The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

67.pdfชีวิตและครอบครัว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kaew kaew, 2021-03-19 01:57:18

67.pdfชีวิตและครอบครัว

67.pdfชีวิตและครอบครัว

45

มีครอบครัวที่อบอุ่นได้น้ัน ครอบครัวจะต้องสร้างความสมดุลระหว่างความเป็นอิสระและความผูกพันกับ
ครอบครัว ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
ผนู้ าํ ในครอบครวั : บทบาทผู้สรา้ งความอบอุ่นในครอบครัว

ทุกครอบครัวต่างก็มีผู้นําในการตัดสินใจและแก้ไขปัญหาต่างๆ แต่ความเป็นผู้นําไม่ควรถูกจํากัดให้อยู่
กับ คนใดคนหนึ่ง เช่น พ่อแม่ไม่ควรเป็นผู้นําคนเดียว หรือ แม่ไม่ควรเป็นผู้นําคนเดียว เพราะหากครอบครัว
ต้องตกอยู่ในภาวะความตึงเครียด ผู้เป็นพ่อและแม่ต้องมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ และร่วมกันเป็นผู้นําในการ
แกไ้ ขปัญหาร่วมกนั จากการศกึ ษาครอบครวั ของวัยรนุ่ ในประเทศแคนาดา พบว่า วยั รุน่ ในครอบครัวที่พ่อเป็น
ผู้นําในแบบประชาธิปไตย จะมีความม่ันคงทางอารมณ์มากกว่าวัยรุ่นท่ีมาจากครอบครัวที่พ่อหรือแม่มีอํานาจ
เพียงคนเดียว

ดังน้ัน หากต้องการมีครอบครัวท่ีอบอุ่น สมาชิกแต่ละคนในครอบครัวจะต้องมีบทบาทความเป็นผู้นํา
ในวาระท่ีแตกต่างกันออกไป เช่น แม่จะเป็นผู้นําและเป็น ผู้ตัดสินใจเก่ียวกับการดูแลครอบครัวและการดําเนิน
ชีวิตประจําวัน เชน่ เร่ืองอาหารการกินในบ้าน ส่วนพ่อจะเป็นผู้นําในเรื่องท่ีสําคัญ เช่น เร่ืองภายนอกบ้าน และ
สมาชิก ในบ้านควรมีสว่ นในการสนบั สนุนความคดิ ของผนู้ าํ ในครอบครวั

เม่อื ใดก็ตามทเี่ กดิ ปัญหาความขดั แยง้ ในครอบครัว คนในครอบครวั จะต้องช่วยกันแก้ไขความขัดแย้งให้
กลบั คนื สสู่ ภาพปกตโิ ดยเร็วท่สี ดุ โดยสามารถแกไ้ ขความขดั แย้ง ได้ 3 วิธคี อื

1. การร่วมมือกัน โดยคนในครอบครัวต้องหันหน้าเข้าหากัน และพูดคุยถึงปัญหาอย่างตรงไปตรงมา
เพอ่ื หาขอ้ ยุตทิ เ่ี หมาะสม

2. การยอมเพื่อหลีกเลี่ยงปัญหา โดยท่ีอีกฝ่ายหน่ึงยอมลงให้อีกฝ่ายหน่ึง เพื่อเป็นการยุติความขัดแย้ง
หรอื เพื่อไมใ่ ห้ปญั หาลุกลามออกไป

3. การพยายามเอาชนะ เป็นการช่วงชิงอํานาจว่าใครจะเป็นใหญ่ ใครจะแพ้ ใครจะชนะ ซึ่งไม่ทําให้
ปัญหายุติได้ แต่จะทําให้สถานการณ์รุนแรงยิ่งข้ึน เพราะการแก้ไขปัญหาด้วยการเอาชนะกันนั้นไม่ใช่วิธีการที่
ไดผ้ ล ยิ่งถา้ มีการดึงบุคคลท่ี 3 เข้ามาก็จะทาํ ให้เกดิ ปัญหาอ่ืน ๆ ตามมาเปน็ ลกู โซ่

เมื่อมีความขัดแย้งเกิดขึ้นในครอบครัว เรามักจะดึงเอาบุคคลท่ี 3 เข้ามาเกี่ยวข้อง ทําให้ความขัดแย้ง
โยงใยในรูปแบบต่างๆ ดงั นี้

1. การทําใหเ้ ปน็ แพะรับบาป เป็นความขัดแยง้ ท่เี กดิ จากบุคคล ๒ คน แตไ่ มไ่ ด้แก้ไขปญั หาอย่าง
ตรงไปตรงมา กลบั เปน็ การโยนบาปใหบ้ ุคคลท่ี ๓ แทน เช่น พอ่ กับแม่ ทะเลาะกัน แตโ่ ยนความผิดใหล้ ูก ทําให้
ดูเหมือนพอ่ แม่ไม่มปี ญั หากนั แต่แทท้ ี่จรงิ ปัญหาความขดั แยง้ ยังคงอยู่

2. การเขา้ พวกกนั แบบข้ามรุน่ เปน็ วิธที พี่ อ่ หรือแม่ดึงลกู เข้ามาเป็นพวก เพ่ือทีจ่ ะตอ่ ตา้ นอกี ฝา่ ยหนึง่
โดยจะเลี้ยงลูกแบบตามใจ เพอื่ ใหล้ กู มาเป็นพวกของตน ทําใหม้ ีการสลบั บทบาทหนา้ ท่ีกนั โดยแทนทพ่ี ่อแมจ่ ะ
มาดแู ลลูก กลบั เปน็ ลกู ทําหน้าท่ีดแู ลพ่อแมเ่ สียเอง

3. การร่วมมอื กันเพื่อเอาใจใส่ลูก เป็นวิธีทีพ่ อ่ และแมต่ ่างก็ร่วมมอื ให้ความสนใจ เพอ่ื แกไ้ ขปญั หาของ
ลกู ทํา ให้ลมื ปญั หาระหวา่ งกันไปชวั่ ขณะ โดยจะมองวา่ ลูกเปน็ คนอ่อนแอ หรอื เป็นเด็กไม่ดีท่ตี อ้ งการการดูแล
อย่างใกลช้ ดิ

4. การแขง่ ขันระหว่างพ่อและแม่ โดยพ่อแมต่ ่างก็ดึงลกู เขา้ มาเป็นพวกของตน ทาํ ให้ลกู เกดิ ความ
สบั สนวา่ จะเปน็ พวกของพ่อดี หรอื พวกของแมด่ ี ไม่รวู้ า่ จะจงรักภักดกี บั ใครดี

ครอบครวั ทพี่ อ่ แม่แกไ้ ขความขัดแยง้ ในลกั ษณะ ดงั กลา่ ว จะทําใหเ้ กดิ ผลเสียดงั น้ี

46

1. การดึงเอาบุคคลที่ 3 เข้ามาเก่ียวข้อง อาจทําให้ความรู้สึกของพ่อแม่ดีขึ้นบ้าง เพราะไม่ต้องแก้ไข
ปญั หา เอง แต่กไ็ ม่ได้เป็นการแกไ้ ขความขัดแย้งทีถ่ กู ตอ้ งและเหมาะสม

2. พอ่ แม่จะเอาตัวเองเป็นศูนย์กลาง จะทําให้พ่อแม่ มีนิสัยเอาแต่ใจตนเอง เพราะได้รับการดูแลเอาใจ
ใสจ่ ากลกู มากเกินไป

3. พัฒนาการของเด็กไม่ได้รับการตอบสนอง เพราะแทนที่พ่อแม่จะเป็นคนดูแลเอาใจใส่ลูก กลับเป็น
ฝ่ายลูกต้องมาดูแลเอาใจใส่พ่อแม่แทน เด็กท่ีถูกดึงเข้าไปโยงใยกับปัญหาจะทําให้ไม่สามารถพัฒนาตัวเองได้ดี
พอ และไม่สามารถแยกตวั เองออกจากครอบครัวได้เมอ่ื ถงึ เวลา

4. สูญเสียความสัมพันธ์ระหว่างเด็กกับพ่อหรือแม่ เช่น แม่ท่ีเข้าพวกกับลูกสาวและกีดกันพ่อ จะทําให้
ลูกสาวห่างเหินพ่อ และทําให้มีผลต่อพัฒนาการทางอารมณ์ของเด็ก หนทางที่ถูกต้องในการแก้ไขปัญหาความ
ขัดแย้งในครอบครัวคือ การสื่อสาร เพราะการส่ือสารทําให้ครอบครัวมีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เช่น การ
เข้าใจความรู้สึกของอีกฝ่าย การฟังผู้อื่น การพูดจาประคับประคองอีกฝ่ายหนึ่ง เพ่ือให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีใน
ครอบครัว ในทางกลับกนั การพูดจาตาํ หนิติเตยี น หรือทําให้เกดิ ความรสู้ กึ ในเชงิ ลบ จะยงิ่ ทาํ ใหอ้ กี ฝ่ายหนึ่งรู้สึก
โกรธ เสียใจ ตึงเครียด ขัดแย้ง และนํามาซ่ึงความรุนแรงในครอบครัวทั้งในด้านท่าที วาจา และการกระทําท่ี
รุนแรงกบั บคุ คลอนื่ ในทสี่ ุด

47

แบบทดสอบหลงั เรยี น
เร่อื งชวี ติ และครอบครัว

จงตอบคาํ ถามข้อตอ่ ไปนี้ให้ถกู ตอ้ ง

1. การกระทาํ ขอ้ ใดทําให้เกดิ ปัญหาครอบครัว

ก. ลกุ ชว่ ยทํางานบา้ น

ข. ลูกไมเ่ ชอื่ ฟงั พ่อแม่

ค. พี่สอนการบ้านน้อง

ง. นอ้ งช่วยพกี่ วาดบ้าน

2. ครอบครัวทีไ่ ม่อบอุ่นมีลกั ษณะอย่างไร

ก. พอ่ แม่ทาํ งานนอกบ้าน

ข. ครอบครวั มญี าตมิ าอยู่ดว้ ย

ค. สมาชิกเก่ยี งกนั ทํางานบ้าน

ง. พอ่ แมม่ ีลกู คนใหม่

3. ถา้ พ่อแม่บังคับลกู มากเกนิ ไป จนลกู ไม่อยากทําตาม จะเกิดผลอยา่ งไร

ก. ทําใหล้ กู เรยี นดี

ข. ทาํ ใหล้ กู ไมม่ ีเพอื่ น

ค. ทําใหล้ กู เขา้ กบั พ่นี ้องไมไ่ ด้

ง. ทาํ ให้ลกู มนี สิ ยั กา้ วรา้ ว

4. ใครควรเป็นผูแ้ กไ้ ขปญั หาครอบครัวไดด้ ีที่สุด

ก. พอ่ แม่ ข.ลูก

ค. ญาตผิ ู้ใหญ่ ง.สมาชิกทุกคน

5. ข้อใดเปน็ ผลจากการทค่ี รอบครวั ไมม่ ปี ญั หา

ก. ครอบครวั มฐี านะรํ่ารวย

ข. สมาชิกมีสขุ ภาพจติ ดี

ค. ลูกทกุ คนมรี า่ งกายแข็งแรง

ง. พ่อแมม่ ีตาํ แหน่งใหญ่โต

6. การปฏิบตั ติ ามขนบธรรมเนยี มประเพณไี ทยมผี ลดตี อ่ ใครมากทีส่ ุด

ก. ตนเอง ข.พอ่ แม่

ค. เพอ่ื น ง.ครู่ กั

7. เพราะเหตใุ ดเราจงึ ควรหลีกเลี่ยงสื่อทางเพศ

ก. อาจทาํ ให้เกดิ ความต้องการทางเพศ ค. ทําให้เพ่อื น ๆ ดถู กู

ข. อาจทําใหเ้ สยี คา่ ใช้จ่ายมาก ง. ทาํ ใหเ้ ป็นคนล้าสมัย

48

8. ผชู้ ายลักษณะใดท่ีผ้หู ญิงไมค่ วรเขา้ ใกล้
ก. ชอบช่วยเหลอื ผู้อื่น
ข. พูดจาสภุ าพ
ค. มีกิรยิ าท่เี รยี บร้อย
ง. ชอบถกู เนอ้ื ต้องตัวหญงิ

9. เพราะเหตุใด หลงั อาบน้ําจึงควรเช็ดอวัยวะเพศใหแ้ ห้ง
ก. เพือ่ ปอ้ งกนั การอบั ชน้ื
ข. เพือ่ ป้องกันโรคเอดส์
ค. เพอ่ื ไม่ให้เสอ้ื ผา้ สกปรก
ง. เพ่อื ไม่ให้อวัยวะเพศมีกล่นิ เหม็น

10. ขอ้ ใดเป็นวิธีป้องกันการมเี พศสัมพนั ธใ์ นวัยเรยี น
ก. ไมเ่ รียนห้องเดียวกับเพศตรงขา้ ม
ข. ไมก่ ินขา้ วโตะ๊ เดยี วกับเพศตรงข้าม
ค. ไมอ่ ยู่ตามลาํ พังกับเพศตรงขา้ ม
ง. ไมเ่ ลน่ กีฬากับเพศตรงข้าม

เฉลยแบบทดสอบ กอ่ น-หลังเรยี น

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
ขคงกขกกงกค

49

ใบงานท่ี 2 เรือ่ งชวี ิตและครอบครัว

จงตอบคําถามตอ่ ไปน้ใี ห้ถูกตอ้ ง
1. บทบาทหน้าทขี่ องตนเองทม่ี ีตอ่ ชมุ ชนและสงั คมมีอะไรบ้าง

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. นกั เรยี นมกี ารเสริมสรา้ งสมั พนั ธภาพในชวี ิตครอบครัวของนกั เรียนอยา่ งไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. ถ้านกั เรยี นมีครอบครวั จะมกี ารวางแผนชวี ิตครอบครัวอยา่ งไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

50

แผนการเรยี นรูป้ ระจาํ บท

บทท่ี 3 เพศศึกษา

สาระสาํ คญั
รู้ เข้าใจ เร่ืองเพศศึกษา มีคุณธรรม จริยธรรม เจตคติท่ีดี มีทักษะในการดูแลและสร้างเสริมการมี

พฤติกรรมสุขภาพที่ดีปฏิบัติจนเป็นกิจนิสัย วางแผนพัฒนาสุขภาพ ดํารงสุขภาพของตนเองและครอบครัว
ตลอดจนสนบั สนุนใหช้ ุมชนมสี ว่ นรว่ มในการสง่ เสรมิ ด้านสุขภาพพลานามยั ที่ดี

ผลการเรยี นรทู้ ค่ี าดหวงั
1. มคี ่านิยมที่ดใี นเรอ่ื งเพศและเข้าใจในธรรมชาตขิ องการเกิดอารมณ์ทางเพศ
2. อธบิ ายวัฒนธรรมทีม่ ผี ลต่อพฤตกิ รรมทางเพศและสามารถจัดการไดถ้ กู ตอ้ งเหมาะสม
3. หลกี เลีย่ งและป้องกนั ตนเองจากความเส่ยี ง ตอ่ การตดิ โรคทางเพศสมั พนั ธ์

ขอบขา่ ยเนอื้ หา
เรอ่ื งท่ี 1 พฤตกิ รรมเบี่ยงเบนทางเพศ
เรือ่ งท่ี 2 อิทธิพลของสงั คมและวฒั นธรรมต่อพฤตกิ รรมทางเพศ
เรื่องท่ี 3 โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 1. เอดส์ 2. กามโรค

กจิ กรรมการเรียนรู้
1. ทาํ แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน
2. ศกึ ษาเอกสารประกอบการเรยี นรู้
3. ปฏิบตั ิกจิ กรรมตามที่ได้รับมอบหมาย
4. ทาํ ใบงาน/แบบทดสอบหลงั เรียน

สอ่ื ประกอบการเรยี นรู้
1. เอกสารประกอบการเรยี นรู้
2. ใบงาน/ใบความรู้
3. สอื่ วีดีทศั น/์ วซี ดี ี
4. รปู ภาพโปสเตอร์

ประเมนิ ผล
1. จากการสงั เกตพฤติกรรมการมีสว่ นรว่ มของนกั ศกึ ษา
2. ใบงาน/ชิ้นงานทีม่ อบหมาย
3. แบบทดสอบกอ่ น-หลังเรียน

51

แบบทดสอบก่อนเรยี น
เรอื่ ง เพศศึกษา

จงเลอื กขอ้ คําตอบทีถ่ ูกตอ้ งทสี่ ดุ
1. นักเรยี นคดิ ว่าข้อใดใหค้ วามหมายของเพศศกึ ษาชดั เจนทีส่ ุด

ก. การสอนหรอื การให้การศกึ ษาเก่ียวกบั เรื่องเพศ
ข. การศึกษาเกย่ี วกับพฤติกรรมตา่ งๆของมนษุ ย์ในเรอ่ื งระบบการสบื พันธุ์
ค. การศกึ ษาเก่ียวกับการสบื พันธุ์ และความเข้าใจในพฤตกิ รรมระหวา่ งเพศ

2. นกั เรียนคิดว่าเพศศาสตร์คอื อะไร
ก. การสอนเก่ยี วกบั ลกั ษณะทางร่างกาย จิตใจ และอารมณข์ องมนษุ ย์
ข. ศาสตร์ท่ีวา่ ดว้ ยเร่อื งการควบคุมพฤตกิ รรมทางเพศ และความสัมพันธร์ ะหวา่ งสองเพศ
ค. ศาสตร์หรอื วิทยาการทเี่ กี่ยวข้องกบั พฤติกรรมทางเพศของมนุษย์

3. นกั เรยี นคิดวา่ ส่วนหนึ่งของความรัก คือ ความเข้าใจ (Understanding) มคี วามหมายว่าอย่างไร
ก. ความเห็นใจและการเอาใจเขามาใส่ใจเรา
ข. การเตรียมพร้อมที่จะใหค้ วามช่วยเหลอื ต่อคนรักของตนตลอดเวลา
ค. ความเต็มใจที่จะทุม่ เทกําลงั กายกําลงั ใจ เพื่อคนรักของตนตลอดเวลา

