The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wasan197152, 2020-06-24 04:35:40

sar60

sar60

รายงานประจำปีของสถานศึกษา
ปกี ารศึกษา 2560

โรงเรียนตากพทิ ยาคม

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 38
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ

ความเหน็ ของคณะกรรมการสถานศกึ ษา
โรงเรียนตากพิทยาคม

รายงานประจำปขี องสถานศกึ ษา เปน็ การสรุปผลการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ที่
สะทอ้ นผลการพฒั นาคณุ ภาพของสถานศึกษา สมควรท่ตี อ้ งมีการดำเนนิ การอยา่ งตอ่ เน่ือง และ
นำข้อมูลสารสนเทศไปใชใ้ นการพฒั นาในปีการศกึ ษาถดั ไป

คณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พื้นฐานโรงเรียนตากพทิ ยาคม ไดม้ มี ตเิ หน็ ชอบ
รายงานประจำปีของสถานศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2560 ของโรงเรยี นตากพิทยาคม
ในวนั ประชุมครั้งท่ี 1 /2561 เม่ือวันท่ี 21 เดอื น มถิ นุ ายน พ.ศ. 2561

(ลงช่ือ)
(นายชูชาติ ช่ืนมงคลสกลุ )

ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐานโรงเรยี นตากพทิ ยาคม

-ก-

คำนำ

รายงานประจำปีของสถานศึกษา เปน็ การสรุปผลการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา ที่
สะทอ้ นผลการพัฒนาคณุ ภาพของสถานศึกษา ซึง่ เปน็ ผลสำเร็จจากการบริหารจัดการศึกษาที่สอดคล้อง
กบั มาตรฐานการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน เพ่อื การประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษาของโรงเรยี นตากพทิ ยาคม
ไดด้ ำเนนิ งานมาอยา่ งตอ่ เนอื่ งและเปน็ ระบบ ในปีการศึกษา 2560 ที่ผา่ นมา ไดจ้ ดั ให้มกี ารประเมนิ
คุณภาพภายในสถานศึกษา โดยแบ่งการประเมินเปน็ 4 ดา้ น คือ

1. ด้านคณุ ภาพผู้เรยี น
2. ดา้ นกระบวนการบริหารและการจดั การของผู้บริหารสถานศึกษา
3. ดา้ นการะบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั
4. ดา้ นระบบประกนั คุณภาพภายในที่มีประสทิ ธผิ ล
ผลการวเิ คราะห์ จุดเด่น จุดท่ีควรพัฒนา และไดร้ ะบแุ นวทางการพฒั นาสถานศกึ ษาใน
อนาคต โดยมีวตั ถุประสงค์เพอื่ นำเสนอรายงานผลการจดั การศึกษาในรอบปที ผ่ี ่านมา ใหต้ น้ สังกัดและ
สาธารณชนได้รับทราบ และเตรียมความพร้อมในการรับการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก ต่อไป

(ลงช่ือ)
(นางสคราญจิต ศรญิ ญามาศ)
ผู้อำนวยการโรงเรยี นตากพิทยาคม

-ข- หนา้

สารบญั 1
17
คำนำ 17
สารบัญ 23
ส่วนท่ี 1 ขอ้ มลู พนื้ ฐานของสถานศกึ ษา 27
สว่ นที่ 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา 28
31
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน 34
มาตรฐานท่ี 2 ด้านกระบวนการบรหิ ารและการจัดการของผู้บริหารสถานศกึ ษา
มาตรฐานที่ 3 ด้านการะบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
มาตรฐานท่ี 4 ด้านระบบประกนั คณุ ภาพภายในท่มี ีประสทิ ธิผล
สว่ นที่ 3 สรุปผลแนวทางการพัฒนาและความต้องการชว่ ยเหลือ
สว่ นท่ี 4 ภาคผนวก

รายงานประจำปขี องสถานศึกษา ปีการศึกษา 2560

สว่ นที่ 1 ข้อมูลพน้ื ฐานของสถานศึกษา

1.1 ขอ้ มูลทว่ั ไป

ชือ่ สถานศึกษา โรงเรยี นตากพิทยาคม สังกดั สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา

เขต 38 ต้งั อย่เู ลขท่ี 12 ถนนพหลโยธิน ตำบลระแหง อำเภอเมอื ง จงั หวัดตาก 63000
โทรศัพท์ 055 - 511134 โทรสาร 055 – 540248 E-mail : [email protected]

Website : http://www.tps.ac.th เปิดสอนตั้งแตร่ ะดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 ถึงระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 6

1.2 ข้อมลู บุคลากรของสถานศึกษา

1) จำนวนบคุ ลากร

บคุ ลากร ผ้บู ริหาร ครผู ู้สอน พนกั งาน ครูอัตราจ้าง อ่นื ๆ
ราชการ 2 (ชว่ ยราชการ)
ปีการศึกษา 5 132
2560 5 3

ครปู ระจำการ (ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2560)

อายุ จำนวนครง้ั
/
ท่ี ชือ่ – สกุล อายุ ราชการ ตำแหน่ง / วฒุ ิ วิชาเอก สอนวชิ า/ ช้ัน
ชวั่ โมงที่รบั
(ปี) (ป)ี วทิ ยฐานะ การพัฒนา/

1 นางสคราญจิต ศรญิ ญามาศ 59 39 ผอ. (คศ.3) กศ.บ. ภาษาอังกฤษ - ปี
80
กศ.ม. การสอนภาษาองั กฤษ -
- 70
2 นายวรพงศ์ ทองมูล 58 34 รอง.ผอ.(คศ.3) กศ.ม. บริหารการศกึ ษา - 70
3 นางภัทราภรณ์ เน้ือไม้ 53 - 70
4 นายเสรี พรหมแก้ว 50 30 รอง.ผอ.(คศ.3) กศ.ม บริหารการศึกษา 70
5 นายอภิศักด์ิ เทยี มฉนั ท์ 43 แนะแนว/ม.2
26 รอง.ผอ.(คศ.3) กศ.ม คณิตศาสตร์ แนะแนว/ม.1 50
6 นางวราภรณ์ สกลุ ไทย 60 แนะแนว/ม.6 50
7 นางอ้อมใจ คำนวณสนิ ธุ์ 55 20 รอง.ผอ.(คศ.2) ค.บ. อตุ สาหกรรมศิลป์ แนะแนว/ม.5 50
8 นางรัตนา ทองจิตติ 58 หอ้ งสมุด /ม.5 50
9 นางดวงเดือน ละมลู 48 35 คศ.2 ศศ.บ การจัดการท่วั ไป 50
10 นางสาวกัญญาณัฐ อนิ ทรศ์ วร 38 หอ้ งสมุด /ม.1
33 คศ.3 ศศ.บ. การจดั การทั่วไป 50
แนะแนว/ม.2
35 คศ.3 วท.บ จติ วิทยา เคม/ี ม.5 50
50
24 คศ.2 กศ.ม จิตวิทยาการแนะแนว เคมี/ม.4
ฟสิ ิกส์/ม.5 50
7 คศ.1 ศศ.บ บรรณารกั ษศาสตร์ ชวี วิทยา/ม.6 50
ชวี วิทยา/ม.6 50
และสารนิเทศศาสตร์ 50

11 นางสาวนฤมล พลมน่ั 35 8 คศ.1 ศศ.บ บรรณารกั ษศาสตร์

และสารนิเทศศาสตร์

12 นางสาวณฐั สีนยี ์ ชปู ระสทิ ธ์ิ 26 2 ครผู ชู้ ่วย กศ.บ. จติ วทิ ยาการแนะแนว
13 นางมณฑริ า มาจันทร์ 48
23 คศ.3 กศ.ม วิทยาศาสตร์

(เน้นเคม)ี

14 นายนรนิ ทร์ เงินดี 57 33 คศ.2 วท.ม การสอนเคมี
15 นางสาวอำพรรณ ทรพั ยป์ ระชา 58
16 นายวฑิ ูรย์ ศริพันธุ์ 59 36 คศ.3 กศ.ม ฟิสิกส์
17 นางเพ็ญพศิ ต้ังวชิรฉัตร 60
36 คศ.2 กศ.ม ชวี วทิ ยา

37 คศ.3 คม. การศกึ ษา



อายุ จำนวนครงั้

ที่ ชอื่ – สกุล อายุ ราชการ ตำแหน่ง / วุฒิ วิชาเอก สอนวชิ า/ ช้นั /

(ปี) (ปี) วิทยฐานะ ช่ัวโมงทรี่ บั

การพัฒนา/

ปี

วทิ ยาศาสตร์

18 นายสทุ นิ ธ์ คำน่าน 45 22 คศ.2 วท.ม. ฟิสกิ ส์ ฟสิ ิกส/์ ม.4 50
19 นางสมคดิ แดงอาสา 54 28 คศ.2
20 นางอารี ประเพชร 50 27 คศ.2 วท.บ. ชวี วทิ ยา วทิ ย์/ม.2 50
21 นายภูมิ ประยูรโภคราช 32 8 คศ.2
22 ว่าท่ี ร.ต.วิโรจน์ ศรสี ุข 55 28 คศ.3 กศ.ม. วิทยาศาสตร์กายภาพ วิทย์/ม.2 50
23 นางอรวรรณ จนั ทรบ์ ตุ ร 44 22 คศ.3
24 นางสาวทพิ ย์รตั น์ สง่ ประเสริ ฐ 42 9 คศ.2 วท.ม วัสดศุ าสตร์ ลาศกึ ษาต่อ -
25 นางสาวเบญชญา ธนาถิรธรรม 37 14 คศ.3
26 นางสาวณิชนันท์ คำนวณสิทธุ์ 32 8 คศ.2 ศษ.ม บริหารการศกึ ษา วทิ ย์/ม.2 50
27 นายกติ ติพงศ์ สิริมูลเครือ 27 4 คศ.1
28 นางสาวสุพิน พลนิรนั ดร์ 55 32 คศ.3 กศ.ม. ชวี วิทยา ชวี วิทยา/ม.4 50
29 นางนารีนาฏ จนั ทมงคล 52 26 คศ.2
30 นางอัญชลี เกดิ แสง 31 6 คศ.1 ศษ.ม บริหารการศกึ ษา ฟสิ ิกส/์ ม.4 50

วท.บ. เคมี เคมี/ม.5 50

กศ.ม. วิจัยและประเมินผล วิทย/์ ม.3 50

ค.บ. ชวี วทิ ยา ชวี วิทยา/ม.6 50

กศ.บ. วทิ ยาศาสตรท์ ัว่ ไป วทิ ย/์ ม.1 50

ค.บ. วิทยาศาสตร์ทว่ั ไป วทิ ย์/ม.2 50

กศ.ม. วิจัยและประเมินผล เคมี/ม.4 50

การศึกษา

31 นางสาวสชุ าสินี มะโต 31 2 ครผู ้ชู ่วย วท.บ. เคมี เคมี /ม.4 50

32 37 14 คศ.2 กศ.ด. วิจยั และประเมนิผล วิทย์/ม.4 50

นางปัทมา ภสู่ วาทด์ิ การศกึ ษา

33 นางสาวจรรยา ทเุ รยี น 31 2 ครูผชู้ ่วย วท.บ. ชวี วทิ ยา ชีววิทยา/ม.1,2,3 50

34 นางสาวพมิ ลวรรณ น้อยท่าชา้ ง 26 9 เดอื น ครผู ชู้ ่วย ค.บ. ชีววิทยา ชีววทิ ยา/ม.5 50

35 นายอดิพงศ์ ท่วมจอก 26 1 ครูผู้ช่วย กศ.บ. ฟสิ ิกส์ ฟิสิกส/์ ม.3,5 50

36 นายธนพนธ์ ชมุ่ วงศ์ 29 7 เดอื น ครผู ู้ช่วย กศ.บ. ฟิสกิ ส์ วทิ ย/์ ม.3 50

37 นางสาวกรรณกิ า สยี ะ 26 7 เดอื น ครผู ู้ชว่ ย ค.บ. วิทยาศาสตรท์ ว่ั ไป วทิ ย/์ ม.1 50

38 27 4 เดือน ครผู ู้ชว่ ย ศศ.ม. การศึกษา วิทย/์ ม.1 50

วทิ ยาศาสตร์

นางสาวนภิ าพร พลอยโตนด และเทคโนโลยี

39 27 4 เดือน ครผู ู้ช่วย ศศ.ม. วทิ ยาศาสตร์ ชีววิทยา/ม.5,6 50

นายดนัย ไทยมี คศ.3 การศึกษา
คศ.2
40 นางสาวนริ มล เหลืองพศิ าลพร 55 28 คศ.2 กศ.ม จิตวิทยาแนะแนว คณติ ศาสตร/์ ม.1 50
คศ.2
41 นางสาวประไพ แดงไฝ 44 21 คศ. 2 ศษ.ม. คณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์/ม.4 50
คศ.2
42 นางจิราภรณ์ ธรรมลังกา 42 20 คศ.2 ศษ.ม คณิตศาสตร์ คณติ ศาสตร/์ ม.5 50
คศ.2
43 นางสาวปริศนา วโิ นสยุ ะ 43 20 คศ.3 กศ.ม. คณติ ศาสตร์ คณติ ศาสตร์/ม.1 50
คศ.2
44 นางสาวปณัฐชา แดงไฝ 45 22 คศ.1 กศ.ม. คณิตศาสตร์ คณติ ศาสตร/์ ม.3 50
คศ.3
45 นางพรทพิ ย์ ธรรมลังกา 41 18 กศ.ม การบรหิ ารการศึกษา คณติ ศาสตร์/ม.1 50

46 นางจันทรจ์ ริ า คำน่าน 39 16 กศ.ม คณติ ศาสตร์ คณติ ศาสตร์/ม.4 50

47 นางอุไรรัตน์ รัตนภกั ดด์ิ ีกลุ 38 15 กศ.ม. คณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์/ม.6 50

48 นางอญั ชุลี วาวแวว 53 30 กศ.ม. คณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์/ม.2 50

49 นางพชั รดี า ใยระย้า 44 22 วท.บ. คณิตศาสตร์ คณติ ศาสตร/์ ม.3 50

50 นายสมรภมู ิ อ่อนอุ่น 29 6 วท.บ. คณิตศาสตร์ คณิตศาสตร/์ ม.4 50

51 นางนภาพร ศรีแสงจนั ทร์ 55 29 วท.บ. คณติ ศาสตร์ คณติ ศาสตร/์ ม.2 50

ศศ.บ. มธั ยมศึกษา -

วิทยาศาสตร์

52 นางสาวกาญจนา ด้วงนา 39 13 คศ.2 กศ.ม. คณิตศาสตร์ คณติ ศาสตร/์ ม.6 50
53 นางยพุ นิ วงษเ์ ป็ง 46 22 คศ.3
54 นายธีรวฒุ ิ อภปิ รัชญาฐิติกลุ 35 12 คศ.2 กศ.ม. หลักสตู รและการสอน คณิตศาสตร์/ม.3 50

กศ.ม. การบรหิ ารการศกึ ษา คณิตศาสตร/์ ม.5 50



อายุ จำนวนครัง้

ที่ ช่ือ – สกุล อายุ ราชการ ตำแหนง่ / วฒุ ิ วิชาเอก สอนวิชา/ ชั้น /

(ป)ี (ปี) วทิ ยฐานะ ช่วั โมงทีร่ บั

การพัฒนา/

ปี

55 นางนาตยา สธุ รรม 31 5 คศ.1 วทบ. สถติ ิ คณิตศาสตร/์ ม.5 50
56 นางสาวจารุวรรณ ปัญญาคม 31 8 คศ.1
57 นายเอกพงษ์ มลู แก้ว 32 8 คศ.1 คบ. คณิตศาสตร์ คณติ ศาสตร/์ ม.2 50
58 นางจตุพร เกิดพันธ์ 39 11 คศ.3
59 นายวรุฒม์ เครือแก้ว 26 9 เดือน ครผู ชู้ ว่ ย ศษ.ม คณิตศาสตร์ คณติ ศาสตร/์ ม.2 50
60 นางวิมล พชิ ัยณรงค์ 57 44 คศ.2
61 นางพรเพ็ญ สว่างโชติ 57 30 คศ.2 กศ.ม. การวิจัยการศึกษา คณิตศาสตร์/ม.1 50
62 นางมาลนิ ี ชมุ ภู 60 39 คศ.2
63 นางพรทพิ ย์ วงษช์ ยั 56 28 คศ. 2 คบ. คณิตศาสตร์ คณติ ศาสตร/์ ม.4 50
64 นางนภิ าพร ทองโพธศ์ิ รี 44 19 คศ.2
65 นางภิญโญ มาอ่อน 57 34 คศ.2 กศ.ม. ภาษาไทย ภาษาไทย/ม.3 50
66 นางปณุ ฑรา บัวงาม 36 12 คศ.2
67 นางฐิติพร พรมวชิ ยั 36 12 คศ.1 กศ.ม. ภาษาไทย ภาษาไทย/ม.4 50
68 นางสาวสวุ ิภา สุขเหล็ก 29 4 คศ.1
69 นางสาวพมิ พิไล หลา้ ใจ 26 2 ครูผูช้ ว่ ย ค.บ. ภาษาไทย ภาษาไทย/ม.6 50
70 นางสาวขวัญฤทยั โพธิเ์ สน 31 7 คศ.1
71 นางสาวเกศสดุ า มุขพรม 30 6 คศ.1 ค.บ. ภาษาไทย ภาษาไทย/ม.2 50
72 นางสาวปรยี าลักษณ์ พงษ์อยู่ 42 9 คศ.2
73 นางสาวพธุ ชาติ มน่ั เมือง 42 11 คศ.2 ค.ม. หลักสูตรและการสอน ภาษาไทย/ม.1 50

