The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานกลุ่มที่ 6เรื่อง การจัดและบริหารสถาน ศูนย์ สถาบัน บ้าน กระบวนทัศน์ใหม่พัฒนาเด็ก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by faii.chuaejad, 2022-03-24 12:28:54

รายงานกลุ่มที่ 6เรื่อง การจัดและบริหารสถาน ศูนย์ สถาบัน บ้าน กระบวนทัศน์ใหม่พัฒนาเด็ก

รายงานกลุ่มที่ 6เรื่อง การจัดและบริหารสถาน ศูนย์ สถาบัน บ้าน กระบวนทัศน์ใหม่พัฒนาเด็ก

47

สรุป

บ้าน ความหมายของบ้าน บ้านหมายถึง สถานท่ี ทีบ่ คุ คลในครอบครัวใช้ชวี ิตอยู่ร่วมกัน เปน็ ส่วนใหญ่
ที่อยอู่ าศัย ทใ่ี ห้ความอบอนุ่ ใจแก่ผอู้ ยู่อาศยั อาจรวมถงึ อาคารหรือหอ้ งพกั ทใ่ี ช้พกั อาศยั ด้วยหรอื ท่ีอยบู่ รเิ วณท่ี
เรอื นตั้งอยู่และถน่ิ ท่ีมมี นษุ ย์ สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ในประเทศไทยทข่ี น้ึ ตนั ด้วยคำวา่ " บ้าน" เชน่ บ้านเปิดหรือ
บ้านแรก รับบา้ นพัฒนาเด็กเปน็ สถานพฒั นาเด็กปฐมวยั ทม่ี ีการดำเนนิ การต่างกนั ท่ี จุดมุ่งหมายในการพฒั นา
เด็กปฐมวยั ซงึ่ การกำหนดจดุ มุ่งหมายของสถานพฒั นาเด็กปฐมวัยจะข้ึนอยู่กับหน่วยงานที่จดั สถาน พัฒนาเด็ก
ปฐมวยั นัน้ ๆ เชน่ บา้ นพักเด็กและครอบครวั บ้านพักฉุกเฉิน บา้ นเปดิ หรือสถานแรกรับ และบ้านเด็กทมี่ คี วาม
ต้องการพิเศษ

บา้ นพักฉุกเฉิน การใหบ้ ริการของบ้านพักฉุกเฉนิ ฝา่ ยสังคมสงเคราะห์ เน้นการใหค้ วาม
ช่วยเหลอื ผ้หู ญิง และเดก็ ท่เี ดือดรอ้ นจากปญั หาตา่ ง ! ทเ่ี กดิ ขึ้นในสังคม โดยให้ความชว่ ยเหลอื ดา้ นท่ี
พักอาศัย อาหาร สขุ ภาพอนามยั รมทงั้ การใหค้ ำปรกึ ษาแนะนำ การให้ทกั ษะชีวิตและกำลงั ใจโดยใช้
หลังสงั คมสงเคราะห์และกระบวนการการจดั การกล่มุ บำบดั ทางจติ เพอ่ื นำไปสคู่ วามเชอ่ื มนั่ ในตนเอง
สามารถออกไปใช้ชวี ิตใิ นสังคมไดด้ ว้ ยปกติสขุ ละชว่ ยเหลือตนเองไดก้ ารให้บริการ และความช่วยเหลอื
บทบาทหน้าทท่ี ่ีเกย่ี วข้องกับการพัฒนาเด็ก เป็นบ้านพักท้งั กายใจให้แก่ผหู้ ญงิ และเดก็ ท่ี
ประสบปัญหาต่าง ๆ เช่น ถกู กระทำความรุนแรง ทำร้ายร่างกาย ถกู ข่มขนื ล่วงละเมดิ ทางเพศ ถูก
ทอดทิง้ ท้องไม่พรอ้ ม ติดเช้อื เอซไอวี / เอตส์ ขดั แยง้ ภายในครอบครัว ไมม่ งี านทำไม่มที ่พี ัก ให้ความ
ชว่ ยเหลือตา้ นทีอ่ ยอู่ าศัย อาหาร การดแู ลสุขภาพอนามยั ใหก้ ารปรึกษาและแนะนำ การใหท้ ักษะชวี ติ
และกำลงั ใจ กรจัดตงั้ และการจดทะเบยี น ก่อตงั้ เมอื่ พ.ศ. 2523 โดยสมาคมสง่ เสรมิ สถานภาพสตรี
ในพระอปุ ถมั ภ์ พระเจา้ วรวงศ์เธอ พระองคเ์ จา้ โสมสวลี พระวรราชาทนิ ัตดามาต กลุม่ เป้าหมายดูแล
เด็กในชว่ งอายุ 1 ขวบครง่ึ -9 ขวบ เปน็ บุตรของผู้ทม่ี าขอรบั ความช่วยเหลอื ในระหวางมารดารับการ
ฟนื้ ฟู รา่ งกายและจิตใจหรือพักรอคลอดถงึ หลงั คลอด