4. ในประเภทการคุมกาํ เนิดชนดิ ชว่ั คราว ข้อใดไม่เขา้ พวก
ก. ยาคมุ ชนดิ เม็ดรวม
ข. ยาฉีดคุมกาํ เนดิ
ค. ห่วงอนามยั คุมกาํ เนดิ

5. ขอ้ ใดกล่าวไม่ถูกตอ้ งเกี่ยวกบั ลักษณะนิสยั ของวัยรุ่น
ก. วยั รุ่นตอนต้นยังมลี ักษณะของเด็กอยู่ คอื เอาแตใ่ จตนเอง ยดึ ความคดิ ของตนเองเป็นศนู ย์กลาง
ข. วัยรุ่นท่ีเป็นเพอ่ื นรกั กนั ในเรอ่ื งเงนิ ทองยอ่ มช่วยเหลือกนั อยา่ งเตม็ ใจ แต่ความลับจะไมเ่ ปิดเผยให้

กัน เพ่อื ความสบายใจของทงั้ สองฝา่ ย
ค.วัยรนุ่ ทคี่ บเพ่อื นอายุมากกวา่ เพราะเหน็ ว่าจะได้ประสบการณแ์ ละประโยชนห์ ลายอย่าง

6. หลาย ๆ คนไดใ้ หค้ วามเหน็ เก่ียวกับเพ่ือนว่า "เพ่อื นนนั้ สาํ คัญไฉน" นกั เรียนคิดวา่ ขอ้ ใดไม่ใชค่ วามคดิ เห็น
ก. ถ้าเราไม่อยากใหเ้ พ่อื นไม่สบายใจ เราก็ไม่ควรบอกเก่ียวกับเร่ืองทเี่ รากล้มุ ใจหรือเสยี ใจอะไร
ข. เพือ่ นน้ันร่วมทกุ ขร์ ่วมสุขกบั เราได้ทกุ เมอ่ื
ค. เราสามารถบอกความในใจ ความผิด สงิ่ ทน่ี า่ อับอายใหเ้ พ่ือนฟังได้อยา่ งกลา้ หาญ

7. AIDS ยอ่ มาจากอะไร
ก. Acquired Immuno Deficiency Syndrome
ข. Acquired Immuno Disease Syndrome
ค. Acquired Immuno Diseases Syndrome

52

8. ข้อใดไมใ่ ชส่ าเหตุของการติดเชอื้ โรคเอดส์
ก. ทางเพศสัมพันธก์ บั บุคคลท่เี ป็นโรคเอดส์
ข. ทางแม่สลู่ ูกขณะตัง้ ครรภ์
ค. พูดคุยกบั ผทู้ ่ีเปน็ โรคเอดส์

9. วธิ กี ารคมุ กาํ เนดิ ชนิดชว่ั คราวประเภทใด ที่ใชแ้ ล้วสามารถลดการเกดิ สิวได้
ก. ยาคุมกาํ เนิดชนดิ เม็ดรวมประเภทฮอร์โมนตา่ํ
ข. ยาคุมกาํ เนดิ ชนดิ เมด็ รวมประเภทฮอรโ์ มนปานกลาง
ค. ยาฉดี คมุ กําเนดิ ชนดิ เจือจาง

10. การรับประทานยาคุมกาํ เนิดหลังรว่ มเพศไมค่ วรเกิน 4 เม็ดต่อเดือน เพราะเหตุใด
ก. เพราะทาํ ใหอ้ ้วนและเกดิ สวิ ฝา้ ได้
ข. เพราะอาจทําให้ประจําเดือนออกผดิ ปกตไิ ด้
ค. เพราะอาจทาํ ให้โพรงมดลูกเกดิ การอกั เสบได้

53

ตอนท่ี 1 พฤตกิ รรมเบ่ียงเบนทางเพศ

พฤติกรรมเบ่ยี งเบนทางเพศ
การเจริญเติบโตและพัฒนาการทางเพศ จะพัฒนาไปพร้อมๆ กับพัฒนาการด้านร่างกายและจิตใจของ

มนุษย์ ต้ังแต่วัยทารกจนถึงวัยชรา การมีความเหมาะสมกับเพศและวัยที่เป็นไปตามปกติของธรรมชาติและ
สอดคล้องกับธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมและขอบเขตท่ีสังคมยอมรับ เราถือว่ามีความปกติทางเพศซ่ึงคน
ส่วนใหญ่มีพฤติกรรมทางเพศเป็นปกติ แต่ยังมีคนอีกจํานวนไม่น้อยที่มีพฤติกรรมเบี่ยงเบนทางเพศหรือความ
ผิดปกติทางเพศ (Sex Deviation) และมักจะเป็นกบั ผู้ชายมากกว่าผู้หญิง ความผิดปกติทางเพศบางประเภทไม่
เกิดผลเสียหายต่อสังคม แต่บางประเภทก็เป็นสาเหตุให้สังคมเดือดร้อน ความผิดปกติทางเพศมีหลายชนิด บาง
ประเภทขัดต่อศีลธรรม จรรยาบรรณของสังคม เช่น การมีเพศสัมพันธ์ระหว่างพ่อกับลูกสาว แม่กับลูก
ชาย พ่ีชายกับน้องสาว บางประเภทมีความรุนแรงถึงข้ันอาชญากรรมทางเพศ เช่น ปลุกปล้ําข่มขืนกระทํา
ชาํ เรา ซึง่ ปัญหาเหล่านี้กอ่ ให้เกดิ ปญั หาทางสงั คม

ความหมายของความผิดปกติทางเพศ
ความผิดปกติทางเพศ (Sex Deviation) เป็นเร่ืองของบุคลิกภาพท่ีเกี่ยวกับเร่ืองเพศบิดเบือนไป มีผล

ทําให้บุคคลน้ันมีความรู้สึกทางเพศ ทัศนคติ ค่านิยม ตลอดจนพฤติกรรมทางเพศท่ีแสดงออกเป็นไปอย่างไม่
เหมาะสม ผดิ แผกไปจากสามญั ชนในสงั คมนัน้ ๆ จะพึงกระทาํ ซึ่งสว่ นใหญม่ าจากสภาพจิตใจท่ีผิดปกติ ทําให้ไม่
สามารถควบคมุ ตนเองได้ แตม่ ไิ ด้หมายถึงว่าคนท่มี ีความผดิ ปกตทิ างเพศจะเปน็ คนปว่ ยดว้ ยโรคจติ หรือวิกลจรติ

กลมุ่ ของความผิดปกติทางเพศ
ความผิดปกตทิ างเพศหรอื พฤตกิ รรมเบี่ยงเบนทางเพศ สามารถแบ่งไดเ้ ป็น 4 กลุ่มใหญ่ คอื
1. กลุม่ ท่มี ีพฤติกรรมทางเพศไมส่ อดคลอ้ งกบั เพศของตน
1. กลุม่ ท่ีมีพฤติกรรมทางเพศไม่สอดคลอ้ งกบั เพศของตน
1.1 รกั ร่วมเพศ (Homosexuality)
เป็นพฤติกรรมของผู้ที่ชอบมีความสัมพันธ์ทางเพศหรือมีกิจกรรมทาง เพศ ร่วมกับเพศ

เดียวกัน เช่น ระหว่างชายกับชาย เรียกว่า เกย์ (Gay) ระหว่างหญิงกับหญิงด้วยกันเรียกว่า เลสเบียน
(Lesbian) แต่บางรายอาจมีความสามารถมีความสัมพันธ์ทางเพศท้ังเพศเดียวกันและต่างเพศก็ได้ เรา
เรยี กว่าพวกไบเซ็กซ์ช่วล (Bisexual) รกั ร่วมเพศอาจแบง่ ได้เปน็ 3 ประเภท ดงั น้ี

 พวกที่มีร่างกายและจิตใจตรงกันข้ามกับเพศของตนเอง คือเพศของตัวเป็นชาย แต่ลักษณะทาง
ร่างกายและจิตใจเปน็ หญงิ หรือเพศของตวั เปน็ หญิงแตล่ ักษณะทางร่างกายและจติ ใจเปน็ ชาย

 พวกที่มีร่างกายและจิตใจเป็นผู้ชายหรือผู้หญิงแต่รักเพศเดียวกัน คือร่างกายและจิตใจเป็นชายตรง
ตามเพศของตนแต่กลับรักและมีความรู้สึกทางเพศต่อเพศชายด้วยกัน หรือร่างกายและจิตใจเป็น
หญิงทุกอยา่ งแตก่ ลับรกั และมคี วามรู้สึกทางเพศต่อเพศหญิงดว้ ยกนั

 พวกที่มีรักร่วมเพศและรักต่างเพศอยู่ในคนเดียวกันคือไม่ว่าร่างกายและจิตใจตรงตามเพศหรือไม่ก็
ตาม แต่มีความพอใจรักใคร่และความรู้สกึ ทางเพศไดท้ ง้ั เพศชายและเพศหญิง

สาเหตุ ของความผิดปกตริ ักร่วมเพศอาจเกดิ จากสาเหตุปลายประการ เช่น ความผดิ ปกตทิ าง

54

พันธุกรรมหรือฮอร์โมนเพศ สภาพแวดล้อม การอบรมเลี้ยงดูท่ีไม่เหมาะสมหรือผิดปกติ เน่ืองจากพ่อแม่ไม่
ต้องการเพศที่แท้จริงของเด็ก ความสัมพันธ์ระหว่างเด็กกับพ่อแม่ที่เป็นเพศเดียวกันไม่ดี ทําให้เด็กไม่สามารถ
ลอกเลียนลักษณะและบทบาททางเพศท่ีถูกต้องเหมาะสมได้ และสาเหตุอ่ืนๆ เช่น ค่านิยม ความเช่ือที่ผิดๆ
เก่ียวกับเพศ มีประสบการณ์ท่ีผิดหวังในความรัก ทําให้เกิดความกลัว หลีกเลี่ยงรักต่างเพศ ไม่กล้ามี
ความสัมพนั ธ์ทางเพศกับเพศตรงข้ามและหันไปชอบเพศเดียวกนั ในทสี่ ดุ

1.2 ลกั เพศ (Transvestism)
เป็นพฤติกรรมทางเพศของผู้ที่มีความสุขจากการได้สวมใส่เส้ือผ้าของเพศตรงข้ามกับเพศที่
แท้จริงของตน จะพอใจ ตื่นเต้น และเป็นสุขกับการได้แต่งตัวเป็นเพศตรงข้าม สาเหตุอาจเกิดจากการเล้ียงดูที่
ผิดเพศ ถูกพ่อแม่บังคับหรือโน้มน้าวให้แต่งตัวเป็นเพศที่พ่อแม่ต้องการ แต่ตรงข้ามกับเพศที่แท้จริงของตนซ่ึง
พฤตกิ รรมนม้ี ักเกดิ กบั เพศชายมากกวา่ หญงิ
1.3 ต้องการเปลี่ยนแปลงเพศ (Transexualism)
เป็นพวกท่ีต้องการจะมีเพศ ที่ตรงข้ามกับเพศของตนตามธรรมชาติเพราะเช่ือว่าเพศที่ปรากฏ
ทางร่างกายของตนนั้นไม่ถูกต้อง ต้องการมีชีวิตเป็นเพศตรงข้ามอย่างสมบูรณ์ทั้งในด้านร่างกาย อารมณ์ และ
ชีวติ ทางเพศ ทาํ ใหเ้ กดิ ความปรารถนาอย่างแรงกล้า ที่จะผ่าตัดแปลงเพศอย่างถาวร หรือพยายามซ่อนเพศทาง
ร่างกายของตนไว้ โดยการแตง่ กายหรอื แสดงพฤติกรรมแบบเพศตรงขา้ ม

2. กล่มุ ที่ผิดปกติในวธิ ีปฏิบตั ิทางเพศ
กลมุ่ ท่ผี ิดปกตใิ นวธิ ปี ฏบิ ัติทางเพศ

1. ชอบทาํ ใหผ้ ู้อนื่ เจบ็ ปวดทรมาน (Sardism)
2. ชอบรับความเจบ็ ปวดทรมาน (Masochism)
3. ชอบอวดอวัยวะเพศ (Exgibitionism)
4. ชอบแอบดู (Voyeurism)
5. ชอบใหผ้ อู้ ่ืนดูตนประกอบกิจกรรมทางเพศ (Troilism)
6. มคี วามสขุ จากการใชป้ าก (Sexual Oralism)
7. ชอบรว่ มเพศทางทวารหนกั (Sexual analism)
8. ชอบเปลอื ยกาย (Nudism)
9. ชอบถไู ถอวยั วะเพศของตนกบั เพศตรงข้าม (Frotteurism)
10. ชอบใชอ้ จุ จาระเป็นส่วนประกอบในการร่วมเพศ (Corprohilia)
11. ชอบใชป้ ัสสาวะเป็นสว่ นประกอบในการรว่ มเพศ (Urolognia)
12. ชอบพูดจาลามกอนาจาร (Coprolalia)
สาเหตุ พฤติกรรมเบ่ียงเบนทางเพศหรือความผิดปกติพวกนี้พบว่าคนเราไม่ว่าจะเป็นเพศชายหญิง จะ
มีฮอร์โมนของทั้ง 2 เพศอยู่ในตัวคนๆ เดียวกันเสมอ เม่ือโตขึ้นจะมีพฤติกรรมทางเพศท่ีเหมาะสมขึ้นอยู่กับการ
เล้ียงดู การเจริญเติบโตและสภาพแวดล้อมต่างๆ เช่น การห่างเหินพ่อ ไม่มีพ่อเป็นตัวตน พ่อไม่เข้มแข็ง พ่อไม่
ค่อยอยบู่ า้ น หรอื อยบู่ า้ นแต่ไม่มอี ํานาจสําคัญโดยแม่เป็นใหญ่ในบ้าน แม่เอาใจใส่ลูกผิดปกติ บางคนนอนกับลูก
จนโตเป็นหนุ่ม เป็นสาว และลูกชายใกล้ชิดแม่มาก ความเข้มงวดของระเบียบวินัยโดยเฉพาะเร่ืองเพศ การ
แสดงพฤติกรรมทางเพศทไี่ ม่เหมาะสมของพ่อแม่ การขาดความมนั่ ใจ ความกลวั เป็นต้น

55

3. กลมุ่ ท่ีผดิ ปกติในปริมาณและความรุนแรงของความตอ้ งการทางเพศ
กลุ่มที่ผิดปกติในปริมาณและความรุนแรงของความต้องการทางเพศ มีความต้องการทางเพศสูงกว่า
ปกติ เป็นพวกที่มีความต้องการทางเพศสูงจนไม่สามารถควบคุมอารมณ์ทางเพศของตนได้ จะต้องได้รับการ
ตอบสนองไม่ว่าจะเกิดผลอย่างไรตามมาก็ตามมีความต้องการอยู่ตลอดเวลา สําส่อนทางเพศและโสเภณี เป็น
พวกที่มีพฤติกรรมความสัมพันธ์ทางเพศกับคู่นอนหลายๆ คน การข่มขืนและกระทําชําเราเป็นพฤติกรรมท่ีเป็น
ภัยกับสังคมเพราะเป็นการใช้ความพยายามร่วมเพศโดยคู่ร่วมไม่ยินยอมพร้อมใจ ชอบล่อลวงให้ผู้อื่นมี
ความสัมพันธ์ทางเพศกับตน ชอบนอกใจคู่สมรสเป็นพฤติกรรมที่จะมีแนวโน้มสูงในสังคมปัจจุบัน คือการไปมี
ความสัมพนั ธ์ทางเพศกบั บุคคลทส่ี ามทไ่ี มใ่ ชค่ สู่ มรสของตนเอง

สาเหตุมาจากทางด้านร่างกาย เช่นการผิดปกติของฮอร์โมน การใช้ยาเสพติดและทางด้าน
จิตใจ เช่น ความตอ้ งการการดแู ลและชดเชยการมีอาํ นาจตลอดจนการเล้ียงดูและสภาพแวดลอ้ มของครอบครวั

