ ให้เ้ ป็น็ กรรมการต่า่ งๆ, เป็น็ ที่่ป� รึึกษา, เป็น็ ผู้้�บรรยายในโอกาสพิเิ ศษ
ต่่างๆ ที่่�มหาวิทิ ยาลัยั เชีียงใหม่่และมหาวิิทยาลัยั ราชภัฏั ซึ่�่ง อาจารย์์ ได้ใ้ ช้้
ประสบการณ์์และความสามารถที่่�สะสมมานานจากการได้้ทำ�ำ งานร่่วมกัับ
บุคุ คลผู้้�มีชื่อ่� เสียี งรุ่�นบุุกเบิิกจััดตั้้�งมหาวิิทยาลัยั เชีียงใหม่่ ศ.สุุวัฒั ก์์ กล่า่ วว่า่
ตนเองโชคดีี ชีีวิิตการทำ�ำ งานในมช. เป็็นแหล่่งให้้ความรู้�และประสบการณ์์
มากมาย เอาไปใช้้ได้ไ้ ม่่หมด
ศ.สุวุ ัฒั ก์์ เคยได้ร้ ับั พระราชทานปริญิ ญาดุษุ ฎีบี ัณั ฑิติ กิติ ติมิ ศักั ดิ์จ� าก
มหาวิทิ ยาลัยั ราชภัฏั เชียี งใหม่่ และในปี ี 2560 ศ.สุวุ ัฒั ก์์ ได้ร้ ับั พระราชทาน
ปริิญญาปรััชญาดุุษฎีีบััณฑิิตกิิตติิมศัักดิ์� (การศึึกษา) จากมหาวิิทยาลััย
เชียี งใหม่่
ปััจจุุบััน อาจารย์์อาศัยั อยู่่�ที่ห� มู่�่ บ้้านสนสวย 1 ที่่อ� ยู่�่ใกล้ศ้ ููนย์์การค้า้
เมญ่่า โดยอยู่�่ กัับภรรยาและลููกสาวคนเล็็ก ส่่วนลููกสาวอีีก 2 คน ได้้แยก
ครอบครััวไปอยู่�่ ต่่างหาก แต่่ก็็ยัังคงอยู่่�ที่เ� ชียี งใหม่่
ด้้านกิิจวััตรประจำ�ำ วััน ของอาจารย์์เข้้านอนช่่วง 4 – 5 ทุ่่�ม
ตื่น�่ ประมาณ 7 โมงเช้า้ อาจารย์ช์ อบฟังั ดนตรีเี พลงไทยเดิมิ ฟังั เพลงประเภท
เพลงเก่า่ ๆ ในอดีตี ดููทีวี ี ี ชอบดููข่่าวการเมืือง ไม่ด่ ููละคร ออกกำ�ำ ลังั กายโดย

22

เล่ม่ ที่่� ๑ พ.ศ.๒๕๖๓

เดินิ ในบ้้าน และตอนเย็็นเดิินบริิเวณหมู่่�บ้้าน มีีปัญั หาด้้านสายตาบ้า้ ง เวลา
อ่า่ นหนัังสืือต้อ้ งใช้้แว่น่ ขยาย
ด้้านอาหารการกิิน ภรรยาเคยทำำ�อาหารให้้ แต่่ปััจจุุบัันรัับอาหาร
ปิ่่�นโต รัับประทานอาหารได้้ทุกุ อย่า่ ง ชอบทานผััก ผลไม้้ ก๋๋วยเตี๋�ยว มีีปััญหา
เกี่ย� วกัับฟัันอยู่่�บ้า้ ง ทำ�ำ ให้้เคี้�ยวลำำ�บาก
ศ.สุุวััฒก์์ เป็็นผู้้�ที่�มองการณ์์ไกล โดยเมื่�่อทำำ�งานที่่�มหาวิิทยาลััย
เชียี งใหม่ไ่ ด้้ 5 ปีี ก็เ็ ริ่ม� เตรียี มการว่า่ จะเกษีียณที่่� อยู่�่ที่�เชีียงใหม่่ตลอดชีีวิิต
ดัังนั้้�นเมื่่�อมีีครอบครััวแล้้ว ก็็ได้้ซื้�อที่่�ดิินไว้้ 2 แปลง ที่่�แม่่ริิมและที่่�แถว
วััดเจ็ด็ ยอด ซื้้�อรถ ซื้้อ� บ้้านที่่�ใช้้อาศัยั อยู่่�จนปััจจุุบันั นี้้�
ด้า้ นการทำ�ำ งาน อาจารย์์ก็็ตั้�งเป้า้ หมายไปถึึงการเป็็นคณบดีี ซึ่�ง่ ก็ไ็ ด้้
เป็น็ ตามที่่ป� รารถนา ส่่วนทางด้้านการศึึกษาก็็ตั้ง� เป้า้ หมายว่่าจะเรียี นจนถึึง
ปริิญญาเอก แต่่เมื่�่อเรีียนจบปริิญญาโทแล้้วกำำ�ลัังจะได้้ต่่อปริิญญาเอก ก็็มีี
ปััญหาบางอย่่างทำ�ำ ให้้ตััดสิินใจไม่่ศึึกษาต่่อระดัับปริิญญาเอก (แต่่ภายหลััง
ก็ไ็ ด้้ปริิญญาเอกกิิตติิมศัักดิ์�จาก 2 มหาวิทิ ยาลัยั )
ศ.สุุวััฒก์์ ได้้รัับคััดเลืือกเป็น็ ครููวิิทยาศาสตร์์ดีเี ด่น่ ระดัับอุดุ มศึึกษา
จากสมาคมวิิทยาศาสตร์์แห่่งประเทศไทย จากผลงานด้้านการสอนและ
การเขียี นตำ�ำ ราด้า้ นการสอนทางวิทิ ยาศาสตร์ห์ ลายเล่ม่ นอกจากนี้้ � ศ.สุวุ ัฒั ก์์
ยังั ได้ร้ ับั พระราชทานสายสะพายสายที่่ � 4 มหาปรมาภรณ์ช์ ้า้ งเผืือก (ม.ป.ช.)
ซึ่�่งเป็็นสายสะพายขั้�นสููงสุดุ สำำ�หรับั ข้า้ ราชการพลเรืือน ด้ว้ ย
ก่อ่ นที่่�จะเกษียี ณ 5 ปี ี ศ.สุวุ ัฒั ก์์ ได้้ตั้�งเป้า้ ไว้ว้ ่า่ หลัังเกษีียณจะไม่่มีี
หนี้้�สิิน ซึ่่�งก็็ได้้ใช้้หนี้้�หมดก่่อนเกษีียณสำ�ำ เร็็จ ทำำ�ให้้ไม่่มีีอะไรกัังวลใจ และ

23

ชก. มช.