บ้านพักพเิ ศษ บ้านสิทธิดา เปิดดำเนินงาน เมอ่ื ปีพ.ศ.2554 (ค.ศ.2011) โดยเป็นศนู ย์พัฒนาการด้าน
คณุ ภาพชวี ิตและเพิ่มศักยภาพให้แก่เด็กพิการท่ีกำพร้าและยากไร้ เป็นบา้ นที่อบอุ่นสำหรับครอบครัวจิตอาสา
ใหค้ วามช่วยเหลอื ดา้ นการสังคมสงเคราะหแ์ ละส่งเสรมิ กิจกรรมการพัฒนาการเดก็ พิการให้มีคุณภาพชีวิตของ
ตนเองและครอบครัวให้ดีขน้ึ บ้านสทิ ธดิ าฯ สง่ เสริมพัฒนา เพ่ิมศกั ยภาพทางดา้ นร่างกาย จติ ใจ อารมณ์ สังคม
เพื่อเตรยี มความพร้อมสู่โลกภายนอกกระตุน้ พฒั นาการเพื่อให้เด็กมพี ัฒนาการทางดา้ นร่างกายใกล้เคียงปกติ
มากที่สดุ

สถานแรกรบั เดก็ ชายปากเกรด็ หรอื บ้านภมู เวศ ใหก้ ารสงเคราะหแ์ ละคุ้มครองเตก็ ชายไทย
และต่างชาติทมี่ ีอายุระหว่าง 6-18 ปีทีป่ ระสบปัญหาครอบครวั แตกแยกถูกทอดทิ้ง กำพรา้ เรร่ ่อน
ขอทาน พลดั หลง ครอบครวั เลีย้ งดไู ม่เหมาะสม เดก็ ถูกกระทำทารุณกรรมจนเกดิ อันตรายแกร่ ่างกาย
และจติ ใจท้งั จากบคุ คลในครอบครัวหรอื บุคคลอนื่ และยงั เปน็ บา้ นพกั ชัว่ คราวสำหรบั เด็กโดยทางบ้าน

48

จัดเตรียมปจั จัย 4 พร้อมกิจกรรมส่งเสรมิ พฒั นาการเดก็ ชว่ ยเหลือเตก็ ตามทต่ี อ้ งการ มีกระบวนการ
การสง่ ตอ่ เตก็ ไปตามสถานทีไ่ ดร้ บั ความชว่ ยเหลอื

อา้ งอิง

กรมกิจการเดก็ และเยาวชน. บ้านพกั เด็กและครอบครวั . [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก :
www.dcy.go.th (วันท่ีคน้ ขอ้ มลู : 24 ธันวาคม 2564).

กรมกิจการเดก็ และเยาวชน บ้านพกั เด็กและครอบครวั 77 จังหวดั . (2563). บา้ นพกั เดก็ และ
ครอบครัว. [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก : https://www.dcy.go.th/webnew/main/
(วันท่ีคน้ ขอ้ มูล : 24 ธนั วาคม 2564).

กองคุม้ ครองเด็กและเยาชน กลมุ่ ประสานบา้ นพักเด็กและครอบครวั . (2562). บ้านพกั เดก็ และ
ครอบครัว. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.childreninstreetthailand.com-
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ย์ (วนั ทีค่ น้ ขอ้ มลู : 24 ธันวาคม 2564).

สมาคมสง่ เสรมิ สถานภาพสตรี. บ้านพักฉุกเฉนิ และการใหบ้ รกิ าร. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
http://www.apsw-thajg;ldiland.org/kanitnaree1-th.html
(วันทค่ี น้ ข้อมลู : 24 ธนั วาคม 2564).