74 นางสาวสายพาน ทบั นิล 52 24 คศ.3 คบ. ภาษาไทย ภาษาไทย/ม.2 50
75 นางภทั รพร ขวญั มั่น 48 22 คศ.2
76 นายสุรศกั ดิ์ เกดิ พนั ธุ์ 39 10 คศ.2 ศษ.ม. ภาษาไทย ภาษาไทย/ม.6 50
77 นางขณติ ฐา ต๋าแปง 53 28 คศ.2
78 นางนิภา แหวเมือง 44 12 คศ.2 ค.บ. ภาษาไทย ภาษาไทย/ม.3 50

79 นายวัชระ วงษด์ ี 35 6 คศ.1 ศษ.บ ภาษาไทย ภาษาไทย/ม.1 50
80 นางสุนันทา แสงจันทร์ 49 20 คศ.3
ค.บ. ภาษาไทย ภาษาไทย/ม.1 50
81 สบิ เอกมงคล ใจเย็น 48 23 คศ.2
82 นายปริญญา กองทอง 32 2 ครูผชู้ ่วย ศษ.ม. เทคโนโลยีการศกึ ษา ภาษาไทย/ม.4 50
83 นางสาวปิยะพร ไกลถิ่น 25 2 ครผู ู้ช่วย
84 นายปรญิ วนั ธนานันท์ 41 7 คศ.2 ค.บ. ภาษาไทย ภาษาไทย/ม.2 50
85 นางอรพิณ ศิริพนั ธ์ุ 59 37 คศ.3
86 นางอุดมลักษณ์ เดชะวงษ์ 51 25 คศ.2 คบ. ภาษาไทย ภาษาไทย/ม.1,ม.4 50
87 นางอรทยั ธวิ งศค์ ำ 60 41 คศ.4
88 นางสาวกนกวรรณ ศริ พิ ล 39 13 คศ.2 กศ.ม. เทคโนโลยีทางการ คอมพิวเตอร์ /ม.6 50
89 นางจารุรัตน์ ราชประสทิ ธ์ิ 59 39 คศ.2
90 นายเทวินทร์ คำภาพันธ์ 58 33 คศ.2 ศกึ ษา
91 นางศริ วิ รรณ เสอื สุวรรณ 46 23 คศ.3
92 นายอนชุ ิต ธรามานิตย์ 45 21 คศ.2 วท.ม. เทคโนโลยีสารสนเทศ คอมพวิ เตอร์ /ม.4 50
93 นางสาวอญั ชนา บุญอนิ ทร์ 52 12 คศ.2
94 นางสาวจฑุ ามาศ ชำนจิ 34 6 คศ.1 บธ.บ ธรุ กจิ ศกึ ษา–การบัญชี การงานอาชพี ฯ/ม.3 50
95 นางสาวจำเนียร น้ำสังข์ 33 6 คศ.1
96 นางสรุ ียพ์ ร มณศี กั ด์ิ 36 11 คศ.2 กศ.ม บริหารการศกึ ษา คอมพิวเตอร์ /ม.5 50

คบ. เกษตรศาสตร์ เกษตร/ม.3 50

วท.ม. เทคโนโลยีการจดั การ คอมพิวเตอร์ /ม.4 50

ระบบสารสนเทศ

วท.บ. วทิ ยาการคอมฯ คอมพวิ เตอร์ /ม.5 50

กศ.ม เทคโนโลยสี ื่อสาร การงานอาชีพฯ/ม.4 50

การศกึ ษา

รป.ม. รฐั ประศาสนศาสตร์ พละศึกษา/ม.3 50

วท.บ. วทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ คอมพิวเตอร์/ม.5 50

ค.บ. คหกรรมศาสตร์ การงานอาชีพฯ/ม.1 50

กศ.บ. บรหิ ารการศกึ ษา การงานอาชพี ฯ/ม.5 50

กศ.ม ภาษาอังกฤษ ภาษาองั กฤษ/ม.6 50

ค.บ. ภาษาองั กฤษ ภาษาองั กฤษ/ม.1 50

อ.ม. ภาษาอังกฤษ ภาษาองั กฤษ/ม.4 50

ศษ.บ. ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ/ม.1 50

ศศ.บ ภาษาอังกฤษ ภาษาองั กฤษ/ม.2 50

คบ. ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ/ม.2 50

กศ.ม ภาษาอังกฤษ ภาษาองั กฤษ/ม.1 50

ศศ.ด. ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ/ม.6 50

ศศ.ม. ภาษาอังกฤษ ภาษาองั กฤษ/ม.5 50

ศศ.บ. ภาษาจนี ภาษาจีน/ม.1 35

คบ. ภาษาองั กฤษ ภาษาอังกฤษ/ม.3 50

กศ.ม บริหารการศกึ ษา ภาษาอังกฤษ/ม.4 50



อายุ จำนวนคร้งั

ท่ี ช่ือ – สกุล อายุ ราชการ ตำแหน่ง / วฒุ ิ วิชาเอก สอนวิชา/ ชั้น /

(ป)ี (ปี) วทิ ยฐานะ ชั่วโมงทร่ี บั

การพฒั นา/

ปี

97 นางสาวทองแข อ่นุ เรอื น 52 27 คศ.2 ศษ.บ. ภาษาอังกฤษ ภาษาองั กฤษ/ม.3 50
คศ.2
98 นางศิรกิ ญั ญา ใจจนั ทร์ 42 15 คศ.1 กศ.ม ภาษาอังกฤษ ภาษาองั กฤษ/ม.1 50
คศ.1
99 นางสาวจฑุ ารตั น์ เอย่ี มสะอาด 33 8 คศ.1 ศษ.ม. บริหารการศกึ ษา ภาษาอังกฤษ/ม.3 50
ครผู ู้ชว่ ย
100 นางรัชนี แนววเิ ศษ 55 5 ครูผูช้ ่วย ศษ.ม. บริหารการศึกษา ภาษาองั กฤษ/ม.1 50
คศ.1
101 นายชชู าติ จารกึ 42 5 ครูผู้ชว่ ย ศศ.บ. ภาษาอังกฤษ ภาษาองั กฤษ/ม.5 50
ครผู ้ชู ่วย
102 นางสาวกาญจณี โชติสขุ 34 2 ครผู ชู้ ่วย กศ.ม. บริหารการศึกษา ภาษาอังกฤษ/ม.3 50
ครูผชู้ ว่ ย
103 นางสาวมลสกิ าร ก๋าคำ 26 2 คศ.2 ค.บ. ภาษาองั กฤษ ภาษาองั กฤษ/ม.6 50
คศ. 3
104 นางสาวศริ ิวรรณ จันทรเ์ จริญ 35 8 คศ.2 ศศ.บ. ภาษาองั กฤษ ภาษาองั กฤษ/ม.3 50
คศ.3
105 นางสาวปทุม ใจอากะ 29 9 เดอื น คศ.2 ค.บ. ภาษาจีน ภาษาจีน / 1,2,6 50
คศ.3
106 นางสาวนศิ า มิ่งเมือง 37 2 ศศ.บ. พมา่ ศกึ ษา ภาษาพม่า/ม.3,6 50
คศ.2
107 นางสาวนิตติยา เงนิ แดง 25 9 เดือน คศ.2 ค.บ. ภาษาองั กฤษ ภาษาอังกฤษ/1,3 50
คศ.2
108 นางมาลัย บุญท้าวศิริ 31 3 เดอื น คศ.2 ค.บ. ภาษาอังกฤษ ภาษาองั กฤษ/1,3 50
คศ. 2
109 นางเสาวนีย์ ธนสมั ปัตติ 50 12 ครูผชู้ ว่ ย กศ.ม. บริหารการศึกษา ศลิ ปศกึ ษา/ม.4 50
คศ. 3
110 นางรงุ่ เดือน ศิรมิ ิลนิ ทร์ 53 27 คศ.2 ค.บ. นาฎศิลป์ นาฎศิลป์/ม.6 50
คศ.2
111 นายศริ ภิ ทั ร จนั ทมงคล 52 26 คศ.1 ค.บ. ศิลปศกึ ษา ศลิ ปศึกษา/ม.1 50
คศ.2
112 นายภูวรตั กรวชั รโรจน์ 55 24 คศ.3 ศศ.ม ดนตรศี ึกษา ดนตรีศกึ ษา/ม.5 50
คศ. 3
113 นายจติ ติ ทองจติ ติ 52 10 คศ. 2 คบ. ดนตรี ดนตรี/ม.3 50
คศ.2
114 นายพงษว์ ฒั น์ เกตดุ ้วง 48 23 คศ.2 การฝกึ และการจดั การ พละ/ม.3 50
ครูผู้ชว่ ย
ครผู ู้ช่วย กฬี า
คศ.1
115 นายพยนต์ วนพฤกษ์ 58 38 คศ.2 คบ. พลศกึ ษา พละ/ม.3 50
116 นางสาวยุพนิ มาคง 54 26 คศ.3
117 นางอรสา ดำนิล 54 32 คศ. 3 ศษ.ม. บรหิ ารจดั การกฬี า พละ /ม.6 50
118 นางรตั นา พลู ภกั ดี 52 22 คศ. 2
119 นายบัญญัติ วนั ชยั 38 11 คศ.2 ศษ.บ. พลศึกษา สขุ ศึกษา/ม.1 50
120 วา่ ทร่ี .ต อานนท์ ชลธีระเถยี ร 30 2 คศ.2
121 นางกาญจนา สาระนิตย์ 55 30 ครูผู้ชว่ ย ศศ.บ. การจดั การท่ัวไป สุขศึกษา/ม.2 50
122 นางสาวนงนุช แหมา 60 38
123 นางหฤษฎี สทุ ธปรีดา 56 34 ศษ.บ. พลศกึ ษา พละ/ม.2 50
124 นางสาวนุสรา วัตละยาน 31 7
125 นายดำรงพล กติ ติรัตนวศิน 55 31 ศษ.บ. พลศกึ ษา พละ/ม.2,4,5 50
126 นางสภุ ชั ชา พรหมแกว้ 49 22
127 นางชนิดา นาคประเสริฐ 49 22 กศ.บ สังคมศกึ ษา สงั คมศึกษา/ม.3 50
128 นางเสาวลกั ษ์ บัวแกว้ 49 22
129 นางนงนชุ จนั ทร์สายทอง 44 13 กศ.ม. บริหารการศกึ ษา สงั คมศึกษา/ม.5 50
130 นางสาวสุวมิ ล ฟักทองอยู่ 54 29
131 นายปวิณ เกษวงศร์ อต 26 2 ค.บ สังคมศกึ ษา สังคมศกึ ษา/ม.1 50
132 นายเทพประทาน พงึ่ ศาสตร์ 29 3 เดอื น
124 นางสาวนสุ รา วตั ละยาน 31 7 ศศ.บ สงั คมศึกษา สังคมศกึ ษา/ม.3 50
125 นายดำรงพล กติ ติรตั นวศนิ 55 31
126 นางสุภชั ชา พรหมแกว้ 49 22 คบ. สงั คมศึกษา สงั คมศกึ ษา/ม.3 50
127 นางชนดิ า นาคประเสรฐิ 49 22
128 นางเสาวลักษ์ บวั แกว้ 49 22 คบ. สังคมศกึ ษา สังคมศึกษา/ม.1 50
129 นางนงนชุ จนั ทร์สายทอง 44 13
130 นางสาวสวุ ิมล ฟกั ทองอยู่ 54 29 กศ.ม. บรหิ ารการศกึ ษา สังคมศึกษา/ม.4 50
131 นายปวณิ เกษวงศ์รอต 26 2
คบ. สงั คมศึกษา สังคมศึกษา/ม.2 50

คบ. สังคมศึกษา สังคมศึกษา/ม.4 50

ศศ.ม. สังคมศกึ ษา สังคมศึกษา/ม.3 50

คบ. สังคมศกึ ษา ประวัตศิ าสตร์/ม.6 50

ค.บ. สังคมศกึ ษา สงั คมศึกษา/ม.6 50

ศศ.บ สังคมศกึ ษา สังคมศกึ ษา/ม.3 50

คบ. สังคมศกึ ษา สังคมศกึ ษา/ม.3 50

คบ. สังคมศึกษา สงั คมศกึ ษา/ม.1 50

กศ.ม. บรหิ ารการศกึ ษา สงั คมศกึ ษา/ม.4 50

คบ. สังคมศึกษา สังคมศกึ ษา/ม.2 50

คบ. สังคมศกึ ษา สังคมศึกษา/ม.4 50

ศศ.ม. สงั คมศึกษา สังคมศกึ ษา/ม.3 50

คบ. สังคมศกึ ษา ประวตั ศิ าสตร์/ม.6 50



อายุ จำนวนครง้ั
/
ท่ี ชื่อ – สกุล อายุ ราชการ ตำแหน่ง / วฒุ ิ วิชาเอก สอนวชิ า/ ชั้น
วิทยฐานะ ชว่ั โมงท่ีรับ
(ป)ี (ป)ี การพัฒนา/
ครผู ชู้ ่วย
132 นายเทพประทาน พงึ่ ศาสตร์ 29 3 เดอื น ค.บ. สังคมศกึ ษา สงั คมศกึ ษา/ม.6 ปี

จำนวนครูทีส่ อนวชิ าตรงเอก 130 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 98.48 50
จำนวนครูทส่ี อนตรงความถนดั 2 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 1.51

ขอ้ มูลขา้ ราชการครูมาช่วยราชการ

ท่ี ช่ือ – สกุล อายุ วุฒิ วชิ าเอก สอนวิชา / ชัน้ จำนวนครัง้ /
อายุ ราชการ ตำแหนง่ / ฟิสกิ ส์ ฟสิ ิกส์/ม.6 ช่ัวโมงทีร่ ับ
1 นางมณั ฑนนา อนุสกุล การพฒั นา/
จนั ทร์ (ปี) วิทยฐานะ ปี

พานิช 50
2 นางสิรวศั ยา สาลกิ านนท์
3 นางนาตยา มียศ 45 23 คศ.3 กศ.ม.

