The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สุมิตรา สำเภาพล, 2019-06-05 12:49:06

ธุรกิจต้นน้ำ กลางน้ำและปลายน้ำของการเกษตร

รายวิชาหลักกการเกษตร

หน่วยท่ี 4 ธุรกิจตน้ นา กลางนาและปลายนาของการเกษตร
นางสาวสุมติ รา สาเภาพล

37

บทท่ี 4
ธรุ กจิ ตน้ นา กลางนาและปลายนาของการเกษตร

วตั ถปุ ระสงค์
ดา้ นความรู้ 1. นักศึกษามคี วามรเู้ กยี่ วกับการจัดการฟาร์มเบอ้ื งต้น

2. นักศึกษาแสดงความรูใ้ นเร่ือง ธรุ กจิ ต้นน้า ธรุ กิจกลางนา้ และปลายน้าทเ่ี ก่ียวข้องกับการเกษตร
3. นักศึกษามีความรู้เกีย่ วกับหลักธุรกจิ เกษตรเบือ้ งตน้
4. นกั ศึกษามคี วามรเู้ กย่ี วกับการตลาดเกษตร
ด้านทักษะ 1. นักศกึ ษาอธบิ ายเก่ยี วกับการตลาดเกษตรได้
2. นักศึกษาสามารถจัดการฟาร์มพ้ืนฐานได้
3. นักศกึ ษาสามารถผลติ และจ้าหน่ายสนิ ค้าเกษตรเบื้องต้นได้
ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
1. สามารถทา้ งานร่วมกันเป็นหม่คู ณะได้
2. มคี วามรับผดิ ชอบ ตรงต่อเวลา
3. มีความคดิ ริเร่ิมสร้างสรรค์ กลา้ แสดงออก
4. มีสัมมาคารวะและสุภาพเรียบรอ้ ย
เนือหาสาระ

การจัดการฟารม์ เบืองตน้

ปัจจุบนั ถา้ เรายอ้ นรอยถงึ แหล่งก้าเนดิ ของคนเราล้วนมวี ิถชี วี ติ เกีย่ วพนั ธ์กบั การเกษตรเพ่ือการดา้ รงชพี และนา้
สนิ คา้ พืชผลทางการเกษตรเข้ามาแลกเปลี่ยนเป็นปจั จัยในอุปโภคหรอื บรโิ ภคเป็นหน่งึ ในปจั จัยส่ี แม้วา่ จะเปน็ โลกของทนุ นิยม มอง
การเกษตรเปน็ เรอ่ื งลา้ สมยั แตผ่ ลผลติ ทางการเกษตรเปน็ สินคา้ เศรษฐกจิ ทสี่ ้าคัญของประเทศเราคอยผลักดันเกื้อหนุนภาคธุรกจิ
อ่นื ๆ ได้เป็นอยา่ งดี

มีสถาบันการศกึ ษาบางสถาบนั เหน็ ความส้าคญั ตรงจดุ น้ีจึงพฒั นาเป็นหลักสตู รสร้างบุคลากรเปน็ นักจดั การเกษตรเนน้
การศกึ ษาเกย่ี วกบั พืชทส่ี า้ คัญทางเศรษฐกจิ เช่น ข้าว ยางพารา อ้อย มนั สา้ ปะหลงั และปาลม์ น้ามัน เรียนวชิ าพ้นื ฐานทาง
การเกษตรเรยี นรู้นวตั กรรมทันสมยั มีการใชเ้ ครื่องมือและมีการทดลองในห้องปฏบิ ัติการ เรียนรกู้ ารรวบรวมการจดั ซอื้ การจดั การ
วัตถดุ ิบ บญั ชี การเงนิ และการวางแผน นา้ นกั วชิ าการเกษตรมาปรบั ปรงุ และพัฒนาโดยมุง่ เน้นด้านการจัดการเกษตรให้มากขึ้น มงุ่
ท้าให้การเกษตรเป็นเรื่องทันสมัย ผลิตบคุ ลากรการเกษตรรุ่นใหมใ่ หท้ ันต่อเศรษฐกจิ โลก
นวัตกรรมเกษตร หมายถงึ เทคโนโลยใี หมๆ่ รวมถงึ การจดั การเศรษฐศาสตร์ การเงิน บคุ ลากรเม่ือเขา้ มาศึกษาเรียนรู้ นวัตกรรม
เกษตรจะเป็นนกั จัดการเกษตร ท้าหน้าที่ ดูแลการผลติ ใหม้ ีประสิทธภิ าพมากยงิ่ ขึน้ พยายามเพ่มิ ผลก้าไร ลดต้นทนุ การผลติ

บุคลากรทเ่ี ปน็ นักจัดการเกษตร สามารถบรหิ ารจดั การได้คอ่ นขา้ งจะกวา้ งสามารถทจ่ี ะบริหารจัดการดแู ลไดท้ ัง้ หมด ท้ังต้น

38

น้า กลางนา้ และปลายนา้ คอื สามารถเปน็ ผูจ้ ดั การเกษตรในภาพที่กว้างๆ ดแู ลผลผลติ ไดว้ า่ จะปลูกอย่างไร ใหล้ ดต้นทุน เพ่มิ
ผลผลิต เพม่ิ คณุ ภาพ ลดของเสยี หรือเวลาทา้ งานจะไดค้ วบคุมคุณภาพการแปรรปู เพราะได้ศึกษาการตลาดมาเป็นหลัก เพ่ือจะได้
ทราบว่าชว่ งนผ้ี ลผลิตทางการเกษตรอันไหน ตัวไหนทน่ี ่าจะทา้ กา้ ไรได้ดี การปฏิบตั งิ านด้านการตลาด สามารถคา้ ขายในประเทศ
หรือตา่ งประเทศ ปฏบิ ัตงิ านเก่ยี วกับการสง่ เสรมิ การเกษตร ด้านการปรับปรงุ พนั ธ์ุพืชได้

บุคลากรท่ีสนใจหรือมองหาอาชพี ท่ีเกยี่ วกับการเกษตรมีใจรกั ในการคิดคน้ ส่งิ ใหม่ๆ มใี จรักทจ่ี ะอยู่กบั ธรรมชาติ (อาชีพ
เกษตรกรรม)

“การจัดการ” (Management) หมายถงึ การจดั สรรทรัพยากรท่ีมีอยูจ่ ้านวนจา้ กดั ในการผลติ สินคา้ และบริการ
เพอ่ื สนองความตอ้ งการของมนุษย์ หรอื เพื่อให้ไดต้ ามวัตถุประสงคท์ ี่กา้ หนดไว้

“ฟารม์ ” (Farm) หมายถึง พ้ืนทท่ี ใี่ ช้ทา้ ธรุ กิจการเกษตร ซ่ึงมักจะมีพ้นื ท่ีจ้ากัด ไม่วา่ จะขนาดเล็กหรอื ขนาดใหญ่ จะ
ประกอบไปดว้ ยสง่ิ ส าคัญ 4 อยา่ ง คือ ท่ีดนิ ทนุ แรงงาน และผปู้ ระกอบการ

ดังนนั้ “การจดั การฟาร์ม” (Farm Management) จึงหมายถึง การจัดสรรทรัพยากรของหนว่ ยธุรกิจฟารม์ ได้แก่ ท่ีดิน
แรงงาน ทนุ ท่ีมีอยู่จ้านวนจ้ากดั มาใชใ้ นการผลิตพชื เลีย้ งสัตวแ์ ละประมง เพื่อใหไ้ ด้ตามวัตถุประสงคท์ ก่ี า้ หนดภายใตก้ ารเส่ยี งและ
ความไม่แน่นอน การจดั การฟารม์ นจี้ ะรวมถงึ การวางแผนและงบประมาณฟาร์มต่อการปลกู พืช เล้ียงสตั ว์ ในการพฒั นาการผลติ ต้อง
เก็บบันทึกข้อมูลเพื่อการวเิ คราะห์และประเมนิ ผลการทา้ ฟาร์มเอาไวด้ ว้ ย อยา่ งไรก็ตามการจัดการฟาร์มท่ดี นี น้ั นอกจากจะให้ได้
ก้าไรสงู สดุ แล้ว การจดั การฟารม์ ที่ดีนอกจากจะท้าให้ได้ตามวัตถุประสงคท์ ่ีก้าหนดแลว้ ยงั จะตอ้ งจดั แบ่งเวลาให้เหมาะสมด้วย การ
จัดการฟาร์มมิไดม้ ุ่งหวังเพียงก้าไรสูงสุดเท่าน้นั แต่ยงั มีจดุ มุง่ หมายที่กอ่ ให้เกดิ รายได้อย่างต่อเน่ืองจากกิจกรรมภายในฟาร์ม
โดยเฉพาะการจัดการฟาร์มในลกั ษณะไรน่ าสวนผสม