49

บทท่ี 5
กระบวนทัศน์ใหมข่ องการศึกษาปฐมวยั

กระบวนทศั น์ใหมข่ องการศึกษาปฐมวยั

สำคญั เรอ่ื งหนึง่ ในการปฏิรูปการศกึ ษาลือการปฏิรปู กระบวนการเรยี นการสอนที่เอ้อื ต่อการพัฒนาขีด
ความสามารถของผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพและสอดคล้อง เปน็ ไปตามจุดประสงค์ของการศกึ ษาแต่ละระดับ
โดยปรับให้ผู้เรียนเป็นศูนยก์ ลางการเรียนรู้ และปรับบทบาทครูจากผู้สั่งสอนถ่ายทอดความรู้มาเป็นผูอ้ ำนวย
ความสะดวก ชว่ ยเหลือ ช้แี นะ สนบั สนนุ และเอาใจใส่ให้เดก็ ได้เรยี นรู้ อยา่ งเปน็ กระบวนการด้วยเทคนิคหรือ
ยุทธศาสตร์การสอนที่เหมาะสมกับวัยส่งเสริมผู้เรียนให้สร้างองค์ความรู้โดยเรียนจากประสบการณ์จริงและ
กิจกรรมต่าง ๆ ท่เี ด็กไดส้ มั ผัส ปฏบิ ตั ดิ ้วยตนเอง ท้งั นีค้ รคู วรใช้วธิ กี ารสอนท่ีหลากหลาย ใช้แหล่งการเรียนรู้ที่
นอกเหนอื จากห้องเรยี น โรงเรียน และหนังสือเรยี น เพื่อให้เกดิ ความเหมาะสมสอดคลอ้ งกับความแตกต่างของ
เด็กแต่ละกลุ่มแตล่ ะคน ตลอดจนบริบททางเศรษฐกจิ สงั คม และวัฒนธรรมการปรับกระบวนการเรียนการสอน
ในระดับปฐมวัยเปน็ มิติหนึ่งของศาสตร์ทางการศึกษาที่มีการปรับเปลี่ยนและพัฒนามาจากทฤษฎแี ละแนวคิด
ของผทู้ ่ศี กึ ษาและเข้าใจในธรรมชาตกิ ารเรยี นรู้ของเด็กมานานนบั ศตวรรษ ต่อมาไดม้ ีความคดิ ใหม่เกิดข้ึน และ
มีหลายแนวคิดทสี่ อดคลอ้ งและมีความเห็นในหลักการพัฒนาเด็กเช่นท่ีเคยคิดเคยปฏบิ ัตมิ าแต่เดิม จะเหน็ ได้ว่า
การเปล่ยี นแปลงตา่ งๆ เกดิ ข้ึนเนอ่ื งจากอทิ ธิพลทางสงั คม ความคาดหวังต่าง ๆ ทท่ี ำให้นกั การศกึ ษาหลายกลุ่ม
ไดพ้ ยายามแสวงหาแนวคดิ และสรา้ งองคค์ วามรู้ใหม่ หรือท่เี รยี กว่านวตั กรรมการศกึ ษาขึ้น ท้งั นโ้ี ดยอาศัยหลัก
ความเช่อื หลักทฤษฎีทีว่ ่าด้วยพัฒนาการเด็กและการ เรยี นรู้เป็นฐาน นักการศกึ ษาหลายกลมุ่ ได้นำรปู แบบการ
สอนตามความเชื่อและเหตุผลเชิงทฤษฎีไปปฏิบัติติดตามผล มีรายงานและผลการวิจัยเผยแพร่กันในแวดวง
การศึกษาปฐมวยั ซึ่งกระตุ้นให้หนว่ ยงานทัง้ ภาครัฐและเอกชนตื่นตวั ในการจัดการศึกษาเพ่ือให้เด็กได้รับ การ
พัฒนาด้านต่างๆ มากขึ้น ดังจะเห็นได้จากการจัดทำแนวและแผนการจัดประสบการณ์ การฝึกอบรม การ
ประชุมปฏบิ ัติการ การสัมมนาวิชาการเกี่ยวกับการใช้นวัตกรรมการสอนท่ีเนน้ เด็กเปน็ ศูนย์กลางการเรยี นรู้ท่ี
จดั ขึ้นในหน่วยงานตา่ งๆตลอดมาสำหรับประเทศไทยการจัดกระบวนการทัศน์ใหม่ของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
โดยมแี ผนการศึกษาแหง่ ชาตเิ ป็นตัวกำหนดดงั น้ี

แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 ในยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและ
การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ เป้าหมายข้อ 3.3 สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/
กระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรอย่างมีคุณภาพและมาตรฐาน มีตัวชี้วัดที่สำคัญ เช่น ศูนย์เด็กเล็ก/
สถานศึกษา ระดับก่อนประถมศึกษาที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้คุณภาพและมาตรฐานเพิ่มขึ้น สถานศึกษา/
สถานพัฒนาเด็ก ปฐมวัยจัดกิจกรรมท่ีสอดคล้องกับหลักสูตรปฐมวัย และสมรรถนะของเด็กที่เชื่อมโยงกับ