ตั้�งเป้้าว่่าจะใช้้เฉพาะเงิินบำำ�นาญให้้เพีียงพอต่่อการดำ�ำ เนิินชีีวิิต จะใช้้ชีีวิิต
เรียี บง่า่ ย อยู่�่ง่าย กินิ ง่า่ ย ตามแบบอย่า่ งท่า่ นพุทุ ธทาสภิกิ ขุุ อยู่อ�่ ย่า่ งมีเี กียี รติิ
มีศี ักั ดิ์ศ� รีี ในตััวเอง ไม่่ถืือว่า่ อะไรๆ เป็น็ ปััญหาใหญ่โ่ ต ถืือคติิว่่า “ช่า่ งมันั ”
ยึึดทางสายกลาง ไม่ส่ ุุดโต่ง่ ด้า้ นใดด้า้ นหนึ่่�ง

อาจารย์์ เริ่�มมาคิิดว่่าตััวเองชราแล้้ว ตอนที่่�อายุุได้้ 80 ปีี เห็็นว่่า
ทำำ�อะไรๆ ได้้ช้้าลง ความคิิดก็็ช้้าลง ดัังนั้้�นเมื่่�ออายุุได้้ 7 รอบ (84 ปีี)
ได้ต้ ัดั สิินใจเลิกิ รัับงานทุกุ ประเภท ยกเว้้นงานที่่ป� รึึกษา ให้้เข้า้ มาปรึึกษาได้้
ส่่วนงานด้้านที่่ต� ้้องมีีการคิิดอ่่านแล้้วเขีียนได้เ้ ลิิกทำ�ำ หมด
อาจารย์์ กล่่าวว่่า คนชรามีีอารมณ์์แปรปรวนง่่าย ให้้หาทาง
แก้้ไขให้้ได้้ คนชราโกรธง่่าย โกรธแรง โกรธนาน และมีีทิิฐิิ เมื่�่อถึึงวััยชรา
ให้้คิิดอะไรเป็็นระยะๆ แต่่ละระยะไม่่เหมืือนกััน ถ้้าอยู่่�ตััวคนเดีียวโดดๆ
ยิ่ง� ลำำ�บาก การไม่ม่ ีีอะไรมาช่่วยเกื้อ� กููลจะมีีผลต่่อระบบประสาทได้้

24

เล่ม่ ที่�่ ๑ พ.ศ.๒๕๖๓ “

“ชีวี ิิตช่ว่ งสุดุ ท้า้ ยของผู้้�สูงวัยั (หลังั อายุุ 80 ปี)ี เป็น็ ช่ว่ งสำำ�คัญั เพราะ
ชีวี ิิตช่่วงนี้้� เราจะทำ�ำ อะไรๆ ด้้วยตััวเองไม่ไ่ ด้้ดั่่ง� ใจแล้้ว ให้ค้ ิิดว่่าชีวี ิิต
ที่่�เหลืืออยู่�นั้น� อาจสั้�นมาก การที่่จ� ะให้้ชีวี ิิตมีคี วามสุขุ ได้บ้ ้้าง ควรจะ
ทำ�ำ อย่า่ งไร ให้ห้ ยุุดทุกุ สิ่ง� ทุกุ อย่่างที่่ค� ิิดว่า่ จะมารบกวนจิิตใจ

อาจารย์์ กล่่าวว่่า ชีีวิิตช่่วงสุุดท้้ายของผู้้�สูงวััย (หลัังอายุุ 80 ปีี)
เป็็นช่ว่ งสำำ�คัญั เพราะชีีวิิตช่ว่ งนี้้� เราจะทำำ�อะไรๆ ด้ว้ ยตััวเองไม่่ได้ด้ั่�งใจแล้้ว
ต้อ้ งพึ่่ง� พาคนอื่น�่ ลืืมโน่น่ ลืืมนี่่ � ทุกุ อย่า่ งที่่เ� คยทำ�ำ ได้้ ลดน้อ้ ยถอยลงไป เราต้อ้ ง
คิดิ ถึึงตััวเองให้้มากๆ ว่า่ จะอยู่อ่� ย่่างไร ภรรยา, ลููก, หลาน ถึึงจะรักั ให้้คิดิ ว่า่
ชีีวิิตที่่�เหลืืออยู่�่นั้�นอาจสั้้�นมาก การที่่�จะให้้ชีีวิิตมีีความสุุขได้้บ้้าง ควรจะ
ทำ�ำ อย่า่ งไร ให้ห้ ยุุดทุุกสิ่ง� ทุกุ อย่า่ งที่่�คิิดว่่าจะมารบกวนจิิตใจ
ศ.สุวุ ัฒั ก์์ แนะนำำ�ว่า่ ชีีวิติ ในวััยเกษีียณจะเป็็นสุุข เมื่่�อมีี...
• สุุขภาพกายดีี ควรออกกำำ�ลังั เป็น็ ประจำำ� สม่ำ�ำ�เสมอ ออกกำำ�ลััง
ก็ไ็ ด้้กำ�ำ ลััง
• สุุขภาพจิิตดีี ทำ�ำ จิติ ให้ส้ งบนิ่่�ง เมื่่อ� จิติ สงบนิ่่�งก็็จะมีกี ำ�ำ ลังั คิดิ อ่า่ น
มีีอารมณ์์ดีีเกิิดขึ้้�น ให้้คิิดบวก ถ้้าคิิดลบจะเศร้้าใจไปเรื่่�อย และการพููด
การกระทำ�ำ ต้้องดีดี ้ว้ ย ให้้ยึึดหลักั ทางสายกลาง ระงัับอารมณ์์ไม่ใ่ ห้โ้ กรธ
• มีอี ย่า่ งน้้อยปััจจััย 4 (เพิ่่�มเติมิ ปััจจััยที่่� 5, 6 และอื่น�่ ๆ ได้้ตามที่่�
ต้้องการและสามารถมีไี ด้้)
• รู้�จัักการอยู่�แบบคนชรา ให้้รู้�จักลด ละ เลิิก
• รู้จ� ัักปลง อะไรจะเกิิดก็็ให้้เกิิด

25

ชก. มช.