ความส้าคญั ของงานการจัดการฟาร์ม

การจัดการฟาร์มเปน็ วชิ าการแขนงหน่งึ ทเ่ี กีย่ วข้องกบั วิทยาศาสตร์ประยุกต์ เพื่อมงุ่ เนน้ การหาแนวทางการแก้ไขปญั หาต่าง
ๆ ภายในฟารม์ เช่น ทรพั ยากรทีด่ นิ ทนุ และแรงงาน เปน็ หลกั นอกจากนี้ยงั มสี ่วนเกย่ี วขอ้ งสมั พันธ์กับราคาและการตลาด การ
จัดการฟาร์ม เป็นการด้าเนินงานภายใต้สถานการณ์ความเสี่ยง และความไม่แน่นอน อันเนอื่ งมาจากการเปลยี่ นแปลงของปจั จัย
หลายอยา่ งทเี่ กษตรกรไม่สามารถควบคมุ ได้ เชน่ การเปล่ียนแปลงสภาพดินฟา้ อากาศ การขึน้ ลงของราคาสินค้าเกษตร ตลอดจน
ความต้องการและการแขง่ ขนั ในการผลติ สินค้าเกษตร ดงั นั้น ความจา้ เปน็ ในการจัดการหรอื การตัดสินใจนนั้ จงึ มีความสา้ คญั หาก
การจัดการไม่เหมาะสมหรือไม่ถูกต้องอาจจะทา้ ให้เกิดการขาดทนุ หรอื เสียหายได้ แต่ถา้ เกษตรกรมีการจดั การทด่ี ี ตัดสินใจท่ถี ูกตอ้ ง
ก็จะทา้ ใหป้ ระสบความส้าเร็จได้ นั่นหมายความวา่ มีความเสยี หายนอ้ ยทสี่ ดุ หรอื มีความเส่ียงนอ้ ยแต่ได้ประโยชน์มากท่ีสดุ กล่าวคือ
กอ่ ให้เกดิ รายได้และก้าไรมาก มีขั้นตอนที่เกยี่ วข้อง ดังนี้
1. บริหารและจัดการทรัพยากรทมี่ ีอยู่อย่างจา้ กัด และเป็นแนวทางแก้ปัญหากิจกรรมภายในฟาร์ม

39

2. การใชป้ จั จัยการผลติ ในฟาร์มให้เกิดประสิทธิภาพสูงสดุ
3. การคดั เลอื กกจิ กรรมการผลติ ใหส้ อดคล้องกับทรพั ยากรทมี่ ีอยู่ ตลอดจนความรู้ความสามารถและทกั ษะของเจา้ ของฟารม์
4. การจดั การด้านแรงงานและเงนิ ทนุ ใหเ้ กิดประโยชนส์ งู สุด เน่ืองจากสภาพปจั จุบันแรงงานครัวเรอื นและแรงงานจ้างคอ่ นข้างจา้ กัด
ตลอดจนเทคโนโลยีสมัยใหมเ่ ข้ามา จงึ จ้าเปน็ ต้องใชเ้ งินทุนเขา้ มาช่วยสนบั สนุน ดงั นน้ั การจัดการจึงเนน้ ถึงการควบคุมดแู ลและการ
กา้ กบั การใช้ปัจจัยแรงงานและเงนิ ทนุ
5. พ้นื ทีก่ ารเกษตรเริ่มมีขนาดเลก็ ลง และทรัพยากรเริ่มจา้ กัดไม่ว่าพื้นท่หี รือแรงงานก็ตาม จงึ จา้ เปน็ ต้องเพิ่มธุรกิจภายในฟาร์มท่ีมี
ขนาดเทา่ เดิมให้มากขนึ้ โดยอาศยั การจดั การฟาร์มท่ถี ูกต้องและเหมาะสม
6. การวางแผนและการวิเคราะหฟ์ าร์ม เพื่อกา้ หนดทิศทางการผลิตใหส้ อดคล้องกับทรพั ยากรและความต้องการของตลาด ส่ิงส้าคัญ
ให้เกดิ ความเสี่ยงนอ้ ยทีส่ ุด
7. เน่ืองจากการตลาดน้าการผลิต ดงั น้นั การจดั การฟารม์ จึงต้องตระหนักถงึ ระบบการตลาด การซือ้ การขายผลผลติ ช่วงระยะเวลา
และคุณภาพของผลผลติ เปน็ ตน้

การท้าธรุ กิจเกษตรมีกระบวนการคอื
ตน้ น้า : คอื ฟาร์ม การปลกู พืช การเกบ็ เกีย่ วผลผลิต เพอ่ื ส่งโรงงาน
กลางนา้ : คอื โรงงานแปรรูป ทา้ งานเป็นกระบวนการโดยรบั วัตถุดิบมาแปรรูป (แพ็ค) เพ่ือด้าเนินการในขนั้ ตอนต่อไป
ปลายน้า : คอื การขายในตลาด ซึง่ มที ัง้ ตลาดในประเทศและต่างประเทศ

เมือ่ บุคลากรมีองค์ความรดู้ ังกลา่ วข้างต้น จะสามารถรกู้ ระแสตลาดโลกและดูความเปน็ ไปได้ของสภาวะการขน้ึ ลงของสินค้า
ในแตล่ ะประเภทได้ตลอดเวลา

หลักธรุ กจิ เกษตรเบืองต้น

1. ธรุ กจิ การเกษตร หมายถึง การด้าเนินกิจกรรมท้ังหลายนับตัง้ แต่การผลิตและจา้ หน่ายปจั จัยการผลติ การผลติ สินค้าเกษตรใน
ระดบั ฟาร์ม การเก็บรักษา การแปรรูปสินค้าเกษตร และการจัดจ้าหนา่ ยผลิตภณั ฑส์ ินค้าเกษตรและผลติ ผลพลอยได้ ดังนนั้ ธรุ กิจท่ี
เก่ียวข้องกับการเกษตรทุกประเภทถือว่าเป็นธรุ กิจการเกษตรท้งั สนิ้

2. ขอบเขตของธุรกิจการเกษตร ขอบเขตของธรุ กิจการเกษตรจงึ ครอบคลุมธรุ กิจทุกอย่างที่ เก่ียวข้องกับการเกษตร นับต้ังแต่
ธุรกิจท่ีผลิตและจ้าหน่ายปัจจยั การผลิต ธรุ กจิ การผลิตสินคา้ เกษตร ธุรกจิ การแปรรูปและการค้าสินค้าเกษตร นอกจากนีย้ ังมธี ุรกิจที่
สนับสนุนการท้าธุรกิจการเกษตรอีกดว้ ย เช่น การขนส่ง การเงนิ และคลงั สินค้า เป็นต้น

3. ความสา้ คญั ของธุรกิจการเกษตร เมื่อพจิ ารณาจากความหมายและขอบเขตแล้ว สามารถแบง่ ได้ 3 ประการด้วยกัน คือ

3.1 ความสา้ คัญในแงช่ ีวติ ประจา้ วันของมนุษย์ทัง้ มวล มนุษย์ท่ีเกิดมาและมีชีวิต อยู่ไดย้ ่อมตอ้ งการอาหารเพื่อการ
บริโภค และใช้ส่งิ อน่ื เข้าชว่ ยในการด้ารงชวี ติ การด้าเนินงานธุรกจิ การเกษตรเป็นการตอบสนองความต้องการของผบู้ ริโภค การที่ผู้บริโภค
ได้รับอาหารแตล่ ะม้ือในวันนี้ เกิดจากการคาดคะเนและการตัดสนิ ใจในการผลิตสินค้าเกษตรก่อนหน้านี้มาระยะหน่ึง ระยะเวลานี้จะส้ัน

40

หรอื ยาว ข้ึนอยู่กบั ชนิดของผลผลิต เชน่ พวกผักก็ใช้เวลาสัน้ แต่ถ้าเปน็ สัตวข์ นาดเล็ก เช่น สตั วป์ ีกและสุกรก็จะใช้เวลายาวขน้ึ ไปอีก เป็น
ต้น ประกอบกับการเกษตรในปัจจุบันมีความแตกต่างกับในอดีต เพราะในอดีตการท้าการเกษตรเป็นแบบเลย้ี งตวั เอง ที่แต่ละครวั เรือน
จะต้องพยายามผลติ ทุกอยา่ งที่ต้องการใชใ้ นครอบครัว ถ้ามีเหลือจึงจะขายหรือนา้ ไปแลกเปลี่ยนกับเพื่อนบ้านในส่วนท่ีตนผลิตไม่ได้ หรือ
ผลิตได้ไม่เพียงพอกับความต้องการ แต่ในปัจจุบัน สว่ นใหญป่ ระกอบการเกษตรเปน็ แบบการค้า ผลิตสินค้ามาเพ่ือขาย แลว้ น้ารายได้จาก
การขายมาเพ่ือซื้อสินค้าและบริการต่างๆ ท่ีครอบครัวต้องการ การท้าการเกษตรจึงจ้าเป็นต้องพจิ ารณาตลาดที่รองรับผลผลติ ท่ีผลติ ข้ึนมา
ดงั น้ัน การด้าเนินงานธรุ กจิ การเกษตร ผ้ทู ้าธุรกิจต้องมองภาพรวมทงั้ ในด้านการผลิตและการตลาดสินค้าเกษตรควบคู่ไปด้วยกัน น่ันคือ
ต้องติดตามการเปล่ียนแปลงการบริโภคของผู้บรโิ ภค และปรับการผลิตและการตลาดให้เข้ากับการเปล่ียนแปลงน้นั