4. กลุ่มท่ผี ิดปกตใิ นการเลอื กคู่ร่วมเพศ
1.ชอบร่วมเพศกับเดก็ (Pedophilia) เปน็ พวกท่ีได้รับความสขุ ความพอใจทางเพศกบั เด็ก
2.ชอบร่วมเพศกับคนสูงอายุ (Gerontopgilia) เปน็ พวกทีไ่ ดร้ บั ความสุขความพอใจทางเพศกับ
คนสูงอายหุ รือคนแก่
3.ชอบรว่ มเพศกบั สัตว์ (Bestiality หรอื Zoophillia) เปน็ พวกทไี่ ด้รบั ความสขุ ความพอใจทางเพศ
จากการมเี พศสมั พนั ธ์กบั สตั ว์
4.ชอบรว่ มเพศกบั ศพ (Necropgilia) เปน็ พวกท่ไี ดร้ ับความสุขความพอใจทางเพศกับซากศพ
มเี พศสมั พันธร์ ะหว่างบุคคลรว่ มสายโลหติ (Incest) คอื การมีความสมั พนั ธ์ทางเพศระหว่างบคุ คลทีม่ ี
ความสมั พนั ธใ์ กล้ชิดกันทางสายโลหติ เช่น ระหว่างพอ่ กบั ลูกสาว แม่กับลกู ชาย พีช่ ายกบั น้อยสาว พ่ีสาวกับ
น้องชายเปน็ ต้น
5.ชอบแลกเปลีย่ นสามีภรรยา (Mate-Swapping หรือ Swinging) เปน็ พวกมพี ฤติกรรมแลกเปลย่ี นคู่
นอนกัน มีความสุขทางเพศกบั วตั ถุ (Frottenrism) เปน็ พวกที่มีความสขุ ความพอใจทางเพศกับวัตถุสง่ิ ของที่ไม่
มีชวี ิตบางชนิดทเี่ ป็นสัญลักษณ์ทางเพศของเพศตรงข้าม เชน่ กางเกงใน ถุงนอ่ ง ยกทรง กระโปรง รองเทา้ หรอื
บางสว่ นของร่างกายทไ่ี ม่ใชอ่ วยั วะเพศ
สาเหตุ เกิดจากการเลี้ยงดูและสภาพแวดลอ้ มของครอบครวั ความสมั พนั ธภ์ ายในครอบครวั ไม่ดี ความสมั พันธ์
ระหว่างเพศ ความกลวั ทจ่ี ะรว่ มเพศกับเพศตรงข้าม
ความผิดปกติทางเพศทเี่ บีย่ งเบนไปจากมาตรฐานของสงั คมท่ไี ดก้ ล่าวถงึ ล้วนสง่ ผลกระทบตอ่ สังคม
มากบ้างน้อยบ้าง ฉะน้ันควรรว่ มกนั แกไ้ ขปญั หาและการแก้ปญั หาโดยใช้มาตรการลงโทษทางกฎหมายแตเ่ พยี ง
อย่างเดยี วย่อมไมอ่ าจ ยุติปญั หาได้ แต่จะต้องเริ่มแก้ไขหรอื ป้องกันการเลยี้ งดูท่ีเหมาะสมภายในครอบครวั กอ่ น
เปน็ สาํ คัญ
ปัจจุบนั เด็กวัยรุ่นมคี ่านิยมทฟ่ี ุ่มเฟอื ย ถอื ลัทธิเอาอย่างเพื่อน แข่งขนั กันทางวัตถุ พฤตกิ รรมเหล่านี้อาจ
นาํ ไปส่พู ฤติกรรมทางเพศทไ่ี ม่เหมาะสม เชน่ การขายบริการทางเพศซ่ึงจะเป็นปัญหาต่อตนเอง ครอบครัว และ
สงั คมตามมา
ดงั นั้นในกรณีที่เด็กมปี ัญหาต่างๆ รวมทงั้ ปญั หาทางเพศทค่ี วรแก้ไข ครคู วรประสานความเขา้ ใจและ
รว่ มมือกับผูป้ กครองของเดก็ วางแนวทางแกไ้ ขจนถึงป้องกันปัญหาทเี่ กดิ ข้ึนแกเ่ ด็กและพยายามดงึ เดก็ ให้มามี
ส่วนรว่ มในการบาํ บดั ปญั หาของเดก็ เองร่วมกับผ้ใู หญ่ หากเห็นวา่ เดก็ นั้นมวี ัยวุฒหิ รือคณุ สมบัติบางประการท่ีจะ
ให้ข้อมลู ในบางกรณที ี่เป็นความจาํ เป็นได้

56

ตอนที่ 2 อิทธิพลของสงั คมและวฒั นธรรมตอ่ พฤตกิ รรมทางเพศ

ในสงั คมไทยปัจจุบัน ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมยังคงเป็นตัวกําหนดวิถีชีวิตความเป็นอยู่
ของคนไทยในปัจจบุ ันและยังคงมีบทบาท ท่ีเกี่ยวข้องกับเร่ืองเพศ โดยเฉพาะค่านิยมในเรื่อง “การรักนวลสงวน
ตัว” ยังเป็นค่านิยมที่เหมาะสมกับสังคมไทยในปัจจุบัน การรักนวลสงวนตัว คือ การไม่ปล่อยกายปล่อยใจไป
ตามแรงปรารถนาของอารมณ์ รู้จักใจตนเอง รู้จักความต้องการและอารมณ์ รู้จักระมัดระวังตัว รู้จักป้องกัน
ตนเอง มิให้ตกเป็นเหยื่อของผู้อื่น และสามารถแก้ไขปัญหาในยามคับขันได้ เช่น รู้ว่าตนเองเป็นผู้หญิงย่อมมี
อารมณ์อ่อนไหวต่อความรัก ก็ควรหลีกเล่ียงโอกาสที่จะอยู่ตามลําพังสองต่อสองกับชายคนรักในท่ีลับหูลับตา
คน ไม่ไปในสถานที่อันไม่สมควรไป หรือไม่ควรทําในสิ่งท่ีไม่สมควรทํา ซึ่งจะนําไปสู่การมีเพศสัมพันธ์ได้ เพราะ
แม้ว่าสังคมจะพัฒนารุดหน้าไปอย่างไรก็ตาม แต่ค่านิยมของสังคมไทยยังคงถือว่าความบริสุทธิ์หรือพรหมจารี
ของผู้หญิงเป็นเกียรติอันสูงที่หญิงควรสงวนไว้และแม้ว่าศีลธรรมทุกวันนี้จะหย่อนยานลงเพียงใดก็ตาม ถ้าหญิง
สูญเสียความบริสุทธ์ิไปก่อนแต่งงานก็จะมีความเสียใจอยู่เสมอ แม้จะไม่แสดงออกมาให้เห็นภายนอกก็ตาม แต่
อย่างไรก็ตามในเร่ืองเกี่ยวกับพรหมจารีนั้น อาจขาดได้ด้วยสาเหตุอื่นๆ อีกเช่น ขี่จักรยาน ขี่ม้า เล่นกีฬาต่างๆ
การสําเร็จความใคร่ด้วยตนเอง การถูกแพทย์ตรวจภายใน (ในกรณีท่ีมีความจําเป็นในการวินิจฉัยโรคบางชนิด
ของสตรี) เหล่านี้เป็นต้น นอกจากนี้ผู้หญิงบางคนอาจไม่มีเยื่อพรหมจารีมาตั้งแต่เด็กๆ ก็เป็นได้ ดังน้ันหญิงสาว
ท่มี เี ย่ือพรหมจารขี าดจึงไม่ถอื ว่า ผ่านการร่วมประเวณีมาแล้วหรือเป็นหญิงสาวท่ไี มบ่ ริสทุ ธิ์เสมอไป

แต่อย่างไรก็ตามค่านิยมความประพฤติหรือพฤติกรรมท่ีเหมาะสมสําหรับสังคมไทยน้ันยังถือว่าความ
บริสุทธิ์และการไม่เพศสัมพันธ์ก่อนแต่งงานเป็นสิ่งที่เหมาะสมกับสังคมไทย ดังน้ันการวางตัวต่อเพศตรงข้ามใน
ระหว่างท่ีคบหาสมาคมกัน เป็นเรื่องสําคัญที่เด็กวัยรุ่นหรือวัยหนุ่มสาวควรจะต้องรู้จักระวังตัวให้ดีเป็นพิเศษ
โดยจะต้องไม่ยอมตกเป็นเหย่ือเป็นทาสของกามารมณ์หรือแรงดันทางเพศเป็นอันขาด วิธีการที่จะช่วยให้ชาย
หญิงควบคุมสัญชาตญาณทางเพศได้ดีก็คือ จะต้องรู้จักหรือพยายามเบ่ียงเบนความสัมพันธ์ระหว่างเพศซ่ึงเป็น
กิจกรรมทางใจ ให้ออกมาในรูปแบบของกิจกรรมทางกาย ด้วยการเล่นกีฬา ทํางานอดิเรก หรือประกอบ
กิจกรรมสันทนาการต่าง ๆ ท่ีสังคมยอมรับ และตรงกับขนบธรรมเนียมประเพณีหรือวัฒนธรรมอันดีงามของ
บ้านเมือง เด็กวัยรุ่นควรรู้จักและเข้าใจด้วยว่า การอดกลั้นเพื่อไม่ให้ตกเป็นทาสของกามารมณ์ หรือการ
ประพฤติทางเพศต่างๆ นั้นไม่เคยทําลายสุขภาพจิตของผู้ใด และความอดกลั้นก็เป็นเร่ืองธรรมดาที่ทุกคนท่ัวไป
เขาปฏิบัติกัน การวางตัวหรือการแสดงพฤติกรรมของเพศหญิงน้ัน จะต้องทําตัวให้เพศชายยกย่องและให้
เกียรติ โดยฝ่ายหญิงจะต้องเข้าใจว่าผู้ชายที่ดีหรือสุภาพบุรุษนั้นจะต้องไม่ล่วงเกินผู้หญิงท่ีวางตัวเป็น
สุภาพสตรี การท่ีผู้หญิงกล้าเกินไป ไม่รู้จักถือเน้ือถือตัว และชอบสนิทสนมกับผู้ชายมากๆ เท่ากับเป็นการเปิด
โอกาสให้ฝ่ายชายสามารถล่วงเกินได้ง่ายข้ึน รวมท้ังฝ่ายชายก็อาจไม่คิดแต่งงานด้วยอย่างจริงจังถึงแม้ว่า
บางครั้งฝ่ายชายอาจจําเป็นต้องแต่งงานด้วยหรือถูกบังคับให้แต่งงานด้วย เหตุการณ์ในลักษณะน้ีมักจะ
กลายเป็นตกกระไดพลอยโจนเสียมากกว่า และอาจจะต้องมาหย่าร้างกันไปในที่สุดเพราะฝ่ายชายอาจคิดได้ว่า
เม่ือมีโอกาสกับเขาง่ายๆ ก็ย่อมจะให้โอกาสกับชายอ่ืนง่ายๆ เช่นกัน ดังนั้นเม่ือมีการล่วงเกินกันเกิดข้ึน ฝ่าย
หญิงจึงไม่ต้องเกรงใจหรือกลัวฝ่ายชายจะโกรธ ถ้าตัวเองจะแสดงความไม่พอใจให้ฝ่ายชายทราบ เพราะการ
วางตัวท่ีดีและรู้จักระมัดระวังตัว ไม่ปล่อยตัวให้สนิทสนมกับใครๆ โดยง่ายน้ัน เป็นส่ิงท่ีมีค่าย่ิงสําหรับกุล
สตรี ซึง่ ผู้ชายโดยท่วั ไปมักจะให้ความยกยอ่ งนับถือหรอื ภาคภมู ใิ จเป็นอยา่ งยงิ่ ถ้าหากเขามโี อกาสได้แต่งงานกับ
ผู้หญงิ ที่มีลักษณะนี้ อันที่จริงนั้นผู้ชายส่วนมากมักจะชอบผู้หญิงที่ปล่อยใจง่ายๆ แต่ในขณะเดียวกันเขากลับรัก
ผ้หู ญิงท่รี ู้จกั การวางตัวไดเ้ หมาะสม พร้อมทงั้ ยังปรารถนาที่จะแต่งงานดว้ ยอย่างจรงิ ใจ

57

อย่างไรก็ตามอิทธิพลและวัฒนธรรมตะวันตกได้เข้ามามีบทบาทต่อวัฒนธรรมสังคมของประเทศไทย
มากข้ึน การติดต่อส่ือสารอย่างรวดเร็วทําให้เกิดการเลียนแบบ และดําเนินชีวิตเป็นไปตามตะวันตก โดยเฉพาะ
เข้ามามีบทบาทในชีวิตของเด็กๆ มากข้ึน รวมท้ังชุมชน สื่อมวลชนต่างๆ ท่ีเข้ามามีอิทธิพลทั้งทางบวกและทาง
ลบ ทําให้ค่านิยมในเรื่องเพศ เปล่ียนแปลงไปทั้งในทางบวกและทางลบต่อวิถีชีวิตของเด็กมากกว่าสถาบัน
ครอบครัว ซ่งึ ควรเป็นแหลง่ ให้ประสบการณ์การเรียนรทู้ ่ถี ูกต้องมากทส่ี ุด กลายเป็นปัญหาของสังคม โดยเฉพาะ
การมีพฤติกรรมทางเพศท่ีไม่เหมาะสม ซึ่งจะเห็นได้ว่าครอบครัวไทยในอดีต การแสดงความรักใคร่เพียงแม้การ
จับมือถือแขน การกอดสัมผัสร่างกายภายนอก แสดงความสนิทสนมระหว่างคู่ผัวตัวเมียในครอบครัวไทยในเขต
เมืองกลายเป็นเร่ืองธรรมดา ส่วนหน่ึง เพราะการเลียนแบบอย่างสังคมตะวันตกทําให้กฎเกณฑ์สังคมไทย
ปรับเปล่ียนไปบ้างขณะน้ี เชน่ การพูดแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในเรื่อง “เพศ” ระหว่างสามีภรรยาคนไทยกําลัง
จะเป็นเร่ืองปกติธรรมดาของชีวิตการครองเรือน ดังนั้นการสร้างค่านิยมในเรื่องเพศท่ีสามารถปฏิบัติได้มี
ดงั ต่อไปนี้

1. ไม่สาํ ส่อนทางเพศ
2. ลดละเลิกการเท่ยี วโสเภณหี รือสถานบริการทางเพศ
3. ภูมิใจในคณุ ค่าและศกั ด์ิศรขี องความเปน็ หญิงและเปน็ ชาย (การรกั นวลสงวนตัว, อย่าชงิ สกุ กอ่ น

ห่าม , เขา้ ตามตรอกออกตามประตู ฯลฯ)
4. ปฏิบัติตนอยใู่ นศีลธรรม จรยิ ธรรม เช่น ไมป่ ระพฤติผดิ ลกู ผิดเมียใคร และรักษาวัฒนธรรมทด่ี งี าม
5. อยา่ คบเพ่ือนต่างเพศไม่เลอื กหน้า
6. ความเปน็ สภุ าพบุรษุ และสุภาพสตรี (การใหเ้ กยี รตซิ งึ่ กนั และกนั )
7. การมเี พศสัมพนั ธ์ที่ปลอดภยั และตรงกบั ขนบธรรมเนยี มประเพณี

บทบาทชาย – หญงิ (Gender roles)
ธรรมชาตไิ ด้สร้างใหม้ นษุ ยม์ ี 2 เพศ คือเพศชายและเพศหญงิ โดยกาํ หนดใหท้ งั้ สองเพศมีความแตกต่าง

กันมากมายหลายประการ ทั้งด้านร่างกาย ความรู้สึกนึกคิด และความเหมาะสมซึ่งกันและกันตั้งแต่อยู่ในครรภ์
มารดา บทบาททางเพศของเด็กนั้นบิดามารดาเป็นผู้ถ่ายทอดสู่บุตรจะโดยเจตนาหรือไม่เจตนาก็ตาม
กล่าวคือ บิดาจะเล่นกับลูกชายรุนแรงกว่าเล่นกับลูกสาว แม่มีความนุ่มนวลกับลูกสาวมากกว่าลูกชาย และ
เด็กชายจะถูกเล้ียงดูแบบอิสระเสรีมากกว่าเด็กหญิง ย่ิงเติบโตเด็กชายจะยิ่งมีอิสระเสรีมากข้ึน การแสดงออก
ซ้ําๆซากๆ อาจเป็นสิ่งท่ีทําให้เด็กเรียนรู้ความแตกต่างระหว่างเพศชายกับเพศหญิง ตลอดจนปัจจัยต่างๆ ก็ช่วย
ให้เกิดเอกลักษณ์ทางเพศพ้ืนฐานในเด็กและเกิดการรับรู้ในความเป็นเพศใดเพศหนึ่ง และเม่ือถึงวัยเป็นผู้ใหญ่
หรือวัยหนุ่มสาว จะเห็นความแตกต่างในการแสดงออกทางเพศชายและหญิงอย่างชัดเจนและสําหรับบทบาท
ทางเพศ (Gender roles) น้ัน เป็นการแสดงออกทางสังคมของการรู้สึกว่าตนเป็นเพศใด ตามปกติจะเกิดขึ้น
ภายใน 3 ขวบปีแรกของชีวิต หรือเร็วกว่าน้ี โดยเด็กจะเริ่มสังเกตบทบาททางเพศของคนในครอบครัวและคน
อื่นๆ ในสง่ิ แวดล้อมของตน ทําให้เห็นความแตกต่างระหว่างพฤติกรรมของผู้หญิงและผู้ชาย และเลือกเอาอย่าง
ให้เหมาะสมกับเพศของตน นอกจากน้ันความสัมพันธ์ระหว่างบิดามารดากับเด็กและบทบาททางเพศที่
เหมาะสมของบิดามารดา ก็ช่วยให้เด็กหญิงและเด็กชายมีโอกาสลอกเลียนแบบลักษณะทางเพศได้ดีข้ึน รวมทั้ง
ทัศนคติของสังคมและวัฒนธรรมว่าเด็กหญิงหรือเด็กชายควรมีลักษณะอย่างไรควรสนใจกิจกรรมการเรียนหรือ
อาชีพแบบไหน และอื่นๆ ก็เป็นส่วนหล่อหลอมบทบาททางเพศของเด็กเช่นกันสังคมคาดหวังให้เด็กชายและ
เด็กหญงิ มีลกั ษณะอยา่ งไร

58

ลักษณะของเดก็ ชาย
o เขม้ แขง็ เป็นผนู้ ํากลา้ หาญและเป็นสภุ าพบุรษุ
o เลน่ ของเล่น ประเภทเครอื่ งยนต์ รถยนต์ ปนื หรือของเลน่ ทแ่ี สดงความเขม้ แขง็

ลักษณะของเด็กผู้หญิง
o มีลักษณะของความอ่อนหวาน นุม่ นวล เป็นกลุ สตรี
o มีลกั ษณะพึ่งผอู้ ่ืน
o ตอ้ งการผคู้ มุ้ ครอง
o เลน่ ของเล่นประเภทต๊กุ ตา เลน่ หม้อข้าวหมอ้ แกง

และเม่ือเติบโตข้ึน สังคมก็ยังคาดหวังให้เด็กผู้ชายเป็นชายหนุ่มท่ีมีลักษณะความเป็นผู้นํากล้าหาญ ให้
ความคุ้มครองผู้หญิงในขณะเดียวกันค่านิยมทางเพศก็มองว่า เพศหญิงด้อยกว่า ไม่สามารถช่วยตัวเองได้
อ่อนแอและถ้าพูดถึงกิจกรรมทางเพศแล้วฝ่ายชายจะมีลักษณะเป็นฝ่ายกระทํา ส่วนฝ่ายหญิงจะมีลักษณะเป็น
ผู้ถูกกระทําหรือฝ่ายสนอง แต่โดยแท้จริงแล้วไม่ว่าเพศชายหรือเพศหญิงก็สามารถมีความอ่อนแอและความ
เข้มแขง็ เหมอื นกนั ซง่ึ ข้ึนอยกู่ บั สถานการณ์ ลักษณะความเปน็ ผ้ชู ายและความเปน็ ผู้หญิงขึ้นอยู่กับความคาดหวัง
ของสังคม ไม่ว่าจะเป็นเพศชายหรือเพศหญิงกม็ ีความสาํ คัญเท่าๆ กัน ต่อสงั คมท้ังส้นิ