• รู้�จักั หัันหน้้าเข้้าวััด ฟัังธรรม ปฏิิบัตั ิิธรรม บ้า้ ง คำ�ำ กลอนธรรมะ
คติสิ อนใจต่่างๆ เป็็นสิ่ง� ดีีที่่จ� ะช่ว่ ยเตืือนใจเราได้้
• อย่่าประมาท ให้ท้ ำ�ำ อะไรๆ ด้ว้ ยความไม่ป่ ระมาท เช่น่ ระมััดระวััง
เรื่อ่� งการยกของหนักั
• รู้�จัักคำำ�ว่่าพอ
• ลดความขัดั แย้้ง ยอมเป็น็ ผู้แ�้ พ้้ ถืือคติิ “แพ้้เป็น็ พระ ชนะเป็น็ มาร”
• ให้้เห็น็ ว่่าสังั ขารไม่เ่ ที่่�ยง ให้้รู้�จักการเตรีียมตัวั เตรีียมจิิตใจ ว่่าจะ
ทำ�ำ อะไรก่อ่ นที่่จ� ะต้อ้ งจากโลกนี้้�ไป ให้้ทำ�ำ บุญุ ทำ�ำ ทาน
ศ.สุุวััฒก์์ กล่่าวทิ้้�งท้้ายว่่า อยากให้้ทางมหาวิิทยาลััย หรืือ ชมรม
ผู้�เกษีียณ มช. มีีแนวทางช่่วยเหลืือผู้้�เกษีียณให้้ไม่่ต้้องลำ�ำ บากมากในการ
ดำำ�เนินิ การเรื่อ� งต่า่ งๆ ที่่เ� ป็น็ สิทิ ธิปิ ระโยชน์แ์ ละผลประโยชน์ท์ ี่่พ� ึงึ มีพี ึงึ ได้ข้ อง
ผู้�เกษีียณ อยากให้้ผู้�เกษียี ณได้ต้ ิดิ ต่่อเรื่�องต่า่ งๆ แบบ One Stop Service
ไม่่ต้้องให้้ไปติิดต่่อหลายๆ ที่่� และอยากให้้ผู้�เกษีียณได้้รัับความช่่วยเหลืือ
ให้้ทำ�ำ สิ่่�งต่่างๆ ได้้ง่่ายขึ้�น เช่่น มีีช่่องทางด่่วนพิิเศษด้้านการใช้้บริิการทาง
การแพทย์ใ์ ห้ส้ ะดวกรวดเร็ว็ มีบี ริกิ ารด้า้ นรถนำำ�ส่ง่ สำำ�หรับั ผู้้�เกษียี ณที่่ม� ีปี ัญั หา
ด้้านสุุขภาพมาก ไปไหนมาไหนลำ�ำ บาก และขาดญาติิพี่่�น้้องหรืือในกรณีีที่่�
ญาติพิ ี่่�น้อ้ งติิดธุุระ ไม่่สามารถพาไปโรงพยาบาลหรืือที่่ท� ี่่ต� ้้องการได้้

26

เล่่มที่�่ ๑ พ.ศ.๒๕๖๓

ชก. มช.

รองศาสตราจารยสมหมาย เปรมจิตต

คณะมนุษยศาสตร มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม

เกดิ วนั ที่ ๑๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕
ปจจุบนั อายุ ๘๘ ป

27

ชก. มช.

รองศาสตราจารย์ส์ มหมาย เปรมจิิตต์์

รองศาสตราจารย์์สมหมาย เปรมจิิตต์์ เกิิดที่่� อ.อำำ�นาจเจริิญ
จ.อุุบลราชธานีี หลัังจากเรีียนจบระดัับประถมศึึกษาแล้้ว ได้้บวชเณรที่่�
วัดั ประจำ�ำ หมู่่�บ้า้ น และต่อ่ มาได้เ้ รียี นบาลีไี วยากรณ์,์ เรียี นแปลธรรมบท และ
ไปเรีียนต่อ่ ที่่ก� รุุงเทพฯ ในปีี 2494 ที่่ว� ััดราชบููรณะ (วััดเลียี บ), ปี ี 2495
สอบได้ป้ ระโยคเปรียี ญธรรม 3 และนักั ธรรมชั้น� เอก เรียี นต่อ่ ที่่ม� หามกุฏุ ราช-
วิทิ ยาลัยั และเรียี นภาษาบาลีคี วบคู่ไ�่ ปด้ว้ ย, พ.ศ. 2504 สอบได้เ้ ปรียี ญธรรม
9 ประโยค และจบศาสนศาสตรบัณั ฑิติ ด้ว้ ย ได้ร้ ับั คัดั เลืือกให้ร้ ับั ทุนุ โครงการ
แลกเปลี่ �ยนพระนัักศึึกษาไปศึึกษาที่่�มหาวิิทยาลััยพุุทธศาสนาในศรีีลัังกา
เป็็นเวลา 2 ปีี, กลัับจากศรีีลัังกาปีี 2506 สอนที่่�มหามกุุฏราชวิิทยาลััย
1 ปีี ต่่อมาปีี 2507 ลาสิิกขาและมาเป็็นอาจารย์์สอนภาษาบาลีีและ
พระพุุทธศาสนาที่่ค� ณะมนุุษยศาสตร์์ มหาวิทิ ยาลัยั เชียี งใหม่่
ปี ี 2512 ไปศึึกษาต่่อปริญิ ญาโทที่่�ฟิลิ ิปิ ปิินส์์ วิชิ าเอกมานุษุ ยวิิทยา
วััฒนธรรม เมื่่�อสำ�ำ เร็็จการศึึกษากลัับมาจึึงได้้ย้้ายไปเป็็นอาจารย์์ที่่�ภาควิิชา
สัังคมวิิทยาและมานุุษยวิิทยา คณะสัังคมศาสตร์์ มช. จนกระทั่่�งเกษีียณ
อายุุราชการในปีี 2535 ท่่านอาจารย์์เป็็นหััวหน้้าภาควิิชาสัังคมวิิทยา
และมานุษุ ยวิิทยาในช่ว่ งปีี 2523 - 2525
ปีี 2546 ท่่านอาจารย์์ได้้รัับปริิญญาดุุษฎีีบััณฑิิตกิิตติิมศัักดิ์�
สาขาสังั คมวิทิ ยาและมานุษุ ยวิทิ ยา จากมหาวิทิ ยาลัยั มหามกุฎุ ราชวิทิ ยาลัยั
ท่่านอาจารย์์มีีผลงานสำำ�รวจคััมภีีร์์ใบลานของวััดใน 8 จัังหวััด
ภาคเหนืือตอนบน ประมาณ 500 วัดั ในช่ว่ งปีี 2516 - 2524