50

มาตรฐานคุณภาพเด็ก ปฐมวัยของอาเซียนเพิ่มขึ้น สถานศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานที่จัดการศึกษา
ตามหลักสูตรทม่ี ุ่งพฒั นา ผเู้ รยี นใหม้ ีคณุ ลักษณะและทกั ษะการเรยี นรูใ้ นศตวรรษท่ี 21 เพมิ่ ขึ้น

โดยแนวทางการพัฒนาสง่ เสรมิ ให้เด็กเล็ก (0 - 2 ป)ี ได้รับการดแู ลและพฒั นาที่สมวัยรอบด้านอย่างมี
คุณภาพและตอ่ เน่ือง มีการปรบั ระบบการบริหารจัดการการดแู ลและพัฒนาเดก็ เล็ก (0 - 2 ปี) และการศึกษา
ปฐมวัย (3 - 5 ปี) ให้มีคุณภาพและมาตรฐาน รวมทั้งพัฒนาหลักสูตรและคู่มือการเตรียมความพร้อมพ่อแม่
และการเลี้ยงดูและพัฒนาเด็กเล็กให้มีพัฒนาการตามวัย และพัฒนาหลักสูตรการศึกษาระดับปฐมวัย
สมรรถนะ เด็กปฐมวัยท่สี อดคล้องกบั มาตรฐานอาเซียนและระดบั สากล เพอ่ื การพฒั นาคุณภาพและพัฒนาการ
รอบดา้ น สมวัยของเด็กปฐมวัย

(ร่าง) แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2561 - 2564 ได้กำหนดนโยบาย ด้านเด็ก
ปฐมวัย ไวด้ งั นี้

1. เด็กปฐมวัยทุกคนต้องได้รับการพัฒนาอย่างรอบด้าน อย่างมีคุณภาพ ตามศักยภาพ ตามวัยและ
ต่อเน่อื ง

2. การพัฒนาเด็กตามข้อ 1 ตอ้ งจดั ให้เป็นระบบและมีความสมั พันธ์ระหวา่ งกนั โดยบรู ณาการชัดเจน
ระหวา่ งหนว่ ยงานราชการ และทีไ่ มใ่ ชร่ าชการ ระหวา่ งวิชาชพี ท่สี มั พันธก์ ับการพัฒนาเดก็ ปฐมวัย และ
ระหวา่ งระดับตา่ งๆ ของการบริหารราชการแผน่ เดนิ จากระดบั ชาติ สว่ นกลาง สว่ นภมู ภิ าค และส่วนท้องถนิ่

3. รัฐและทุกภาคส่วนต้องร่วมกันระดมทรพั ยากรใหเ้ พยี งพอแก่การพัฒนาเดก็ ปฐมวัยตามนโยบาย

นอกจากนี้ ได้ให้ความสำคัญกับการพฒั นาคุณภาพเด็กปฐมวัย โดยกำหนดไว้ในยุทธศาสตร์ที่ 3การ
พัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการให้บริการทีพ่ ัฒนาเด็กปฐมวัย เป้าประสงค์ที่ 1 สถานพัฒนาเด็กปฐมวยั ทุก
แหง่ ได้รับการพฒั นาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั แหง่ ชาติ และเปา้ ประสงค์ที่ 2 คณุ ภาพ
ของระบบบริการและระบบการพัฒนาเด็กปฐมวยั ได้รับการปรบั ปรุงให้เป็นไปตามมาตรฐานสถานพฒั นา เด็ก
ปฐมวยั แหง่ ชาติ

นโยบายและแผนการพัฒนาเด็กปฐมวัยในอินเดีย: ประเด็นสำคัญและทิศทางการเปลี่ยนแปลงกระบวน
ทัศน์

ความสำคัญอยา่ งยง่ิ ยวดของวัยเด็กปฐมวัยและมมุ มองด้านสิทธใิ นการพฒั นามนษุ ย์ทำให้นโยบายและ
แผนงานสำหรบั การพฒั นาเดก็ ปฐมวยั มีความจำเปน็ สำหรับทุกประเทศ ในอนิ เดีย ความยากจน โครงสร้างทาง
เศรษฐกิจและสังคมที่เปลีย่ นแปลงไปส่งผลให้เกิดการลม่ สลายของกลไกการเผชิญปญั หาแบบดัง้ เดิมและระบบ
การดูแลครอบครัว และความเหลื่อมล้ำระหว่างคนรวยและคนจนทำใหเ้ ด็กจำนวนมาก "ตกอยู่ในความเส่ยี ง"
การแทรกแซงของเด็กปฐมวยั กลายเป็นข้อกำหนดเบือ้ งตน้ ในบริบทดงั กล่าว เพื่อลดผลกระทบของการกีดกนั