59

ตอนท่ี 3 โรคตดิ ต่อทางเพศสมั พันธ์

โรคติดต่อทางเพศสมั พนั ธ์ Sexual tranmitted disease
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เร่ิมจะพบมากข้ึนในวัยรุ่นซ่ึงจะมีเพศสัมพันธ์ก่อนการแต่งงาน โดยที่ขาด

ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ การป้องกันตัวเองทั้งการต้ังครรภ์และโรคติดต่อ การท่ีเรามีความรู้เกี่ยวกับการ
ติดต่อ อาการของโรค การรักษา จะเป็นข้ันแรกของการป้องกันโรค ข้อเท็จจริงเก่ียวกับโรคติดต่อทาง
เพศสัมพนั ธท์ คี่ วรทราบ

1. โรคตดิ ต่อทางเพศสมั พันธ์สามารถเปน็ ไดท้ ุกเพศทุกวัย ทุกชนช้นั แต่พบมากในหมูว่ ยั รุน่
2. อตั ราการติดเช้อื ของโรคติดตอ่ ทางเพศสัมพันธพ์ บมากขึ้นเนอ่ื งจากวัยรุ่นมคี า่ นยิ มที่จะอยกู่ อ่ น
แต่งงาน หรอื นยิ มมเี พศสมั พันธ์ตงั้ แตอ่ ายุยงั ไมม่ าก และทส่ี ําคญั มีการหยา่ ลา้ งสูงทาํ ให้คนมสี ามหี รอื ภรรยา
หลายคน ทําใหโ้ รคตดิ ตอ่ ทางเพศสัมพนั ธเ์ พม่ิ มากขนึ้
3. โรคตดิ ต่อทางเพศสมั พนั ธโ์ ดยมากมักจะไมเ่ กดิ อาการ ดงั นัน้ โรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พันธ์สามารถ
ติดตอ่ โดยทีไ่ ม่รตู้ ัว แพทย์บางประเทศจึงแนะนาํ ใหม้ ีการตรวจคน้ หาโรคติดต่อทางเพศสมั พันธส์ ําหรบั คนทส่ี ํา
สอ่ น
4. โรคตดิ ตอ่ ทางเพศสัมพนั ธ์ยงั กอ่ ใหเ้ กดิ ปญั หาทางสาธารณสุขอย่างมาก
- โรคอาจจะลุกลามไปยงั มดลูกหรอื ทอ่ รงั ไขท่ าํ ใหเ้ กิดการอกั เสบในชอ่ งท้อง Pelvic inflammatory
disease ซง่ึ อาจจะก่อให้เกิดการเปน็ หมนั หรอื ตั้งครรภ์นอกมดลูก
- โรคติดตอ่ ทางเพศสัมพันธ์อาจจะทําใหเ้ กิดโรคมะเรง็ เช่นการตดิ เชื้อ human papillomavirus
infection (HPV) ทาํ ใหเ้ กิดมะเรง็ ปากมดลูก
- โรคตดิ ตอ่ ทางเพศสัมพนั ธ์สามารถติดตอ่ ไปยังทารกในครรภ์
โรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พันธ์
คือโรคตา่ งๆ ท่ตี ดิ ตอ่ จากคนหนง่ึ ไปสอู่ ีกคนหนงึ่ ทางเพศสัมพนั ธ์ เช่น โรคหนองในซฟิ ลิ สิ เริมและ
เอดส์
หากเป็นโรคน้ีแลว้ ส่วนใหญจ่ ะมอี าการแสดงออกมาให้เหน็ ชดั เจน บางครัง้ อาการอาจเป็นๆหายๆ แต่
ไม่หายขาด และจะรนุ แรงมากขน้ึ ถา้ ไม่ไดร้ ับการรกั ษาอย่างถูกวธิ ผี ลทต่ี ามมาคอื ทาํ ให้ระบบขบั ถา่ ยผิดปกติ
เปน็ หมันและท่ีสาํ คญั จะนาํ ไปสกู่ ารรับเชอื้ เอดสไ์ ดง้ ่าย
หากติดเชือ้ โรคติดต่อทางเพศสมั พันธ์อาการเหล่านอี้ าจเกดิ ขึน้ หลังการมเี พศสัมพันธ์ 2 – 3 วัน หรือ
อาจเปน็ เดอื น

* ปัสสาวะแสบ ขดั
* เจ็บ ปวดหรอื คันบริเวณอวยั วะเพศ
* มผี ืน่ แผล ฝีหรือตุ่มบรเิ วณอวัยวะเพศ
* ขาหนีบบวม
* ผชู้ ายจะมขี องเหลวไหลออกมาภายหลงั การมเี พศสัมพนั ธ์ เชน่ เมือกใส หนอง เมือกปนหนอง
* ผหู้ ญิงจะมปี รมิ าณ สี กลน่ิ ของสิ่งที่ออกมาจากช่องคลอดผิดปกติ เชน่ ตกขาวมากมีสเี หลอื งเข้ม
หรอื มกี ล่ินเหมน็
* ประจําเดอื นมาผิดปกติ หรือมเี ลอื ดออกจากชอ่ งคลอดหลังการมเี พศสัมพนั ธ์
คณุ ควรสงั เกตอาการผดิ ปกติ เมือ่ มีอาการ หรือ สงสยั ว่าติดเชอ้ื ควรรีบไปพบแพทย์ทคี่ ลินกิ หรือโรงพยาบาล
กลมุ่ ทเ่ี ส่ยี งตอ่ การติดโรค

60

- การมีเพศสัมพนั ธ์กับชายหรือหญงิ บรกิ ารใน 3 เดอื นท่ีผ่านมา
- การมคี ่นู อนมากกว่า 1 คนใน 3 เดือนทผี่ า่ นมา
- การมเี พศสมั พันธ์กับคู่คนใหมใ่ น 3 เดือนทีผ่ า่ นมา
- การทม่ี ปี ระวัติปว่ ยเป็นโรคตดิ ต่อทางเพศสัมพันธใ์ น 1 ปีทผี่ า่ นมา
- การทส่ี ามีหรือภรรยามคี ู่นอนมากกวา่ 1 คนใน 3 เดือนท่ผี ่านมา
- การท่คี คู่ รองอยกู่ ันคนละท่ี
ซ้อื ยากินเอง ไมห่ ายอย่างทคี่ ดิ
การซ้ือยากินเองโดยไม่ไปพบแพทย์นั้น อาจช่วยอาการหายไประยะหน่ึง แต่ไม่หายขาดอาการจะ
แสดงออกมาภายหลังและรุนแรงย่ิงข้ึนอาการของชายและหญิงที่รับเชื้อจากกันมิได้หมายความว่าจะรักษาด้วย
ยาประเภทเดียวกัน ดังนั้น การให้แพทย์ตรวจรักษารวมท้ังปฏิบัติตามคําแนะนํา อย่างเคร่งครัดจะให้หายจาก
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ได้แน่นอนกว่า และเพ่ือให้ได้ผลในการรักษา คุณจึงควรพาสามีหรือภรรยาหรือคู่
นอนไปตรวจรกั ษาดว้ ย แมจ้ ะยงั ไม่ปรากฏอาการ
ควรปฏิบัติตนอยา่ งไร? ขณะป่วย และรกั ษา
งดร่วมเพศโดยเดด็ ขาด รวมทง้ั การสําเร็จความใครด่ ้วยตนเอง เพ่ือป้องกันการแพรก่ ระจายของโรค
และการอักเสบลุกลาม
งดดม่ื เหล้า-เบยี ร์ และของมนึ เมาทุกชนดิ
นําคนู่ อนไปตรวจและรักษาโดยเรว็ ท่สี ดุ
รกั ษาอวัยวะเพศและบรเิ วณใกล้เคยี งใหส้ ะอาดและแหง้ อยูเ่ สมอในผู้ชาย
หา้ มรีดอวัยวะเพศ เพือ่ ดูหนองเป็นอนั ขาด
ใหก้ ลน้ั ปัสสาวะ อย่างน้อย 4 – 6 ชวั่ โมง ก่อนมาตรวจทกุ คร้งั
อย่าซอ้ื ยากินเองให้ตรวจรักษากับแพทย์เทา่ นั้น
ไปรับการตรวจตามนัดทุกคร้งั และปฏบิ ตั ิตามคาํ แนะนําของแพทย์
สําหรบั ผทู้ ่ีเปน็ โรคตดิ ต่อทางเพศสมั พันธต์ อ้ งปฏิบตั ติ วั อยา่ งไร
- ใหร้ กั ษาอย่างรวดเรว็ เพอ่ื ปอ้ งกันการแพร่เชอื้
- แจ้งใหค้ ู่นอนทราบวา่ คณุ เป็นโรคเพ่ือท่ีจะป้องกันโรคมใิ หแ้ พรส่ ูค่ นอืน่ และใหไ้ ดร้ บั การรกั ษา
- รักษาตามแพทยส์ งั่
- งดรว่ มเพศ
การป้องกนั โรคติดตอ่ ทางเพศสมั พนั ธ์
การป้องกันโรคติดต่อทางเพศสมั พันธ์ทดี่ ีที่สุดคือการไมม่ ีเพศสมั พนั ธ์ หากยังมีเพศสมั พันธ์ตอ้ ง
คํานงึ ถึงความปลอดภยั เป็นอันดบั แรก
- ไม่เปลย่ี นค่นู อน ใหม้ ีสามีหรือภรรยาคนเดียว
- ใสถ่ ุงยางใหถ้ กู ตอ้ งหากจะมเี พศสมั พันธ์กบั คนท่ีไม่ทราบว่ามีการตดิ เชอ้ื หรือไม่
- อย่ามเี พศสมั พันธเ์ มื่ออายุน้อยเพราะจากสถติ ิหากมีเพศสัมพนั ธอ์ ายนุ อ้ ยจะมีโอกาสติดโรคสงู
- ให้ตรวจประจาํ ปีเพ่ือหาเชอื้ โรคแม้ว่าจะไม่มีอาการ โดยเฉพาะผู้ทีต่ ้องการแตง่ งานใหม่
- เรยี นร้อู าการของโรคติดต่อทางเพศสมั พันธ์
- อยา่ รว่ มเพศขณะมีประจาํ เดือน เพราะจะทําใหเ้ กดิ โรคติดตอ่ ไดง้ า่ ย
- อยา่ มเี พศสัมพนั ธ์ทางทวารหนัก หากจําเป็นใหส้ วมถุงยางอนามัย
- อยา่ สวนล้างชอ่ งคลอดเพราะจะทาํ ใหเ้ กิดการตดิ เช้ือได้ง่าย

61

3.1 กามโรค (Sexually transmitted disease; STD)

กามโรค หมายถึง กลุ่มของโรคที่สามารถติดต่อได้ทางเพศสัมพันธ์ทั้งทางปาก ช่องคลอด และทวาร
หนัก ผ่านนาํ้ คัดหล่ัง นํ้าอสุจิ เลือด และน้ําเหลืองของผู้ติดเช้ือ เช้ือที่ทําให้เกิดกามโรคมักพบเป็นเช้ือแบคทีเรีย
และเชื้อไวรัส ซ่ึงสามารถติดต่อ และแพร่กระจายได้ผ่านทางบาดแผล รอยถลอก และที่สําคัญ คือ การมี
เพศสัมพันธ์ พบมากในวัยรุ่น และวัยผู้ใหญ่ท้ังเพศหญิง และเพศชาย โดยเฉพาะกลุ่มท่ีมักมีเพศสัมพันธ์โดยไม่
สวมถงุ อนามัย นอกจากน้ัน เช้ือกามโรคยังสามารถตดิ ตอ่ ไปยงั ทารกขณะตั้งครรภ์ได้ แบ่งเป็นโรคต่างๆ ดังน้ี

1. โรคซิฟิลิส (Syphilis) ถือเป็นโรคที่มีความรุนแรง และอันตรายเมื่อมีการติดเชื้อ เป็นโรคท่ีเกิดจาก
เช้ือแบคทีเรียช่ือ Treponema pallidum ติดต่อ และแพร่กระจายโดยการมีเพศสัมพันธ์ และทางบาดแผล
นอกจากน้ัน เช้ือยังสามารถติดต่อไปยังทารกที่อยู่ในครรภ์ได้ด้วย เม่ือติดเชื้อประมาณ 2-3 เดือน หากเชื้อเข้า
ทางแผล จะทาํ ให้แผลหายชา้ และเกิดตุม่ บริเวณแผลซิฟลิ ิส แบ่งออกเปน็ 4 ระยะ คอื

โรคซิฟิลสิ

• ระยะท่ี 1 มีระยะฟักตัวอยู่ที่ 9-90 วัน โดยเช้ือจะเขา้ ทางรอยแผลหรือรอยถลอก รวมถึงการมเี พศสัมพนั ธุ์
อาการในระยะแรกจะพบเปน็ ตมุ่ เลก็ ๆ ตอ่ มาจะแตกเป็นแผล และคอ่ ยๆขยายใหญข่ ้ึน มขี นาดเสน้ ผ่าศูนยก์ ลาง
ประมาณ 1-2 เซนติเมตร จะเกิดเป็นแผลเดยี ว ตามจดุ ตา่ งๆ ขอบแผลมลี กั ษณะนูน แข็ง ไม่เจบ็ มีนํ้าเหลอื ง
ไหล พบได้ตามส่วนตา่ งๆ โดยพบมากบริเวณรอบอวยั วะเพศ ซึ่งตอ่ มาจะทําใหต้ อ่ มน้ําเหลอื งบวมโต และเกิด
การอักเสบได้

• ระยะที่ 2 ระยะนีจ้ ะเกดิ หลงั ระยะที่ 1 ประมาณ 5-10 วัน แตอ่ าจมากเปน็ เดือนกไ็ ด้ ระยะนี้ เช้อื มีการ
แพร่กระจายเขา้ สู่กระแสเลอื ด ทาํ ให้เกิดอาการหลายอยา่ ง เชน่ ปวดศรษี ะ มไี ข้ คลื่นไส้ อาเจียน มอี าการปวด
เมือ่ ยตามกล้ามเน้ือ และกระดกู มอี าการเบ่ืออาหาร ซบู ผอม ตอ่ มนํ้าเหลอื งบริเวณจดุ ต่างๆโต โดยอาการทเี่ กดิ
บริเวณผิวหนงั มักเกดิ ในลกั ษณะต่างกนั ได้แก่
– skin lash คอื ลักษณะอาการของโรคที่พบอาการเปน็ ผื่น เช่น ผนื่ ราบ ผื่นนนู ผื่นนูนมีสะเก็ด เปน็ ตน้
– condyloma lata คือ ลักษณะอาการของโรคที่เกิดบรเิ วณผวิ หนังอับชืน้ เช่น บริเวณขาหนบี บริเวณทวาร
หนกั เป็นต้น
– mocous patch คือ ลักษณะอาการของโรคท่ีเกดิ บรเิ วณเยอ่ื บุในช่องปากหรือบรเิ วณอวัยวะเพศ มลี กั ษณะ
เปน็ แผลต้ืน มีเยื่อสขี าวเทาปกคลมุ
– ผมร่วง (alopecia) ลักษณะทีพ่ บบ่อย คอื ผมร่วงเปน็ หย่อมๆ แต่อาจมีการรว่ งแบบกระจายได้ในบางราย

62

• ระยะแฝง ระยะน้เี ปน็ ระยะท่ไี ม่พบอาการใดๆ เม่อื ตรวจร่างกายท่วั ไปจะปกติ แต่พบการตรวจเลือดยืนยัน
TPHA และ FTA-Abs จะใหเ้ ปน็ บวก

• ระยะที่ 3 หลงั โรคเกดิ ในระยะแฝงทไ่ี ม่พบอาการใดๆในหลายปี ต่อมาจะแสดงอาการของโรคในระยะสดุ ท้าย
ทเี่ รยี กวา่ ระยะท่ี 3 อาการทพ่ี บ ไดแ้ ก่ อาการ gumma ในบรเิ วณตา่ งๆ เช่น ผิวหนงั เยอื่ บุ กระดูก และ
อวัยวะภายใน เปน็ ต้น

2. โรคหนองในแท้ (Gonorrhea) เป็นโรคทเ่ี กดิ จากเชือ้ แบคทเี รยี ชื่อ Neisseria gonorrhoea ติดต่อ
และแพร่กระจายเช้ือผา่ นการมเี พศสมั พันธ์ เม่ือติดเชื้อประมาณ 7-10 วนั จะทําใหเ้ กดิ หนองในระบบท่อ
ทางเดนิ ปสั สาวะทําให้เกิดอาการขดั ปสั สาวะ ปสั สาวะยาก แสบรอ้ น และมีหนองไหลออกทอ่ ปสั สาวะหรือปน
มากับน้าํ ปสั สาวะ บางรายอาจมโี รคแทรกซอ้ นได้
– ในกรณที ่ีไม่ไดร้ ับการรักษาทีถ่ ูกต้อง อาจทาํ ใหเ้ กิดการอกั เสบของทอ่ ปัสสาวะสว่ นปลาย หากกรณที เ่ี ช้ือแพร่
เขา้ สกู่ ระแสเลอื ดจะทาํ ใหเ้ กดิ ภาวะ disseminated gonococcal infection (DGI)