58 32 คศ.3 บธ.บ. การจัดการทวั่ ไป แนะแนว / ม.2 50
49 25 50
คศ.3 ศศ.ม. ภาษาไทย ภาษาไทย / ม.
5

ขอ้ มลู พนักงานราชการ

จำนวน

อายุ ตำแหนง่ / คร้ัง/
วิทยฐานะ
ที่ ชือ่ – สกลุ อายุ ราชการ วุฒิ วิชาเอก สอนวชิ า / ชั้น ช่ัวโมงท่รี ับ
(ป)ี พนกั งาน การพัฒนา/
ราชการ
พนกั งาน ปี
ราชการ
1 นางหนึง่ นชุ 38 13 ศศ.บ. บริหารธรุ กิจ การงานอาชพี ฯ 50
เหลก็ เพช็ ร์ 3 พนกั งาน /ม.2 , ม.6
1 ราชการ
2 นายเอกชยั ผาแสน 28 1 ค.บ. สังคมศึกษา สงั คมศกึ ษา / 50
เถนิ 5 พนักงาน ม.1
ราชการ
นางสาวภทั ราภรณ์ พนกั งาน 50
ราชการ
3 สุข 29 ศศ.บ. ภาษาจีน ภาษาจีน/ม.4

สุวรรณ

4 นางสาวนชุ นันท์ 26 ค.บ. สงั คมศกึ ษา สังคมศึกษา / 50
พรมกุล ม.4 50

5 นายภมู พิ นั ฒ์ ปาน 34 ศศ.บ. วศิ วกรรมเครื่องกล การงานอาชีพ
แดง ฯ/ม.2



ขอ้ มลู ลกู จ้างประจำ ปกี ารศึกษา

ที่ ชอ่ื – สกลุ อายุ ประสบการณ์ วฒุ ิการศึกษา ตำแหนง่

การทำงาน (ปี) อนปุ รญิ ญา ช่างครุภัณฑ์
มธั ยมศึกษาปีที่ 6 ชา่ งครุภัณฑ์
1 นายเดชะ เสือเดช 56 36 มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 ช่างครภุ ัณฑ์

2 นายกา้ นทอง กองคำสุข 55 23

3 นายจำลอง วันคำ 60 39

ครชู ว่ ยสอนชาวไทย

ท่ี ชื่อ – สกลุ ประสบการณ์ สอนวชิ า / ชนั้ จำนวนครงั้ /
อายุ การสอน (ปี) วฒุ ิ วชิ าเอก จ้างด้วยเงิน ชัว่ โมงท่ีรบั
1 นางสาวพิมพพ์ ิมล ฝ้นั เฝอื
2 นางสาวภัทราพร วงษว์ าท การพฒั นา/ปี

26 2 ค.บ. วิทยาศาสตร์ (เคมี) เคม/ี ม.4 สพฐ. 50

27 3 ศษ.บ. นาฏศิลป์ นาฏศิลป/์ ม.2 งบโรงเรยี น 50

ครชู ว่ ยสอนชาวต่างชาติ

ท่ี ชื่อ – สกลุ สญั ชาติ ประสบการณ์ จำนวนคร้ัง/
วชิ าเอก สอนวิชา / ชน้ั จา้ งดว้ ยเงนิ ชั่วโมงท่รี บั
การสอน (ปี) วฒุ ิ

การพัฒนา/ปี

1 Mr. Henrry Lee Emphrey อเมริกัน 2 เดอื น M.A ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ งบโรงเรียน 35

Iv

2 Mr.Neba Eric Mungong แคเมอรนู 4 B.Sc ชีววทิ ยา,เคมี เคมี งบโรงเรยี น 50

3 Mr. Renante B. ฟิลปิ ปินส์ 6 B.Ed คณิตศาสตร์ คณติ ศาสตร์ งบโรงเรียน 50

Hernandez

4 Miss Vanessa Leigh ฟิลิปปนิ ส์ 10 B.Ed ภาษาองั กฤษ ภาษาอังกฤษ งบโรงเรียน 50

Oclarit

5 Mr. David James Williams อเมรกิ ัน 1 B.A ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ งบโรงเรยี น 50

6 Miss Meredih Walsh อเมรกิ นั 1 ภาษาองั กฤษ ภาษาองั กฤษ งบโรงเรียน 50

7 Mr. Thiha Min พมา่ 4 B.A กฎหมาย พมา่ งบโรงเรยี น 50

8 Mr.Dino Alfaro Molano ฟลิ ิปปนิ ส์ 4 เดอื น BSED คณติ ศาสตร์ คณติ ศาสตร์ งบโรงเรียน 35

9 Miss Camille Morrow อเมริกนั 4 เดอื น B.S ภาษาอังกฤษ ภาษาองั กฤษ งบโรงเรียน 35

10 Mr. Li Shihao จีน 3 เดอื น B.A ภาษาจนี ภาษาจีน งบโรงเรียน 35

11 Mr. Aziz Benjamaa คณติ ศาสตร์ 3 เดือน B.S คณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ งบโรงเรียน 35



ขอ้ มูลลกู จ้างชั่วคราว (เจ้าหน้าที่สำนกั งาน)

ประสบการณ์ วุฒิ ตำแหน่ง หน้าทีท่ ร่ี ับผดิ ชอบ
ที่ ช่ือ – ชอ่ื สกลุ อายุ การทำงาน (ป)ี
ปริญญาตรี เจ้าหน้าทสี่ ำนักงาน กิจการนกั เรยี น
1 นางสาวอจั ฉรา ดิสกุล 36 11 ปี ปรญิ ญาตรี เจา้ หน้าท่สี ำนกั งาน วัดผล ประเมนิ ผล
ปรญิ ญาตรี เจ้าหนา้ ทส่ี ำนักงาน วดั ผล ประเมนิ ผล
2 นางสาวปรารถนา คปุ ตัษเฐยี ร 41 13 ปี ปรญิ ญาตรี เจ้าหนา้ ที่สำนกั งาน
ปรญิ ญาตรี เจ้าหนา้ ทส่ี ำนักงาน ธุรการ
3 นางสาวปทิตตา เครือจิโน 40 8 ปี ปรญิ ญาตรี เจา้ หน้าท่สี ำนักงาน การเงนิ
ปริญญาตรี เจ้าหน้าที่สำนกั งาน วิชาการ
4 นางสาวปารวี พชิ าอิษยา 40 7 ปี ปรญิ ญาตรี เจ้าหนา้ ทส่ี ำนักงาน วชิ าการ
ปริญญาตรี เจา้ หน้าที่สำนกั งาน งานพัสดุ
5 นางปุณยนชุ อ่อนอนุ่ 37 8 ปี ปริญญาตรี เจา้ หน้าทส่ี ำนกั งาน งานพสั ดุ
ปริญญาตรี เจ้าหน้าท่สี ำนกั งาน ฝ่ายบริหารงานทัว่ ไป
6 นางจีระนนั ท์ กัณธิยะ 25 6 เดอื น ปรญิ ญาตรี เจา้ หนา้ ทสี่ ำนกั งาน คอมพวิ เตอร์
ปริญญาตรี เจ้าหนา้ ทส่ี ำนักงาน หอ้ งเรียน EIS
7 นางสาวขนิษฐา วนั คำ 33 10 เดอื น ปรญิ ญาตรี เจา้ หน้าที่สำนักงาน หอ้ งเรียน MEP
ปริญญาตรี เจา้ หน้าที่สำนักงาน ห้องเรียน MEP
8 นางสาวมณพี ันธ์ วงศแ์ สน 23 3 เดอื น ปริญญาตรี เจา้ หน้าที่สำนักงาน หอ้ งเรยี น SME
ปรญิ ญาตรี เจา้ หนา้ ทส่ี ำนกั งาน หอ้ งเรยี น SME
9 นางสาวศุภาพชิ ญ์ สยี ะ 26 3 เดือน ปริญญาตรี เจ้าหน้าที่สำนักงาน ห้องเรยี น SME
ปรญิ ญาตรี เจา้ หนา้ ทีส่ ำนักงาน สำนักงานอำนวยการ
10 นายอลงกรณ์ สายสดุ 26 3 เดอื น ปรญิ ญาตรี เจ้าหนา้ ทส่ี ำนกั งาน เจา้ หน้าทพี่ ยาบาล

11 นายวสันต์ กัณธิยะ 33 3 ปี LAB BOY

12 นางสาวสพุ ชั รนิ ธร อาวรณ์ 26 3 ปี

13 นายอศิ รา จอมครี ี 34 3 ปี

14 นางสพุ ชี ญา ศรเี ผอื ด 46 4 ปี

15 นายวฒุ ิพงษ์ จวิ เดช 25 2 เดือน

16 นางสาวจันจริ า บุญยัง 25 2 ปี

17 นางสาวพมิ พา พงึ่ ทองคำ 26 2 ปี

18 นายเศรษฐนนท์ แย้มกลีบ 24 3 เดอื น

19 นางสาวพิมพช์ นก เน่ืองเผือก 35 2 เดอื น

20 นางสาวสุชานันท์ คำนวนศลิ ป์ 27 2 ปี

ข้อมลู ลูกจา้ งช่ัวคราว ประสบการณ์ วฒุ ิ ตำแหน่ง /
อายุ การทำงาน (ป)ี หน้าที่ทร่ี ับผิดชอบ
ท่ี ชอ่ื – ช่อื สกุล
43 13 ปี ประถมศึกษาปที ่ี 6 แม่บา้ น
1 นางประภาศรี ไวยเนตร์ แม่บา้ น
2 นางทิวา ใจหงมิ 45 5 ปี ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 แมบ่ ้าน
3 นางสุนทรี ดว้ งนา แมบ่ า้ น
4 นายเฉลียว คนทา 43 4 ปี มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 แมบ่ า้ น
5 นางสมมาศ ต่อกร แมบ่ ้าน
6 นางชุตมิ า ไหแก้ว 59 1 ปี ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 คนงาน
7 นางประทุม ภักดี คนงาน
8 นางคณุ ากร ใจแดง 50 6 ปี ประถมศกึ ษาปีที่ 4 คนงาน
9 นายวิโรจน์ ศรวี ิชยั คนงาน
10 นายธวัชชยั สอนใส 46 6 ปี ประถมศึกษาปีที่ 6 คนงาน
11 นายชรนิ ทร์ รอดชยั ภมู ิ คนงาน (ช่างไฟ)
12 นายสรรฐาน ซอ่ นเฮง 48 1 ปี มัธยมศึกษาปีท่ี 6 ช่างระบบน้ำ
13 นายทด บญุ เกดิ คนงาน
14 นายอานนท์ เชียงทา 50 3 ปี ประถมศึกษาปที ่ี 6

56 4 เดอื น ประถมศกึ ษาปีท่ี 7

51 3 เดอื น ปรญิ ญาตรี

35 6 ปี ประถมศึกษาปที ี่ 6

43 1 ปี มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3

64 4 ปี ประถมศกึ ษาปีที่ 6

44 13 ปี มัธยมศึกษาปีที่ 6



ข้อมูลลกู จ้างชวั่ คราว(ต่อ) ประสบการณ์ วฒุ ิ ตำแหน่ง /
อายุ การทำงาน (ป)ี หน้าที่ทร่ี ับผดิ ชอบ
ที่ ช่อื – ช่ือสกลุ
15 นายสุทดั สืบสายดี 52 3 ปี มัธยมศึกษาปที ่ี 3 ยาม
16 นายประพันธ์ สกุ ใส
17 นายวีระศักดิ์ พลแสน 61 4 ปี ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 ยาม
18 นายทวี โฉมงาม พนกั งานขับรถ
48 4 ปี มธั ยมศึกษาปีที่ 3 พนักงานอดั สำเนา

50 2 ปี มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3

2) วฒุ กิ ารศกึ ษาสูงสดุ ของบคุ ลากร จำนวน (คน)
ระดบั 0
0
ปวช. 0
ปวส. 80
ประกาศนยี บตั รบณั ฑติ 65
ปรญิ ญาตรี 2
ปรญิ ญาโท
ปรญิ ญาเอก

3) สาขาวิชาที่จบการศึกษาและภาระงานสอน

สาขาวิชา จำนวน (คน) ภาระงานสอนเฉลย่ี ของครู 1 คน
ในแตล่ ะสาขาวชิ า(ชม./สัปดาห)์
1. บริหารการศกึ ษา 5
2. คณติ ศาสตร์ 20 0
3. วทิ ยาศาสตร์ 34 20
4. ภาษาไทย 15 13
5. ภาษาอังกฤษ 24 20
6. สงั คมศกึ ษา 14 17.66
7. การงานอาชีพและเทคโนโลยี 14 18.36
8. แนะแนว 5 14.21
9. ศิลปะ 6 13
10. สุขศึกษา 10 17
147 13
รวม 16.24



1.3 ข้อมลู นักเรยี น

1) จำนวนนกั เรียนในปกี ารศกึ ษา 2560 รวม 2,640 คน (ณ วันที่ 10 มิถนุ ายน 2560)

2) จำนวนนกั เรยี นในโรงเรยี นทั้งสิ้น 2,640 คน จำแนกตามระดบั ชั้นที่เปิดสอน

ระดบั ช้ันเรียน จำนวนห้อง เพศ รวม เฉลย่ี
ชาย หญงิ ต่อหอ้ ง

ม.1 11 216 269 485 44.09

ม.2 10 239 220 459 45.90

ม.3 11 198 266 464 42.18

ม.4 11 160 255 415 37.73

ม.5 11 164 270 434 39.45

ม.6 11 152 231 383 34.82

รวมท้ังหมด 65 1129 1511 2640

๑๐

1.4 ขอ้ มลู ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นระดับสถานศึกษา

รอ้ ยละของนกั เรยี นทม่ี ีเกรดเฉลยี่ ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นแตล่ ะรายวิชาในระดับ 3 ขน้ึ ไป
ระดับช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 - 6 ปีการศกึ ษา 2560

จำนวน นร. ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษาฯ สขุ ศึกษาฯ ศลิ ปะ การงานฯ ภาษาต่างประเทศ
ทง้ั หมด นร.ทีไ่ ดร้ ะดับ นร.ท่ีได้ระดบั นร.ที่ได้ระดับ นร.ที่ได้ระดับ นร.ที่ได้ระดบั นร.ท่ีไดร้ ะดับ นร.ทีไ่ ดร้ ะดบั นร.ท่ไี ดร้ ะดบั
( 2,605 3 ขึน้ ไป 3 ข้นึ ไป 3 ขนึ้ ไป 3 ขึน้ ไป 3 ขนึ้ ไป 3 ขนึ้ ไป 3 ขน้ึ ไป 3 ขน้ึ ไป
คน)
ชน้ั จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน จำนวน จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ
ม. 1 709 61.33 903 42.14 1001 64.83 2443 79.42 1722 89.32 779 80.81 943 74.72 1808 58.76
ม. 2 603 59.06 845 42.61 1059 64.61 2121 77.64 1680 92.11 489 53.62 825 80.80 1394 59.55
ม. 3 511 55.18 541 29.26 1155 76.69 2264 81.59 1711 92.39 796 85.78 1311 89.86 2111 67.02
ม. 4 742 63.64 654 42.36 1596 63.59 2242 76.57 1415 88.88 529 63.89 855 60.64 1404 66.73
ม. 5 1093 79.72 620 39.24 1548 70.65 2376 88.36 1444 91.45 843 98.37 1432 89.61 1779 78.96
ม. 6 609 61.95 237 31.64 860 66.31 1443 81.76 1341 91.79 460 60.85 1237 84.44 2254 79.96
รวม 4267 63.48 3800 37.87 7219 67.7812889 80.89 9313 90.99 3896 73.88 6603 80.0110750 68.50

แผนภูมิแสดงค่าร้อยละของนักเรียนทมี่ ีเกรดเฉลี่ยผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นแตล่ ะรายวชิ าในระดบั 3 ข้นึ ไป
ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 - 6 ปกี ารศกึ ษา 2560

๑๑

1.5 ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพืน้ ฐานของผู้เรยี นระดับชาติ (National Test: NT)
ไม่ได้ทดสอบ

1.6 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขนั้ พืน้ ฐาน (O-NET)
1) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขัน้ พื้นฐาน (O-NET) ประจำปีการศกึ ษา 2560

ตาราง แสดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้นั พื้นฐาน (O-NET) ประจำการศกึ ษา 2560
ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3

ระดับ/รายวชิ า ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ
คะแนนเฉลยี่ ของโรงเรียน 54.24 36.35 35.74 37.38
คะแนนเฉลีย่ ระดบั จังหวดั 45.71 23.43 30.93 28.24
คะแนนเฉลี่ยสังกดั สพฐ.ท้ังหมด 48.77 26.55 32.47 30.14
คะแนนเฉลี่ย ระดบั ประเทศ 48.29 26.30 32.28 30.45

หมายเหต:ุ คะแนนเฉลี่ยทกุ วิชาของนักเรยี น สงู กว่าคะแนนเฉล่ยี ระดบั จงั หวัด ระดับสงั กัด ระดบั ประเทศทุกรายวชิ า

คะแนนเฉล่ียกราฟแสดงข้อมลู ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ นั้ พ้นื ฐาน(O-NET) ประจำปกี ารศึกษา 2560
ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3

60 ร เรียน
50 ส
40 ระเ
30
20
10

0

กล่มุ สาระการเรียนรู้

๑๒

ตาราง แสดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ประจำการศึกษา 2560
ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6

ระดับ/รายวิชา ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สงั คมฯ ภาษาองั กฤษ
คะแนนเฉล่ยี ของโรงเรียน 53.21 28.92 33.17 36.29 30.40
คะแนนเฉลีย่ ระดับจงั หวัด 45.84 21.01 27.80 32.98 24.12
คะแนนเฉล่ียสงั กัด สพฐ.ทง้ั หมด 50.07 24.64 29.48 34.96 27.91
คะแนนเฉลย่ี ระดบั ประเทศ 49.25 24.53 29.37 34.70 28.31

หมายเหต:ุ คะแนนเฉล่ียทุกวชิ าของนกั เรียน สูงกวา่ คะแนนเฉลย่ี ระดับจงั หวัด ระดับสงั กดั ระดบั ประเทศทุกรายวิชา

คะแนนเฉล่ียกราฟแสดงข้อมลู ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้นั พื้นฐาน(O-NET) ประจำปกี ารศึกษา 2560
ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 6

60 ร เรียน
50 ส
40 ระเ
30
20
10

0

กล่มุ สาระการเรียนรู้

๑๓

2) เปรยี บเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ นั้ พื้นฐาน ปกี ารศึกษา 2559-2560
ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3

ตาราง แสดงการเปรยี บเทียบคะแนนเฉล่ียจากการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติข้นั พ้นื ฐาน
ปกี ารศึกษา 2559-2560 ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 3

วิชา 2559 2560 ผลการพัฒนา
ปี 2559-
ภาษาไทย โรงเรยี น ประเทศ โรงเรยี น ประเทศ 2560
คณติ ศาสตร์
วิทยาศาสตร์ 51.95 46.36 54.24 48.29 2.29
ภาษาอังกฤษ 38.82 29.31 36.35 26.30 -2.47
สังคมฯ 38.83 34.99 35.74 32.28 -3.09
38.83 31.80 37.38 30.45 -1.45
เฉล่ียรวม 55.05 49.00
44.70 38.29 -- -
40.93 34.33 -1.18