51

และความเสียเปรยี บ และปรับปรุงโอกาสในชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กจากสภาพแวดล้อมที่ด้อยโอกาสและ
ดอ้ ยโอกาส บทความนี้ใช้การวิเคราะห์เอกสารและการทบทวนวรรณกรรมเพอื่ ตดิ ตามววิ ัฒนาการของนโยบาย
การพฒั นาเด็กปฐมวัยและการเขียนโปรแกรมในอนิ เดีย อธิบายมุมมองที่เปลย่ี นไปในการวางแผน และหลงั จาก
การวิเคราะห์เชิงวิพากษ์เกย่ี วกับสถานการณข์ องเด็กและโปรแกรมสำหรับเด็กในประเทศแล้ว ก็ไดอ้ ภิปรายถึง
การปรับเปล่ยี นกระบวนทัศนท์ จี่ ำเปน็ ต้องดำเนินการเพือ่ เป็นแนวทางในการรับประกันความผาสกุ ของเด็กเล็ก
ในอินเดีย เพื่อให้สอดคล้องกับการพัฒนาระหว่างประเทศ แนวทางการวางแผนกลยุทธ์ที่เกี่ยวข้องกับการ
พัฒนาเด็กปฐมวยั (ECD) ในอินเดียได้พัฒนามาจากสวัสดิการเพ่ือการพฒั นาเพ่ือสิทธมิ นุษยชน. รัฐธรรมนูญ
ของอินเดียและอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิเด็ก (UNCRC) เป็นแนวทางสำหรับการวางแผน แต่การ
บรรลุผลสำเร็จของการผนึกกำลังกันในภาคส่วนต่าง ๆ ที่จัดไว้สำหรับแง่มุมต่าง ๆ ของการพัฒนาเด็กยังคง
เขา้ ใจยาก สิง่ นี้สะท้อนใหเ้ ห็นในตัวช้วี ัดการตาย การเจ็บป่วย และการศกึ ษาทน่ี า่ สงสารสำหรับเด็กเลก็ เหตุผล
หลักสำหรับเรื่องน้ีเกิดจากสถานะที่ไม่ชัดเจนของ ECD ในอินเดีย ในขณะที่เอกสารระดับชาติยอมรบั ว่าเปน็
รากฐานสำหรับความคิดริเริ่มอื่น ๆ ทั้งหมด สิ่งเหล่านี้ไม่ได้รับการสนับสนุนจากการจัดสรรทรัพยากรและ
เจตจำนงทางการเมืองเพื่อให้ ECD ที่มีคุณภาพสำหรับทุกคน กระบวนการวางแผนของประเทศจำเป็นต้อง
เปลยี่ นกระบวนทศั น์ในกลยุทธ์และนโยบายการพฒั นาเด็กเพอื่ นำไปส่กู ารออกแบบการแทรกแซงใหม่

เนื่องจากความสำคัญอย่างยิง่ ของเด็กปฐมวัยและมุมมองดา้ นสิทธิในการพัฒนามนุษย์ นโยบายและ
โครงการทม่ี ุง่ พฒั นาเดก็ ปฐมวัยจึงมคี วามจำเป็นสำหรับทกุ ประเทศ ในอินเดีย ความยากจนและโครงสร้างทาง
เศรษฐกิจและสังคมที่เปลีย่ นแปลงได้ก่อใหเ้ กิดความล้มเหลวของกลไกการเผชิญปัญหาแบบดั้งเดิมและระบบ
การดูแลครอบครัว และความเหลื่อมล้ำระหว่างสถานที่ร่ำรวยและยากจน เด็กจำนวนมาก "ตกอยู่ในความ
เสย่ี ง" การชว่ ยเหลือเด็กปฐมวยั กลายเปน็ สิง่ จำเป็นในสถานการณด์ ังกล่าว เพ่ือลดผลกระทบจากการถูกกีดกัน
และเสียเปรียบ และปรับปรุงโอกาสในชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับเด็กที่มาจากภูมิหลังที่ด้อยโอกาสและ
ดอ้ ยโอกาส