3. โรคหนองในเทียม (Non specific urethritis) เป็นโรคที่เกดิ จากเชอื้ แบคทีเรียชอ่ื Chlamydia
Trachomatic ติดตอ่ และแพร่เชอ้ื ทางเพศสมั พันธ์ เพศชายเม่ือติดเชื้อจะมอี าการแสบทท่ี อ่ ปสั สาวะ ปสั สาวะ
ขัด ยาก และมกั มีหนอง สว่ นในเพศหญิงมกั ไมแ่ สดงอาการ แตบ่ างรายอาจเกดิ อาการตกขาว หากไม่ได้รบั การ
รักษาจะเกิดโรคแทรกซอ้ นตา่ งๆตามมาไดง้ ่าย
– ในกรณที ่ีไมไ่ ดร้ ับการรกั ษาท่ีถูกต้อง อาจทาํ ให้เกดิ การอกั เสบของของต่อมต่างๆ บรเิ วณท่อปัสสาวะ การ
อักเสบของท่อ epididymis และอน่ื ๆ สําหรับเดก็ แรกคลอดอาจทาํ ให้เกดิ การตดิ เชือ้ จากมารดา ทําให้เกิด
conjunctivitis หรือ pncumonitis ได้

4. แผลริมอ่อน (Chanriod) เป็นโรคที่เกิดจากเช้ือแบคทีเรียช่ือ Haemophilus ducreyi สามารถ
ติดต่อได้ทางบาดแผล รอยถลอก และการมีเพศสัมพันธ์ และลุกลามไปยังต่อมน้ําเหลืองที่ขาหนีบ ทําให้เกิด
อาการอักเสบอยา่ งรุนแรง ส่วนแผลริมอ่อนที่เกิดบริเวณหนังหุ้มอวัยวะเพศ จะพบอาการของโรคจะเกิดบริเวณ
อวัยวะเพศ อาการในเพศชายพบมีตุ่มหนองที่อวัยวะเพศ และแตกเป็นแผลในระยะต่อมา เพศหญิงมักพบ
อาการเป็นแผลบริเวณผนังช่องคลอดหรือปากมดลูก บางรายอาจพบอาการตกขาว เจ็บแสบหากมีการร่วมเพศ
แผลที่เกิดมีลักษณะกระรุ่งกระริ่ง ขอบแผลนุ่ม ก้นแผลสกปรก มีหนอง หากสัมผัสนํ้าหรือสบู่จะเจ็บแสบ
– โรคนห้ี ากไมไ่ ด้รบั การรกั ษาทีถ่ ูกต้อง เชื้อจะลุกลามไปยังบริเวณต่อมน้ําเหลืองขาหนีบ ทําให้เกิดฝี เป็นหนอง
และฝีแตก มกั เปน็ แผลทหี่ ายยาก

5. ฝีมะมว่ ง หรอื กามโรคตอ่ มนํ้าเหลือง และท่อน้ําเหลือง (Lymphogranuloma venereum) เกิด
จากเชื้อแบคทีเรียชื่อ Chlamydia trachomatis ตืดต่อ และแพร่เชื้อทางเพศสัมพันธ์ อาการเริมแรกหลังติด
เช้ือ 1-4 สัปดาห์ จะพบตุ่ม และแผลต้ืนบริเวณอวัยวะเพศ ซ่ึงจะหายในเวลา 3-7 วัน ต่อมาจะพบอาการต่อม
น้าํ เหลอื งทีข่ าหนบี โต บวม และเป็นฝี มอี าการอักเสบ แสบรอ้ น บางรายฝอี าจยบุ หายหรือแตกเป็นแผลเรื้อรงั

อาการของโรค แบง่ เปน็ 3 ระยะ คอื
– ระยะทห่ี นง่ึ เชอ้ื ทเี่ ข้าสูร่ า่ งกายทางรอยแผล รอยถลอก บรเิ วณทต่ี ิดเชื้อจะเกิด Trombolymphangitis
กลายเปน็ ตุม่ หรือแผลตื้นๆ
– ระยะท่สี อง เรียกวา่ inguinal syndrome เชื้อจะลุกลามไปตามท่อนํ้าเหลือง ทําใหเ้ กิดการอักเสบทตี่ อ่ ม

63

นํ้าเหลือง inguinal และ femeral กลายเป็นฝมี ะม่วง ระยะน้ี มักพบผปู้ ่วยเข้าพบแพทย์มากท่ีสดุ ซง่ึ แพทย์
สามารถแยกแยะโรคฝีมะมว่ ง และแผลรมิ อ่อนไดง้ า่ ยขนึ้
– ระยะทส่ี าม เรยี กวา่ anogenitorectal sybdrome ในระยะท้ายของโรคเกดิ ขึ้นใน 1-2 ปี ให้หลงั ซง่ึ การ
อกั เสบจะส้นิ สดุ ลง โดยมี fibrosis มากขึ้น จนมกี ารอดุ ตันของทอ่ น้าํ เหลือง การติดเช้ืออาจลกุ ลาม และเร้ือรงั

6. กามโรคเรอื้ รังทข่ี าหนบี (Gronuloma inguinale) เปน็ โรคท่เี กดิ จากเชอ้ื แบคทเี รยี
Calymmatobacterium granulomatis ตดิ ตอ่ และแพร่เชอื้ ทางเพศสัมพนั ธ์ พบอาการท้งั หญิง และชายใน
ลักษณะเป็นแผลเร้อื รงั ท่บี รเิ วณอวยั วะเพศ และโดยเฉพาะบริเวณซอกขาหนีบ และอาจลามถงึ บริเวณหน้า
ปาก และคอ

7. เรมิ ท่ีอวยั วะเพศ (Genital Herpes) เปน็ โรคผิวหนงั ทเี่ กิดบรเิ วณอวัยวะเพศ ทีเ่ กดิ จากการติดเช้ือ
ไวรสั Herpes simplex virus type II (HSV-II) ตา่ งจากเชื้อไวรสั Herpes simplex virus type I (HSV-I) ท่ี
ทําใหเ้ กิดเริมบริเวณริมฝปี าก อาการของโรคจะพบมีตมุ่ ใสขนาดเล็กเปน็ จุดๆบรเิ วณอวัยวะเพศ และจะแตก
เปน็ แผลตามจดุ ของต่มุ ใส หลงั จากน้นั แผลจะหายเป็นสะเกด็ ไม่เป็นแผลเป็น

8. หูดหงอนไก่ (Condyloma acuminata) เป็นโรคที่เกิดจากเช้ือไวรัส Human Papilloma Virus
(HPV) สามารถติดต่อได้ทางเพศสัมพันธ์ เมื่อติดเชื้อจะเกิดก้อนเนื้อท่ีเป็นลักษณะของหูดเกิดข้ึนรอบๆบริเวณ
อวัยวะสืบพันธ์ บางครั้งอาจพบเกิดบริเวณทวารหนักด้วย รวมถึงอวัยวะภายใน เช่น ท่อปัสสาวะ และปาก
มดลูก ก้อนหูดจะค่อยๆโต และลุกลามขยายมากขึ้นหากไม่ได้รับการรักษา อาการท่ีเกิดขึ้นจะมีลักษณะคัน
บริเวณก้อนหดู แตไ่ ม่มอี าการเจ็บหรือปวดแตอ่ ย่างใด

9. โรคเอดส์ (Aids) ถือเป็นโรคท่ีติดต่อ และแพร่เช้ือได้ทางบาดแผล และเพศสัมพันธ์ท่ีอันตรายท่ีสุด
ในบรรดากามโรคทั้งหมด เน่ืองจากยังไม่มียารักษา และอาการของโรคสามารถทําให้ผู้ป่วยเสียชีวิตทุกราย แต่
อาจใช้เวลานานหลายปีกว่าอาการของโรคจะกําเริบ โรคนี้เป็นโรคท่ีเกิดจากเช้ือไวรัส HIV (Human
immunodeficiency Virus) เม่ือมีการติดเชื้อ เช้ือจะแพร่กระจาย และค่อยๆทําลายระบบภูมิคุ้มกันของ
ร่างกายจนเป็นสาเหตุทําให้ร่างกายอ่อนแอไม่มีภูมิต้านทานโรคทําให้เกิดโรคแทรกซ้อนต่างๆตามมาจนเป็น
สาเหตุของการเสียชวี ิตในทีส่ ุด

กามโรค หากไม่ได้รับการรักษาจะทําให้ระบบภูมิต้านทานลดลงมีโอกาสเสี่ยงต่อการติด เช้ือโรคชนิด
อื่นได้ง่าย รวมถึงการเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอดส์ด้วย กลุ่มของโรคกามโรคสามารถรักษาให้หายได้ด้วยการ
รับประทานยาปฏิชวี นะ ยกเว้นโรคเอดส์ทีย่ งั ไมม่ ียารกั ษา

กลุ่มอาการโรคตดิ ตอ่ ทางเพศสัมพนั ธ์
>>>>>>โรคเอดส<์ <<<<<<<
เป็นโรคทีเ่ ริ่มมรี ายงานเมอ่ื ปี 1981 เกดิ จากเชือ้ human immunodeficiency virus (HIV), ซ่ึงเปน็ เชือ้ ที่
ทาํ ลายระบบภมู คิ มุ้ กนั ของรา่ งกาย ทําใหผ้ ้ปู ว่ ยตดิ เชอ้ื พวกฉวยโอกาสและมะเร็ง

64

>>>>>การติดเช้อื clamydia<<<<<<
เป็นโรคตดิ เชื้อแบคทเี รียท่ีพบบ่อยทส่ี ุด ทาํ ให้เกดิ อาการมีหนองไหลและมอี าการระคายเคืองบริเวณอวยั วะเพศ
สาํ หรับผหู้ ญิงท่ไี ม่ไดร้ กั ษาอาจจะทาํ ใหเ้ กดิ การอกั เสบในช่องเชิงกรานเป็นหมนั หรอื ตงั้ ครรภน์ อกมดลูก
>>>>>เริมที่อวยั วะเพศ<<<<<
เป็นโรคติดตอ่ ทางเพศสมั พันธท์ ีเ่ กดิ เชอ้ื ไวรัส herpes simplex virus ทําใหเ้ กดิ อาการปวดแสบบริเวณขา ก้น
หรืออวัยวะเพศ และตามด้วยผื่นเปน็ ตุม่ นา้ํ ใส แผลหายไดเ้ องใน 2-3 สปั ดาห์แตเ่ ช้ือยังอย่ใู นร่างกาย เม่อื
รา่ งกายออ่ นแอ เชือ้ ก็จะกลบั เปน็ ใหม่

3.2 โรคเอดส์ (AIDS) คืออะไร (wikipedia.org)

โรคเอดส์ หรือ โรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง (Acquired Immune Deficiency Syndrome - AIDS) เป็น
กลมุ่ อาการเจบ็ ปว่ ยท่เี กดิ ข้ึนเพราะร่างกายได้รับเชื้อไวรัสเอชไอวี (HIV) ซ่ึงจะเข้าไปทําลายเม็ดเลือดขาว ที่เป็น
แหลง่ สรา้ งภมู ิคุ้มกันโรค ทาํ ใหภ้ มู ิค้มุ กนั โรคลดน้อยลง จึงทําใหต้ ิดเชอื้ โรคฉวยโอกาสแทรกซ้อนเข้าสู่ร่างกายได้
ง่ายข้ึน เช่น วัณโรคในปอด หรือต่อมนํ้าเหลือง เย่ือหุ้มสมองอักเสบจากเช้ือรา โรคผิวหนังบางชนิด หรือเป็น
มะเร็งบางชนิดได้ง่ายกว่าคนปกติ ซึ่งสาเหตุของการเสียชีวิตมักเกิดข้ึนจากโรคติดเชื้อฉวยโอกาสต่าง ๆ เหล่านี้
ทาํ ให้อาการจะรนุ แรง และเสียชีวิตอยา่ งรวดเรว็

ปัจจุบันโรคเอดส์มีการตรวจพบทั่วโลก และประมาณการว่ามีผู้เสียชีวิตเน่ืองจากโรคเอดส์ อย่างน้อย
25 ล้านคน ตงั้ แตถ่ ูกค้นพบในปี พ.ศ. 2524 (ค.ศ. 1981) นับเป็นโรคท่ีมีอันตรายสูงโรคหนึ่งของประวัติศาสตร์
มนษุ ย์ชาติ ในปี พ.ศ. 2548 ประมาณการว่ามีผู้ติดโรคเอดส์ประมาณ 3.1 ล้านคน(ระหว่าง 2.8 - 3.6 ล้าน) ซึ่ง
570,000 คนของผู้ป่วยโรคเอดส์เป็นเด็ก (UNAIDS, 2005)
เอดสต์ ดิ ต่อกนั ได้อย่างไร

1. การรว่ มเพศ โดยไมใ่ ช้ถุงยางอนามัย ไมว่ ่าชายกับชาย ชายกับหญงิ หรอื หญงิ กับหญงิ ท้ังช่องทาง
ธรรมชาติ หรอื ไม่ธรรมชาติ ก็ล้วนมีโอกาสติดโรคน้ไี ดท้ ง้ั สน้ิ และปัจจัยทท่ี ําใหม้ ีโอกาสตดิ เชอื้ มากขึ้น ไดแ้ ก่
การมแี ผลเปดิ และจากข้อมูลของสํานกั ระบาดวทิ ยา ประมาณรอ้ ยละ 84 ของผู้ปว่ ยเอดส์ ไดร้ บั เชื้อจากการมี
เพศสมั พนั ธ์

2. การรับเช้อื ทางเลอื ด
- ใชเ้ ข็มหรอื กระบอกฉดี ยาร่วมกบั ผ้ตู ดิ เช้ือเอดส์ มักพบในกลุ่มผฉู้ ดี ยาเสพติด และหากคนกลุ่มนตี้ ิด
เชอ้ื ก็สามารถถา่ ยทอดเชอ้ื เอดส์ ทางเพศสมั พนั ธไ์ ดอ้ ีกทางหนง่ึ
- รบั เลือดในขณะผ่าตดั หรือเพ่อื รักษาโรคเลอื ดบางชนิด ในปัจจบุ นั เลอื ดทีไ่ ด้รบั บรจิ าคทุกขวด ต้อง
ผ่านการตรวจหาการตดิ เชื้อเอดส์ และจะปลอดภยั เกอื บ 100%
3. ทารก ติดเชอื้ จากแม่ทต่ี ดิ เช้อื เอดส์ การแพรเ่ ชอื้ จากแมส่ ลู่ กู ผ้หู ญิงท่ตี ิดเชอื้ เอดส์ หากตัง้ ครรภ์
และไม่ได้รบั การดูแลอย่างดี เชอื้ เอช ไอ วี จะแพร่ไปยังลูกได้ ในอัตรารอ้ ยละ 30 จากกรณีเกิดจากแมต่ ดิ เช้ือ
จึงมีโอกาสทจ่ี ะรบั เช้อื เอช ไอ วี จากแมไ่ ด้
เอดส์ มอี าการอย่างไร
คนท่สี มั ผสั กับโรคเอดส์หรอื คนที่ได้รบั เช้อื เอดสเ์ ขา้ ไปในรา่ งกายม่จาํ เปน็ ตอ้ งมกี ารตดิ เชอื้ เอดสเ์ สมอไป
ขน้ึ กบั จํานวนครัง้ ท่สี มั ผสั จาํ นวนและความดรุ ้ายของไวรัสเอดส์ทเ่ี ขา้ สู่ร่างกายและภาวะภูมติ ้านทานของ
รา่ งกายถ้ามีการตดิ เชื้ออาการทเ่ี กิดขน้ึ มไี ด้หลายรูปแบบหรอื หลายระยะตามการดําเนินของโรค

65

ระยะที่ 1 : ระยะทไ่ี ม่มอี าการอะไร
ภายใน2-3 อาทิตย์แรกหลังจากได้รับเชื้อเอดส์เข้าไป ราวร้อยละ 10 ของผู้ติดเช้ือจะมีอาการคล้ายๆ
ไข้หวัด คือมีไข้ เจ็บคอ ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตามตัว ต่อมน้ําเหลืองโต ผ่ืนตามตัว แขน ขาชาหรืออ่อนแรง
เป็นอยู่ราว 10-14 วันก็จะหายไปเอง ผู้ป่วยส่วนใหญ่อาจไม่สังเกต นึกว่าคงเป็นไข้หวัดธรรมดาราว 6-8
สปั ดาหภ์ ายหลังตดิ เชอ้ื ถา้ ตรวจเลือดจะเริ่มพบว่ามีเลือดเอดส์บวกได้ และส่วนใหญ่จะตรวจพบว่ามีเลือดเอดส์
บวกภายหลงั 3 เดอื นไปแลว้ โดยทผี่ ู้ติดเชื้อจะไม่มีอาการอะไรเลยเพียงแต่ถ้าไปตรวจก็จะพบว่ามีภูมิคุ้นเคยต่อ
ไวรัสเอดส์อยใู่ นเลือดหรอื ทเ่ี รียกว่าเลือดเอดส์บวกซ่ึงแสดงว่ามีการติดเช้ือเอดส์เข้าไปแล้วร่างกายจึงตอบสนอง
โดยการสร้างโปรตีนบางอย่างขึ้นมาทําปฏิกิริยากับไวรัสเอดส์เรียกว่าแอนติบอดีย์(antibody)เป็นเคร่ืองแสดง
ว่าเคยมีเชื้อเอดส์เข้าสู่ร่างกายมาแล้วแต่ก็ไม่สามารถจะเอาชนะไวรัสเอดส์ได้คนท่ีมีเลือดเอดส์บวกจะมีไวรัส
เอดส์อยู่ในตัวและสามารถแพร่โรคให้กับคนอ่ืนได้ น้อยกว่าร้อยละ 5 ของคนท่ีติดเชื้ออาจต้องรอถึง 6 เดือน
กว่าจะมีเลือดเอดส์บวกได ดังนั้นคนที่มีพฤติกรรมเส่ียงมา เช่น แอบไปมีสัมพันธ์กับหญิงอื่นท่ีไม่ใช่ภรรยา โดย
ไมไ่ ดใ้ สถ่ งุ ยางอนามยั ป้องกนั ตรวจตอน 3 เดือน แล้วไม่พบก็ต้องไปตรวจซํ้าอีกตอน6เดือนโดยในระหว่างน้ันก็
ต้องใสถ่ งุ ยางอนามัยทุกครั้งเวลามีเพศสัมพนั ธ์กับภรรยาและห้ามบริจาคโลหิตให้ใครในระหว่างน้ันผู้ติดเช้ือบาง
รายอาจมีต่อมนาํ้ เหลอื งตามตวั โตไดโ้ ดยโตอยูเ่ ปน็ ระยะเวลานานๆ คือเป็นเดือนๆ ขึ้นไป ซงึ่ บางรายอาจคลําพบ
เอง หรือไปหาแพทย์แล้วแพทย์คลําพบ ต่อมนํ้าเหลืองที่โตน้ีมีลักษณะเป็นเม็ดกลมๆ แข็งๆ ขนาด1-2
เซนตเิ มตร อยู่ใต้ผวิ หนงั บริเวณดา้ นขา้ งคอทัง้ 2 ข้าง(รูปที่ 2) ข้างละหลายเม็ดในแนวเดียวกัน คลําดูแล้วคลาย
ลูกประคําท่ีคอไม่เจ็บ ไม่แดง นอกจากท่ีคอต่อมน้ําเหลืองท่ีโตยังอาจพบได้ที่รักแร้และขาหนีบทั้ง 2 ข้าง แต่
ต่อมน้ําเหลืองท่ีขาหนีบมีความสําคัญน้อยกว่าที่อ่ืนเพราะพบได้บ่อยในคนปกติทั่วไป ต่อมนํ้าเหลืองเหล่าน้ีจะ
เปน็ ท่พี กั พงิ ในชว่ งแรกของไวรัสเอดส์ โดยไวรัสเอดสจ์ ะแบ่งตัวอย่างมากในตอ่ มนา้ํ เหลืองท่โี ตเหลา่ นี้