3.2 ความสา้ คัญในแง่ธุรกิจ จากความหมายแสดงให้เหน็ ว่า กว่าสินค้าเกษตรจะ ผลิตมาได้เกษตรกรจะต้องลงทุนใน
ดา้ นปัจจัยการผลิต และเม่ือผลิตมาได้แล้ว กว่าสนิ ค้าจะถึงมือผ้บู รโิ ภคคนสดุ ทา้ ยจะต้องผ่านคนกลางและกระบวนการต่างๆ มากมาย
แลว้ แต่ชนดิ ของสินค้า หรือเรยี กวา่ วิถีการตลาด (Marketing channel) คือ การแสดงให้เหน็ วา่ สินค้านัน้ จากผผู้ ลิตผา่ นคนกลางประเภท
ใดบ้าง ในปริมาณร้อยละเท่าใด กว่าจะถงึ มือผบู้ ริโภคหรือผู้ใช้ ซงึ่ บางชนิดออกจากไร่นาก็ไปสู่ผู้ขายปลีกและผู้บริโภคเลย บางชนดิ ต้อง
ผ่านคนกลางและการแปรรปู หลายข้ันตอน ย่ิงกว่านั้น ผลผลติ บางชนิดไม่ได้ผลิตเพื่อสนองความต้องการของผู้บริโภคในประเทศเพียงอย่าง
เดยี ว ยงั สนองความต้องการของผูบ้ รโิ ภคในตา่ งประเทศอีกดว้ ย เช่น ข้าว ยางพารา มนั ส้าปะหลงั ไก่เน้ือ กุ้งกุลาด้า ปลาทูนากระป๋อง
หน่อไม้ฝรั่ง กระเจ๊ียบเขียว หน่อไม้ไผ่ตง และขงิ อ่อนดอง เปน็ ต้น ดังนนั้ จึงมคี นกลางประเภทผู้สง่ ออกเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย จึงเห็นได้ว่า
ธรุ กิจการเกษตร มีนักธุรกจิ การเกษตรท่ีเกี่ยวข้องจ้านวนมาก ต้งั แต่ผผู้ ลติ /ผนู้ ้าเข้าปจั จัยการผลิต จนถึงผคู้ ้าปลีกสินค้าเกษตรและผลิตผล
พลอยได้ให้กับผู้บริโภคในประเทศ และผสู้ ่งออกทสี่ ่งออกสินค้าเกษตรและผลติ ผลพลอยได้ไปตา่ งประเทศ ซ่ึงยังไม่นับรวมผู้ทส่ี นบั สนนุ ใน
การด้าเนินธุรกิจของนักธรุ กิจการเกษตร เช่น สถาบันการเงิน ผ้ปู ระกอบการขนส่ง ผปู้ ระกอบการคลังสินค้า หนว่ ยงานของรฐั และอนื่ ๆ ใน
การด้าเนินงานธรุ กิจ นักธรุ กิจการเกษตรเองจ้าเป็นต้องทราบว่า ลกั ษณะการด้าเนินธรุ กิจนั้นเป็นอย่างไรบา้ ง และต้องเก่ียวพันกบั คนอื่น
มากน้อยเพียงใด เพ่ือท่จี ะทา้ ใหธ้ ุรกิจนน้ั อยู่รอดและก้าวหนา้ ตอ่ ไป

3.3 ความสา้ คัญในแงเ่ ศรษฐกิจของชาติ ธรุ กิจการเกษตรเกี่ยวข้องกบั การเกษตร ทงั้ หมดและบางส่วนของอตุ สาหกรรม
และถ้าท้าธรุ กิจสินค้านั้นให้ครบวงจร หมายถึงว่า หน่วยธรุ กิจมกี ารเปลย่ี นสินค้าเกษตรซ่ึงมีลักษณะเป็นวัตถุดิบน้ันให้เป็นผลิตภณั ฑ์ข้ัน
สดุ ท้ายก่อนที่จะจ้าหน่ายให้กับผูบ้ รโิ ภคหรือผู้ใช้ ตวั อย่างเช่น ข้าวโพดอาจน้ามาสกัดน้ามนั ขา้ วโพดและผลติ เป็นแป้งข้าวโพด หรือนา้ ไป
เลี้ยงสัตว์เป็นการผลิตสัตว์แทนท่ีจะส่งออกในรูปของเมล็ดข้าวโพด การกระท้าดังกล่าวจะต้อง มีการลงทุนด้านต่างๆ ทีต่ ่อเน่ืองกัน มีการ
ใชผ้ ลิตผลและปัจจัยการผลิตอยา่ งต่อเน่ืองและสัมพันธ์ซง่ึ กันและกัน หรือเรียกว่า การผลติ เปน็ แบบอนุกรม สามารถเพ่ิมมูลค่าให้กบั
ผลผลิตนั้น และสร้างงานมากมายใหก้ ับคนในประเทศ

อย่างไรก็ตาม ธุรกิจการเกษตรในประเทศไทยในปัจจุบนั มสี ินค้าเกษตรหลายชนิดท่ีท้าธุรกิจได้ครบวงจร เชน่ ขา้ วโพดซ่ึงในอดีต
ผลติ มาเพื่อการสง่ ออกเป็นวัตถุดบิ อาหารสัตว์ แต่ในปัจจุบันน้ามาใช้ผลติ เป็นอาหารสัตว์ในประเทศมากจนกระท่ังผลิตได้ไม่เพียงพอกับ
ความต้องการ ต้องมีการน้าเข้ามาบางส่วน ท้าให้ประเทศไทยนอกจากส่งออกผลติ ภัณฑส์ ัตว์แทนแล้ว ยังสร้างงานในธรุ กิจการเลย้ี งสัตว์
และธุรกิจทต่ี ่อเน่ืองจากการเลี้ยงสัตว์ ผักและผลไมบ้ างชนดิ ก็มีการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อการส่งออก แตก่ ็มีสินคา้ เกษตรอีกหลายชนิด

41

ทีป่ ระเทศไทยยังมีข้อจา้ กดั ทางเทคโนโลยีและมอี ุปสรรคอ่นื ๆ ทีไ่ ม่สามารถท้าให้ธรุ กิจครบวงจรได้ เชน่ ผลิตภัณฑ์มนั สา้ ปะหลงั ในรูปของ
มนั เส้นและมันอัดเม็ดยังมีการใช้ผลิตเป็นอาหารสตั ว์ได้ในวงจ้ากัด ยางพารามีข้อจ้ากดั ทางเทคโนโลยที ่ีจะแปรรปู ในข้นั ต่อไปจึงต้อง
ส่งออกในรปู ของยางแผน่ รมควัน ประเทศไทยเพง่ิ เริ่มมีการแปรรปู เป็นผลิตภัณฑ์ยางได้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาตฉิ บับท่ี 6
และกาแฟ มีอปุ สรรคในการสง่ ออกผลิตภัณฑส์ ้าเรจ็ รูป จึงยังจา้ เป็นต้องสง่ ออกในรปู ผลิตภัณฑ์แปรรูปขั้นต้น คือ เมล็ดกาแฟแทน ถ้า
ประเทศไทยสามารถน้าสนิ ค้าเหล่านี้มาผลิตเปน็ ผลิตภัณฑข์ ้ันสดุ ท้ายท่ีตลาดต้องการได้ นอกจากลดปัญหาความผันผวนของราคาสินค้า
ขน้ั ต้นทร่ี ัฐบาลต้องเข้าไปแทรกแซงโดยตลอดแลว้ ยังก่อใหเ้ กิดการลงทุนท่ีต่อเน่ือง เปิดโอกาสให้คนในชาติมงี านทา้ มากข้ึนและมลู คา่
สินค้าน้ันเพ่ิมข้ึนตามกิจกรรมท่ีทา้

4. องค์ประกอบของระบบธุรกิจการเกษตร โครงสรา้ งของระบบธุรกิจการเกษตรของ ประเทศไทยสามารถจ้าแนกออกเป็น 2 ฝา่ ย
ได้แก่ ฝ่ายดา้ เนินการและฝา่ ยสนับสนุน ดังน้ี

