The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาทักษะพลเมืองดิจทัลด้วยกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนโดยใช้โมเดล 4Gs

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Chatpong Chusangnin, 2019-06-06 01:38:14

รายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาทักษะพลเมืองดิจทัลด้วยกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนโดยใช้โมเดล 4Gs

รายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาทักษะพลเมืองดิจทัลด้วยกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนโดยใช้โมเดล 4Gs

ÃÒ§ҹ¡Òþ²Ñ ¹Ò¹ÇµÑ ¡ÃÃÁ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ

©ÑµÃ¾§È ªÙáʧ¹ÔÅ

¤Ãâ٠çàÃÕÂ¹Ç´Ñ ºÒ§ãËÞ‹

Êíҹѡ§Ò¹à¢µ¾¹×é ·¡Õè ÒÃÈ¡Ö ÉÒ»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ¹¤ÃÈÃ¸Õ ÃÃÁÃÒª ࢵ 1

Good Good
Teacher and Student Learning

Good Good
Technology Digital intelligent

หวั ขอนวัตกรรม การพัฒนาทักษะพลเมืองดจิ ทิ ลั ดวยกจิ กรรมพฒั นาผูเ รียน
โดยใชโมลเดล 4Gs
ชือ่ - นามสกลุ ฉัตรพงศ ชแู สงนลิ
โรงเรยี น วดั บางใหญ
สังกัด สํานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราชเขต 1
ปการศึกษา 2561

บทคดั ยอ

การพัฒนานวัตกรรมคร้ังนี้มีวัตถุประสงค เพ่ือออกแบบกิจกรรมพัฒนาทักษะความฉลาดทาง
ดิจิทัลของผูเรียนดวยกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรูกิจกรรมพัฒนานักเรียน โดยการใชรูปแบบการ
พัฒนาทฤษฎีระบบ 4Gs เพื่อเปรียบเทียบผลการพัฒนาทักษะความฉลาดทางดิจิทัลของผูเรียนดวย
กระบวนการจดั กิจกรรมการเรยี นรูกิจกรรมพัฒนานกั เรียน โดยการใชรปู แบบการพฒั นาทฤษฎีระบบ 4Gs
เพ่ือศึกษาความพึงพอใจตอการจัดกิจกรรมการเรียนรู พัฒนาทักษะความฉลาดทางดิจิทัลของผูเรียนดวย
กระบวนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรูกิจกรรมพัฒนานกั เรยี น โดยการใชร ปู แบบการพฒั นาทฤษฎีระบบ 4Gs

ประชากรท่ีใชในการศึกษาคือ ประชากรท่ีใชในการทดลองนวัตกรรมการพัฒนาทักษะพลเมือง
ดิจิทัลดวยกิจกรรมพัฒนาผูเรียนโดยใชโมลเดล 4Gs เปนนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาตอนตน ภาคเรียนท่ี 1
ปการศึกษา 2560 จํานวน 76 คน เคร่ืองมือที่ใชในการศึกษาครั้งน้ีคือแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูการ
พัฒนาทักษะพลเมืองดจิ ิทลั แบบทดสอบการพัฒนาทักษะพลเมอื งดิจิทัล และแบบสอบถามความพึงพอใจ
ตอการจัดกิจกรรมการเรียนรู สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูลไดแก ความถี่ คารอยละ คาเฉล่ีย และสวน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน

ผลการศึกษาพบวาผลการออกแบบกิจกรรมพัฒนาทักษะความฉลาดทางดิจิทัล 8 ดาน ของ
ผูเ รียนดว ยกระบวนการจัดกจิ กรรมการเรียนรกู ิจกรรมพฒั นานกั เรยี น โดยการใชรูปแบบการพัฒนาทฤษฎี
ระบบ 4Gs โดยผูพัฒนาไดออกแบบระบบการเรียนการสอนโดยใชองคประกอบของ ADDIE Model โดย
ออกแบบกิจกรรมท่ีสอดคลองกับการพัฒนาทักษะความเปนพลเมืองดิจิทัลกิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี
ประกอบดวย กิจกรรมเง่ือนเชือก กิจกรรมนันทนาการ กิจกรรมดํารงชีพในปา กิจกรรมชุมนุม
ประกอบดว ย กิจกรรมโครงงานคอมพิวเตอร กิจกรรมภาพยนตรสั้น กิจกรรมเกมสรางสรรค กิจกรรมแนะ
แนวประกอบดวย กิจกรรมรตู น รงู าน สานฝนสูอาชีพ กิจกรรม Marketplace FB กิจกรรม Digital start
up กิจกรรมสํารวจขอมูลนักเรียน กิจกรรม Line Creator กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน
ประกอบดวย การลงทะเบยี นกิจกรรม กิจกรรมของดีบานฉันกิจกรรมสภานักเรียนประกอบดวย กิจกรรม
การพฒั นาเว็บไซตส ภานักเรยี น กิจกรรมการเลอื กตั้ง 4.0 กจิ กรรมสอ่ื ประชาสัมพันธ . ผลการเปรียบเทียบ
การพัฒนาทักษะความฉลาดทางดิจิทัลของผูเรียนดวยกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรูกิจกรรมพัฒนา
นักเรียน โดยการใชรูปแบบการพัฒนาทฤษฎีระบบ 4Gs โดยผลตางเฉลี่ยสูงขึ้น 8.22 คะแนน
การพัฒนาทกั ษะพลเมืองดิจิทัลดวยกิจกรรมพัฒนาผูเรียนโดยใชโมลเดล 4Gs มีระดับความพึงพอใจเฉล่ีย
รวม (µ = 4.64) อยูในระดับมากทีส่ ดุ

คาํ สาํ คัญ : โครงงานคอมพวิ เตอร ทักษะสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรยี นรู
(ก)

กติ ตกิ รรมประกาศ

การออกแบบและพัฒนานวตั กรรมฉบับน้ี สาํ เร็จลุลวงไดดวยดี เพราะไดรับความกรุณาและความ
ชวยเหลือเปนอยา งดี จากเพอ่ื นครูโรงเรยี นวัดบางใหญ ท่ีไดกรุณาใหคําปรึกษาแนะนํา และปรับปรุงแกไข
ขอ บกพรอ งตางๆ ตลอดมาตั้งแตต นจนเสร็จสมบูรณ ผพู ฒั นาขอกราบขอบพระคุณอยางสงู

ขอขอบพระคุณผูอํานวยการโรงเรียนวัดบางใหญ ที่ใหการสนับสนุนในการพัฒนานวัตกรรมของ
สถานศึกษา

ขอขอบคุณนักเรียนโรงเรียนวัดบางใหญที่ใหความรวมมือในการพัฒนานวัตกรรมเปนอยางดี
ผูวิจยั ขอระลกึ ถึง ผูท ่ีเปนเจาของแนวคดิ ทฤษฏี และงานวิจัยท่ผี วู จิ ัยนํามาอางในการทําการศึกษาฉบับนี้ไว
ในโอกาสนด้ี ว ย

ฉัตรพงศ ชแู สงนิล

(ข)

สารบญั

หนา

บทคัดยอ............................................................................................................................... (ก)
กติ ติกรรมประกาศ ................................................................................................................ (ข)
สารบญั ................................................................................................................................. (ค)
สารบญั ตาราง ....................................................................................................................... (จ)
สารบัญภาพ .......................................................................................................................... (ฉ)
บทท่ี 1
1
1 บทนาํ ........................................................................................................................ 4
ทม่ี าและความสาํ คญั ของปญ หา ......................................................................... 4
วตั ถปุ ระสงคน วตั กรรม...................................................................................... 4
ประโยชนท ีไ่ ดร ับ............................................................................................... 4
ขอบเขตของการศึกษา ...................................................................................... 5
นิยามศพั ทเฉพาะ.............................................................................................. 6
กรอบแนวคดิ นวตั กรรม..................................................................................... 6
29
2 การพัฒนานวัตกรรม................................................................................................... 34
แนวคดิ ทฤษฎี ................................................................................................... 38
ขัน้ ตอนการดําเนินการ...................................................................................... 38
ผลงานนวตั กรรมแนวทางการนํานวัตกรรมไปใช ............................................... 38
44
3 การทดลองใชนวัตกรรม .............................................................................................. 44
รูปแบบการทดลอง ........................................................................................... 44
วิธีการทดลอง ................................................................................................... 46
การเกบ็ รวบรวมขอมลู ...................................................................................... 44
การวิเคราะหข อ มลู ........................................................................................... 50
สถติ ทิ ีใ่ ชใ นการวิเคราะหขอมูล.......................................................................... 53

4 ผลการทดลองใชนวัตกรรม..........................................................................................
ผลการออกแบบกิจกรรมพฒั นาทกั ษะความฉลาดทางดิจิทลั ของผูเรียนดว ย
กระบวนการจดั กจิ กรรมการเรียนรูกจิ กรรมพฒั นานกั เรยี น โดยการใช
รูปแบบการพัฒนาทฤษฎรี ะบบ 4Gs……………………………………………….…………
ผลการเปรยี บเทียบผลการพฒั นาทักษะความฉลาดทางดิจทิ ัลของผูเรียนดวย
กระบวนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรูกิจกรรมพัฒนานกั เรยี น โดยการใช
รปู แบบการพัฒนาทฤษฎีระบบ 4Gs……………………………………………….…………
ผลการศกึ ษาความพงึ พอใจตอการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู พฒั นาทกั ษะความ
ฉลาดทางดจิ ทิ ลั ของผูเ รียนดวยกระบวนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรูก ิจกรรม
พัฒนานกั เรียน โดยการใชร ูปแบบการพฒั นาทฤษฎรี ะบบ 4Gs…………….…………
(ค)

สารบญั (ตอ)

บทท่ี หนา
5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และขอเสนอแนะ................................................................................. 55
สรปุ ผลการวจิ ัย ............................................................................................................. 55
อภปิ รายผล.................................................................................................................... 56
ขอเสนอแนะ.................................................................................................................. 59
บรรณานุกรม..................... .................................................................................................. 60
ประวตั ิผวู ิจยั ..................... ................................................................................................... 61

(ง)

สารบญั ตาราง

ตารางที่ หนา

1 แสดงผลการเชือ่ มโยงนวัตกรรมสูการจัดกิจกรรมการเรยี นรู………………………..…….……… 34
2 แสดงแสดงผลการออกแบบกิจกรรมการพัฒนาทักษะพลเมืองดิจิทัลดวยกิจกรรมพัฒนา 47

ผเู รียนโดยใชโมลเดล 4Gs ………...……………..………………………………………………..…...…… 39
3 แสดงผลทดสอบกอนและหลงั การพัฒนาทักษะพลเมืองดิจิทัลดวยกจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น

โดยใชโมลเดล 4Gs โดยการจัดการเรียนรูแบบโครงงานคอมพวิ เตอร............................... 50
4 แสดงผลการศึกษาความพึงพอใจตอการจัดกิจกรรมการเรียนรูการพฒั นาทักษะพลเมือง

ดิจิทัลดว ยกิจกรรมพฒั นาผูเรียนโดยใช โมลเดล 4Gs
สารสนเทศในรายวิชาโครงงานคอมพิวเตอร....................................................................... 53

(จ)

สารบญั ภาพ

ภาพท่ี หนา
1 การพฒั นาทักษะพลเมืองดจิ ทิ ัลในระดับช้นั ตางๆ........................................................ 18
2 ชุดของความสามารถดานการรบั รู สติปญญา อารมณ และสังคมทีจ่ ะทาํ ใหคนในยคุ 23
ดจิ ทิ ัล หรือ DQ…………………………………………………………………………..…………………
3 8 ทกั ษะในการเปนพลเมืองยุคดจิ ทิ ลั ........................................................................... 24
4 กระบวนการจัดกจิ กรรมการพัฒนาทกั ษะดจิ ทิ ลั .......................................................... 28

(ฉ)

1

บทที่ 1
บทนํา

1. ทีม่ าและความสําคญั
การเรียนรูในศตวรรษที่ 21 มุงเนนการพัฒนาทักษะตางๆ มากขึ้นทั้งดานทักษะในการใชชีวิต ทักษะ

การคิด และการใชเทคโนโลยีเพื่อการเรยี นรู (ICT) ซ่ึงสอดคลอ งและสมั พันธก บั สมรรถนะสําคัญของผูเรียนตาม
หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน 2551 ความสามารถในการส่ือสาร คือความรูสึกและทัศนะของตนเอง
เพื่อแลกเปล่ียนขอมูลขาวสารและประสบการณอัน จะเปนประโยชนตอการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้ง
การเจรจาตอรอง เพื่อขจัดและลดปญหาความขัดแยงตาง ๆ การเลือกรับหรือไมรับขอมูลขาวสาร ดวยหลัก
เหตุผลและความถูกตอง ตลอดจนการเลือกใชวิธีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบท่ีมีตอ
ตนเองและสังคม ในการเรียนรูปจจุบันความสามารถในการคิด เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห คิด
สังเคราะห คิดสรางสรรค คิดอยางมีวิจารณญาณ และการคิดเปนระบบ เพ่ือนําไปสูการสรางองคความรูหรือ
สารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคม ไดอยางเหมาะสม ผูเรียนมีความสามารถในการ
แกปญหา เปนความสามารถในการแกปญหาและอุปสรรคตาง ๆ ที่เผชิญไดอยางถูกตองเหมาะสมบนพ้ืนฐาน
ของหลักเหตผุ ล คุณธรรมและขอ มลู สารสนเทศ เขาใจความสัมพันธและการเปล่ียนแปลงของเหตุการณตาง ๆ
ในสังคม แสวงหาความรู ประยุกตความรูมาใชในการปองกันและแกไขปญหา และมีการตัดสินใจท่ีมี
ประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่เกิดข้ึนตอตนเอง สังคมและสิ่งแวดลอม นอกจากนี้ความสามารถในการ
ใชท ักษะชีวติ เปนความสามารถในการนํากระบวนการตาง ๆไปใชในการดําเนินชีวิตประจําวัน การเรียนรูดวย
ตนเอง การเรียนรูอยางตอเนื่อง การทํางาน และการอยูรวมกันในสังคมดวยการสรางเสริมความสัมพันธอันดี
ระหวางบุคคล การจัดการปญหาและความขัดแยงตาง ๆ อยางเหมาะสม การปรับตัวใหทันกับการ
เปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอม และการรูจักหลีกเล่ียงพฤติกรรมไมพึงประสงคท่ีสงผลกระทบตอ
ตนเองและผูอื่น การใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางสมํ่าเสมอและมีประสิทธิภาพเปนคุณลักษณะเบ้ืองตนของ
การเปนพลเมืองในยุคดิจิทัล (Digital Citizen) นอกจากนี้บุคคลผูน้ันจะตองมีทักษะและความรูท่ีหลากหลาย
ในการใชอินเทอรเน็ตผานอุปกรณและชองทางการสื่อสารประเภทตางๆ เชน สื่อสังคมออนไลน (Social
Network) และอปุ กรณอ ิเล็กทรอนกิ สรูปแบบใหม เปนตน ทักษะการใชอนิ เทอรเ นต็ และเทคโนโลยีสารสนเทศ
เพ่ือประโยชนในการดํารงชีวิตประจําวันไมเพียงพอตอคุณลักษณะของการเปนพลเมืองดิจิทัลท่ีสมบูรณ
หากแตบ คุ คลผนู นั้ จะตอ งใชเทคโนโลยีดงั กลา ว ในทางท่จี ะกอ ใหเ กิดประโยชนตอ บุคคลอ่ืนและสังคม เชน การ
เคารพสิทธิและหนาที่ของผูอื่นตลอดจนการใชเทคโนโลยีเพ่ือสื่อสารเพ่ือกอใหเกิดการเปล่ียนแปลงในทางที่ดี
และถกู ตอ ง การตระหนักถึงความสามารถในการเขาถึงเทคโนโลยีสารสนเทศของผูอ่ืน การเปนผูประกอบการ
และผบู รโิ ภคที่มีจรยิ ธรรม การเปน ผูสง สารและรับสารทีม่ ีมารยาท การเคารพตอกฎหมายและกฎระเบียบ การ
ใชเทคโนโลยีใหมีความเหมาะสมและไมสงผลเสียตอสุขภาพ เรียนรูวิธีการเสริมสรางความปลอดภัยในการใช
เทคโนโลยี ทักษะที่ผูเรียนควรเรียนรู ซ่ึงถือวาเปนสวนหน่ึงในการเปนพลเมืองในยุคดิจิทัลประกอบดวย 8
ทักษะความฉลาดทางดิจิทัลจาก World Economic Forum (Yuhyun Park, 2016) ดังนี้ ทักษะในการ

2
รักษาอัตลักษณท่ีดีของตนเอง (Digital Citizen Identity) ความสามารถในการสรางและบริหารจัดการอัต
ลักษณที่ดีของตนเองไวไดอยางดีทั้งในโลกออนไลนและโลกความจริง ทักษะในการจัดสรรเวลาหนาจอ
(Screen Time Management) ความสามารถในการบริหารเวลาที่ใชอุปกรณยุคดิจิตอล และสามารถการ
ทํางานที่หลากหลายในเวลาเดียวกันได ทักษะในการรับมือกับการคุกคามทางโลกออนไลน (Cyberbullying
Management) ความสามารถในการรับรู และรบั มือการคุกคามขม ขูบ นโลกออนไลนไ ดอ ยางชาญฉลาด ทักษะ
ในการรักษาความปลอดภัยของตนเองในโลกออนไลน (Cybersecurity Management) ความสามารถในการ
ปองกันขอมูลดวยการสรางระบบความปลอดภัยท่ีเขมแข็ง และปองกันการโจรกรรมขอมูลหรือการโจมตี
ออนไลนไ ด ทักษะในการรักษาขอมูลสวนตัว (Privacy Management): มีดุลพินิจในการบริหารจัดการขอมูล
สวนตัว โดยเฉพาะการแชรขอมูลออนไลนเพื่อปองกันความเปนสวนตัวทั้งของตนเองและผูอ่ืน ทักษะการคิด
วิเคราะหมีวิจารณญาณท่ีดี (Critical Thinking)ความสามารถในการวิเคราะหแยกแยะระหวางขอมูลที่ถูกตอง
และขอมูลท่ีผิด ขอมูลท่ีมีเน้ือหาดีและขอมูลท่ีเขาขายอันตราย ขอมูลติดตอออนไลนที่นาตั้งขอสงสัยและ
นาเชอ่ื ถือได และ ทักษะในการบรหิ ารจดั การขอ มูลท่ีผูใชงานมีการทิ้งไวบนโลกออนไลน (Digital Footprints)
ความสามารถในการเขาใจธรรมชาตขิ องการใชชีวติ ในโลกดจิ ติ อลวาจะหลงเหลอื รอ ยรอยขอมูลท้ิงไวเสมอ รวม
ไปถึงเขาใจผลลัพธที่อาจเกิดข้ึน เพ่ือการดูแลส่ิงเหลานี้อยางมีความรับผิดชอบ และ การใชเทคโนโลยีอยางมี
จรยิ ธรรม (Digital Empathy) ความเห็นอกเห็นใจ และเขาใจความรสู ึกผูอืน่ บนโลกออนไลน