ระยะที่ 2 : ระยะท่ีเริ่มมีอาการหรือระยะทีม่ ีอาการสัมพนั ธ์กบั เอดส์
เป็นระยะที่คนไข้เริ่มมีอาการ แต่อาการน้ันยังไม่มากถึงกับจะเรียกว่าเป็นโรคเอดส์เต็มข้ัน อาการ
ในช่วงนี้อาจเป็นไข้เร้ือรัง นํ้า หนักลด หรือท้องเสียงเร้ือรัง โดยไม่ทราบสาเหตุ นอกจากนี้อาจมีเช้ือราในช่อง
ปาก(รูปท่ี 3), งสู วดั (รูปท่ี 4), เรมิ ในชอ่ งปาก หรอื อวัยวะ เพศ ผื่นคันตามแขนขา และลําตัวคล้ายคนแพ้นํ้าลาย
ยุง(รูปท่ี 5) จะเห็นได้ว่า อาการที่เรียกว่าสัมพันธ์กับเอดส์นั้น ไม่จําเพาะสําหรับโรคเอดส์เสมอไป คนที่เป็นโรค
อื่นๆ ก็อาจมีไข้ นํ้าหนักลด ท้องเสีย เช้ือราในช่องปาก งูสวัด หรือเริมได้ ดังนั้นจึงไม่ใช่ว่าถ้ามีอาการเหล่าน้ี
จะตอ้ งเหมาว่าตดิ เชอื้ เอดส์ไปทกุ ร้าย ถ้าสงสัยควรปรกึ ษา แพทยแ์ ละตรวจเลือดเอดสพ์ ิสูจน์

ระยะที่ 3 : ระยะโรคเอดส์เต็มข้นั หรือทภ่ี าษาทางการเรียกวา่ โรคเอดส์
เปน็ ระยะที่ภูมิต้านทานของร่ายกายเสียไปมากแล้วผู้ป่วยจะมีอาการของการติดเชื้อจําพวกเช้ือฉกฉวย
โอกาสบ่อยๆและเป็นมะเร็งบางชนิดเช่นแคโปซี่ซาร์โคมา(Kaposi'ssarcoma)และมะเร็งปากมดลูก การติดเช้ือ
ฉกฉวยโอกาสหมายถึงการติดเชื้อท่ีปกติมีความรุนแรงตํ่าไม่ก่อโรคในคนปกติแต่ถ้าคนน้ันมีภูมิต้านทานตํ่าลง
เช่นจากการเป็นมะเร็งหรือจากการได้รับยาละทําให้เกิดวัณโรคท่ีปอดต่อมนํ้าเหลืองตับหรือสมองได้ รองลงมา
คือเชือ้ พยาธิท่ีช่ือว่านิวโมซิส-ตีส-คารนิ ไิ อ ซึ่งทาํ ให้เกิดปอดบวมข้ึนได้(ไข้ ไอ หายใจเหนื่อยหอบ) ต่อมาเป็นเช้ือ
ราท่ีช่ือ คริปโตคอคคัสซึ่งทําให้เยื่อหุ้มสมองอักเสบ มีอาการไข้ ปวดศีรษะ ซึมและอาเจียน นอกจากน้ียังมีเช้ือ
ฉกฉวยโอกาสอีกหลายชนิด เช่นเช้ือพยาธิท่ีทําให้ท้องเสียเรื้อรัง และเช้ือซัยโตเมก กะโลไวรัส (CMV) ท่ีจอตา
ทําให้ตาบอด หรือท่ีลําไส้ทําให้ปวดท้อง ท้องเสีย และถ่ายเป็นเลือดเป็นต้นในภาคเหนือตอนบน มีเชื้อราพิเศษ
ชนิดหนึ่งชื่อ เพนนิซิเลียว มาร์เนฟฟิโอ ชอบทําให้ติดเชื้อท่ีผิวหนัง(รูปท่ี 6) ต่อมนํ้าเหลืองและมีการติดเชื้อใน

66

กระแสโลหิตแคโปซ่ี ซาร์โค มา เป็นมะเร็งของผนังเส้นเลือด ส่วนใหญ่จะพบตามเส้นเลือดที่ผิวหนัง มีลักษณะ
เป็นตุ่มนูนสีม่วงๆ แดงๆ บนผิวหนัง คล้ายจุดห้อเลือด หรือไฝ ไม่เจ็บไม่คันค่อยๆ ลามใหญ่ข้ึน ส่วนจะมีหลาย
ตุ่ม(รูปท่ี 7) บางคร้ังอาจแตกเป็นแผล เลือดออกได้ บางคร้ังแคโปซ่ีซาร์โคมา อาจเกิดในช่องปากในเย่ือบุ
ทางเดินอาหาร ซึ่งอาจทําให้มีเลือดออกมากๆ ได้ นอกจากนี้ ผู้ป่วยอาจเป็นมะเร็งต่อมนํ้าเหลือง หรือมะเร็ง
ปากมดลูกได้ ดังนั้นผู้หญิงที่ติดเชื้อเอดส์จึงควรพบแพทย์เพ่ือตรวจมะเร็งปากมดลูกทุก 6 เดือน นอกจากน้ี
คนไข้โรคเอดส์เต็มข้ันอาจมีอาการทางจิตทางประสาทได้ด้วยโดยท่ีอาจมีอาการหลงลืมก่อนวัย เนื่องจากสมอง
ฝ่อเหี่ยว หรือมีอาการของโรคจิต หรืออาการชักกระตุก ไม่รู้สึกตัว แขนขาชาหรือไม่มีแรง บางรายอาจมีอาการ
ปวดร้าวคล้ายไฟช๊อตหรือปวดแสบปวดร้อน หรืออาจเป็นอัมพาตครึ่งท่อน ปัสสาวะ อุจจาระไม่ออก เป็นต้น
ในแต่ละปีหลังติดเช้ือเอดส์ร้อยละ 5-6 ของผู้ท่ีติดเช้ือจะก้าวเข้าสู่ระยะเอดส์เต็มข้ันส่วนใหญ่ของคนที่เป็นโรค
เอดสเ์ ต็มขน้ั แล้ว จะเสียชีวติ ภายใน2-4 ปี จากโรคติดเช้ือฉกฉวยโอกาสที่เป็นมาก รักษาไม่ไห หรือโรคติดเชื้อที่
ยังไม่มียาท่ีจะรักษาอย่างได้ผล หรือเสียชีวิตจากมะเร็งที่เป็นมากๆ หรือค่อยๆ ซูบซีดหมดแรงไปในท่ีสุด พบว่า
ยาต้านไวรัสเอดส์ที่ใช้กันอยู่ในขณะน้ีในประเทศตะวันตกสามารถยืดชีวิตคนไข้ออกไปได้10 - 20 ปีและมี
คณุ ภาพชีวิตดีขนึ้ หรอื อาจอยจู่ นแก่ตายได้

ปอ้ งกนั ตัวเอง ไม่ให้ตดิ เช้ือเอดส์ ไดอ้ ยา่ งไร
รกั เดียว ใจเดยี ว หากจะมเี พศสมั พันธก์ ับหญิง ควรใชถ้ ุงยางอนามัยทุกครัง้ ท่มี ีเพศสัมพนั ธ์
ขอรบั บริการปรึกษา เร่ือง โรคเอดส์ ก่อนแตง่ งาน และกอ่ นที่จะมบี ตุ รทกุ ทอ้ ง
ไมด่ ่ืมเหล้า และงดใช้สารเสพตดิ ทุกชนดิ วิธีใช้ถุงยางอนามยั
- หลังจากตรวจสอบว่า ถุงยางอนามยั ไมห่ มดอายุ ซองไม่มีรอยฉีกขาด ฉกี มุมซองโดยระมดั ระวัง ไม่ให้

เล็บมอื เกี่ยวถุงยางอนามยั ขาด
- ใชถ้ งุ ยางอนามัยในขณะทอี่ วัยวะเพศแขง็ ตวั บีบปลายถุงยาง เพ่ือไล่อากาศ
- รูดถงุ ยางอนามัย โดยใหม้ ว้ นขอบอยูด่ า้ นนอก
- สวมถงุ ยางอนามัย แล้วรูดใหข้ อบถงุ ยางอนามัย ถึงโคนอวัยวะเพศ
- หลังเสรจ็ กิจ ควรรบี ถอดถงุ ยางอนามัย ในขณะทอี่ วยั วะเพศยังแข็งตวั โดยใช้กระดาษชาํ ระหุ้มถุงยาง

อนามัยก่อนทจ่ี ะถอด หากไมม่ กี ระดาษชาํ ระต้องระวัง ไมใ่ หม้ ือสัมผสั กบั ดา้ นนอกของถุงยาง ควรสนั นิษฐานว่า
ด้านนอกของถุงยาง อาจจะปนเปือ้ นเช้ือเอดส์แล้ว

- ทงิ้ ถุงยางอนามยั ที่ใช้แล้ว ลงในภาชนะรองรบั เช่น ถังขยะ

วนั เอดสโ์ ลก
วนั ท่ี 1 ธันวาคม ของทกุ ปี ซึ่งองค์การอนามัยโลกได้กําหนดใหเ้ ปน็ วนั เอดสโ์ ลก

วตั ถุประสงคข์ องวันเอดสโ์ ลก
1. เพอ่ื ให้ทุกคนไดต้ ระหนกั ถึงอนั ตรายจากการติดต่อและการเจบ็ ปว่ ยด้วยโรคเอดส์
2. เพื่อสรา้ งเสริมและสนบั สนนุ ให้มมี าตรการการปอ้ งกันให้มากยิง่ ข้ึนในสังคมทกุ ระดบั
3. เพ่ือให้มกี ารจัดกิจกรรมตอ่ ต้านตา่ งๆ ดาํ เนนิ ไปอย่างต่อเนอื่ ง
4. เพอ่ื สง่ เสริมให้เกดิ การยอมรับและหว่ งใยต่อผู้ปว่ ยและผตู้ ดิ เชื้อ
5. เพ่อื เผยแพรค่ วามรู้เกยี่ วกบั โรคเอดสใ์ หก้ วา้ งขวางยิ่งข้ึน

67

แบบทดสอบหลังเรยี น
เรอ่ื ง เพศศึกษา

จงเลอื กขอ้ คําตอบทีถ่ ูกต้องทส่ี ุด
1. นกั เรยี นคิดว่าขอ้ ใดให้ความหมายของเพศศึกษาชดั เจนทส่ี ุด

ก. การสอนหรอื การใหก้ ารศกึ ษาเกยี่ วกับเร่ืองเพศ
ข. การศึกษาเกี่ยวกบั พฤตกิ รรมตา่ งๆของมนษุ ยใ์ นเรอื่ งระบบการสบื พันธุ์
ค. การศกึ ษาเกีย่ วกบั การสบื พันธุ์ และความเข้าใจในพฤตกิ รรมระหวา่ งเพศ

2. นกั เรียนคดิ ว่าเพศศาสตร์คอื อะไร
ก. การสอนเกี่ยวกบั ลกั ษณะทางร่างกาย จติ ใจ และอารมณข์ องมนษุ ย์
ข. ศาสตร์ท่ีวา่ ดว้ ยเรื่องการควบคุมพฤติกรรมทางเพศ และความสัมพันธร์ ะหวา่ งสองเพศ
ค. ศาสตร์หรอื วทิ ยาการที่เกี่ยวข้องกบั พฤติกรรมทางเพศของมนุษย์

3. นักเรียนคิดว่าส่วนหนึ่งของความรกั คือ ความเข้าใจ (Understanding) มคี วามหมายว่าอย่างไร
ก. ความเห็นใจและการเอาใจเขามาใส่ใจเรา
ข. การเตรยี มพร้อมทีจ่ ะให้ความช่วยเหลอื ต่อคนรักของตนตลอดเวลา
ค. ความเต็มใจทีจ่ ะทมุ่ เทกาํ ลงั กายกําลงั ใจ เพื่อคนรักของตนตลอดเวลา

4. ในประเภทการคุมกาํ เนดิ ชนิดช่วั คราว ขอ้ ใดไม่เขา้ พวก
ก. ยาคุมชนิดเมด็ รวม
ข. ยาฉีดคมุ กําเนดิ
ค. หว่ งอนามัยคุมกาํ เนิด

5. ขอ้ ใดกล่าวไม่ถกู ต้องเกีย่ วกบั ลกั ษณะนิสยั ของวยั รุ่น
ก. วัยรุ่นตอนต้นยังมลี ักษณะของเด็กอยู่ คอื เอาแตใ่ จตนเอง ยดึ ความคดิ ของตนเองเป็นศนู ย์กลาง
ข. วัยร่นุ ที่เปน็ เพอ่ื นรกั กนั ในเรอ่ื งเงนิ ทองยอ่ มชว่ ยเหลือกนั อยา่ งเตม็ ใจ แต่ความลับจะไมเ่ ปิดเผยให้

กนั เพอ่ื ความสบายใจของทง้ั สองฝ่าย
ค.วยั รุ่นทีค่ บเพื่อนอายุมากกวา่ เพราะเหน็ ว่าจะไดป้ ระสบการณแ์ ละประโยชนห์ ลายอย่าง

6. หลาย ๆ คนไดใ้ ห้ความเห็นเก่ียวกบั เพ่ือนว่า "เพื่อนนนั้ สาํ คัญไฉน" นกั เรียนคิดวา่ ขอ้ ใดไม่ใชค่ วามคดิ เห็น
ก. ถ้าเราไม่อยากให้เพ่อื นไม่สบายใจ เราก็ไม่ควรบอกเก่ียวกับเร่ืองทเี่ รากล้มุ ใจหรือเสยี ใจอะไร
ข. เพอื่ นนนั้ รว่ มทุกขร์ ่วมสขุ กบั เราได้ทุกเมื่อ
ค. เราสามารถบอกความในใจ ความผิด สงิ่ ทน่ี า่ อับอายใหเ้ พ่ือนฟังได้อยา่ งกลา้ หาญ

7. AIDS ย่อมาจากอะไร
ก. Acquired Immuno Deficiency Syndrome
ข. Acquired Immuno Disease Syndrome
ค. Acquired Immuno Diseases Syndrome

68

8. ข้อใดไมใ่ ช่สาเหตขุ องการติดเช้อื โรคเอดส์
ก. ทางเพศสัมพันธก์ บั บคุ คลที่เป็นโรคเอดส์
ข. ทางแม่สลู่ ูกขณะตงั้ ครรภ์
ค. พูดคยุ กบั ผทู้ ่ีเปน็ โรคเอดส์

9. วธิ ีการคมุ กาํ เนิดชนดิ ชัว่ คราวประเภทใด ทีใ่ ชแ้ ล้วสามารถลดการเกดิ สวิ ได้
ก. ยาคมุ กําเนดิ ชนดิ เม็ดรวมประเภทฮอร์โมนตา่ํ
ข. ยาคมุ กาํ เนิดชนดิ เมด็ รวมประเภทฮอรโ์ มนปานกลาง
ค. ยาฉีดคมุ กาํ เนิดชนิดเจอื จาง

10. การรับประทานยาคมุ กําเนิดหลงั ร่วมเพศไมค่ วรเกนิ 4 เม็ดตอ่ เดอื น เพราะเหตใุ ด
ก. เพราะทําใหอ้ ว้ นและเกดิ สิวฝา้ ได้
ข. เพราะอาจทําใหป้ ระจําเดือนออกผิดปกติได้
ค. เพราะอาจทาํ ใหโ้ พรงมดลกู เกดิ การอกั เสบได้

เฉลยแบบทดสอบ กอ่ น-หลังเรียน

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
คคกคขคกคขข

69

ใบงานที่ 3
เร่อื ง เพศศกึ ษา

จงตอบคําถามต่อไปน้ีใหถ้ กู ต้อง
1.คา่ นิยมทางเพศทเ่ี หมาะสมกบั สังคมและวัฒนธรรมไทย ที่สามารถปฏบิ ตั ไิ ด้ คอื
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

2.ความผดิ ปกติทางเพศ หมายถึง
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

3.โรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พนั ธ์ มีโรคอะไรบา้ ง
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

4.ผู้ทเี่ ปน็ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ตอ้ งปฏบิ ัติตวั อย่างไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

5.ป้องกนั ตัวเอง ไมใ่ หต้ ดิ เชอื้ เอดส์ ไดอ้ ย่างไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