4.1 ฝ่ายด้าเนนิ การ หมายถึง ฝ่ายท่ีด้าเนนิ กิจกรรมทั้งหลายนับต้ังแต่การผลติ และ จา้ หนา่ ยปัจจยั การผลิต การผลิต
สินคา้ เกษตรในระดบั ฟาร์ม การเก็บรักษา การแปรรปู สนิ ค้าเกษตร และการจัดจ้าหน่ายผลิตภณั ฑส์ ินค้าเกษตรและผลิตผลพลอยได้ ฝ่าย
ด้าเนินการจ้าแนกออกเปน็ 6 ระบบย่อย ได้แก่

1) ระบบย่อยปจั จัยการผลิตสินค้าเกษตร
2) ระบบย่อยการผลติ สินค้าเกษตร
3) ระบบย่อยการจดั หาสินคา้ เกษตร
4) ระบบย่อยการแปรรปู /การเก็บรักษาสินค้าเกษตร
5) ระบบย่อยการจดั จ้าหน่ายสนิ ค้าเกษตร
6) ระบบย่อยการส่งออกสินค้าเกษตร

4.2 ฝา่ ยสนับสนุน หมายถึง องค์กรหรือหน่วยงานท่ีอ้านวยความสะดวกต่างๆ ใหก้ ับฝ่ายด้าเนินการ ท้าให้ฝา่ ย
ดา้ เนินการสามารถท้างานได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพยิ่งข้ึน

ความหมายของการตลาด
ตลาด (Market) หมายถึง การที่ผซู้ ือ้ และผู้ขายสามารถตกลง แลกเปล่ยี นสนิ ค้าและบริการต่าง ๆได้ อาจมสี ถานที่หรอื ไม่มีก็ได้

องค์ประกอบของตลาดที่สาคัญ คือ
1. ผู้ซ้อื 2. ผู้ขาย 3. สนิ ค้า 4. เงอื่ นไข หรือกรรมวิธีการตลาด
การตลาด (Marketing) หมายถึงระบบของการด้าเนนิ งานทางธรุ กจิ ทั้งหมดท่กี ้าหนดขึ้นเพ่อื วางแผนเกี่ยวกบั การต้ังราคา

การสง่ เสริมการตลาดและการจ้าแนกแจกจ่ายผลติ ภัณฑห์ รือบริการ เพอื่ ใชบ้ ้าบัดความต้องการให้แกล่ ูกค้าในปัจจบุ ันและผทู้ คี่ าดว่า
จะเปน็ ลูกคา้ ในอนาคต

42

หนา้ ทก่ี ารตลาด (Marketing Functions)

1. การทา้ หนา้ ที่ในการแลกเปลย่ี น (Exchanging Function)

- หน้าทใ่ี นการซอื้ (Buying)

- หน้าทใ่ี นการขาย (Selling)

2. การท้าหนา้ ทที่ างภายภาพ (Physical Function)

- การแปรรูป (Processing) - การเก็บรักษา (Storage)

- การขนสง่ (Transportation)

3. การท้าหน้าทใี่ นการอ้านวยความสะดวก(Facilitating Function)

- การกา้ หนดมาตรฐานสินคา้ (Grading and Standardization) - ด้านการเงิน (Financing)

- ด้านขา่ วสารการตลาด (Marketing Intelligence) - ด้านการรบั ภาระการเสย่ี งภยั (Risk Bearing)

กระบวนการตลาด

- การรวบรวมผลผลติ - การปรับให้เกดิ สมดลุ ระหว่างการผลติ และการบริโภค

- การกระจายสนิ คา้ ไปสู่ผบู้ ริโภค

ผู้ผลติ

พอ่ ค้าคนกลาง รัฐบาล องคก์ ร สถาบนั ต่างๆ

การซ้อื ขายผลผลติ การรวบรวมผลผลติ การใหส้ ินเชอื่
การรวบรวมสนิ คา้ การออกกฎหมาย
การขนสง่ การปรบั สมดุลระหวา่ ง ข่าวสารขอ้ มูลการตลาด
การเกบ็ รักษา การผลติ และการบรโิ ภค การยอมรับ
การแปรรปู ฯลฯ
การกระจายสนิ คา้
ผบู้ ริโภค

ระบบการตลาด (Marketing System)
หมายถึง ลักษณะความสัมพันธ์ของกิจกรรมาทางเศรษฐกิจทุกชนิดในกระบวนการตลาด รวมท้ังความสัมพันธ์ของการ

บรกิ าร ผใู้ ห้บรกิ าร และผรู้ ับบรกิ ารในตลาด

43

ระบบตลาด แบง่ เป็น 2 ระบบ
1. ระบบการตลาดแบบเขา้ สู่ศนู ย์กลาง (Centralize System)

ได้แก่ ระบบตลาดสินค้าเกษตรที่มีแหล่งผลิตกระจัดกระจาย ถูกน้าผลผลิตเข้ามาสู่ตลาดกลาง เพื่อรวบรวมส่งโรงงานหรือ
ส่งออก เชน่ ขา้ วโพด มันสา้ ปะหลงั หรอื ยางพารา เป็นตน้

2. ระบบการตลาดแบบกระจายออกจากศูนย์กลาง (Decentralize System)
ได้แก่ ระบบตลาดสินค้าเกษตรที่มีแหล่งผลิตเฉพาะแห่ง เช่น ล้าไยจากล้าพูน ลองกองจากตันหยงมัส ส้มโอนครชัยศรี

โดยทผ่ี ลผลิตถกู กระจายไปยงั ผ้บู รโิ ภคต่างถิ่น ทั้งในและนอกประเทศ
วิถกี ารตลาด (Marketing Channel)

หมายถึง เสน้ ทางการเคล่ือนย้ายผลผลติ จากแหลง่ ผลติ ไปสผู่ ู้บริโภคคนสุดทา้ ย วถิ กี ารตลาดจะสามารถบ่งชใ้ี หเ้ ห็นถงึ
กิจกรรมทางเศรษฐกิจ เชน่ การเกบ็ รวบรวม การแปรรูป การจ้าหนา่ ยจ่ายแจกในสนิ ค้าน้ันๆ ได้

30% เกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพด 10%
60%
พ่อคา้ ผ้รู วบรวม ผเู้ ลยี งวัว
ในทอ้ งถ่นิ พอ่ คา้ ผู้รวบรวม
ระดับท้องถิ่น เปลือกข้าวโพด
80% 10%
10%

โรงงานผลิตข้าวโพด พอ่ คา้ รวบรวม พอ่ คา้ ปลีกกรุงเทพมหานคร/
ฝักออ่ นกระป๋อง ปลายทาง ตา่ งจงั หวัด

ตลาดต่างประเทศ ตลาดในประเทศ

ระดับของตลาด
1. ตลาดทอ้ งที่ หมายถงึ ตลาดที่ต้งั อยู่ ณ แหล่งผลติ สนิ ค้าน้นั
2. ตลาดท้องถน่ิ หมายถงึ ตลาดท่อี ยู่ในแหล่งผลิตแต่เป็นศูนย์กลางของแหล่งผลิต การคมนาคมสะดวก
3. ตลาดปลายทาง หมายถงึ ตลาดทีส่ ินคา้ สว่ นใหญ่ของประเทศมารวมกัน ณ ทน่ี ้ัน

44

เกษตรกร

ตลาดท้องถนิ่

ตลาดกลางท้องถิน่

ตลาดกลางปลายทาง

ผบู้ ริโภคหรอื สง่ ออก

ต้นทุนการตลาด (Marketing Cost)

หมายถึง ค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่เกิดข้ึนในการประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เก่ียวกับหน้าท่ีทางการตลาด เพ่ือน้าสินค้าจาก

ผู้ผลิตไปยังผู้บริโภค ซ่ึงค่าใช้จ่ายต่างๆ เช่น ค่าแรงงานของคนงาน ค่าขนส่ง ค่าแปรรูป ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา ค่าดอกเบี้ย ค่า

เส่ือมราคา ฯลฯ

ส่วนเหลื่อมการตลาด (Marketing Margin)

คอื ความแตกตา่ งระหว่างราคาตอ่ หนว่ ยของผลิตผลทีเ่ กษตรกรไดร้ บั (ราคาฟารม์ ) กบั ราคาทผี่ ู้บรโิ ภคจา่ ย (ราคาขายปลีก)

ตวั อย่าง สินค้า A มีราคาที่ผู้บริโภคซื้อ 100 บาท ราคาท่ีเกษตรกรได้รับ (ราคาที่ฟาร์ม) 50 บาท และมีค่าใช้จ่ายทาง

