The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานกลุ่มที่ 6เรื่อง การจัดและบริหารสถาน ศูนย์ สถาบัน บ้าน กระบวนทัศน์ใหม่พัฒนาเด็ก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by faii.chuaejad, 2022-03-24 12:28:54

รายงานกลุ่มที่ 6เรื่อง การจัดและบริหารสถาน ศูนย์ สถาบัน บ้าน กระบวนทัศน์ใหม่พัฒนาเด็ก

รายงานกลุ่มที่ 6เรื่อง การจัดและบริหารสถาน ศูนย์ สถาบัน บ้าน กระบวนทัศน์ใหม่พัฒนาเด็ก

รายงาน

เรื่อง การจดั และบรหิ ารสถาน ศนู ย์ สถาบัน บ้าน กระบวนทศั นใ์ หม่พัฒนาเดก็

เสนอ
รองศาสตราจารย์ ดร.ฐิติพร พิชญกุล

จัดทำโดย
นักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย 611818600

รายงานเลม่ นเี้ ปน็ ส่วนหนง่ึ ของรายวชิ า EEC407 การจดั และบรหิ ารสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั
ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564

มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถมั ภ์



คำนำ

รายงานฉบับนี้เปน็ ส่วนหนง่ึ ของวิชา EEC407 การจัดและบริหารสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั โดยมี
จุดประสงค์เพอื่ ศกึ ษาความรู้ทไี่ ด้จากเรอ่ื งการจดั และบรหิ ารสถาน ศนู ย์ สถาบนั บ้าน กระบวนทศั น์ใหม่
พัฒนาเด็ก ซง่ึ รายงานนี้มีเน้ือหาเกย่ี วกับความรู้จากหนงั สอื เว็บไซตต์ ่าง ๆ

ผูจ้ ัดทำไดท้ ำรายงานเรือ่ งนเี้ น่ืองมาจากเป็นเรื่องทน่ี ่าสนใจและต้องขอขอบคุณ รองศาสตราจารย์
ดร.ฐิตพิ ร พิชญกุล ขอ้ มลู จากหนังสือและเว็บไซตต์ า่ งๆ ผู้ใหค้ วามรู้และแนวทางการศึกษา เพอ่ื นๆทกุ คน
ที่ให้ ความชว่ ยเหลอื มาโดยตลอดผู้จัดทำหวังว่ารายงานฉบับนีจ้ ะใหค้ วามรู้ และเป็นประโยชนแ์ กผ่ อู้ ่านทุก
ๆ ทา่ น

คณะผจู้ ัดทำ
24 มนี าคม 2565



สารบญั

เร่ือง หน้า
บทท่ี 1 ความหมายของสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั

ความหมายของสถาน ............................................................................................. 1
จดุ ประสงค์........................................................................................................................3
หน่วยงานและกระทรวงท่ีรบั ผดิ ชอบ.................................................................................3
จุดมุ่งหมายของการบริหารสถานศึกษา .............................................................................3
การทำงานร่วมกบั ผปู้ กครองและชมุ ชน.............................................................................4
สรปุ ...................................................................................................................................5
อ้างอิง................................................................................................................................5
บทท่ี 2 ความหมาย ความสำคญั ของศูนย์
ความสำคญั ของการจดั การศกึ ษาปฐมวยั ...........................................................................6
การบรหิ ารศูนย์พัฒนาเดก็ เล็ก...........................................................................................10
องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลกบั การบริหารจดั การศูนยพ์ ัฒนาเดก็ เล็ก...................................11
ศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ เฉลิมพระเกียรติ...................................................................................13
แผนผงั การดำเนินงาน .......................................................................................................15
สรุป ...................................................................................................................................16
อา้ งอิง................................................................................................................................16
บทท่ี 3 ความหมายของสถาบนั
สถาบนั ..............................................................................................................................17
สถาบนั พฒั นาการเด็กราชนครินทร์...................................................................................18
สถาบนั แหง่ ชาตเิ พอ่ื การพฒั นาเด็กและครอบครวั มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล .............................19
การกอ่ ตง้ั พัฒนาเดก็ ปฐมวัย...............................................................................................20
โครงสร้างสถาบนั แห่งชาติเพ่อื การพัฒนาเดก็ และครอบครวั .............................................23
สถาบันสุขภาพจติ เดก็ และวยั รุน่ ราชนครินทร์ ...................................................................24
สถาบันสุขภาพจติ เดก็ และวัยรนุ่ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ................................................24
สถาบันราชานุกูล...............................................................................................................25



สารบญั (ต่อ)
เร่ือง หน้า

สถาบันเด็กพเิ ศษ ...............................................................................................................26
แผนผังหนว่ ยงานทีร่ บั ผดิ ชอบสำนักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา.....................................28
สรปุ ...................................................................................................................................30
อ้างองิ ................................................................................................................................30
บทท่ี 4 ความหมายของบา้ น
กระบวนงานของบา้ นพักเด็กและครอบครวั ......................................................................34
บา้ นพกั ฉกุ เฉนิ และการใหบ้ รกิ าร.......................................................................................35
บ้านเด็ก ............................................................................................................................. 35
ศนู ย์เล้ยี งเดก็ อ่อน..............................................................................................................35
ศูนย์กนษิ ฐน์ ารี...................................................................................................................36
ศูนยก์ ารศึกษาและฝกึ อาชีพ ..............................................................................................36
กระบวนการช่วยเหลอื ผู้หญงิ และเดก็ ในบ้านฉกุ เฉิน..........................................................37
แผนผงั กระบวนการช่วยเหลือผู้หญงิ และเด็กในบา้ นพักฉุกเฉนิ .........................................39
บ้านเปดิ / สถานแรกรบั ....................................................................................................41
บ้านอนุ่ รัก..........................................................................................................................42
บา้ นเปิดหรือบ้านแรกรบั ...................................................................................................42
สถานแรกรบั เดก็ หญิงบา้ นธญั ญพร จงั หวัดปทมุ ธานี.........................................................43
สถานแรกรบั เดก็ และเยาวชนหญงิ บา้ นปราณี ...................................................................44
สถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัย.....................................................................................................45
สรุป ................................................................................................................................... 47
อา้ งองิ ................................................................................................................................47
บทที่ 5 กระบวนการทศั น์ใหมข่ องสถานศกึ ษา
กระบวนการทศั น์ใหม่ของสถานศึกษา ...............................................................................49
สรุป ...................................................................................................................................53
อ้างอิง................................................................................................................................53
บรรณานกุ รม
ภาคผนนวก ก
ภาคผนวก ข

1

บทที่ 1
ความหมายของสถานพฒั นาเด็กปฐมวัย

สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั หมายถงึ สถานทีร่ บั ดแู ล พัฒนา จดั ประสบการณ์เรยี นรู้ และการศกึ ษา สำหรับเด็ก
ปฐมวัยครอบคลมุ ตงั้ แตท่ ารกแรกเกิดถงึ 5 ปี หรือก่อนเข้าเรยี นประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ท่ใี ชช้ อื่ หลากหลายรวมทุก
สงั กดั ในประเทศไทย

การเลี้ยงดเู ด็กในสถานสงเคราะห์

รับผิดชอบอบรมเลี้ยงดูเด็กของมูลนิธิฯ วัยแรกเกิด – 7 ปี จำนวนประมาณ 50 คน โดยมี
วตั ถุประสงคเ์ พ่อื ใหเ้ ด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาการสมวัย ทง้ั รา่ งกาย จติ ใจ อารมณ์สังคม สติปัญญา
มีคุณธรรมจรยิ ธรรม ตลอดจนได้เรยี นร้ขู นบธรรมเนียมประเพณไี ทย มคี ุณภาพชวี ิตท่ีดี พรอ้ มท่ีจะไปอยู่กับ
ครอบครัวที่รับเด็กไปอุปการะอย่างมีความสุข โดยแบ่งการเลี้ยงดูเด็กออกเป็น 3 กลุ่ม ตามอายุและ
พัฒนาการของเด็ก กรณีมีเด็กที่มีปัญหาสุขภาพจะได้รับการดูแลสุขภาพอย่างใกล้ชิดจากกุมารแพทย์และ
พยาบาล

เนื่องจากสถานสงเคราะหข์ องมลู นิธิฯ ตั้งอยู่ภายในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย ทำงาน
ใกล้ชิดกบั แพทยพ์ ยาบาลของโรงพยาบาล และคณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย มีอาจารย์แพทย์
ที่เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ดังนั้นในระยะกว่า 10 ปี ที่ผ่านมา สถานสงเคราะห์ของมูลนิธิฯ จึงได้รับเด็กที่มี
ปัญหาสุขภาพซับซ้อนจากสถานสงเคราะห์เด็กของกรมกิจการเด็กและเยาวชน ตามที่ได้รับคำขอจากสถาน
สงเคราะห์นั้นๆ มาดูแลรักษาจำนวนมากขึ้นเรื่อยๆ ทำให้ต้องรับเลี้ยงดูเด็กจำนวนมากกว่า 50 ราย อยู่
เนืองๆ นอกจากนี้ท้ังพยาบาลและพีเ่ ลี้ยงผู้ดูแลเด็กของมูลนิธิฯ ยังได้มีการพฒั นาทักษะการดูแลเด็กเจ็บปว่ ย
เหล่านี้มากขึ้น เช่น การพ่นฝอยละอองยา การให้ออกซิเจนต่อเนื่อง (home respiratory care) การดูด
เสมหะ การระบายเสมหะ การใช้เคร่ืองช่วยหายใจสำหรบั เดก็ ทีม่ ีปัญหาโรคปอดเรื้อรัง การใหอ้ าหารทางสาย
หน้าท้อง (gastrostomy tube) การดูแลเด็กโรคหัวใจ ฯลฯ ซึ่งทักษะต่างๆ เหล่านี้อาจทำไม่ได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพในสถานสงเคราะห์อ่ืน

จึงนับเป็นการช่วยเหลือหน่วยงานอื่นที่ไม่มีความพร้อม และช่วยเหลือเด็กกลุ่มนีใ้ ห้หายจากโรค มี
สขุ ภาพแขง็ แรงขึ้น และมีคณุ ภาพชีวิตที่ดขี ้นึ พร้อมทีจ่ ะมอบให้ครอบครวั เดิมหรอื ครอบครัวบุญธรรมต่อไป
ได้ ที่ผ่านมาสถานสงเคราะห์ให้การดูแลรักษา และฟื้นฟูสุขภาพเด็กที่มปี ัญหาดังกล่าว จนกระทั่งมีผู้รับไป
อุปการะและได้เตบิ โตอยา่ งมีความสุข มคี ุณภาพชีวิตทีด่ ขี ึ้นเปน็ จำนวนมากกว่า 100 ราย

ในการพัฒนาเด็กเล็ก นอกจากการรักษาฟื้นฟูส่งเสริมสุขภาพทางกายแล้ว มูลนิธิฯ ยังจัดกิจกรรม
ส่งเสริมและกระตนุ้ พฒั นาการตามวัย สง่ เสริมใหเ้ ด็กไดม้ โี อกาสเรียนรู้ในด้านต่างๆ ตามวยั และศกั ยภาพของ

2

เด็กแต่ละราย รวมทั้งเรียนรู้ขนบธรรมเนียมประเพณี ให้ได้รับการศึกษาในโรงเรียนในกรณีที่อายุถึงเกณฑ์
แล้วยงั ไม่ได้ไปอยู่กับครอบครัวผู้ให้กำเนิดหรอื ครอบครัวบญุ ธรรม ใหเ้ ดก็ ได้ไปทัศนศึกษา ได้เข้าร่วมกิจกรรม
ทางสังคมทเี่ หมาะสม เพ่ือสร้างเสริมประสบการณช์ ีวติ ทง้ั น้ีเปน็ การเตรียมพรอ้ มให้เด็กเตบิ โตอย่างมีความสุข
และมีคุณภาพชีวติ ทดี่ ี พรอ้ มที่จะเป็นสมาชิกท่ดี ีและมีคุณค่าของครอบครวั และสังคมต่อไป

“สถานแรกรับ” หมายความว่า สถานที่รับเด็กไว้อปุ การะเป็นการชั่วคราวเพื่อสืบเสาะและพินิจเด็ก
และครอบครัว เพื่อกำหนดแนวทางในการสงเคราะห์และคุ้มครองสวัสดิภาพที่เหมาะสมแก่เด็กแต่ละราย
“สถานสงเคราะห์” หมายความว่า สถานที่ให้การอุปการะเลี้ยงดูและพัฒนาเด็กที่จำต้องได้รับการสงเคราะห์
ซง่ึ มจี ำนวนตั้งแตห่ กคนข้นึ ไป

ความหมายของ เดก็ เรร่ อ่ น สถานแรกรบั สถานสงเคราะห์ บา้ นพฒั นาเด็ก

ในการทำงานวิจัย โครงการถอดบทเรียนบ้านแรกรบั และบ้านพัฒนาเด็กเร่ร่อน ได้มีคำ หมายคำ ท่ี
ตอ้ งนิยามอย่างชดั เจน ไดแ้ ก่

เด็กเรร่ อ่ น หมายถึง เด็กท่ีไม่มีหลกั แหล่ง อาศัยหลบั นอนตามที่สาธารณะ หรอื บางคนอาจมคี รอบครัว
อยู่แต่ไม่ตอ้ งการอยู่กับครอบครัว หรือ บางคนเช่าบ้านอยู่กนั เป็นกลุ่มตามชุมชน เมื่อไม่มีรายได้ ก็จะออกมา
ทอ้ งถนน เพ่อื ประกอบอาชีพ เชน่ ขอทาน การเช็ดกระจก การขาบพวงมาลยั การรบั จ้าง การขายบริการทาง
เพศ เข้าไปเก่ยี วข้องกับอาชญากรรม คา้ ขาย ยาเสพติด เป็นต้น

สถานแรกรับ หมายความ สถานที่รับเด็กไว้อุปการะเป็นการชั่วคราวเพื่อสืบเสาะและพินิจเด็กและ
ครอบครัว เพอ่ื กำหนดแนวทางในการสงเคราะห์และคมุ้ ครองสวสั ดภิ าพท่ีเหมาะสมแก่เดก็ แต่ละราย

สถานสงเคราะห์ หมายความ สถานที่ให้การอุปการะเลี้ยงดูและพัฒนาเด็กที่จำต้องได้รับการ
สงเคราะห์ ซึ่งมจี ำนวนต้ังแต่หกคนขน้ึ ไป

สถาน
การเปิดดำเนนิ งาน/ขออนุญาตจดั ต้งั
1. เตรียมเอกสารทจ่ี ำเปน็ ในการดำเนินการจดั ต้ังสถานรับเลย้ี งเดก็ ตามรายการที่ 15
2. ในกรณที ส่ี ถานรบั เลยี้ งเด็กตั้งอยู่ในเขตกรงุ เทพมหานคร ให้ยืน่ คำขอทีก่ รมกิจการเด็กและเยาวชน

สำหรบั จงั หวัดอนื่ ใหย้ ่นื คำขอท่ีสำนกั งานพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์จังหวัด
3. เมื่อได้รับคำขอจัดตั้งสถานรับเลี้ยงเด็กให้เจ้าหน้าที่ตรวจสอบหลักฐานตามข้อ 1 และอาคาร

สถานที่ท่ีขอจดั ตั้งสถานรับเลยี้ งเดก็ ใหเ้ ป็นไปตามทกี่ ฎกระทรวงกำหนด
4. หากคำขอและเอกสารหลกั ฐานครบถ้วน อาคาร สถานที่ เป็นไปตามทีก่ ฎหมายกำหนด ให้ผู้รับคำ

ขอออกใบอนญุ าตให้ตัง้ สถานรับเลย้ี งเด็ก หากตรวจสอบว่ามขี ้อใดไม่ถกู ตอ้ งหรอื ไม่ครบถว้ นให้แจ้งผู้รับคำขอ
ดำเนนิ การแกไ้ ข หากผู้ขอรบั ใบอนุญาตมไิ ด้แกไ้ ขภายในเวลาท่กี ำหนดใหผ้ ู้รบั คำขอสงั่ ไม่อนญุ าต

3

5. ใบอนญุ าตจดั ตงั้ สถานรบั เลย้ี งเดก็ ให้มอี ายุ 1 ปี นับแต่วนั ออกใบอนญุ าต
หมายเหตุ

- กรณีคำขอหรือรายการเอกสารประกอบการพิจารณาไม่ถูกต้องหรือไม่ครบถ้วน และไม่อาจแก้ไข/
เพิ่มเติมได้ในขณะนั้น ผู้รับคำขอและผู้ยื่นคำขอจะต้องลงนามบันทึกความบกพร่องและรายการเอกสาร/
หลกั ฐานรว่ มกัน พรอ้ มกำหนดระยะเวลาให้ผู้ยนื่ คำขอดำเนนิ การแกไ้ ข/เพมิ่ เติม หากผู้ยื่นคำขอไม่ดำเนินการ
แก้ไข/เพิ่มเติมได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด ผู้รับคำขอจะดำเนินการคืนคำขอและเอกสารประกอบการ
พิจารณา

- เจ้าหน้าทีจ่ ะยังไมพ่ ิจารณาคำขอ และยงั ไมน่ ับระยะเวลาดำเนนิ งาน จนกว่าผ้ยู นื่ คำขอจะดำเนินการ
แกไ้ ขคำขอหรือยืน่ เอกสารเพม่ิ เตมิ ครบถว้ นตามบนั ทึกความบกพรอ่ งนัน้ เรียบร้อยแล้ว

- ขั้นตอนการดำเนินงานตามคู่มือจะเริ่มนับระยะเวลาตั้งแต่เจ้าหน้าที่ตรวจสอบเอกสารครบถ้วน
ตามทร่ี ะบุไว้ในคมู่ อื ท้งั นจี้ ะส่งผลการพจิ ารณาใหผ้ ู้ยื่นคำขอทราบภายใน 7 วันทำการนบั จากวันท่ีพิจารณาแล้ว
เสรจ็
จุดประสงค์

1.เพอื่ ดำเนนิ งานให้ตรงตามเป้าหมาย
2.เพือ่ ดำเนินงานอยา่ งมรี ะบบเปน็ ระเบียบเรยี บรอ้ ย
3.เพ่อื ประหยัดกำลังคนวสั ดุอุปกรณ์และเวลา

กฎหมายที่เกย่ี วข้อง
กฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขอรับใบอนุญาตจัดตั้งสถานรับเลี้ยงเด็ก