28

เล่ม่ ที่�่ ๑ พ.ศ.๒๕๖๓

ปีี 2544 ถึึงปััจจุุบััน ท่่านอาจารย์์เป็็นที่่�ปรึึกษาอาวุุโสประจำ�ำ
สถาบันั วิจิ ัยั สังั คม มหาวิิทยาลัยั เชีียงใหม่่

ปััจจุุบััน ท่่านอาจารย์์อาศััยอยู่�่ที่�หมู่�่ บ้้านพิิงค์์พยอม ต.สุุเทพ
กับั ภรรยา (คุุณเพ็ญ็ พััฒน์)์ และหลาน ท่า่ นอาจารย์์มีีลููกสาว 2 คน ปััจจุุบััน
อาศััยอยู่่�ที่เ� มืืองนิิวยอร์์ก สหรัฐั อเมริิกา ทั้้�งสองคน
สำำ�หรัับกิิจวัตั รประจำ�ำ วัันนั้้�น ท่า่ นอาจารย์์เข้้านอนประมาณ 4 ทุ่่�ม
และตื่�่นประมาณตีี 4 ทุกุ วััน ออกวิ่ง� จากบ้า้ นไปยังั มช. แล้้ววิ่่ง� ที่่ส� นามกีีฬา
เป็็นประจำ�ำ ทำำ�ให้้รู้�สึ กว่่าร่่างกายยัังแข็็งแรง ท่่านอาจารย์์บอกว่่าเพิ่่�งเริ่�ม
รู้�สึกว่า่ เข้า้ สู่่�วัยั ชราตอนที่่อ� ายุไุ ด้้ 75 ปี ี ท่า่ นอาจารย์เ์ คยเกิดิ อาการเส้น้ เลืือด
ในสมองแตกเมื่อ่� ปีี 2560
ท่่านอาจารย์์ชอบดููมวยทางทีีวีี ติิดตามข่่าวการเมืืองบ้้าง เพื่�่อให้้
ทัันเหตุุการณ์์ แต่่ไม่่ได้้สนใจจริิงจััง มีีความเห็็นว่่าใครมาเป็็นรััฐบาลก็็ไม่่ดีี
ไปกว่่ากััน เหมืือนๆ กััน เหมืือนไข่่ในเล้้าเดีียวกััน นอกจากนี้้�ท่่านอาจารย์์
ก็็ดููสารคดีแี ละฟังั เพลงบ้า้ ง

29

ชก. มช. “

“เกี่ย� วกัับลููกๆ นั้้�น ท่่านอาจารย์บ์ อกว่่า คนเราช่ว่ งบั้้�นปลายได้ส้ ่ง่ ลููก
ถึงึ ฝั่่ง� ก็เ็ ป็น็ การดีแี ล้ว้ ไม่ค่ วรบังั คับั จิิตใจเขาแล้ว้ โลกเราเปลี่่ย� นแปลง
มีอี ะไร ให้้เขาคิิดกันั เอง
ด้้านอาหารการกิิน ท่่านอาจารย์์แนะนำำ�ว่่าอย่่ากิินตามปากตามใจ
ที่่�อยากกิิน ให้้กิินเพื่�่อสุุขภาพตามหลัักโภชนาการ รู้้�ว่่าควรจะกิินอะไร
ท่่านอาจารย์์กัับภรรยาช่่วยกัันทำำ�อาหารทานกัันเองที่่�บ้้าน ทานอาหารได้้
ทุุกอย่่าง แต่่ชอบทานปลา
ด้้านคำำ�แนะนำ�ำ ที่่ฝ� ากให้้สมาชิิกชมรมผู้้�เกษียี ณ มช. ท่่านอาจารย์์
แนะว่่าต้้องคำ�ำ นึึงถึงึ ร่่างกายของตนเอง รัักษาสุขุ ภาพให้แ้ ข็็งแรง ฟันั เป็็น
สิ่ง� สำำ�คัญั รักั ษาไว้ใ้ ห้ด้ ีี และอย่า่ อยู่�แบบเป็น็ คนมีปี ัญั หา เกี่ย� วกับั ลููกๆ นั้้น�
ท่่านอาจารย์์บอกว่่า คนเราช่่วงบั้้�นปลายได้้ส่่งลููกถึึงฝั่่�งก็็เป็็นการดีีแล้้ว
ไม่ค่ วรบังั คัับจิิตใจเขาแล้้ว โลกเราเปลี่่�ยนแปลง มีอี ะไร ให้เ้ ขาคิิดกันั เอง

30

เล่่มที่่� ๑ พ.ศ.๒๕๖๓

ชก. มช.

ศาสตราจารยเ กยี รตคิ ณุ นายแพทยพ งษศ ริ ิ ปรารถนาดี

คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลยั เชยี งใหม

เกิดวันท่ี ๕ กนั ยายน พ.ศ. ๒๔๗๗
ปจจุบนั อายุ ๘๖ ป

31

ชก. มช.

ศาสตราจารย์์เกีียรติิคุณุ นายแพทย์พ์ งษ์ศ์ ิิริิ ปรารถนาดีี

การเรีียนการสอนวิิชาชีีพแพทย์์ เป็็น
เรื่�่องที่่�ท้้าทายสำ�ำ หรัับผู้้�ที่�ทำ�ำ หน้้าที่่�เป็็นอาจารย์์
เนื่�่องจากมีีเนื้้�อหาที่่�ยากและลึึกซึ้้�ง รวมทั้้�งต้้อง
ใช้้เวลาในการสอน ยาวนานเพื่�่อให้้ลููกศิิษย์์จบ
เป็็นแพทย์์อย่่างภาคภููมิิใจ อาจารย์์หมอพงษ์์ศิิริิ
เกิิดวัันที่่� 5 กันั ยายน พ.ศ. 2477 บิดิ าอาจารย์์
มีีพื้้�นเพอยู่่�ที่�จัังหวััดสมุุทรสงคราม อาจารย์์
ย้้ายตามบิิดามาตั้�งรกรากที่่�เชีียงใหม่่ ตั้้�งแต่่ พ.ศ. 2489 อาจารย์์เป็็น
อาจารย์์ต้้นแบบผู้้�สู งวััยท่่านหนึ่่�งของคณะแพทยศาสตร์์ มหาวิิทยาลััย
เชีียงใหม่่ ที่่�ได้้อุุทิิศตนในการสอนนัักศึึกษาแพทย์์ จนจบการศึึกษาไป
หลายรุ่�น หลังั จากสำำ�เร็็จการศึึกษาจาก คณะแพทยศาสตร์ ์ ศิิริิราชพยาบาล
มหาวิิทยาลััยแพทยศาสตร์์ (ในขณะนั้้�น) เมื่่�อ พ.ศ.2501 และเนื่�่องจาก
ต่่างจัังหวััดขาดแคลนแพทย์์ มหาวิิทยาลััยแพทยศาสตร์์จึึงได้้เปิิดหลัักสููตร
แพทย์์ที่่�จัังหวัดั เชียี งใหม่่ ในปีี พ.ศ.2502 และเมื่�อ่ พ.ศ. 2503 อาจารย์์
ได้้เข้้าปฏิิบััติิงานเป็็นอาจารย์์แพทย์์ที่่�ภาควิิชาศััลยศาสตร์์ มหาวิิทยาลััย
แพทยศาสตร์์ ซึ่่�งต่่อมาโอนย้้ายมาสัังกััดมหาวิิทยาลััยเชีียงใหม่่ ในปีี
พ.ศ.2508
ในช่ว่ งที่่ป� ฏิบิ ััติงิ านอยู่่�ที่โ� รงพยาบาลมหาราชนครเชียี งใหม่่ อาจารย์์
ได้้ทุ่ �มเทด้้านการเรีียนการสอนและรัักษาโรคแก่่ประชาชนที่่�เจ็็บป่่วย
ในภาคเหนืือระหว่่าง ปีี พ.ศ. 2527 -2537 อาจารย์์ได้้ทำ�ำ หน้้าที่่�เป็็น