แผนภมู ิแสดงการเปรียบเทียบคะแนนเฉลีย่ จากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขน้ั พื้นฐาน
ปีการศึกษา 2559-2560 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3

๑๔

ตาราง แสดงการเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ียจากการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติข้นั พืน้ ฐาน
ปกี ารศกึ ษา 2559-2560 ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 6

2559 2560 ผลการพฒั นา
ปี 2559-
วิชา โรงเรียน ประเทศ โรงเรยี น ประเทศ 2560
-3.98
ภาษาไทย 57.19 52.29 53.21 49.25 -0.97
คณติ ศาสตร์ 29.89 24.88 28.92 24.53 -1.88
วทิ ยาศาสตร์ 35.05 31.62 33.17 29.37
ภาษาองั กฤษ 33.02 27.76 30.40 28.31 -2.62
สงั คมฯ 37.40 35.89 36.29 34.70 -1.11
38.51 34.49 36.40 33.23 -2.11
เฉล่ียรวม

แผนภูมิแสดงการเปรยี บเทยี บคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขัน้ พืน้ ฐานปีการศึกษา
2559-2560 ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 6

๑๕

1.7 ข้อมูลการใชแ้ หลง่ เรยี นรภู้ ายในและภายนอกโรงเรียน ประจำปกี ารศกึ ษา 2560

ตารางแสดงจำนวนนักเรียนทีใ่ ชแ้ หล่งเรียนร้ภู ายในโรงเรียน ปีการศึกษา 2560

แหล่งเรยี นรภู้ ายในโรงเรียน ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6

1. ศนู ยก์ ารเรยี นรู้ ปศ.พพ. 485 459 464 415 434 383
2. หอ้ งสมุด 485 459 464 415 434 383
3. ห้องปฏบิ ัติการวทิ ยาศาสตร์ 485 459 464 415 434 383
4. ธนาคารโรงเรียน 485 459 464 415 434 383
5. ห้องเรียนสเี ขียว 30 30 461 40 40 40
6. หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารคอมพวิ เตอร์ 485 459 464 415 434 383
7. ห้องศูนย์ ERIC 485 459 464 415 434 383
8. หอ้ งนาฎศลิ ป์ 20 471 20 20 20 373
9. สหกรณโ์ รงเรยี น 485 459 464 415 434 383
10. สวนพฤกษ์ศาสตร์ 485 459 464 415 434 383
11. แปลงเกษตร 485 459 464 30 30 30
3,756 4,284 4,219 3,688 3,089 2,971
รวมท้ังหมด

กราฟแสดงจำนวนนกั เรียนทใ่ี ชแ้ หลง่ เรียนรู้ภายในโรงเรียน ปีการศึกษา 2560

๑๖

ตารางแสดง จำนวนนักเรยี นทใ่ี ช้แหล่งเรียนรภู้ ายนอกโรงเรยี น ปกี ารศึกษา 2560

แหล่งเรยี นรู้ภายนอกโรงเรียน ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6

1.ห้องสมุดประชาชน 20 20 20 20 20 20

2.โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสนิ ฯ 0 0 0 0 30 0

3.สระวา่ ยนำ้ คา่ ยวชริ ปราการ /อบจ. 50 50 50 50 50 50

4.กองกำกบั การตำรวจตระเวน 0 459 0 0 0 0
ชายแดนท่ี 34

5.วดั ดอยขอ่ ยเขาแกว้ และสะพานแขวน 485 0 0 0 0 0

6.ศาลสมเดจ็ พระเจ้าตากสินมหาราช 100 20 20 20 20 20

7.วนอุทยานแกง่ ห้วยตาก 0 0 464 0 0 0

8.แหลง่ เรยี นรู้ประวตั ศิ าสตร์ จ.อยธุ ยา 485 0 0 0 0 0

9.องคก์ ารพพิ ิธภณั ฑว์ ทิ ยาศาสตร์ 0 0 464 0 0 0

10. สวนสนกุ ดรีมเวลิ ์ด 0 0 464 451 0 0

11. แหล่งเรียนรูท้ ะเลภาคตะวนั ออก 0 0 0 120 434 373

12. สถาบันการศึกษาในภาคเหนือ 0 109 72 280 280 200

รวมท้ังหมด 1,084 660 1,569 1,366 712 689

กราฟแสดงจำนวนนักเรียนท่ใี ชแ้ หล่งเรยี นรู้ภายนอกโรงเรยี น ปีการศกึ ษา 2560

๑๗

ส่วนที่ 2 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพผู้เรยี น
ระดบั คณุ ภาพ ดเี ย่ยี ม

1. กระบวนการพฒั นา
โรงเรยี นตากพิทยาคมมีกระบวนการพฒั นาผู้เรยี นด้วยวิธกี ารทห่ี ลากหลาย ครูจัดการเรียนรูใ้ ห้เปน็ ไป

ตามศักยภาพของผู้เรยี น และเปน็ ไปตามมาตรฐานและตัวช้วี ัดของหลักสตู ร มกี ารออกแบบการจัดการเรยี นร้ทู ่ี
เหมาะสมกบั ผู้เรยี น จัดการเรียนการสอนโดยใชอ้ ิงหลกั สูตรโรงเรียนมาตรฐานสากลตามหลกั สตู รแกนกลาง
สถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ต่อยอดหลักสูตรโดยใช้นวตั กรรมโครงการเพ่อื พฒั นาคณุ ภาพนักเรยี น
สู่ประชาคมอาเซยี นและมาตรฐานสากล 6 นวตั กรรมโครงการตามความตอ้ งการของนักเรยี น ผปู้ กครอง ชุมชน
และนโยบายจากรฐั ได้แก่ หลักสตู รโครงการเสริมสรา้ งศกั ยภาพนักเรียนด้านวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี
และสิง่ แวดล้อม (พสวท.)(Enrichment Program of Science Mathematics Technology and Environment :
ESMTE) หลักสูตรโครงการพัฒนานักเรียนผมู้ คี วามสามารถพเิ ศษทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ
ภาษาอังกฤษ (S:Science, M:Math, E:English : SME) หลกั สูตรโครงการเตรียมวศิ วกรรมศาสตร์ (Pre -
Engineering) หลักสูตรโครงการจัดการเรยี นการสอนตามหลกั สตู รกระทรวงศกึ ษาธิการเปน็ ภาษาอังกฤษ (Mini
English Program : MEP) หลกั สูตรโครงการจดั การเรียนการสอนวิชาคณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์ โดย
ใช้ภาษาองั กฤษเป็นสอ่ื (English for Integrated Studies : EIS) หลกั สตู รโครงการจดั การเรียนการสอนเพอ่ื
เสริมสรา้ งศักยภาพนักเรยี นสู่ประชาคมอาเซยี น อาเซยี นศกึ ษา (ASEAN Study) โรงเรยี นผา่ นการประเมนิ เปน็
ศูนยก์ ารเรยี นรู้ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งดา้ นการศึกษา ไดร้ บั รางวัลคุณภาพแห่งสำนักงานการศึกษา
ข้ันพื้นฐาน OBEC QA รางวัลโรงเรียนสีเขียว และผา่ นการประเมนิ ระดบั ป้ายสนองพระราชดำริในงานสวน
พฤกษศาสตรโ์ รงเรียน มุง่ เนน้ การจัดการเรยี นการสอนแบบบรู ณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง การจัดการ
เรียนรู้ท่ีเนน้ ผูเ้ รียนเปน็ สำคัญ โดย กระบวนการคดิ แบบสร้างสรรค์ การระดมสมอง การแก้ปญั หา กระบวนการ
เรียนรู้จากประสบการณจ์ ริง กระบวนการปฏิบตั ิ ลงมือทำจริง เพอ่ื พฒั นาผู้เรยี นให้เปน็ คนดี มีปญั ญามีความสขุ มี
ศกั ยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ มุ่งสูม่ าตรฐานสากล และอนุรักษ์สง่ิ แวดลอ้ ม พฒั นาครูใหส้ ามารถ
ออกแบบ การจดั การเรยี นรู้ท่บี ูรณาการทั้งเนอ้ื หาสาระ กระบวนการเรียนรู้ และคุณธรรม โดยยดึ ธรรมชาตขิ อง
ผ้เู รยี นและธรรมชาติของวิชา ดว้ ยกจิ กรรมท่ีหลากหลาย ใช้สื่อเทคโนโลยีในการจดั การเรียนการสอน มีแหล่งเรียนรู้
และแหลง่ สืบค้นขอ้ มลู มีการวดั ผลประเมินผลตามสภาพจริงและหลากหลาย ชมุ ชนให้ความรว่ มมือในการจดั การ
เรียนร้เู ปน็ อยา่ งดี

2. ผลการดำเนนิ งาน
ในดา้ นผลการประเมนิ ผลสัมฤทธ์ิทางวชิ าการ ผเู้ รียนมผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นรู้เทา่ กบั เกณฑ์ที่

สถานศึกษากำหนด ผู้เรียนมีผลการประเมนิ สมรรถนะสำคัญ ผลการประเมนิ การอา่ นคดิ วเิ คราะห์และเขียนเปน็ ไป
ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด มีผลการทดสอบระดบั ชาติสูงกว่าระดับประเทศทุกรายวิชา ผ้เู รยี นมสี ุขนสิ ัยในการ
ดูแลสุขภาพและออกกำลงั กายสม่ำเสมอ รู้จกั ป้องกนั ตนเองจากสิ่งเสพตดิ ให้โทษ สามารถทำงานร่วมกบั ผู้อื่นได้ดี
ยอมรับในกฎ กติกาของกลุม่ ของสถานศึกษา ของสงั คม เห็นคุณค่าในตนเอง มีความมนั่ ใจกลา้ แสดงออกอย่าง
เหมาะสม มีคุณลักษณะอนั พงึ ประสงคต์ ามหลักสูตรสถานศึกษา ยอมรับความคิดเหน็ และวัฒนธรรมท่ีแตกต่าง
มีนสิ ยั รักการอา่ นและแสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเองจากแหลง่ หรอื จากสอื่ เทคโนโลยีไดด้ ้วยตนเองรวมท้งั สามารถ
วิเคราะห์ จำแนกแยกแยะได้ว่าสิง่ ไหนดี สำคญั จำเป็น รวมทง้ั รเู้ ท่าทนั ส่ือและสังคมที่เปลีย่ นแปลงอย่างรวดเรว็

๑๘

ผเู้ รยี นมคี วามคดิ รเิ ร่ิมและสรา้ งสรรค์ผลงานดว้ ยความภาคภมู ิใจ อนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อม ตลอดจนมีทัศนคตทิ ด่ี ตี อ่ อาชพี

สุจรติ ทั้งน้ี มผี ลการดำเนินงานเชิงประจักษ์จากการประเมนิ ในดา้ นตา่ ง ๆ ดังน้ี

ประเด็น ผลการประเมนิ

รอ้ ยละของนกั เรียนระดับชนั้

มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1-6

มีผลการประเมนิ การอา่ น

คิดวเิ คราะหแ์ ละเขยี นของ

นักเรยี นในระดบั ดเี ย่ยี ม

แสดงผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน

ของนักเรยี นระดบั ชนั้
มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1-6
ทไี่ ดร้ ะดับ 3 ขึ้นไป

(ระดับด)ี ปกี ารศึกษา
2558-2560

ผลการประเมินสมรรถนะ
สำคญั ของผเู้ รียน

ด้านความสามารถใน
การใช้เทคโนโลยี

ประเดน็ ๑๙
ผลการประเมิน
ผลการประเมนิ สมรรถนะ
สำคัญของผูเ้ รยี น
ดา้ นความสามารถใน
การใช้ทกั ษะชีวติ

ร้อยละของนกั เรยี นที่มผี ล

การเรียนรายวชิ าการศึกษา
คน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง
(Independent Study) ใน

ระดับดขี ึ้นไปของ
ทกุ กลุม่ สาระ ของนกั เรยี น

ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2
และ 5

ผลการทดสอบระดบั ชาติ รอ้ ยละของคะแนนเฉล่ียผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้นั พืน้ ฐาน
ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 (O-NET) ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ประจำปีการศกึ ษา 2560

ประเด็น ๒๐

ผลการทดสอบระดับชาติ ผลการประเมิน
ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 รอ้ ยละของคะแนนเฉลยี่ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขัน้ พื้นฐาน

(O-NET) ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 ประจำปกี ารศึกษา 2560

คุณลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ของ
ผู้เรียน

2558 2559 2560

ผลการทดสอบวัดระดบั จำนวน ระดับ จำนวน คิดเปน็ รอ้ ยละ
ความรูภ้ าษาอังกฤษ
นกั เรียน คะแนนที่
(Oxford Online Placement
Test) เขา้ สอบ ได้

นักเรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 802คน A0 180 19.45
ปีการศึกษา 2560
A1 380 41.48
ประเด็น
A2 208 22.48

B1 31 3.37

B2 1 0.11

C1 - -

C2 - -

รวม 802 100.00

ผลการประเมิน

การมีสว่ นร่วมในการอนุรกั ษ์ ๒๑
ธรรมชาตขิ องนักเรียน
รอ้ ยละของจำนวนนกั เรียนท่ีมีผลการประเมนิ การมสี ่วนรว่ มใน
การอนรุ กั ษ์ธรรมชาติ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1-6

ความภาคภูมิใจในความเปน็ จำนวนนกั เรียนท่มี ีผลการประเมนิ ดา้ นความภาคภมู ใิ จใน
ไทย ของนักเรียน ความเปน็ ไทย ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 1-6 จำแนกตามระดับคุณภาพ

การยอมรับความคิดเหน็ ของ ร้อยละผลการประเมินนักเรยี นด้านการยอมรบั ความคดิ เห็นของผ้อู น่ื สุขภาวะทางจติ

ผ้อู ่นื สขุ ภาวะทางจิต ภมู คิ มุ้ กนั และความเป็นธรรมต่อสงั คมของนักเรยี น ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1-6
ภูมิคุม้ กนั และความเป็น ปีการศกึ ษา 2560 อยใู่ นระดบั ดี
ธรรมตอ่ สังคมของนักเรียน

๒๒

ประเดน็ ผลการประเมนิ

การเข้าร่วมโครงการส่งเสรมิ รอ้ ยละของจำนวนนกั เรยี นทีเ่ ขา้ ร่วมโครงการสง่ เสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
คุณธรรม จริยธรรม

2. จุดเดน่
ผู้เรียนปฏบิ ัติตนอยใู่ นระเบยี บวนิ ยั ทดี่ ี มีคุณธรรม มสี ุขภาพรา่ งกายสมบรู ณ์แข็งแรง ร่วมกจิ กรรมศลิ ปะ

ดนตรีและกฬี าอยา่ งสมำ่ เสมอ ส่งผลใหผ้ ลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของนักเรียนสูงขน้ึ สนใจในการเรียนรทู้ ้ังจากแหล่ง
เรยี นรู้ภายในและแหลง่ เรยี นรูภ้ ายนอกสถานศกึ ษา สามารถใช้เทคโนโลยีสนับสนนุ การเรยี นร้ขู องตนเองได้ มีทกั ษะ

การคิดและรจู้ กั แก้ปัญหาโดยใชเ้ หตุผล ปฏิบัติอย่ใู นกจิ กรรมและทำงานทไี่ ด้รบั มอบหมายไดอ้ ยา่ งเป็นลำดบั ข้นั ตอน
สามารถวางแผนและมกี ระบวนการในการทำงานที่ชดั เจน ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนกั เรียนสูงข้นึ มี
คะแนนเฉลยี่ ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ นั้ พนื้ ฐาน (O-NET) สูงกว่าระดบั ชาติ ทุกรายวชิ าและต่อเนอื่ ง

มาตลอด
3. จุดควรพฒั นา

ควรพฒั นาผูเ้ รียนให้มีทักษะการคดิ อย่างเปน็ ระบบ คดิ สร้างสรรค์ นอกจากนน้ั ควรพัฒนาผเู้ รียนใหม้ ีผล
การทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ น้ั พนื้ ฐาน (O-NET) มากกวา่ รอ้ ยละ 50 ทกุ รายวิชา โดยศึกษาปญั หาในการ
เรียนรู้ของผ้เู รยี น ศกึ ษาความสามารถของผ้เู รยี นแตล่ ะบคุ คลในการเรียนรแู้ ละจดั กจิ กรรมให้เหมาะสมกับผ้เู รียนแต่

ละกลุม่ ส่งเสรมิ และกระตนุ้ ใหผ้ ู้เรียนสนใจในการเรียนร้ทู ง้ั ทฤษฎีความรแู้ ละการปฏิบัตอิ ยา่ งสมดุล

๒๓

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและจัดการของผู้บริหารสถานศกึ ษา
ระดบั คุณภาพ ดเี ย่ยี ม

1. กระบวนการพฒั นา
โรงเรยี นได้ดำเนินการวิเคราะห์สภาพปจั จบุ นั ปัญหา ความต้องการ และผลการจดั การศกึ ษาปีท่ีผ่าน