พ.ศ. 2549
กฎกระทรวง กำหนดอัตราค่าธรรมเนียมสำหรับการจัดตั้งสถานรับเลี้ยงเด็ก สถานแรกรับ สถาน

สงเคราะห์ สถานคมุ้ ครองสวัสดภิ าพ และสถานพัฒนาและฟืน้ ฟู พ.ศ. 2548
หน่วยงานและกระทรวงท่รี บั ผดิ ชอบ
กระทรวงพฒั นาสังคมและความมัน่ คงของมนุษยก์ ารจัดระบบงานบริหาร

1. มีการดำเนนิ งานอยา่ งมรี ะบบเปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ย
2. ดำเนนิ งานให้ตรงตามเป้าหมาย ไม่หลงทาง
3. ชว่ ยให้ประหยดั ทง้ั กำลังคน วัสดุอปุ กรณ์และเวลา 4. บรรลุเป้าหมายอยา่ งมีประสิทธภิ าพ ตาม
จุดมงุ่ หมายของการบริหารการศึกษาระดับปฐมวัยประกอบดว้ ยงานหลัก 6 งาน
1. การบรหิ ารงานดา้ นวิชาการ งานบริหารงานดา้ นวิชาการเปน็ งานหลกั ทีส่ ำคัญทส่ี ุด
2. งานด้านบคุ ลากร การบริหารงานบุคลากรในโรงเรียนเป็นหวั ใจของการบริหาร เพราะงานทุกชนิด
ของหนว่ ยงานทุกประเภทในโรงเรียนจะดำเนนิ ไปดว้ ยอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ และสำเร็จตามเป้าหมาย
3. งานบริหารด้านกิจการนักเรียน งานบริหารด้านกิจการนักเรียนเป็นงานที่เกี่ยวข้องกับการ
ดำเนนิ งานตามกฎระเบยี บ ข้อบังคับ

4

4.งานบรหิ ารดา้ นธุรการ การเงินและพสั ดุ
5. งานบรหิ ารดา้ นอาคารสถานที่
6. งานบริหารด้านความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งโรงเรยี นกบั ชมุ ชน
การนิเทศและการติดตามการปฏิบตั ิงานบคุ ลากรควรมีการตรวจสอบผลการปฎิบัติงานที่ผ่านมาของ
สถานพัฒนาเด็กประถมวัยตามตัวชี้วัดเป้าประสงค์หรือข้อบ่งชี้ที่กำหนดไว้จัดทำบันทึกความเข้าใจร่วมกั น
ระหว่างสามฝ่ายไดแ้ ก่องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ ผู้รับบรกิ ารนิเทศและผู้นิเทศโดยขอบเขตเน้อื หาในการนิเทศ
ท่ชี ดั เจนสรา้ งเครอ่ื งมอื ทดลองกอ่ นนำไปใชจ้ ริงสร้างบรรยากาศทเ่ี ปน็ กนั เองบนพ้ืนฐานความเสมอภาค
การทำงานรว่ มกับผปู้ กครองและชมุ ชน
• ชุมชนกับโรงเรยี นมกี ารรว่ มมอื กนั ทำงานบางอยา่ งบา้ งหรอื ไม่
• ชมุ ชนมปี ฏิทนิ กจิ กรรมอะไรบ้างในแตล่ ะปี
• เด็กสามารถมสี ว่ นร่วมในกจิ กรรมตามปฏิทนิ น้นั ไดบ้ า้ งไหม
• สถานทีใ่ นชมุ ชนท่ยี นิ ดีเปดิ รับเดก็ เข้าไปทัศนศึกษามีทใ่ี ดบา้ ง
• กิจกรรมใดในชุมชนทเี่ ด็กควรลงไปรว่ มทำงานด้วย
• พื้นท่ีตรงไหนในชุมชนท่เี ดก็ อาจไปศกึ ษาได้ในแต่ละเดือนของปี
• บุคคล สถานที่สำคัญในชุมชนอยู่ท่ีไหน ท่านเคยแจ้งขา่ วสารเรื่องราวที่สำคัญและมีประโยชน์ต่อเด็ก
ให้คณุ ครูทราบบ้างไหม
ศูนย์พฒั นาเดก็ เล็กกบั การจัดการศกึ ษาในทอ้ งถ่ิน

นิยามศัพท์ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก หมายถึง สถานศึกษาที่ให้การอบรมเลี้ยงดู จัดประสบการณ์ และ
สง่ เสรมิ พฒั นาการ การเรียนร้ใู หเ้ ดก็ เลก็ มีความพร้อม ดา้ นรา่ งกาย อารมณ์-จิตใจ สังคมและสตปิ ญั ญา สังกัด
องคก์ รปกครอง ส่วนท้องถน่ิ

5

สรุป
สถานศึกษาที่ให้การอบรมเลี้ยงดู จัดประสบการณ์ และส่งเสริมพัฒนาการ การเรียนรู้ให้เด็กเล็กมี
ความพร้อม ด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคมและสติปัญญา สังกัดองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น สถานที่รับ
ดูแล พัฒนา จัดประสบการณ์เรียนรู้ และการศึกษา สำหรับเด็กปฐมวัยครอบคลุมต้ังแต่ทารกแรกเกดิ ถึง 5 ปี
หรือกอ่ นเขา้ เรียนประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ทีใ่ ชช้ ือ่ หลากหลายรวมทุกสงั กดั ในประเทศไทย

อ้างองิ
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2562). พระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2562 และที่แกไ้ ข

เพ่ิมเติม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562 กรงุ เทพฯ : กระทรวงศกึ ษาธิการ.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2562) คู่มอื หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศักราช 2562 (สาหรับเดก็

อายุ (3-5 ป)ี . กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพรา้ ว.

6

บทท่ี 2

ความหมาย ความสำคัญ ของศนู ย์

ความสำคัญของการจดั การศึกษาปฐมวยั

การจัดการศึกษาปฐมวัย เป็นพื้นฐานที่สำคัญในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เนื่องจากเด็กระดับ
ปฐมวัย ที่มีอายุระหว่าง 3-6 ปี จะเป็นช่วงอายุที่สามารถพัฒนาความพร้อมทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ
สังคม และสติปัญญาไดอ้ ย่างเต็มที่ หากไม่ได้รบั การพฒั นาส่งเสริมในช่วงนี้ อาจจะมีผลทำให้การพัฒนาด้าน
ต่างๆ เป็นไปอย่างเชือ่ งช้าซ่ึงจะกระทบต่อความเจริญเติบโตในอนาคต ดังที่นักจิตวิทยาเสนอแนวคิดไว้ เช่น
ซิกมันด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud) กล่าวว่า “วัยเริ่มต้นของชีวิตมนุษย์คือ ระยะ 5 ปีแรกของคนเรา
ประสบการณต์ า่ งๆ ทไ่ี ด้รับในตอนตน้ ของชวี ติ จะมีอิทธพิ ลตอ่ ชีวิตของคนเราตลอดจนถึงวาระสดุ ท้าย โดยเช่ือ
ว่าการอบรมเล้ียงดูในระยะปฐมวัยน้นั จะมผี ลกระทบตอ่ การพฒั นาบุคลิกภาพของเด็กในอนาคต และโจ แอล
ฟรอสท์ (Joe L. Frost) ได้เสนอว่า “เด็กในช่วง 4-5 ปีแรกของชีวิต เป็นช่วงที่ความเจริญงอกงามทางด้าน
รา่ งกายและจติ ใจเกิดข้นึ อย่างรวดเร็วท่ีสุด นอกจากนีย้ ังมคี วามรู้สึกที่ไวต่ออิทธิพลของส่ิงแวดล้อมภายนอก”
(อ้างถงึ ใน เยาวพา เดชะคปุ ต์ 2542: 13)

ดังนั้นในการจัดการศึกษาปฐมวัย จึงมีปรัชญาอยู่ที่การให้ความรัก ความอบอุ่น ที่มุ่งเตรียมความ
พร้อมให้กับเด็ก การจัดการศึกษาเด็กอายุ 3-6 ปี เกิดวุฒิภาวะทางกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา มี
พัฒนาการถงึ ระดบั หนง่ึ เพื่อเป็นพ้ืนฐานในการเรียนรูพ้ ฤติกรรมใหม่ๆ ได้ง่ายขึน้ (วิรัตน์ บัวขาว 2544: 34-35
และวราภรณ์ รกั วจิ ยั 2535:53)

ในอดีตที่ผ่านมามีหน่วยงานภาครัฐและเอกชนหลายหน่วยงาน ที่ทำหน้าที่จัดการศึกษาในระดับ
ปฐมวยั สรุปไดด้ งั นกี้ ระทรวงศึกษาธกิ าร (2536: 26-33)

1. หน่วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ตามโครงสร้างเดิมก่อนเปลี่ยนแปลงโครงสร้างใหม่ ได้ดำเนินการ
จัดเตรยี มความพร้อม ใหแ้ ก่เดก็ ก่อนวยั เรียนไดแ้ ก่

1.1 สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ ดำเนินการจัดการศึกษาในระบบโรงเรียน
ให้แก่เด็กก่อนเกณฑ์ภาคบังคับกลุ่มอายุ 4-6 ปี โดยจัดประสบการณ์ต่างๆ เพื่อเสริมสร้างให้เกิดการพัฒนา
ทางดา้ นรา่ งกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปญั ญาเตม็ ตามศักยภาพ เพือ่ ใหม้ ีความพรอ้ มในการเรยี นในระดบั
ประถมศึกษา ซึ่งในระยะแรกจัดเป็น 2 หลกั สตู ร คือ หลักสูตรอนุบาล 2 ปแี ละหลกั สตู รเด็กเลก็ 1 ปี และในปี
การศึกษา 2539 ไดย้ กเลกิ หลักสูตรเดก็ เลก็ 1 ปี และใช้หลกั สูตรอนุบาล 2 ปี โดยรับเด็กที่มีอายุไม่ต่ำกวา่ 4 ปี
ข้นึ ไป และกรณีทีโ่ รงเรียนมีความพร้อมรวมท้ังชมุ ชนต้องการให้มีการจัดหลักสตู รอนุบาล 3 ปี โดยเริ่มรับเด็ก
อายุ 3 ปี จะต้องขออนุญาตจากสำนกั งานการประถมศกึ ษาจงั หวัด

7

1.2 กรมการศาสนา ดำเนินการจัดการเรียนการสอนในระดับปฐมวัยนอกระบบโรงเรียน โดยจัดตั้ง
ศนู ย์อบรมเดก็ กอ่ นเกณฑ์ในวัด สอนเดก็ กอ่ นเกณฑ์ที่จะเข้ารับการศึกษาภาคบังคับตามกฎหมาย ทั้งชายและ
หญงิ ทม่ี อี ายตุ งั้ แต่ 3 ปี จนถงึ ย่างเขา้ ปที ่ี 6

1.3 กรมการฝึกหัดครู ดำเนินการจัดการศึกษาในระดับปฐมวัยในระบบโรงเรียน ในโรงเรียนสาธิต
ของวทิ ยาลยั ครู โดยจดั ให้แก่เดก็ อายุ 3-6 ปี ในหลกั สูตรอนบุ าล 3 ปี หลกั สูตรอนุบาล 2 ปี และหลักสูตรเด็ก
เล็ก 1 ปี เพื่อเตรยี มความพรอ้ มของเด็กก่อนเข้าเรียนในระดับประถมศึกษา เปน็ การแบง่ เบาภาระของอาจารย์
และข้าราชการในวิทยาลัยครู รวมท้งั เปน็ แหลง่ ฝึกงานสำหรบั นกั ศึกษาวิทยาลัยครูวชิ าเอกอนุบาล นอกจากนนั้
ยังเปน็ ทศ่ี ึกษาเกีย่ วกับความเจริญเติบโตและพฒั นาการของเดก็

1.4 กรมสามญั ศึกษา มีกองการศกึ ษาพิเศษเปน็ ผ้รู ับผิดชอบดำเนนิ การจัดการศึกษาสงเคราะห์และ
การศกึ ษาพเิ ศษสำหรับเด็กก่อนวัยเรียนในระบบโรงเรียน ทดี่ ำเนนิ การอยู่ในปัจจุบัน คือการศึกษาสำหรับเด็ก
ขาดโอกาสทจ่ี ะเรยี นในโรงเรยี นปกติ และการศกึ ษาพเิ ศษ ซงึ่ เปน็ การศึกษาสำหรับผ้ขู าดโอกาสเน่อื งจากความ
พิการทางด้านต่างๆ รวมทั้งการศึกษาสำหรับเด็กเจ็บป่วยเรื้อรังในโรงพยาบาล การจัดการศึกษาจะจัดใน
ลกั ษณะหลักสตู รอนุบาล 2 ปี และหลักสตู รเด็กเลก็ 1 ปี เพ่อื เตรียมความพรอ้ มของเดก็ ก่อนเข้าเรียนในระดับ
ประถมศกึ ษา โดยใช้เกณฑก์ ารจัดของกรมสามัญศึกษา

1.5 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน ดำเนินการจัดการศึกษาในระดับปฐมวัยในระบบ
โรงเรียน จัดให้แก่เด็กวัยก่อนเกณฑ์การศึกษาภาคบังคับกลุ่มอายุ 3-5 ปี โดยจัดประสบการณ์ให้นักเรียนมี
ความพร้อมทางร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม สติปัญญาและความคิดริเริม่ สร้างสรรค์ โดยเตรียมความพร้อม
ก่อนเข้าเรียนระดบั ประถมศึกษา เชน่ โรงเรียนอนบุ าลของเอกชนตา่ งๆ

2. ส่วนราชการอน่ื ที่รว่ มดำเนนิ การจดั การศกึ ษาในระดับปฐมวยั มหี ลายหน่วยงาน ได้แก่

2.1 กระทรวงมหาดไทย ซึ่งมีหนว่ ยงานท่ีดำเนินการ ดงั นี้

2.1.1 กรมการปกครอง โดยมสี ำนกั งานการศึกษาท้องถนิ่ เปน็ ผู้รับผิดชอบดำเนินการจัดการศึกษา
ระดับปฐมวัยให้แก่เด็กวัย 4-5 ปี หรือเด็กวัยก่อนเกณฑ์การศึกษาภาคบังคับในเขตเทศบาลและเมืองพัทยา
เพื่อพัฒนาการเตรียมความพร้อมทางร่างกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ สังคมและความพร้อมที่จะเข้ารับ
การศึกษาในระดับประถมศกึ ษาตอ่ ไป โดยจัดเป็น 2 หลกั สตู ร คอื หลักสตู รอนุบาล 2 ปี และหลักสูตรเด็กเล็ก
1 ปี

2.1.2 กรมตำรวจ โดยมกี องบญั ชาการตำรวจตระเวนชายแดนเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดการศึกษาให้
ประชาชนที่อยู่ในท้องถิ่นห่างไกลการคมนาคมไม่สะดวก ดำเนินการจัดการศึกษาในระดับปฐมวัยเป็น 2
รปู แบบ คือ 1) จัดการศึกษาในระบบโรงเรยี น โดยจดั ใหก้ บั เดก็ อายุ 3-6 ปี ในหลักสตู รเดก็ เลก็ 1 ปี มุ่งเตรียม

8

ความพร้อมให้แก่เด็กวัยก่อนเข้าเรียนในระดับประถมศึกษา เพื่อส่งเสริมการศึกษาแก่ประชาชนยากจนไกล
คมนาคม และสง่ เสริมสุขภาพอนามัยตลอดจนโภชนาการท่ีถกู ตอ้ งในเด็ก 2) จดั การศึกษานอกระบบโรงเรียน
โดยจัดการบรกิ ารด้านการศกึ ษาให้แก่เดก็ อายุ 2-6 ปี ท่ีไม่สามารถรับบริการศกึ ษาจากหน่วยงานท่ีรับผิดชอบ
จัดการศึกษาโดยตรง ในเขตพื้นทีท่ ี่เป็นจังหวัดชายแดนและกองร้อยตำรวจตระเวนชายแดนต้ังอยู่ หรือพื้นที่
เป้าหมายเพื่อความมั่นคงตามแผนมหาดไทยแม่บทฉบับที่ 4 การจัดบรกิ ารนี้จะอยู่ในรูปของสถานสงเคราะห์
เด็กกอ่ นวัยเรยี นในลกั ษณะศูนยพ์ ัฒนาเด็กกอ่ นวัยเรยี น

2.1.3 กรมประชาสงเคราะห์ ดำเนินการจัดการศกึ ษาในระดับปฐมวัยมี 2 รูปแบบ คือ 1) จดั การศึกษา
ในระบบโรงเรียน จดั ใหแ้ ก่เด็กอายุ 3-6 ปี ในโรงเรียนหมู่บ้านชาวไทยต่างวัฒนธรรมและสถานสงเคราะห์เด็ก
เป็นการดแู ลเดก็ กำพรา้ หรือเดก็ ถูกทอดท้งิ โดยจดั เปน็ หลกั สูตรอนบุ าล 2 ปี และหลักสูตรเด็กเลก็ 1 ปี สำหรับ
หน่วยงานที่จัด ได้แก่กองสงเคราะห์เด็กและบุคคลวยั รุ่น 2) จัดการศึกษานอกระบบโรงเรียน เป็นการให้การ
เลีย้ งดูและให้การศึกษาแก่เด็กทีม่ ปี ญั หาดา้ นการเล้ียงดูจากพ่อแม่และเดก็ พิการ โดยจัดตงั้ สถานสงเคราะห์เด็ก
อ่อนให้การอุปการะทั้งชายและหญิงอายุตั้งแต่แรกเกิดถึงอายุ 6 ปี ซึ่งหน่วยงานที่ดำเนินการ คือ กอง
สงเคราะหเ์ ดก็ และบุคคลวยั ร่นุ กองนิคมสร้างตนเอง กองสงเคราะหช์ าวเขา และกองบริการชมุ ชน