32

เล่่มที่่� ๑ พ.ศ.๒๕๖๓

หััวหน้า้ ภาควิชิ าศัลั ยศาสตร์์ และยังั ได้้ร่่วมเป็น็ คณะกรรมการก่อ่ ตั้�งสมาคม
ศัลั ยแพทย์์ทรวงอกแห่ง่ ประเทศไทยขึ้�้นเมื่�่อเดืือนตุุลาคม พ.ศ. 2528

หลัังจากเกษีียณอายุุราชการ
อาจารย์ไ์ ด้อ้ ุทุ ิศิ ตนทำ�ำ งานด้า้ นผู้้�สูงอายุุ
ทั้้�งในระดัับจัังหวััดและระดัับประเทศ
มาอย่่างต่่อเนื่่�อง อาทิิ เป็็นผู้้�ก่อตั้ง� และ
ประธานองค์์กรดำ�ำ เนิินงานผู้้�สู งอายุุ
จังั หวัดั เชียี งใหม่่ (Age Net Chiang Mai)
ซึ่�่งเป็็นเครืือข่่ายชมรมผู้้�สู งอายุุจากอำำ�เภอต่่างๆ ของจัังหวััดเชีียงใหม่่
กิิจกรรมที่่�มีีผู้้�สู งอายุุมารวมตััวกัันทั้้�งจัังหวััดได้้แก่่ กิิจกรรมสืืบชะตาหลวง
และการแสดงศิิลปวััฒนธรรมล้้านนาของผู้้�สู งอายุุจากอำำ�เภอต่่าง ๆ
นอกจากนั้้�น ท่่านยัังเป็็นประธานกรรมการบริิหารสภาผู้้�สู งอายุุ
แห่่งประเทศไทย ในพระราชููปถััมป์์ สมเด็็จพระศรีนี คริินทราบรมราชชนนีี
ตั้�งแต่่ พ.ศ. 2534 จนถึึงปััจจุุบััน และรองประธานสภาผู้้�สู งอายุุ
แห่่งประเทศไทย ตั้้ง� แต่่ พ.ศ. 2550 เป็็นต้้น นอกจากนั้้น� อาจารย์์ยัังได้้
รัับเชิญิ เป็น็ วิิทยากรบรรยายความรู้�เกี่�ยวกัับผู้้�สูงอายุ ุ จากหน่่วยงานต่า่ ง ๆ
ทั้้ง� ในจังั หวััดเชีียงใหม่่และจังั หวััดต่่าง ๆ มากมาย

33

ชก. มช.

ปััจจุุบััน อาจารย์์พัักอาศััยอยู่�่ กัับ
ภรรยาซึ่ง่� เคยทำำ�งานอยู่�่ที่ค� ณะพยาบาลศาสตร์์
มหาวิิทยาลััยเชีียงใหม่่ ที่่�บ้้านใกล้้สำ�ำ นัักงาน
การบิินไทย เชีียงใหม่่ บนพื้้�นที่่�สองไร่่เศษ
ชีีวิิตของอาจารย์์มีีความสุุขท่่ามกลางการดููแล
เอาใจใส่่จาก ภรรยา บุตุ รและหลาน อาจารย์ม์ ีี
บุุตรธิิดารวม 3 คน และหลาน 3 คน อาจารย์์
จะเข้า้ นอนแต่ห่ ัวั ค่ำ�ำ� ตื่น�่ นอนประมาณตี ี 4 และ
เตรีียมตััวไปออกกำ�ำ ลัังกาย รับั ประทานอาหาร
เพีียงสองมื้ �อ
ในด้้านการดููแลสุุขภาพของตนเอง ถืือได้้ว่่าอาจารย์์ให้้ความสำ�ำ คััญ
กับั การออกกำำ�ลัังกายมาเป็็นอันั ดับั ต้น้ ๆ ในช่ว่ งวันั ธรรมดา ทุุกเช้า้ อาจารย์์
และภรรยาจะไปร่่วมรำำ�มวยจีีนชนิิดไทจี๋� ชี่่�กง ที่่ล� านอนุุสาวรียี ์์สามกษัตั ริิย์์

ส่่วนในวัันหยุุดสุุดสััปดาห์์ ทั้้�งสองท่่านจะ
ไปร่่วมเดิิน Nordic walking กัับสมาชิิก
ชมรม ฯ ซึ่ง่� อาจารย์เ์ ป็น็ ที่่ป� รึึกษาชมรมอยู่�่
นอกจากนั้้น� อาจารย์ย์ ังั ได้ไ้ ปร่ว่ มกิจิ กรรม
ทางสัังคมอีีกมากมาย รวมทั้้�งเป็็นผู้้�ริเริ่�ม
โ ค ร ง ก า ร ที่่� เ ป็็ น ป ร ะ โ ย ชน์์ ใ ห้้ แ ก่่ ก ลุ่ � ม
ผู้้�สูงอายุุในจัังหวััดต่่าง ๆ อาทิิเช่่น ริิเริ่�ม
ให้้เชีียงใหม่่เป็็นโมเดลของชมรมผู้้�สู งอายุุ
เพื่�่อส่่งเสริิมพฤฒพลััง โดยในช่่วงแรก