70

แผนการเรียนร้ปู ระจาํ บท

บทที่ 4 การออกกําลังกายและการเลน่ กีฬา ท้งั ประเภทบคุ คลและประเภททีม
กฬี าไทยและกีฬาสากล

สาระสาํ คญั
รู้ เข้าใจ เรื่อง การออกกําลังกายและการเล่นกีฬา ทั้งประเภทบุคคลและประเภททีม กีฬาไทยและ

กีฬาสากล มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม เจตคติท่ีดี มที ักษะในการดูแลและสรา้ งเสริมการมพี ฤติกรรมสุขภาพที่ดีปฏิบัติ
จนเปน็ กจิ นิสยั วางแผนพฒั นาสขุ ภาพ ดํารงสขุ ภาพของตนเองและครอบครวั ตลอดจนสนับสนุนให้ชุมชนมีส่วน
รว่ มในการส่งเสรมิ ด้านสขุ ภาพพลานามัยทดี่ ี

ผลการเรยี นรทู้ ่คี าดหวงั
1. มคี ่านิยมทดี่ ใี นเรื่องเพศและเข้าใจในธรรมชาตขิ องการเกิดอารมณ์ทางเพศ
2. อธบิ ายวัฒนธรรมทม่ี ผี ลต่อพฤตกิ รรมทางเพศและสามารถจัดการได้ถูกตอ้ งเหมาะสม
3. หลีกเลย่ี งและปอ้ งกันตนเองจากความเสย่ี ง ตอ่ การตดิ โรคทางเพศสัมพันธ์

ขอบขา่ ยเนอื้ หา
เรื่องที่ 1 หลกั การ รปู แบบวธิ กี ารออกกําลงั กาย
เรอ่ื งท่ี 2 ประเภทของกจิ กรรมพลศึกษา เกม และชนิดของกฬี า
เรอื่ งที่ 3 ทักษะการเคลื่อนไหวเฉพาะประเภทกีฬา
เรื่องที่ 4 ประโยชน์ของการออกกาํ ลงั กายและการเลน่ กีฬา

กิจกรรมการเรียนรู้
1. ทาํ แบบทดสอบกอ่ น-หลังเรียน
2. ศึกษาเอกสารประกอบการเรียนรู้
3. ปฏิบัตกิ ิจกรรมตามท่ไี ดร้ บั มอบหมาย
4. ทาํ ใบงาน/แบบทดสอบหลังเรียน

สื่อประกอบการเรยี นรู้
1. เอกสารประกอบการเรียนรู้
2. ใบงาน/ใบความรู้
3. ส่ือวดี ที ศั น/์ วซี ีดี
4. รูปภาพโปสเตอร์

ประเมนิ ผล
1. จากการสังเกตพฤติกรรมการมสี ่วนรว่ มของนักศกึ ษา
2. ใบงาน/ช้ินงานท่ีมอบหมาย
3. แบบทดสอบกอ่ น-หลงั เรยี น

71

แบบทดสอบก่อนเรยี น
เร่อื ง การออกกําลังกายและการเล่นกีฬา ทั้งประเภทบคุ คลและประเภททมี

กฬี าไทยและกีฬาสากล

จงเลอื กข้อคาํ ตอบทถ่ี กู ตอ้ งท่สี ุด

1. ขอ้ ใดเปน็ การเคลอ่ื นไหวแบบไมเ่ คล่อื นทท่ี ัง้ หมด
ก. การก้ม การบิด
ข. การดนั การเดิน
ค. การเดิน การเขย่ง
ง. การเขยง่ การบดิ

2. ข้อใดเปน็ ขอ้ ตอ่ ทสี่ ามารถเคล่อื นไหวไดม้ ากกวา่ บรเิ วณอ่นื
ก. กระดกู ข้อมอื กระดูกหวั เหนา่
ข. กระดกู ขอ้ มอื ขอ้ ต่อกระดกู สันหลงั
ค. ขอ้ ต่อกระดูกสนั หลงั กระดกู หวั เหนา่
ง. ข้อตอ่ ที่สะโพก ขอ้ ต่อทีห่ วั ไหล่

3. สว่ นใดของร่างกายที่พบกลา้ มเนอื้ เรยี บ
ก. ใบหนา้
ข. ลําตวั
ค. หัวใจ
ง. ตบั

4. อวยั วะใดทําหนา้ ทีค่ วบคุมการทรงตวั ของร่างกาย
ก. แขนและขา
ข. ขาและลําตัว
ค. หชู ั้นกลางและกระดูกกน้ หอย
ง. หูชัน้ ในและของเหลว

5. ขอ้ ใดคอื คณุ สมบัติทสี่ าํ คญั ของนักกฬี า
ก. มีความโอบอ้อมอารี
ข. มีความม่ันใจในตนเอง
ค. มีความสภุ าพออ่ นนอ้ ม
ง. การรู้จักแพ้ รจู้ ักชนะ และรูจ้ ักการใหอ้ ภัย

72

6. ข้อใดปฏิบตั ติ นถูกตอ้ งในการเลน่ กฬี า
ก. แสดงความเป็นมิตรกับฝา่ ยตรงข้าม
ข. พูดจาถากถางฝา่ ยตรงข้าม
ค. เมอ่ื ฝ่ายตนเองแพ้ ขอใหก้ รรมการจัดการแข่งขันใหม่
ง. ต่อว่าเพอื่ นทีท่ าํ ให้ทมี เสยี คะแนน

7. ข้อใดไมใ่ ช่วธิ กี ารสร้างความสขุ ย่ังยืนในการแข่งขันกีฬา
ก. ปรบั ความคิดของตนเอง
ข. ปรับปรุงขอ้ เสียของตน
ค. คดิ ที่จะต้องเอาชนะคนอ่ืน
ง. มองโลกในแง่บวก

8. กีฬาตะกรอ้ สนั นษิ ฐานวา่ เกิดข้ึนทปี่ ระเทศใด
ก. พมา่
ข. มาเลเซยี
ค. จีน
ง. ไทย

9. ขอ้ ใดกล่าวถกู ต้องเก่ียวกับการทาํ ความคนุ้ เคยครัง้ แรกทีเ่ ล่นกีฬาเซปกั ตะกร้อ
ก. การเสรฟิ ลกู
ข.การโหม่งลูก
ค. การเดาะลกู
ง.การเล่นลูกเหนอื ตาข่าย

10. การเล่นกีฬาเซปกั ตะกรอ้ ลกู ใดถือวา่ เปน็ ลกู ที่มีความจาํ เปน็ ในการเล่นมากท่สี ุด
ก. ลกู เตะดว้ ยหลงั เทา้
ข. ลูกศีรษะ(โหมง่ )
ค. ลูกเตะดว้ ยหน้าแขง้
ง. ลกู เตะขา้ งเท้าด้านใน(ลูกแป)

73

ตอนที่ 1 หลักการ รูปแบบวธิ กี ารออกกําลงั กาย

การออกกาํ ลงั กายประกอบไปด้วย 4 ขัน้ ตอน

1. การอบอนุ่ รา่ งกาย (warm – up) มจี ุดมุ่งหมายเพื่อปรบั ร่างกายใหพ้ ร้อมกอ่ นท่ีจะออกกาํ ลังจรงิ ๆ
โดยจะมผี ลทาํ ใหม้ กี ารเพ่มิ อณุ หภูมขิ องกลา้ มเน้ือ ทาํ ให้มกี ารเพ่ิมความเร็วของการชักนํากระแสประสาท ลด
การยึดตึงของกล้ามเนือ้ เป็นผลให้การหดตวั ของกลา้ มเน้ือมปี ระสทิ ธภิ าพดยี ่ิงขึน้ เพ่ิมออกซิเจนไปยังกลา้ มเนอ้ื
โดยมีการขยายตวั ของเสน้ เลอื ดฝอยและเพิ่มความสามารถการจบั ออกซเิ จนได้มากขน้ึ ชว่ ยปรับความไวของ
ศนู ย์การหายใจต่อการกระตุ้นและช่วยเพมิ่ จาํ นวนเลอื ดท่ีไหลกลับหัวใจ ลดความเส่ยี งตอ่ การเกิดการบาดเจบ็
ขณะออกกําลังกาย มกั จะใชเ้ วลาประมาณ 5 -10 นาที โดยมีการเคล่อื นไหวของร่างกายทุกสว่ น

2. การยืดเหยยี ดกลา้ มเนอ้ื (stretching) เป็นการเตรยี มสภาพการทาํ งานของกระดูก ขอ้ ต่อ เอ็น พงั
พดื และกลา้ มเนือ้ ดว้ ยการเพ่ิมมุมการเคลอื่ นไหวของบริเวณขอ้ ต่อ เป็นการเพมิ่ ขีดความสามารถทางด้าน
ความเรว็ และความคล่องแคลว่ วอ่ งไว วิธกี ารยดื เหยยี ดกลา้ มเน้อื เรมิ่ จากทาํ การยดื คา้ งไวใ้ นจังหวะสดุ ทา้ ยของ
การเคลอ่ื นไหว จากนนั้ ทาํ การยืดจนกระท่งั ถงึ จดุ ทร่ี ู้สึกวา่ มีอาการปวดตึงกลา้ มเนอื้ เกดิ ข้นึ ณ จดุ นใี้ หค้ วบคมุ
ท่าการเคลื่อนไหวหยดุ นงิ่ คา้ งไวป้ ระมาณ 10-30 วนิ าที

3. การออกกาํ ลังกาย (exercise)
- การออกกําลงั กายแบบไมใ่ ช้ออกซิเจน (anaerobic exercise) เปน็ การออกกําลังกายชว่ งส้ันๆ สลับ
กับการพัก ใช้ระบบพลงั งานท่ีมีสาํ รองในกลา้ มเน้ืออยู่แลว้ การออกกําลงั กายในชว่ งน้ใี ช้เวลา 0 - 30 วินาที
ตวั อยา่ งเช่น ยกนํา้ หนกั กอลฟ์ วิ่งระยะส้นั และ กรีฑาประเภทลาน เปน็ ต้น
- การออกกาํ ลังกายแบบใชอ้ อกซเิ จน (aerobic exercise) เป็นการออกกําลงั กายในเวลาทยี่ าวนานข้ึน
มีความตอ่ เนอื่ ง สมํา่ เสมอ ไมห่ ยุดพกั ทําใหก้ ารใช้ระบบพลังงานสํารองในกล้ามเนอ้ื ไม่เพียงพอ รา่ งกายจงึ ต้อง
หายใจเอาออกซเิ จนไปเผาผลาญในขบวนการสร้างพลงั งานยกตัวอย่างเช่น วงิ่ ระยะไกล วา่ ยนา้ํ ปัน่ จักรยาน
เดินเรว็ เทนนิส แบดมินตนั เปน็ ตน้

4. ขัน้ คลายอนุ่ รา่ งกายร่วมกบั การยืดเหยยี ดกล้ามเน้ือ (cool down) คอื การเปิดโอกาสใหร้ า่ งกาย
คอ่ ย ๆปรับตวั กลบั คนื สู่สภาวะปกติอย่างต่อเนอื่ งทีละน้อย ซ่งึ เป็นการลดความหนักจากการออกกําลังกายทาํ
ใหร้ ่างกายฟืน้ ตัวจากอาการเหน็ดเหนือ่ ยได้รวดเร็วย่งิ ข้ึน และชว่ ยผ่อนคลายความเครียดพรอ้ มท้ังอาการปวด
เมือ่ ยทเี่ กิดขน้ึ กับกลา้ มเนอื้

74

ตอนที่ 2 ประเภทของกจิ กรรมพลศกึ ษา เกม และชนิดของกีฬา

กิจกรรมพลศึกษา ตอ้ งเปน็ กิจกรรมทเี่ คล่อื นไหวเพ่ือพฒั นาระบบอวัยวะของเดก็ ท่มี ีมาตงั้ แตเ่ กดิ เช่น
การเดิน การว่ิง การกระโดด ขวา้ งปา ห้อยโหน ฯลฯ ใหม้ กี ารเจริญพฒั นาการอย่างถูกตอ้ ง สมสว่ นด้วยเหตุน้ี
กจิ กรรมพลศกึ ษา จึงประกอบดว้ ยกิจกรรมดังต่อไปน้ี

1. เกม (Game) เป็นกจิ กรรมการเลน่ อย่างง่าย ๆ ไมม่ กี ฎกติกามากนกั มจี ุดมงุ่ หมายเพ่อื ความ
สนกุ สนาน และชว่ ยเสริมสร้างความแขง็ แรงของรา่ งกายได้ตามสมควร เกมบางประเภทสามารถนาํ มาใชก้ ับ
ผใู้ หญ่ไดอ้ ยา่ งสนกุ สนาน

2. กิจกรรมกีฬา (Sport) เป็นกจิ กรรมใหญท่ นี่ ยิ มเล่นกันอยา่ งแพรห่ ลาย กจิ กรรมกีฬา แบ่งออกเป็น
ประเภทใหญไ่ ด้ 2 ประเภทไดแ้ ก่

2.1 กีฬาในรม่ (Indoor Sport) ได้แก่ประเภทกีฬาทีไ่ ม่เน้นการเคลือ่ นไหวรา่ งกายอยา่ งหนัก แตจ่ ะ
เนน้ เรือ่ งความสนุกสนาน และมักจะนิยมเลน่ ภายในอาคารหรอื โรงยิม เช่น เทเบิลเทนนสิ ยิมนาสตกิ ฯลฯ

2.2 กีฬากลางแจ้ง (Outdoor Sport) ได้แก่ประเภทกฬี าทมี่ ีการเคลือ่ นไหวรา่ งกายท่หี นกั และมักจะ
เล่นภายนอกอาคาร เช่น ฟุตบอล ขีม่ า้ พายเรอื วง่ิ ฯลฯ

3. กิจกรรมเข้าจงั หวะ (Rhythmic Activity) ได้แกก่ ิจกรรมการเคลือ่ นไหวร่างกายโดยใช้เสียงเพลงหรือ
ดนตรีเป็นส่วนประกอบ

4. กจิ กรรมทดสอบสมรรถภาพทางกาย (Body Conditioning) เปน็ กจิ กรรมทกี่ ระทาํ เพอ่ื รกั ษาหรอื
เสริมสรา้ งรา่ งกายใหแ้ ข็งแรง เช่น การดึงขอ้ ดนั พ้ืน ลุก-นั่ง ฯลฯ

5. กิจกรรมนอกเมอื ง (Outdoor Activity) เป็นกจิ กรรมทสี่ ง่ เสรมิ การเคลื่อนไหวรา่ งกายโดยไปกระทํา
ตามภมู ปิ ระเทศท่ีน่าสนใจ เช่น การปีนเขา เดินทางไกล ทศั นาจร คา่ ยพักแรม ฯลฯ

6. กิจกรรมแกไ้ ขความพิการ (Adaptive Activity) เป็นกจิ กรรมการเคล่อื นไหวรา่ งกายโดยมีจุดประสงค์
เพอ่ื รกั ษาความพกิ ารทางร่างกาย

เรือ่ งที่ 2.1 กฬี าไทยประเภทบคุ คล เชน่ หมากรกุ หมากฮอส
หมากรกุ ไทย

กติกาการเล่น
ผเู้ ลน่ แตล่ ะคนผลัดกันเดนิ หมากของฝา่ ยตนเองครงั้ ละ 1 ตวั ถ้าเดนิ หมากของฝา่ ยตัวเองไปใน

ตาํ แหนง่ ทีห่ มากของฝา่ ยตรงขา้ มต้งั อยู่ หมากของฝ่ายตรงข้ามจะถกู กนิ และนาํ ออกนอกกระดาน ยกเวน้ ขุนจะ
ถกู กินไม่ได้ ถา้ เดินหมากไปในตําแหนง่ ท่ีตาตอ่ ไปสามารถกินขุนของฝา่ ยตรงข้ามได้ จะเรียกว่ารุก โดยตาต่อไป
ฝา่ ยตรงขา้ มต้องปอ้ งกันหรือเดนิ หนไี ม่ให้ขนุ อยู่ในตําแหน่งทจ่ี ะถูกกิน ถา้ ขุนถกู รุกอยู่และไม่สามารถเดนิ หนี
หรือป้องกนั การรกุ ได้ จะถือวา่ รุกจนและเปน็ ฝ่ายแพ้ถ้าขุนไม่ถกู รกุ แตใ่ นตาตอ่ ไปไมส่ ามารถเดนิ หมากตวั ใด ๆ
ไดเ้ ลย จะเรยี กวา่ อบั และจะเสมอกนั

ตารางหมากรุกไทย ตอนเรมิ่ เล่น (ใช้สญั ลกั ษณข์ องหมากรุกสากล)

75

รายละเอียดกฎกตกิ าหมากรกุ

1. ก่อนการแข่งขันให้มีการเส่ียง ผู้ชนะในการเส่ียงมีสิทธิเลือกเดินก่อนหรือหลัง ส่วนกระดานที่ 2 ให้
ทัง้ 2ฝ่าย สลับกันเดนิ โดยต้องเปล่ยี นขา้ ง สําหรบั กระดานที่ 3เป็นต้นไปให้มีการเส่ียงใหม่ในรอบท่ีมีการแข่งขัน
ซ่ึงกําหนดเวลาฝ่ายละ1 ชั่วโมง 30 นาทีต่อกระดาน จะต้องมีการจดบันทึกแต้มฝ่ายที่เลือกเดินก่อนจะต้องเดิน
หมากสีขาว ทุกครัง้

2. เม่ือถึงเวลากําหนดการแข่งขัน ถ้าผู้แข่งขันทั้งสองฝ่ายยังไม่มากรรมการจะกดนาฬิกาของฝ่าย
ดํา (ปกติจะวางอย่ดู ้านขวามือของฝา่ ยดาํ ) ถ้าผแู้ ข่งขันมาเพียงฝ่ายเดยี วให้ฝา่ ยนนั้ กดนาฬกิ าได้
เมื่อท้ังสองฝ่ายมาพร้อมท่ีจะทําการแข่งขันแล้ว ให้กรรมการเสี่ยงและต้ังเวลาใหม่ให้ถูกต้อง (ผู้ท่ีมาช้าจะ
เสยี เวลาในการแข่งขันของตนเอง)