2.1.4 กรมการพัฒนาชุมชน มีกองพัฒนาสตรี เด็กและเยาวชนเป็นผู้รับผิดชอบดำเนินการจัด
การศึกษาระดบั ปฐมวัยนอกระบบโรงเรียน โดยดำเนินการพฒั นาเด็กในชนบทต้ังแต่อายแุ รกเกิด ถึงอายุ 6 ปี
โดยมีแนวทางการดำเนินงาน 2 รูปแบบ คือ 1) การพฒั นาเดก็ ในศูนย์พฒั นาเดก็ เลก็ ดำเนินการสนับสนุนโดย
ใหช้ ุมชนจัดต้งั ศูนยพ์ ัฒนาเดก็ เล็กในตำบล หม่บู า้ น เพอ่ื รบั เลย้ี งดูเด็กอายุระหว่าง 3-6 ปี โดยจัดให้มีผู้ดูแลเด็ก
ทำหน้าที่เป็นผู้เลี้ยงดูเด็ก และได้รับค่าตอบแทนจากกรมการพัฒนาชุมชน ผู้ปกครอง และ/หรือชุมชน ใน
อัตราส่วนผู้ดูแลเด็ก 1 คนต่อเด็ก 20-25 คน และคณะกรรมการพัฒนาเด็กเป็นผู้รับผิดชอบการบริหารงาน
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ภายใต้การควบคุมดูแลของกรรมการหมู่บ้านและกรรมการสภาตำบล 2) การพัฒนา
เด็กนอกศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ ดำเนินงานพัฒนาเด็กตั้งแรกเกิดถงึ อายุ 6 ปี ท่ขี าดโอกาสเข้ารับการเล้ียงดูในศูนย์
ใหม้ ีโอกาสไดร้ บั การพัฒนาเช่นเดยี วกบั เดก็ ในศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เล็ก โดยมงุ่ ให้องคก์ รทอ้ งถิน่ อาสาสมัคร พ่อแม่
ผปู้ กครอง หรอื บุคคลในครอบครัว เปน็ ผูร้ บั ผดิ ชอบในการจดั กจิ กรรม

2.2 กรงุ เทพมหานคร ดำเนนิ การจัดการศกึ ษาในระดบั ปฐมวยั เป็น 2 รปู แบบ คอื 1) การจัดการศึกษา
ในระบบโรงเรียน โดยมีสำนักการศึกษากรุงเทพมหานครเป็นผู้รับผิดชอบดำเนินการจัดการศึกษาในระดับ
ปฐมวัย เพื่อให้เด็กที่มีอายุ 5 ปี (ก่อนเกณฑ์บังคับ 1 ปี) ได้รับการดูแลในการพัฒนาการทางด้านร่างกาย
สติปัญญา อารมณ์และสังคม เพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ และช่วยเด็กที่บิดามารดาฐานะยากจนได้มีโอกาสได้รับการศึกษาในระดับปฐมวัย โดยจัดเป็น
หลักสูตรเด็กเล็ก 1 ปี 2) การจัดการศึกษานอกระบบโรงเรียน มีสำนักพัฒนาชุมชนและสำนักอนามัย เป็น

9

ผรู้ ับผิดชอบดำเนินการจัดบรกิ ารให้สถานรับเลี้ยงเดก็ กลางวัน ณ ศนู ยบ์ ริการสาธารณสุข และศูนย์พัฒนาเด็ก
ในชมุ ชนแออัด

2.3 กระทรวงสาธารณสุข โดยกองโภชนาการกรมอนามัยเป็นผู้รับผิดชอบดำเนินการจัดการศึกษา
ระดับปฐมวัยนอกระบบโรงเรียน ได้ให้ความสำคัญในด้านสุขภาพกายและจติ ใจของเด็กวัยก่อนเรียน รวมท้ัง
การส่งเสริมพัฒนาการเด็กให้สมวัยเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าเรียนในระดับประถมศึกษา ใน
ปจั จบุ นั ไดจ้ ัดต้ังศูนยโ์ ภชนาการเดก็ เพอื่ แกไ้ ขปัญหาภาวะโภชนาการในเดก็ โดยรบั เดก็ อายุ 2-5 ปี

2.4 ทบวงมหาวิทยาลยั ได้ดำเนินการจัดการศกึ ษาระดับปฐมวัยในระบบโรงเรียนในโรงเรยี นสาธิตของ
มหาวิทยาลัย เป็น 2 ลักษณะ คือ ให้การศึกษาแก่เด็กอายุ 3-5 ปี (6ปี) ในรูปแบบของช้ันอนุบาลในโรงเรยี น
สาธิต และชั้นเตรียมประถมศึกษาหรือช้นั เดก็ เลก็ ให้การศกึ ษาแกเ่ ด็กอายุ 5-6 ปี ในรปู ของชนั้ เด็กเลก็ ใช้เวลา
ในการจัด 1 ปี

2.5 องค์กรเอกชน ไดเ้ ข้ามามสี ่วนร่วมในการพัฒนาประเทศมากขนึ้ ตง้ั แตร่ ่างแผนพฒั นาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2530-2534) ซึ่งคณะรัฐมนตรีในขณะน้ันไดอ้ นุมัติให้จัดตัง้ สภาองค์การพัฒนา
เดก็ และเยาวชนขึ้น ประกอบด้วยองค์กรสมาชกิ 50 องคก์ ร ซึ่งประกอบด้วยกลมุ่ องคก์ รตา่ งๆ ได้แก่มูลนิธิเด็ก
มลู นิธกิ ารพฒั นาเด็ก พิริยานเุ คราะห์มลู นธิ ิ สหทัยมูลนิธิ สมาคมสงเคราะหเ์ ดก็ กำพร้าแหง่ ประเทศไทย มูลนิธิ
เด็กอ่อนในสลัม มูลนิธิสงเคราะห์เด็กของสภากาชาดไทยมูลนิธิมิตรมวลเด็ก โสละมูลนิธิแห่งประเทศไทยใน
พระบรมราชูปถัมภ์ มูลนิธิภราดรบำเพ็ญเพื่อเด็กกำพร้าบ้านศรีธรรมราช โรงพยาบาลกรุงเทพคริสเตรียน
หนว่ ยฝากเล้ียง เปน็ ตน้ โดยมีเป้าหมายหลักในการทำงานเพอื่ พฒั นาเด็กโดยเฉพาะเดก็ ท่ีอยู่ในภาวะเส่ียง ท้ัง
เด็กดอ้ ยโอกาส เดก็ พิการ เด็กเร่รอ่ นเด็กถกู ทารุณกรรม ถูกทอดทง้ิ เป็นต้น

2.6 องค์การระหว่างประเทศ ให้ความสนับสนุนด้านเงินทุน วิชาการ และเทคโนโลยีต่างๆ แก่หน่วยงานท้ัง
ภาครัฐและเอกชนในประเทศไทย เพื่อดำเนนิ การพัฒนาเด็กก่อนวยั เรียนดว้ ยเชน่ เดียวกัน

สรปุ ได้ว่า การจัดการศกึ ษาระดับปฐมวัยของหนว่ ยงานตา่ งๆ มจี ุดประสงคท์ ่ีคลา้ ยคลึงกนั คือตอ้ งการ
พัฒนาเด็กทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญาเต็มตามศักยภาพ และให้มีความพร้อมในการ
เขา้ เรียนในระดับประถมศึกษา และให้การศึกษาแก่ผปู้ กครองโดยผ่านทางเด็กส่วนกิจกรรมที่จัดในสถานเล้ียง
เด็กนั้นมีความแตกตา่ งกันบ้าง ขึ้นอยู่กับวตั ถุประสงค์และลักษณะหน่วยงานที่จัด เช่น โครงการฝึกฝนอบรม
เด็กก่อนวัยเรียนของกรมการฝึกหัดครู นอกจากจะมีจุดประสงค์เพื่อพัฒนาเด็ก เผยแพร่การเลี้ยงดูเด็กใน
ชนบท ชักจูงให้ชาวบ้านมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนแล้วยังเป็นการให้สถานศึกษาฝึกหัดครูให้ได้ศึกษา
ค้นคว้า ฝึกหัดการจัดการเรียนการสอนของเด็กร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ หรือกรมประชาสงเคราะห์ซึ่งมุ่งเน้น
หมบู่ ้านชาวไทยต่างวัฒนธรรมและสถานสงเคราะห์เดก็ กำพรา้ หรอื เด็กถกู ทอดทงิ้ สว่ นศูนยโ์ ภชนาการเด็กของ
กรมอนามัยเนน้ ในเรอื่ งสขุ ภาพและโภชนาการ เปน็ ตน้

10

การบริหารศูนย์พัฒนาเดก็ เล็ก

กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ได้เล็งเห็นความสำคัญในการจัดทำมาตรฐานการดำเนินงานศูนย์
พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้สามารถดำเนินงานเพื่อพัฒนาเด็กได้อย่างมีคุณภาพ และ
เหมาะสม ซึ่งจะเป็นแนวทางให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นถือปฏิบัติ ในการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ต่อไป สำหรับมาตรฐานดังกล่าว ได้รวบรวม และจัดทำขึ้นจำแนกออกเป็นมาตรฐานการดำเนินงาน 5 ด้าน
ประกอบดว้ ย (กรมส่งเสริมการปกครองท้องถน่ิ 2551 : 2 – 5)

1. ด้านบคุ ลากรและการบริหารจดั การ
เป็นการกำหนดมาตรฐานการดำเนินงานสำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วน

ทอ้ งถ่นิ ด้านบุคลากร และการบริหารจดั การ เชน่ คณุ สมบัติและบทบาทหนา้ ท่ีของบคุ ลากรต่าง ๆ ไม่ว่า
จะเปน็ ผบู้ รหิ ารขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ หัวหนา้ ศนู ย์พฒั นาเดก็ เล็ก ผู้ดูแลเด็ก ผูป้ ระกอบอาหาร
ตลอดจนผ้ทู ำความสะอาดศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เล็ก เปน็ ต้น
2. ด้านอาคารสถานท่ี สิง่ แวดลอ้ มและความปลอดภยั

เป็นการกำหนดมาตรฐานสำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ด้านอาคาร
สถานท่ี ส่ิงแวดลอ้ ม และความปลอดภยั ดงั นี้

2.1 ด้านอาคารสถานท่ี เปน็ การกำหนดมาตรฐานเกยี่ วกับพื้นทข่ี องศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็กทต่ี งั้ จำนวนช้นั
ของอาคาร ทางเขา้ - ออก และประตหู นา้ ตา่ ง ตลอดจนพน้ื ทใ่ี ช้สอยอืน่ ๆ เป็นตน้

2.2 ส่งิ แวดล้อม เป็นการกำหนดมาตรฐานเกี่ยวกับส่ิงแวดล้อมท้ังภายในและภายนอกตัวอาคาร เช่น
แสงสวา่ ง เสียง การถา่ ยเทอากาศ สภาพพน้ื ทีภ่ ายในอาคาร รวั้ สภาพแวดล้อมและมลภาวะ เป็นตน้

2.3 ด้านความปลอดภัย เป็นการกำหนดมาตรฐานที่เกี่ยวกับความปลอดภัย เช่น การกำหนด
มาตรการปอ้ งกนั ความปลอดภยั และมาตรการเตรียมความพรอ้ มรบั สถานการณ์ฉกุ เฉิน เปน็ ตน้

3. ดา้ นวชิ าการและกิจกรรมตามหลกั สูตร

เป็นการกำหนดมาตรฐานสำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ด้านวิชาการ
และกิจกรรมตามหลักสูตร ได้แก่ คุณลักษณะของเด็กที่พึงประสงค์ 12 ประการ คุณลักษณะตามวัย (ด้าน
ร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คม และสติปญั ญา) การจัดประสบการณ์ ตลอดจนการจดั กิจกรรมประจำวันสำหรับ
เดก็ เปน็ ตน้

4. ดา้ นการมสี ว่ นร่วมและสนับสนุนจากชุมชน

11

เป็นการกำหนดมาตรฐานสำหรบั ศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเล็กขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ด้านการมีส่วน
ร่วมและการสนบั สนุนจากชุมชน เชน่ การประชมุ ชี้แจงให้ราษฎรในชุมชนทราบถึงประโยชน์และความจำเป็น
ของการดำเนินงาน การจัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์การจัดให้มีกองทุนส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงาน
ตลอดจนการตดิ ตามและประเมนิ ผลรวมถึงการเข้ามามีส่วนร่วมจากชุมชน หรือประชาคมในท้องถน่ิ เปน็ ตน้

5. ดา้ นธุรการ การเงินและพสั ดุ

- งานพัสดุ เป็นการจัดทำจัดซื้อจัดหาและจำหน่ายทะเบียนพัสดุ รวมทั้งเสนอความต้องการให้
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการ

- งานธุรการและสารบรรณ ได้แก่ การจัดทำข้อมูลสถิติ จดั ทำทะเบยี นหนังสอื รับ - ส่ง การควบคุม
และจัดเก็บเอกสาร การจดั ทำประกาศและคำส่งั การจัดทำทะเบียนนกั เรยี น การรับสมัครนักเรยี น

- งานการเงิน ได้แก่ การจัดทำงบประมาณ การทำบัญชีการเงิน การเบิกจ่ายเงนิ ซึ่งศูนย์พัฒนาเดก็
เล็กจะถือปฏบิ ตั ิเกี่ยวกับรายรับ

- จ่ายตามระเบียบขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ และกฎหมายท่เี ก่ยี วข้อง

องคก์ ารบริหารส่วนตำบลกับการบรหิ ารจัดการศูนย์พัฒนาเด็กเลก็

รูปแบบการส่งเสริมการจัดการศึกษาปฐมวัยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้นมี 3 รูปแบบ คือ
(ชมรมพฒั นาความรู้ดา้ นระเบยี บกฎหมาย 2543: 45-47)

รูปแบบที่ 1 เป็นรูปแบบที่เหมาะกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีความพร้อมมากในด้านอาคาร
สถานที่ บุคลากร งบประมาณ วัสดุและการจัดการ โดยจัดในโรงเรียนอนุบาลประจำจังหวัด/อำเภอและ
โรงเรียนสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาแห่งชาติ ซึ่งสำนักงานการประถมศึกษาแห่งชาติให้การสนับสนุน
ช่วยเหลือด้านวิชาการ

รูปแบบที่ 2 เป็นรูปแบบที่เหมาะกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีความพร้อมระดับปานกลาง ให้
องค์กรส่วนท้องถิ่นรับภาระเกี่ยวกับการจ้างครูพี่เลี้ยง วัสดุฝึก สื่อต่างๆ โรงเรียนให้สถานที่ จัดอาหารเสริม
(นม) อาหารกลางวนั และดแู ลดา้ นวิชาการ

รูปแบบที่ 3 เป็นรูปแบบที่เหมาะกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีความพร้อมน้อย ก็ให้โรงเรียน
รับผิดชอบเปน็ สว่ นใหญ่ สว่ นองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ รับผิดชอบบางสว่ น เช่นค่าจา้ งครูพเ่ี ลย้ี ง หรือคา่ วสั ดุ/
สื่อ เปน็ ตน้

การเลือกใช้รูปแบบในการถ่ายโอนหรือส่งเสริมการจัดการศึกษาปฐมวัยขององค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่นสามารถเลือกรูปแบบตามความพร้อมเป็นหลักได้ และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินควรพัฒนาจาก

12

รูปแบบที่ 3 เป็นรูปแบบที่ 2 และรูปแบบที่ 1 ตามลำดับ เพื่อเข้าสู่รูปแบบการดำเนินการที่เป็นอิสระต่อไป
ทง้ั นค้ี วรดำเนนิ การใหไ้ ด้รูปแบบที่ 1 ภายในปี พ.ศ. 2545กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คณะรัฐมนตรีกระทรวงมหาดไทย

รูปแบบที่ 1

องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินรับจัดการศึกษาปฐมวัยโดยตรง กระทรวงศึกษาธกิ ารช่วยเหลือสนับสนุน
ทางวิชาการ

รูปแบบท่ี 2

องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นรับผดิ ชอบคา่ ใช้จ่ายด้านครพู เ่ี ลี้ยง หรอื งบประมาณอืน่ โดยอาจใช้อาคาร
สถานท่ีของโรงเรยี นประถมศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ ารรบั ผิดชอบงบประมาณบางส่วนและดา้ นวชิ าการ

รูปแบบที่ 3

โรงเรียนประถมศึกษาดำเนนิ การตามปกติจนกว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ พร้อมจะดำเนินการ โดย
ท้องถน่ิ ช่วยเหลอื ดา้ นอื่น ๆ ตามความพร้อม

การดำเนินการขององค์การบริหารส่วนตำบล สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ มี
นโยบายลดภาระการจัดการศึกษาระดับปฐมวัย โดยถ่ายโอนการจัดการศึกษาอนุบาล 3 ขวบให้แก่องค์กร
ปกครองสว่ นท้องถ่ิน ในปีการศกึ ษา 2544 โดยมเี ปา้ หมาย ดงั นี้ 1) โรงเรียนในสงั กดั จะไมจ่ ดั อนุบาล 3 ขวบ 2)
สำนักงานคณะกรรมการการประถมศกึ ษาแหง่ ชาติ สนบั สนุนด้านวชิ าการและมาตรฐานคุณภาพ เพื่อให้องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นมีความพร้อมในการจัดการอนุบาล 3 ขวบ ซึ่งในการดำเนินงานได้ประสานงานกับ
กระทรวงมหาดไทย และแจ้งใหส้ ำนักงานการประถมศกึ ษาจงั หวดั ดำเนินการตามนโยบาย โดยใหค้ วามรว่ มมือ
กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในด้านต่างๆ ดังนี้ 1) ด้านอาคารสถานที่ หากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใด
ขาดแคลนอาคารสถานที่ในการจัดอนุบาล 3 ขวบและประสงค์จะขอใช้อาคารสถานที่ของสถานศึกษา ให้
ดำเนินการตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการขอให้อาคารสถานที่ของสถานศึกษา พ.ศ. 2539 2)
ด้านครูอัตราจา้ งหรอื ครทู ที่ ำการสอนอนบุ าล 3 ขวบเดิม ในระหวา่ งทอ่ี งคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่นยงั ไม่สามารถ
จ้างครูผูส้ อนอ่ืนมาทดแทนได้ ให้สถานศึกษาให้ความร่วมมือดำเนินการสอนในปีการศกึ ษา 2544 ไปตามเดมิ
ก่อน 3) ด้านวิชาการให้สถานศึกษาสนับสนุนด้านวิชาการแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้งในด้านการเป็น
ห้องเรียนต้นแบบและสนบั สนุนเอกสารสือ่ ต่างๆ นอกจากนัน้ ยังได้เตรียมการถา่ ยโอนงบประมาณที่เกีย่ วขอ้ ง
กบั การจัดการศึกษาระดบั ปฐมวยั (อนบุ าล 3 ขวบ) ใหแ้ ก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดว้ ย