ดังนั้นการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 เปนการเรียนรูหลายทาง หรือการบูรณาการความรูตางๆ ดวย
วิธีการท่ีหลากหลาย ผูเรียนสามารถโตตอบกับผูสอน ส่ือสารสิ่งที่เรียนรูได โดยเฉพาะการใชเทคโนโลยี
สารสนเทศ มาใชอํานวยความสะดวกในการเรียนรู และการเรียนรูการใชเทคโนโลยีควบคูไปกับการเรียนรู
ทักษะชีวิตและ ความสามารถดานเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีจะเกิดข้ึนกับผูเรียนในศตวรรษที่ 21 จะตองมีการ
เปล่ยี นแปลง การเรยี นรูจะตองเนนทก่ี ารเรยี นภาคปฏบิ ัตดิ า นเทคโนโลยี การใหผเู รียนไดลงมือทําจริงไดเรียนรู
จากประสบการณจ ริง ครตู อ งไมเนนสอน แตเ นน ออกแบบการเรียนรู เนนสรางแรงบันดาลใจ แลวการเรียนรูก็
จะเกิดจากภายในใจและสมองของผูเรียน ซึ่งการจัดการเรียนการสอนในลักษณะน้ีนั้นก็ไดสอดคลองกับ
ลักษณะของเด็กสมัยใหมคือมีอิสระท่ีจะเลือกส่ิงท่ีตนพอใจ แสดงความเห็นและลักษณะเฉพาะของตน ความ
สนุกสนานและการเลนเปน สวนหนง่ึ ของงาน การเรยี นรูและชีวิตทางสังคมการรวมมือ ตองการความเร็วในการ
ส่ือสาร การหาขอมูล และตอบคําถาม สรางนวัตกรรม นอกจากนั้น ยังมีผูใหความเห็นไววาเด็กยุคเจนเนอเร
ชันแซด (Generation Z) เปนกลุมผูเรียนที่ชอบใชอินเทอรเน็ต และนี่คือประเด็นสําคัญที่วาเหตุใดเทคโนโลยี
ถึงมีความสําคัญและความจําเปนตอการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 เพราะความกาวหนาดานเทคโนโลยี
สารสนเทศและการส่ือสารจะเปนปจจัยที่สําคัญท่ีทําใหการศึกษาในอุดมคติเปนจริงได เพราะสามารถแสดง
อักษรภาพ เสยี ง ภาพเคลอื่ นไหว รวมถงึ การสรา งสถานการณเ สมอื นจริง (Virtual Situation) ไดเ หมือนๆกับท่ี
หนงั สือ หนงั สือภาพ เทปเสยี ง วดี ีทศั น หรอื ส่ืออื่นๆ ที่มีทั้งหมด รวมท้ังเพ่ิมการปฏิสัมพันธ (Interaction) กับ
ผูใชได และสรางเครอื ขา ยใหสามารถติดตอสอ่ื สารไดอยางไรข อบเขต

กจิ กรรมพัฒนาผเู รยี น มงุ ใหผ เู รยี นไดพัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอยางรอบดานเพื่อความเปน
มนุษยท ีส่ มบรู ณ ทัง้ รา งกาย สตปิ ญ ญา อารมณ และสงั คม เสรมิ สรา งใหเ ปนผูม ศี ลี ธรรม จรยิ ธรรม มีระเบียบ
วินัย ปลูกฝงและสรางจิตสํานึกของการกระทําประโยชนเพ่ือสังคมสามารถจัดการตนเองได และอยูรวมกับ
ผูอื่นอยางมีความสุข เนนการจัดกิจกรรมในลักษณะของการบูรณาการองคความรูตางๆ ที่เก้ือกูลสงเสริมการ
เรียนรูตามกลุมสาระใหมีความกวางขาวงลึกซ้ึงย่ิงขึ้น อีกท้ังใหผูเรียนไดคนพบและใชศักยภาพท่ีมีในตนอยาง
เต็มท่ี เลือก ตัดสินใจ ไดอยางมีเหตุผลเหมาะสมกับตนเอง สามารถวางแผนชีวิตและอาชีพไดอยางมีคุณภาพ
เนนการเสริมสรางทักษะชีวิต วุฒิภาวะทางอารมณ ศีลธรรม และจริยธรรม กิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต

3
กิจกรรมสรางเสริมประสิทธิภาพทางการเรียน อื่นๆ เชน กิจกรรมชุมนุม กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมลูกเสือ-
เนตรนารี กิจกรรมสังคมและสาธารณะประโยชน กิจกรรมสภานักเรียน เปนตน โดยกิจกรรมเหลาน้ีมุงเนน
ทกั ษะชีวิตของผเู รียนเปนหลกั ในการจัดกิจกรรม การบูรณาการเทคโนโลยีสูทักษะชีวิตจึงเปนส่ิงสําคัญสําหรับ
ผูเรียนในปจ จบุ นั

ผูเรียนในยุคดิจิทัลมีความสามารถที่หลากหลายในการใชทรัพยากรเทคโนโลยี เคร่ืองมือ
อิเล็กทรอนิกสตางๆ แตยังขาดทักษะความสามารถในการใชและการอยูรวมกันในความเปนพลเมืองสังคม
ดิจิทัล ทําใหพฤติกรรมในโลกแหงความเปนจริง และโลกเสมือนมีความแตกตางกัน จึงเกิดพฤติกรรมบางอยาง
ทไ่ี มพงึ ประสงคเกิดขน้ึ การดาทอกันในโลกสังคมออนไลน การโพสขอ ความลามกอนาจาร การกลั่นแกลงกันใน
สังคมออนไลน การแสดงความคดิ เห็นในกระทูตางๆท่ไี มเ หมาะสม เปนตน ซ่ึงพฤติกรรมเหลาน้ีเกิดข้ึนบอยคร้ัง
ในการใชงานส่ือสังคมออนไลน การจะลดพฤติกรรมเหลานี้ลงและทําใหผูเรียนเกิดทักษะความเปนพลเมือง
ดิจิทัล ผูเรียนจะตองเรียนรูและฝกทักษะเหลาน้ี เชนการเคารพสิทธิและหนาที่ของผูอื่น การตระหนักถึง
ความสามารถในการเขาถึงเทคโนโลยีสารสนเทศของผูอ่ืน การเปนผูประกอบการและผูบริโภคที่มีจริยธรรม
การเปนผูสงสารและรับสารที่มีมารยาท การเคารพตอกฎหมายและกฎระเบียบ การใชเทคโนโลยีใหมีความ
เหมาะสมและไมสงผลเสียตอสุขภาพ เรียนรูวิธีการเสริมสรางความปลอดภัยในการใชเทคโนโลยี ทําใหผูเรียน
เกิดทักษะความเปนพลเมืองดิจิทัล การพัฒนาและสงเสริมทักษะชีวิตความเปนพลเมืองดิจิทัลของผูเรียน
สามารถจัดกิจกรรมและบูรณาการเขากับการจัดการเรียนรูในรายวิชาไดอยางหลากหลาย โดยเฉพาะอยางยิ่ง
กิจกรรมพัฒนาผูเรียนซึ่งมีจุดเนนในการเนนการเสริมสรางทักษะชีวิตพัฒนาผูเรียนตามศักยภาพ อยางรอบ
ดาน โดยในสถานศกึ ษาจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนท้ังในรูปแบบของกิจกรรมแนะแนวและกิจกรรมนักเรียนตาม
ความถนัดและความสามารถของผูเรียน กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรูหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
ฐาน ไดระบุกิจกรรมพัฒนาผูเรียน เปนสวนหนึ่งในการพัฒนาคุณภาพผูเรียนอยางรอบดานใหผูเรียน เกง ดี
และมีสุข โดยกิจกรรมเหลาน้ีลวนพัฒนาผูเรียนอยางรอบดานดวยการฝกความเปนระเบียบวินัย ความ
รับผิดชอบ การรูจักตนเอง การเรียนรูตามความถนัดและความสามารถของตนเอง และชวยเหลือสังคมอยาง
รอบดานการบูรณาการกิจกรรมพัฒนาผูเรียนดวยการพัฒนาทักษะพลเมืองดิจิทัลจะชวยใหผูเรียนพัฒนา
ตนเองอยา งชาญฉลาดรอบดา นมิคาํ นึงถึงคะแนนหรือผลสัมฤทธ์ิแตมุงพัฒนาทักษะชีวิตการอยูรวมกันในสังคม
อยา งมีความสุขและเปนพลเมืองดิจิทัลในปจจุบันไดอยางมีประสิทธิภาพและบูรณาการกระบวนการ 8 ทักษะ
พลเมืองดิจิทัล ดวยการใชรูปแบบการพัฒนาทฤษฎีระบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู 4Gs ประกอบดวย ครู-
นักเรียนดี (Good Coordinator) กระบวนการเรียนรูดี (Good Learning process) เทคโนโลยีดี (Good
Technology) ความฉลาดทางดิจิทัลดี (Good Digital intelligent) โดยมุงสูเปาประสงคในการพัฒนาทักษะ
พลเมืองดจิ ิทัลใหมี ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี และสอ่ื ดจิ ิทัลไดอยางปลอดภัย มีความรับผิดชอบ และมี
ประสิทธิภาพ สามารถใชเคร่ืองมือดิจิทัลเปล่ียนเปนความคิดท่ีตอบสนองการใชชีวิตประจําวันได ดวย
กระบวนการเรียนรโู ดยใชช ุมชนทองถ่ินของผูเรียนเปนฐานสนับสนุนกิจกรรมการเรียนรูกิจกรรมพัฒนาผูเรียน
บรู ณาการเทคโนโลยีผูว ิจัยจงึ ไดส นใจพัฒนาทกั ษะพลเมอื งดจิ ทิ ลั ดวยกิจกรรมพัฒนาผูเรียนโดยใชโมลเดล 4Gs
เพื่อพัฒนาทักษะความเปนพลเมืองดิจิทัลของผูเรียนในกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรูกิจกรรมพัฒนา
ผเู รยี น สง เสริมใหผเู รยี นสามารถอยใู นสังคมดิจิทลั ไดอ ยา งมคี วามสุข

4
2.วตั ถปุ ระสงคน วตั กรรม

1. เพื่อออกแบบกิจกรรมพัฒนาทักษะความฉลาดทางดิจิทัลของผูเรียนดวยกระบวนการจัดกิจกรรม
การเรียนรูกิจกรรมพัฒนานกั เรยี น โดยการใชร ปู แบบการพัฒนาทฤษฎรี ะบบ 4Gs

2. เพอื่ เปรยี บเทียบผลการพัฒนาทักษะความฉลาดทางดิจิทัลของผูเรียนดวยกระบวนการจัดกิจกรรม
การเรยี นรูก จิ กรรมพัฒนานกั เรียน โดยการใชรูปแบบการพฒั นาทฤษฎีระบบ 4Gs

3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจตอการจัดกิจกรรมการเรียนรู พัฒนาทักษะความฉลาดทางดิจิทัลของ
ผูเรียนดวยกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรูกิจกรรมพัฒนานักเรียน โดยการใชรูปแบบการพัฒนาทฤษฎี
ระบบ 4Gs
3. ประโยชนท ไ่ี ดรับ

1. ผเู รียนเกิดทกั ษะความฉลาดทางดิจิทัลดว ยกระบวนการจัดกจิ กรรมการเรียนรู กิจกรรม
พัฒนานกั เรียน

2. ผูเรยี นสามารถใชเ ครอ่ื งมือเทคโนโลยสี ารสนเทศบนพ้นื ฐานความเปนพลเมืองดิจิทัลไดอยา งมี
ประสิทธภิ าพ

4. ขอบเขตของการศึกษา
นวัตกรรมการพัฒนาทักษะพลเมืองดิจิทัลดวยกิจกรรมพัฒนาผูเรียนโดยใชโมลเดล 4Gs ที่ได

พัฒนาขึ้นน้ีนํามาใชกับผูเรียนในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2560 โดยใชระยะเวลา 20 ช่ัวโมง 5 กิจกรรม
พัฒนาผูเ รียนประกอบดว ย

1. กจิ กรรมลูกเสอื -เนตรนารี
2. กจิ กรรมชมุ นมุ
3. กิจกรรมแนะแนว
4. กิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน
5. กิจกรรมสภานักเรยี น
5. นยิ ามศัพทเ ฉพาะ
คุณลักษณะพลเมืองดิจิทัล หมายถึง ลักษณะของผูเรียนในสังคมดิจิทัลในการใชงานโลกเสมือนการ
เคารพสิทธิและหนาท่ีของผูอื่นตลอดจนการใชเทคโนโลยีเพื่อสื่อสารเพื่อกอใหเกิดการเปล่ียนแปลงในทางที่ดี
และถูกตอ ง การตระหนักถึงความสามารถในการเขาถึงเทคโนโลยีสารสนเทศของผูอ่ืน การเปนผูประกอบการ
และผบู ริโภคทม่ี จี รยิ ธรรม การเปน ผสู งสารและรับสารที่มีมารยาท การเคารพตอกฎหมายและกฎระเบียบ การ
ใชเทคโนโลยีใหม ีความเหมาะสมและไมส ง ผลเสยี ตอสขุ ภาพ
ทกั ษะความฉลาดทางดิจิทัล หมายถึง ทักษะทางดิจิทัลท่ีประกอบดวยทักษะ 8 ประการ ไดแกทักษะ
ในการรักษาอัตลักษณที่ดีของตนเอง (Digital Citizen Identity) ทักษะในการรับมือกับการคุกคามทางโลก
ออนไลน (Cyberbullying Management) ทักษะในการรักษาความปลอดภัยของตนเองในโลกออนไลน
(Cybersecurity Management) ทักษะในการรักษาขอมูลสวนตัว (Privacy Management) ทักษะการคิด
วิเคราะหมีวิจารณญาณท่ีดี (Critical Thinking) ทักษะในการบริหารจัดการขอมูลที่ผูใชงานมีการท้ิงไวบนโลก

5
ออนไลน (Digital Footprints) การใชเทคโนโลยีอยางมีจริยธรรม (Digital Empathy) ความเห็นอกเห็นใจ
และเขา ใจความรูสกึ ผูอ ่ืนบนโลกออนไลน

กิจกรรมพัฒนาผูเรียน หมายถึง กิจกรรมพัฒนาผูเรียน มุงใหผูเรียนไดพัฒนาตนเองตามศักยภาพ
พัฒนาอยางรอบดานเพื่อความเปนมนุษยท่ีสมบูรณ ท้ังรางกาย สติปญญา อารมณ และสังคม เสริมสรางให
เปนผูมีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย ปลูกฝงและสรางจิตสํานึกของการกระทําประโยชนเพ่ือสังคม
สามารถจัดการตนเองได และอยูรวมกับผูอื่นอยางมีความสุข ประกอบดวย 5 กิจกรรมไดแก
กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี กิจกรรมชุมนุม กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน
กจิ กรรมสภานกั เรียน

โมลเดล 4Gs หมายถึง รูปแบบการพัฒนาทฤษฎีระบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู 4Gs ประกอบดวย
ครู-นักเรียนดี (Teacher and Student) กระบวนการเรียนรูดี (Good Learning process) เทคโนโลยีดี
(Good Technology) ความฉลาดทางดิจิทลั ดี (Good Digital intelligent) โดยมุง สูเปาประสงคในการพัฒนา
ทกั ษะพลเมืองดิจทิ ลั ใหม ี ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี และสื่อดิจิทัลไดอยางปลอดภัย มีความรับผิดชอบ
และมปี ระสิทธิภาพ

6. กรอบแนวคดิ นวตั กรรม การพฒั นาทกั ษะพลเมอื งดจิ ิทัลดว ย
โมลเดล 4Gs กจิ กรรมพัฒนาผเู รียนโดยใชโ มลเดล
Good Teacher and Student 4Gs
Good Learning process
Good Technology
Good Digital intelligent
กจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น

ทกั ษะความฉลาดทางดิจทิ ัล
(Digital intelligent : DQ)
ทักษะพลเมอื งดจิ ิทัล (Digital
Citizen)

6

บทที่ 2
การพฒั นานวตั กรรม

การพัฒนาทักษะพลเมืองดจิ ิทลั ดว ยกจิ กรรมพัฒนาผเู รยี นโดยใชโมลเดล 4Gs
การพัฒนาทักษะพลเมืองดิจิทัลดวยกิจกรรมพัฒนาผูเรียนโดยใชโมลเดล 4Gs มีแนวคิดกระบวนการ
ในการพฒั นาดงั น้ี
1. กิจกรรมพฒั นาผเู รียน
2. คุณลกั ษณะพลเมืองดจิ ทิ ลั
3. การสอนความเปน พลเมืองดิจิทัล และความฉลาดทางดิจทิ ลั
4. การเรยี นรูจากการลงมือทาํ
5. โมเดล 4Gs
1. แนวคดิ ทฤษฎี
การพัฒนาทักษะการรูสารสนเทศของผูเรียนในศตวรรษที่ 21 ดวยการจัดกิจกรรมการเรียนรูใน
รายวิชาโครงงานคอมพวิ เตอรม แี นวคิดทฤษฎที ีใ่ ชใ นการแกปญ หาการใชเ คร่ืองมือในการจัดการเรียนรูของครูที่
ยังขาดประสิทธิภาพ ผูเรียนยังขาดทักษะการตระหนักถึงความสําคัญของขั้นตอนการคนควา การเขาถึง
สารสนเทศในการทําโครงงานคอมพวิ เตอร การแสวงรู ทกั ษะการประเมินส่อื สารสนเทศ การอางอิงขอมูล และ
ประสิทธภิ าพในการใชเ ครือ่ งมอื ในการทาํ โครงงานคอมพิวเตอร ดังนี้
1.1 กิจกรรมพฒั นาผเู รยี น
พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 กําหนดแนวการจัดการศึกษา โดยยึดหลักวา
ผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได และถือวาผูเรียนมีความสําคัญท่ีสุดกระบวนการจัด
การศึกษาตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ โดยจัดเน้ือหาสาระ และ
กิจกรรมใหสอดคลองกับความสนใจและความถนัดของผูเรียน คํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคลฝกทักษะ
กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ และการประยุกตความรูมาใชในการปองกันแกปญหาและ
เรียนรูจากประสบการณจริง กอปรกับ มีการเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็วของสังคมและเทคโนโลยี กอใหเกิดทั้ง
ผลดีและผลเสียตอการดําเนินชีวิตในปจจุบันของบุคคล ทําใหเกิดความยุงยาก ซับซอนมากย่ิงข้ึน จําเปนตอง
ปรับเปลี่ยนวิถากรดําเนินชีวิตใหสามารถดํารงอยูในสังคมไดอยางมีคุณคามีศักด์ิศรี และมีความสุข หลักสูตร
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กําหนดใหมีสาระการเรียนรู 8 กลุม และกิจกรรมพัฒนาผูเรียนซ่ึงเปนกิจกรรมที่จัด ให
ผูเรียนไดพัฒนาความสามารถของตนเองตามศักยภาพ มุงเนนเพ่ิมเติมจากกิจกรรมที่ไดจัดใหผูเรียนตามกลุม
สาระท่ี 8 กลุม การเขารว มและปฏิบัตกิ ิจกรรมทเี่ หมาะสมรวมกับผูอ่ืนอยางมีความสุข กับกิจกรรมท่ีเลือกดวย
ตนเอง ตามความถนัด และความสนใจอยางแทจริง การพัฒนาที่สําคัญ คือ การพัฒนาองครวมของความเปน