มา โดยการศกึ ษาข้อมูล สารสนเทศจากผลการนเิ ทศ ติดตาม ประเมินนโยบายการปฏริ ปู การศึกษา และจากการ
ประชมุ ระดมความคดิ เหน็ จากบุคลากรเพอ่ื วางแผนร่วมกันกำหนดเป้าหมาย ปรบั วิสยั ทัศน์ กำหนดพนั ธกิจ กลยุทธ์
ในการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษาเพ่ือพัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รียน โรงเรยี นใชก้ ระบวนการในการบรหิ ารงานแบบ SPSS-
DSA Model โดยไดม้ ีการวิเคราะห์สภาพองค์กร (S – SWOT Analysis) มีการวางแผน (P – Plan) มกี ารบริหาร
โดยยึดหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (S - Sufficiency Economy Management) นอกจากนยี้ งั มีการบูรณา
การบริหารโดยใช้โรงเรยี นเปน็ ฐาน (เนน้ การมีสว่ นรว่ ม) (S - School Based Management) ไดม้ กี ารนำไปสูก่ าร
ปฏิบตั ิ (D – Do) โดยการใช้ TEPS framework เปน็ กรอบแนวทางในกระบวนการทำงาน ประกอบด้วย T : TEAM
WORK (การทำงานเปน็ ทมี ) มีบรรยากาศในการทำงานร่วมกนั ส่งเสริม สนับสนุนให้บคุ ลากรทุกคนทำงานอย่างมี
ความสขุ มุง่ สคู่ วามสำเร็จตามเปา้ หมาย E : EXPERTISE (สร้างผู้เช่ียวชาญ) จดั สิง่ อำนวยความสะดวก สนบั สนุน
ทรพั ยากร เพ่ือให้การปฏบิ ตั ิงานเปน็ ไปอย่างมีประสิทธิภาพ เพือ่ สง่ เสริมใหผ้ ปู้ ฏิบัติงานเกดิ การพฒั นาตนเองใหเ้ ปน็ ผู้
ที่มีความเชีย่ วชาญ โดดเดน่ หรือมที กั ษะระดบั สงู ในเร่อื งนั้น ๆ P : PARTICIPATIVE (การดำเนนิ งานแบบมสี ว่ นรว่ ม)
กระจายอำนาจการทำงานให้ครู บุคลากรไดม้ โี อกาสเปน็ ผูน้ ำและผูต้ ามในการทำงาน เปิดโอกาสให้บคุ ลากรทกุ ภาค
สว่ นได้มสี ว่ นร่วมในการดำเนินงาน S : SELF-EVALUATION (การประเมนิ ตนเองอยูเ่ สมอ) มีการกำกบั ติดตามการ
ปฏิบตั งิ าน ประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ านในขณะดำเนินงานอยู่เสมอ มองเห็นจุดแขง็ จดุ อ่อน โอกาส และอปุ สรรคที่
เกดิ ขน้ึ ในระหว่างปฏบิ ัตงิ านเพื่อให้ดำเนินงานไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ นอกจากนใ้ี นการวัด ประเมนิ และวิเคราะหผ์ ล
การดำเนนิ การ (S – Study) และไดม้ ีการปรับปรุงพัฒนา (A – Act) และนำกระบวนการแบบ TAKS Model มาใช้
ในการกำกับ ตดิ ตาม ด้วยความมุ่งหวงั ว่าจะใหเ้ กิดการบริหารจดั การศกึ ษาท่ีส่งผลให้ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
ปฏบิ ตั งิ านได้อย่างมีคุณภาพ

T – Target มีเปา้ หมายสนองแผนกลยุทธ์ A – Achievement การบรรลุเปา้ หมาย
K – Knowledge การสรา้ งองค์ความรู้ S – System ทำงานอยา่ งเปน็ ระบบ
2. ผลการพัฒนา
2.1 โรงเรียนมีการกำหนดเปา้ หมาย วิสยั ทัศนแ์ ละพนั ธกิจสอดคลอ้ งกบั สภาพปัญหาความตอ้ งการพฒั นา
ของสถานศึกษา นโยบายการปฏริ ปู การศกึ ษา ความตอ้ งการของชุมชน ทอ้ งถน่ิ และสอดคล้องกบั
แนวทางการปฏริ ูปตามแผนการศกึ ษาชาติ
2.2 แผนพัฒนาคุณภาพการจดั การศกึ ษา แผนปฏิบตั กิ ารประจำปี สอดคลอ้ งกับการพัฒนาผ้เู รียนทกุ
กลุม่ เปา้ หมาย มกี ารพฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาให้มีความรู้ความเชย่ี วชาญ ตามมาตรฐานตำแหน่ง
ขอ้ มลู สารสนเทศมีความถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย นำไปประยุกตใ์ ชไ้ ด้ ดำเนินการอย่างเป็นระบบ และมกี ิจกรรม
จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมทกี่ ระตุ้นผูเ้ รียนใหใ้ ฝ่เรียนรู้
2.3 โรงเรยี นมีการปรับแผนพฒั นาคุณภาพการจัดการศกึ ษา แผนปฏิบัติการประจำปี ให้สอดคลอ้ งกับ
สภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษาโดยผู้มสี ว่ นไดเ้ สียมีสว่ นรว่ มในการพฒั นาและ
รว่ มรบั ผิดชอบ
2.4 ผู้เก่ยี วข้องทุกฝา่ ย และเครือข่ายการพฒั นาคณุ ภาพสถานศกึ ษา มสี ว่ นร่วมในการร่วมวางแผนพฒั นา
คุณภาพการศกึ ษา และรับทราบ รบั ผิดชอบต่อผลการจัดการศกึ ษา

๒๔

2.5 โรงเรยี นมกี ารนเิ ทศ กำกับ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการบรหิ ารและการจัดการศึกษา ท่ีเหมาะสม เป็น
ระบบและตอ่ เนอื่ ง เปิดโอกาสให้ผู้เก่ียวข้องมสี ่วนรว่ มในการจดั การศึกษา

2.6 สถานศึกษามรี ปู แบบการบริหารและการจัดการเชงิ ระบบ โดยทกุ ฝ่ายมีสว่ นรว่ ม ยดึ หลักธรรมาภิบาล
และแนวคิดหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง โดยมงุ่ พัฒนาผู้เรยี นตามแนวทางปฏริ ปู การศึกษา

2.7 สถานศกึ ษามีการระดมทรพั ยากรเพอื่ การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาจากเครอื ขา่ ยอุปถมั ภ์ ส่งผลให้
สถานศกึ ษามีสอื่ และแหล่งเรียนร้ทู ่มี คี ณุ ภาพ

วธิ กี ารพัฒนา ผลการพัฒนา
จำนวนคร้งั ที่ครูได้รบั การอบรมพัฒนาทางวิชาชีพ
การพฒั นาครแู ละ
บคุ ลากรทางการศึกษา

การมสี ่วนรว่ มของ จำนวนเครอื ขา่ ยที่เข้ามามสี ่วนร่วมในการวางแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
เครือขา่ ยในการว่าง
ร้อยละความสำเรจ็ ของโครงการยกระดบั ความสัมพนั ธร์ ะหว่างโรงเรยี นกับคณะกรรมการสถานศกึ ษา
แผนการพฒั นา
คณุ ภาพการศึกษา

วธิ ีการพฒั นา ๒๕

ผลการพฒั นา
แผนภมู แิ ทง่ แสดงการเปรยี บเทียบความพึงพอใจของนักเรยี น ผปู้ กครอง คณะกรรมการ
สถานศึกษา และ ชมุ ชน ต่อการบรหิ ารงานของโรงเรยี นตากพิทยาคม ปีการศกึ ษา 2560

การจัดหาทรัพยากร จํานวนทุนการศึกษาท่ศี ิษยเ์ กา่ สมาคมผ้ปู กครองและครูมอบให้กบั โรงเรยี น
ปีการศกึ ษา 2558-2560

แสดงร้อยละการเขา้ รว่ มประชุมผูป้ กครองนักเรยี น ปีการศกึ ษา 2558 – 2560

วธิ ีการพฒั นา ๒๖

การนิเทศ กำกับ ผลการพัฒนา
ติดตามและ รอ้ ยละของครูท่ไี ด้รับการนิเทศ กำกบั ติดตามและประเมนิ ผลจากฝา่ ยบรหิ าร
ประเมินผล

3. จุดเด่น
โรงเรยี นตากพิทยาคมได้ดำเนินงานตามแผนกลยุทธ์ของโรงเรยี นมกี ารปรับแผนปฏิบัตกิ ารประจำปี และ

แนวทางการพฒั นา ระบบประกนั คณุ ภาพภายใน มีระบบกำกบั ดูแลกระบวนการทำงาน (TAKS Model) โดยฝ่าย
บรหิ าร และคณะกรรมการนำข้อมลู เหลา่ น้ไี ปวิเคราะห์เพอื่ ปรบั ปรุงกระบวนการทำงานตา่ งๆ ดังน้ี โรงเรียนตาก
พิทยาคม ดำเนินการปรบั ปรงุ กระบวนการทำงานอย่างตอ่ เนือ่ ง โดยวดั ประสทิ ธิภาพการทำงาน จากเครอ่ื งมอื วดั
TAKS Model เพ่อื ประเมนิ กระบวนการทำงานของหน่วยงานตา่ งๆ ตามโครงสรา้ งการบริหาร โดยใช้ตัวชีว้ ดั และ
ค่าเป้าหมายที่กำหนดขน้ึ เช่น ร้อยละของหน่วยงานหรอื กระบวนการทท่ี ำงานอยา่ งมีประสิทธภิ าพ

4. จุดควรพัฒนา
1. กำหนดแผนงานปรบั ปรุงระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ โดยมอบหมายให้ผูร้ บั ผิดชอบจดั ทำขอ้ มูล
สารสนเทศใหเ้ ป็นปัจจบุ ัน และใช้ข้อมูลเป็นฐานในการพัฒนาการศึกษาไดต้ ลอดเวลา
2. สรา้ งเครือขา่ ยความรว่ มมือการจัดการศกึ ษากบั ต่างประเทศ และผูม้ ีส่วนเกีย่ วขอ้ งในการจัดการศึกษา
ของโรงเรยี นใหเ้ ขม้ แข็งเพ่ือร่วมกนั ขับเคลอื่ นคุณภาพการจัดการศกึ ษา

๒๗

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่เี นน้ ผเู้ รียนเป็นสำคญั
ระดับคณุ ภาพ ดีเยยี่ ม

1. กระบวนการพัฒนา
โรงเรยี นตากพิทยาคมได้ดำเนินงานตามแผนกลยุทธ์ของโรงเรยี น แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปี 2560 พัฒนา

และปรบั ปรงุ หลักสตู รสถานศึกษา มกี ารประชมุ วางแผนดำเนินการ นิเทศกำกับติดตาม ประเมนิ ผล และนำผลการ
ประเมนิ ไปใช้ในการปรบั ปรุงแกไ้ ขตอ่ ไป โรงเรียนสง่ เสริมใหค้ รูจัดการเรยี นการสอนที่เนน้ ผ้เู รียนเป็นสำคัญโดย
การดำเนนิ งาน/กจิ กรรมอย่างหลากหลาย ไดแ้ ก่ งานหลกั สตู รมีการประชุมปฏบิ ัติการปรับปรุงหลกั สูตรสถานศกึ ษา
พฒั นาสู่ประชาคมอาเซยี นและมาตรฐานสากล มีการบรู ณาการภาระงาน ช้ินงาน โดย ทกุ ระดบั ชน้ั จัดทำหน่วย
บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน โรงเรยี นปลอดขยะ ปรับโครงสรา้ งรายวิชา หน่วยการ
เรยี นรู้ ลดเวลาเรยี น เพิม่ เวลารู้ สัดสว่ นคะแนนแต่ละหนว่ ยกำหนดคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ทสี่ อดคลอ้ งกบั หนว่ ย
การเรยี นรู้ สนบั สนุนใหค้ รจู ดั การเรยี นการสอนท่ีสร้างโอกาสให้นกั เรยี นทกุ คนมสี ่วนรว่ ม ไดล้ งมอื ปฏบิ ัติจริงจนสรุป
ความร้ไู ด้ด้วยตนเอง จัดการเรยี นการสอนทเี่ น้นทกั ษะการคิด เช่น จัดการเรยี นร้ดู ว้ ยโครงงาน ครูมกี ารมอบ
หมายหนา้ ทีใ่ หน้ กั เรยี นจัดป้ายนิเทศ และบรรยากาศตามสถานที่ต่าง ๆ ท้ังภายในห้องเรยี นและนอกห้องเรียน
ครใู ช้ส่อื การเรียนการสอน นวัตกรรมและเทคโนโลยี ภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ แหลง่ เรียนรู้ ครูทกุ คนทำงานวจิ ยั ในชัน้ เรียน
ปกี ารศกึ ษาละ 1 เรือ่ ง และไดร้ บั การตรวจใหค้ ำแนะนำโดยคณะกรรมการนิเทศของโรงเรยี น

2. ผลการดำเนนิ งาน
จากผลการดำเนนิ งาน/โครงการ/กิจกรรมอย่างหลากหลาย เพือ่ พัฒนาให้ครูการจัดการเรยี นการสอนท่เี น้น

ผเู้ รียนเป็นสำคญั ส่งผลให้ผลการประเมินคณุ ภาพมาตรฐานที่ 3 อยใู่ นระดับดเี ยี่ยม

เปรียบเทยี บผลการดำเนนิ งานตามโครงการ (คดิ เป็นรอ้ ยละ)

2558 2559 2560

โครงการตามแผนปฏบิ ัติงาน เปา้ ผล เทียบ เปา้ ผล เทยี บ เป้า ผลการ เทยี บ
หมาย การ กับ หมาย การ กบั หมา ดำเนนิ กับ
1. โครงการพฒั นาบุคลากรครู ดำเนนิ เกณฑ์ ดำเนิน เกณฑ์ ย การ เกณฑ์
2. โครงการนเิ ทศและพฒั นาคณุ ภาพการจดั การเรยี นการสอน การ การ
ของครู
3. โครงการวจิ ัยและพฒั นาสื่อและเทคโนโลยีเพ่อื ใชใ้ นการจดั 96 96 เท่า 97 98 สูง 97 97 เทา่
กระบวนการเรียนรู้
93 93 เทา่ 94 95 สูง 95 95.83 สงู

94 95 สูง 96 97 สูง 97 97 เท่า

3. จุดเด่น
โรงเรียนไดส้ ง่ เสริม สนับสนุนให้ครพู ัฒนาส่อื นวตั กรรมและพัฒนาการจัดการเรยี นรทู้ เ่ี นน้ ผูเ้ รยี นเป็นสำคัญ

โดยสอดคลอ้ งกับหลกั สูตรสถานศึกษา นอกจากนี้ยงั มกี ารส่งเสริมให้ครูพฒั นาอบรมเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์
อย่เู สมอ ครมู ีความสามารถในการจัดการเรียนรทู้ ่เี นน้ ผู้เรียนเป็นสำคญั โดยอาศัยการวิเคราะห์ผูเ้ รียนเป็นรายบคุ คล
ทำให้ผเู้ รียนไดร้ บั ความรเู้ ตม็ ตามศักยภาพของผูเ้ รียนแต่ละคน มีประสทิ ธิผลของการจดั การเรยี นรู้ ครมู ีวุฒ/ิ ความรู้
ความสามารถตรงตามวชิ าที่สอน ผู้บริหารมคี วามสามารถในการปฏิบัติงานอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพและเกิดประสิทธผิ ล
คณะกรรมการสถานศกึ ษา ผู้ปกครอง ชมุ ชนมีส่วนรว่ มในการพฒั นาสถานศกึ ษา

๒๘

4. จุดควรพฒั นา
1. กำหนดแนวคิดการผลติ Best Practice เพ่ือเป็นผลงานของครู กลุ่มสาระการเรยี นรู้ กลมุ่ บริหารและ

โรงเรยี น โดยมกี ารกระตุ้นให้บุคลากรมกี ารศกึ ษาค้นคว้าและหาข้อสรปุ ของงานทรี่ บั ผิดชอบ เป็น เบื้องต้น
เพอ่ื นำไปสูก่ ารยกระดับคณุ ภาพของงานโดยการใชน้ วตั กรรมการปฏบิ ัติทเ่ี ป็นเลิศได้ในที่สุด

2. คดั เลอื กครผู ูม้ ีผลการปฏิบัติงานเป็นเลศิ (Best practice) ด้านการจัดการการเรยี นการสอน
เพอื่ แตง่ ตงั้ ให้เป็นครูต้นแบบการเรียนรู้ และขยายผลไปสู่ครูเครือขา่ ย โดยมีครูตน้ แบบเป็นผู้แนะนำนิเทศตดิ ตาม
และประเมินผลเพ่อื พฒั นาสู่ครูตน้ แบบรนุ่ ต่อไป

มาตรฐานที่ 4 ระบบการประกันคุณภาพภายในทม่ี ีประสทิ ธิผล
ระดับคณุ ภาพ ดี

1. กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนดำเนนิ การประเมนิ คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา 8 ประการ ได้แก่ 1) กำหนดมาตรฐาน