13

ศนู ย์พัฒนาเลย้ี งเด็กเฉลิมพระเกยี รติ

มูลนิธิฯ จัดตั้งศูนย์พัฒนาและเล้ียงเดก็ เฉลิมพระเกยี รติในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรง
ครองสริ ิราชสมบัตคิ รบ 50 ปี ซ่ึงไดเ้ ปิดใหบ้ รกิ ารต้งั แตว่ ันท่ี 16 เมษายน 2539 เพ่อื เปน็ สวัสดิการสำหรับ
บุคลากรของสภากาชาดไทย และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยรับเลี้ยงดูบุตรของ
บุคลากรในเวลากลางวัน ขณะที่บิดามารดามาทำงาน เพื่อคลายความวิตกกงั วลของบิดามารดาในเรื่องการ
เลี้ยงดูบุตรของตนเองในช่วงที่ปฏิบัติงานอยู่ ศูนย์ฯ รับเลี้ยงเด็กอายุตั้งแต่ 3 เดือน ถึง 4 ปี โดยมี
วัตถปุ ระสงค์ เพ่ือให้เด็กมีการเจรญิ เติบโตและมพี ฒั นาการพรอ้ มในทกุ ๆ ดา้ น ทงั้ ดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ
สงั คม สตปิ ญั ญา และคณุ ธรรมจรยิ ธรรม อย่างเหมาะสมตามวัยและตามศกั ยภาพของเดก็ แตล่ ะคน รวมทั้ง
ปลูกรากฐานให้เด็กพร้อมที่จะเรียนรู้และเติบโตเป็นบุคคลที่มีคุณภาพ มีคุณธรรมและจริยธรรมต่อไปใน
อนาคต

ศูนย์ฯ เน้นการส่งเสริมให้เด็กได้เรียนรู้ผ่านการเล่นและการทำกิจกรรมต่างๆ อย่างมีความสุข
สนกุ สนาน พรอ้ มๆ ไปกบั การสรา้ งเสริมคณุ ธรรมจริยธรรม โดยเน้นให้ผปู้ กครองมสี ่วนรว่ ม ทง้ั นเ้ี พ่ือส่งเสริม
ให้เด็กๆ ที่ผ่านการดูแลของศูนย์ฯ มีอัตลักษณ์เฉพาะ คือ “เด็กสุขภาพดี มีความสุข” และบรรลุตาม
เปา้ หมายของศูนยฯ์ ท่ตี ้องการพัฒนาใหม้ เี อกลกั ษณ์คอื “สขุ ภาวะดี มีคณุ ธรรม”

ศนู ย์ฯ มศี ักยภาพในการรบั เลี้ยงเดก็ ได้จำนวน 80 คน ตั้งแต่เรม่ิ เปดิ ดำเนนิ การจนถึงปัจจุบนั มีเด็ก
ที่ได้รับการเลี้ยงดูจากศูนย์ฯ และออกไปเข้าเรียนต่อในระบบโรงเรียนได้อย่างดี จำนวนกว่า 1,200 รายใน
ด้านการให้บริการวิชาการแก่สังคม ศนู ยพ์ ฒั นาและเล้ียงเดก็ เฉลิมพระเกยี รติ เปน็ แหลง่ เรียนรู้ ศึกษาดูงาน
และฝึกงานเกี่ยวกับการเลี้ยงดูเด็กและพัฒนาการเด็ก สำหรับนักเรียน นิสิต นักศึกษา จากสถาบันต่างๆ
เช่น นิสิตแพทย์จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นักศึกษาแพทย์จากมหาวิทยาลัยรังสิต นักศึกษาพยาบาล
จากวิทยาลัยพยาบาลของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ แพทย์ประจำบ้านกุมารเวชศาสตร์ และแพทย์ประจำ
บ้านจิตเวชศาสตร์เด็กและวัยรุ่นของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ฯลฯ นอกจากนี้ศูนย์ฯยงั ได้จัดทำ “โครงการ
ฝกึ อบรมผดู้ แู ลเดก็ ปฐมวยั 0 – 6 ปี” และ “โครงการฝึกอบรมการกชู้ วี ิตเด็กเบอ้ื งตน้ สำหรับพเ่ี ล้ียงเด็กและ
บุคลากรที่ทำงานเกี่ยวกับเด็ก” โดยได้รับความร่วมมือจากภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และวิทยาลัยพยาบาล สภากาชาดไทย โดยจัดอบรมปีละ 1 ครั้ง ตั้งแต่ปีพ.ศ.
2551 เป็นต้นมา จนถึงปัจจุบันมีผู้ผ่านการอบรมจำนวนทัง้ สิ้น 134 ราย และส่วนหน่ึงของผูท้ ีจ่ บการอบรม
สามารถเปิดสถานรับเลีย้ งเด็กของตนเองได้ในชว่ งปดิ ภาคเรียนของทกุ ปี

ศูนยฯ์ ไดจ้ ัดทำโครงการรับเลีย้ งดูเดก็ ในชว่ งปดิ ภาคเรยี น โดยดำเนนิ การปลี ะ 2 ครงั้ ระหว่างเดือน
มีนาคม – พฤษภาคม และเดือนตุลาคม เพื่อรับเลี้ยงดูบุตรของบุคลากรสภากาชาดไทย และคณะ

14

แพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ซึ่งเคยฝากเลี้ยงทีศ่ ูนย์ฯ เพื่อให้เด็กได้ใช้เวลาวา่ งให้เกิดประโยชน์
ระหวา่ งปดิ ภาคเรยี น และคลายความกงั วลของบดิ ามารดาในเรอื่ งการดแู ลบุตรของบคุ ลากรขณะปฏิบัติงาน

ชื่อหน่วยงาน ศูนย์เรียนรู้สถานพัฒนาเด็กเล็ก นมแม่และการเลี้ยงดูคู่เรียนรู้แบบบูรณาการ 3 เดือน-3 ปี
โรงพยาบาลสุทธาเวช คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม

บริบทของหน่วยงาน/บริการ เป็นหน่วยที่ให้บริการส่งเสริมเรื่องพัฒนาการเด็กตามวัยและช่วย
สง่ เสรมิ การเลย้ี งลูกดว้ ยนมแม่สำหรับกลุม่ คุณแม่ท่ีทำงานประจำ โดยใช้ปรชั ญาแบบบรู ณาการ รับเด็กตั้งแต่
อายุ 3 เดือน -3 ปี โดยมีกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการตามวัยเพื่อนำสู่พัฒนาการพึงประสงค์ของเด็กไทย 4.0
และเพ่อื เป็นแหล่งแลกเปล่ียนเรยี นรู้ ฝึกอบรม ศกึ ษาดูงานเกย่ี วกบั เกย่ี วกบั การดูแลเดก็ 0-3 ปี ส่งเสริมการล้ี
ยงลกู ดว้ ยนมแม่ การรบั ประทานผักผลไมต้ ามวัยและกจิ กรรมเรียนรู้แบบบรู ณาการ ขยายผลสทู่ ้องถิ่น และ
จัดทำหลักสตู รในการเกิดสถานพฒั นาเด็กเล็กคุณภาพของจังหวัดมหาสารคาม วนั เวลา ทีเ่ ปดิ ให้บริการ ใน
เวลาราชการ 08.00- 17.00 น. หยดุ เสาร์ – อาทติ ย์ และวันหยดุ นักขัตฤกษ์

การเปิดดำเนินงาน/ขออนญุ าตจดั ตงั้
1. ขออนมุ ัตจิ ากสภาท้องถ่ิน เพ่ือขอความเห็นชอบในการจัดตงั้ ศูนย์
2. จัดทำประกาศจดั ตั้งศนู ย์
3. ทำแบบรายงานการดำเนินงาน
4. จดั ทำแผนทตี่ ้ังศนู ย์
5. สำเนาหนงั สือแสดงกรรมสิทธ์ใิ นท่ดี นิ ทจ่ี ะต้งั ศูนย์
6. รวบรวมเอกสารพร้อมรบั รองสำเนา รายงานกระทรวงมหาดไทยผา่ นจังหวัดและสง่ ให้

กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน 1 ชุด
จดุ ประสงค์

1.เพือ่ ส่งเสรมิ เครือข่ายการพฒั นาเดก็ ปฐมวัย
2.เพ่อื สังเกตและนิเทศศนู ย์พัฒนาเดก็ เล็ก
3. เพอื่ สงั เกตและนิเทศห้องเรียน
หน่วยงานและกระทรวงทร่ี ับผดิ ชอบ กระทรวงมหาดไทย
การจดั ระบบงานบริหาร
ระบบการบรหิ ารของศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ ประกอบดว้ ย คณะทป่ี รกึ ษา
คณะกรรมการศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เล็กฯ คณะกรรมการบรหิ ารศูนย์พัฒนาเด็กเลก็ ฯ โดยมกี ารบริหารงาน
บคุ คลตาม
โครงสร้างการบรหิ ารท่ีศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เล็กกำหนด

15

แผนผังการดำเนนิ งาน

การนเิ ทศและการตดิ ตามการปฏิบตั ิงานบคุ ลากร
1 สังเกตและนิเทศหอ้ งเรยี น
2สังเกตและนิเทศการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ตามมาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พฒั นาเด็กเล็กของ

องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่
3 สังเกตและนิเทศศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (โดยต้นสังกัด) ตามมาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็ก

เล็กขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน
การทำงานร่วมกับผู้ปกครองและชมุ ชน

ดา้ นสง่ เสรมิ เครือข่ายการพัฒนาเด็กปฐมวยั ด้านการบริหารจัดการศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เล็ก ดา้ นการมี
สว่ นรว่ มและการสนับสนุนจากทุกภาคสว่ น ดา้ นวชิ าการและกิจกรรมตามหลกั สูตร ด้านบคุ ลากร
และดา้ นอาคาร สถานท่ี สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย

16

สรุป

สถานท่ดี ูแลและใหก้ ารศึกษาเดก็ อายุระหวา่ ง 3 - 5 ปีมฐี านะเทยี บเท่าสถานศกึ ษา เปน็ ศนู ย์พัฒนา
เด็กเลก็ ท่อี งคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ จดั ตั้ง เอง และศูนย์พฒั นาเด็กเลก็ ของส่วนราชการต่างๆ ที่ถ่ายโอนให้อยู่
ในความดแู ลรับผิดชอบขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถ่ิน เช่น ศนู ยอ์ บรม เด็กก่อนเกณฑ์ในวัด/มัสยดิ กรมการ
ศาสนา ศนู ย์พัฒนาเดก็ เล็ก กรมการพัฒนา ชมุ ชน และศูนย์พัฒนาเด็กเลก็ (เดก็ 3-5 ขวบ) รับถา่ ยโอนจาก
สำนกั งานคณะกรรมการการประถมศกึ ษา แห่งชาติ ฯลฯ ซ่ึงตอ่ ไปน้ี เรียกวา่ ศูนย์พฒั นาเดก็ เลก็ ขององค์กร
ปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ เด็กเป็นทรัพยากรท่ี ทรงคณุ ค่า และมีความสำคัญอยา่ งยิ่งต่อการพัฒนาประเทศชาติใน
อนาคต การพัฒนาเดก็ ใหไ้ ดร้ บั ความพรอ้ ม ทั้งดา้ นรา่ งกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสตปิ ญั ญาจึงนับเป็น
ภารกิจสำคัญท่ีหนว่ ยงานซึ่งรับผดิ ชอบจะต้อง ตระหนกั และให้ความสนใจ เพือ่ ให้การพฒั นาเด็กเป็นไปอย่างมี
คุณภาพและไดม้ าตรฐานเหมาะสมกบั วยั องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ ในฐานะหนว่ ยงานซึง่ มภี ารกจิ หน้าท่ี
รบั ผิดชอบดา้ นการพฒั นาเดก็ ตามบทบญั ญตั ิ แห่งรฐั ธรรมนญู และกฎหมายวา่ ด้วยแผนและขนั้ ตอนการ
กระจายอำนาจ ไมว่ า่ จะเปน็ องค์กรปกครองสว่ น ท้องถนิ่ ในรูปแบบใดกต็ าม ทัง้ องค์การบรหิ ารสว่ นตำบล
เทศบาล

อา้ งอิง

กระทรวงศึกษาธิการ (2561). นโยบายเด็กปฐมวยั [ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก : http://www
. moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NewsID=514488Key-news_act

(วันที่คน้ ขอ้ มูล: 15 มกราคม 2565).
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2562). พระราชบัญญัติการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2562 และทีแ่ กไ้ ข

เพม่ิ เตมิ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562 กรุงเทพฯ : กระทรวงศึกษาธิการ.

17

บทท่ี 3

ความหมายของสถาบนั

สถาบัน หมายถึง สิ่งหนึง่ ของคนในสว่ นรวม คือ สงั คม จัดตัง้ ใหม้ ขี น้ึ เพราะเหน็ ประโยชน์ว่ามคี วามต้องการ
และจำเปน็ แกว่ ถิ ชี ีวิตของตน เช่น สถาบันครอบครัว สถาบนั ศาสนา สถาบนั การศกึ ษา สถาบันการเมือง

1. สถาบนั สุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชนิ เี ดิมเป็นแผนกเด็กในโรงพยาบาลหญิง(โรงพยาบาลราช
วถิ ี) ซึง่ ขณะน้นั มเี ตยี งรบั ผู้ปว่ ยเด็กเพียง 25 เตียง และในปี พ.ศ. 2496 รฐั บาลได้อนุมตั ิเงินงบประมาณในการ
กอ่ สรา้ งอาคารแผนกเด็ก และสามารถขยายงานในการดูแลผู้ป่วยเด็กหลายสาขา รบั ผู้ปว่ ยได้ 137 เตียง และ
ให้ชื่อว่า“โรงพยาบาลเด็ก”ในการบังคับบัญชายังขึ้นกับโรงพยาบาลหญิง ฯพณฯ จอมพล ป. พิบูลสงคราม
นายกรัฐมนตรีในสมัยนั้นได้มาทำพธิ ีเปิดอาคารของโรงพยาบาลเดก็ ในวันท่ี 24 มิถุนายน พ.ศ. 2497

ในปี พ.ศ. 2516 มพี ระราชกฤษฎกี าวา่ ดว้ ยการแบ่งส่วนราชการ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
ด้วยเหตนุ ้ใี นวันท่ี 3 ธันวาคม พ.ศ. 2517 จงึ ได้ยกฐานะเปน็ กองโรงพยาบาลเด็ก กรมการแพทย์ มีอำนาจเต็ม
ในการบรหิ าร ในเวลานั้นมแี พทย์ประจำ 18 คน พยาบาล 70 คน

วนั ที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2539 ไดม้ ีประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาฉบับกฤษฎีกา เลม่ ที่ 113 ตอนที่ 45 ก.
เปลี่ยนชื่อโรงพยาบาลเด็กเป็น “สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี” เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติ
สมเดจ็ พระนางเจา้ สิรกิ ิต์ิพระบรมราชนิ นี าถปจั จบุ ันสถาบนั สุขภาพเดก็ แห่งชาตมิ หาราชินี มจี านวนเตียงผู้ป่วย
435 เตียง สามารถรับผู้ป่วยในปีละ 15,000 ราย ผู้ป่วยนอกปีละ 350,000 ราย งานผ่าตัด 5,000 ราย โดย
ใหบ้ ริการส่งเสริมสขุ ภาพการเจริญเติบโตและพฒั นาการ การป้องกนั โรคและใหก้ ารรักษาโรคโดยแพทย์เฉพาะ
ทางโรคเด็กทุกสาขาและเป็นสถานที่ใหก้ ารรกั ษาในระดับตตยิ ภูมทิ ี่สง่ ต่อมาจากท่ัวประเทศ สถาบันสุขภาพเด็ก
แห่งชาติมหาราชินีได้รับการรับรองกระบวนการคุณภาพจากสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล
เมือ่ วนั ที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2545 และผา่ นการรับรองซ้ำอีก 3 คร้งั ครง้ั ล่าสดุ เมือ 22-23 ธนั วาคม 2554 ในปี
พ.ศ. 2547 ไดม้ ีการปฏริ ปู ระบบราชการและมีการปรับโครงสร้างหน่วยงานต่างๆ ในสว่ นของกรมการแพทย์มี
การกำหนดเป็นกรมวิชาการด้านการแพทย์ฝ่ายกายและการให้การสนับสนุนด้านวชิ าการแก่หน่วยงานต่างๆ
ทั้งภายในและภายนอกกระทรวงสาธารณสุข กำหนดให้หน่วยงานภายใต้สังกัดเป็นสถาบันชั้นสูงและพัฒนา
ระบบบริการให้ถึงระดับตติยภูมหรือสูงกว่า และพัฒนาระบบศูนย์การแพทย์ต่างๆ ในระดับภูมิภาคของ
ประเทศ สถาบนั สขุ ภาพเดก็ แห่งชาติมหาราชนิ ีมกี ารจัดตัง้ ศูนยค์ วามเป็นเลศิ ดา้ นโรคเด็กคือ

1.ศูนย์ความเป็นเลิศด้านโรคหัวใจเด็ก ให้การดูแลรักษาผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจแบบครบวงจร โดยการ
ตรวจวินิจฉยั ด้วยเคร่อื งเสียงสะทอ้ นหัวใจ การสวนหวั ใจเพ่อื การวนิ ิจฉัยและรักษาในผู้ป่วยเด็กทุกอายุ
ต้งั แตท่ ารกแรกเกดิ ให้การรักษาโดยการผ่าตัดหัวใจชนิดเปิดทุกประเภท ความเปน็ เลศิ เฉพาะทางรักษา

18

ผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจมากที่สุดในประเทศและรับส่ง – ต่อ มากกว่า 1,500 ราย/ปี หรือ ร้อยละ 90 ของ
ผูป้ ่วยท้งั หมด

2.ศูนย์ความเป็นเลิศด้านไข้เลือดออก เป็นผู้นำในการทำแนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรค
ไข้เลือดออกและองค์การอนามัยโลก(โครงการ WHO Collaborative ด้านไข้เลือดออก) ได้นาไป
เผยแพรท่ ว่ั โลก ประเทศท่ไี ปให้ความช่วยเหลือและสามารถลดอัตราป่วยตาย ของผปู้ ่วยไข้เลือดออกลง
ได้อย่างมาก เช่น บังคลาเทศ ภูฏาน บราซิล กัมพูชา เคปเวอร์ด อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย มัลดีฟ
ปากสี ถาน ฟลิ ปิ ปินส์ ศรีลงั กา ซดู าน ตมิ อรเ์ ลสเต เวเนซเู อลา เวียดนาม