การตลาด ดังนี้

ค่าขนส่ง 5 บาท ค่าบรรจุหีบห่อ 5 บาท ค่าจ้างแรงงาน 5 บาท ค่าเก็บรักษา 5 บาท ค่าภาษี 5 บาท

จงหาสว่ นเหลือ่ มการตลาดและก้าไรทพี่ ่อค้าคนกลางไดร้ ับ

สว่ นเหลอ่ื มการตลาด = ราคาทผี่ ้บู ริโภคซือ้ – ราคาท่ีเกษตรกรได้รบั

= 100 – 50

= 50 บาท

ก้าไรทพี่ ่อค้าคนกลางไดร้ บั = ราคาทผ่ี บู้ รโิ ภคซอ้ื – (คา่ ใชจ้ า่ ยทางการตลาด +

ราคาท่เี กษตรกรได้รบั )

= 100 – (5 + 5 + 5 + 5 + 5 + 50)

= 100 – 75

= 25 บาท

45

100 ราคาท่ีผบู้ ริโภคซ้ือ (100)

คา่ ภาษี 5 ค่าใชจ้ ่ายทางการตลาด
ค่าเกบ็ รกั ษา 5 ราคาที่เกษตรกรไดร้ ับ (50)
ค่าจ้างแรงงาน 5
ค่าบรรจุหบี หอ่ 5
คา่ ขนส่ง 5
50

สว่ นผสมทางการตลาด (Marketing Mix) 4P’ s

Product Price

Place Promotion

ผลิตภัณฑ์ (Product)

Product

Decisions

Branding Quality Features
ราคา (Price) Pricing Strategies

Penetration Skimming Competition Product Buddle Psychological
Line

การส่งเสริมการตลาด (Promotion)
Promotional Mix

Advertising Public Sales Personal DirectMail Internet /

Relation Promotion Selling E – commerce

46

ชอ่ งทางการจดั จาหน่าย (Place) Indirect Distribution
Direct Distribution Manufacturer

Manufacturer

Consumer Retailer

Consumer

การศกึ ษาปัญหาการตลาดสนิ ค้าเกษตร
1. การศึกษาถึงหนา้ ท่กี ารตลาด (Functional Approach)
- การแลกเปลย่ี น
- ทางกายภาพ
- การอ้านวยความสะดวก
2. กรณีศึกษาในแงส่ ถาบนั (Institutional Approach)
- พอ่ คา้
- ตวั แทน
- ผูใ้ หบ้ รกิ าร
- พ่อค้าเกง็ ก้าไร
- สถาบนั หรอื องคก์ ร
3. การศึกษาตามลกั ษณะโครงสร้างและพฤติกรรมของตลาด
- ตลาดแข็งขันสมบูรณ์ (Perfectly Competitive Market)
- ตลาดแข่งขันแบบไม่สมบรู ณ์ (Imperfectly Competitive Market)
1) ตลาดผูกขาด (Monopoly Market)
2) ตลาดผขู้ ายน้อยราย (Oligopoly Market)
3) ตลาดก่ึงแข่งขนั กึ่งผกู ขาด (Monopolistic Competition Market)
4. การศึกษาตลาดสนิ ค้าเฉพาะอยา่ ง (Commodity Approach)
- เนน้ เฉพาะสินค้าแตล่ ะชนดิ เชน่ ข้าว ขา้ วโพด ไก่เนอ้ื
- เนน้ เปน็ กลมุ่ สินคา้ เช่น ตลาดพชื ไร่ ผลไม้ ปศุสตั ว์

47

ปัญหาพืนฐานทางการตลาดสินค้าเกษตร
1. คุณสมบตั ิสนิ ค้าเกษตร เน่าเสยี หาย ยากในการควบคุมคุณภาพมาตรฐาน การผลิตสินค้าเกษตรข้ึนกับฤดูกาล ธรรมชาติ ใช้

ระยะเวลาในการปลูก – เกบ็ เกี่ยว ปรมิ าณการผลิตไม่แน่นอน ปัญหาเร่ืองโรคแมลง
2. สงิ่ อ้านวยความสะดวกขนั้ พน้ื ฐานทางการตลาด
3. ลกั ษณะความตอ้ งการสินคา้ เกษตร

แนวทางในการแกไ้ ขปัญหาการตลาดสินคา้ เกษตร
1. ส่ิงอา้ นวยความสะดวกพน้ื ฐาน เช่น ถนน การส่ือสาร การวจิ ยั
2. แหล่งรวบรวมผลผลิต
3. การขยายความต้องการสนิ ค้าเกษตรทงั้ ภายในและต่างประเทศ

ปจั จัยทมี่ ผี ลตอ่ ระบบการตลาดสนิ ค้าเกษตร
1. การเปลยี่ นแปลงด้านการผลิต
2. ลกั ษณะการผลิตและการจา้ หนา่ ยของเกษตรกร
3. รสนิยมและความต้องการของผบู้ ริโภค
4. ทศั นคติและค่านิยมของผู้บรโิ ภค
5. ลักษณะพเิ ศษของตลาดสนิ คา้ บางชนิด
6. การแทรกแซงของรัฐบาล
7. การเปล่ียนแปลงของระบบตลาด

หลกั ธุรกจิ การเกษตร
ธุรกิจการเกษตร(Agribusiness) คือ การด้าเนินงานท้ังหลายในด้านท่ีเกี่ยวกับการผลิต และการจ้าหน่าย ปัจจัยการผลิต

สินค้าเกษตร กิจกรรมการผลิตในฟาร์ม การเก็บรักษา การแปรรูป และการจัดจ้าหน่ายสินค้าเกษตรและผลิตผลพลอยได้จากสินค้า
เกษตรและผลติ ผลพลอยได้จากสินคา้ เกษตร (J. Davis and Ray A. Goldberg. 1957. A Conception of Agribusiness)
ความสาคัญของธรุ กจิ เกษตร

1. เปน็ แหล่งการคา้ ปัจจยั การผลติ การเกษตร
2. เปน็ แหล่งวตั ถดุ ิบ
3. เปน็ แหล่งรายได้ของประเทศ
4. เปน็ แหลง่ แรงงานของประเทศ
5. เป็นมูลค่าทส่ี ้าคัญขององค์ประกอบผลิตภัณฑป์ ระชาชาติ
ความสาคญั ของธุรกิจเกษตรตอ่ ภาคการเกษตร
1. ก่อใหเ้ กดิ การมงี านท้าในการเกษตร
2. ก่อให้เกดิ การถา่ ยทอดเทคโนโลยีที่ทันสมยั ได้
3. กอ่ ให้เกดิ การถา่ ยทอดเทคโนโลยีการเกษตร

48

4. กอ่ ให้เกดิ การท้าการเกษตรแบบมีพันธะสญั ญา (Contract Farming)
5. ท้าใหเ้ กดิ มูลคา่ เพ่ิมในภาคเกษตร
ความสมั พนั ธร์ ะบบธรุ กิจการเกษตร

ผู้จ้าหนา่ ยปจั จัยการผลติ สนิ คา้ เกษตร

คนกลางดา้ นธรุ กิจ ธรุ กิจสาขา 1 ธุรกิจสาขา 2 ธุรกิจสาขา 3

ลกู คา้ Horizontal
Vertical M = Monitoring / E = Evaluation

การจัดการธุรกจิ การเกษตร
POSDCoRB M/E Model

P = Planning
O = Organizing
S = Staffing
D = Directing
Co = Coordinating
R = Reporting
B = Budgeting

องค์ประกอบของธรุ กิจการเกษตร
1. การผลิตและการจ้าหนา่ ยปจั จยั การผลติ สินคา้ เกษตร
2. กจิ กรรมการผลติ ในฟาร์ม
3. การแปรรูปและการเกบ็ รกั ษา
4. การจดั จ้าหน่ายสินค้าเกษตร และผลิตผลพลอยไดจ้ ากสินคา้ เกษตร

49

ระบบธรุ กจิ เกษตร

แบ่งไดเ้ ป็น 4 ระบบยอ่ ย ได้แก่

1. การผลิตและการน้าเข้าปัจจยั การผลิตสินคา้ เกษตร (การผลิต การนา้ เขา้ เมลด็ พันธุ์ ปุย๋ )

2. การผลิตในฟาร์ม หน่วยงานต่างๆ ของภาครัฐ (หน่วยงานวิจัย สถาบันการศึกษา สถาบันการเงิน ธุรกิจที่เกี่ยวข้อง :

การขนส่งคมนาคม หอการคา้ ชมรมต่างๆ)

3. การแปรรูปและการเกบ็ รักษา (อตุ สาหกรรมอาหาร ยุง้ ฉาง โกดงั ไซโล หอ้ งเยน็ )

4. การจดั จา้ หนา่ ยสินคา้ เกษตรและผลิตผลพลอยไดจ้ ากสนิ คา้ เกษตร ตลาดในประเทศ ตลาดตา่ งประเทศ