7
มนุษยใหครบทุกดาน ท้ังรางกาย สติปญญา อารมณ และสังคม ใหเปนผูมีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย
และมีคณุ ภาพ ปลูกฝง และสรา งจิตสาํ นึกของการทาํ ประโยชนเ พ่อื สังคม และประเทศชาติ

วสิ ัยทศั นข องกลมุ กจิ กรรมพฒั นาผูเรยี น เปน กิจกรรมทีจ่ ัดอยา งเปนกระบวนการ ดวยรูปแบบ วิธีการ
ที่หลากหลาย ใหไดรับประสบการณจากการปฏิบัติจริง มีความหมาย และมีคุณคาในการพัฒนา
ผูเรียนท้ังดานรางกาย จิตใจ สติปญญา อารมณ และสังคม มุงเสริมเจตคติ คุณคาชีวิต ปลูกฝงคุณธรรมและ
คานิยมที่พ่ึงประสงค สงเสริมใหรูเรียนรูจักและเขาใจตนเอง สรางจิตสํานึกในธรรมชาติและสิ่ง แวดลอม
ปรับตัวและปฏิบตั ิตนใหเปนประโยชนต อ สงั คม ประเทศชาตแิ ละดาํ รงชิวตี ิไดอ ยา งมีความสุข

กิจกรรมพัฒนาผูเรียน เนนการจัดกิจกรรมในลักษณะของการบูรณาการองคความรูตางๆ ท่ีเกื้อกูล
สงเสริมการเรียนรูตามกลุมสาระใหมีความกวางขาวงลึกซ้ึงยิ่งขึ้น อีกทั้งใหผูเรียนไดคนพบและใชศักยภาพท่ีมี
ในตนอยางเต็มที่ เลือก ตดั สนิ ใจ ไดอยางมีเหตุผลเหมาะสมกับตนเอง สามารถวางแผนชีวิตและอาชีพไดอยาง
มคี ุณภาพ เนนการเสริมสรางทักษะชีวิต วุฒิภาวะทางอารมณ ศีลธรรม และ จริยธรรม กิจกรรมพัฒนาทักษะ
ชวี ติ กจิ กรรมสรางเสริมประสทิ ธภิ าพทางการเรยี น เปน ตน

การจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนมุงพัฒนาใหบุคคลรูจักและเห็นคุณคาในตนเองและผูอ่ืนมีวุฒิภาวะทาง
อารมณ มีกระบวนการคิด มีทักษะในการดําเนินชีบิตอยางเหมาะสม และมีความสุข มีจิตสํานึกในการ
รับผิดชอบตอตนเอง ครอบครัว สังคมและประเทศชาติ โดยกําหนดเปาหมายในการจัด กิจกรรมพัฒนาผูเรียน
ดังนี้

1. ผูเรียนไดรับประสบการณท่ีหลากหลาย เกิดความรูความชํานาญ ท้ังวิชาการดูแลวิชาชีพอยาง
กวางขวางมากย่ิงขนึ้

2. ผูเรียนคนพบความสนใจ ความถนัด และพัฒนาความสามารถพิเศษเฉพาะตัวมองเห็นชองทางใน
การสรา งงาน อาชีพในอนาคตไดเ หมาะสมกับตนเอง

3. ผูเรียนเห็นคุณคาขององคความรูตางๆ สามารถนําความรูและประสบการณไปใชในการพัฒนา
ตนเอง และประกอบอาชีพ

4. ผเู รียนพฒั นาบคุ ลกิ ภาพ เจตคติ คานิยมในการดาํ รงชีวิต และสรางศลี ธรรม จรยิ ธรรม
5. ผเู รยี นมีจิตสาํ นกึ และทาํ ประโยชนเพ่ือสังคมและประเทศชาติ
1.1.1 กิจกรรมลูกเสอื -เนตรนารี

กระบวนการลูกเสือ คือกระบวนการพัฒนาเยาวชน มีวัตถุประสงคเพื่อฝกอบรม ใหการศึกษาและ
พัฒนาเยาวชนใหเปนพลเมืองดี โดยไมคํานึงถึงเชื่อชาติ ศาสนา ท้ังน้ีใหเปนไปตามความมุงประสงค หลักการ
และวิธีการทกี่ ารลูกเสอื โลกกาํ หนดไว

หลกั การจดั กจิ กรรมลกู เสอื เนตรนารี กระบวนการลกู เสือ มหี ลกั การสําคัญ 5 ประการ ดังนี้
1.มีศาสนาเปน ทีย่ ึดทางจติ ใจ จงรกั ภักดตี อ ศาสนาทีต่ นเองนบั ถอื และพึงปฏิบัติศาสนกิจดวย

ความจริงใจ
2.จงรักภักดีตอพระมหากษัตริย และประเทศชาติของตน พรอมดวยการสงเสริมและ

สนับสนุนสันติสุข และสันติภาพ ความเขาใจท่ีดีตอกันและกัน และความรวมมือซ่ึงกันและกัน ต้ังแต
ระดบั ทองถ่นิ ระดบั ชาติ ระดับนานาชาติ

3.เขารวมพัฒนาสังคม ยอมรับและใหความเคารพในเกียรติและศักดิ์ศรีของผูอ่ืน และเพ่ือน
มนษุ ยทกุ คน รวมทง้ั ธรรมชาติ และสรรพสิ่งทง้ั หลายในโลก

4.มคี วามรบั ผิดชอบตอการพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง

8
5.ลูกเสอื ทุกคนตองยดึ มัน่ ในคาํ ปฏญิ าณและกฎของลูกเสอื
แนวทางการจดั กจิ กรรมลูกเสือ เนตรนารี
การจัดกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี มีแนวทางการจัดกิจกรรมตามวิธีการทางลูกเสือ มีองคประกอบ
7 ประการ คือ
1. คําปฏิญาณและกฎ ถือเปนหลักเกณฑที่ลูกเสือทุกคนใหคํามั่นสัญญาวาจะปฏิบัติตาม กฎลูกเสือ
เปน หลกั ในการปฏบิ ัติ ไม “ หาม” ทําหรือ “ บังคับใหทํา” แตถาทําจะเกิดผลดีแกตนเอง เปนคนดี ไดรับการ
ยกยองเปนผมู ีเกยี รติเชอื่ ถือได
2. เรยี นรจู ากการกระทํา เปนการพัฒนาสวนบุคคล ความสําเร็จหรือไมสําเร็จของผลงานเกิดจากการ
กระทาํ ของตนเอง ทาํ ใหม ีความรูท่ชี ัดเจน สามารถแกปญหาตางๆ ไดดวยตนเอง และทาทายความสามารถของ
ตนเอง
3. ระบบหมู เปนรากฐานอันแทจริงของการลูกเสือ เปนพ้ืนฐานในการอยูรวมกัน การยอมรับซ่ึงกัน
และกัน การแบงหนาที่ความรับผิดชอบ การชวยเหลือซ่ึงกันและกัน เปนการเรียนรูการใชประชาธิปไตย
เบ้ืองตน
4. การใชสัญลักษณรวมกัน ฝกใหมีความเปนหนึ่งเดียวในการเปนสมาชิกลูกเสือ เนตรนารี โดยใช
สัญลักษณรวมกัน ไดแก เครื่องแบบ เคร่ืองหมาย การทําความเคารพ รหัส สัญญาณ ชวยใหผูเรียนตระหนัก
และภาคภูมิใจในการเปนสมาชิกขององศก ารลูกเสอื โลก เพราะลูกเสือเปนองศก ารทีม่ สี มาชิกมากที่สดุ ในโลก
5. การศึกษาธรรมชาติ ส่ิงสําคัญของการลูกเสือ คือ ธรรมชาติ เปนที่ปราถนาอยางยิ่งในการทํา
กิจกรรม ปาเขา ชายทะเล พุมไม การปนเขา การผจญภัย การบุกเบิก การอยูคายพักแรม การเดินทางไกล
เปนท่ีเสนหาแกเดก็ ทุกคน ถาขาดส่งิ เหลา นแี้ ลวกไ็ มเ รยี กวาการใชช วี ิตแบบลูกเสอื
6. ความกาวหนาในการเขารวมกิจกรรม กิจกรรมตางๆ ที่จัดใหเด็กทําตองมีความกาวหนาและดึงดูด
ใจ สรางใหเ กดิ ความกระตือรือรน การเลน เกมท่ีสนุกสนาน การแขงขันกันเปนส่ิงที่ดึงดูดใจและเปนการจูงใจท่ี
ดี
7. การสนับสนุนโดยผใู หญ ผใู หญเปนผูชี้แนะหนทางท่ีถูกตอง เพื่อใหเขาเกิดความมั่นใจ เด็กตองการ
ใหผ ูใหญชแ้ี นะ ผูใหญก็ตองนําพาไปสูหนทางที่ดี ใหไดรับการพัฒนาอยางถูกตองและดีที่สุดจึงเปนการรวมมือ
กันท้งั สองฝาย
1.1.2 กจิ กรรมชมุ นุม
กิจกรรมชุมนุม เปนการจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาความถนัด ความสนใจ ตามความตองการของผูเรียน
เปนกิจกรรมที่มุงเนนการเติมเต็มความรู ความชํานาญและประสบการณของผูเรียนใหกวางขวางยิ่งข้ึน เพื่อ
การคนพบความถนัดความสนใจของตนเอง และพัฒนาตนเองใหเต็มศักยภาพ ตลอดจนการพัฒนาทักษะของ
สงั คม และปลกู ฝงจติ สํานกึ ของการทําประโยชนเพอ่ื สงั คมการจดั กจิ กรรมชุมนมุ มหี ลกั การที่สําคัญคือ
1. เปน กจิ กรรมทเ่ี กิดจากความสมคั รใจของผเู รียน โดยมีครเู ปน ท่ีปรึกษา
2. เปนกจิ กรรมที่ผูเรียนชวยกนั คดิ ชว ยกนั ทาํ และชว ยกนั แกปญหา
3. เปน กจิ กรรมทพี่ ัฒนาผเู รยี นตามสาระท่ีกาํ หนดนอกเหนือจากการเรียนการสอน
4. เปน กิจกรรมท่สี ง เสริม และพัฒนาศกั ยภาพของผเู รียน
5. เปน กิจกรรมทีเ่ หมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา หรอื ทอ งถ่ิน

9

การจัดกจิ กรรมชุมนุม มีวตั ถุประสงค ดังตอ ไปน้ี
1. พฒั นาความรู ความสามารถ ดานการคดิ วเิ คราะห สงั เคราะห เพ่อื ใหเ กดิ ทกั ษะ

ประสบการณ ทง้ั วิชาการและวิชาชพี ตามศกั ยภาพ
2. มคี ุณธรรม จรยิ ธรรมและคานยิ มทพี่ ึงประสงค
3. มสี ุขภาพและบคุ ลกิ ภาพทางดานรางกายและจิตใจทีด่ ี
4. ใชเวลาวา งใหเ กิดประโยชนตอ ตนเอง ชุมชน สงั คม และประเทศชาติ
5. มีมนุษยสัมพันธใ นการทํางานรวมกับผอู นื่ ในระบอบประชาธิปไตย

จากวตั ถุประสงคด งั กลาว สามารถกาํ หนดพฤตกิ รรมบงช้หี รือตวั ช้วี ัดและเปาหมายการจัดกิจกรรมได
ดงั ตอไปนี้

วตั ถปุ ระสงค พฤตกิ รรมบงช้ี/ตวั ชี้วัด เปาหมายการจดั กิจกรรม
1. พัฒนาความรู ความสามารถ 1.1 มกี ารจดั ทําโครงงาน/ ผลงาน/ ผูเรยี นไดพัฒนาความรแู ละทักษะ
ดานการคดิ วเิ คราะห สงั เคราะห ชน้ิ งาน จนเกดิ เปน โครงงาน ผลงาน
เพือ่ ใหเ กดิ ทักษะ ทั้งประสบการณ 1.2 เกดิ ทักษะการคิด การตัดสนิ ใจ ชน้ิ งานตาม
และวชิ าชพี ตามศักยภาพ และการแกป ญ หา ศักยภาพของแตล ะบุคคล
2. มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และ 1.3 มที ักษะการวางแผนและการ
คา นยิ มท่ีพึงประสงค จัดการ
1.4 รเู ขา ใจความสนใจความถนัด
และ
ศักยภาพของตน
1.5 ใชภ าษาในการส่อื สารได
ถกู ตอง
1.6 มีจินตนาการความคิดรเิ ร่ิม
สรางสรรค
2.1 มกี ริ ิยามารยาททีด่ ี ผเู รยี นมีคุณธรรมจรยิ ธรรมและ
2.2 มีระเบยี บวนิ ยั คานยิ ม ท่ีพงึ ประสงคเ ปน
2.3 มคี วามเอื้อเฟอเผ่ือแผ แบบอยา งแกผูอ่ืนได
2.4 มคี วามซื่อสัตยส ุจรติ
2.5 มีสัมมาคารวะออนนอมถอม
ตน
2.6 มคี วามสามัคคี
2.6 มนี าํ้ ใจตอ ครู เพื่อนและผูอ่นื
2.7 รบั ผิดชอบตอ งานทไ่ี ดร บั
มอบหมาย
2.8 ตรงตอ เวลา

10

วตั ถปุ ระสงค พฤติกรรมบงชี/้ ตวั ชวี้ ดั เปาหมายการจัดกจิ กรรม
3. มีสขุ ภาพและบุคลกิ ภาพดาน 2.9 อนุรักษ พัฒนาและรักษา
รางกายและจติ ใจทดี่ ี สมบัติของโรงเรยี น
3.1 รจู ักการรักษาสขุ ภาพสว นตัว ผเู รยี นมสี ุขภาพกายและสขุ ภาพจิต
4. ใชเ วลาวางใหเกดิ ประโยชนตอ 3.2 รา เริงแจม ใส มคี วามม่นั คงทาง ดี และดาํ รงชีวติ อยา งมีความสุข
ตนเอง ชุมชน สงั คม และ อารมณ
ประเทศชาติ 3.3 อดทน อดกล้นั ตอสงิ่ ยวั่ ยุ
5. มีมนุษยสัมพันธใ นการทํางาน 3.4 มีสมาธิตอการทํางาน
รว มกบั ผูอ ื่นในระบอบ 3.5 มสี นุ ทรียภาพทางอารมณ
ประชาธิปไตย 4.1 บําเพ็ญประโยชนต อสวนรวม ผูเรยี นใชเ วลาวางใหเ กดิ ประโยชน
4.2 ใชเวลาทีม่ ีใหเ กิดประโยชน ตอ ตนเองและสว นรวม

5.1 มีความเปน ผนู ําและผตู ามท่ดี ี ผเู รียนสามารทาํ งานและอยู
5.2 สามารถทํางานรวมกับผูอ่ืนได รวมกับผูอื่นไดอยา งมีความสุข
5.3 เคารพในกฎ กตกิ าของกลุม
และสังคม
5.4 รบั ฟง และเคารพความคดิ เห็น
ของผูอนื่

1.1.3 กิจกรรมแนะแนว
กิจกรรมแนะแนว เปนกิจกรรมที่สงเสริมและพัฒนาความสามารถของผูเรียน ใหเหมาะสมตามความ
แตกตางระหวา งบุคคล สามารถคนพบและพัฒนาศักยภาพของตน เสริมสรางทักษะชีวิต วุฒิภาวะทางอารมณ
การเรียนรูในเชิงพหุปญญา และการสรางสัมพันธภาพท่ีดี ซ่ึงผูสอนทุกคนตองทําหนาท่ีแนะแนวใหคําปรึกษา
ดา นชีวติ การศึกษาตอ และการพฒั นาตนเองสูโลกอาชีพและการมีงานทํา (หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.
2551) วตั ถุประสงคของกจิ กรรมแนะแนว กรมวชิ าการ (2546) ไดก าํ หนดวัตถุประสงคของกิจกรรมแนะแนว
ดังตอไปนี้
1. เพื่อใหผ ูเรียนคนพบความถนัด ความสามารถ ความสนใจของตนเอง รักและเห็นคุณคาของตนเอง
และผูอ่ืน
2. เพอื่ ใหผเู รยี นรูจ กั การแสวงหาความรจู ากขอ มูล ขา วสาร แหลงเรียนรู ท้ังทางดานการศึกษา อาชีพ
สวนตัว สังคม เพ่ือนําไปใชในการวางแผนเลือกแนวทางการศึกษา อาชีพ ใหเหมาะสมสอดคลองกับศักยภาพ
ของตนเอง
3. เพอ่ื ใหผเู รียนไดพ ฒั นาบุคลิกภาพและปรับตวั อยใู นสังคมไดอยา งมีความสขุ
4. เพ่อื ใหผูเรียนมีความรู ทักษะ มคี วามคดิ สรางสรรคใ นงานอาชีพและมเี จตคติที่ดีตออาชพี ทส่ี จุ รติ
5. เพ่ือใหผูเรยี นมคี า นิยมที่ดีงามในการดาํ เนินชีวติ เสริมสรางวนิ ัย คณุ ธรรมและจริยธรรมแกผูเรียน
6. เพอื่ ใหผ ูเ รียนมจี ิตสาํ นึกในการรับผิดชอบตอตนเอง ครอบครัว สังคมและประเทศชาติ
แนวทางการจัดกจิ กรรมแนะแนว 3 ลักษณะ ดังตอไปนี้