3.ศูนยค์ วามเปน็ เลิศด้านทารกแรกเกิด รกั ษาผูป้ ่วยทารกแรกเกิดระดบั ตตยิ ภูมแิ ละสงู กว่าทสี่ ง่ ตอ่ จาก
โรงพยาบาลท้งั ในส่วนกลางและภมู ิภาคเฉล่ียกว่า 1,200 รายตอ่ ปี และทารกแรกเกดิ ที่มคี วามพิการ
กำเนดิ น้ำหนกั นอ้ ย <1,500 กรมั มากทส่ี ุดในประเทศ สามารถช่วยเหลอื ใหพ้ น้ วิกฤติและมชี ีวิตรอด 94
% โดยผลลพั ธ์มีความพกิ ารนอ้ ยทีส่ ดุ

4.ศนู ย์ความเป็นเสิศด้านศัลยกรรมทารกแรกเกดิ ได้มีการจัดตั้งในปี พ.ศ. 2543 เพิม่ ข้ึนอีกหน่งึ ศนู ย์
เปน็ ศนู ย์กลางรับ-ส่งต่อและใหบ้ รกิ ารดา้ นศัลยกรรมแกท่ ารกแรกเกิดแหง่ แรกของประเทศโดยผา่ ตัดปี
ละ400-500 ราย
2. สถาบนั พัฒนาการเด็กราชนครนิ ทร์ ชอ่ื เดมิ ศูนย์ส่งเสรมิ พฒั นาการเดก็ ภาคเหนือ เปลย่ี นชอ่ื เป็น สถาบัน
พฒั นาการเดก็ ราชนครนิ ทร์ ตง้ั อยู่ที่ 196 หมู่ 10 ตำบล ดอนแกว้ อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ 50180

วสิ ัยทัศน(์ VISION)

เปน็ องคก์ รทมี่ คี วามเป็นเลิศดา้ นเด็กพัฒนาการลา่ ช้าในระดบั นานาชาติ ภายในปี 2565

พนั ธกจิ

1.ใหบ้ ริการรกั ษาฟ้นื ฟู ศึกษาวิจัย ถา่ ยทอดนวัตกรรมดา้ นพัฒนาการล่าช้าในนานาชาติ

2.ใหบ้ ริการรกั ษาฟ้ืนฟู ศึกษาวจิ ัย ดา้ นสุขภาพจิตเดก็ และวยั รนุ่ ระดบั ตติยภมู ขิ น้ั สูง

3.สนับสนุนการดำเนินงานส่งเสรมิ ปอ้ งกนั รกั ษา ฟนื้ ฟู สุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่น และพฒั นาการเด็ก
ในเขตสุขภาพทร่ี ับผิดชอบ

4.สรา้ งความตระหนกั และเขา้ ใจปัญหาสุขภาพจิตเดก็ และวยั รุน่ และเด็กพฒั นาการล่าชา้ ให้แก่
ประชาชน

ปรชั ญา
“เราจะชว่ ยเหลือเดก็ ครอบครัวและชุมชนใหพ้ ่ึงพาตนเองได้”

19

ค่านยิ ม
รูร้ บั ผดิ ชอบ ส่งมอบนวัตกรรม นำเด็กเปน็ ศนู ย์กลาง สร้างงานคณุ ภาพ
R- Responsibility ร้รู ับผิดชอบ
I-Innovation สง่ มอบนวัตกรรม
C-Child center นำเด็กเป็นศนู ยก์ ลาง

D-Development สร้างงานคุณภาพ

เป้าประสงค์

- เดก็ และวยั รุ่นมีสุขภาพจิตและพัฒนาการดี

- องค์กรมีความก้าวหน้า (การบรหิ ารจัดการด้านพัฒนาการเด็ก)

- บุคลากรมีความสขุ

ประเดน็ ยุทธศาสตร์หน่วยงาน

- ยุทธศาสตร์ท่ี 1 สนบั สนนุ การดำเนนิ งานสง่ เสรมิ ป้องกนั รกั ษาฟ้นื ฟสู ขุ ภาพจติ เด็กและวยั ร่นุ และ
พฒั นาการเดก็ ในเขตสขุ ภาพที่รบั ผิดชอบ(เขตสุขภาพที่ 1 และ 2)

- ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 พฒั นาคุณภาพระบบบริการและวชิ าการสุขภาพจติ เด็กและวัยรุ่น และพัฒนาการ
ลา่ ช้า

- ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 สรา้ งความตระหนกั และความเขา้ ใจต่อปัญหาสขุ ภาพจติ

- ยทุ ธศาสตร์ที่ 4 พฒั นาระบบบรหิ ารจดั การใหม้ ีประสทิ ธภิ าพและมธี รรมาภิบาล

3. สถาบันแหง่ ชาติเพ่ือการพัฒนาเด็กและครอบครวั มหาวิทยาลยั มหิดล
จัดตงั้ สถาบันแหง่ ชาติเพ่อื การพัฒนาเด็กและครอบครวั เมอื่ วันท่ี 15 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2538 และได้

ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เม่ือวันท่ี 2 ตุลาคม พ.ศ. 2540 โดยมี รองศาสตราจารย์ แพทยห์ ญงิ นิตยา คช
ภักดี เปน็ ผ้อู ำนวยการผกู้ อ่ ตงั้ ซงึ่ มสี ำนักงาน ชั่วคราวตง้ั อยูท่ ่สี ำนักงาน โครงการวิจัย ชีววิทยาระบบประสาท
และพฤติกรรม และอาคารสถาบันก่อสร้าง เสร็จเมื่อ เดือนมีนาคม พ.ศ. 2542 ตั้งอยู่ในมหาวิทยาลัยมหิดล
ศาลายา

20

21

22

23

24

4. สถาบนั สขุ ภาพจิตเด็กและวยั รุน่ ราชนครินทร์

การก่อตั้งคลินิกสุขวิทยาจิต - การพัฒนาเป็นศูนย์สุขวิทยาจิต และสถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุน่
ราชนครนิ ทร์ สถาบนั สุขภาพจิตเดก็ และวยั ร่นุ ราชนครินทร์ 75, 1 ถนน พระรามท่ี 6 แขวง ทุ่งพญาไท เขตราช
เทวี กรุงเทพมหานคร 10400เกิดขึ้นจากการร่วมมือของกระทรวง สาธารณสุข และองค์การอนามัยโลก โดย
ศาสตราจารย์นายแพทย์ฝน แสงสิงแก้ว ในฐานะ ผู้ริเริ่มงานสุขภาพจิตในประเทศไทยเริ่มก่อตั้งคลินิก
สุขภาพจิต เมื่อพ.ศ. 2496 แล้วยกระดับเป็นศูนย์สุขวิทยาจิต และย้ายมาที่ตั้งปัจจุบัน เลขที่ 81/15 ถนน
พระรามท่ี 6 ตรงข้าม รพ.รามาธบิ ดี เมอ่ื พ.ศ. 2512 ต่อมากไ็ ด้เปลีย่ น เปน็ สถาบนั สุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่น
ราชนครินทร์ จะเห็นพฒั นาการของสถาบนั ฯ ซ่ึงเติบโตขนึ้ ทั้งสถานที่ ทำงาน และจำวนเจ้าหน้าท่ี ซ่ึงเพิ่มข้ึน
จากในระยะแรกมีเพียงทีมจิตเวชเพียง 3 คน ต่อมา ก็มีสหวิชาชีพอื่นที่เข้ามาร่วมปฏิบัติงาน เช่น พยาบาล
เภสัชกร เจ้าหน้าที่ธุรการและเจ้าหน้าที่อืน่ ๆ ที่ช่วยให้การปฏิบัติงานของสถาบันฯ เป็นไปด้วยความเขม้ แขง็
ราบรื่น ทั้งนี้เริ่มมาจากนโยบาย การสนับสนุน ของ ศจ.นพ.ฝน แสงสิงแก้ว บิดาแห่งสุขภาพ และ ศจ.พญ.
คุณหญิงสุภา มาลากุล ณ อยุธยา ผู้อำนวยการคนแรกของคลินกิ สุขวิทยาจิต ซึ่งมคี วามมุ่งมัน่ ในการที่จะสบื
ทอดเจตนารมณ์ ของ ศจ.นพ.ฝน ทีจ่ ะให้สถาบันฯเปน็ ศูนย์กลางของงานสขุ ภาพจติ ในแง่ของการปฏิบตั ิงาน ซ่ึง
เป็นทั้งการป้องกันก่อนเกิด ปัญหา และการแก้ไขปัญหาเสียแต่ในระยะเริ่มแรก สถาบันฯจึงมีบริการแก้ไข
ปัญหาเด็ก และวัยรุ่นที่มีปัญหาพฤติกรรม และปัญหาทางอารมณ์ โดยให้บริการ ในแบบผู้ป่วยนอก และ
โรงพยาบาลกลางวันในระยะแรก

สถาบนั ฯ ยังเป็นทแ่ี ห่งแรกซึง่ ใหก้ ารสอนฝกึ อบรมดา้ นกุมารจิตเวชศาสตร์ (Child Psychically ) และ
เปน็ หนว่ ยงานทมี่ วี ชิ าชีพใหมเ่ กดิ ขนึ้ ซงึ่ ไม่เคยมีมาก่อนในประเทศไทย ได้แก่ วิชาชพี สังคม สงเคราะหท์ างจิต
เวช และจิตวทิ ยาคลนิ ิก ซ่งึ ในปัจจบุ ันหนว่ ยงานจติ เวชและ สขุ ภาพจติ ทุกแหง่ จะมที ง้ั สองวิชาชีพนี้ปฏบิ ัตงิ าน
อยทู่ ว่ั ประเทศ

5. สถาบนั พฒั นาการเด็กภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ กรมสุขภาพจติ กระทรวงสาธารณสุข

เป็นสถาบันเฉพาะทางจิตเวชเดก็ และวัยรุ่น กรมสขุ ภาพจิต กอ่ ตง้ั ขนึ้ โดยดำริของนายแพทย์ปราชญ์
บุณยวงศ์วิโรจน์ ซึ่งขณะนั้นดำรงตำแหน่งอธิบดี กรมสุขภาพจิต มีนโยบายที่จะขยายการให้บริการด้านการ
ส่งเสริมพฒั นาการเด็กให้ครอบคลุมทั่วประเทศ ทั้งดา้ นการส่งเสริม ป้องกัน รกั ษาฟ้ืนฟู และบูรณาการงานของ
ทกุ ภาคส่วนท่เี กี่ยวขอ้ งกบั เด็กและเยาวชน รวมทงั้ สรา้ งองค์ความรู้ใหม่ แต่เน่อื งจากในปี 2547 กรมสุขภาพจิต
ไม่ได้ขอตั้งงบไว้ในส่วนน้ี จึงได้ทาบทาม ดร.ประภา ภักดิ์โพธ์ิ ผู้ดำเนินการโรงเรียนเทคโนโลยีภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือและมหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งเป็นผู้ที่มีเมตตาและเข้าใจถึงปัญหา
พัฒนาการของเด็กดังกล่าว ซึ่ง ดร.ประภา ภักดิ์โพธิ์ ได้มีจิตศรัทธาและบริจาคทุนในการก่อสร้างอาคาร
สถานพยาบาลผู้ปว่ ยนอก เป็นอาคาร 3 ชั้น โดยได้แสดงเจตจำนงน้อมเกล้าถวายแด่สมเด็จพระเจ้าพีน่ างเธอ

25
เจ้าฟ้ากลั ยาณวิ ัฒนา กรมหลวงนราธิวาชราชนครนิ ทร์ ในวโรกาสท่ีพระองคท์ า่ นมีพระชนมายุ 84 พรรษา เม่ือ
วันท่ี 6 พฤษภาคม 2546 เพ่อื ทรงประทานใหใ้ ชเ้ ป็นหน่วยงานสำหรบั ให้บริการแก่ประชาชนสบื ไป โดยสมเด็จ
พระเจ้าพ่ีนางเธอเจ้าฟ้ากลั ยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธวิ าชราชนครินทร์ ได้เสด็จพระราชดำเนินวางศิลาฤกษ์
เมอ่ื วันท่ี 15 มกราคม 2547 การกอ่ สร้างแลว้ เสรจ็ เมอื่ เดือนตลุ าคม 2551 รวมงบประมาณทงั้ สนิ้ 41,500,000
บาท (ส่สี ิบเอด็ ลา้ นห้าแสนบาทถว้ น) รวมเวลากอ่ สร้าง 4 ปี 9 เดือน

ปัจจุบันสถาบันพัฒนาการเดก็ ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ได้เปลย่ี นช่ือจากเดมิ เป็น“สถาบนั สุขภาพจิต
เด็กและวัยรุ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ” ตั้งแต่วันท่ี 16 กันยายน 2558 เป็นต้นมา และเปิดให้บริการแบบ
ผู้ป่วยนอกอายุต่ำกว่า 18 ปี ในเขตสุขภาพท่ี 7 ครอบคลุมจังหวัดขอนแก่น ร้อยเอ็ด กาฬสินธ์ุ และ
มหาสารคาม โดยใหบ้ ริการเฉลีย่ 5,000 ราย/ปี และเปดิ ใหบ้ รกิ ารแบบผูป้ ว่ ยใน ต้งั แต่วนั ที่ 1 กรกฎาคม 2558
จำนวนทง้ั หมด 12 เตยี ง

6. สถาบันราชานกุ ลู เดก็ พิเศษ (Special Child)

สถาบันราชานุกูล เดิมมีชื่อว่า โรงพยาบาลปัญญาอ่อน เป็นโรงพยาบาลพิเศษเฉพาะทีต่ ั้งขึ้น เพ่ือ
ให้บริการด้านบำบัดรักษาแก่ผู้ที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา แห่งแรกในประเทศไทย4. พัฒนาคุณภาพ
ระบบบริหารจดั การให้มปี ระสิทธิภาพและมธี รรมาภิบาลพัฒนาระบบเตรียมความพร้อมสู่การทำงานสำหรับผู้
บกพร่องทางพฒั นาการและสติปัญญาเมอ่ื วันท่ี 30 มนี าคม พ.ศ. 2515สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าหญิงสิริน
ธรฯเสด็จแทนพระองค์ ในการเปิดอาคารศูนยว์ ิจยั ปัญญาออ่ นและอาคารพลานามยั อาคารศนู ยว์ ิจัยปัญญาอ่อน
เป็นอาคารสำหรบั ค้นคว้าวิจัยเพือ่ หาสาเหตุ และป้องกันการเกดิ ภาวะปัญญาออ่ นเกิดจากการเห็นความสำคัญ
ของการเปลี่ยนแปลงทางการแพทย์โดยเฉพาะด้านความผิดปกติของมนุษย์ ซึ่งขณะนั้นกำลังให้ความสนใจ

26

และต่ืนตวั กันมากในเรอ่ื งของโครโมโซม กรมการแพทย์เองก็ใหก้ ารสนบั สนนุ การคน้ คว้าวิจัยต่างๆ ในเด็กไทย
ท่มี ีภาวะบกพร่องทางสติปญั ญา* ในขณะน้นั (เดิมเรียก *ภาวะปัญญาออ่ น)

วิสัยทัศน์ (vision) :
สถาบนั ราชานกุ ูลเปน็ องคก์ รหลกั ด้านพัฒนาสตปิ ัญญาในระดบั เอเชียแปซฟิ กิ

พันธกิจ (mission) :

1. พฒั นาเป็นศูนยก์ ลางความเช่ียวชาญดา้ นภาวะบกพร่องทางสติปญั ญาในระดับเอเชยี
แปซิฟิก

2. บรกิ ารด้านสขุ ภาพจิตและจิตเวชเด็กและวัยร่นุ แบบองคร์ วมในระดบั ตติยภูมิขั้นสงู
3. พัฒนาสถานบรกิ ารสุขภาพจิต ในการสง่ เสรมิ ป้องกนั ปัญหาสขุ ภาพจิต กลุ่มเด็กปฐมวัย วัยเรียน
วยั ร่นุ ผูพ้ กิ ารทางสติปญั ญาการเรียนรู้ และออทสิ ตกิ
ประเด็นยุทธศาสตร์ (strategic issue :
1. พัฒนาศกั ยภาพสถาบนั ราชานกุ ูล ใหม้ ีความเชี่ยวชาญดา้ นภาวะบกพร่องทางสตปิ ัญญาเปน็ ที่
ยอมรับในระดับเอเชียนแปซิฟกิ
2. พฒั นาเปน็ ศนู ย์ความเช่ียวชาญระดับสูงด้านบริการสุขภาพจิตและจิตเวชเด็กและวัยรนุ่
3. พัฒนาความเข้มแข็งสถานบริการสุขภาพจิต ในการสง่ เสรมิ ปอ้ งกนั ปัญหาสขุ ภาพจิต กลมุ่ เดก็
ปฐมวยั วัยเรยี น วัยรนุ่ ผ้พู กิ ารทางสตปิ ัญญาการเรียนรู้ และออทิสตกิ
สถาบนั ของเด็กพิเศษ

1. สถานศึกษา โรงเรียนนครราชสีมาปัญญานุกูล จังหวัดนครราชสีมา ตั้งอยู่เลขที่ 70 ถนนมิตรภาพ
ซอยมติ รภาพ 19 ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จงั หวดั นครราชสมี า เปน็ โรงเรยี นนครราชสมี าปญั ญานุกลู จงั หวดั
นครราชสีมา ปัจจุบันจัดการเรียนการสอนสำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา และนักเรียนที่มี
ความบกพร่องทางการไดย้ ิน ตัง้ แต่ระดบั ช้นั ปฐมวยั ถึงชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6

2. สถาบันสำหรับคนพิการทางร่างกายและการเคลื่อนไหวตั้งโรงเรียนสำหรับคนพิการทางร่างกาย
และการเคลื่อนไหวของจังหวัดนครศรธี รรมราชเพื่อให้สถานศึกษาที่มีการบริหารและการจัดการศึกษาให้แก่
เด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกายหรือการเคลื่อนไหวหรือสุขภาพ ในสังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน

3. สถาบนั พฒั นาศักยภาพสมอง และเสรมิ สรา้ งทักษะการเรียนรู้ในเดก็ ปฐมวยั Brain Kiddy นนทบุรี
รับเดก็ อายุ 1.10 - 9 ปีสถาบนั เสรมิ พฒั นาการ ฝึกสมอง เตรียมความพร้อม เตรยี มอนบุ าล สถาบันเบรนคิดด้ี
สอนพิเศษ เสริมพัฒนาการเด็กตามช่วงวัย โครงสร้างหลักสูตรประยุกต์ตามหลักการประสาทวิทยาศาสตร์