ความหมายของการจัดการฟาร์ม

การจั ดการฟาร์ ม (Farm Management) หมายถึ ง การจั ดการทรั พยากรของหน่ ว ยธุ รกิ จฟาร์ ม

ท่มี อี ยู่จ้านวนจ้ากดั (ทีด่ ิน แรงงาน ทุน) ในการผลติ พืชและสตั ว์ เพอื่ ให้ได้มาซึ่งวัตถุประสงค์ท่ีฟาร์มต้องการ ภายใต้ความเสี่ยงและความ

ไมแ่ น่นอน

ปัญหาในการดา้ เนินธรุ กจิ ฟาร์มทผี่ ูจ้ ัดการต้องตดั สินใจ คือ

1. การตัดสนิ ใจทางด้านการผลติ จะผลติ อะไร เท่าไร และอย่างไร

2. การตัดสินใจทางด้านการตลาด จะซื้อขายท่ีไหน เมอ่ื ไร ซื้อขายอย่างไร

ลักษณะการผลติ ของเกษตรกร

1. การผลิตเฉพาะอยา่ ง (Specialization)

2. การผลติ หลายอย่าง (Diversification) ต้องมีการจดั ระบบการจดั การฟารม์ (Farming System) แบง่ ออกเปน็

2.1 ระบบการทา้ ฟารม์ ท่มี ขี า้ วเปน็ พชื หลกั (Rice Base Farming System)

2.2 ระบบการท้าฟาร์มที่มพี ชื ไรเ่ ปน็ พชื หลัก (Field Crop Base Farming System)

2.3 ระบบการท้าฟาร์มท่ีมีการปลูกพืชไม้ยืนต้นเป็นพืชหลักและปลูกพืชอ่ืนแซม (Perennial Crop Base Farming

System)

2.4 ระบบการท้าฟาร์มแบบไร่นาสวนผสมและการเกษตรแบบผสมผสาน (Mixed Farming and Integrated

Farming)

- ไรน่ าสวนผสม (Mixed Farming)

- เกษตรผสมผสาน (Integrated Farming)

การผลิตท่ีพัฒนาจากไร่นาสวนผสมคือ การท้าฟาร์มตามแนวทางทฤษฎีใหม่ (New Theory)ของพระบาทสมเด็จพระ

เจา้ อยู่หวั รัชกาลที่ 9 ซง่ึ เปน็ ทฤษฎที ่จี ะชว่ ยเหลอื ใหเ้ กษตรกรสามารถด้ารงชีวิตอยู่ได้อย่างมีความสุขภายใต้ค้าว่าเศรษฐกิจพอเพียง

(Sufficiency Economy) ตามแนวทฤษฎใี หม่ เกษตรกรทมี่ ที ีด่ ินถือครองเฉลย่ี 10 – 15 ไร่ จะตอ้ งจัดแบง่ ในการใช้ท่ีดนิ ตามสัดสว่ น

- 30% ของเน้อื ท่ใี ห้ขุดสระน้าเก็บไวใ้ ชใ้ นฤดูแล้ง

- 30% ของเนื้อท่ใี ชป้ ลกู พืชผักสวนครัว ผลไม้ ไม้ยนื ต้น เพ่อื บรโิ ภคในครัวเรือน รักษาสภาพและเพม่ิ รายได้

- 30% ของเนื้อที่ใช้ท้านา

50

- 10% ของเนอ้ื ทใี่ ชเ้ ปน็ ท่อี ย่อู าศยั และท่ีอ้านวยความสะดวกในการอยู่อาศัย
ความเสี่ยงในการผลิต

ความเสี่ยง (Risk)หมายถึง การทีผ่ ู้ผลติ ทราบถึงความนา่ จะเป็น (Probability) ว่าเหตกุ ารณ์น่าจะเกิดข้นึ อยา่ งไร
การผลิตภายใต้ความเสีย่ งและความไม่แนน่ อน

มผี ลต่อการตดั สินใจตา่ งๆ ในด้านการผลติ ดงั น้ี
1. ทา้ ให้ผู้ผลิตใชป้ จั จัยการผลิตอย่างไม่เหมาะสมและได้ผลผลติ นอ้ ยกวา่ ที่ควร
2. ทา้ ใหก้ ารลงทนุ นอ้ ยกว่าทีค่ วร เนือ่ งจากไมแ่ น่ใจตอ่ ผลผลติ ทจี่ ะได้รบั
3. ทา้ ให้การยอมรบั เทคนคิ ใหมๆ่ เปน็ ไปอย่างล่าชา้
4. ทา้ ใหต้ ้นทุนการผลติ ตอ่ หน่วยสูง
5. ท้าใหโ้ อกาสที่จะล้มละลายมมี ากข้นึ

วิธกี ารหลีกเลี่ยงและลดความเส่ียง
1. การประกนั พชื ผล (Formal Crop Insurance)
2. การดา้ เนนิ กจิ กรรมแบบผสมผสาน (Diversification)
3. การเลือกกิจกรรมท่ีมีความคล่องตวั (Flexibility)
4. การรักษาสภาพคล่องของธรุ กิจ (Liquidity)
5. การเกบ็ ส้ารองปัจจยั การผลิตท่ีสา้ คัญ (Reserved Resources)
6. การตกลงทา้ สญั ญาซื้อขายล่วงหนา้ (Contractual Arrangement)

ทฤษฎีการผลติ

ผจู้ ้าหนา่ ย ลูกค้า

การจดั ซ้ือ ระบบควบคุมการผลติ การตลาด/การขาย

วตั ถดุ ิบ การผลติ สนิ คา้

สตอ๊ กวัตถุดิบ สตอ๊ กสนิ คา้
กฎการลดน้อยถอยลง (Law of Diminishing Return)

51

การผลิตมีการใช้ปัจจัยคงท่ีและปัจจัยผันแปร เม่ือเพิ่มปัจจัยผันแปรเข้าไปร่วมกับปัจจัยคงที่เรื่อยๆ ทีละหน่วยแล้ว ใน

ระยะแรกผลผลิตหน่วยสุดท้ายจะเพ่ิมขึ้นเรื่อยๆ จนถึงระดับท่ีสูงสุดแล้ว จากนั้นถ้ายังเพ่ิมปัจจัยผันแปรเข้าไปอีก จะท้าให้ผลผลิต

เฉลย่ี ลดลงและดึงเอาผลผลิตหนว่ ยสดุ ทา้ ยลดลงตามล้าดับอีกดว้ ย

ปัจจยั คงที่ (Fixed Factors : FF) คือ ปจั จัยท่เี ราใชค้ งท่เี สมอไม่ว่าจะใช้ปจั จยั ผนั แปรมากน้อยแค่ไหน

ปัจจัยผันแปร(Variables Factors : VF) คือ ปัจจัยที่ใช้เป็นปัจจัยคงท่ีแต่ผันแปร เพ่ิมข้ึนในปริมาณท่ีเท่าๆ กัน ของการ

เปล่ยี นแปลง

ผลผลติ ทงั หมด (Total Product : TP) คือ จา้ นวนผลผลิตทั้งหมดท่ีผลิตขน้ึ ไดจ้ ากการใชป้ ัจจัยคงทแี่ ละปัจจัยผันแปร

ผลผลิตเฉล่ยี (AverageProduct : AP) คอื จา้ นวนผลผลติ ทง้ั หมดเฉลี่ยดว้ ยจา้ นวนปัจจัยผนั แปร

การหาผลผลติ เฉลย่ี AP = TP
VP

ผลผลติ เพม่ิ (Marginal Product : MP) คอื จา้ นวนผลผลติ ทีไ่ ด้จากการใช้ปัจจัยผันแปรหน่วยสุดท้าย หรือจ้านวนผลผลิต

ท้ั ง ห ม ด ท่ี เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ไ ป เ มื่ อ มี ก า ร ใ ช้ ปั จ จั ย ผั น แ ป ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ไ ป

1 หนว่ ย

การหาผลผลิตเพ่ิม MP = TP
VF

ที่ดนิ (ไร่) แรงงาน (คน) ผลผลิตทง้ั หมด ผลผลิตเฉล่ยี ผลผลิตเพ่มิ
FF VF TP AP MP
1 0 0 - -
1 1 2 2 2
1 2 5 2.5 3
1 3 9 3 4
1 4 12 3 3
1 5 14 2.8 2
1 6 15 2.5 1
1 7 15 2.1 0
1 8 14 1.8 -1

แสดงเสน้ ผลผลติ ทงั้ หมด (TP), ผลผลติ เฉลี่ย (AP) และผลผลติ เพ่มิ (MP)