11

1. การจัดบริการแนะแนวในสถานศึกษาทุกสถานศึกษาสามารถจัดบริการแนะแนวอยางเปนระบบ
โดยมบี รกิ าร 5 บริการ และครอบคลุมขอบขายงานแนะแนวทั้ง 3 ดาน คือ ดานการศึกษา อาชีพ สวนตัวและ
สังคม ทั้งนี้จะตองมีการกําหนดผูรับผิดชอบอยูในโครงสรางการบริหารของโรงเรียน และตองมีโครงการ
แผนงาน งบประมาณทีแ่ สดงถงึ การปฏิบตั ิงานท่ีตอเน่ืองท้ังป โดยมีครูแนะแนวเปนผูนําในการดําเนินงาน เชน
การเขา คา ย โครงการตาง ๆ นิทรรศการ การปฐมนเิ ทศ โฮมรูม ปายนเิ ทศ กจิ กรรมหนา เสาธง เปน ตน

2. การจัดกิจกรรมแนะแนวในกิจกรรมพัฒนาผูเรียนตามหลักสูตร ซ่ึงถือเปนสวนสําคัญในการจบ
หลกั สตู ร โดยมีครปู ระจําชน้ั /ครผู ไู ดรับมอบหมายใหจดั กิจกรรมแนะแนวเปน ผูรบั ผิดชอบ

3. การประยุกตใชหลกั การและกระบวนการแนะแนวในการจัดหลักสูตรและพัฒนาการเรียนการสอน
การดูแลชวยเหลอื

ผเู รยี นโดยทุกคนที่มีสวนเกี่ยวของกับการพัฒนาผูเรียนการดําเนินงานแนะแนวในสถานศึกษาตองจัด
ใหครอบคลมุ ขอบขา ยงานแนะแนวทง้ั 3 ดาน ไดแก

1. ดานการศึกษา ใหผ เู รียนไดพัฒนาตนเองในดานการเรยี นอยางเต็มตามศกั ยภาพรูจกั แสวงหาและใช
ขอมูลประกอบการวางแผนการเรียนหรือการศึกษาตอไปอยางมีประสิทธิภาพ มีนิสัยใฝรูใฝเรียน มีวิธีการ
เรียนรู และสามารถวางแผนการเรียนหรอื การศกึ ษาตอ ไดอยา งเหมาะสม

2. ดา นอาชีพ ใหผูเรียนไดรูจักตนเองในทุกดาน รูและเขาใจโลกของงานอาชีพอยางหลากหลายมีเจต
คตทิ ดี่ ีตอ อาชพี สจุ ริต มกี ารเตรียมตวั สอู าชพี สามารถวางแผนเพ่ือประกอบอาชีพตามที่ตนเองมีความถนัดและ
สนใจ

3. ดานสวนตัวและสังคม ใหผูเรียนรูจักและเขาใจตนเอง รักและเห็นคุณคาของตนเองและผูอื่น รักษ
ส่ิงแวดลอม มีวุฒิภาวะทางอารมณ มีเจตคติที่ดีตอการมีชีวิตที่ดีมีคุณภาพ มีทักษะชีวิตและสามารถปรับตัว
ดาํ รงชวี ติ อยใู นสงั คมไดอ ยา งมีความสขุ

กระบวนการจัดกิจกรรมแนะแนวในการจัดกิจกรรมแนะแนว มีกระบวนการดังตอไปนี้ (กรมวิชาการ
2546)

1. สํารวจสภาพปญหา ความตองการและความสนใจของผูเรียน เพื่อใหใชเปนขอมูลในการกําหนด
แนวทางและแผนการจดั กิจกรรมแนะแนว

2. ศึกษาวิสยั ทศั นข องสถานศึกษาและวเิ คราะหขอมูลของผูเรียนท่ีไดจากการสํารวจ เพื่อทราบปญหา
ความตองการและความสนใจ นําไปกําหนดสาระและรายละเอยี ดของกจิ กรรมแนะแนว

3. กําหนดสัดสวนสาระของกิจกรรมในแตละดาน ครอบคลุมดานการศึกษา การงานและอาชีพ ชีวิต
และสังคม ใหไดส ัดสวนทเ่ี หมาะสม โดยยดึ สภาพปญ หา ความตอ งการและความสนใจ ตลอดจนธรรมชาติและ
ผูเรยี นเปนหลกั ท้งั น้ี ครแู ละผเู รยี นมสี ว นรว มในการจดั สาระของกิจกรรม

4. กําหนดแผนการจัดกิจกรรมแนะแนว เม่ือกําหนดสัดสวนสาระของกิจกรรมในแตละดานแลววาแต
ละภาคเรียนจะตองจัดกิจกรรมแนะแนวในสาระดานใด จํานวนกี่ช่ัวโมง ตอมาจะตองกําหนดรายละเอียดของ
แตล ะดา นไวใ หช ดั เจนวา ควรมเี รอ่ื งอะไรบาสง เพือ่ จะไดจัดทาํ เปน รายละเอยี ดในแตล ะกิจกรรมยอยตอไป

5. การจัดทํารายละเอียดของแตละกิจกรรม เร่ิมตั้งแตกําหนดชื่อกิจกรรม จุดประสงค เวลา เน้ือหา/
สาระ วิธีดําเนนิ กจิ กรรม ส่อื /อุปกรณ และการประเมนิ ผล

6. ปฏิบตั ิตามแผน วดั ประเมนิ ผล สรปุ รายงาน

12

กรอบความคดิ กจิ กรรมแนะแนว
การจดั กจิ กรรมแนะแนวมีวตั ถุประสงคเพื่อพัฒนาผูเรียนใหบรรลุตามวัตถุประสงค ตามท่ีสถานศึกษา
กําหนดและตอบสนองจุดมุงหมายของหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. 2544 และของหลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พ.ศ. 2551 กรอบแนวคิดในการจัดกิจกรรมแนะแนวครอบคลุมตามแผนภาพ ดังน้ี (กรม
วชิ าการ, 2546) (แนวทางการจัดกิจกรรมพฒั นาผเู รียนตามหลักสูตรการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พ.ศ. 2551)
คณะอนุกรรมการพัฒนาคุณภาพวิช าการ กลุมกิจกรรมพัฒนาผูเรียน กรมวิช าการ
กระทรวงศึกษาธิการ
จากกรอบความคิดกิจกรรมแนะแนวซ่ึงมีขอบขายครอบคลุมการศึกษา ดานการงานและอาชีพ ดาน
ชีวติ และสังคม ในการจดั กิจกรรมจําเปนตองจัดกิจกรรมท้ัง 3 ดานไปพรอม ๆ กัน ดังน้ัน จึงไดผสมผสานและ
บูรณาการเปน กลมุ กจิ กรรมใหญ ๆ 4 กลุม ดงั นี้
กจิ กรรมรจู กั เขา ใจ และเหน็ คุณคาในตนเองและผอู ่ืน
กิจกรรมการแสวงหาและใชขอ มูลสารสนเทศ
กิจกรรมการตัดสนิ ใจและแกปญ หา
กจิ กรรมการปรับตัวและดาํ รงชีวติ
กิจกรรมกลุมท่ี 1 มีจุดมุงหมายเพื่อใหผูเรียนรูจัก เขาใจและเห็นคุณคาในตนเองและผูอ่ืน เปน
กิจกรรมท่ีชวยใหผูเรียนสามารถรูจักตนเองและเขาใจตนเอง ท้ังในดานความถนัด ความสนใจ ความสามารถ
จุดเดน จุดดอ ย นิสยั อารมณ ความภูมใิ จ และเห็นคณุ คา ในตนเองและผูอน่ื
กิจกรรมกลุมท่ี 2 มีจุดมุงหมายเพื่อใหผูเรียนมีความสามารถในการแสวงหาและใชขอมูลสารสนเทศ
เปนกิจกรรมที่ชวยใหผูเรียนมีทักษะ และวิธีการแสวงหาขอมูลจากแหงตาง ๆ รวบรวมและจัดระเบียบขอมูล
สามารถจดั ระบบ กลั่นกรอง เลอื กใชข อ มูลอยา งฉลาด เหมาะสมและเหน็ คณุ คาในการใชข อ มูลสารสนเทศ
กิจกรรมกลุมท่ี 3 มีจุดมุงหมายเพ่ือใหผูเรียนมีความสามารถในการตัดสินใจและแกปญหาไดอยาง
เหมาะสม เปนกิจกรรมท่ีชวยใหผูเรียน สามารถกําหนดเปาหมาย วางแผน วิเคราะห สังเคราะห และ
ประเมินผล ตลอดจนปรับปรุงแผนการดําเนินงาน โยใชขอมูล คุณธรรมและจริยธรรมเปนพื้นฐานในการ
ตดั สินใจ
กิจกรรมกลุมที่ 4 มีจุดมุงหมายเพื่อใหผูเรียนมีความสามารถในการปรับตัวและการดํารงชีวิตอยางมี
ความสุข เปนกิจกรรมที่ชวยใหผูเรียนเขาใจยอมรับตนเองและผูอื่น มีวุฒิภาวะทางอารมณแสดงออกอยาง
เหมาะสม มีมนุษยสมั พนั ธส ามารถทํางานรวมกับผอู ืน่ และดํารงชีวิตอยใู นสงั คมไดอ ยางมีความสุข
1.1.4 กิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณะประโยชน
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน ซ่ึงเปนหนาท่ีของสถานศึกษาทุกแหงจะตองเนนการสราง
เยาวชนกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชนเปนกิจกรรมท่ีตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตนเอง
ตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพโดยคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคลและพัฒนาการทางสมองเนนให
ความสาํ คญั ทั้งความรู

13
และคณุ ธรรมจรยิ ธรรมจดั กิจกรรมโดยใหผเู รียนคิดสรา งสรรค ออกแบบกิจกรรมเพ่ือสังคมและ
สาธารณประโยชนอ ยา งหลากหลายรูปแบบเพอ่ื แสดงถงึ ความรับผิดชอบตอสงั คมในลักษณะจิตอาสา
วตั ถุประสงค
1. เพื่อปลกู ฝง และสรา งจิตสํานกึ ใหแกผูเรียนในการบําเพ็ญตนใหเปนประโยชนตอครอบครัวโรงเรียน
ชมุ ชนสังคมและประเทศชาติ
2.เพ่ือใหผูเรียนมีความคิดริเร่ิมสรางสรรคในการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชนตาม
ความถนดั และความสนใจในลกั ษณะอาสาสมัคร
3. เพอื่ ใหผ เู รยี นมีความรูค ณุ ธรรมจริยธรรมตามคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค
4. เพอ่ื ใหผ เู รยี นมีจิตสาธารณะและใชเวลาวา งใหเ ปนประโยชน
แนวการจัดกจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชนมแี นวการจดั ดงั นี้
การจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชนเนนใหผูเรียนรวมกันสํารวจและวิเคราะหสภาพ
ปญหารวมกันออกแบบการจัดกิจกรรมวางแผนการจัดกิจกรรมปฏิบัติกิจกรรมตามแผน..รวมสรุปและ
ประเมินผลการจัดกิจกรรมรวมรายงานผลพรอมท้ังประชาสัมพันธ และเผยแพรผลการจัดกิจกรรมการจัด
กิจกรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชนผเู รียนสามารถเลอื กจัดกิจกรรมหรือเขารวมกิจกรรมไดด ังนี้
1. จัดกิจกรรมภายในโรงเรียน (กจิ กรรมในวิถชี ีวติ โรงเรยี นเพอ่ื ปลูกฝง จิตอาสา)เปนกิจกรรมทผี่ เู รียน
และครูทป่ี รกึ ษากจิ กรรมรวมกันวางแผนปฏิบัติกิจกรรมจิตอาสาในวิถีชีวิตของชั้นเรียนและโรงเรียน..
จนเกิดเปนนิสัยในการสมัครใจทํางานตางๆเพ่ือประโยชนของสวนรวมซึ่งงานเหลานี้จะขยายขอบเขตจากใกล
ตัวไปสสู งั คมที่อยูภายนอกได
2. จัดกิจกรรมภายนอกโรงเรียน (กิจกรรมอาสาสมัครเพ่ือสังคม) เปนกิจกรรมท่ีผูเรียนไดรับการ
สนับสนุนตามแผนการจัดกิจกรรมโดยใหทํากิจกรรมดวยความสมัครใจที่เปนประโยชนแกชุมชนและสังคม
โดยรวม
1.1.5 กิจกรรมสภานกั เรียน
การเปดโอกาสใหนักเรียนทุกคนมีสวนรวมในการบริหารจัดการและพัฒนาโรงเรียน โดยใช
กระบวนการประชาธปิ ไตยอันเปนวัฒนธรรมอันอยูรวมกันในโรงเรียน เปนกลไกในการดําเนินงาน และมุงเนน
ใหนักเรียนไดซึมซับละคุนเคยกับบรรยากาศความเปนประชาธิปไตยในการสรางประสิทธิภาพความเปนธรรม
และความสงบสขุ ในสังคม ซึง่ รัฐบาลทุกยุคทุกสมัยมีความตระหนักถึงความสําคัญของการเสริมสรางความเปน
ประชาธิปไตย การใชหลักธรรมาภิบาล ความสมานฉันท และความพอเพียงใหเกิดข้ึนอยางย่ังยืนในสังคมไทย
โดยมุงท่ีจะพัฒนาคน โดยการใชคุณธรรมพ้ืนฐานของกระบวนการเรียนรูท่ีเช่ือมโยง ความรวมมือของสถาบัน
ความครัว ชุมชน สถาบันศาสนาและสถาบันการศึกษา
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร โดยสาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐานไดใหความสําคัญตอผูเรียน ซึ่ง
ถือเปน ทรัพยากรบุคคลและพลงั สาํ คญั ของชาติ ในการสบื ทอดความเปน ชาติ ศาสนา ภูมิปญญาและวัฒนธรรม
การดําเนนิ งาน สภานกั เรยี นเปรยี บเสมอื นเวทสี ําหรบั ฝก ใหนกั เรียนเปนนกั ประชาธิปไตยอยางแทจริง คือ รูจัก
การเปนผูให ผูรับ ผูนําและผูตามท่ีดี มีความรับผิดชอบตอหนาท่ี เปนกิจกรรมท่ีสงเสริมใหเกิดการเรียนรูและ
เขา ใจวถิ ีชวี ิตแบบประชาธปิ ไตย มงุ เนน ใหเด็กคดิ เปน ทําเปน แกปญหาเปน เปน สมาชิกทดี่ ขี องสังคม สงเสริม

14
ความสามัคคีในหมูคณะ สงเสริมการเรียน การสอนตามหลักสูตรปจจุบันที่มุงเนนความเปนไทย ความเปน
พลเมอื งที่ดขี องชาติ

ดวยความตระหนักถึงเด็กและเยาวชนเปนทรัพยากรมนุษยท่ีมีคายิ่ง หากไดรับการพัฒนาและไดรับ
โอกาสใหใ ชความสามารถอยา งเต็มศกั ยภาพ ยอมเปน กาํ ลงั สาํ คัญในการสืบทอดเอกลักษณความเปนไทย ธํารง
ไวซ่ึงความเปนชาติ ศาสนา พระมหากษัตริยรวมถึงการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมสามารถ
พัฒนาประเทศชาติใหทัดเทียมอารยประเทศ เด็กและเยาวชนทุกคนจึงเปนอนาคตที่ดีของสังคมและ
ประเทศชาติ โรงเรียนวดั บางใหญ จึงไดด ําเนินการพัฒนากิจกรรม “สภานักเรียน” อยางเปนรูปธรรม มาอยาง
ตอเนื่อง เพ่ือใหนักเรียนไดเรียนรูบทบาทหนาที่ความเปนพลเมืองที่ดีตามรูปแบบการปกครองในระบบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขตระหนักถึงความเปนไทย มีคุณธรรม จริยธรรม และวิถี
ประชาธปิ ไตยอันไดแ ก คารวะธรรม สามัคคธี รรม ปญญาธรรมรวมถึงคานิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการอัน
ไดแก มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย ซ่ือสัตยเสียสละ อดทน มีอุดมการณในสิ่งที่ดีงามเพื่อสวนรวม
กตัญูตอพอแม ผูปกครอง ครูอาจารย ใฝหาความรู หม่ันศึกษาเลาเรียนท้ังทางตรงและทางออม รักษา
วัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงาม มีศีลธรรม รักษาความสัตย หวังดีตอผูอ่ืน เผื่อแผและแบงปน เขาใจเรียนรู
การเปนประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขที่ถูกตอง มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผูนอย
รูจักเคารพผูใหญ มีสติ รูตัว รูคิด รูทํา รูปฏิบัติตามพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ รูจักอด
ออมไวเมื่อยามจําเปน มีไวพอกินพอใช ถาเหลือก็แจกจายจําหนาย และพรอมท่ีจะขยายกิจกรรมเมื่อมีความ
พรอม มีภูมิคุมกันที่ดี มีความเขมแข็งทั้งรางกายและจิตใจ ไมยอมตออํานาจฝายตํ่าหรือกิเลส มีความละอาย
เกรงกลัวตอ บาปตามหลักศาสนา คํานึงถึงผลประโยชนสวนรวมและของชาติ มากกวาผลประโยชนของตนเอง
โดยมุงเนนใหผูเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม รักสามัคคี ปรองดอง สมานฉันท รักชาติ ศาสนกษัตริย ภูมิใจใน
ความเปนไทย หางไกลยาเสพติด มีคุณลักษณะทักษะทางสังคมท่ีเหมาะสม และพัฒนาตนเองไดอยางเต็ม
ศักยภาพ บนพื้นฐานตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พรอมกาวสูความเปนสากล โดยอาศัยความรวมมือ
ของทุกภาคสวน

ในการจัดกิจกรรมสภานักเรียน เพื่อเปนการสงเสริมใหนักเรียนไดฝกฝนใหรูจักการแสดงออก มี
การเปนผูนํา ผูตามในสังคม การอยูรวมกันในสังคมไดอยางมีความสุข การจัดกิจกรรมสภานักเรียนเพ่ือ
พัฒนาผเู รยี นควรมหี ลักการจัด ดังน้ี