27

(Neuroscience) ผสมผสาน การเรียนรู้สมองเป็นฐาน Brain-based learning: BBL เพื่อสร้างพื้นฐานทักษะ
การคิด ความฉลาดอย่างแทจ้ ริง การสอนผสมผสานกับหลักการสอนแบบมอนเตสซอร่ี (Montessori) โดยมงุ่ ท่ี
จะพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ใหม้ ีพัฒนาการท่ีสมบรู ณต์ ามวยั ในทกุ ๆด้าน และมีการพัฒนาศกั ยภาพสมองอย่างเต็มท่ี

นอกจากนั้นวิธีการสอน ยังเน้นการพัฒนาไอคิว ทักษะEFs และอีคิว โดยจะมีการปรับพฤติกรรม
(Behavior Modification) เพ่อื ใหเ้ กิดการเรียนรูอ้ ย่างเตม็ ศักยภาพ โดยฝึกสมาธิจดจ่อ รูจ้ กั การรอคอย ปฏิบัติ
ตามคำสั่ง ความมั่นใจ การปรับตัว และทักษะสังคม ควบคู่กันไปด้วยเพื่อให้นักเรียนเป็นเด็กเก่ง เด็กดี ใน
อนาคต

รูปแบบการสอน จะสอนผ่านของเล่น (Playgroup) กิจกรรมเด็ก และแบบฝึกหัดอนุบาล
มกี ารจดั การเรยี นการสอนเชงิ บูรณาการ เนน้ การลงมอื ทำ และเรยี นรูไ้ ด้จริง มแี ผนการเรียนเฉพาะบคุ คล เพื่อ
เติมเต็มจุดเดน่ จดุ ดอ้ ยของเด็กแต่ละคน ในแตล่ ะคาบเรยี นจะเรียนเป็นกลมุ่ เลก็ ๆ 2-6 คนตอ่ ครู 2 คน ดแู ลเด็ก
อย่างทัว่ ถึงนอกจากนั้นทีน่ ีย่ ังมีจุดเด่นอีกอย่างหนึ่งคือ สอนโดย นักจิตวิทยา ผู้เชี่ยวชาญดา้ นสมอง เด็ก และ
ครูปฐมวยั

4. สถาบันโรงเรียนโสตศึกษาเทพรตั นจ์ ังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์กระทรวงศึกษาธกิ ารไดม้ ีประกาศจัดต้ังโรงเรียน
การศึกษาพิเศษประเภทประจำ เม่ือวันที่ 23 เมษายน 2536 มีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยเหลือเด็กพิการให้มี
โอกาสเล่าเรียนอย่างทั่วถึงได้รับพระมหากรุณาโปรดเกล้าฯ จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช
กุมารี พระราชทานนามชื่อโรงเรียนใหม่เป็น “โรงเรียนโสตศึกษาเทพรัตน์” สังกัดกองการศึกษา
พิเศษ โรงเรียนโสตศึกษาเทพรัตน์ เปิดรับสอนนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยินโดยมีการปรับปรุง
เนื้อหาสาระให้เหมาะสมกับศักยภาพของนักเรียน และโรงเรียนมีความตระหนักในเรื่องนี้อย่างยิ่ง สำหรับ
ระดับชั้นอนุบาลจัดการเรียนการสอนเพื่อเตรียมความพร้อมฝึกการช่วยเหลือตนเอง การปรับตัวในการอยู่
ร่วมกบั ผู้อื่น

5 สถาบันสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชินูปถัมภ์ จังหวัดเชียงใหม่ตั้งขึ้น โดยคณะกรรมการมูลนิธิ
ช่วยและให้การศึกษาคนตาบอดภาคเหนือแห่งประเทศไทยจัดการศึกษาสำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่อง
ทางการเห็น(ตาบอด) ต้งั แต่ช้ันอนุบาลถึงชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 6ท่ีหลากหลายรูปแบบ ในลกั ษณะอยปู่ ระจำ (กิน
นอนในโรงเรียน) มีเขตพื้นที่บริการ 17 จังหวัดภาคเหนือฯการให้โอกาสทางการศึกษาแก่นักเรียนที่มีความ
บกพร่องทางการเห็น(ตาบอด)เป็นการให้แสงสว่างบนทางชีวิตใหม่ให้พวกเขามีความรู้ ความสามารถและมี
คณุ ภาพชวี ิตทด่ี ี และสามารถดำรงชีวติ อยู่รว่ มในสังคมได้อยา่ งมคี วามสขุ ตามอตั ภาพ เพราะถึงแมค้ นเหล่าน้จี ะ
อยู่ในโลกของความมืดมิดแต่พวกเขายังมีสมองสองมือที่จะคิดจะทำสิ่งดีๆที่มีประโยชน์ต่อตนเอง สังคมและ
ชุมชน ขอเพียงโอกาสและความเข้าใจของท่าน ช่วยมีจิตเมตตาแบ่งปันน้ำใจ บริจาคเงิน สิ่งของ สื่ออุปกรณ์
และเทคโนโลยี ตลอดถงึ ปจั จัยอืน่ สำหรบั การพัฒนาคุณภาพชีวิตและการศกึ ษาของนกั เรยี นตาบอด

28

การเปิดดำเนินงาน/ขออนุญาตจัดตัง้
1. โครงการจัดต้งั โรงเรียน
2. ย่นื หนงั สอื ขออนุญาตใช้แบบแปลน
1. คำขอรับใบอนุญาตใหจ้ ัดตง้ั โรงเรียน (สช.1) พร้อมเอกสารระบทุ า้ ยคำขอ
2. คำขอรับใบอนญุ าตให้เปน็ ผจู้ ดั การ (สช.4) พร้อมเอกสารระบุทา้ ยคำขอ
3. คำขอรบั ใบอนุญาตใหเ้ ปน็ ครูใหญ่ (สช.7) พรอ้ มเอกสารระบุท้ายคำขอ
4. คำร้อง ร.11 ขอเก็บค่าธรรมเนียมการเรียน และค่าธรรมเนียมอื่น ๆ พร้อมเอกสาร

ประกอบ
5. ระเบียบการโรงเรยี น
6. แผนผังบรเิ วณโรงเรยี น
7. แผนผงั อาคารเรยี นและห้องตา่ ง ๆ
8. รายการตรวจสถานทแ่ี ละสุขาภิบาล
9. ใบอนญุ าตใหใ้ ชแ้ บบแปลน

หนว่ ยงานและกระทรวงทร่ี ับผดิ ชอบ สำนกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา
การจดั ระบบงานบรหิ า

29

จุดประสงค์
1.เพื่อนส่งเสรมิ เครือข่ายการพฒั นาเด็กปฐมวัย ดา้ นการบรหิ ารจัดการสถาบนั พฒั นาเด็กเล็ก
2.เพื่อบนั ทกึ การนิเทศเชงิ ปรมิ าณและคณุ ภาพ
3.เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาร่วมกับศึกษานิเทศก์ที่ รับรับผิดชอบเครือข่ายการนิเทศและการ

ติดตามการปฏิบัติงานบคุ ลากรเป็นการนิเทศโดยคณะผูบ้ รหิ ารโรงเรียนในเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ร่วมกบั ศึกษานเิ ทศก์ที่รับรบั ผิดชอบเครอื ข่าย มีข้นั ตอนดงั น้ี

1. คณะผู้นิเทศประชมุ วางแผน กำหนดปฏิทนิ ออกนเิ ทศ กำหนดโรงเรียน แบง่ ชั้นเรียน
ทจี่ ะเข้าสงั เกต กำหนดการนเิ ทศอย่างน้อยภาคเรยี นละ 1 คร้งั

2. เตรยี มเคร่ืองมือนิเทศ เชน่ แบบบนั ทกึ การติดตามงานนโยบาย แบบบนั ทึกการสงั เกตช้นั เรียน
แบบวดั การอ่านออกเขยี นได้ การคดิ คำนวณ

3. ออกนิเทศตามกำหนด โดย ภาคเชา้ 1 โรงเรยี น ภาคบา่ ย 1 โรงเรียน สังเกตการจดั การ
เรียนการสอนของครูทุกห้อง แบ่งเข้าคนละ 1 ห้องอย่างน้อย ใช้เวลาการสังเกต 1 ชั่วโมงเต็ม ( เช่น 9.00-
10.00) ตามกลุ่มสาระการเรียนรูท้ ี่คุณครูสอน ณ วันนั้นและชั่วโมงนั้น หลังจากครบ 1 ชั่วโมง ผู้นิเทศทุกคน
และครผู รู้ บั การนเิ ทศ มานั่งประชมุ สะทอ้ นผลรว่ มกัน จนครบทุกคน ลงสมดุ นิเทศของโรงเรยี นพรอ้ มสำเนานำ
กลบั มาด้วย

4. คณะนเิ ทศ สรปุ รายการการนเิ ทศของโรงเรียนทกุ โรงเรียนในเครือข่ายตามแบบบนั ทึกการนิเทศท้ัง
เชิงปริมาณและคุณภาพ พร้อมเขียนรายงานการเดินทาง ส่งกลุ่มงานนิเทศฯ สพป. มุกดาหาร โดย
ศึกษานเิ ทศก์หรือเลขานุการเครอื ข่าย เพอ่ื รวบรวมเสนอผ้บู ังคบั บัญชาตามลำดบั
5. นำผลการนิเทศไปวางแผนรว่ มกับเครอื ขา่ ยในการพฒั นาและออกนเิ ทศในคร้งั ต่อไป

การทำงานรว่ มกับผูป้ กครองและชมุ ชน
ดา้ นส่งเสริมเครือข่ายการพัฒนาเดก็ ปฐมวัย ดา้ นการบริหารจัดการสถาบันพฒั นาเดก็ เล็ก ดา้ นการมี

ส่วนร่วมและการสนับสนนุ จากทุกภาคส่วน ด้านวชิ าการและกจิ กรรมตามหลักสูตร ด้านบุคลากร
และด้านอาคาร สถานท่ี ส่งิ แวดล้อมและความปลอดภยั

30

สรปุ

สถาบนั คือรูปแบบของการบรหิ ารจดั การในเรือ่ งใด ๆ ทีถ่ กู จดั ตั้งขนึ้ ในลักษณะท่ีมีความเป็นทางการ
สถาบันทางสงั คมสามารถแบง่ แยกหยาบ ๆ ไดเ้ ป็น 4 ลักษณะ คอื เป็นสถาบันท่ีเกี่ยวกับอำนาจทางการเมือง
(political power institution) คอื สถาบันทางการเมอื ง ไดแ้ ก่ รัฐบาล และพรรคการเมืองเป็นสถาบนั ทก่ี าร
ผลติ และการจัดสรรสนิ ค้าและบรกิ ารทัง้ ในระดบั ปัจเจกบุคคล และระดับสาธารณะ (economic institution)
คอื สถาบนั ทางเศรษฐกิจ ได้แก่ องค์กรต่าง ๆ การทงั้ ของภาครัฐ และเอกชนเป็นสถาบนั ในทางสังคม-
วฒั นธรรม (socio-cultural institution) ทค่ี อยจัดระบบระเบียบในทางความเชอื่ , ค่านิยม, ความต้องการ
ผลประโยชน์ และการแสดงออกในทางสงั คม ได้แก่ องคก์ รในทางศาสนา, กล่มุ ผลประโยชน์, สมาคมต่าง ๆ ที่
ทำงานในภาคสังคมและวัฒนธรรมเปน็ สถาบันทางเครือญาติ (kinship institution) ไดแ้ ก่ ครอบครัว, วงศา
คณาญาติ รวมถงึ สมาคมเครอื ญาติ

อ้างองิ

กระทรวงศึกษาธิการ. (2562). พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2562 และท่แี ก้ไข เพิม่ เตมิ
(ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562 กรงุ เทพฯ : กระทรวงศกึ ษาธิการ.

กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2562) คู่มอื หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2562 (สาหรบั เด็ก อายุ
3-5 ป)ี . กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์คุรสุ ภาลาดพรา้ ว.

กรมกิจการเด็กและเยาวชน. บา้ นพกั เด็กและครอบครวั . [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก : www.dcy.go.th
(วนั ที่คน้ ข้อมลู : 24 ธันวาคม 2564).

กรมกจิ การเด็กและเยาวชน บ้านพกั เดก็ และครอบครวั 77 จงั หวดั . (2563). บา้ นพักเดก็ และ
ครอบครัว. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก : https://www.dcy.go.th/webnew/main/
(วนั ท่คี ้นขอ้ มลู : 24 ธนั วาคม 2564).

กองคมุ้ ครองเด็กและเยาชน กลุ่มประสานบา้ นพักเดก็ และครอบครัว. (2562). บา้ นพักเดก็ และ
ครอบครัว. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.childreninstreetthailand.com-
กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ย์ (วันท่คี ้นขอ้ มลู : 24 ธันวาคม 2564).

31

บทท่ี 4
ความหมายของบ้าน
บ้านพกั เดก็ และครอบครวั
การจดั บริการของบ้านพักเดก็ และครอบครวั
ความเปน็ มา
บา้ นพักเดก็ และครอบครัว ทำหนา้ ทเ่ี ปน็ สถานแรกรบั ตามพระราชบัญญตั ิคุม้ ครองเด็ก พ.ศ. 2546โดย
มีหน้าทใี่ หท้ พ่ี ักพิงชว่ั คราวสำหรับกลุ่มเป้าหมายท่ีประสบปญั หา ใหก้ ารช่วยเหลือคุ้มครองสวัสดิภาพและ จัด
สวัสดิการสังคมใหก้ ับทุกกลุม่ เป้าหมาย พัฒนากระบวนการคุ้มครอง เยียวยา ฟืน้ ฟกู ล่มุ เปา้ หมาย เป็นศูนย์รับ
แจ้งเรื่องราวขา่ วสาร และใหค้ ำปรกึ ษาแนะนำตลอด 24 ชวั่ โมง
หน้าที่
1.ให้สถานท่ีพกั พิงชัว่ คราวสำหรับกลมุ่ เปา้ หมายทีป่ ระสบปญั หา
2.ให้การช่วยเหลอื คุ้มครองสวสั ดภิ าพและจดั สวัสดิการสังคมแกท่ ุกกลมุ่ เป้าหมาย
3.พัฒนากรกะบวนการคุ้มครอง เยยี วยา ฟน้ื ฟูทุกกลุ่มเปา้ หมาย
4.เป็นศนู ยร์ บั แจง้ เรอ่ื งราวข่าวสาร
5.ให้คำปรกึ ษาแนะนำตลอด 24 ช่ัวโมง
กลุม่ เปา้ หมาย
- เด็ก อายแุ รกเกดิ - ต่ำกวา่ 18 ปี
- เยาวชน อายุ 18 - 25 ปี
- ครอบครวั
(ในกรณีเป็นเด็กแรกเกิด - อายุ 2 ปี และเด็กชาย อายุ 13 ปีขึ้นไป หรือมีน้ำหนัก 45 กิโลกรัม หรือมีส่วนสงู
150เซนติเมตร พิจารณาสง่ เขา้ สถานสงเคราะห์โดยเรง่ ด่วน)
การจดั แบ่งกลุ่มเปา้ หมายตามประเภทของปญั หา
1. เด็กทพี่ ึงได้รบั การสงเคราะห์ตาม พ.ร.บ. คุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 ไดแ้ ก่
1.1 เดก็ เร่ร่อน หรือเดก็ กำพร้า
1.2 เดก็ ทถ่ี ูกทอดทงิ้ หรอื พลดั หลง ณ ท่ีใดที่หน่งึ
1.3 เด็กที่ผู้ปกครองไม่สามารถอุปการะเลี้ยงดูได้ด้วยเหตุใด ๆ เช่น ถูกจำคุก กักขัง พิการ
ทพุ พลภาพ เจ็บป่วยเรอ้ื รงั ยากจน เป็นผเู้ ยาว์ หยา่ ถูกทงิ้ รา้ ง เปน็ โรคจติ หรือโรคประสาท
1.4 เด็กที่ผู้ปกครองมีพฤติกรรมหรือประกอบอาชีพไม่เหมาะสมอันอาจส่งผลกระทบต่อ
พฒั นาการทางรา่ งกายหรอื จติ ใจของเดก็ ท่ีอยูใ่ นความปกครองดแู ล
1.5 เด็กทไี่ ดร้ บั การเลี้ยงดูโดยมิชอบ ถกู ใชเ้ ปน็ เครอื่ งมือในการกระทำหรอื แสวงหาประโยชน์
โดยมิชอบ ถูกทารุณกรรม หรือตกอยู่ในภาวะอื่นใดอันอาจเป็นเหตุให้เด็กมีความประพฤติเสื่อมเสียในทาง
ศลี ธรรมอนั ดหี รอื เปน็ เหตุใหเ้ กดิ อนั ตรายแก่กายหรอื จิตใจ
1.6 เดก็ พกิ าร