ผลผลติ

Stage 1 Stage 2 Stage 3

52

16
14 TP
12
10
8
6
4
2 AP
0 จานวน

1 2 3 4 5 6 7 8 MP แรงงาน
ชว่ งการผลติ

กฎการลดนอ้ ยถอยลง
1. AP จะเพิ่มข้ึนเร่อื ยๆ ตราบใดที่ MP > AP
2. AP จะมีคา่ ลดลงเรื่อยๆ ตราบใดท่ี MP < AP
3. AP มีค่าสงู สดุ เมอื่ AP = MP
4. TP มีคา่ สูงสดุ เมื่อ MP = 0

ชว่ งการผลติ
Stage 1 ผลผลิตทั้งหมดเพ่มิ ในอัตราเพ่ิมขน้ึ เป็นช่วงท่ี TP เพม่ิ ข้นึ อย่างรวดเรว็ MP เพ่มิ ขึ้นและ MP มากกวา่ AP ท้าให้

AP เพมิ่ ข้นึ ชว่ งนสี้ นิ้ สุดเมอ่ื ผลผลิตเฉลีย่ มคี ่าสูงสุด (เสน้ AP และ MP ตดั กนั )
Stage 2 เปน็ ช่วงผลผลติ เริ่มลดลง ทา้ ใหผ้ ลผลิตทั้งหมดของธรุ กิจเพ่ิมในอัตราลดลงโดยผลผลิตท้งั หมดมคี ่าสงู สดุ เม่ือ MP =

0 ช่วงนเี้ สน้ ผลผลติ เฉลยี่ มีคา่ มากกว่าเสน้ ผลผลติ ท้ังหมด และส้ินสดุ เมื่อผลผลิตเพิ่มมีค่า = 0
Stage 3 เสน้ ผลผลิตทัง้ หมดมีคา่ ลดลงจากค่าสูงสดุ เส้นผลผลิตเพม่ิ มคี า่ ตดิ ลบ และเสน้ ผลผลติ เฉลี่ยลดลง แต่ยังมากกวา่ มี

ค่ามากกวา่ 0
ตน้ ทุนการผลิต (Cost of Production)

- ต้นทนุ ระยะสนั้ จะประกอบด้วย ต้นทนุ คงท่ีและตน้ ทุนผันแปร
- ต้นทุนระยะยาว จะประกอบด้วย ตน้ ทุนผันแปรเท่าน้นั
- ต้นทุนคงท่ี ไดแ้ ก่ คา่ เงินเดือนพนกั งาน (จ่ายทกุ เดือน) ค่าดอกเบี้ยเงนิ กู้ คา่ เรยี งพิมพ์ ฯลฯ
- ตน้ ทนุ ผันแปร ได้แก่ ค่าไฟฟ้า ค่านา้ ประปา ภาษีท่ีคิดต่อหนว่ ยของสินค้า ค่าวัสดสุ นิ้ เปลือง ฯลฯ
- ต้นทนุ คงทรี่ วม (Total Fixed Cost : TFC) คอื ค่าใชจ้ ่ายที่เกดิ ข้ึนในชว่ งเร่ิมของการผลิตและไมม่ กี ารเปล่ียนแปลงตาม
ปรมิ าณผลผลติ หรือตน้ ทนุ รวม

53

- ต้นทนุ ผนั แปรรวม (Total Variable Cost : TVC) คอื ค่าใชจ้ ่ายท่เี ปลย่ี นแปลงตามปริมาณการผลติ เชน่ คา่ แรงงาน

ค่าวตั ถดุ บิ คา่ นา้ มันเชือ้ เพลงิ ค่าขนสง่ สนิ ค้า

- ตน้ ทุนรวม (Total Cost : TC) คือ ค่าใช้จา่ ยทั้งหมดทีเ่ กดิ ขึ้นจากการผลติ ประกอบด้วยต้นทุนคงที่และต้นทุนผันแปร

สตู รการหา TC = TFC + TVC

- ต้นทุนคงทเ่ี ฉล่ยี (Average Fixed Cost : AFC) คือต้นทนุ คงทเ่ี ฉลี่ยต่อหนว่ ยของผลผลิต

สตู รการหา AFC = TFC
Q

- ต้นทุนผันแปรเฉล่ีย (Average Variable Cost : AVC) คอื ต้นทุนผนั แปรเฉลีย่ ต่อหนว่ ยของผลผลติ

สูตรการหา AVC = TVC
Q

- ต้นทุนรวมเฉล่ีย (Average Total Cost : ATC) หรือต้นทุนเฉลี่ย (Average Cost : AC) คือ ต้นทุนเฉลี่ยต่อหน่วยของ

ผลผลติ

สูตรการหา AC = TC
Q

- ตน้ ทุนเพิ่ม (Marginal Cost : MC) คือ ตน้ ทนุ ท่ีเปล่ยี นแปลงเนอ่ื งจากผลติ สนิ คา้ เพิ่มขึ้น

1 หน่วย

สตู รการหา MC = TC
Q

ผล ต้นทุน ตน้ ทุน ตน้ ทุน ตน้ ทุนคงท่ี ตน้ ทุน ตน้ ทุน ตน้ ทนุ

ผลติ คงที่ ผนั แปร รวม เฉลย่ี ผันแปรเฉลย่ี รวมเฉลยี่ เพิ่ม

Q TFC TVC TC AFC AVC ATC MC

0 200 0 200 - - --

1 200 220 420 200 200 420 220

2 200 350 550 100 175 275 130

3 200 400 600 66.67 133.33 200 50

4 200 420 620 50 105 155 20

5 200 450 650 40 90 130 30

6 200 600 800 33.33 100 130.33 150

7 200 850 1,050 28.57 121.43 150 250

8 200 1,200 1,400 25 150 175 350

9 200 1,600 1,800 22.22 177.78 200 400

54

10 200 2,050 2,250 20 205 225 450

คา่ เสอื่ มราคา (Depreciation)
คา่ เสื่อมราคาเปน็ เงินทุนภายในทสี่ ้าคัญประเภทหนึง่ สนิ ทรัพย์ถาวรทีม่ ตี วั ตนเทา่ น้ันท่ีจะน้ามาค้านวณค่าเสื่อมราคา เพราะ

ค่าเสื่อมราคาเป็นการหักค่าใช้สินทรัพย์ถาวรในแต่ละปี เน่ืองจากสินทรัพย์ถาวรต้องจ่ายซ้ือเป็นเงินทุนจ้านวนสูง แต่ใช้ได้หลายปี
เม่ือใช้ไปจะมีการเสื่อมสภาพตามอายุการใช้ ได้แก่ อาคาร โรงงาน เครื่องจักร รถยนต์ เป็นต้น ยกเว้นท่ีดิน ที่ไม่คิดค่าเสื่อมราคา
เนอื่ งจากทด่ี ินเป็นสินทรพั ยท์ ไ่ี ม่มีการเสื่อมสภาพและราคาท่ีดนิ มีแนวโน้ม ทจี่ ะเพ่ิมสงู ขน้ึ ตลอดเวลา จึงตอ้ งหักค่าเสื่อมราคาของการ
ใช้เพื่อสะสมไว้ซื้อสินทรัพย์ถาวรช้ินใหม่ ค่าเส่ือมราคาท่ีสะสมไว้น้ี เม่ือยังไม่ได้น้าไปซื้อสินทรัพย์ถาวรชิ้นใหม่ สามารถน้ามาใช้ เป็น
เงินทุนสา้ หรับหมุนเวยี นในกิจการได้

ราคาซาก (Scrap value หรือ Salvage value )หมายถึง มูลค่าท่ีคาดว่าจะขายสินทรัพย์ถาวรน้ันได้เมื่อหมดอายุการใช้
งาน หักดว้ ยค่ารอื้ ถอนและค่าใช้จ่ายในการจ้าหน่ายสินทรัพยน์ น้ั (ถ้าม)ี

มูลค่าเส่ือมราคาทังสิน หมายถึง ราคาต้นทุนเดิมของสินทรัพย์ท่ีมีการเส่ือมสภาพ หรือราคาอื่นท่ีน้ามาใช้แทนซ่ึงปรากฏอยู่ใน
งบการเงิน หักด้วยราคาซากทีไ่ ด้ประมาณไว้