1. มีการกาํ หนดวตั ถปุ ระสงคแ ละแนวปฏิบัตทิ ีช่ ดั เจนและเปน รปู ธรรม
2. จดั ใหเ หมาะสมกบั วัย วฒุ ภิ าวะ ความสนใจ ความถนัดและความสามารถของนกั เรยี น
3. บรู ณาการวิชาการกับชวี ติ จรงิ ใหผูเรียนไดตระหนกั ถึงความสาํ คัญของการเรียนรตู ลอดชีวติ
4. ใชก ระบวนการตา ง ๆ อยา งหลากหลายกจิ กรรมเพ่อื ใหน กั เรียนไดฝ ก การคดิ สรางสรรคจ ินตนาการ
5. จํานวนสมาชกิ มคี วามเหมาะสมกับลกั ษณะของกิจกรรม
6. มีการกําหนดเวลาในการจัดกิจกรรมใหเหมาะสม สอดคลองกับวิสัยทัศนและเปาหมายของ
สถานศึกษา
7. นกั เรียนเปนผดู ําเนนิ การ ครูเปนท่ปี รกึ ษาถอื เปน หนา ท่ีและงานประจาํ โดยคํานึงถึงความปลอดภัย
8. ยดึ หลกั การมีสวนรว มโดยเปดโอกาสใหค รู ชมุ ชน ผปู กครองมีสว นรว มในการจดั กิจกรรม
9. มีการประเมินผลการจัดกิจกรรม โดยวิธีการท่ีหลากหลายและสอดคลองกับกิจกรรมอยางเปน
ระบบและตอเนือ่ ง โดยถอื วา เปนเกณฑป ระเมนิ ผลในการผานคุณลักษณะอันพึงประสงคดวย

15
1.2 คณุ ลกั ษณะพลเมอื งดิจทิ ลั
พลเมืองดิจิทัล(Digital Citizens) เปนไดเขามามีบทบาทในการดําเนินกิจกรรมดานตางๆ ใน
ชีวิตประจําวัน ประเทศไทยใหความสําคัญกับเร่ืองดังกลาวอยางจริงจังหลังจากที่รัฐบาลผลักดันนโยบาย
เศรษฐกิจดิจทิ ัล (Digital Economy) เพ่อื เสรมิ สรางความเขม แขง็ ใหกับระบบเศรษฐกิจและเตรียมความพรอม
เขาสูประชาคมอาเซียนในอนาคตอันใกลน้ีในยุคปจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศมีความเกี่ยวของกับการใช
ชีวิตประจําวันอยางหลีกเลี่ยงไมไดจึงมีความจําเปนอยางยิ่งท่ีทุกคนควร เสริมสรางศักยภาพการใชเทคโนโลยี
ดงั กลา วอยา งชาญฉลาดและกาวเขาสูค วามเปน พลเมืองในยุคดิจิตอลไดอยางภาคภมู ิ
คณุ ลกั ษณะเบอ้ื งตน ของพลเมอื งดจิ ิทัล
การใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางสมํ่าเสมอและมีประสิทธิภาพเปนคุณลักษณะเบื้องตนของการเปน
พลเมืองในยุคดิจิทัลนอกจากน้ีบุคคลผูนั้นจะตองมีทักษะและความรูท่ีหลากหลายในการใชอินเทอรเน็ตผาน
อุปกรณและชอ งทางการสอื่ สารประเภทตา งๆ เชน โซเชยี ลเนตเวิรก (Facebook, Twitter, Instagram, Line)
และอุปกรณอิเล็กทรอนิกสร ปู แบบใหม (แทบ็ เลต็ และมอื ถือสมารท โฟน) เปนตน อยา งไรก็ตามมีผูตั้งขอสังเกต
วาทักษะการใชอินเทอรเนตและเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือประโยชนในการดํารงชีวิตประจําวันไมเพียงพอตอ
คุณลกั ษณะของการเปนพลเมอื งดิจิตอลท่ีสมบูรณ หากแตบุคคลผูน้ันจะตองใชเทคโนโลยีดังกลาว ในทางที่จะ
กอใหเกิดประโยชนตอบุคคลอ่ืนและสังคม เชน การเคารพสิทธิและหนาท่ีของผูอ่ืนตลอดจนการใชเทคโนโลยี
เพ่ือสื่อสารกับภาครัฐและภาคเอกชนเพ่ือกอใหเกิดการเปล่ียนแปลงในทางท่ีดีและถูกตองคุณลักษณะท่ีดีของ
พลเมอื งดจิ ทิ ลั (Good Digital Citizens) มีองคป ระกอบหลายประการ ดงั นี้
1. การตระหนกั ถึงความสามารถในการเขา ถึงเทคโนโลยสี ารสนเทศของผูอ ืน่
ผูใชเทคโนโลยีสารสนเทศทุกคนควรตระหนักวาบุคคลมีโอกาสในการเขาถึงและมีศักยภาพใช
เทคโนโลยีสารสนเทศที่แตกตางกัน พลเมืองดิจิตอลท่ีดีจึงไมควรเลือกปฏิบัติและดูหม่ินบุคคลผูขาดทักษะการ
ใชเทคโนโลยีฯ หากแตจะตองชวยกันแสวงหามาตรการตางๆเพ่ือเสริมสรางความเสมอภาคในการเขาถึง
เทคโนโลยีฯ อันจะทําใหส ังคมและประเทศนน้ั ๆ กาวเขา สูยุคดจิ ติ อลไดอ ยางภาคภูมิ
2. การเปน ผูป ระกอบการและผูบริโภคทมี่ ีจรยิ ธรรม
เปน ทที่ ราบกันโดยทว่ั ไปวาเทคโนโลยีสารสนเทศไดเ ปลยี่ นแปลงระบบตลาดแบบด้ังเดิม (Traditional
Marketplace) ไปสูตลาดในระบบอิเลคทรอนิกส (Electronic-Marketplace) และไดรับความนิยมอยาง
แพรหลายดังจะเห็นไดจากความหลายหลายของประเภทสินคาท่ีสามารถซ้ือหาไดในระบบออนไลน ตลอดจน
บริการประเภทตางๆ ที่ผูบริโภคสามารถทําธุรกรรมไดอยางสะดวก พลเมืองยุคดิจิตอลจะตองมีความซื่อสัตย
และมีศีลธรรมในการทํานิติกรรมและธุรกรรมทุกประเภทบนโลกออนไลน เชน ไมซ้ือขายและทําธุรกรรมที่ผิด
กฎหมาย เชน การดาวนโ หลดสิ่งทข่ี ดั ตอกฎหมาย ตลอดจนการใชประโยชนจากเทคโนโลยีเพื่อหลอกลวงผูอื่น
ใหซื้อสนิ คา และบริการท่ไี มม ีคุณภาพ เปน ตน
3. การเปน ผสู งสารและรับสารทมี่ ีมรรยาท
รูปแบบการสือ่ สารไดมีการพฒั นาและเปลีย่ นแปลงไปอยางมากในชวงศตวรรษที่ 21 ดังจะเห็นไดจาก
รูปแบบการสื่อสารผานอนิ เตอรเ นต็ ทีส่ ะดวก รวดเรว็ และมคี วามเชื่อมโยงท่วั โลก เชน อีเมลลและโซเชียลมีเดีย
หลากหลายประเภท ปจจุบันมีผูใชขอไดเปรียบของชองทางการสื่อสารดังกลาวอยางไมเหมาะสม เชน การสง

16
สารที่ มีเจตนาหมิ่นประมาทผูอ่ืนและการสงสารที่มีเจตนาใหสังคมเกิดความแตกแยก ทั้งท่ีกระทําไปโดย
เจตนาหรอื รูเ ทา ไมถ งึ การณ ดงั นัน้ พลเมอื งดิจติ อลท่ดี ีจะตอ งมมี รรยาทและความรับผิดชอบตอการกระทําของ
ตนในโลกออนไลน หรือ ท่ีเรารูจักกันดีในนามของ (Digital Etiquette) ท่ีจะเปนเครื่องมือในการย้ําเตือนสติ
ตลอดจนการกระทําทเ่ี หมาะสมในการส่อื สารทกุ ประเภทในยุคดิจติ อล

4. การเคารพตอ กฎหมายและกฎระเบยี บ
ปจจุบันการทําธุรกรรมและนิติกรรมทางอิเลคทรอนิกสอยูภายใตบังคับของกฎหมายและกฎระเบียบ
วาดวยการทําธุรกรรมทางอิเลคทรอนิกสซึ่งมีวัตถุประสงคหลักในการปองกันและปราบปรามการละเมิด ใน
รูปแบบตางๆ ที่มีลักษณะเปนอาชญกรรมทางอีเลคทรอนิกส เชน การลักขโมยและการจารกรรมขอมูล
ประเภทตางๆ เชน ขอมูลทางธุรกิจและขอมูลสวนบุคคล ตลอดจนมาตรการคุมครองเก่ียวกับทรัพยสินทาง
ปญ ญาในรปู แบบตา งๆ ดงั นั้น พลเมืองยุคติจิตอลที่ดีจะตองตระหนักและรับทราบถึงกฎหมายและกฎระเบียบ
ดงั กลา ว ตลอดจนมคี วามยบั ย้ังชา งใจตอการกระทาํ ของตนที่อาจเปนการละเมิดสิทธิของบุคคลอน่ื
5. การใชเทคโนโลยีใหม คี วามเหมาะสมและไมสง ผลเสยี ตอสขุ ภาพ การใชเทคโนโลยีสารสนเทศที่ขาด
ความเหมาะสมอาจสงผลเสียตอสุขภาพโดยรวม เชน ความเครียดตอสุขภาพกายและสุขภาพจิตตลอดจนการ
กอใหเ กิดการสูญเสียสมั พนั ธภาพในสงั คมได พลเมอื งยคุ ดิจติ อลจะตองควบคุมการใชอุปกรณอิเลคทรอนิกสให
มีความเหมาะสมเพื่อปองกันมิใหเกิดอาการเสพติดตอ สิ่งดังกลาวจนเกิดผลเสียตอสุขภาพโดยรวมได
นอกจากน้ี การลดปริมาณการส่ือสารแบบออนไลนมาเปนรูปแบบการส่ือสารแบบดั้งเดิมในบางโอกาสจะ
กอใหเกิดผลดีตอสมั พนั ธภาพของบุคคลใกลช ิดอีกดว ย
6. เรียนรูว ธิ กี ารเสริมสรางความปลอดภยั ในการใชเทคโนโลยี
พลเมอื งดจิ ติ อลนอกจากจะตอ งเปนผูท่ีมีทักษะในการใชเทคโนโลยีอยางมีประสิทธิภาพแลวจะตองใฝ
รแู ละใหความสําคญั กับมาตรการเพ่ือความปลอดภัยและการคุมครองขอมูลสวนบุคคลดวย (Digital Security)
เน่ืองจากในยุคดิจิตอลนั้นผูมีเจตนากระทําผิดและหลอกลวงสามารถใชเทคโนโลยีที่มีความทันสมัยเพ่ือ
หลอกลวงผูอ ืน่ ไดงายกวากระบวนการสื่อสารแบบด้ังเดิม วิธีการเสริมสรางความปลอดภัยในการใชเทคโนโลยี
สารสนเทศ ที่สามารถกระทําไดโดยงายมีหลากหลายวิธี เชน การติดต้ังระบบปองกันการจารกรรมและการ
ทําลายขอมูลใหกับอุปกรณการสื่อสารทุกประเภท ตลอดจนรูเทาทันตอรูปแบบและกลอุบายของอาชญากร
อเิ ลคทรอนิกสท มี่ กั มกี ารพฒั นารปู แบบของการกระทาํ ผดิ อยเู สมอ

1.3 การสอนความเปนพลเมอื งดจิ ทิ ัล และความฉลาดทางดจิ ิทลั
การสอนความเปนพลเมืองดิจทิ ลั
งานวิจัยของ Dr. Howard Gardner และโครงการ GoodPlay Project ที่ Harvard Graduate
School of Education ซึ่งสรุปไดวา การสอนเด็กใหเ ปน พลเมอื งดจิ ิทัล ควรสอนในเรื่องดงั ตอไปนี้
1.ความปลอดภัยบนอินเทอรเน็ต (Internet Safety) เรียนรูวาจะใชเทคโนโลยีอินเทอรเน็ตใหเปน
ประโยชน ในขณะที่ดาํ รงตนใหอยูอยา งปลอดภยั บนโลกออนไลนไดอยางไร ใหรูจักแยกแยะเว็บไซตท่ีปลอดภัย
และเว็บไซตท อ่ี ันตราย

17
2.ความเปนสว นตวั และความมนั่ คงปลอดภยั (Privacy & Security) เรียนรวู ิธกี ารบริหารจัดการขอมูล
บนโลกออนไลนใหปลอดภัยจากภัยคุกคาม อาทิ การขโมยตัวตน หรือ การฟชช่ิง (Phishing) ใหเรียนรูจักการ
ตั้งรหัสผานท่ีเดายาก รูทันเลหกลของผูไมหวังดี และรูจักวิเคราะหนโยบายความปลอดภัยของผูใหบริการ
ออนไลน
3.ความสัมพันธและการสื่อสาร (Relationships & Communication) สอนใหนักเรียนรูจักทบทวน
ทักษะการมปี ฏิสมั พนั ธท้ังภายในตนเองและกับผูอน่ื เพือ่ สรา งการสื่อสารและชุมชนบนโลกออนไลนในเชิงบวก
ซ่ึงตรงนีจ้ ะเร่มิ เขา สูแนวคดิ ของการเปนพลเมืองดจิ ิทลั ที่ดีและจรยิ ธรรมดจิ ิทัล
4.การกลั่นแกลงบนโลกออนไลนและดรามายุคดิจิทัล (Cyberbullying & Digital Drama) สอนให
นกั เรียนไดรูจกั วธิ กี ารรับมือในสถานการณที่ถูกกลัน่ แกลง บนโลกออนไลน เรียนรูวาการกระทาํ ใดๆ ไมวาจะเชิง
ลบหรือเชิงบวก จะสงผลกระทบตอทั้งตัวเพ่ือนรอบตัวและชุมชนของพวกเขา สอนใหนักเรียนไดรูจักยืนหยัด
เม่ือเหน็ การกระทาํ ท่ีไมเหมาะสม และรวมกันสรางชุมชนออนไลนทีช่ ว ยเหลอื ซง่ึ กนั และกัน
5.รองรอยดิจิทัลและชื่อเสียงบนโลกดิจิทัล (Digital Footprint & Reputation) สอนใหนักเรียนรูจัก
ปกปองความเปนสวนตัวของตนเองและเคารพในความเปนสวนตัวของผูอ่ืน ใหเรียนรูวาอะไรก็ตามท่ีถูกโพสต
หรอื อพั โหลดไปยงั โลกออนไลนแลว มนั จะคงอยูบนนั้นถาวร และมรี อ งรอยทีจ่ ะสามารถติดตามกลับมาหาพวก
เขาไดเ สมอ และสิง่ ทีพ่ วกเขาแบง ปนในโลกออนไลนจ ะสง ผลกระทบท้งั ตอ ตวั พวกเขาเองและผูอืน่
6. อัตลักษณและตัวตน (Self-Image & Identity) สอนใหนักเรียนรูจักชีวิตในโลกดิจิตอลของตนเอง
ไดรูถึงประโยชนและความเสี่ยงของการแสดงตนในโลกออนไลนดวยตัวตนตางๆ และอิทธิพลที่มีตอความ
ตระหนักถึงตัวตนของตนเอง ช่ือเสียงของตนเอง และความสมั พนั ธข องพวกเขา
7.การรูทันเรื่องขอมูลขาวสาร (Information Literacy) เพ่ือใหนักเรียนไดรูจักการระบุตัวตน การ
คนหา การประเมนิ และการใชขอมลู ขาวสารตางๆ อยางมปี ระสทิ ธิภาพ เร่มิ ต้ังแตก ารคนหาขอมูลไปจนถึงการ
ประเมนิ คณุ ภาพ ความนาเชอ่ื ถือ และความถกู ตอ งของขอมลู ท่ีไดม า และใหเ ครดิตแหลง ทมี่ าอยา งถกู ตอง
8.การใหเครดิตและลิขสิทธ์ิ (Creative Credit & Copyright) ตองยอมรับวาโลกดิจิทัลนั้น การทํา
สําเนางานใดๆ มันทําไดงายมาก ดังนั้นจึงตองสอนใหนักเรียนไดรูจักความรับผิดชอบและสิทธิ์ในฐานะผู
สรางสรรคผลงาน และในขณะเดียวกันก็ใหเรียนรูถึงเรื่องลิขสิทธิ์และการใชงานอยางเปนธรรม (Fair use)
และหลีกเลี่ยงการลอกผลงาน (Plagiarism) และการละเมดิ ลิขสิทธิ์ (Piracy)

18

ภาพท่ี 1 การพฒั นาทักษะพลเมอื งดิจิทัลในระดับช้ันตา ง
ความฉลาดทางดิจิทัล (Digital Inteligence) หรือ DQ เปนชุดของความสามารถดานการรับรู
สติปญญา อารมณ และสังคมที่จะทําใหคนในยุคดิจิทัล (Digital Citizen) สามารถเผชิญหนากับความทาทาย
และปรับตัวใหเขากับยุคดิจิทัลไดอยางเหมาะสม (Yuhyun Park, 2016) ซึ่งสอดคลองกับ The Project DQ
ทไ่ี ดใหความหมายของความฉลาดทางดจิ ทิ ัลวา หมายถึงภาพรวมของความสามารถทางสังคม อารมณและองค
ความรูที่จําเปนตอชีวิตดิจิทัล (Digital Life) การมีความรูทักษะและความสามารถในการปรับตัวใหเขากับ
อารมณแ ละการปรับพฤตกิ รรมของผคู นเพื่อรบั มือกับความทา ทายและความตองการของยุคดิจิทัล ความฉลาด
ทางดจิ ทิ ลั ประกอบดวย (Yuhyun Park, 2016)

1.อัตลักษณในโลกดิจิตอล (Digital identity) กลาวคือ คนท่ีใชชีวิตอยูในยุคดิจิตอล
จะตองมีทักษะในการสราง บริหารอัตลักษณและชื่อเสียงในโลกออนไลนของตัวเองใหเปน ซ่ึงน่ันรวม
ไปถึงการจัดการกับตัวตนในโลกออนไลนท ้งั ในระยะสน้ั และระยะยาวดว ย