32

1.7 เด็กทอ่ี ยใู่ นสภาพยากลำบาก
1.8 เดก็ ท่ีอย่ใู นสภาพทีจ่ ำตอ้ งไดร้ ับการสงเคราะห์ตามทก่ี ำหนดในกฎกระทรวง
2. เดก็ ทพ่ี ึงไดร้ บั การคมุ้ ครองสวสั ดภิ าพตาม พ.ร.บ. คมุ้ ครองเดก็ พ.ศ. 2546 ได้แก่
2.1 เด็กทีถ่ ูกทารณุ กรรม
2.2 เดก็ ที่เสย่ี งต่อการกระทำผิด
2.3 เดก็ ท่อี ยูใ่ นสภาพท่ีจำตอ้ งไดร้ บั การคมุ้ ครองสวัสดิภาพตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
3. เด็ก เยาวชน และสตรที ีถ่ กู กระทำดว้ ยความรนุ แรงในครอบครัว
4. ผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ และถูกใช้เป็นเครื่องมือในการแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบด้วย
กฎหมาย
5. ผ้ปู ระสบปัญหาทางสังคมอน่ื ๆ
การจัดบรกิ ารของบ้านพักเดก็ และครอบครัว
1. บรกิ ารด้านสงั คมสงเคราะห์
2. การบำบัด ฟืน้ ฟู และปรบั สภาพจิตใจ
3. การให้คำแนะนำปรกึ ษา เรอ่ื งท่เี ก่ยี วข้อง
4. การช่วยเหลอื เงนิ สงเคราะห์เดก็ ในครอบครัวยากจน
5. การมอบส่งิ ของเครือ่ งอุปโภคบริโภค
6. การอำนวยความสะดวกด้านคดี
7. การจดั กิจกรรมนนั ทนาการ
8. ประเมินสภาพครอบครวั เตรยี มความพร้อมเพอ่ื สง่ คนื สคู่ รอบครัวและชมุ ชน
9. ประสานหนว่ ยงานท่เี กี่ยวขอ้ งเพ่อื สง่ ต่อในการสงเคราะหแ์ ละคุ้มครองสวสั ดภิ าพ
10. สง่ เสริม สนบั สนนุ บูรณาการ ร่วมกบั ทมี สหวชิ าชพี และหนว่ ยงานที่เกี่ยวขอ้ งเพอื่ ชว่ ยเหลือระยะยาว
11. ส่งเสรมิ งานด้านอาสาสมคั ร และจติ อาสาในการดำเนินกิจกรรมร่วมกับชมุ ชน
12. การบรกิ ารข้อมลู และข่าวสารภารกจิ กรมกจิ การเด็กและเยาวชน
13. การใหค้ วามรแู้ ละเผยแพร่กฎหมายเก่ยี วกับเดก็
กระบวนการสังคมสงเคราะห์
1. การศกึ ษาขอ้ เทจ็ จริง
2. ประเมนิ และวนิ จิ ฉยั ปัญหา
3. การวางแผนและแกป้ ัญหา
4. การดำเนนิ การตามแผนทีว่ างไว้
5. ติดตามและประเมนิ ผล
6. ยตุ ิการการใหค้ วามช่วยเหลือและประเมนิ ผล
กลไกการทำงาน
1. หนว่ ยงานสังกัด พม. ทีม One home

33

2. หน่วยงานภาครัฐ (มหาดไทย สาธารณสุข องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น ยตุ ิธรรม ศึกษาธกิ าร)
3. เครือข่ายองคก์ รเอกชน องค์กรกุศล มลู นธิ ิ NGOs

การเข้าถึงบรกิ าร
1. ศูนย์ชว่ ยเหลือสังคม 1300
2. ทมี one home
3. โรงพยาล สถานตี ำรวจ
4. Walk in
5. การใหบ้ ริการตลอด 24 ชวั่ โมง

34

35

บา้ นพกั ฉุกเฉนิ และการใหบ้ รกิ าร

การให้บริการนัน้ เป็นการบรกิ าร 24 ชั่วโมง มีทั้งส่วนท่ีพักอาศัย สำหรับผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือ
การให้คำปรกึ ษาโดยไม่ตอ้ งพกั อาศัย รวมไปถึงการใหบ้ รกิ ารทางโทรศพั ท์ ตลอด24 ชวั่ โมง นอกเหนอื จากสาย
ที่ตรงมาที่ 02 929 2222 แล้ว ยังได้ให้ความร่วมมือองค์กรอื่นที่ขอความร่วมมือให้คำปรึกษาแทนในบาง
ชว่ งเวลาตามแตจ่ ะได้รับคำร้องขอดว้ ยได้ เช่น ไดเ้ คยชว่ ยสมาคมเสริมสร้างครอบครวั อบอุ่น ใหค้ ำปรึกษาตาม
ช่วงเวลาทต่ี กลงกนั อยา่ งสมำ่ เสมอเป็นระยะเวลาหน่ึงด้วย
พน้ื ท่ีดำเนนิ งานนน้ั ในส่วนท่เี ปน็ ท่ีทำการและเปน็ ทีพ่ กั อาศัยรวม ได้แกอ่ าคารโสมสวลี และอาคารคณุ หญิงสิน
แลว้ ยังได้มีการจดั แบ่งพ้ืนท่เี ป็นส่วนย่อย ตามลักษณะของกลุ่มสมาชกิ พเิ ศษ ไดแ้ ก่

บ้านเดก็ เปน็ พน้ื ที่ ดูแลเดก็ ในช่วงอายุ 2 - 6 ปี ซ่ึงเปน็ บตุ รของผ้ทู ม่ี าขอรับความชว่ ยเหลือในระหวา่ ง
ที่มารดารับการฟื้นฟูร่างกายและจิตใจ หรือ พักรอคลอดถึงหลังคลอด บุตรของผู้ฝากเลี้ยง เช่นนักศึกษาฝึก
อาชีพ รวมทั้ง เด็กที่มารดาไม่สามารถเลี้ยงดูได้อยา่ งดีและยังขอให้ช่วยดแู ลลูกต่อไปก่อน ในแต่ละวัน มีเด็ก
ดแู ลโดยเฉล่ียประมาณ 20 คน

ศูนย์เลี้ยงเด็กอ่อน (อาคารจิมมี่ โรสซาลีน คาร์เตอร์ ) เป็นส่วนที่พักอาศัยของแม่ที่เพิ่งกลับจาก
โรงพยาบาลหลงั คลอด และ สว่ นทเ่ี ปน็ เนอสเซอรี ดแู ลทารกซงึ่ เปน็ บตุ รของสมาชิกที่ยังไมพ่ ร้อมที่จะนำลูกไป
เลี้ยงเองและฝากเลี้ยงชั่วคราว หรือ ทารกที่แม่ต้องการให้หาพ่อแม่อุปถัมภ์ และรอที่จะส่งต่อไปยังศูนย์ท่ี
ดำเนนิ งานเรอื่ งการหาพ่อแม่อปุ ถัมภ์

36

ศูนยก์ นษิ ฐ์นารี เปน็ พืน้ ท่ีท่จี ดั ไวส้ ำหรับให้ความช่วยเหลอื ผู้หญิงท่ีถูกข่มขนื โดยบรกิ ารอยา่ งครบวงจร ท้งั ด้าน
การแพทย์ สงั คมสงเคราะห์ และในด้านกฏหมาย / กระบวนการยุตธิ รรม โดยมีหอ้ งตรวจร่างกาย และเกบ็ วตั ถุ
พยานทางเพศ และห้องสืบพยานทสี่ ามารถดำเนนิ การและบนั ทึกการสอบปากคำตามป. วิอาญา ได้

ศูนย์การศึกษาและฝึกอาชีพ เป็นอีกส่วนงานของสมาคมส่งเสริมสถานภาพสตรีฯ ที่ทำงานเชื่อมต่อ
กบั บ้านพกั ฉุกเฉนิ โดยตรง โดยใหบ้ รกิ ารทางด้านการศกึ ษาและฝกึ อาชีพใหแ้ กส่ มาชกิ บ้านพกั ฉกุ เฉิน โดยไม่ได้
คิดค่าใช้จ่ายแต่อย่างใด เป็นพันธกิจที่มุ่งที่จะเสริมสร้างศักยภาพให้แก่สมาชิกบ้านพัก เพื่อให้มีใบเบกิ ทางใน
ชีวิต ทั้งการศึกษาและทักษะในการประกอบอาชีพ มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ พึ่งพิงตนเอง และ ยืนหยัดใน
สงั คมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

สำหรบั กรณีที่เป็นเด็กท่ีถูกแยกตวั ออกจากครอบครวั หรือ ตามแม่มาที่บา้ นพักฉุกเฉิน และจะอยู่พัก
อาศยั เป็นเวลานาน เชน่ เปน็ กรณีท่ตี ้องดำเนนิ คดี จะจัดให้เด็กได้เขา้ เรยี นในโรงเรียนที่ใกลเ้ คียงในละแวกดอน
เมือง หรือในกรณีที่ผูป้ ระสบปัญหาต้องการเรียนต่อในระบบการศึกษานอกโรงเรยี น ก็สามารถจัดให้ได้ ด้วย
ศูนย์การศกึ ษาและฝึกอาชีพเป็นหลกั ในการจัดการเรียนในระบบนอกโรงเรียน

37
ในการฝึกอาชีพนั้น ในแต่ละปี มีการจัดหลักสูตรประมาณ 20 หลักสูตร เช่น ตัดเย็บเสื้อผ้า ทำอาหาร ขนม
นวด คอมพิวเตอร์ ขับรถ จดั ดอกไม้ ปักผ้า ฯลฯ ซ่ึงการเสริมทักษะต่างๆเหลา่ น้ี เปน็ ฐานของการสร้างรายได้ท่ี
จะเออ้ื ต่อการพ่ึงตนเองได้ต่อไปเมอ่ื พ้นจากกการดแู ลของบ้านพักฉุกเฉนิ ไปแลว้

กระบวนการชว่ ยเหลอื ผหู้ ญิงและเด็กในบ้านพกั ฉุกเฉิน
การดูแลผูท้ ป่ี ระสบปัญหา เปน็ ไปอยา่ งค่อนข้างครบวงจร โดยเฉพาะกรณที ่ีเข้ามาพักที่บ้านพักฉุกเฉิน

ซึ่งรวมต้ังแต่การให้คำปรึกษา ดูแลด้านสุขภาพ ด้านกฎหมาย รวมทั้งฝึกอาชีพ ให้ ในกรณีที่สามารถเอ้ือมถงึ
ครอบครัว ก็จะได้ดำเนินการฟ้ืนฟูดูแลเพ่ือให้การคืนสูค่ รอบครัวเป็นไปด้วยดี จุดเน้นของการร่วมกันหาทาง
แก้ไขปญั หา คอื การใหผ้ ู้ประสบปญั หาเป็นศูนยก์ ลาง

ศาสตราจารย์เกียรตคิ ุณ แพทย์หญิงเพ็ญศรี พิชัยสนิธ นายกสมาคมฯ ได้ให้ภาพรวมของการดูแล
ไว้ว่า " ผู้เดือดร้อนทั้งหญิงและเด็กของบ้านพกั เรา มีสิ่งเหมือนกันคือ มีต้นทุนชีวิตต่ำ โดยเฉพาะต้นทุนจาก
ครอบครัว เกือบทั้งหมดมาจากครอบครัวแตกแยก และ/หรือครอบครัวมีความรุนแรง สองประเด็นเหตุนี้
ผลักดนั ใหเ้ กิดปัญหาตามมามากมาย และทา้ ยสดุ เขาจึงมาอย่กู บั เราที่บา้ นพกั ฉกุ เฉนิ
การพูดคยุ สอบถามถึงชีวิตทผ่ี า่ นมาของพวกเขาได้ภาพปัญหาซับซ้อนหลายเร่ือง แต่ที่คลา้ ยคลึงกนั คอื การขาด
ความรัก ความอบอุน่ ในวยั เด็กทถี่ กู ฝงั ไว้ในจิตใต้สำนึก ชวี ติ ระเหเรร่ อ่ นอยูก่ บั แม่ หรอื พ่อ หรอื ยาย ย่า ลุง ป้า
หรือแมก้ ระท่งั เพอ่ื นบา้ น ไมม่ คี วามรู้สกึ ผูกพันกบั ใครจริงจงั โอกาสทางการศกึ ษา ส่วนใหญ่ก็เพียงจบประถมปี

38

ที่ 6เมื่อเข้าสู่วยั สาวชวี ิตอิสระเพิ่มมากขึ้น ผู้ปกครองไม่มีเวลาดูแลเอาใจใส่ใกล้ชิด คบเพื่อนตามใจปรารถนา
พบคนมาแสดงความสนใจ พอใจ ชักชวนไปไหน ทำอะไร ก็คล้อยตาม เชื่อคนง่าย คล้ายขาดดุลยพินิจ ด้วย
รู้สึกดีท่ีมคี นตอ้ งการและเห็นคุณคา่ ตน

เมื่อชีวิตที่เลือกล่มสลายในเวลาไม่นาน แม้พยายามยืนขึ้นใหม่ด้วยตนเองก็เป็นไปอย่างขาดความ
เชอ่ื มั่น ด้วยการศึกษาน้อยและขาดทักษะอาชีพก็ทำให้ขาดโอกาสไดง้ านที่ม่ันคง และแมก้ ระท่ังโอกาสที่จะได้
พบคนดี เพราะสภาพแวดล้อมของชีวิตให้ทางเลือกไม่มาก ฉะนั้นการตดั สินใจผิดซ้ำซากจึงพบได้บ่อย จนเรา
อาจเกิดความสงสัยว่าผดิ แล้วไม่เรียนรู้เลยหรือ ทำไมคิดผดิ ตดั สนิ ใจผิดอย่เู ร่ือย จนชวี ติ บอบช้ำ หมดกำลังใจ
สิน้ หวังภาระกจิ หลกั เร่ืองแรกของนกั สงั คมสงเคราะห์ ผูใ้ ห้คำปรกึ ษาแนะแนวชีวติ ใหม่ให้ผูเ้ ดือดร้อน คือ การ
ปลอบขวัญ ให้กำลังใจ ให้ความเข้าใจ และพยายามแก้ไขความคิดผิดต่างๆ เพื่อให้เกิดการมองปัญหาของ
ตนเองอย่างเข้าใจ ยอมรับ และเกิดความมั่นใจว่าจะแก้ปญั หาของตนเองได้ ผลลัพธ์เหล่านี้จะไม่เกิดขึ้น ถ้าผู้
เดือดร้อนไม่ผ่านกระบวนการ หรือกิจกรรมการเสริมสรา้ งให้เกิดการเห็นคณุ ค่าของตนเอง และความเชื่อม่ัน
ตนเองใหเ้ กิดข้ึนก่อน ซึง่ แน่นอนต้องใช้เวลาท่แี ตกต่างกนั ไปสำหรบั แต่ละคนแตล่ ะเรื่อง
โดยปกตมิ นษุ ยจ์ ะเหน็ คุณค่าตนเอง เม่อื ผอู้ น่ื แสดงออกให้เรารับรไู้ ด้ว่าเรามีคุณค่า มีความสามารถ ซึ่งสะท้อน
ออกมาจากการได้รับความรกั คำช่ืนชมตา่ งๆ และการยอมรับเราอยา่ งที่เราเป็น ใครละ่ เปน็ ผแู้ สดงออกในเร่ือง
นใี้ ห้เราได้รบั รู้ แน่นอนที่สดุ พ่อ แม่ พ่นี อ้ ง ญาติมิตร ครอู าจารย์ เพอ่ื นฝงู ผู้ใกล้ชิด เป็นผู้แสดงออกให้เราได้
รับรู้ว่า เรามีคุณค่าและมีความสามารถ ฉะนั้น ต้นทุนชีวิตสำคัญของเราจึงต้องได้จากครอบครัวและโรงเรยี น
ตัง้ แตว่ ัยเดก็ หากวนั น้ีเราขาดครอบครวั และโรงเรียนท่ีดี มคี วามเขม้ แขง็ และเข้าใจเดก็ สงั คมไทยคงต้องคิดถึง
ระบบงาน และกลไกทสี่ ามารถชดเชยได้ ไว้เป็นเครอื ขา่ ยสังคมเพอื่ ลดความเสย่ี งในเร่ืองนตี้ ัง้ แต่วนั น้เี ปน็ ตน้ ไป

39
บ้านเปดิ /สถานแรกรับ

40

จากข้อมูลประชากรไทย กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ณ เดือนธันวาคม 2557 มีประชากร
ทั้งสิ้นรวม 65,124,716 คน เป็นเด็กและเยาวชน 22,034,850 คน หรือร้อยละ 33.83 ของประชากรท้ัง
ประเทศ แบ่งเป็นเด็ก (อายุต่ำกว่า 18 ปี) จำนวน 14,401,000 คน หรือร้อยละ 22.11 และเยาวชน (อายุ
ระหว่าง 18–25 ปี) จำนวน 7,633,850 คน หรือรอ้ ยละ 11.72 จากข้อมูลสถิตดิ งั กลา่ ว จะเหน็ ได้วา่ ประชากร
ที่เป็นเด็กและเยาวชนมีจำนวนมากเมื่อเทียบกับประชากรวัยอื่นๆ ซึ่งประชากรเหล่านี้ จะมีผลต่อ
ความกา้ วหนา้ ของประเทศในอนาคต หากไดร้ ับการดูแลและพฒั นาทีเ่ หมาะสม แตด่ ว้ ยสภาพสังคมไทยท่ีมีการ
เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้สถานการณ์ปัญหาเด็กและเยาวชนในปัจจุบันเปลี่ยนแปลงไปสู่ทิศทางท่ี
ซับซ้อนรุนแรงมากข้ึน ในขณะที่สถานการณ์ปญั หาเดิมท่ีเผชิญอยูก่ ็ยังคงซำ้ รอยเดิมอย่างไม่เปล่ียนแปลง ท้ัง
ปัญหาสุขภาพอนามัย การขาดโอกาสทางการศึกษา การถูกละเลยทอดทิ้งจากพ่อแม่ผู้ปกครอง การตกเป็น
เหยื่อความรุนแรงในครอบครัว และการมีชีวิตอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เสื่อมโทรมลง อยู่ในภาวะเสี่ยง หรือ
ล่อแหลมต่อการเกิดปัญหาต่างๆ ฯลฯ สถานการณ์เหล่านี้ไม่เพียงแต่ไม่ลดลง แต่กลับมีปริมาณเพิ่มมากขึ้น
พร้อมๆ กับแสดงปรากฏการณ์ ในรูปแบบใหม่ๆที่ยากแก่การจัดการมากขึ้นปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อ
สถานการณป์ ญั หาเดก็ และเยาวชน

กองสวัสดิการเด็กและครอบครัว จึงได้ถูกจัดตั้งขึ้นเพื่อให้บริการสวัสดิการสังคมและสังคม
สงเคราะห์แก่เด็กและเยาวชนอายุตั้งแต่ แรกเกิดถึง 18 ปี ที่อยู่ใน ครอบครัวยากจน ถูกทอดทิ้ง เร่ร่อน
ประพฤติไม่เหมาะสม ถูกทารุณกรรม ถูกแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ ได้รับผลกระทบจากปัญหาโรคเอดส์
รวมทั้งที่ประสบปัญหาอื่นๆ ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย สามารถดำรงชีวิตอยู่ใน
ครอบครัวและสังคมไดอ้ ย่างปกติสุข โดยมีรูปแบบในการให้บรกิ ารทั้งในสถาบันและในชุมชน โดยดำเนินงาน
ดังนี้

การให้บริการในสถาบนั
สถานแรกรับเด็ก ให้การอุปการะเด็กชาย - หญิง อายุ 6 - 18 ปี ที่เร่ร่อน ขอทาน ถูกกระทำทารุณ