การศึกษาของสถานศึกษา 2) จดั ทำแผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาม่งุ เนน้ คณุ ภาพตามมาตรฐาน 3) จัดการและบรหิ าร
ขอ้ มูลสารสนเทศอย่างเป็นระบบโดยใช้เทคโนโลยีชว่ ยในการเก็บข้อมูล วิเคราะหข์ อ้ มูลเป็นสารสนเทศที่เปน็ ปะโยชน์
ในการพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษาของโรงเรยี น 4) จัดทำแผนพัฒนาการจดั การศกึ ษา 5) ดำเนนิ การตดิ ตาม
ตรวจสอบคุณภาพการศกึ ษา 6) ประเมนิ คณุ ภาพภายในตามมาตรฐานของสถานศึกษา7) จัดทำรายงานประจำปีท่ี
เสนอผลการประเมินคณุ ภาพภายใน 8) โรงเรียนดำเนินการพัฒนาคุณภาพอยา่ งต่อเนือ่ ง โดยจดั ประชมุ คณะครู
ผ้ปู กครอง คณะกรรมการสถานศกึ ษานำเสนอผลการดำเนินงานรายงานประจำปีของสถานศึกษาในปกี ารศึกษาที่
ผ่านมา วิเคราะห์ผลการประเมนิ คุณภาพภายในจากรายงานประจำปีของปกี ารศกึ ษาท่ีผ่านมา วิเคราะหจ์ ุดเดน่
จุดท่คี วรพัฒนา และจัดทำแผนปฏิบตั กิ ารประจำปตี ามจุดท่คี วรพฒั นา ประกอบด้วยโครงการ/กจิ กรรมทจ่ี ะพฒั นา
คุณภาพตามมาตรฐานของสถานศึกษา โดยเน้นที่ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน จัดทำโครงการประกนั คณุ ภาพภายในของ
สถานศึกษา มีกิจกรรมใหค้ วามรู้ความเขา้ ใจแนวทางการดำเนนิ งานประกนั คุณภาพภายในให้ครทู ุกคนในโรงเรียน
เพือ่ ใหค้ ณะครู บคุ ลากรทุกฝ่ายทเี่ ก่ียวข้องมีความเขา้ ใจการดำเนินงานตามมาตรฐานการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน
แตง่ ต้งั คณะกรรมการประกนั คณุ ภาพภายในของโรงเรียน ให้ปฏบิ ตั ิหน้าที่ตดิ ตามตรวจสอบและประเมินคณุ ภาพ
ภายในตามมาตรฐานของสถานศึกษา ภาคเรียนละ 1 คร้ัง จดั ทำเครือ่ งมอื ให้นักเรียนประเมินตนเองในการเรยี นรู้
ครูประเมินตนเองรายบุคคลตามแผนพัฒนาตนเองทวี่ างไว้ คณะกรรมการประกนั คุณภาพของโรงเรยี นประเมนิ การ
ดำเนินงานตามมาตรฐานและสรปุ ผลการดำเนนิ งานเพ่อื พฒั นาปรบั ปรงุ ตลอดปกี ารศึกษา ตดิ ตามการประเมิน
โครงการและกิจกรรมสรปุ ผลการดำเนินงาน ปรับปรุงการทำงานอยา่ งมีส่วนรว่ มของทุกฝา่ ย โรงเรยี นจดั ทำแบบ
สำรวจความพงึ พอใจและประเมินผลการดำเนนิ งานของโรงเรยี นจากนักเรียน ผ้ปู กครอง คณะกรรมการของ
สถานศกึ ษาในการจัดการศึกษาของโรงเรียน

๒๙
กราฟแสดงคา่ รอ้ ยละของการดำเนนิ งานตามมาตรฐานการศกึ ษาระดบั การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานของสถานศกึ ษา

จำนวน 15 มาตรฐาน 65 ตวั บ่งชี้

2558 2559 2560

2. ผลการดำเนินงาน
โรงเรยี นมีการดำเนินการประกนั คุณภาพการศึกษาเพ่ือยกระดับคณุ ภาพการจดั การศกึ ษา อย่างเป็น

ระบบ มีผลการประเมินคุณภาพภายในทร่ี ะดบั คุณภาพดี และคณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชมุ ชน
มีความพึงพอใจในการยกระดบั คุณภาพการศกึ ษาของโรงเรยี น

กราฟแสดงคา่ ร้อยละของความพงึ พอใจด้านงานประกันคุณภาพการศึกษา ปกี ารศึกษา 2560
จากผลการสำรวจความพงึ พอใจของผ้รู บั บรกิ ารท่ีมีต่อการให้บรกิ ารของโรงเรยี นดา้ นงานประกนั คณุ ภาพ
ของฝา่ ยบรหิ ารงานงบประมาณ พบว่า คา่ เฉลี่ยเท่ากับ 4.78 หมายถึง ผู้รับบริการมคี วามพึงพอใจระดบั มาก
และผรู้ บั บรกิ ารส่วนใหญม่ ีความพึงพอใจระดับมากทีส่ ดุ คิดเปน็ รอ้ ยละ 76.12
3. จุดเดน่
โรงเรียนมีกระบวนการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และใช้เป็นแนวทางในการจัดทำ
แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา จดั ทำรายงานประจำปี ท่เี ป็นรายงานประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาสะทอ้ น
คุณภาพผู้เรยี นและผลสำเร็จของการบรหิ ารจัดการศึกษาโดยทุกฝ่ายท่ีเกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการดำเนินการ พร้อม
นำเสนอรายงานตอ่ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพื้นฐานมกี ารเผยแพร่ตอ่ ผ้เู กีย่ วข้อง

๓๐

4. จุดควรพัฒนา
โรงเรยี นควรจดั ระบบให้ครปู ระเมนิ ตนเองรายบุคคลตามแผนพัฒนาตนเองและรายงานในระยะเวลาที่
กำหนดและขาดการให้ขอ้ มลู ย้อนกลับแกค่ รูในการพฒั นาตนเองในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ เพ่ือยกระดบั
คณุ ภาพของนกั เรียน นกั เรียนมีการประเมนิ การเรยี นร้ดู ้วยตนเอง แต่กย็ งั ขาดการตดิ ตามช่วยเหลือดา้ นการเรียนรู้
ของนักเรียนเป็นรายคน

สรุปผลการประเมินในภาพรวม

จากผลการดำเนนิ งาน โครงการ และกิจกรรมตา่ งๆ ส่งผลใหส้ ถานศกึ ษาจัดการ พัฒนาคณุ ภาพ
การศึกษาประสบผลสำเรจ็ ตามท่ีต้งั เป้าหมายไว้ในแต่ละมาตรฐาน จากผลการประเมินสรปุ วา่ ได้ระดับ ดเี ยย่ี ม
ประกอบด้วยมาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพผูเ้ รียน อย่ใู นระดบั ดีเยย่ี ม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัด
การศึกษา อยใู่ นระดบั ดีเยย่ี ม มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ อยู่ในระดบั
ดีเยย่ี ม มาตรฐานที่ 4 ระบบการประกันคณุ ภาพภายในที่มปี ระสิทธผิ ล อยใู่ นระดับดี

ทัง้ นี้ในปกี ารศึกษา 2560 โรงเรียนตากพิทยาคม มุง่ พฒั นาผู้เรียนให้เปน็ คนดี มีคณุ ธรรม นำความรู้
มีคณุ ภาพเต็มตามศักยภาพ โดยยึดหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงเป็นแนวทางในการดำเนินชวี ิตและสามารถ
ดำรงชวี ติ อยู่ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ สง่ เสรมิ พัฒนาครใู ห้มีความรคู้ วามสามารถและจัดการเรยี นการสอนโดยเนน้
ผ้เู รยี นเป็นสำคัญ โดยใช้เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรตู้ ่างๆ จัดระบบการบรหิ ารและจดั การศึกษาโดยใช้สถานศึกษา
เป็นฐานและมุง่ สมู่ าตรฐานสากล โดยได้รบั ความร่วมมอื อย่างเตม็ ท่ีจากคณะกรรมการสถานศึกษา เครือข่าย
ผปู้ กครอง องคก์ รทางศาสนาและชุมชนท่ีเขา้ มาพัฒนา เพอื่ ใหโ้ รงเรียนเปน็ สถานศกึ ษาชัน้ นำของชมุ ชน

โรงเรยี นตากพทิ ยาคมไดด้ ำเนินงานตามแผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา แผนปฏิบัตกิ ารประจำปีการศึกษา
2560 กลยทุ ธน์ โยบายของหน่วยงานตน้ สงั กัด โดยการทำวิเคราะห์เพือ่ นำโครงการ แผนงานมาดำเนินการให้
สอดคลอ้ งกับวิสยั ทศั นข์ องโรงเรยี น โรงเรียนได้มกี ารดำเนนิ งานตามแผนงาน โดยหลักการบรหิ ารแบบ SPSS-DSA
Model เขา้ มาดำเนนิ งานทกุ แผนงาน โครงการ/กจิ กรรม เพอ่ื หาแนวทางในการพัฒนาสถานศกึ ษา ทง้ั ทางดา้ น
คุณภาพผู้เรียน ดา้ นกระบวนการบรหิ ารและการจดั การศกึ ษา ด้านกระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเน้นผ้เู รยี น
เป็นสำคัญ ระบบการประกันคุณภาพภายในทีม่ ีประสทิ ธผิ ล แบบมสี ว่ นร่วมของครู นกั เรยี น ผูป้ กครอง ชมุ ชน
คณะกรรมการสถานศึกษา หนว่ ยงานอน่ื ๆ และหนว่ ยงานตน้ สังกดั สำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต
38 มกี ารกำหนดมาตรการส่งเสริมตามนโยบายและความตอ้ งการในการแกป้ ญั หาของสถานศกึ ษาอย่างเป็นระบบ

ผลการดำเนนิ งานโรงเรยี นตากพทิ ยาคมเปน็ ทีย่ อมรับของนักเรยี น ผูป้ กครอง ชุมชนและหน่วยงานท่ี
เก่ียวขอ้ ง ผูบ้ รหิ าร ครู นกั เรยี น ได้รบั รางวลั ในการดำเนินการในระดบั กลมุ่ โรงเรียน ระดบั เขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษา
มัธยมศึกษาเขต 38 และระดบั ประเทศ จากสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร
และจากหน่วยงานทสี่ ่งเสรมิ สนบั สนนุ จัดกิจกรรมทางการศึกษาตา่ งๆ

๓๑

ส่วนที่ 3 สรุปผลแนวทางการพฒั นาและความตอ้ งการชว่ ยเหลอื

ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาถอื เปน็ ขอ้ มูลสารสนเทศสำคญั ท่ีสถานศึกษาจะตอ้ งนำไป
วเิ คราะห์ สงั เคราะหเ์ พอ่ื สรุปนำไปสกู่ ารเช่ือมโยงหรอื สะทอ้ นภาพความสำเร็จกบั แผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาของ

สถานศึกษา (3-5 ปี) และนำไปใช้ในการวางแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา ดังนน้ั จากผลการ
ดำเนินงานของสถานศึกษา สามารถสรปุ ผลการประเมนิ ในภาพรวมของจุดเด่น จุดควรพฒั นาของแตล่ ะมาตรฐาน
พรอ้ มทง้ั แนวทางการพฒั นาในอนาคตและความต้องการการช่วยเหลือได้ดังน้ี

สรุปวิเคราะหจ์ ากผลการประเมิน

จุดเด่น จดุ ควรพัฒนา

ด้านผูเ้ รียน ดา้ นผ้เู รยี น

1) ผูเ้ รยี นมที กั ษะและความรู้ความสามารถในการ 1) โรงเรียนควรดำเนินการพฒั นาความสามารถ

เรียนรู้ ส่ือสารอา่ นเขยี นได้ท้งั ภาษาไทยและ ทางดา้ นการคดิ วิเคราะหข์ องผ้เู รยี นแต่ละคนให้มี

ภาษาอังกฤษได้เหมาะสมตามระดับช้นั สามารถ ความสามารถในการคิดเปน็ ทำเปน็ อยา่ งตอ่ เนือ่ ง

อภิปรายแลกเปลีย่ นความคิดเหน็ มีภูมิค้มุ กนั 2) ผเู้ รยี นควรได้รับการพัฒนาในรายวิชาทมี่ คี ะแนน

ในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เฉลย่ี ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้น

2) ผเู้ รยี นมีสุขภาพรา่ งกายแข็งแรง มีคุณธรรม พนื้ ฐาน(O-net) ต่ำกว่า 50 คะแนนและใน

จรยิ ธรรมที่เหมาะสม มสี มรรถภาพทางกายและ มาตรฐานการเรยี นร้ทู ม่ี คี ะแนนเฉล่ยี ตำ่ กวา่

น้ำหนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์ มรี ะเบียบวินยั จนเปน็ ระดบั ประเทศ ได้แก่ มาตรฐาน ว1.2กล่มุ สาระฯ

เอกลักษณ์ของสถานศึกษา เป็นท่ยี อมรับของชมุ ชน วิทยาศาสตรร์ ะดบั ม.ต้น และมาตรฐาน ส 4.1

โดยรอบในเร่ืองความมีวินยั เคารพกฎกติกา ส4.3 กลุ่มสาระฯสงั คมศึกษา ระดับ ม.ปลาย

ระเบยี บของสังคม

3) สง่ ผลให้ผู้เรียนมคี ะแนนเฉล่ียผลการทดสอบทาง

การศกึ ษาระดบั ชาติขน้ั พืน้ ฐาน (O-net) สูงกวา่

ระดับประเทศทกุ รายวิชาและต่อเนอื่ งมาโดยตลอด

ด้านกระบวนการบรหิ ารและการจัดการผู้บรหิ าร ดา้ นกระบวนการบริหารและการจัดการผู้บรหิ าร
สถานศึกษา สถานศกึ ษา

1) ผบู้ รหิ ารมีความตัง้ ใจ มีความมุง่ ม่ันมหี ลกั การ 1) ผู้บริหารสถานศกึ ษามีประสทิ ธิภาพของการ
บรหิ าร และมีวสิ ยั ทัศน์ท่ดี ีในการบริหารงาน บริหารจัดการและพัฒนาสถานศกึ ษาทีด่ ีอยแู่ ล้วแต่
สามารถเป็นแบบอยา่ งทด่ี ีในการทำงาน และ ควรเพม่ิ มาตรการเรง่ รดั ใหท้ กุ ฝา่ ยพัฒนาผเู้ รียนและ

คณะกรรมการสถานศึกษามคี วามต้ังใจ และมีความ พฒั นาสถานศกึ ษา โดยเนน้ กระบวนการพฒั นาการ
พร้อมในการปฏิบตั หิ นา้ ทีต่ ามบทบาท เรียนการสอนตามกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ทง้ั 8 กลุ่ม

2) โรงเรยี นดำเนนิ งานตามแผนพฒั นาคุณภาพ สาระการเรียนรู้ ใหม้ กี ารพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทส่ี ูงข้ึน
การศกึ ษา แผนปฏิบตั กิ ารและกลยุทธ์ ในการ โดยสถานศกึ ษาควรทำขอ้ ตกลง 2 ฝ่าย ระหวา่ ง
แกป้ ญั หาของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ สถานศึกษากับครูผู้สอนในด้านการพฒั นาผลสัมฤทธิ์

เป็นท่ียอมรับของนักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนและ ตามเป้าหมายของงาน
หน่วยงานท่เี กีย่ วข้อง มีประชมุ นิเทศกำกบั งาน

ทุกสัปดาห์

๓๒

จุดเด่น จุดควรพฒั นา

3) ผ้บู ริหารเขา้ รบั การอบรมพัฒนาตนเองอยา่ ง 2) อาคารเรียน หอ้ งเรยี นไมเ่ พียงพอกบั จำนวน
ตอ่ เน่ือง สถานศกึ ษามีโครงการพฒั นาระบบบรหิ าร นกั เรียนท่เี พมิ่ ขน้ึ
จัดการแบบมีส่วนร่วม มขี ้อมูลสารสนเทศเพื่อการ
บรหิ ารรอบดา้ นทำใหโ้ รงเรียนมคี ณุ ภาพ
คณะกรรมการสถานศกึ ษา คณะกรรมการชมรม
ผ้ปู กครองและครู ผู้นาชุมชนมีเช่อื มนั่ และพงึ พอใจ
ในการบริหารจัดการบรกิ ารทางการศกึ ษาของ
โรงเรียน
4) มกี ารระดมทรพั ยากรเพ่อื การศกึ ษา เพือ่
พฒั นาการบรหิ ารจดั การด้านอาคารสถานที่
สถานศกึ ษามีสภาพแวดลอ้ มที่ดี รม่ รน่ื ไมม่ ีอนั ตราย
จากยานพาหนะ อากาศดี เอ้อื ตอ่ การเรียนรู้ของ
ผเู้ รยี น อย่ใู กลก้ ับสถานท่ีสำคญั ตา่ ง ๆ งา่ ยกบั การ
รับสง่ ของผูป้ กครอง