บทความนใ้ี ช้การทบทวนวรรณกรรมและการทบทวนวรรณกรรมเพ่ือติดตามววิ ฒั นาการของนโยบาย
และโครงการพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ในอนิ เดีย อธบิ ายมุมมองที่เปล่ยี นแปลงไปในการวางแผนและหลังการวเิ คราะห์
อยา่ งมวี ิจารณญาณเก่ียวกบั สถานการณ์ของเดก็ เล็ก โครงการสำหรับเดก็ และเด็กทวั่ ประเทศจะตรวจสอบการ
เปลี่ยนแปลงกระบวนทัศน์ที่ต้องทำเพ่ือเป็นแนวทางในการประกันความเป็นอยู่ที่ดีของเด็กเล็กในอินเดีย
เพ่อื ใหส้ อดคล้องกับการพฒั นาระหว่างประเทศ แนวทางในการวางแผนกลยุทธ์ที่เกย่ี วข้องกับ CEE ในอินเดีย
ได้พฒั นาตลอดหลายปที ผี่ ่านมาตงั้ แต่ความชว่ ยเหลอื ทางสงั คมไปจนถงึ การพัฒนาสิทธิ รฐั ธรรมนูญของอนิ เดีย
และกฎบัตรสหประชาชาติเพื่อสิทธิเด็ก (UNCRC) ได้ชี้นำการวางแผน แต่การบรรลุการผนึกกำลังกนั ในภาค
ส่วนต่างๆ ที่ดูแลด้านตา่ งๆ ของการพัฒนาเด็กยังคงเข้าถึงไม่ได้ สิ่งนีส้ ะทอ้ นให้เหน็ ในอัตราการเสียชีวิต การ
เจ็บป่วย และตัวชี้วัดทางการศึกษาสำหรับเด็กเล็ก เหตุผลสำคัญประการหนึ่งมาจากสถานะที่ไม่ชัดเจนของ

52

ECE ในอินเดีย - ในขณะที่เอกสารระดับชาติยอมรับว่าการศึกษาปฐมวัยเป็นรากฐานสำหรับการริเริ่มอื่น ๆ
ท้งั หมด ส่ิงเหลา่ น้ีไมไ่ ด้รบั การสนับสนุนจากการจดั สรรทรัพยากรและเจตจำนงทางการเมือง ECE ที่มีคุณภาพ
สำหรับทุกคน กระบวนการวางแผนประเทศเรียกร้องให้มีการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์เกี่ยวกับกลยุทธ์และ
นโยบายการพัฒนาเด็กทมี่ ุง่ ออกแบบการแทรกแซงใหม่

ความสำคัญอย่างยิ่งยวดของวัยเด็กปฐมวัยและมุมมองที่ถูกต้องเกี่ยวกับการพัฒนามนุษย์ทำให้
นโยบายและแผนงานสำหรบั การพัฒนาเด็กปฐมวัยมีความจำเป็นสำหรับทุกประเทศ ในอินเดีย ความยากจน
โครงสร้างทางเศรษฐกิจและสังคมทีเ่ ปลี่ยนแปลงไปสง่ ผลให้กลไกการดูแลครอบครัวแบบดั้งเดิมเสื่อมถอยลง
และความแตกต่างระหว่างคนรวยและคนจนได้นำไปสู่การแทรกแซงความเสี่ยงของเด็กปฐมวัยจำนวนมาก
และการศึกษาปฐมวัยได้กลายเป็นข้อกำหนด ในบริบทดังกล่าวเพื่อบรรเทาผลกระทบจากการถูกกีดกันและ
ปรับปรุงสภาพความเป็นอยู่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กจากภูมิหลังที่ถูกกีดกันและถูกกีดกัน บทความนี้ใช้การ
ตรวจสอบโตะ๊ และการวิเคราะห์วรรณกรรมเพื่อสร้างวิวฒั นาการของนโยบายและแผนการพัฒนาเด็กปฐมวัยใน
อนิ เดยี อธิบายการเปลีย่ นแปลงมุมมองในการวางแผนและหลงั จากการวเิ คราะห์เชิงวิพากษ์ถึงสถานการณ์ของ
เด็กและรายการสำหรับเด็กในประเทศแล้ว ได้ อภปิ รายเกี่ยวกบั การปรับเปล่ยี นกระบวนทศั น์ท่ตี อ้ งทำเพื่อเป็น
แนวทางทีเ่ หมาะสมในการประกันความเปน็ อยู่ท่ดี ีของเดก็ และ สาวนอ้ ยในอินเดยี แนวทางในการวางแผนกล
ยทุ ธท์ ่เี กี่ยวขอ้ งกบั การศึกษาปฐมวัยในอินเดียซง่ึ สอดคล้องกับความก้าวหน้าในระดับนานาชาติในช่วงไม่กี่ปีที่
ผ่านมาได้พัฒนาจากความผาสุกทางร่างกายที่บริสุทธิ์ไปสู่การพัฒนาสิทธิเด็กอย่างเต็มที่ รัฐธรรมนูญของ
อินเดียและ UNCRC เป็นแนวทางพื้นฐานสำหรับการวางแผน แต่การบรรลุการผนึกกำลังกันในทุกภาคส่วน
เพื่อรองรับการพัฒนาเด็กในด้านต่างๆ นั้นยังคงเป็นเรื่องยาก สิ่งนี้สะท้อนให้เห็นในตัวชี้วัดการตาย การ
เจ็บป่วย และการศึกษาที่ไม่ดีต่อเด็ก สาเหตุหลักมาจากสถานะที่ไม่ชัดเจนของการศึกษาปฐมวัยในอินเดีย -
ในขณะที่เอกสารระดับชาติยอมรับว่าเป็นรากฐานสำหรับความคิดรเิ ร่ิมดา้ นการศกึ ษาอื่น ๆ ทั้งหมด แนวคิด
เหล่านี้ไม่ได้รับการสนับสนุนจากการจัดสรรทรัพยากรหรือเจตจำนงทางการเมือง เพื่อให้การศึกษาก่อนวัย
เรียนทม่ี ีคุณภาพสำหรบั ทกุ คน . กระบวนการวางแผนระดับชาตจิ ำเปน็ ตอ้ งเปลย่ี นกระบวนทศั น์ในกลยทุ ธ์และ
นโยบายการพฒั นาเดก็ เพ่ือนำไปส่กู ารออกแบบใหม่และความสำเร็จของการแทรกแซง