3. ในระหว่างการแข่งขัน ผู้แข่งขันจะต้องกดนาฬิกาด้วยตนเอง โดยใช้มือข้างที่เดินหมาก (ขวาหรือ
ซ้ายก็ได้) ห้ามบุคคลภายนอกเตือน ผู้แข่งขันเร่ืองกดนาฬิกา เมื่อนาฬิกาของฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดเหลือเวลาไม่
เกนิ 5 นาที ใหแ้ จง้ กรรมการทราบและตดั สนิ เม่อื นาฬิกาของฝา่ ยหน่งึ ฝ่ายใดหมดเวลาลง (ธงตก)

4. เม่ือมีปัญหาใดๆ เกิดข้ึนระหว่างการแข่งขัน ให้คู่แข่งขันหรือกรรมการหยุดนาฬิกาของท้ังสองฝ่าย
เป็นการชั่วคราวจนกว่ากรรมการจะได้พิจารณาตัดสินปัญหาเรียบร้อยแล้ว จึงให้กรรมการกดนาฬิกาให้คู่แข่ง
ขันทําการแขง่ ขนั ตอ่ ไปจนจบกระดาน

5. ถ้ามีการกําหนดให้เวลาในการแข่งขันฝ่ายละ 1 ช่ัวโมง 30นาที ต่อกระดานข้ึนไป ผู้แข่งขันจะต้อง
จดบันทึกการเดินหมากด้วยตนเองท้ังของตนเองและของคู่ต่อสู้ ฝ่ายใดเหลือเวลาเพียง 3 นาที มีสิทธิไม่ต้องจด
บันทึกการเดินหมาก แต่คู่ต่อสู้จะต้องจดต่อไปตามปกติจนกว่าจะเหลือเวลาเพียง 3นาที จึงไม่ต้องจด
เชน่ เดียวกบั ฝ่ายแรก

6. ผู้ที่จดบันทึกการเดินหมากไม่ได้หรือไม่จดบันทึก จะหมดสิทธิในการแข่งขันรอบท่ีมีการจดบันทึกใน
การเดนิ หมากรกุ

7. ผู้แข่งขันจับหรือถูกต้องหมากตัวใดแล้ว จะต้องเดินหมากตัวน้ันและเม่ือปล่อยตัวหมากลงในตาใด
แลว้ จะเปล่ียนตาเดนิ ใหมไ่ ม่ได้
ถ้าผู้แข่งขันจับ หรือถูกต้องหมากตัวใดแล้วเดินไม่ได้กรรมการจะอนุญาตให้เดินหมากตัวอ่ืนที่จับต่อไปถ้าผู้
แขง่ ขันต้องการจะจดั หรอื ขยับตวั หมากใหต้ ้งั ตรงตามตาํ แหน่งจะต้องบอกกอ่ นวา่ “ขอขยับตัวหมาก”

8. เมื่อทั้งสองฝ่ายไม่มีเบี้ยควํ่า ฝ่ายหนึ่งเหลือขุนกับหมากตัวอื่นอีก ส่วนฝ่ายหน่ึงเหลือขุนเพียงตัวเดียว
ฝา่ ยหลังมสี ทิ ธินับตามศกั ดิ์

9. เมอื่ ทั้งสองฝ่ายไม่มีเบี้ยควํ่า ฝ่ายหนึ่งเหลือขุนกับหมากตัวอ่ืนอีก ส่วนฝ่ายหนึ่งเป็นรองมีสิทธินับศักด์ิ
กระดาน (ไม่เกนิ 64 ที) การพิจารณาวา่ ฝา่ ยใด เป็นต่อหรอื เป็นรอง ให้คิดเปรียบเทียบศกั ดขิ์ องตัวหมากท้ังสอง
ฝ่ายเท่านั้น โดยไม่คํานึงถึงตําแหน่งของตัวหมาก ทั้งสองฝ่ายส่วนศักด์ิของตัวหมากให้ถือหลักเกณฑ์
โดยประมาณ ดังนี้

☻ เรอื 1 ลาํ มีคา่ เทา่ กบั 3 หน่วย
☻ มา้ 1 ตวั มคี า่ เทา่ กบั 2 หนว่ ย
☻ โคน 1 ตวั มคี ่าเทา่ กับ 1.5 หนว่ ย
☻ เม็ดหรือเบ้ยี หงาย 1 ตวั มคี ่าเทา่ กบั 1 หนว่ ย
☻ เบ้ยี ควํา่ 1 ตัว มคี ่าเท่ากับ 0.5 หนว่ ย

76

10. เม่ือฝ่ายเป็นรองได้เริ่มนับศักด์ิกระดานแล้ว ฝ่ายเป็นต่อได้กินหมากของฝ่ายเป็นรองจนเหลือแต่
เพียงขุนตัวเดียว(นับได้ไม่เกิน64 ที) ให้ฝ่ายเป็นรองเปลี่ยนจากการนับศักดิ์กระดานเป็นนับศักดิ์หมากฝ่ายเป็น
ต่อ

11. เม่ือได้เริ่มนับตามศักด์ิหมากแล้ว ถ้าฝ่ายเป็นรองกินหมากตัวใดตัวหน่ึงของฝ่ายเป็นต่อก็มิให้
เปล่ียนแปลงการนับเป็นอย่างอ่ืนให้คงนับตามศักด์ิเดิมไปจนถึงที่สุด ตัวอย่างเช่นฝ่ายเป็นต่อมีขุน 1 และ
เรอื 2 ส่วนฝ่ายเปน็ รองมีขนุ 1และเรือ 1 และกําลังนับศักดิ์กระดานอยู่ ได้นําเรือไปต่อเรือของฝ่ายเป็นต่อ ฝ่าย
เป็นต่อได้เดินเรือไปกินเรือของฝ่ายเป็นรอง ฝ่ายเป็นรองจะเร่ิมนับศักด์ิหมากเรือ 2 ลํา (นับ 8)โดยนับ 5 ทันที
พร้อมกับกินเรือของฝ่ายเป็นต่อ (ถ้ากินได้)โดยนับศักดิ์หมากเรือ 2 ลํา (นับ 8) ต่อไป ไม่ใช่นับ 16 (ในกรณีฝ่าย
เป็นรองเดินขุนไปกนิ เรอื ของ
ฝ่ายเปน็ ตอ่ ได)้

12. ขณะทฝ่ี า่ ยเปน็ รองนบั ศกั ด์กิ ระดานกม็ สี ิทธทิ ่ีจะชนะได้ตลอดเวลา เม่ือฝ่ายเปน็ รองเห็นว่ามีหนทางท่ี
จะเอาชนะได้จะต้องหยุดนับทันที ถ้ายังไม่หยุดนับฝ่ายเป็นต่อขอเสมอได้และเมื่อฝ่ายเป็นรองหยุดนับแล้วเห็น
ว่า
ไมอ่ าจจะเอาชนะไดจ้ ะกลบั มานับใหมก่ ็ได้แต่ตอ้ งเรมิ่ นับตั้งแต่ 1 เปน็ ต้นไป

13. ถ้าทั้งสองฝ่ายมีตัวหมาก หรือ ศักดิ์หมากเท่ากัน หรือเป็นรองศักดิ์หมากเพียงเล็กน้อย (ไม่
เกนิ 1 หนว่ ย)

☻ เฉพาะกรณีศักด์ิหมากหรือตัวหมากเท่ากันน้ัน ฝ่ายหนึ่งเหลือเวลาไม่เกิน 5 นาที อีกฝ่ายหนึ่ง
เหลือเวลาไม่เกิน 15 นาที ให้อาํ นาจกรรมการที่จะตดั สินใหเ้ สมอกันไดห้ รือให้ฝา่ ยท่ขี อเสมอนบั ศกั ดิก์ ระดาน

☻ ฝ่ายที่เป็นต่อศักด์ิหมากมีเวลาเหลือไม่เกิน 5 นาทีมีสิทธิร้องขอให้กรรมการพิจารณาที่จะตัดสิน
ใหเ้ สมอกันหรือใหฝ้ า่ ยทีเ่ ป็นตอ่ ศกั ดห์ิ มากแตเ่ ป็นรองในเรือ่ งเวลามีสิทธนิ บั ศกั ดิ์กระดานได้

14. ผู้เล่นฝ่ายที่เป็นต่อในเรื่องศักดิ์หมากต้ังแต่ 2 หน่วยขึ้นไปและมีเวลาเหลือตํ่ากว่า 5 นาทีมีสิทธิร้อง
ขอให้กรรมการพิจารณาให้เสมอได้ด้วยเหตุผลว่าไม่มีการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ในกระดานโดยให้อยู่ในดุลย
พินจิ ของคณะกรรมการแตถ่ ้ามเี วลาเหลอื 3 นาทีแลว้ ไมร่ ้องขอให้ถอื วา่ ต้องเล่นต่อไปจนจบกระดาน

15. ในกรณีที่ท้ังสองฝ่ายมีเบี้ยควํ่าขัดกันอยู่หงายไม่ได้หรือฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดไม่สามารถหงายเบี้ยได้ไม่ว่า
ในกรณีใดก็ตาม และการเดินหมากไม่มีเหตุการณ์เปล่ียนแปลงเป็นเวลานานพอสมควรฝ่ายเป็นรองซ่ึงเหลือ
เวลาไม่เกิน 10 นาที และฝ่ายเป็นต่อมีเวลาเหลือไม่เกิน 20 นาที อาจร้องขอกรรมการเพ่ือพิจารณาให้นับศักด์ิ
กระดานได้เป็นกรณีพิเศษ ถ้ามีเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงเกิดข้ึน ในระหว่างการนับศักด์ิกระดานนี้ เช่น หงายเบ้ีย
เพิ่มขึ้นตัวหมากเหลือน้อยลงแต่ยังมีเบ้ียควํ่าเหลืออยู่ก็ให้นับศักดิ์กระดานต่อไปตามเดิมเมื่อทั้งสองฝ่ายหงาย
เบ้ียหมดแล้วหรือไม่มีเบ้ียคว่ําเหลืออยู่เลย ให้ฝ่ายเป็นรองในเร่ืองเวลากลับมานับศักดิ์กระดานใหม่ให้เริ่มต้ังแต่
1 เป็นตน้ ไป

16. ฝ่ายทชี่ นะเวลา จะตอ้ งมีตัวหมากไมน่ ้อยกวา่ ขนุ 1,เรอื 1, หรือ ขุน 1, โคน 1, เม็ด 1, หรือ ขนุ 1,
มา้ 1,เมด็ 1, หรอื ขุน 1, เบ้ียเทียม 3

17. เกมเสมอในกรณีตอ่ ไปน้ี
☻ หมากอบั
☻ โดยการยินยอมของท้ังสองฝ่าย
☻ โดยการเดนิ หมากไป – กลบั 3 ครงั้ (ไม่จําเปน็ ตอ้ งติดต่อกัน) และรปู หมากไม่เปลย่ี นแปลงจาก
เดิม
☻ โดยทห่ี มากในกระดานไม่สามารถทําให้คตู่ ่อสู้แพ้ได้ (ดขู ้อ 16)
18. การตัดสินของคณะกรรมการถอื วา่ ส้นิ สุด

77

19. นักกีฬาทุกคนควรมีนํ้าใจ และมารยาทในการแข่งขัน ถ้าผู้ใดฝ่าฝืน และกรรมการได้ตักเตือน
แลว้ 2 ครง้ั ไม่ปฏิบัตติ าม กรรมการอาจจะตดั สิทธใิ นการแขง่ ขนั ได้

หมากรุกไดว้ างเกณฑ์การรุกไล่เปน็ มาตรฐานดังตอ่ ไปนี้
✦ เรอื ฝา่ ยไลม่ เี รอื กับขุน ฝา่ ยหนีมีแต่ขนุ ถา้ ฝา่ ยไล่มีเรือลําเดียวมีสิทธเิ ดินรกุ ไลไ่ ด้ 16 ตา ถา้

มี 2 ลาํ รุกไลไ่ ด้ 8 ตา เกนิ กาํ หนดนี้ถือวา่ เสมอกัน
✦ มา้ ฝา่ ยไลม่ มี ้ากบั ขุน ฝา่ ยหนีมขี นุ ถา้ ฝ่ายไลม่ มี ้าตัวเดียวมสี ทิ ธิเดนิ ไล่ได้ 64 ตา ถ้ามี 2 ตวั รกุ ไล่

ได้ 32 ตา
✦ โคน ฝ่ายไล่มโี คนตัวเดยี ว รกุ ไล่ได้ 44 ตา ถา้ สองตวั รุกไล่ได้
22 ตา
✦ เบ้ียหงาย ฝ่ายไลจ่ ะมกี ่ตี วั กต็ าม มีสทิ ธิไล่ได้ 64 ตา แม้ฝ่ายหนจี ะมอี ยูด่ ว้ ย 1 ตวั ก็ตาม
✦ กรณีฝ่ายหนีกับฝ่ายไล่มีเรือฝ่ายละลํา ฝ่ายไล่มีเบี้ยธรรมดาหรือ
เบ้ียหงายก็ตามจะไล่ได้ไม่

เกิน 64 ตา ฝ่ายหนีมีเบี้ยหงายฝ่ายไล่มีเบี้ยหงายกับโคน (ท้ังสองฝ่ายมีขุนเสมอ) ไล่ได้ไม่เกิน 64 ตา
อย่างน้ี
ตาํ ราหมากรกุ เรยี กวา่ หอกข้างแคร่

✦ ฝา่ ยหนีมีมา้ 1 ฝา่ ยไลม่ โี คน 1 ตัว เบ้ียหงาย 2 ตัว ให้ไล่ได้ไม่เกิน 64 ตา อย่างนี้ตําราเรียก จับม้า
อุปการะเพราะม้าคอยเดินหนีออก
วงนอกแล้วลอบเข้าทําร้ายได้ในระยะ ห่าง ทําให้โคนกับเบี้ยหงายปั่นป่วน
รกุ ขนุ ไมถ่ นดั

✦ ฝ่ายหนีมีเรือและเบี้ยหงายอย่างละตัว ฝ่ายไล่มี เรือ โคน และ
เบ้ียหงายเช่นกัน ตํารากลนี้เรียก
ลกู ติดแม่ ไลจ่ นยาก เพราะเรอื กับเบ้ียแอบบังขนุ อยู่เรอ่ื ยๆ กาํ หนดให้ไล่ได้ 64ตา

✦ ฝ่ายหนีมีโคนเรือ ฝ่ายไล่มี โคน เรือ เบี้ยหงาย และม้าไล่ได้ 64 ตา ฝ่ายหนีจะเอา
โคนกับเรือผูก
ปอ้ งกันให้ขนุ มีทางหนไี ด้มาก กลน้เี รียกวา่ หนมุ านอาสา

✦ ฝ่ายหนีมีเบยี้ หงาย โคน ฝา่ ยไล่มีเรือและเม็ดไล่ได้ 64ตา กลนีเ้ รยี กควายสู้เสือ
✦ ฝา่ ยหนจี ะเดินโคนกับเบย้ี ตดิ ขุนไวโ้ ดยทแยงตาบงั ขุนเอาตวั รอดอยู่เสมอ ฝา่ ยหนีมเี รือ 1ลํา
✦ ฝ่ายไลม่ โี คน 1 เบี้ย 3 ไลไ่ ด้ 64 ตา ฝา่ ยหนีเดินเรือตดิ ขนุ ให้ดีอาจตีเสมอไดเ้ รียกวา่ อ่ทู อง หนหี ่า
✦ ฝา่ ยหนีมเี รือ 1 ลาํ ฝ่ายไล่มีมา้ 1 ตวั เบี้ย 3 ตัว ไล่ได้ 64ตา
เรยี กว่า พรานลา่ เนือ้
✦ ฝ่ายหนีมีม้า 1 ตัว และเบ้ีย ฝ่ายไล่มีเรือและเบี้ยหงาย ฝ่ายหนีพยายามเดินม้า ติดพันกับขุนของ
ตน เมื่อถูกเรือไล่รุกก็เดินม้าก้าวสกัดปิดรุกและเดินเบ้ียผูกให้ดี อาจเอาตัวรอดได้ อย่างน้ีเรียกว่า นกกระจาบ
ทาํ รัง
✦ ฝ่ายหนีมโี คน 1 ตัว ฝ่ายไลม่ มี ้า 1 ตัว และเบ้ีย 2 ตวั ไลไ่ ด้ 64 ตา ฝ่ายหนี เดินโคนแอบบังขุนให้ดี
ก็ไม่แพ้ เรยี กวา่ คลนื่ กระทบฝ่งั
✦ ฝ่ายหนีมีโคนและเรืออย่างละ 1 ฝ่ายไล่มีเรือ 2 ลํา ไล่ได้64 ตา ฝ่ายหนีเดิน โคนกันขุนไว้ เอาเรือ
คอยออกสกัดฝา่ ยไลใ่ หป้ น่ั ป่วน เรยี กกลนวี้ ่า หมูหลบหอก
✦ กลหมากทัง้ 10 ท่ีกล่าวมาแล้วนี้เป็นกลเบื้องต้นท่ีผู้เล่นจะต้องกําหนดจดจํา และ ฝึกฝนตนเองให้
คล่องแคล่วฉับไวทันกาล จึงจะประสบผลสําเร็จ โดยเฉพาะเม่ือถึงระดับ
หมากรุกกล ซึ่งมี 200 กว่ากลนั้นมี
วิธีเล่นวิจิตรพิสดารมาก ผู้เล่นควรศึกษาวิธีการต่างๆ ให้เจนใจ ท้ังทางหนีทีไล่จะได้ประโยชน์อย่างมาก และได้
ชอ่ื ว่ามคี วามสามารถในการเดนิ หมากอย่างแทจ้ ริง


































Click to View FlipBook Version