ด้านกระบวนการเรยี นการสอนทีเ่ น้นผ้เู รียนเปน็ ด้านกระบวนการเรยี นการสอนท่เี น้นผู้เรยี นเปน็

สำคญั สำคญั

1) โรงเรียนส่งเสรมิ ใหค้ รูและบุคลากรทางการศึกษา 1) ควรพัฒนาห้องปฏบิ ตั ิการ และสอ่ื

ไดพ้ ัฒนาตนเองมคี ณุ ธรรมจริยธรรมตาม โสตทัศนปู กรณ์ใหเ้ พียงพอกับจำนวนนกั เรียน

จรรยาบรรณวิชาชีพ มีความมุ่งมนั่ และอทุ ิศตนใน เพ่ือใหเ้ ป็นสังคมแหง่ การเรียนรู้ เช่น ห้องปฏิบัติการ

การจดั การเรยี นการสอน โดยใช้เทคนคิ การสอน คอมพวิ เตอร์ ห้องปฏิบัตกิ ารวทิ ยาศาสตร์

อย่างหลากหลาย สามารถใช้ส่ือเทคโนโลยีสกู่ าร หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารคณติ ศาสตร์ ห้องศูนย์การเรียนรู้ของ

เรียนการสอนได้ดี กล่มุ สาระตา่ งๆ การเพ่ิมจำนวนหนงั สือของ

2) ครูจดั กจิ กรรมใหน้ กั เรยี นเรยี นรู้จากการคิด ได้ ห้องสมุดโรงเรียน หอ้ งสมุด/มุมหนงั สอื ตามกลุม่

ปฏบิ ตั จิ ริงดว้ ยวธิ ีการและแหลง่ เรียนรทู้ หี่ ลากหลาย สาระ การจัดให้มสี ญั ญาณอินเตอรเ์ น็ต เพื่อให้

พัฒนาสอ่ื การสอน จดั การเรียนการสอนที่เนน้ ผเู้ รยี น นกั เรยี นสามารถค้นคว้า และเรียนรู้ไดอ้ ยา่ ง

เปน็ สำคัญพฒั นาผูเ้ รียนให้มีคุณภาพตามเกณฑ์ หลากหลายตามความตอ้ งการ

มาตรฐานของสถานศึกษา และส่งเสริมศักยภาพของ 2) นกั เรยี นทีเ่ ปน็ กลมุ่ อ่อนของแตล่ ะระดบั ช้ัน

ผเู้ รยี นให้สูงขน้ึ ตลอดจนครูมกี ารวเิ คราะหน์ กั เรียน ควรจัดกจิ กรรมเพ่อื ส่งเสรมิ ให้ได้รบั การพฒั นา

และจดั ทำผลงานวิจัยในชนั้ เรียน

3) ครูให้นักเรยี นมีสว่ นรว่ มในการจัดบรรยากาศ

สภาพแวดลอ้ มทเ่ี ออ้ื ต่อการเรียนรู้

๓๓

จุดเด่น จุดควรพัฒนา

ดา้ นการประกันคณุ ภาพภายในทมี่ ีประสิทธิผล ดา้ นการประกนั คุณภาพภายในท่มี ีประสทิ ธิผล

ประสทิ ธิผล ประสิทธิผล

1) โรงเรยี นใหค้ วามสำคญั กบั การดำเนนิ งาน 1) ความชัดเจนของการประเมินคุณภาพตาม

ประกันคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษาเน้นการสร้าง มาตรฐานการศึกษาข้นั พื้นฐานเพ่อื การประกนั

ความเขา้ ใจและให้ความรู้ด้านการประกนั คณุ ภาพ คุณภาพภายในสถานศึกษาแบบใหมย่ ังไมไ่ ดก้ ำหนด

การศึกษากับคณะครู บุคลากรทุกฝ่ายท่ีเกี่ยวข้อง ตวั ช้วี ดั และเกณฑ์การประเมนิ ท่แี นน่ อน

อย่างชดั เจน เปน็ ประโยชนใ์ นการพฒั นาคณุ ภาพ 2) มกี ารนเิ ทศติดตามแต่ขาดการใหข้ อ้ มลู ยอ้ นกลับ

การศึกษา การดำเนนิ งานประกนั คุณภาพภายใน แก่ครใู นการพัฒนาตนเอง

ของโรงเรียนเนน้ การมีส่วนรว่ มโดยดำเนินการในรปู

ของคณะกรรมการสร้างวัฒนธรรมการประกนั

คณุ ภาพภายในของสถานศึกษาใหก้ ับบุคคลท่ี

เก่ียวข้อง

แนวทางการพฒั นาในอนาคต
1. จัดกจิ กรรมทีส่ ง่ เสรมิ การพัฒนาผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET)ใหม้ คี ะแนนเฉลี่ยสูงขนึ้
2. พฒั นาผ้เู รยี นให้มศี กั ยภาพทางการเรยี นและการสื่อสารภาษาองั กฤษและภาษาที่สอง ได้ดจี นกล้าแสดงออกเพ่ือ
การสือ่ สาร
3. พัฒนาครใู นด้านการจดั ทำแผนการจดั การเรยี นรู้ นำไปปฏิบัตจิ ริง นำผลการบนั ทึกหลงั สอนไปปรับการจดั
กจิ กรรมการเรียนการสอน การพฒั นาสอ่ื นวตั กรรม การสอนแบบโครงงาน การทำวิจยั ชั้นเรยี น โดยเฉพาะการใช้
สื่อเทคโนโลยี
4. สถานศกึ ษาควรใหค้ วามสำคัญในการพัฒนาภมู ิทศั นข์ องสถานศึกษา รวมทง้ั แหล่งเรียนรภู้ ายในสถานศกึ ษา โดย
ใหผ้ ู้เรยี นมสี ว่ นรว่ มทุกคน ทำให้ผเู้ รียนไดใ้ ช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์

ความต้องการการช่วยเหลอื
1. การสนับสนนุ งบประมาณในการสร้างอาคารเรียน ห้องปฏบิ ตั ิการ หอ้ งเรียนคุณภาพ สอื่ โสตทัศนปู กรณ์ตา่ งๆให้
เพยี งพอกับจำนวนผเู้ รยี น
2. การพฒั นาครูผูส้ อนในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ทส่ี อดคลอ้ งกับการพฒั นาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21
3. การสรา้ งข้อสอบที่สอดคล้องกบั มาตรฐานการเรียนรตู้ ามแนวทางของการประเมนิ O-NET และ PISA
4. การจัดสรรบุคลากรสายสนับสนนุ การสอน ครูผู้สอนและเจ้าหนา้ ท่ีหอ้ งปฏิบัติการให้ตรงตามที่โรงเรยี นมคี วาม
ตอ้ งการและจำเป็น

๓๔

ส่วนท่ี 4 ภาคผนวก

1. ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น
1.1 ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน 8 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ทกุ ระดับช้ัน ปกี ารศึกษา 2560

จำนวน นร. ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สงั คมศึกษาฯ สุขศกึ ษาฯ ศลิ ปะ การงานฯ ภาษาต่างประเทศ
ท้งั หมด นร.ทไ่ี ด้ระดบั นร.ที่ไดร้ ะดบั นร.ที่ไดร้ ะดับ นร.ทีไ่ ด้ระดับ นร.ท่ีได้ระดับ นร.ท่ไี ด้ระดับ นร.ที่ไดร้ ะดบั นร.ทไี่ ด้ระดับ
(2,605 3 ข้ึนไป 3 ข้นึ ไป 3 ขน้ึ ไป 3 ขึ้นไป 3 ขึน้ ไป 3 ขน้ึ ไป 3 ขนึ้ ไป 3 ขึ้นไป
คน)
ชนั้ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน จำนวน จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ
ม. 1 709 61.33 903 42.14 1001 64.83 2443 79.42 1722 89.32 779 80.81 943 74.72 1808 58.76
ม. 2 603 59.06 845 42.61 1059 64.61 2121 77.64 1680 92.11 489 53.62 825 80.80 1394 59.55
ม. 3 511 55.18 541 29.26 1155 76.69 2264 81.59 1711 92.39 796 85.78 1311 89.86 2111 67.02
ม. 4 742 63.64 654 42.36 1596 63.59 2242 76.57 1415 88.88 529 63.89 855 60.64 1404 66.73
ม. 5 1093 79.72 620 39.24 1548 70.65 2376 88.36 1444 91.45 843 98.37 1432 89.61 1779 78.96
ม. 6 609 61.95 237 31.64 860 66.31 1443 81.76 1341 91.79 460 60.85 1237 84.44 2254 79.96
รวม 4267 63.48 3800 37.87 7219 67.78 12889 80.89 9313 90.99 3896 73.88 6603 80.01 10750 68.50

1.2 ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น 8 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ รายระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 ปีการศึกษา 2560

ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 1ภาคเรยี นท่ี 1-2 จำนวน ร้อยละ นร.
นร.ท่ีได้ ทีไ่ ดร้ ะดบั
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ จำนวนท่ี จำนวนนกั เรยี นทมี่ ผี ลการเรยี นรู้ ระดับ 3 3 ขน้ึ ไป
ขน้ึ ไป
เข้าสอบ 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4

ภาษาไทย 1156 3 80 87 148 129 208 241 260 709 61.33

คณิตศาสตร์ 2143 7 340 243 358 292 231 124 548 903 42.14

วิทยาศาสตร์ 1544 4 48 83 170 238 270 271 460 1001 64.83

สังคมศึกษาศาสนาและ

วฒั นธรรม 3076 2 131 83 157 260 308 433 1702 2443 79.42

สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 1928 0 4 37 53 112 162 305 1255 1722 89.32

ศิลปะ 964 0 15 29 75 66 148 175 456 779 80.81

การงานอาชพี และเทคโนโลยี 1262 0 118 46 68 87 130 239 574 943 74.72

ภาษาต่างประเทศ 3077 2 236 189 308 534 502 354 952 1808 58.76

รวม 15150 18 972 797 1337 1718 1959 2142 6207 10308 68.04

๓๕

1.3 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ รายระดับช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2560

ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 2 ภาคเรยี นท่ี 1-2 จำนวน รอ้ ยละ นร.
นร.ที่ได้ ทไี่ ด้ระดบั 3
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ จำนวนที่ จำนวนนกั เรียนทม่ี ีผลการเรียนรู้ ระดบั 3
ขึ้นไป ขึ้นไป
เขา้ สอบ 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4

ภาษาไทย 1021 6 109 87 115 101 121 136 346 603 59.06

คณติ ศาสตร์ 1983 17 371 247 265 238 237 172 436 845 42.61

วิทยาศาสตร์ 1639 5 156 88 135 196 257 290 512 1059 64.61

สงั คมศึกษาศาสนาและ

วฒั นธรรม 2732 2 41 72 204 292 510 566 1045 2121 77.64

สขุ ศึกษาและพลศึกษา 1824 2 30 13 32 67 133 176 1371 1680 92.11

ศิลปะ 912 4 115 104 96 104 109 108 272 489 53.62

การงานอาชพี และเทคโนโลยี 1021 4 47 36 33 76 149 216 460 825 80.80

ภาษาตา่ งประเทศ 2341 5 225 150 259 308 348 362 684 1394 59.55

รวม 13473 45 1094 797 1139 1382 1864 2026 5126 9016 66.92

1.4 ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน 8 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ รายระดับช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ปีการศกึ ษา 2560

ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 3 ภาคเรียนที่ 1-2 จำนวน รอ้ ยละ นร.
นร.ท่ไี ด้ ที่ไดร้ ะดบั 3
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ จำนวนที่ จำนวนนักเรียนท่ีมผี ลการเรียนรู้ ระดับ 3
ข้ึนไป ขึ้นไป
เข้าสอบ 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4

ภาษาไทย 926 17 141 64 96 97 134 135 242 511 55.18

คณิตศาสตร์ 1849 19 394 262 320 313 150 108 283 541 29.26

วทิ ยาศาสตร์ 1506 12 121 40 67 111 187 199 769 1155 76.69

สังคมศึกษาศาสนาและ

วฒั นธรรม 2775 6 77 85 163 180 357 396 1511 2264 81.59

สุขศกึ ษาและพลศึกษา 1852 2 24 35 32 48 90 153 1468 1711 92.39

ศลิ ปะ 928 1 5 9 25 92 46 49 701 796 85.78

การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1459 4 31 16 28 69 82 169 1060 1311 89.86

ภาษาตา่ งประเทศ 3150 16 228 203 269 323 420 377 1314 2111 67.02

รวม 14445 77 1021 714 1000 1233 1466 1586 7348 10400 72.00

๓๖

1.5 ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน 8 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ รายระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 4 ปีการศึกษา 2560

ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1-2 จำนวน รอ้ ยละ นร.
นร.ทไ่ี ด้ ที่ได้ระดับ
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ จำนวนที่ จำนวนนักเรยี นที่มีผลการเรยี นรู้ ระดับ 3 3ขน้ึ ไป
ข้ึนไป
ภาษาไทย เขา้ สอบ 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4
คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ 1166 11 107 61 92 153 253 190 299 742 63.64
สังคมศึกษาศาสนาและ
วัฒนธรรม 1544 6 175 189 276 244 221 144 289 654 42.36
สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา
ศิลปะ 2510 9 177 132 249 347 541 473 582 1596 63.59
การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี 2928 16 152 85 188 245 354 442 1446 2242 76.57
ภาษาต่างประเทศ 1592 7 71 28 26 45 89 119 1207 1415 88.88
828 7 102 43 67 80 141 140 248 529 63.89

1410 17 156 87 134 161 245 219 391 855 60.64
2104 18 143 102 192 245 328 305 771 1404 66.73

รวม 14082 91 1083 727 1224 1520 2172 2032 5233 9437 67.01

1.6 ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ รายระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 ปีการศกึ ษา 2560

ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 5 ภาคเรียนท่ี 1-2 จำนวน รอ้ ยละ นร.
นร.ที่ได้ ท่ีได้ระดับ 3
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ จำนวนที่ จำนวนนักเรยี นทมี่ ผี ลการเรยี นรู้ ระดับ 3
ขน้ึ ไป ข้ึนไป
เขา้ สอบ 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4

ภาษาไทย 1371 9 41 9 68 151 341 326 426 1093 79.72

คณิตศาสตร์ 1580 7 193 273 280 207 173 134 313 620 39.24

วิทยาศาสตร์ 2191 6 75 68 183 311 454 379 715 1548 70.65

สงั คมศึกษาศาสนาและ

วฒั นธรรม 2689 12 66 22 50 163 400 547 1429 2376 88.36

สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 1579 8 43 9 29 46 65 89 1290 1444 91.45

ศิลปะ 857 2 12 0 0 0 0 0 843 843 98.37

การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1598 9 40 8 30 79 292 219 921 1432 89.61

ภาษาตา่ งประเทศ 2253 6 71 37 98 262 531 422 826 1779 78.96

รวม 14118 59 541 426 738 1219 2256 2116 6763 11135 78.87

๓๗

1.7 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น 8 กล่มุ สาระการเรียนรู้ รายระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 ปกี ารศึกษา 2560

ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 ภาคเรยี นที่ 1-2 จำนวน รอ้ ยละ นร.
นร.ท่ไี ด้ ที่ได้ระดับ 3
กล่มุ สาระการเรยี นรู้ จำนวนท่ี จำนวนนกั เรยี นทีม่ ีผลการเรยี นรู้ ระดบั 3
ขนึ้ ไป ขน้ึ ไป
เขา้ สอบ 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4

ภาษาไทย 983 9 80 64 75 146 209 143 257 609 61.95

คณติ ศาสตร์ 749 5 153 116 134 104 78 64 95 237 31.64

วิทยาศาสตร์ 1297 4 90 71 100 172 260 258 342 860 66.31

สงั คมศึกษาศาสนาและ

วฒั นธรรม 1765 8 61 35 66 152 294 311 838 1443 81.76

สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 1461 2 16 24 22 56 116 242 983 1341 91.79

ศิลปะ 756 8 60 36 72 120 174 162 124 460 60.85

การงานอาชพี และเทคโนโลยี 1465 9 83 23 45 68 82 164 991 1237 84.44

ภาษาต่างประเทศ 2819 15 166 78 105 201 413 545 1296 2254 79.96

รวม 11295 60 709 447 619 1019 1626 1889 4926 8441 74.73

2. ผลการประเมนิ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์

2.1 ผลการประเมินคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ )์

จำนวน จำนวน/ร้อยละของนักเรยี นตามระดบั คุณภาพ (รักชาติ ศาสน์

ระดับชนั้ นกั เรยี น กษัตริย์)

ทัง้ หมด ดเี ย่ยี ม ดี ผา่ น ไมผ่ ่าน

มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 485 380 98 7 485

มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 465 372 91 2 465

มัธยมศึกษาปีที่ 3 464 407 52 5 464

มัธยมศึกษาปีที่ 4 415 282 127 7 415

มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 434 348 81 5 434

มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 387 254 127 5 387

รวม 2650 2043 576 31 2650

เฉล่ียร้อยละ - 77.09 21.74 1.17 -

๓๘

2.2 ผลการประเมินคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ (ซ่อื สัตย์ สุจริต)