53

สรปุ
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง เพื่อให้เปล่ียนแปลงทันการเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่มีผลกระทบจากโลก
ในยุคโลกาภิวฒั น์ ก้าวใหม่ของการเปล่ียนแปลงจากความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ที่ต้องการข้อมูลที่มคี วาม
ละเอียดสงู และความคลาดเคล่ือนนอ้ ย ในยคุ นาโนเทคโนโลยี ทำให้กระบวนทัศนเ์ ดิมของการจดั การศึกษาไทย
แบบเกา่ ๆ ตอ้ งปรับเปลีย่ นสกู่ ระบวนทศั น์ใหม่ กระบวนคดิ วเิ คราะห์ วิธคี ดิ วธิ ปี ฏิบัติ แนวการดำเนินชีวิต มา
ทบทวนใหม่ เพื่อให้สอดคล้องกับยุค และสถานการณ์ ที่กำลังเกิดขึ้น และที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ความเช่ือ
พื้นฐานทีม่ ีในจิตใจของมนษุ ย์ทุกคน แตกต่างกันตามเพศ ตามวัย ตามสิ่งแวดล้อม ตามการศึกษาอบรม และ
ตามการตดั สินใจเลอื กของแต่ละบุคคล ความเชื่อพืน้ ฐานน้ีแหละเปน็ ตวั กำหนด ใหแ้ ต่ละคนชอบอะไร และไม่
ชอบอะไร พอใจแค่ไหนและอย่างไร เป็นตัวนำร่องการตัดสินใจ ด้วยความเข้าใจ และเหตุผลในตัวบุคคลคน
เดียวกัน อาจจะเปลี่ยนแปลงได้ หากรู้สึกว่ามีเหตุผล เพียงพอที่จะเปลี่ยน แต่จะไม่เปลี่ยนด้วยอารมณ์ ก่อน
เปลยี่ นจะต้องมคี วามเข้าใจ กระบวนทัศน์เก่าท่มี อี ย่แู ละ กระบวนทศั น์ท่จี ะรบั เข้ามาแทน มกี ารชั่งใจจนเป็นท่ี
พอใจ มิฉะนั้นจะไม่ยอมเปล่ยี น เพราะอยา่ งไรเสีย ตราบใดทีม่ ีสภาพเป็น คนเต็มเปย่ี มจะต้อง มีกระบวนทัศน์
ใด กระบวนทัศนห์ นง่ึ เปน็ ตัวตัดสินใจเลอื กวา่ จะเอาหรอื จะปฏเิ สธ

อา้ งองิ

ประเสริฐ ออด สวนจนั ทร์. (2555). กระบวนทศั น์ (Paradigm). สืบคน้ เมอ่ื วนั ที่ 15 มกราคม 2565
จาก https://www.gotoknow.org/posts/275707

เรวตั ตนั ตยานนท.์ (2559). กระบวนทัศนเ์ ทคโนโลย.ี สืบค้นเมือ่ วันที่ 15 มกราคม 2565

จาก http://www.bangkokbiznews.com/blogs/columnist/112185.