1.1. พลเมืองดิจิทัล (Digital Citizens) เปนกระแสท่ีแพรหลายไปทั่วโลกนับตั้งแต
อนิ เตอรเนต็ และเทคโนโลยีสารสนเทศไดเ ขามามบี ทบาทในการดาํ เนนิ กิจกรรมดาน ตางๆ ใน
ชีวิตประจําวัน ประเทศไทยใหความสําคัญกับเรื่องดังกลาวอยางจริงจังหลังจากท่ีรัฐบาล
ผลักดันนโยบายเศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy) เพื่อเสริมสรางความ เขมแข็งใหกับ
ระบบเศรษฐกิจและเตรียมความพรอมเขาสูประชาคมอาเซียนในอนาคตอันใกลน้ีในยุค
ปจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศมีความเก่ียวของกับการใชชีวิตประจําวัน อยางหลีกเลี่ยงไมได
จึงมีความจําเปน อยางย่งิ ท่ีทกุ คนควร เสรมิ สรางศักยภาพการใชเทคโนโลยีดังกลาวอยางชาญ
ฉลาดและกา วเขาสูความเปนพลเมืองในยุคดจิ ติ อลไดอ ยาง ภาคภมู ิ

1.2. ผูรวมสรางดิจิทลั (Digital Co-creator)
1.3. ผปู ระกอบการ (Digital entrepreneur)

19
2. การใชเคร่ืองมือและสื่อดิจิตอล (Digital use) คือ ทักษะในการใชเคร่ืองมือและสื่อใน
ยุคดิจิตอล เพ่ือใหเกิดประโยชนสูงสุด โดยสามารถสรางสมดุลใหกับชีวิตออนไลนและออฟไลนได
อยา งดี มใิ ชดังเชน ท่เี ห็นปจ จุบนั คือ หลายคนถูกเทคโนโลยใี ช มใิ ชใชเทคโนโลยี

2.1. การใชเวลาหนาจอ Screen Time ในการจับภาพหนาจอ สามารถทําไดหลาย
วิธี ซึง่ สามารถทําไดโดยผา นทางระบบปฏบิ ัตกิ าร

2.2. สุขภาพการแพทยดิจิทัล (Digital Health) นวัตกรรมดานสุขภาพและการใช
งานเทคโนโลยสี าํ หรับสุขภาพ ทําใหการดูแลสุขภาพกลายเปน เรือ่ งใกลต วั มากขึ้น

2.3. การมีสวนรวมของชุมชน (Community Participation) การวิจัยแบบมีสวน
รว มครัง้ น้มี ีวัตถุประสงคเ พื่อศึกษาความตองการดา นการสง เสรมิ สุขภาพของผูสูงอายุจากการ
มี สว นรว มของชุมชนบา นนาราชควาย ตําบลนาราชควาย อาํ เภอเมือง จังหวัดนครพนม โดย
ใชเทคนิคการประชุมแบบมีสวนรวมอยาง สรางสรรค(Appreciation Influence Control,
AIC) เปนเครื่องมือในการวิจัยเก็บรวบรวมขอมูลดวยวิธีเชิงคุณภาพโดยใชการ สังเกตแบบมี
สวนรวม และไมมีสวนรวม การสัมภาษณเชิงลึก และการประชุมวางแผนโดยการมีสวนรวม
อยา ง สรา งสรรค การวเิ คราะหข อมลู โดยการวเิ คราะหเ ชิงเนื้อหา
3.การอยูในโลกดิจิตอลอยางปลอดภัย (Digital safety) หมายถึงทักษะในการบริหาร
จัดการความเสี่ยงในโลกออนไลน เชน การไมไปรังแกและสามารถจัดการกับการถูกรังแกบนโลกไซ
เบอร (Cyberbullying) ไดอยา งตลอดรอดฝง รวมไปถึงการเก้ียวพาราสี การเหยียดผิว-เหยียดชนช้ัน
รวมไปถงึ เนือ้ หาตา งๆ ทสี่ มุ เสยี่ งเชน เนื้อหาท่ีมคี วามรนุ แรง โปเปลอื ย ลามกหยาบคายดว ย

3.1. ความเสี่ยงจากเนื้อหา (Content Risks) สารสนเทศท่ีมีรูปแบบดิจิตอลโดย
แสดงเนือ้ หาผานสื่อดิจติ อลตา งๆ เปนหลัก

3.2. ความเสี่ยงจากพฤติกรรม (Behavioral Risks) ความเส่ียงในการทํา
ลอกเลยี นแบบสง่ิ ที่ไมด ีในส่ือตางๆ

3.3. ความเสยี่ งจากการติดตอพบปะ (Contact Risks) ความเสีย่ งจากการนัดเจอกับ
คนทไี่ มรจู กั หรือรจู กั กันในส่ือตา งๆ
4.ระบบความปลอดภัยดิจิทัล (Digital Security) หมายถึง ความสามารถในการตรวจจับ
ภัยคุกคามในโลกไวเบอร เชน การแฮ็ก (Hacking) การหลอกลวง (Scrams) และมัลแวร (Malware)
เพื่อทําความเขาใจ เลือกแนวทางปฏิบัติท่ีดีท่ีสุด และเลือกใชเครื่องมือในการรักษาความปลอดภัยที่
เหมาะสมสาํ หรบั การปองกันขอมลู

4.1. การปองกันรหัสผาน (Password Protection) เปนการปองกันเพ่ือกันไมให
ผอู ื่นเขา ถึงขอ มลู สว นตวั เราได

4.2 ระบบความปลอดภัยบนมือถือ (Mobile Security) การจัดการระยะไกล ล็อค/
ปลดล็อค รวมถงึ สง่ั ลา งขอมลู ในมือถอื ทัง้ หมดจากระยะไกล รักษาความปลอดภัยอุปกรณ ไม
จําเปนตองใชเครื่องมืออยางเชน Mobile Device Management (MDM) ควบคุมการใช
งานแอพพลิเคช่ัน ตรวจสอบแอพพลิเคชั่นบนอุปกรณและบล็อคการเขาถึงแอพพลิเคชั่น
ปอ งกันการโจรกรรมขอมูล รกั ษาความปลอดภยั ขอมูลบนอุปกรณทส่ี ูญหายหรือถกู ขโมย

4.3 ระบบความปลอดภยั ทางอินเทอรเน็ต (Internet Security) มีการปองกันหลาย
ชั้นเพอื่ ใหคุณปลอดภยั และใหอปุ กรณข องคุณใชงานไดอยางราบรื่น คุณสมบัติข้ันสูงทั้งหมด
ดานลางอยูในซอฟตแวร Internet Security การปองกัน ไฟรวอลล กันแฮกเกอรไวอีกนอก

20
กําแพงดวยสุดยอดคุณสมบัติดานการรักษาความปลอดภัยซ่ึงจะคอยตรวจตราและควบคุม
ทุกสิ่งที่เขาและออกจากคอมพิวเตอรของคุณ แอนติสแปม หลบหลีกสแปมและเนื้อหาที่
ประสงครา ยเพ่อื ใหค ุณสามารถมงุ ความสนใจทอี่ เี มลสาํ คัญเทาน้ัน Real Site ปกปองคุณจาก
แฮกเกอรท่ีพยายามเจาะการตั้งคาระบบการต้ังช่ือโดเมน นําคุณเขาสูเว็บไซตปลอม และ
ขโมยรายละเอียดการเงินของคุณ Wi-Fi Inspector ตรวจจับจุดออนของ Wi-Fi ในที่อยู
อาศัยของคุณ รวมทั้งคนแปลกหนาท่ีลักลอบใชเครือขายของคุณโดยอัตโนมัติ การปกปอง
แอนตไิ วรัสอัจฉริยะ ตรวจจับและบล็อกไวรัส มัลแวร สปายแวร แรนซัมแวร และฟชชิ่ง เรา
ใชก ารวิเคราะหอ จั ฉริยะเพือ่ หยดุ ยัง้ ภัยคุกคามกอ นท่คี ุณจะไดรับผลกระทบ Cyber Capture
สงไฟลที่นาสงสัยไปยังคลาวดเพ่ือการวิเคราะหโดยอัตโนมัติ และดําเนินการแกไขใหผูใช
Avast ทุกคน หากไฟลนั้นๆ เปนภัยคุกคาม Behavior Shield ตรวจจับและบล็อกรูปแบบ
การปฏิบัติงานที่นาสงสัยภายในเวลาไมถึงวินาทีเพื่อปองกันแรนซัมแวรและภัยคุกคามท่ีไม
รูจัก การสแกนอัจฉริยะ คนหาชองโหวท่ีทําใหมัลแวรแฝงตัวเขามาได ไมวาจะเปนการตั้งคา
และรหัสผานที่ไมปลอดภัยไปจนถึงสวนเสริมท่ีนาสงสัยและซอฟตแวรท่ีลาสมัย ใหมเกราะ
ปองกันแรนซัมแวร บล็อกแรนซัมแวรและแอปที่ไมนาเช่ือถืออื่นๆ จากการเปลี่ยนแปลง ลบ
หรอื เขารหัสรูปถา ยและไฟลสว นตวั ของคุณ Sandbox ทดสอบและลองใชงานไฟลที่นาสงสัย
ในบริบทท่ีปลอดภัยกอนที่คุณจะเปดใชงานบนคอมพิวเตอรของคุณเพื่อใหมั่นใจวาไฟล
เหลาน้ันจะไมสรางความเสียหายบนคอมพิวเตอรของคุณ เบราวเซอร SafeZone ทอง
อินเทอรเน็ตและชอปปงออนไลนอยางปลอดภัยโดยไมตองติดต้ังหรือต้ังคาสวนเสริมใดๆ
เบราวเซอรของเรามาพรอมกับคุณสมบัติความปลอดภัยและความเปนสวนตัวท่ีคุณตองการ
ความเปนสวนตัว Passwords ล็อคบัญชีทั้งหมดของคุณรหัสผานที่ปลอดภัยเพียงรหัสเดียว
เราจะจดั การสวนทีเ่ หลือเพือ่ ใหค ุณสามารถเขา สูระบบไดอยา งรวดเรว็ และปลอดภยั
5.การแสดงอารมณในโลกดิจิตอลอยางชาญฉลาด (Digital emotional intelligence)
กลาวอีกนัยหนึ่งคือทักษะในการเขาสังคมในโลกออนไลน เชน การแสดงความเห็นอกเห็นใจ เสียใจ
เห็นดวย ไมเ หน็ ดว ย ยินดี สนุกสนาน ฯลฯ เพ่ือสานสัมพนั ธกับผูคนในโลกออนไลน

5.1 ความเอาใจใส เขาใจความรูสึก (Empathy) การรับรูและเกิดความเขาใจใน
สถานการณทกี่ ําลังเกดิ ขน้ึ กบั อกี บุคคลหนงึ่ อยางแทจริง

5.2 การรับรู/การควบคุมอารมณ Emotional Awareness/Regulation การ
ควบคุมอารมณตนเอง (อังกฤษ: Emotional self-regulation) เปนความสามารถในการ
ตอบสนองทางอารมณตอประสบการณในรูปแบบที่สังคมยอมรับไดแตยืดหยุนพอที่จะเปน
ปฏิกิริยาแบบฉับพลัน และเปนความสามารถในการผัดผอนปฏิกิริยาแบบฉับพลันถาจําเปน
[1] หรือสามารถนิยามไดวา เปนกระบวนการไมวาจะเปนภายนอกหรือภายในที่มีหนาที่
ตรวจสอบ ประเมิน และเปล่ียนปฏิกิริยาทางอารมณ[2] การควบคุมอารมณของตัวเองเปน
สว นหนง่ึ ของกระบวนการควบคุมอารมณ ซึ่งรวมการควบคมุ ท้ังตวั เองและผอู น่ื

5.3 การตระหนักรูทางสังคมและอารมณ (Social & Emotional Awareness)
ความสามารถของเด็กในการแสดงออกถึงการรับรูเก่ียวกับตนเองวาเปนสวนหน่ึงของสังคม
และส่ิงแวดลอมการแสดงพฤติกรรมอยางเหมาะสมในการสรางความสัมพันธระหวางตนเอง
กบั สงั คมและสงิ่ แวดลอมเพอื่ ใหสามารถอยใู นสงั คมไดอยางมีความสุข

21
6.การส่ือสารในโลกดิจิตอล (Digital communication) คือ ความสามารถในการส่ือสาร
ปฏิสัมพนั ธ และรวมมอื กบั ผูอืน่ โดยใชเ ทคโนโลยีและสอื่ ดิจิตอล

6.1 รองรอยเทาดิจิทัล (Digital Footprints Digital) รองรอยการกระทําตาง ๆ ท่ี
ฝงหรือตามไดในโลก Digital ของเรา ไมวาจะเปนขาวที่พูดถึงเรา หรือ Blog, การโพสเว็บ
บอรด และ Digital Profile ตาง ๆ อยาง Twitter, Instagram และ Facebook ซึ่งหลาย ๆ
อยางนั้นเราเปดเปน Public และทําใหคนตาง ๆ เขามาดูไดและรับรูวาเราเปนอยางไรสวน
หน่ึงผานทาง Digital Footprint พวกน้ี ทําใหเหลา Hacker น้ันสามารถมาเรียนรูและเดา
เรื่องตาง ๆ หรือสืบเรื่องตาง ๆ ไดไมยาก และเขาไปเจาะเอาขอมูลตาง ๆ เพ่ิมเติมมาได
มากมาย จนสรางความเสียหายใหกับคนที่ขอมูลรั่วได ท้ังนี้การสืบ Digital Footprint นั้น
เปนวิธีการหน่ึงที่องคกรในยุคใหมน้ีใชทําอะไรหลาย ๆ อยางที่เราคาดไมถึงอยางเชน การ
สมัครงานท่ีหลาย ๆ ครั้งนน้ั ผสู มัครไมรเู ลยวาเมื่อย่ืนใบสมัครไปแลว HR หรือฝายบุคคลหรือ
คนทีด่ แู ลเร่ืองการรับบุคคลน้ัน ๆ จะเอาช่ือเราไปคนหาผานทาง Google เพ่ือดูวาคน ๆ นั้น
เปนอยา งไร และทศั นะคติเปน อยา งไรเพื่อประกอบการเรยี กหรือไมเ รียกสัมภาษณ

6.2 การสื่อสารออนไลน (Online Communication) เปนการใชส่ือใหมบน
กลมุ เปาหมายใหมๆ

6.3 ความรวมมือออนไลน (Online Collaboration) การนําแบบรวมมือกับคนอ่ืน
คือทฤษฎีและวิธีการบริหารจัดการซึ่งเนนทักษะและคุณลักษณะของการนําแบบรวมมือกัน
ขา มกลุม หรอื องคกร เพื่อผลประโยชนตอสวนรวมรวมกัน แนวคิดน้ีเกิดขึ้นในราวกลางคริสต
ทศวรรษ 1990 เพื่อตอบสนองการเติบโตของการเปนพันธมิตรในเชิงยุทธศาสตร ระหวาง
องคกรธุรกิจ และการกอตัวของความเปนหุนสวนระยะยาวระหวางภาคธุรกิจเอกชนกับภาค
สาธารณะชน เพ่ือสรา งโครงสรา งทางเศรษฐกิจสงั คมท่ีเปนประโยชนตอ ชมุ ชนโดยรวม
7. การรูดิจิตอล (Digital Literacy) หมายถึง ความสามารถในการคนหา ประเมิน ใช
ประโยชน แบงปน และสรางสรรคเน้ือหา รวมไปถึงความสามารถในการคิดอยางเปนระบบ หรือ คิด
เชิงประมวลผล (computational thinking)

7.1 การคิดเชิงคํานวณอยางเปนระบบ (Computational Thinking) เปน
กระบวนการคิดท่ีตองใชทักษะและเทคนิคเพื่อแกไขปญหาอยางเชนที่ นักพัฒนาซอฟตแวร
(Software Developer) หรือ วิศวกรซอฟตแวร (Software Engineer) ใชในการเขียน
โปรแกรม ซงึ่ แกนแทคือการแกป ญ หา แบบมีลาํ ดับขัน้ ตอนใหกลายเปนเร่ืองที่สายอาชีพอ่ืนๆ
สามารถนําแนวคิดลาํ ดบั ข้ันตอนไปแกปญหาในเชิงนามธรรม อยางการจัดการแถวขบวนของ
เจาของรา นอาหารท่จี ะทาํ ยังไงใหไมเ กดิ ภาวะตอคิวยาวนาน หรือปญหา Classics ที่ใหนักทํา
บัญชหี าวธิ กี ารใชเครอ่ื งมอื อืน่ ๆ มาชวยบนั ทกึ ยอดมากกวาจดลงกระดาษแลวใชเคร่ืองคิดเลข
กระทบยอด เปนตน กระบวนการ Computational Thinking (CT) ประกอบไปดวย

7.2 การสรางสรรคเน้ือหา (Content Creation) การส่ือสารเพื่อใหตรงตามความ
ตองการของลูกคาไมใชเรื่องงาย ความแตกตางทางวัฒนธรรมถือมีสวนสําคัญในการสราง
กลยุทธที่มีประสทิ ธิภาพเพ่อื เขา ถึงผูบรโิ ภค และในฐานะทีเ่ ปนบริษัทที่เชื่อม่ันในคุณภาพและ
การมอบผลลพั ธ

7.3 การคิดวิเคราะห (Critical thinking) การคิดอยางมีวิจารณญาณเปน
กระบวนการทางจิตสํานึกเพ่ือวิเคราะห หรือ ประเมินขอมูล ในคําแถลง หรือ ขอเสนอท่ีมีผู

22
แถลงหรืออางวา เปน ความจรงิ การคิดวิเคราะหเปนรูปแบบของกระบวนการท่ีสะทอนใหเห็น
ความหมายของคําแถลง (statement) และการตรวจสอบหลักฐานที่ไดรับการไตตรองดวย
เหตุและผล แลว จึงทําการตัดสินคาํ แถลงหรือขอเสนอที่ถกู อางวาเปนความจรงิ นัน้
8. การบริหารจัดการลิขสิทธิ์ดิจิตอล (Digital Rights) หมายถึงความเขาใจในสิทธิ
เฉพาะตัว และสิทธิทางกฎหมาย รวมไปถึงสิทธิความเปนสวนตัว ทรัพยสินทางปญญา
เสรภี าพในการแสดงความคิดเห็น และหลีกเลีย่ งถอ ยคาํ แหงความเกลียดชังของท้ังตัวเองและ
ผอู ่ืน