กรรม มปี ญั หาพฤติกรรม และเดก็ ทตี่ กเป็นเหยื่อของการค้ามนุษย์ เปน็ ตน้ เป็นการรับอุปการะชั่วคราวไม่เกิน
3 เดือน โดยใหบ้ ริการปจั จยั 4 และรวบรวมขอ้ เท็จจรงิ เกี่ยวกบั ตัวเดก็ ครอบครัว และบุคคลแวดล้อมเด็ก เพื่อ
นำมาวิเคราะห์ ตลอดจนกำหนดวิธีการที่เหมาะสมในด้านการสงเคราะห์หรือคุ้มครองสวัสดิภาพต่อไป มี
หนว่ ยงานใหบ้ รกิ าร รวม 2 แหง่ (นนทบรุ ี และปทมุ ธานี)

41

สาขาบ้าน
บ้านพักพเิ ศษ บา้ นแรกรับ/บ้านเปดิ
บา้ นพักพิเศษ

บ้านพกั พิเศษ ทำหนา้ ทีเ่ ป็นสถานแรกรับตามพระราชบัญญัตคิ ุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 โดยมีหน้าท่ีให้
ที่พักพิงชั่วคราวสำหรบั กลุ่มเป้าหมายที่ประสบปญั หา ให้การช่วยเหลือคุ้มครองสวสั ดิภาพ และจัดสวัสดิการ
สงั คมให้กบั ทกุ กลมุ่ เป้าหมาย พัฒนากระบวนการคุ้มครอง เยยี วยา ฟ้นื ฟูกลมุ่ เปา้ หมาย
ตวั อย่าง
บ้านสทิ ธดิ า ศูนย์พัฒนาการเดก็ พกิ าร

บ้านสิทธิดา เปิดดำเนินงาน เมื่อปี พ.ศ.2554 (ค.ศ.2011) โดยเป็นศูนย์พัฒนาการด้านคุณภาพชีวิต
และเพิ่มศักยภาพให้แก่เด็กพิการที่กำพร้าและยากไร้ เป็นบ้านที่อบอุ่นสำหรับครอบครัวจิตอาสา ให้ความ
ช่วยเหลือด้านการสังคมสงเคราะห์และส่งเสริมกิจกรรมการพัฒนาการเด็กพิการให้มีคุณภาพชีวิตของตนเอง
และครอบครวั ให้ดีขึ้น บ้านสิทธดิ าฯ ส่งเสริมพัฒนา เพิ่มศักยภาพทางด้านรา่ งกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม เพ่ือ
เตรียมความพร้อมสู่โลกภายนอกกระตุ้นพัฒนาการเพื่อใหเ้ ดก็ มีพัฒนาการทางด้านรา่ งกายใกล้เคยี งปกตมิ าก
ที่สุด โดยการตุ้นกล้ามเนื้อมดั ใหญ่ และกล้ามเนื้อมัดเล็ก ประสาทสัมผัส ระหว่างสายตากับมอื การมองเห็น
การได้ยิน การพูด การสัมผัส การช่วยเหลือตนเองตามวัยสมอง และสติปัญญา เพื่อการปรับปรุงแก้ไข
พฤติกรรมและภาวะทางอารมณ์ โดยการฝึกสมาธิ บ้านสิทธิดา บำบัดฟื้นฟูร่างกายเด็กพิการทางการ
เคลื่อนไหวและเด็กพิการซ้ำซ้อน พร้อมทั้ง จัดกิจกรรมบำบัด การพัฒนาทางด้านจิตใจ อารมณ์ สังคม การ
ฝึกอบรมความรู้ในการดูแลเด็กให้ผู้ปกครอง กิจกรรมการพัฒนาสื่อการเรียนการสอน และจัดทำอุปกรณ์
ชว่ ยเหลอื เด็กพิการ กจิ กรรมอาสาสมัครเยาวชนช่วยเหลือเด็กพิการ และเย่ยี มครอบครวั เด็กพกิ ารทยี่ ากไรใ้ น

42
บา้ นอนุ่ รัก

เป็นศูนย์กระตุ้นพฒั นาการสำหรับเด็กออทิสติก เด็กสมาธิสัน้ และเด็กทีม่ ีพฒั นาการชา้ ไม่สมวัยบา้ น
อุ่นรักเน้นการวางพื้นฐานพัฒนาการแบบองค์รวมเพื่อให้เด็กได้รับการกระตุ้นพัฒนาการขั้นพื้นฐานที่จำเปน็
สำหรับการเรยี นรู้ ซึ่งเมื่อเดก็ ๆ มพี ฒั นาการท่ีพร้อมในทกุ ๆ ด้านประกอบกันพัฒนาการอืน่ ๆ ท่ีซบั ซอ้ นยงิ่ ขึ้น
จะค่อย ๆ เกิดตามมาตามธรรมชาติการเรียนการสอนของบ้านอุ่นรักเนน้ การสรา้ งแรงจูงใจในการเรียนรู้ด้วย
ตนเอง เพ่อื ชว่ ยใหเ้ ด็ก ๆ กา้ วเดินไปขา้ งหนา้ อยา่ งมคี วามสขุ และย่งั ยืน ส่งเสรมิ ให้เด็กไดใ้ ชศ้ ักยภาพของตนเอง
เด็มความสามารถสงู สดุ ตลอดจนมีความสามารถในการปรับตวั ใหเ้ ขา้ กบั สังคมและคนรอบขา้ งไดด้ ียิ่งขึน้

“บ้านอุ่นรัก” ก่อตั้งขึ้นมาด้วยเจตนารมณ์ของการมาร่วมกันทำงานที่มีส่วนช่วยสร้างสิ่งดี ๆ ให้กับ
สังคม โดยใช้องค์ความรู้ที่มีในการช่วยสร้างลูกศิษย์ซึ่งมีความสุขและสามารถอยู่ร่วมกับสังคมได้อย่างมี
ความหมาย รวมทั้งการสง่ ต่อองคค์ วามรูแ้ ละการสร้างทศั นคตทิ างบวกในการชว่ ยเหลือเด็กออทิสตกิ เดก็ สมาธิ
สั้น และเด็กทีม่ ีพัฒนาการช้า ใหแ้ กผ่ ้ทู ่มี สี ่วนเก่ียวข้อง

บ้านเปิดหรือบา้ นแรกรับ
บ้านเปิดหรือบ้านแรกรับ (Drop in center หรือ Open Home) หมายถึง บ้านพักชั่วคราวสำหรับ

เด็ก จะเข้ามาหรือออกไปเม่อื ใดก็ได้ ทางบา้ นจัดปัจจยั 4 พรอ้ มกิจกรรมสง่ เสริมพัฒนาการเดก็ มกี ระบวนการ
ส่งตอ่ เด็กๆไปตามสถานท่ีใหค้ วามช่วยเหลือเด็กตามท่ีเด็กต้องการ

สถานแรกรบั และสถานคมุ้ ครองสวัสดิภาพเดก็ รับเดก็ เรร่ ่อน ประพฤติตน ไม่เหมาะสม เด็กถูกทารุณ
กรรมหรอื ถกู แสวงหาประโยชนโ์ ดยมิชอบด้วยกฎหมาย เพอื่ เปน็ การค้มุ ครองสวัสดภิ าพ โดยใหบ้ ริการปัจจัย 4
การศกึ ษาและฝึกอบรมอาชีพ การพทิ กั ษ์ค้มุ ครองสิทธิ และการฟ้นื ฟรู ่างกาย จิตใจ ให้สามารถปรับตัวสู่สังคม
ไดต้ ามปกตติ อ่ ไป

43

ตัวอยา่ ง
สถานแรกรับเดก็ ชายปากเกร็ด

สถานแรกรบั เดก็ ชายปากเกรด็ หรอื "บ้านภมู เิ วท" เรม่ิ ดำเนินการมาตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2503 เดิมเรียกวา่
"สถานแนะนำปญั หาเดก็ " กองสงเคราะห์เด็กและบคุ คลวยั รนุ่ กรมประชาสงเคราะห์กระทรวงมหาดไทย และ
ได้เปลีย่ นชื่อหน่วยงานจากเดมิ มาเปน็ "สถานแรกรบั เดก็ ชายปากเกร็ด" เม่ือวันที่ 12 ธนั วาคม 2504 ปจั จุบนั
สงั กัด กองสง่ เสริมการพฒั นาและสวสั ดิการเด็ก เยาวชน และครอบครวั กรมกจิ การเด็กและเยาวชน กระทรวง
การพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ จนถงึ ปจั จุบัน

สถานแรกรบั เดก็ ชายปากเกร็ด (บ้านภมู ิเวท) ใหก้ ารสงเคราะห์และคมุ้ ครองเด็กชายไทยและต่างชาติ
ท่มี ีอายรุ ะหวา่ ง 6-18 ปี ที่ประสบปัญหาครอบครัวแตกแยก ถกู ทอดทง้ิ กำพร้า เร่รอ่ น ขอทาน พลัดหลง
ครอบครัวเลยี้ งดูไมเ่ หมาะสม เด็กถูกกระทำทารุณกรรมจนเกิดอันตรายแกร่ า่ งกายและจิตใจ ท้ังจากบคุ คลใน
ครอบครวั หรอื บคุ คลอ่ืน เป็นตน้
สถานแรกรับเด็กหญิงบา้ นธญั ญพร จงั หวัดปทมุ ธานี

เป็นสถานรองรับเด็กที่ให้บริการจัดสวัสดิการแก่เด็กและครอบครัว โดยให้คำแนะนำ ปรึกษา
ชว่ ยเหลอื แกก่ ลุม่ เปา้ หมายทปี่ ระสบปัญหาทางสังคม และใหก้ าร “คมุ้ ครองฟน้ื ฟู” สภาพร่างกาย จิตใจ “เลี้ยง
ดอู บอ่นุ ” ให้ได้รบั ความรกั และการดแู ลอยา่ งใกล้ชดิ “เพมิ่ พนู พฒั นา” ดา้ นการศกึ ษาและทกั ษะชวี ติ ใหแ้ ก่เด็ก
ในความคมุ้ ครอง “พาคนื สังคม” เพอื่ ให้เด็กสามารถดำรงชีวิตในสังคมไดอ้ ยา่ งปกติสุข

44

สถานแรกรับเด็กและเยาวชนหญิงบา้ นปรานี
บ้านปรานี ศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนเขต 2 จ.ราชบุรี มีหน้าที่และความรับผิดชอบในการ

ควบคุมดแู ล ใหก้ ารอภบิ าลในเรือ่ งการกนิ อยู่ หลบั นอน การบำบัด แก้ไขฟืน้ ฟูและพัฒนา เด็กและเยาวชนท่ี
อยู่ ณ บ้านปรานีฯ จะได้รับการศึกษาทั้งสายสามัญและสายวิชาชีพ ควบคู่ไปกับกิจกรรมต่างๆ เช่น การ
เสรมิ สรา้ งระเบยี บวนิ ัย จริยธรรมและศีลธรรม กิจกรรมบำบดั เป็นต้น

โดยเด็กและเยาวชนหญงิ ท้ัง 8 จงั หวัด ประกอบด้วย
- เดก็ และเยาวชนหญิงฟ้นื ฟยู าเสพติด (รอผลการตรวจพสิ จู น์หาสารเสพตดิ )
- เด็กและเยาวชนหญิงสถานแรกรบั (รอคำพิพากษา)
- เดก็ และเยาวชนหญงิ ท่เี ข้ารับการฝึกอบรม (ตามคำสงั่ ศาลพิพากษาใหฝ้ ึกอบรม)

45

สถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั
ในปัจจบุ ันประเทศไทยมีเดก็ ปฐมวัยต้ังแต่แรกเกิดถึงอายุ 6 ปี ทมี่ ีพัฒนาการไมส่ มวัยเป็น จานวนมาก

นับเป็นวกิ ฤตรา้ ยแรงต่อการพัฒนาคุณภาพทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญท่ีสุดในการสรา้ ง ประเทศให้
เจริญรุ่งเรือง ม่ันคง มง่ั ค่ัง และยง่ั ยนื ในสภาพสงั คมที่บิดามารดาและผปู้ กครองส่วนใหญ่มีความ จาเป็น ต้อง
พาเด็กปฐมวัยไปรับบริการการดูแลและพัฒนาในรูปแบบต่าง ๆ ที่มีคุณภาพแตกต่างเหลื่อมล้ากัน มาก
ระหวา่ งกล่มุ มีโอกาสกับกลุม่ ด้อยโอกาส ระหว่างการจัดการศึกษาเรง่ เรียนจนเครียด กบั แบบละเลยขาดความ
เอาใจใส่ ดงั นั้นการพฒั นาคณุ ภาพของสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ใหเ้ หมาะสมกับพัฒนาการของเดก็ จงึ เปน็ ความ
จาเปน็ เรง่ ด่วนทัง้ จากมมุ มองของการพฒั นาคณุ ภาพมนุษย์และการปฏิรูปการศึกษา

การพฒั นาการศึกนับวา่ เป็นสิง่ สําคญั สูงสดุ ต่อการพฒั นาประเทศ เพราะฉะนั้นการ จัดการศกึ ษาระดับ
ปฐมวยั ของศนู ย์พฒั นาเด็กเล็ก สังกดั องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ซง่ึ แนวคดิ ทฤษฎีเก่ียวกับการจัดการศึกษา
ปฐมวัย จึงมีความจําเป็นอย่างยิ่งต่อการพัฒนาเด็ก เล็ก เป็นการเตรียมพร้อมให้กับเด็กให้มีความพร้อมท้ัง
ทางด้านทกั ษะ ความสามารถและ อารมณ์ เพือ่ ท่ีจะรบั การศึกษาในขัน้ ระดบั สงู ต่อไป ตามความหมายของการ
จดั การศกึ ษา ปฐมวยั คือการจัดในสถานะของการอบรมเลี้ยงดู และให้การศึกษาแกเ่ ด็กทกุ ดา้ นทั้งดา้ น รา่ งกาย
อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา ตามวัยและความสามารถของแต่ละบุคคล เพื่อ เป็นพื้นฐานในการ
ดํารงชีวิต และอยู่ในสังคมไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แกไ้ ขเพิ่มเตมิ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2553 ในส่วนที่เกีย่ วข้อง
กบั การจดั การศกึ ษาปฐมวยั ปรากฏอยู่ในหมวด 1 มาตรา 6 การ จดั การศึกษาตอ้ งเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้
เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนาธรรมในการ
ดํารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกบั ผู้อ่ืนได้ อย่างมีความสุข มาตร 9 ระบบโครงสร้างและหลักการจัดการศึกษายดึ

46

หลักการความมี เอกภาพในนโยบายและความหลากหลายในการปฏบิ ตั ิ มกี ารกําหนดมาตรฐานการศึกษา และ
จดั ระบบการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาทุกระดบั และทุกประเภทการศึกษา มกี าร ส่งเสรมิ มาตรฐานการวิชาชีพ
ครแู ละบุคคลากรทางการศึกษาอย่างตอ่ เนอ่ื ง มกี ารระดม ทรัพยากรมาใชใ้ นการศึกษา และการมสี ่วนร่วมของ
บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กร องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์กรเอกชน สถานบันศาสนา และ
สถาบันอ่นื หมวด 2 มาตรา 10 การจดั การศึกษาต้องจดั ใหบ้ คุ คลมสี ิทธิและโอกาสเสมอกันในการรบั การศึกษา
ขั้น พื้นฐาน ไม่น้อยกว่าสบิ สองปที ีร่ ัฐจัดให้อย่างทัว่ ถงึ มีคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใชจ้ ่าย หมวด 3 มาตรา 18 1)
การจัดการศึกษาปฐมวัยและการศึกษาขั้นพื้นฐานให้จัดในสถานศึกษา ดังต่อไปนี้ได้แก่ ศูนย์เด็กเล็ก ศูนย์
พัฒนาเดก็ เลก็ ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนเกณฑ์ของสถาบัน ศาสนา ศูนย์ช่วยเหลือระยะแรกเริ่มของเด็กพกิ ารและ
เดก็ ซึง่ มีความต้องการพเิ ศษ หรือ สถานพฒั นาเด็กปฐมวัยที่เรียกช่ืออย่างอ่นื 2) โรงเรยี น ได้แก่ โรงเรียนของ
รัฐ โรงเรียนเอกชน และโรงเรียนทีส่ ังกัดสถาบันพุทธศาสนาหรือศาสนาอื่น 3) ศูนย์การเรียน ได้แก่ สถานท่ี
เรียนที่หน่วยงานจัดการศึกษานอกโรงเรียนและสถาบันสังคมอื่นเป็นผู้จัด หมวด 4 มาตรา 22 การจัดการ
ศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูแ้ ละพัฒนา ตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสําคัญ
ที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ ผู้เรียนตามความสามารถเต็มศักยภาพ มาตรา 26 ให้
สถานศึกษาจัดประเมินผู้เรยี นโดย พิจารณาจากพัฒนาการของผู้เรียน ความประพฤติ การสังเกตพฤติการณ์
การเรียน การรว่ ม กิจกรรมตามความเหมาะสมของแต่ละระดับและรูปแบบการศกึ ษา หมวด 6 มาตรา 47 ให้
มี ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ประกอบด้วยระบบ การประกัน
คุณภาพภายใน และระบบการประกันคุณภาพภายนอก ระบบ หลักเกณฑ์และ วิธีการประกันคุณภาพ
การศึกษาให้เป็นไปตามที่กาํ หนดในกฎกระทรวง หมวด 8 มาตรา 58 ให้มีการระดมทรัพยากรและการลงทนุ
งบประมาณ การเงิน และทรัพย์สิน ทั้งจากรัฐ องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรชุมชน เอกชน สถาน
ประกอบการอน่ื และต่างประเทศมาใช้ใน การจัดการศึกษา มาตรา 60 ใหร้ ฐั จดั สรรงบประมาณแผ่นดินให้กับ
การศกึ ษาในฐานะที่มี ความสาํ คญั สูงสุดต่อการพัฒนาท่ียงั่ ยนื ของประเทศ ใหร้ ัฐจดั สรรเงนิ อุดหนนุ การศึกษาที่
จัด โดยบุคคล ครอบครัว องค์กรชุมชน องคก์ รเอกชนองค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถาบนั สังคมอื่นๆ ตาม
ความเหมาะสมและความจําเป็น (สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาแหง่ ชาติ, 2552:5-46) ซึง่ จากมาตราต่าง
ๆ ตามพระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และ แก้ไขเพม่ิ เตมิ (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ.25


Click to View FlipBook Version