34

เล่่มที่่� ๑ พ.ศ.๒๕๖๓

จััดตั้้�ง 22 ชมรม ต่่อมาจึึงมีีการขยายไปในหลายพื้้�นที่่�ของไทย โดยมีี
สำำ�นักั งานกองทุนุ สนับั สนุนุ การสร้า้ งเสริมิ สุขุ ภาพ (สสส.) สนับั สนุนุ การจัดั ตั้้ง�
นอกจากนั้้น� อาจารย์ย์ ังั เป็น็ ผู้้�ริเริ่ม� ให้อ้ งค์ก์ ารบริหิ ารท้อ้ งถิ่น� จัดั ตั้้ง� ศููนย์ฟ์ ื้น้� ฟูู
สภาพผู้้�สูงอายุ ุ ส่ง่ เสริมิ ให้ผ้ ู้้�สูงอายุทุ ำำ�กิจิ กรรมเพื่อ�่ หารายได้้ เป็น็ ต้น้ กิจิ กรรม
ยามว่่างอีีกอย่่างหนึ่่�งของอาจารย์์ คืือ การเขีียนบทความเกร็็ดความรู้�ทั้�ง
ด้า้ นสุขุ ภาพ วิธิ ีกี ารใช้้ชีีวิติ ประสบการณ์์ต่า่ งๆ ลงในหนังั สืือพิมิ พ์์ไทยนิวิ ส์์
ทุุกสััปดาห์์ รวมถึึงวารสารด้้านการแพทย์์ รวมทั้้�งให้้สััมภาษณ์์และเสวนา
ทางวิิทยุุ FM.100 มหาวิิทยาลััยเชีียงใหม่่ กิิจกรรมอีีกอย่่างหนึ่่�งที่่�จะ
ขาดไม่ไ่ ด้ค้ ืือการทำำ�บุญุ ตักั บาตรเกืือบทุกุ วันั พระร่ว่ มกับั สมาชิกิ ในครอบครัวั
เป็็นประจำำ�
ปััจจุุบัันอาจารย์์ยัังเป็็นอาจารย์์พิิเศษ คณะแพทยศาสตร์์
มหาวิทิ ยาลัยั เชียี งใหม่ ่ สอนนักั ศึึกษาแพทย์ท์ ี่่ข� ึ้น�้ ฝึกึ ปฏิบิ ัตั ิบิ นหอผู้้�ป่่วย และ
ให้บ้ ริกิ ารตรวจผู้้�ป่่วยสููงอายุทุี่่แ� ผนกผู้้�ป่่วยนอก โรงพยาบาล GMC (Geriatric
Medical Center – ศููนย์เ์ วชศาสตร์ผ์ ู้้�สูงอายุ)ุ สัปั ดาห์์ละ 1 วััน

35

“ ชก. มช.

“ช่ว่ ยเหลืือสังั คมตามความถนัดั อย่า่ ปล่อ่ ย
ให้้อยู่่�ว่่าง หากไม่่มีีโอกาสออกข้้างนอก
ควรบัันทึึกประสบการณ์์ของตนเองลงใน
สมุดุ หรืือเทปอัดั เสียี ง
ข้้อคิิดของอาจารย์์สำำ�หรัับผู้�้เกษีียณทุุกท่่าน การที่่�จะทำ�ำ ให้้
ศักั ยภาพและเกิิดพลังั ในการดำำ�รงชีวี ิิต ต้อ้ งให้ค้ วามสำ�ำ คัญั 3 เรื่อ่� งใหญ่ๆ่
ดังั นี้้�
1. ออกกำำ�ลัังกายอย่่างสม่ำำ��เสมอ และเลืือกรัับประทานอาหารที่่�
มีคี ุุณค่า่ เหมาะสมกัับวัยั เพื่อ�่ ให้้ร่่างกายแข็็งแรง ไม่่เป็น็ ภาระกับั ใคร
2. คิิดบวก มองโลกในแง่ด่ ีี ไม่ค่ ิิดร้า้ ยหรืือผููกพยาบาทใคร
3. ช่ว่ ยเหลืือสังั คมตามความถนััด อย่่าปล่อ่ ยให้อ้ ยู่่�ว่่าง หากไม่ม่ ีี
โอกาสออกข้้างนอก ควรบัันทึึกประสบการณ์์ของตนเองลงในสมุุดหรืือ
เทปอัดั เสียี ง
จะเห็็นได้้ว่่า ชีีวิิตวััยเกษีียณจะมีีคุุณค่่าต้้องสมบููรณ์์ทั้้�งกาย จิิต
และสังั คม

36

เล่ม่ ที่่� ๑ พ.ศ.๒๕๖๓

ชก. มช.

รองศาสตราจารยจนิ ตนา สนุ ทรธรรม

คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลยั เชยี งใหม

เกิดวันที่ ๒๐ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๔๗๗
ปจจบุ นั อายุ ๘๖ ป

37

ชก. มช.

รองศาสตราจารย์จ์ ิินตนา สุนุ ทรธรรม
รองศาสตราจารย์จ์ ิินตนา สุุนทรธรรม ครอบครััวเดิิมย้้ายมาจาก
อ.สามพราน จัังหวััดนครปฐม มาอยู่�่กรุุงเทพฯ แถวตลาดพลูู ประมาณปีี
พ.ศ. 2498 อาจารย์เ์ รียี นชั้น� มัธั ยมต้น้ และปลายที่่โ� รงเรีียนราชิินีี ปี ี 2497
และสำำ�เร็็จการศึึกษาระดัับปริิญญาตรีี บััญชีีจากมหาวิิทยาลััยธรรมศาสตร์์
ปี ี 2504 สำำ�เร็จ็ การศึึกษาปริญิ ญาโทจาก Armstrong College ที่่� Berkeley,
California ปี ี 2510 หลังั สำ�ำ เร็จ็ การศึึกษาท่า่ นอาจารย์ท์ ำ�ำ งานที่่ก� รมศุลุ กากร
ก่อ่ นจะย้้ายมาทำ�ำ งานที่่� มหาวิิทยาลัยั เชีียงใหม่่ เมื่่�อเดืือนมกราคม 2514
อาจารย์์เคยเป็็นหััวหน้้าภาควิิชาบััญชีีและบริิหารธุุรกิิจ คณะสัังคมศาสตร์์
เมื่อ�่ เกษียี ณอายุรุ าชการจากมหาวิทิ ยาลัยั เชียี งใหม่่ ในปี ี 2537 ได้ไ้ ปทำ�ำ งาน
ที่่ค� ณะบริหิ ารธุรุ กิิจ ม.โยนก จ.ลำำ�ปาง เป็็นเวลา 15 ปี ี ถึึงปี ี 2552 จากนั้้�น
ทำำ�งานที่่ว� ิทิ ยาลััยอิินเตอร์์เทค ลำ�ำ ปาง เป็็นเวลา 7 ปีี
ปััจจุุบัันท่่านอาจารย์์พัักอาศััยอยู่�่ที่�บ้้านแดนตะวััน ถ.สุุเทพ กัับ
ครอบครััวของ รศ.บุุญรัักษา สุุนทรธรรม (อดีีตผู้้�อำำ�นวยการสถาบััน
ดาราศาสตร์แ์ ห่่งชาติิฯ และ อดีตี คณบดีีคณะวิทิ ยาศาสตร์)์