8.1 เสรีภาพในการพูด (Freedom of Speech) เสรีภาพในการพูด เปนสิทธิ
การเมืองในการสื่อสารความคิดของบุคคลผานการพูด คําวา เสรีภาพในการแสดงออก
บางครง้ั ใชเปนคําไวพจน แตยังรวมไปถึงพฤติการณใด ๆ ในการแสวงหา ทั้งดวยการพูด การ
แสดงทาทาง หรือการสื่อสารดวยตัวหนังสือ ไมวาจะบนหนากระดาษหรือในโลกออนไลน
ตลอดจนในรูปแบบอื่นๆ เชน เสียงเพลง ภาพถาย ภาพกราฟกหรือภาพเคลื่อนไหว ฯลฯ
นอกจากนยี้ ังรวมถงึ สิทธใิ นการคน ควา หา เขาถงึ หรอื ไดร ับขอมลู ความรูสึกนึกคิด ความเห็น
ท่ีมีการส่ือสารและเผยแพรและนําขอสนเทศหรือความคิดโดยไมคํานึงถึงสื่อท่ีใช ในทาง
ปฏิบัติ สิทธิในเสรีภาพการพูดมิไดมีสมบูรณในทุกประเทศ และสิทธิน้ีโดยท่ัวไปมักถูกจํากัด
เชนเดยี วกบั การหม่นิ ประมาท การดูหมนิ่ ซ่งึ หนา ความลามก และการยุยงใหก ออาชญากรรม

8.2 การคุมครองสิทธิของทรัพยสินทางปญญา (Intellectual Property Rights)
หมายถึง สิทธิทางกฎหมายที่ใหเจาของสิทธิ หรือ "ผูทรงสิทธิ" มีอยูเหนือส่ิงท่ีเกิดจาก
ความคิดสรางสรรคทางปญญาของมนุษย โดยอาจแบงทรัพยสินทางปญญาออกได 2
ประเภทหลกั คือ ทรัพยสินทางอุตสาหกรรมและ ลิขสิทธิ์ สําหรับทรัพยสินทางอุตสาหกรรม
ยังแบงออกไดอีก 5 ประเภท ไดแก สิทธิบัตร (2) อนุสิทธิบัตร (3) เคร่ืองหมายการคา (4)
ความลบั ทางการคา และ (5) ส่ิงบง ชท้ี างภูมศิ าสตร (6) แบบผงั ภูมิของวงจรรวม (7) คุมครอง
พันธุพืช (8) ภมู ิปญ ญาทอ งถน่ิ

8.3 ความเปนสวนตัว Privacy สิทธิของบุคคลที่ประกอบไปดวยสิทธิของบุคคลใน
ครอบครวั ในเรอ่ื งดงั กลาวนา จะจัดอยใู นเรื่องของความเปนอยูสวนตัวซ่ึงหมายความวา ความ
เปน สว นตวั ของขอมลู และสารสนเทศ โดยทัว่ ไปหมายถงึ สิทธิทจ่ี ะอยูตามลาํ พงั และเปนสิทธิ
ที่เจาของสามารถที่จะควบคุมขอมูลของตนเองในการเปดเผยใหกับผูอ่ืน สิทธินี้ใชได
ครอบคลุมท้งั ปจเจกบุคคล กลมุ บุคคล และองคการตา งๆ

23

ภาพที่ 2 ชุดของความสามารถดานการรับรู สติปญญา อารมณ และสังคมท่ีจะทําใหคนในยุคดิจิทัล
หรอื DQ

ระดบั ของความฉลาดทางดจิ ิทลั
ระดบั ท่ี1 การเปนพลเมอื งในยุคดจิ ิตอล (Digital Citizenship): ความสามารถในการใชเทคโนโลยีและ
สื่อในโลกยุคดิจติ อลไดอยา งเกดิ ประโยชน มีความรับผดิ ชอบและปลอดภยั
ระดับที่2ความคิดสรางสรรคในยุคดิจิตอล (Digital Creativity):ความสามารถในการผนวกทักษะใน
การสรา งสรรคข อมูลและเปลีย่ นความคดิ ใหมๆใหเ ปนความจริงดวยการใชเ ครือ่ งมือดจิ ติ อล
ระดับท่ี3ผูประกอบการยุคดิจิตอล (Digital Entrepreneurship)ความสามารถในการใชสื่อดิจิตอล
และเทคโนโลยีเพ่ือแกปญหาทีท่ าทายใหมๆ ในโลก หรอื เพื่อสรา งโอกาสใหมๆ
ความฉลาดทางสญั ชาตดิ จิ ิทลั
1. ทักษะในการรักษาอัตลักษณที่ดีของตนเอง (Digital Citizen Identity) ความสามารถในการสราง
และบริหารจัดการอตั ลักษณท ี่ดขี องตนเองไวไดอยางดีทงั้ ในโลกออนไลนและโลกความจรงิ
2. ทักษะในการจัดสรรเวลาหนาจอ (Screen Time Management): ความสามารถในการบริหาร
เวลาที่ใชอปุ กรณยุคดิจิตอล และสามารถการทํางานท่หี ลากหลายในเวลาเดยี วกนั ได
3.ทักษะในการรับมือกับการคุกคามทางโลกออนไลน (Cyberbullying Management)
ความสามารถในการรับรู และรับมือการคุกคามขมขบู นโลกออนไลนไดอยางชาญฉลาด
4. ทักษะในการรักษาความปลอดภัยของตนเองในโลกออนไลน (Cybersecurity Management)
ความสามารถในการปอ งกนั ขอ มลู ดวยการสรา งระบบความปลอดภัยทเ่ี ขมแข็ง และปองกันการโจรกรรมขอมูล
หรือการโจมตีออนไลนได

24
5. ทกั ษะในการรกั ษาขอมูลสวนตัว (Privacy Management) มีดุลพินิจในการบริหารจัดการขอมูล
สวนตัว โดยเฉพาะการแชรขอ มูลออนไลนเ พอ่ื ปอ งกันความเปน สวนตัวท้ังของตนเองและผูอ่ืน
6. ทักษะการคิดวิเคราะหมีวิจารณญาณที่ดี (Critical Thinking) ความสามารถในการวิเคราะห
แยกแยะระหวางขอมูลท่ีถูกตองและขอมูลที่ผิด ขอมูลท่ีมีเน้ือหาดีและขอมูลท่ีเขาขายอันตราย ขอมูลติดตอ
ออนไลนที่นาตั้งขอ สงสยั และนาเชื่อถอื ได
7. ทักษะในการบริหารจัดการขอมูลที่ผูใชงานมีการท้ิงไวบนโลกออนไลน (Digital Footprints)
ความสามารถในการเขา ใจธรรมชาติของการใชช วี ิตในโลกดิจติ อลวา จะหลงเหลอื รอยรอยขอมูลทิ้งไวเสมอ รวม
ไปถงึ เขา ใจผลลพั ธท่อี าจเกิดข้ึน เพอ่ื การดแู ลส่งิ เหลา น้ีอยางมีความรบั ผดิ ชอบ
8. ทักษะการใชเทคโนโลยีอยางมีจริยธรรม (Digital Empathy) ความเห็นอกเห็นใจ และเขาใจ
ความรสู ึกผอู ื่นบนโลกออนไลน

ภาพที่ 3 8 ทักษะในการเปนพลเมืองยุคดจิ ทิ ลั
1.4 การเรียนรูจากการลงมือทาํ (Learning by Doing)
การลงมือทําหมายถึง ผูเรียนไดกระทําสิ่งตางๆดวยตนเอง ผานการปฏิบัติการจริงคือ ผูเรียนไดฝกใน
สภาพส่ิงแวดลอมจรงิ ไดฝ ก คดิ และลงมือทําสง่ิ ตางๆดว ยตนเอง ทั้งน้ี การสนับสนนุ ใหเ ด็กไดพัฒนาคุณลักษณะ
ท่ีพึงประสงคตามวัยและไดผลตามความคาดหวังของสังคมนั้น การจัดประสบการณจะใหความสําคัญกับ
บทบาทการเรียนรูของเด็ก จึงไดมีการศึกษาแนว คิดที่จะนําไปสูการปฏิบัติได การใชแนวคิดท่ีเนนใหผูเรียน
เปนผูลงมือกระทําหรือการปฏิบัติในสภาพจริง จึงเปนท่ีสนใจและนํามาใช ดังที่ประเทศไทยไดกําหนด

25
พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแหงชาตพิ ทุ ธศกั ราช 2542 เนนใหมีแนวการจัดการศึกษาที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ ซึ่ง
กลา วถงึ การสงเสรมิ ใหผ เู รียนไดปฏิบตั ิหรอื ลงมอื กระทํา

การเรียนรูโดยลงมือกระทํามาจากปรัชญาหรือความเช่ือของปรัชญา พิพัฒนาการนิยม
(Progressivism) หรือบางทานเรียกปรัชญาการศึกษานี้วา ปรัชญาพิพัฒนาการ ปรัชญาน้ีมีตนกําเนิดมาจาก
ปรัชญาแมบ ทคือ ปรัชญาปฏิบัตินิยม ปรัชญาปฏิบัตินิยมใหความสนใจอยางมากตอ “การปฏิบัติ หรือ การลง
มือกระทํา” เนนใหผูเรียนไดลงมือทํา เด็กไดรับอิสระริเร่ิมความคิดและลงมือทําตามความคิด ผูเรียนจะไดรับ
ประสบการณและใชกระบวนการแกปญหาดวยตนเองคือ การใหผูเรียนมีบทบาทสําคัญท่ีจะสืบคนหาความรู
นักการศึกษาที่มีชื่อเสียงที่มีความเช่ือปรัชญาการศึกษาน้ีคือ จอหน ดิวอ้ี (John Dewey) เปนผูนํานักปราชญ
ซึ่งเช่ือวามนุษยจะตองปรับตัวเพ่ือใหชีวิตอยูรอด จึงมีวลีท่ีแพรหลายและนํามาใชในการจัดการศึกษาคือ
“Learning by doing” “หรือการเรียนรูโดยการปฏิบัติจริง” แนวคิดของจอหน ดิวอี้ คือแนวคิดเรื่องการ
ปรับตัว จอหน ดิวอี้ ตระหนักเร่ือง “การปรับตัว” ใหเหมาะสมกับสิ่งแวดลอมเปนเร่ืองสําคัญและจะ ตอง
นาํ ไปใชเ ปน แนวคดิ ของการจัดการศึกษา หรือเปนแกนแหงการศึกษา มนุษยตองเผชิญกับปญหา จึงตองฝกให
มนุษยแกปญหา เพ่ือใหเกิดการเรียนรูจากการกระทํา ฝกปฏิบัติ ฝกคิด ฝกลงมือทํา ฝกทักษะกระบวนการ
ตางๆ ประสบการณท่ีมนุษยพบหรือเผชิญ มีอยู 2 ประเภทคือ ข้ันปฐมภูมิ เปนประสบการณท่ีไมเปนความรู
หรอื ยังไมไ ดค ิดแบบไตรตรอง และขนั้ ทุติยภมู ิคอื ท่เี ปน ความรู ไดผานการคิดไตรตรอง ประสบการณข้ันแรกจะ
เปนรากฐานของขั้นที่สอง ปรัชญาของ จอหน ดิวอ้ี เปนปรัชญาที่ยกยองประสบการณ ผูเรียนตองเรียนรูจาก
การกระทาํ ในสถานการณจ รงิ การศึกษาตามทศั นะของจอหน ดิวอี้คือ ความเจริญ งอกงามท้ังทางดานรางกาย
อารมณ สังคมและสติปญญา การจัดกระบวนการเรียน รูที่เนนการปฏิบัติจริง เปนการจัดกิจกรรมในลักษณะ
กลุมปฏบิ ตั กิ ารที่เรียนรดู ว ยประสบการณตรงจากการเผชิญสถาน การณจริงและการแกปญหา เพ่ือใหเกิดการ
เรียนรูจากการกระทํา ผูเรียนไดปฏิบัติจริง ฝกคิด ฝกลงมือทํา ฝกทักษะกระบวน การตางๆ ฝกการแกปญหา
ดวยตนเอง และฝกทักษะการเสาะแสวงหาความรูรวมกันเปนกลุม กระบวนการเรียนรูแบบแก ปญหา เปน
กจิ กรรมการเรยี นการสอนทเ่ี นน ใหผ ูเรยี นเรยี นรูด วยตนเอง เพื่อใหผเู รยี นคดิ เปนและแกปญหาเปน โดยการนํา
วิธีการทางวทิ ยาศาสตรมาใช บางครั้งก็เรียนวิธสี อนนว้ี าการสอนแบบวิทยาศาสตร
การจดั การเรยี นรโู ดยลงมือกระทํามีลกั ษณะสําคัญดังนี้

1. มีจุดมงุ หมาย มุงใหผเู รยี นนาํ ประสบการณท ไี่ ดร ับจากการแกป ญ หาไปใชในการตัดสนิ ใจ
2. จดั การเรียนที่ยึดผเู รียนเปนสาํ คัญ เนนความถนดั และความสนใจ
3.ครมู ีลักษณะของการเปน ผรู อบรแู ละมปี ระสบการณ ยอมรบั ความแตกตา งของผเู รียน
4.ผูเรียนเปนศูนยกลางรับประสบการณจากการกระทําของตนเอง ผูเรียนไดทดลอง ทําปฏิบัติ สืบ
เสาะหาขอ มูล จัดระเบยี บขอมลู หาขอ สรุป และหาวธิ กี ารกระบวนการดวยตนเอง
5.จดั หลกั สตู รจะเนน ประสบการณข องผเู รียน เปน หลักสตู รกจิ กรรม
การเรียนรูโดยการลงมือทํา มีประโยชนต อ นกั เรยี นดงั นี้
1. นกั เรียนจะเรียนรทู จ่ี ะเขาใจตนเอง
2. นักเรียนจะไดใชประสาทสัมผัสทําใหเกิดเปนประสบการณ เด็กไดรูจักการสืบคนหาความรูเพ่ือ
แกปญหา เดก็ จะไดเ ขา ใจธรรมชาติ
3. นกั เรียนจะเกิดความคดิ สรา งสรรค

26

4. นกั เรยี นไดเรยี นรสู ิง่ ตางๆรอบตัว เดก็ ไดสรา งความสมั พนั ธก บั ผอู ่นื
5. นักเรียนจะไดพ ัฒนาวฒุ ิภาวะทางดานอารมณ รวมทัง้ รับรูลักษณะอารมณ
6.นกั เรียนจะไดพัฒนาการทางดานสตปิ ญ ญา ไดคดิ และเขาใจความเปน เหตุผล

1.5 Model 4 Gs
4 Gs รปู แบบการพัฒนาทฤษฎีระบบการจัดกิจกรรมการเรียนรูการพัฒนาทักษะพลเมืองดิจิทัล ท่ีเกิด
จากการสังเคราะหร ปู แบบของทฤษฎีระบบ ซงึ่ รูปแบบ 4Gs ประกอบดว ย 4 องคป ระกอบไดแก
1. ครู-นักเรยี นดี (Good Teacher and Student) เปนคุณลกั ษณะของครูและนักเรียนท่ีดี
คณุ ลักษณะของครู 9E ดงั นี้

1. Experience มีประสบการณใ นการจัดการเรยี นรแู บบใหม
2. Extended มที กั ษะการแสวงหาความรู
3. Expended มีความสามารถในการถายทอดหรือขยายความรูของตนสูนักเรียนผานสื่อ
เทคโนโลยีไดอ ยา งมปี ระสิทธภิ าพ
4. Exploration มีความสามารถในการเสาะหาและคัดเลือกเนื้อหาความรูหรือเน้ือหาท่ี
ทันสมัย เหมาะสมและเปนประโยชนตอ ผูเรียนผา นทางสอ่ื เทคโนโลยี
5. Evaluation เปนนักประเมนิ ทด่ี ี มีความบรสิ ทุ ธ์แิ ละยุติธรรม และสามารถใชเทคโนโลยีใน
การประเมนิ ผล
6. End-User เปน ผูทใี่ ชเ ทคโนโลยี (user) อยางคมุ คา และใชไ ดอยา งหลากหลาย
7. Enabler สามารถใชเทคโนโลยสี รา งบทเรยี น
8. Engagement ตองรวมมือและแลกเปลี่ยนเรียนรูซ่ึงกันผานสื่อเทคโนโลยีจนพัฒนาเปน
เครอื ขา ยความรว มมอื
9. Efficient and Effective สามารถใชส่ือเทคโนโลยีอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ทงั้ ในฐานะทีเ่ ปนผผู ลติ ความรู ผูกระจายความรู และผูใชค วามรู
คณุ ลกั ษณะของนกั เรียนทีด่ ี
1. ความสามารถในการส่ือสาร คือความรูสึกและทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปลี่ยนขอมูล
ขาวสารและประสบการณ ซง่ึ สอดคลอ งกับ ICT Literacy
2. ความสามารถในการคิด เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห คิดสังเคราะห คิด
สรางสรรค คิดอยางมีวิจารณญาณ และการคิดเปนระบบ เพ่ือนําไปสูการสรางองคความรูหรือ
สารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเก่ียวกับตนเองและสังคม ไดอยางเหมาะสม ซึ่งสอดคลองกับ Learning
Thinking Skills
3. ความสามารถในการแกปญหา เปนความสามารถในการแกปญหาและอุปสรรคตาง ๆ ท่ี
เผชิญไดอยางถูกตอ งเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล
4. ความสามารถในการใชทกั ษะชีวิต เปนความสามารถในการนํากระบวนการตาง ๆไปใชใน
การดาํ เนนิ ชีวติ ประจาํ วนั การเรยี นรูด ว ยตนเอง การเรยี นรอู ยา งตอ เน่อื ง สอดคลอ งกบั Life skill

27

5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี เปนความสามารถในการเลือกและใช เทคโนโลยีดาน
ตาง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในดานการเรียนรู
การสื่อสาร การทํางาน การแกปญหาอยางสรางสรรค ถูกตอง เหมาะสม และมีคุณธรรม สอดคลอง
กบั ICT Literacy

6. การใชเทคโนโลยีใหมคี วามเหมาะสมและไมสงผลเสยี ตอ สุขภาพ
2. กระบวนการเรียนรูดี (Good Learning process) กระบวนการเรียนรูในโมเดลน้ีก็กระบวนการเรียนรู