มลู ค่าเส่อื มราคาท้ังสน้ิ = ราคาทุนของสินทรัพย์ – ราคาซาก
อายกุ ารใช้งาน (Useful life)หมายถึง ระยะเวลาทก่ี จิ การคาดวา่ จะใช้ประโยชน์จากสนิ ทรัพยถ์ าวรนั้น ๆ
วิธคี ดิ ค่าเสื่อมราคา
การคิดค่าเสอ่ื มราคาสินทรัพย์ถาวรมไี ดห้ ลายวิธท่ีใชก้ ัน ค่าเสอ่ื มราคาทไ่ี ด้ในแตล่ ะวิธกี จ็ ะท้าใหม้ เี งินทุนภายในสะสมเพิ่มข้นึ
เปน็ จ้านวนแตกตา่ งกัน แตเ่ ม่ือกจิ การไดเ้ ลือกวธิ กี ารค้านวณค่าเสอ่ื มราคาวิธีใดแลว้ ก็จ้าเปน็ ตอ้ งใชว้ ิธนี ้ันอยา่ งสม่้าเสมอทุกงวดบัญชี
จะเปล่ียนแปลงวธิ กี ารค้านวณคา่ เสือ่ มราคาได้กต็ ่อเมอื่ ได้รับอนมุ ัตจิ าก อธบิ ดกี รมสรรพากร ตวั อยา่ งเช่น บริษทั รบั เหมาก่อสรา้ ง
แหง่ หน่ึงซื้อเครอ่ื งจักรมาใหม่มลู คา่ 25,800 บาท โดยคาดว่ามีอายกุ ารใช้งาน 5 ปี และมีมูลคา่ ซากในปลายปีท่ี 5 มลู ค่า 800 บาท
ธรุ กิจจงึ ไดก้ ระจายมลู ค่าการใช้งานของเคร่ืองจักร โดยคดิ ค่าเสอ่ื มราคาแตล่ ะปี ซึ่งวิธคี ดิ ค่าเส่ือมราคาสามารถคิดได้หลายวิธี คือ
1. Straight – Line Method เป็นวิธีคิดค่าเสื่อมราคาโดยเฉลี่ยมูลค่าเส่ือมราคาของสินทรัพย์
ให้เปน็ ค่าเส่ือมราคาในแตล่ ะปีเท่าๆ กัน ตลอดอายกุ ารใช้งานของสนิ ทรพั ยถ์ าวรน้ันๆ สูตรในการค้านวณคา่ เสอ่ื มราคา มดี ังนี้

ค่าเสอ่ื มราคาตอ่ ปี = (ราคาทุนของสนิ ทรัพย์ – ราคาซาก) / อายุการใช้งาน
มูลคา่ เครือ่ ง จักร 25,800 บาท
มูลค่า ซาก 800 บาท
มูลคา่ เครอ่ื งจกั รหลงั หกั มลู ค่าซาก 25,000 บาท
อายกุ ารใช้ งาน 5 ปี
ฉะนน้ั ค่าเสื่อมราคาตอ่ ปี คือ 25,000 / 5 = 5,000 บาท

55

2. Double – Declining Balance Method(DDB) เป็นวิธคี ิดค่าเสื่อมราคาอีกวิธีหนึ่ง โดยคิดในปีแรกๆ สูงกว่าปีหลังๆ
วธิ นี เี้ ป็นวธิ คี ดิ ค่าเสอื่ มราคาแบบอัตราเร่ง นั่นคือ คิดเป็น 2 เท่าของวิธี Straight – Line และค่าเส่ือมราคาแต่ละปีก็จะน้าจ้านวน 2
เท่าของวิธี Straight – Line นไ้ี ปคณู กบั มลู ค่าเคร่ืองจักรที่หกั คา่ เส่อื มราคา แตล่ ะปีออกแล้ว ดงั น้ัน จากในตวั อย่างเดมิ

- วิธี Straight – Line หักคา่ เส่ือมปลี ะ 1/5 ( 6,800/34,000 ) ของมูลคา่ เครอื่ งจักร
หลังหกั มูลคา่ ซาก

- วิธี Double – Declining Balance (DDB) จึงหักคา่ เสือ่ มปีละ ( 1/5 ) x 2 = 2/5 เทา่ ของเคร่ืองจักรหลังหักมูลค่า
ซาก และหกั คา่ เส่อื มแตล่ ะปอี อกแลว้ ดงั นี้

ปีท่ี 1 คา่ เส่ือมราคาจงึ เป็น 2/5 ( 25,000 ) = 2,000 บาท
ปีท่ี 2 ค่าเสื่อมราคาจงึ เป็น 2/5 ( 23,000 ) = 9,200 บาท
ปที ่ี 3 คา่ เส่อื มราคาจึงเปน็ 2/5 ( 13,800 ) = 5,520 บาท
และเนือ่ งจากปีที่ 3 ค่าเสอื่ มราคาต้า่ กว่าการคิดแบบ Straight – Line ปีที่ 4 และ 5 จึงน้ามูลค่าเครื่องจักรท่ีเหลือหาร
2 จงึ เป็นปีละ 3,312/2 = 1,656 บาท
3. Units – of – Production Method เป็นวิธีคิดค่าเสื่อมราคาตามความเป็นจริง ถ้าเคร่ืองจักรผลิต 1,000 ก็คือค่าเสื่อม
ราคา 1,000 ถ้าปีต่อมาผลิต 2,000 ก็แสดงว่าใช้เครื่องจักรมากข้ึน ก็ต้องคิดค่าเสื่อมราคามากข้ึน เป็นวิธีคิดค่าเส่ือมราคาตาม
จ้านวนหนว่ ยท่ีผลติ ได้ (หน่วยของสินคา้ ท่ีผลิตโดยใชเ้ ครอื่ งจกั รนั้น) ในแต่ละงวด ดังน้ัน จึงต้องค้านวณว่าเครื่องจักรนี้ ตลอดอายุจะ
สามารถผลิตผลผลิตได้รวมทั้งหมดก่ีหน่วย และแต่ละหน่วยของผลผลิตจะท้าให้เคร่ืองจักรเส่ือมราคาเท่าใด จากนั้น จะสามารถหา
ไดว้ า่ แต่ละงวดการผลิต จะเกดิ ค่าเส่อื มราคาของเคร่ืองจักรนเ้ี ท่าใด
จากตวั อยา่ งเดมิ สมมติ เคร่ืองจักรน้ีผลิตสินค้าทัง้ หมดได้ 5,000 หน่วย ฉะน้ัน
ค่าเส่อื มราคาตอ่ หน่วยผลผลติ = ( 25,800 – 800 ) / 5,000= 5 บาท
ถ้าปีแรกผลิตสนิ คา้ ได้ 1,000 หน่วย
แสดงว่าคา่ เส่อื มราคาเคร่อื งจักรปีแรก = 5 x 1,000 = 5,000
และปีต่อๆ ไปก็ค้านวณเชน่ เดยี วกันนี้
4. Sum of Years’ Digits Method เป็นวิธีคิดค่าเส่ือมราคาแบบอัตราเร่งเช่นกัน คือ ค่าเสื่อมราคาในปีแรกๆ จะมากและ
คอ่ ยๆ ลดลงในปีหลังๆ อัตราน้ีนา้ มาค้านวณค่าเสอ่ื ม คอื สัดสว่ นของจ้านวนปที เ่ี หลือของอายุการใชง้ านของเครื่องจักร ต่อ จ้านวนปี
ของอายกุ ารใชง้ านทีเ่ หลือรวมกัน นนั่ คอื
ปีท่ี 1 อายุการใช้งานทเ่ี หลอื ของเคร่ืองจกั ร คือ 5 ปี
ปีที่ 2 อายุการใชง้ านท่เี หลือของเคร่อื งจักร คือ 4 ปี
ปีท่ี 3 อายุการใชง้ านทเ่ี หลอื ของเครื่องจักร คือ 3 ปี
ปีท่ี 4 อายกุ ารใชง้ านท่เี หลือของเครื่องจักร คือ 2 ปี
ปีที่ 5 อายกุ ารใชง้ านที่เหลือของเครอื่ งจักร คือ 1 ปี
ฉะนนั้ จา้ นวนปีของอายกุ ารใช้งานท่ีเหลอื รวมกัน คือ 5+4+3+2+1 = 15 ดังนัน้

56

คา่ เสอื่ มราคาปีท่ี 1 = 5/15 (25,000) = 8,333 บาท
คา่ เส่ือมราคาปีที่ 2 = 4/15 (25,000) = 6,667 บาท
คา่ เสื่อมราคาปีที่ 3 = 3/15 (25,000) = 5,000 บาท
ค่าเสอ่ื มราคาปที ี่ 4 = 2/15 (25,000) = 3,333 บาท
ค่าเสือ่ มราคาปที ี่ 5 = 1/15 (25,000) = 1,667 บาท
จากวธิ ีการคดิ ค่าเสอ่ื มราคาวธิ ตี า่ งๆ ทงั้ 4 วิธีที่กล่าวมาข้างต้นนี้ ในแต่ละธุรกิจไม่จ้าเป็นว่าต้องคิดค่าเส่ือมราคาด้วยวิธีการ
แบบเดียวกันหมด ท้ังน้ี แล้วแต่แนวคิดของธุรกิจน้ันๆ ว่าเป็นแนวคิดไหน และผู้จัดการจะรู้ว่าเงินทุนภายในมาจากค่าเสื่อมราคา
เท่าไร


Click to View FlipBook Version