38

เล่่มที่�่ ๑ พ.ศ.๒๕๖๓

ท่่านอาจารย์์มีกี ิิจวัตั รประจำำ�วันั ในการดููแลสุุขภาพเป็็นอย่า่ งดีี โดย
การเข้า้ นอนประมาณ 3 ทุ่่�ม และตื่น�่ ประมาณ 6 โมงเช้า้ สวดมนต์์ เดินิ จงกรม
นั่่�งกรรมฐาน อ่า่ นหนังั สืือธรรมะ ดููทีวี ีี เล่่นไลน์บ์ ้า้ ง ช่่วงเวลากลางวััน ทุกุ
วันั จันั ทร์ถ์ ึึงศุกุ ร์ต์ อนเย็น็ มีกี ิจิ กรรมรำำ�ไท่จ่ี๋ช�ี่ก� งที่่ศ� าลาอ่า่ งแก้ว้ มหาวิทิ ยาลัยั
เชีียงใหม่่ ท่่านอาจารย์์บอกว่่าการรำำ�ชี่่�กงจะให้้ผลดีีต่่อปอด วัันเสาร์์ไป
ปฎิบิ ัตั ิวิ ิปิ ัสั สนาที่่ว� ัดั สวนดอก ส่ว่ นวันั อาทิติ ย์จ์ ะทำ�ำ ธาราบำ�ำ บัดั ที่่ค� ณะเทคนิคิ
การแพทย์์

ด้า้ นสุขุ ภาพ ท่า่ นอาจารย์ม์ ีปี ัญั หาข้อ้ เข่า่ เสื่อ�่ มและเคยเป็น็ เบาหวาน
แต่่ปััจจุุบัันก็็ไม่่ต้้องคุุมเรื่่�องอาหาร รัับประทานได้้ทุุกอย่่างที่่�อร่่อยเพราะ
ทำำ�ให้้มีีความสุุข ได้ส้ อบถามเพิ่่�มเติิมว่่าท่่านอาจารย์์ดููแลสุุขภาพอย่่างไรจึึง
ดููสดใส แข็็งแรง ดููมีีอายุุไม่่ถึึง 86 ปี ี ท่า่ นอาจารย์์ให้ข้ ้อ้ มููลว่า่ คุุณยายของ
อาจารย์์ก็็อายุุยืืน 100 ปีี และกล่่าวว่่า ปััจจุุบัันตนเองได้้ใช้้ชีีวิิตสบายๆ
ใช้้ชีีวิิตอย่่างมีีความสุุขทุุกๆ วััน ไม่่มีีอะไรห่่วง ไม่่มีีทุุกข์์ เพราะอะไรที่่�จะ
ทำำ�ให้้ทุุกข์ก์ ็ไ็ ม่ร่ ัับเอาเข้า้ มาหาตััว
ท่่านอาจารย์์รัักความเป็็นครูู บอกว่่าอาชีีพครููเป็็นอาชีีพที่่�ดีีที่่�สุุด
ตนเองสอนหนัังสืืออย่่างมีีความสุุข ทุ่่�มเทให้้ด้้วยความบริิสุุทธิ์์�ใจ ด้้วย
ความรักั และรู้�สึกดีีใจถ้้าลููกศิิษย์์มีีความเจริิญรุ่�งเรืือง

39

“ ชก. มช.

“ ให้้อภััยคน เพราะไม่่มีใี ครเปอร์์เฟ็ค็ ต์์ (Perfect)
ย่อ่ มมีีสิ่�งผิิดพลาดได้้ ให้ม้ ีเี มตตากรุณุ า
สำ�ำ หรัับคำ�ำ แนะนำำ�ที่่�ท่่านอาจารย์์ฝากถึึงน้้องๆ ชมรมผู้้�เกษีียณ
มหาวิิทยาลัยั เชียี งใหม่่ คืือ
1. ในด้า้ นการใช้ช้ ีวี ิิตวัยั เกษียี ณอย่า่ งมีคี ุณุ ภาพและมีคี วามสุขุ คืือ
อย่า่ เครีียด เพราะถ้้าเครีียดอาจจะทำำ�ให้เ้ ป็น็ มะเร็ง็ ได้้ ทำำ�อะไรก็็อย่า่ ให้้มีี
ความทุกุ ข์์
2. เวลาพบเหตุุการณ์์อะไร ให้้คิิดบวก อย่่าคิิดลบ อย่่าเป็็นคน
โกรธง่่าย เพราะความโกรธจะฆ่่าตััวเราเองได้้
3. ให้้อภััยคน เพราะไม่่มีีใครเปอร์์เฟ็็คต์์ (Perfect) ย่่อมมีี
สิ่�งผิิดพลาดได้้ ให้ม้ ีีเมตตากรุณุ า
4. ทำำ�บุุญตามสภาพ และทำำ�ทานด้้วย

40

เล่่มที่่� ๑ พ.ศ.๒๕๖๓

ชก. มช.

รองศาสตราจารยม ัณฑนา เกียรตพิ งษ

คณะมนุษยศาสตร มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม

เกิดวนั ที่ ๒๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๗๗
ปจจบุ นั อายุ ๘๖ ป

41

ชก. มช.