จำนวน จำนวน/ร้อยละของนกั เรียนตามระดับคณุ ภาพ (ซื่อสตั ย์ สุจรติ )

ระดบั ชัน้ นักเรียน ดเี ย่ยี ม ดี ผา่ น ไมผ่ ่าน

ท้ังหมด

มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 485 358 120 7 -

มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 465 345 118 2 -

มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 464 337 115 12 -

มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 415 240 159 16 -

มธั ยมศึกษาปีที่ 5 434 314 104 16 -

มธั ยมศึกษาปีที่ 6 387 246 134 7 -

รวม 2650 1840 750 61 -

เฉล่ยี รอ้ ยละ - 69.42 28.29 2.28 -

2.3 ผลการประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (มวี ินัย)

จำนวน จำนวน/ร้อยละของนักเรยี นตามระดบั คณุ ภาพ (มีวนิ ยั )

ระดบั ชัน้ นกั เรียน ดเี ย่ยี ม ดี ผ่าน ไมผ่ ่าน

ทัง้ หมด

มัธยมศึกษาปที ี่ 1 485 324 152 9 -

มัธยมศึกษาปีที่ 2 465 330 130 4 -

มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 464 283 167 14 -

มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 415 219 180 16 -

มัธยมศกึ ษาปีที่ 5 434 307 110 17 -

มัธยมศึกษาปที ี่ 6 387 240 139 8 -

รวม 2650 1702 879 69 -

เฉล่ยี ร้อยละ - 64.23 33.17 2.59 -

2.4 ผลการประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ (ใฝ่เรียนรู้)

จำนวน จำนวน/รอ้ ยละของนักเรยี นตามระดับคุณภาพ (ใฝ่เรียนรู้)

ระดับชั้น นกั เรยี น ดเี ยี่ยม ดี ผา่ น ไม่ผ่าน

ท้ังหมด

มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 485 296 178 10 -

มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 465 251 210 4 -

มธั ยมศึกษาปีที่ 3 464 230 220 13 -

มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 415 244 155 16 -

มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 434 316 103 15 -

มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 387 254 125 8 -

รวม 2650 1592 990 68 -

เฉลย่ี รอ้ ยละ - 60.07 37.37 2.56 -

๓๙

2.5 ผลการประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (อยอู่ ยา่ งพอเพียง)

จำนวน จำนวน/ร้อยละของนกั เรียนตามระดบั คณุ ภาพ

ระดบั ช้นั นกั เรียน (อยูอ่ ยา่ งพอเพียง)

ท้งั หมด ดีเยย่ี ม ดี ผา่ น ไม่ผ่าน

มัธยมศึกษาปที ่ี 1 485 377 101 7 -

มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 465 341 122 3 -

มัธยมศึกษาปที ่ี 3 464 365 88 12 -

มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 415 298 100 16 -

มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 434 313 115 5 -

มธั ยมศึกษาปีที่ 6 387 247 133 7 -

รวม 2650 1940 660 50 -

เฉล่ยี รอ้ ยละ - 73.22 24.91 1.88 -

2.6 ผลการประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (มุ่งมั่นในการทำงาน)

จำนวน จำนวน/รอ้ ยละของนักเรยี นตามระดับคณุ ภาพ (มงุ่ มนั่ ในการ

ระดับช้ัน นักเรียน ทำงาน)

ทง้ั หมด ดเี ย่ยี ม ดี ผ่าน ไม่ผา่ น

มัธยมศึกษาปีท่ี 1 485 339 139 7 -

มัธยมศึกษาปที ี่ 2 465 326 136 3 -

มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 464 326 124 14 -

มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 415 221 178 16 -

มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 434 287 140 7 -

มัธยมศึกษาปีที่ 6 387 212 168 7 -

รวม 2650 1711 885 55 -

เฉลย่ี รอ้ ยละ - 64.56 33.38 2.06 -

2.7 ผลการประเมนิ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ (รกั ความเป็นไทย)

จำนวน จำนวน/รอ้ ยละของนักเรียนตามระดบั คณุ ภาพ (รกั ความเป็น

ระดับชนั้ นกั เรยี น ไทย)

ทงั้ หมด ดเี ย่ยี ม ดี ผ่าน ไมผ่ า่ น

มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 485 303 171 11 -

มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 465 248 204 12 -

มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 464 250 197 17 -

มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 415 246 154 16 -

มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 434 296 115 24 -

มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 387 224 152 11 -

รวม 2650 1567 993 90 -

เฉลยี่ ร้อยละ - 59.12 37.47 3.41 -

๔๐

2.8 ผลการประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ (มจี ิตสาธารณะ)

จำนวน จำนวน/รอ้ ยละของนกั เรียนตามระดบั คุณภาพ (มีจิตสาธารณะ)

ระดับชนั้ นักเรียน ดีเยี่ยม ดี ผา่ น ไมผ่ ่าน

ทง้ั หมด

มัธยมศึกษาปที ี่ 1 485 343 135 7 -

มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 465 297 166 3 -

มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 464 269 183 12 -

มัธยมศึกษาปีท่ี 4 415 312 95 8 -

มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 434 309 112 14 -

มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 387 251 129 6 -

รวม 2650 1781 820 49 -

เฉลย่ี ร้อยละ - 67.21 30.95 1.84 -

3. ผลการประเมนิ การอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขยี น

ระดับชั้น จำนวน นร. จำนวน/ร้อยละของนกั เรียนตามระดบั คุณภาพ

ท้ังหมด ดีเยีย่ ม ดี ผ่าน ไมผ่ า่ น

มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 485 282 191 12 -

มธั ยมศึกษาปีที่ 2 465 288 173 4 -

มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 464 273 174 17 -

มธั ยมศึกษาปีที่ 4 415 227 160 28 -

มัธยมศกึ ษาปีที่ 5 434 282 137 15 -

มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 387 250 129 8 -

รวม 2650 1603 963 84 -

เฉลยี่ รอ้ ยละ - 60.48 36.35 3.17 -

4. ผลการประเมินกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน ปีการศกึ ษา 2560

ระดับช้นั จำนวน นร. จำนวน/ร้อยละของนักเรยี นตามระดับคุณภาพ
ทั้งหมด (กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น)

ผา่ น ไม่ผา่ น

มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 485 485 0

มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 459 459 0

มัธยมศึกษาปที ี่ 3 464 464 0

มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 415 415 0

มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 434 434 0

มัธยมศึกษาปีที่ 6 383 383 0

รวม 2640 2640 0

เฉล่ียร้อยละ 100 0

๔๑

5. ผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน ปกี ารศึกษา 2560

5.1 ผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผูเ้ รยี นดา้ น ความสามารถในการสือ่ สาร

จำนวนนกั เรียน จำนวนนกั เรยี นตามระดับคณุ ภาพ

ระดับช้ัน ทง้ั หมด ดเี ยี่ยม ดี ผา่ น ไมผ่ ่าน

มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 485 207 210 68 1

มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 459 217 165 75 2

มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 464 235 152 72 4

มัธยมศึกษาปีท่ี 4 415 199 160 52 4

มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 434 240 174 19 2

มัธยมศึกษาปีที่ 6 383 226 116 39 2

รวม 2640 1324 976 326 14

ร้อยละ 50.14 36.99 12.35 0.53

5.2 ผลการประเมนิ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี นดา้ น ความสามารถในการคดิ

จำนวนนกั เรียน จำนวนนักเรยี นตามระดับคณุ ภาพ

ระดับชั้น ทัง้ หมด ดีเย่ยี ม ดี ผา่ น ไม่ผา่ น

มัธยมศึกษาปีที่ 1 485 185 205 94 1

มธั ยมศึกษาปีที่ 2 459 173 174 110 3

มัธยมศึกษาปที ี่ 3 464 188 159 113 4

มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 415 152 192 69 2

มัธยมศึกษาปที ่ี 5 434 177 185 70 1

มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 383 142 159 80 2

รวม 2640 1017 1074 536 13

รอ้ ยละ 38.52 40.69 20.30 0.49

5.3 ผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผเู้ รียนดา้ น ความสามารถในการแก้ปัญหา

จำนวนนักเรยี น จำนวนนกั เรยี นตามระดบั คณุ ภาพ

ระดับชน้ั ทง้ั หมด ดีเยย่ี ม ดี ผา่ น ไม่ผา่ น

มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 485 303 153 29 0

มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 459 264 156 38 0

มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 464 414 44 7 0

มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 415 197 175 41 1

มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 434 261 139 32 2

มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 383 272 79 31 1

รวม 2640 1711 746 178 5

ร้อยละ 64.82 28.25 6.73 0.20

๔๒

5.4 ผลการประเมนิ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียนดา้ น ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต

จำนวนนกั เรียน จำนวนนักเรียนตามระดับคุณภาพ

ระดบั ชัน้ ท้งั หมด ดีเยี่ยม ดี ผา่ น ไมผ่ า่ น

มัธยมศึกษาปที ี่ 1 485 459 25 1 0

มธั ยมศึกษาปีที่ 2 459 393 65 1 0

มัธยมศึกษาปที ี่ 3 464 428 28 7 1

มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 415 374 26 12 3

มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 434 396 31 6 1

มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 383 335 40 7 1

รวม 2640 2385 216 33 6

รอ้ ยละ 90.33 8.20 1.26 0.21

5.5 ผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี นดา้ น ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

จำนวนนักเรยี น จำนวนนกั เรยี นตามระดบั คณุ ภาพ

ระดบั ชัน้ ทั้งหมด ดเี ยี่ยม ดี ผ่าน ไมผ่ า่ น

มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 485 304 107 74 0

มัธยมศึกษาปที ่ี 2 459 304 116 37 2

มัธยมศึกษาปีที่ 3 464 396 53 14 2

มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 415 186 157 68 4

มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 434 310 107 14 3

มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 383 301 50 29 2

รวม 2640 1801 589 236 13

รอ้ ยละ 68.24 22.33 8.94 0.49

ประกาศโรงเรียนตากพทิ ยาคม
เรื่อง การใช้มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษาระดับการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน

เพอื่ การประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา
______________________

โดยท่ีมีประกาศใช้กฎกระทรวงวา่ ด้วยระบบ หลกั เกณฑ์ และวธิ ีการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา
พ.ศ. 2553 ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรอ่ื ง ให้ใชม้ าตรฐานการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน เพือ่ การประกันคุณภาพ
ภายในของสถานศึกษา ประกาศคณะกรรมการการประกันคณุ ภาพภายในระดบั การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน เรือ่ ง
กำหนดหลักเกณฑ์และแนวปฏบิ ตั ิเกี่ยวกับการประกันคณุ ภาพภายในระดับการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน นโยบายการ
ปฏริ ูปการศกึ ษาในทศวรรษท่ีสองท่ีกำหนดเป้าหมายและยทุ ธศาสตรอ์ ย่างชัดเจน ในการพัฒนาคณุ ภาพคนไทย
และการศึกษาไทยในอนาคต รวมท้งั อัตลกั ษณ์และจดุ เน้นของสถานศกึ ษา โรงเรียนตากพทิ ยาคม จึงปรบั
มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษาระดบั การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ
สถานศึกษาขั้นพืน้ ฐานและการมสี ่วนรว่ มของผทู้ ่ีเกี่ยวข้องท้งั บคุ ลากรทุกคนในโรงเรียน ผปู้ กครอง และ
ประชาชนในชุมชน ให้เหมาะสมและสอดคล้องกนั เพอื่ นำไปสกู่ ารพฒั นาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
การประเมนิ คุณภาพภายในและเพื่อรองรับการประเมินคณุ ภาพภายนอก

โรงเรยี นตากพทิ ยาคม จึงประกาศใชม้ าตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ระดบั การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน
ตามเอกสารแนบท้ายประกาศนี้ เพ่ือเป็นเป้าหมายในการพฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษา ระดบั
การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน และการประเมนิ คุณภาพภายใน

ประกาศ ณ วนั ที่ 30 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2560

( นางสคราญจติ ศริญญามาศ) (นายชชู าติ ชนื่ มงคลสกุล)
ผู้อำนวยการโรงเรียนตากพิทยาคม
ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพนื้ ฐาน
โรงเรยี นตากพทิ ยาคม

มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษาแนบทา้ ยประกาศโรงเรยี นตากพิทยาคม
เรอ่ื ง การใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน

เพอื่ การประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา
----------------------------------------------------------------------------------------------------

มาตรฐานการศึกษาเพื่อการประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ประกอบด้วย 4
มาตรฐาน ดงั น้ี

มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผูเ้ รียน
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เนน้ ผ้เู รียนเป็นสำคญั
มาตรฐานท่ี 4 ระบบการประกนั คณุ ภาพภายในทม่ี ีประสิทธิผล

มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผเู้ รยี น
1.1 ผลสมั ฤทธ์ิทางวิชาการของผูเ้ รียน
1) ความสามารถในการอ่าน การเขยี น การสื่อสารและการคิดคำนวณ ตามเกณฑ์ของแตล่ ะระดับชั้น
2) ความสามารถในการวเิ คราะห์และคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ อภปิ ราย แลกเปล่ยี นความคดิ เห็นและแก้ปัญหา
3) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
4) ความก้าวหน้าทางการเรยี นตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา
5) ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นและพฒั นาการจากผลการสอบวัดระดบั ชาติ
6) ความพรอ้ มในการศกึ ษาตอ่ การฝกึ งานหรือการทำงาน
1.2 คณุ ลกั ษะทีพ่ ึงประสงค์ของผเู้ รยี น
1) การมคี ุณลักษณะและคา่ นยิ มทด่ี ีตามทสี่ ถานศกึ ษากำหนด โดยไม่ขดั กบั กฎหมาย
และวัฒนธรรมอันดีชองสงั คม
2) ความภมู ิใจในทอ้ งถน่ิ และความเปน็ ไทย
3) การยอมรับทจี่ ะอย่รู ่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
4) สขุ ภาวะทางร่างกายและลักษณะจติ สงั คม

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา
1. การมเี ปา้ หมาย วิสัยทศั น์ และพนั ธกิจทสี่ ถานศกึ ษากำหนดชดั เจน
2. การวางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา
1) การวางแผนและดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพของผู้เรียนรอบด้านทุกกลุ่มเป้าหมาย
และดำเนินการอย่างเป็นรปู ธรรม
2) การวางแผนและดำเนนิ งานพัฒนาคูและบุคลากรให้มีความเช่ียวชาญทางวชิ าชีพ
3) การวางแผนการบรหิ ารและการจดั การข้อมลู สารสนเทศอย่างเป็นระบบ
4) การวางแผนและจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่ีเอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมี
คุณภาพ
3. การมีสว่ นร่วมของผู้เกีย่ วข้องทุกฝ่าย และการรว่ มรบั ผดิ ชอบตอ่ การจดั การศึกษาใหม้ ีคุณภาพและ
ได้มาตรฐาน
4. การกำกับ ตดิ ตาม ประเมนิ ผลการบริหารและการจัดการศึกษา

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่เี นน้ ผ้เู รียนเปน็ สำคญั
1. การมีกระบวนการเรยี นการสอนท่ีสร้างโอกาสใหผ้ ้เู รียนทุกคนมสี ่วนรว่ ม
2. การจดั การเรียนการสอนทีย่ ึดโยงกบั บรบิ ทของชุมชนและทอ้ งถ่นิ
3. การตรวจสอบและประเมนิ ความรู้ความเข้าใจของผเู้ รียนอยา่ งเปน็ ระบบ และมีประสทิ ธภิ าพ

มาตรฐานท่ี 4 ระบบการประกนั คุณภาพภายในทม่ี ีประสทิ ธผิ ล
การใช้ระบบประกนั คณุ ภาพภายในเพ่อื ยกระดบั คณุ ภาพการจดั การศกึ ษาใหด้ ียง่ิ ข้ึน
1. สถานศึกษาจัดวางระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ที่ส่งผลต่อคณุ ภาพผูเ้ รียน
อย่างเป็นรปู ธรรม มีขั้นตอนอยา่ งชัดเจน และมคี วามเป็นไปไดใ้ นการปฏบิ ัติ
2. ผเู้ กย่ี วข้องทุกฝ่ายให้ความรว่ มมอื ในการวางระบบและดำเนนิ งานประกนั คณุ ภาพภายในของ
สถานศกึ ษาเป็นอย่างดี
3. พ่อแม่ ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา ชุมชน/ท้องถ่ิน และผู้มีส่วนเก่ียวข้องมีความ
มน่ั ใจตอ่ ระบบการบริหารและการจดั การของสถานศกึ ษาในระดับสงู


Click to View FlipBook Version