วรี ะพงษ์ แพสุวรรณ. (2557). นวตั กรรมด้านกระบวนทศั น์ ปรบั โครงสรา้ ง เปล่ียนแนวคดิ พิชติ การเปน็

ประเทศแห่งนวัตกรรม. สำนักงานนวตั กรรมแหง่ ชาติ (NIA).สบื ค้นเมอื่ วันที่ 15 มกราคม 2565
จาก http://www.nia.or.th/DR.VEERAPHONG

บรรณานุกรม

กระทรวงศึกษาธิการ (2561). นโยบายเด็กปฐมวัย [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก : http://www
. moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NewsID=514488Key-news_act

(วันทค่ี น้ ข้อมูล: 15 มกราคม 2565).
กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2562). พระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2562 และทแ่ี กไ้ ข เพมิ่ เตมิ

(ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562 กรุงเทพฯ : กระทรวงศกึ ษาธิการ.
กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2562) คมู่ ือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2562 (สาหรับเด็ก อายุ

3-5 ป)ี . กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์คุรุสภาลาดพร้าว.
กรมกจิ การเดก็ และเยาวชน. บ้านพักเด็กและครอบครวั . [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก : www.dcy.go.th

(วันท่คี ้นขอ้ มลู : 24 ธนั วาคม 2564).
กรมกจิ การเด็กและเยาวชน บ้านพกั เด็กและครอบครวั 77 จงั หวดั . (2563). บา้ นพักเด็กและ

ครอบครัว. [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก : https://www.dcy.go.th/webnew/main/
(วันทีค่ น้ ขอ้ มูล : 24 ธนั วาคม 2564).
กองคมุ้ ครองเดก็ และเยาชน กลมุ่ ประสานบา้ นพกั เด็กและครอบครัว. (2562). บา้ นพกั เด็กและ
ครอบครัว. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.childreninstreetthailand.com-
กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมัน่ คงของมนษุ ย์ (วนั ทคี่ น้ ข้อมูล : 24 ธันวาคม 2564).
ปารฉิ ัตร ปรังเขียว. 2562 . ศูนยก์ ารศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดพะเยา สานักบรหิ ารงานการศกึ ษา
พิเศษ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน 4. พะเยา : สาํ นักบรหิ ารงานการศึกษา
พเิ ศษ
สถาบนั สุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์. (2561). ประวตั สิ ถาบันสุขภาพจิตเด็กและวยั รุ่นราช
นครินทร์. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
https://new.camri.go.th/?fbclid=Iw0j9U_hxCzGtm_ (วนั ทีค่ น้ ขอ้ มลู : 15 มกราคม
2565).
สภากาชาดไทย. (2022). มลู นธิ ิสงเคราะหเ์ ดก็ ของสภากาชาดไทย. [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ได้จาก :
http://trcch.redcross.or.th (วันท่ีคน้ ขอ้ มลู : 15 มกราคม 2565).
สมาคมส่งเสริมสถานภาพสตรี. บา้ นพักฉุกเฉนิ และการให้บรกิ าร. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก :
http://www.apsw-thajg;ldiland.org/kanitnaree1-th.html
(วนั ที่ค้นข้อมลู : 24 ธันวาคม 2564).

ภาคผนวก ก

รายชื่อคณะผู้จัดทำ

นางสาวรตั ติกาล อินทแหยม นางสาวจารวุ รรณ โคตรจันทร์ นางสาวพมิ พล์ ภสั กลุ มา
รหัสนกั ศึกษา 61181860011 รหัสนักศึกษา 61181860021 รหัสนกั ศกึ ษา 61181860036

นางสาวปนัดดา เจริญสง่ นางสาววรรณภา นามคุณ นางสาวภัคจริ า นวะพล
รหัสนกั ศกึ ษา 61181860037 รหสั นกั ศึกษา 61181860040 รหสั นกั ศกึ ษา 61181860057

นางสาวณัฐกานต์ แจม่ แจง้
รหัสนกั ศกึ ษา 61181860051

ภาคผนวก ข

รายชอื่ คณะผูอ้ อกแบบและตรวจทานการทำรูปเลม่ รายงาน

นางสาวรัตติกาล อินทแหยม นางสาวจารุวรรณ โคตรจนั ทร์ นางสาวพิมพ์ลภสั กุลมา
รหัสนกั ศกึ ษา 61181860011 รหัสนักศึกษา 61181860021 รหสั นกั ศกึ ษา 61181860036

นางสาวปนัดดา เจริญส่ง นางสาววรรณภา นามคุณ นางสาวภคั จิรา นวะพล
รหสั นกั ศกึ ษา 61181860037 รหัสนกั ศกึ ษา 61181860040 รหสั นกั ศึกษา 61181860057

นางสาวณฐั กานต์ แจ่มแจง้
รหสั นกั ศึกษา 61181860051


Click to View FlipBook Version