รองศาสตราจารย์ม์ ััณฑนา เกีียรติพิ งษ์์
รองศาสตราจารย์์มััณฑนา เกีียรติิพงษ์์ เกิิดที่่�จัังหวััดกาญจนบุุรีี
เนื่�่องจากบิิดาทำ�ำ งานการรถไฟ จึึงต้้องย้้ายติิดตามบิิดาไปจัังหวััดต่่างๆ
ท่่านอาจารย์เ์ รียี นจบชั้้น� ม.ปลาย เรียี นต่่อ ปวส. จบ ปวส. เพื่�อ่ นชักั ชวน
ให้้ไปสอบเข้้าจุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลััย ได้้เรีียนจุุฬาฯ อีีก 4 ปีี หลัังจบ
ปริญิ ญาตรีจี ากคณะอัักษรศาสตร์ ์ จุุฬาฯ แผนกภาษาอังั กฤษ ท่า่ นอาจารย์์
ได้้ทำำ�งานที่่�กระทรวงศึึกษาธิิการเป็็นเวลาหลายปีี โดยทำ�ำ งานกัับ ม.ล.ตุ้�ย
ชุมุ สาย ณ อยุธุ ยา ด้้านการเก็็บข้อ้ มููลทางสถิิติิ เมื่อ่� ปี ี 2507 มหาวิทิ ยาลััย
เชีียงใหม่่เปิิด ม.ล.ตุ้�ย ชัักชวนให้้มาเป็็นอาจารย์์สอนภาษาไทย อาจารย์์
เล่า่ ว่า่ ความจริงิ จบมาทางภาษาอังั กฤษ ภาษาไทยได้แ้ ค่อ่ ่า่ นอิเิ หนาเล่ม่ เดียี ว
แต่่ ม.ล.ตุ้�ย บอกว่่า “เธอสอนได้้” จึึงตััดสิินใจมาทำำ�งานที่่�มหาวิิทยาลััย
เชียี งใหม่เ่ มื่อ่� ปี ี 2507 สอนวิชิ าภาษาไทยที่่ค� ณะมนุษุ ยศาสตร์อ์ าจารย์ย์ ังั ได้้
เล่า่ เพิ่่ม� เติมิ อีกี ว่า่ ต่อ่ มายังั ได้ด้ ำำ�เนินิ การด้า้ นการเปิดิ หลักั สููตรปริญิ ญาโทด้ว้ ย

42

เล่ม่ ที่�่ ๑ พ.ศ.๒๕๖๓

ท่่านอาจารย์์ได้้เล่่าประสบการณ์์วัันแรกที่่�มาถึึงเชีียงใหม่่ให้้ฟัังว่่า
ได้้พัักที่่�อาคาร 1 ซึ่�่งมีีอาคารเดีียวในขณะนั้้�นและเพิ่่�งสร้้างเสร็็จใหม่่
นอนกลางคืืนมีีผีีมาถอนหายใจอยู่่�ข้้างหูู ด้้วยความกลััว ท่่านอาจารย์์ลุุก
ขึ้�้นมานั่่�งพนมมืือกัับพระที่่�ห้้อยคอ และบอกผีีไปว่่า รัับทราบแล้้วว่่ามาขอ
ส่ว่ นบุญุ พรุ่�งนี้้จ� ะทำำ�บุญุ ไปให้ ้รุ่�งขึ้น้� ท่า่ นอาจารย์ก์ ็เ็ หมารถสี่่ล� ้อ้ แดงไปทำำ�บุญุ
ที่่�วััดพระธาตุุดอยสุุเทพ แล้ว้ กลัับมากรวดน้ำำ��ให้้ ท่่านอาจารย์์บอกว่า่ ตั้�งแต่่
วัันนั้้�นเป็น็ ต้้นมา อยู่�่ มช. มาอีีก 30 ปีี ไม่เ่ คยเจอผีีอีีกเลย
ท่่านอาจารย์์มีีผลงานการเขีียนหนัังสืือเกี่�ยวกัับภาษาอัังกฤษและ
ภาษาไทยจำำ�นวนมาก เช่่น คู่่�มืือฝึึกออกเสีียงภาษาอัังกฤษกัับครููฝรั่�ง,
บทสนทนาภาษาอัังกฤษสมบููรณ์์แบบ, รู้้�ภาษาไทยให้้ลุ่�มลึึก ฯลฯ และมีี
ผลงานแปลหลายเล่่ม เช่่น กระเป๋๋าเดิินทางของฮัันนา, เรีียนรู้้�ลีีลา
ภาษาลีลี าศ ฯลฯ และรศ.มัณั ฑนา ยังั มีคี วามสามารถด้า้ นการแต่ง่ กลออีกี ด้ว้ ย
ปััจจุุบััน ท่่านอาจารย์์พัักอยู่่�ที่�หมู่�่ บ้้านสุุเทพาลััย ต.สุุเทพ อยู่่�กัับ
ลููกชาย อาจารย์์ใช้้ชีีวิิตประจำำ�วัันแบบง่่ายๆ โดยแต่่ละวัันจะตื่่�นนอน
ประมาณตีี 5 ทุุกวััน ไหว้พ้ ระ สวดมนต์์ (หลังั สวดมนต์์ รศ.มัณั ฑนา จะเอา
เงิินหยอดลงกระปุุก
สะสมไว้้วัันละเล็็ก
ละน้้อย เมื่อ�่ รวบรวม
ได้้มากแล้้วก็็เอาไป
ทำำ� บุุ ญ ) ตัั ก บ า ต ร
ทุกุ วันั ที่่ห� มู่�่ บ้้าน

43

ชก. มช.

“ให้ใ้ ช้ช้ ีีวิิตตามสบาย “
ปล่อ่ ยวาง อะไรจะเกิิดก็เ็ กิิด

นอกจากนี้้� ท่่านอาจารย์์ ยัังมีีกิิจวััตรประวัันโดยการอ่่านหนัังสืือ
ธรรมะบ้า้ ง ดููทีวี ีบี ้า้ ง (ละครไม่ไ่ ด้ด้ ูู) และออกกำำ�ลังั กายโดยการเดินิ ในบริเิ วณ
หมู่่�บ้้านประมาณวัันละครึ่�งชั่ว� โมง
ด้้านสุุขภาพอาจารย์์ รศ.มััณฑนา มีีปััญหาด้้านหััวเข่่า และมีี
โรคความดัันบ้้าง ด้้านอาหาร มีีแม่่บ้้านทำ�ำ อาหารให้้ รัับประทานอาหาร
ประเภทผักั ไม่่รับั ประทานเนื้้อ� สัตั ว์์
เกี่ย� วกับั คำ�ำ แนะนำ�ำ ที่่อ� าจารย์ท์ ่า่ นฝากมาถึงึ สมาชิิกชมรมผู้เ�้ กษียี ณ
มหาวิิทยาลััยเชีียงใหม่่ เพื่�่อให้้ใช้้ชีีวิิตวััยเกษีียณอย่่างมีีคุุณภาพและ
มีีความสุขุ รศ.มัณั ฑนา แนะนำำ�ว่า่
1. ให้ใ้ ช้้ชีีวิิตตามสบาย
2. ปล่่อยวาง อะไรจะเกิิดก็็เกิิด

44


Click to View FlipBook Version