กิจกรรมพัฒนาผูเ รียนซงึ่ ประกอบไปดว ย 5 กจิ กรรมหลักไดแก
1. กิจกรรมลกู เสือ-เนตรนารี
กระบวนการลูกเสือ คือกระบวนการพัฒนาเยาวชน มีวัตถุประสงคเพื่อฝกอบรม ใหการศึกษาและ
พัฒนาเยาวชนใหเปนพลเมืองดี โดยไมคํานึงถึงเชื่อชาติ ศาสนา ทั้งน้ีใหเปนไปตามความมุงประสงค หลักการ
และวิธกี ารท่ีการลูกเสอื โลกกําหนดไว ซงึ่ ประกอบดวย กจิ กรรมเง่ือนเชือก กิจกรรมนันทนาการ กิจกรรมดํารง
ชพี ในปา
2. กจิ กรรมชมุ นมุ
กิจกรรมชุมนุม เปนการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาความถนัด ความสนใจ ตามความตองการของผูเรียน
เปนกิจกรรมท่ีมุงเนนการเติมเต็มความรู ความชํานาญและประสบการณของผูเรียนใหกวางขวางย่ิงขึ้น เพื่อ
การคนพบความถนัดความสนใจของตนเอง และพัฒนาตนเองใหเต็มศักยภาพ ตลอดจนการพัฒนาทักษะของ
สังคม และปลูกฝงจิตสํานึกของการทําประโยชนเพ่ือสังคมการจัดกิจกรรมชุมนุม ซ่ึงประกอบดวย กิจกรรม
โครงงานคอมพวิ เตอร กิจกรรมภาพยนตรสนั้ กจิ กรรมเกมสรางสรรค
3. กจิ กรรมแนะแนว
กิจกรรมแนะแนว เปนกิจกรรมท่ีสงเสริมและพัฒนาความสามารถของผูเรียน ใหเหมาะสมตามความ
แตกตา งระหวางบคุ คล สามารถคน พบและพัฒนาศักยภาพของตน เสริมสรางทักษะชีวิต วุฒิภาวะทางอารมณ
การเรียนรูในเชิงพหุปญญา และการสรางสัมพันธภาพที่ดี ซ่ึงผูสอนทุกคนตองทําหนาที่แนะแนวใหคําปรึกษา
ดา นชีวิต การศึกษาตอและการพฒั นาตนเองสูโ ลกอาชีพและการมีงานทํา ซ่ึงประกอบดวย กิจกรรมรูตน รูงาน
สานฝนสูอาชีพ กิจกรรม Marketplace FB กิจกรรม Digital start up กิจกรรมสํารวจขอมูลนักเรียน
กจิ กรรม Line Creator
4. กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณะประโยชน
กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน ซึ่งเปนหนาท่ีของสถานศึกษาทุกแหงจะตองเนนการสราง
เยาวชนกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชนเปนกิจกรรมที่ตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตนเอง
ตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพโดยคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคลและพัฒนาการทางสมองเนนให
ความสําคัญทั้งความรูและคุณธรรมจริยธรรมจัดกิจกรรมโดยใหผูเรียนคิดสรางสรรคออกแบบกิจกรรมเพื่อ
สงั คมและสาธารณประโยชนอยา งหลากหลายรูปแบบเพ่ือแสดงถงึ ความรบั ผดิ ชอบตอ สังคมในลักษณะจิตอาสา
ซง่ึ ประกอบดว ย การลงทะเบียนกิจกรรม กจิ กรรมของดีบา นฉนั
5. กจิ กรรมสภานักเรยี น
จดั กิจกรรมสภานักเรยี น เพ่อื เปน การสง เสรมิ ใหน ักเรียนไดฝ ก ฝนใหรูจักการแสดงออก มีการเปนผูนํา
ผูตามในสังคม การอยูร ว มกันในสงั คมไดอยา งมีความสขุ การพัฒนาเว็บไซตสภานักเรียน กิจกรรมการเลือกตั้ง
4.0 กจิ กรรมสอ่ื ประชาสมั พนั ธ

28
3. เทคโนโลยีดี (Good Technology) การบูรณาการการใชเคร่ืองมือเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัด
กจิ กรรมพัฒนาผเู รยี นทั้ง 5 กิจกรรม ไดแ ก

ภาพที่ 4 กระบวนการจัดกิจกรรมการพัฒนาทักษะดิจิทัล
1. กิจกรรมลูกเสอื -เนตรนารี
ประกอบดวย กิจกรรมเงื่อนเชือก กิจกรรมนันทนาการ กิจกรรมดํารงชีพในปา โดยบูรณาการ
เคร่ืองมือเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดกิจกรรมไดแก โปรแกรม HP Reveal MS Form Facebook Viva
video Youtube และ SWAY
2. กจิ กรรมชุมนุม
ประกอบดวย กิจกรรมโครงงานคอมพิวเตอร กิจกรรมภาพยนตรส้ัน กิจกรรมเกมสรางสรรค โดย
บูรณาการเครือ่ งมือเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดกิจกรรมไดแก โปรแกรม MY Craft Adobe Premirepro
HP Reveal Wordpress MS Form Mindmeister และ SWAY
3. กิจกรรมแนะแนว
ประกอบดวย กิจกรรมรูตน รูง าน สานฝนสูอาชีพ กิจกรรม Marketplace FB กิจกรรม Digital start
up กิจกรรมสํารวจขอมูลนักเรียน กิจกรรม Line Creator โดยบูรณาการเคร่ืองมือเทคโนโลยีสารสนเทศใน
การจัดกิจกรรมไดแก โปรแกรม Admission premium ระบบวัดบุคลิกภาพกรมจัดหางาน Facebook
Youtube
4. กจิ กรรมเพือ่ สังคมและสาธารณะประโยชน
ประกอบดวย การลงทะเบียนกิจกรรม กิจกรรมของดีบานฉัน โดยบูรณาการเคร่ืองมือเทคโนโลยี
สารสนเทศในการจัดกจิ กรรมไดแ ก โปรแกรม MS Form Facebook Viva video และYoutube
5. กจิ กรรมสภานกั เรียน

29
ประกอบดวย กิจกรรมการพัฒนาเว็บไซตสภานักเรียน กิจกรรมการเลือกตั้ง 4.0 กิจกรรมสื่อ
ประชาสัมพันธ โดยบูรณาการเครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดกิจกรรมไดแก โปรแกรม MS Form
SWAY Wordpress และ Adobe Photoshop
4. ความฉลาดทางดิจิทัลดี (Good Digital intelligent) เปนความมุงหวังที่ใหเกิดกับผูเรียนเม่ือผาน
กระบวนการเรียนรูแลว 8 ทกั ษะ ไดแ ก
1. ทักษะในการรักษาอัตลักษณที่ดีของตนเอง (Digital Citizen Identity) ความสามารถในการสราง
และบรหิ ารจดั การอัตลักษณทีด่ ีของตนเองไวไ ดอ ยา งดที ั้งในโลกออนไลนแ ละโลกความจริง
2. ทักษะในการจัดสรรเวลาหนาจอ (Screen Time Management): ความสามารถในการบริหาร
เวลาทใี่ ชอุปกรณยคุ ดิจติ อล และสามารถการทํางานทีห่ ลากหลายในเวลาเดียวกนั ได
3.ทักษะในการรับมือกับการคุกคามทางโลกออนไลน (Cyberbullying Management)
ความสามารถในการรับรู และรับมือการคกุ คามขม ขูบนโลกออนไลนไดอ ยางชาญฉลาด
4. ทักษะในการรักษาความปลอดภัยของตนเองในโลกออนไลน (Cybersecurity Management)
ความสามารถในการปองกันขอมูลดวยการสรางระบบความปลอดภยั ที่เขมแขง็ และปองกันการโจรกรรมขอมูล
หรือการโจมตีออนไลนได

5. ทกั ษะในการรกั ษาขอมูลสว นตัว (Privacy Management) มีดุลพินิจในการบริหารจัดการขอมูล
สว นตวั โดยเฉพาะการแชรข อมูลออนไลนเ พ่อื ปอ งกันความเปนสวนตัวทัง้ ของตนเองและผูอ่ืน

6. ทักษะการคิดวิเคราะหมีวิจารณญาณท่ีดี (Critical Thinking) ความสามารถในการวิเคราะห
แยกแยะระหวางขอมูลท่ีถูกตองและขอมูลท่ีผิด ขอมูลที่มีเน้ือหาดีและขอมูลท่ีเขาขายอันตราย ขอมูลติดตอ
ออนไลนที่นา ตงั้ ขอ สงสัยและนา เชอื่ ถือได

7. ทักษะในการบริหารจัดการขอมูลที่ผูใชงานมีการท้ิงไวบนโลกออนไลน (Digital Footprints)
ความสามารถในการเขา ใจธรรมชาติของการใชชวี ติ ในโลกดจิ ติ อลวาจะหลงเหลือรอ ยรอยขอมูลท้ิงไวเสมอ รวม
ไปถึงเขาใจผลลัพธท ่อี าจเกดิ ขึ้น เพื่อการดแู ลส่ิงเหลาน้ีอยางมีความรบั ผดิ ชอบ

8. ทักษะการใชเทคโนโลยีอยางมีจริยธรรม (Digital Empathy) ความเห็นอกเห็นใจ และเขาใจ
ความรูสกึ ผอู ืน่ บนโลกออนไลน

2. ขน้ั ตอนการดาํ เนนิ การ
การพัฒนาทักษะพลเมืองดิจิทัลดวยกิจกรรมพัฒนาผูเรียนโดยใชโมลเดล 4Gs มีกระบวนการพัฒนา

นวัตกรรม 5 ข้ันตอนดงั น้ี
ขน้ั ตอนที่ 1 การศึกษาเอกสารแนวคิดหลักการ
โดยผูพัฒนาไดสํารวจเอกสารทางวิชาการวามีพัฒนา การจัดกิจกรรมการเรียนรูเพื่อพัฒนาทักษะ

ความเปนพลเมืองดิจิทัลไวอยางไรบาง มีนักการศึกษาใดที่เคยประสบปญหาการพัฒนาการเรียนรูการจัดการ
เรียนรูโดยใชทักษะพลเมืองดิจิทัลไวบางหรือไมและมีแนวทางในการแกไขปญหาน้ีในหองเรียนของอยางไร
เพือ่ ใหไ ดแนวคิดและแนวทางทจ่ี ะนํามาแกปญหาของผูพ ัฒนาตอไป จากที่ไดก ลาวในบทท่ี 1 ในหัวขอที่มาและ
ความสําคัญของปญหาโดยปญหาที่วิเคราะหพบวาขาดทักษะความสามารถในการใชและการอยูรวมกันใน
ความเปนพลเมอื งสงั คมดิจทิ ลั ทําใหพ ฤติกรรมในโลกแหงความเปนจริง และโลกเสมือนมีความแตกตางกัน จึง

30
เกิดพฤติกรรมบางอยางท่ีไมพึงประสงคเกิดขึ้น การดาทอกันในโลกสังคมออนไลน การโพสขอความลามก
อนาจาร การกลัน่ แกลง กันในสังคมออนไลน การแสดงความคิดเห็นในกระทูตางๆที่ไมเหมาะสม ทําใหผูพัฒนา
จึงมีความจําเปนตอ งศกึ ษากลวธิ ีการสอนเพื่อพัฒนาทักษะพลเมอื งดจิ ทิ ลั ในศตวรรษท่ี 21 ใหแยบยลมากยิ่งข้ึน
โดยไดแ นวทางในการศึกษาเพ่อื ใหสอดคลอ งกบั การแกป ญ หาดังนี้

1. กจิ กรรมพฒั นาผูเรยี น
2. คุณลกั ษณะพลเมืองดจิ ทิ ัล
3. การสอนความเปนพลเมืองดจิ ิทัล และความฉลาดทางดจิ ิทลั
4. การเรียนรจู ากการลงมอื ทํา
5. สังเคราะหอ งคประกอบโมเดล 4Gs
ขัน้ ตอนท่ี 2 การเลือกและการวางแผนสรา งนวัตกรรม

โดยพจิ ารณาเลอื กจากลักษณะของนวัตกรรมการเรยี นรทู ่ดี ี ดังน้ี
1. เปนนวตั กรรมการเรียนรูท่ีตรงกบั ความตอ งการและความจําเปน โดยผูพัฒนาไดเลือกพัฒนาทักษะ
ความเปนพลเมืองดจิ ิทัล (Yuhyun Park, 2016) มี 8 ทกั ษะ ไดแก

1. ทักษะในการรกั ษาอัตลักษณท่ีดีของตนเอง (Digital Citizen Identity)
2. ทกั ษะในการจดั สรรเวลาหนาจอ (Screen Time Management
3.ทักษะในการรบั มือกบั การคกุ คามทางโลกออนไลน (Cyberbullying Management)
4. ทักษะในการรักษาความปลอดภัยของตนเองในโลกออนไลน (Cybersecurity
Management)
5. ทกั ษะในการรกั ษาขอมูลสว นตวั (Privacy Management)
6. ทักษะการคดิ วิเคราะหม ีวิจารณญาณทด่ี ี (Critical Thinking)
7. ทักษะในการบริหารจัดการขอมูลท่ีผูใชงานมีการทิ้งไวบนโลกออนไลน (Digital
Footprints)
8. ทักษะการใชเ ทคโนโลยีอยางมีจรยิ ธรรม (Digital Empathy)
2. มีความหนาเช่ือถือและเปนไปไดสูงท่ีจะสามารถแกปญหาและพัฒนาการเรียนรูของผูเรียน การ
พัฒนาทักษะพลเมืองดิจิทัลมีหลากหลายทฤษฎีท่ีนักวิชาการหลายทานไดแสดงทัศนะไว การพัฒนาทักษะ
พลเมืองดิจิทัล โดยใช 4Gs Model เปนอีกกระบวนการจัดการเรียนรูรูปแบบหน่ึงที่จะสามารถพัฒนาทําให
ผูเ รยี นในศตวรรษท่ี 21 สามารถพัฒนาตนเองใหเกิดการพัฒนาทกั ษะพลเมืองดจิ ิทัลท่ีประสิทธิผลในการเรียนรู
ได
3. เปนนวัตกรรมท่ีมีแนวคิดหรือหลักการทางวิชาการรองรับจนนาเช่ือถือ การพัฒนาทักษะพลเมือง
ดิจิทัลที่ผูพัฒนาไดพัฒนาขึ้นนี้ เปนการนําทักษะพลเมืองดิจิทัลมาใชในการจัดกิจกรรมการเรียนรูกิจกรรม
พัฒนาผูเรียนที่มุงเนนทักษะชีวิต เพราะผูสอนไดทดลองการสอนตามในการเรียนปกติ ผลปรากฏวายังไมเกิด
ประสทิ ธิผลในการจัดการเรียนรูเ ทาทค่ี วร จงึ นํากลไกของการพัฒนาทักษะพลเมืองดิจิทัลผสมผสานในการการ
จัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ผลปรากฏวาผูเรียนสามารถไปถึงเปาหมายท่ีวางไว เกิดทักษะในการใชเครื่องมือ
สารสนเทศใหเปนประโยชน เกดิ ความชาํ นาญสามารถใชทักษะพลเมอื งดิจทิ ลั ในการใชช ีวิตไดอ ยางแยบยล

31
4. สามารถนําไปใชในหองเรียนไดจริง ใชไดงาย สะดวกตอการใชและการพัฒนานวัตกรรม การนํา
กระบวนการข้นั ตอนรูปแบบการจัดการเรียนรูการพัฒนาทักษะพลเมืองดิจิทัลได 5 แผนกิจกรรมพัฒนาผูเรียน
ซ่งึ กจิ กรรมตา งๆ มีเครือ่ งมือเทคโนโลยีสนบั สนุนการเรยี นรทู ีส่ ามารถใชง านงาย และใชไ ดจรงิ
5. มีผลการพิสูจนเชิงประจักษวาไดใชในสถานการณจริงแลวสามารถแกปญหาหรือพัฒนาคุณภาพ
การจดั การเรียนรูไดอยา งนาพึงพอใจ
ขนั้ ตอนที่ 3 สรางและพัฒนานวัตกรรม
การพัฒนาทักษะพลเมืองดิจิทัลดวยกิจกรรมพัฒนาผูเรียนโดยใชโมลเดล 4Gs เปนนวัตกรรมท่ีเนน
เทคนคิ กระบวนการ (Innovative Process) สามารถดําเนินการสรางตามขน้ั ตอนดงั นี้

1. วเิ คราะหจ ุดประสงคการเรียนรู
โดยนวตั กรรมนผี้ พู ฒั นาไดระบุจุดประสงคการเรยี นรูดังน้ี

1. ผเู รียนมีความรูความเขาใจและสามารถปฏิบตั ิทกั ษะของพลเมอื งดิจิทลั ได
2. ผเู รยี นสามารถใชเทคโนโลยสี ารสนเทศไดอยา งชาญฉลาดและรูเทาทนั
3..ผเู รียนมีทกั ษะชีวิตในการแกปญหาตามวตั ถุประสงคข องกิจกรรมพัฒนาผูเรยี น
2. กาํ หนดและออกแบบ
การออกแบบรปู แบบการพฒั นาทักษะพลเมอื งดิจทิ ลั ดวยกิจกรรมพฒั นาผูเรยี นโดยใชโ มลเดล 4Gs
ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาตอนตน โดยใชร ะยะเวลา 20 ช่วั โมง 1 ภาคการศกึ ษา โดยแบงออกเปน 5 แผนกจิ กรรม
ไดแ ก
1. กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี
กิจกรรมลุกเสือ-เนตรนารี เปนกระบวนการพัฒนาเยาวชน มีวัตถุประสงคเพ่ือ
ฝกอบรม ใหการศึกษาและพัฒนาเยาวชนใหเปนพลเมืองดี โดยไมคํานึงถึงเช่ือชาติ ศาสนา ท้ังนี้ให
เปนไปตามความมงุ ประสงค หลกั การและวิธกี ารที่การลกู เสือโลกกําหนดไว ซึ่งประกอบดวย กิจกรรม
เงือ่ นเชอื ก กจิ กรรมนันทนาการ กจิ กรรมดาํ รงชพี ในปา โดยบูรณาการเคร่ืองมือเทคโนโลยีสารสนเทศ
ในการจัดกิจกรรมไดแก โปรแกรม HP Reveal MS Form Facebook Viva video Youtube และ
SWAY
2. กจิ กรรมชมุ นมุ
กิจกรรมชุมนุม เปนการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาความถนัด ความสนใจ ตามความ
ตองการของผูเรียน เปนกิจกรรมท่ีมุงเนนการเติมเต็มความรู ความชํานาญและประสบการณของ
ผูเรียนใหกวางขวางย่ิงข้ึน เพ่ือการคนพบความถนัดความสนใจของตนเอง และพัฒนาตนเองใหเต็ม
ศักยภาพ ตลอดจนการพัฒนาทักษะของสังคม และปลูกฝงจิตสํานึกของการทําประโยชนเพื่อสังคม
การจัดกิจกรรมชุมนุม ซ่ึงประกอบดวย กิจกรรมโครงงานคอมพิวเตอร กิจกรรมภาพยนตรส้ัน
กิจกรรมเกมสรางสรรคโดยบูรณาการเคร่ืองมือเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดกิจกรรมไดแก
โปรแกรม MY Craft Adobe Premirepro HP Reveal Wordpress MS Form Mindmeister
และ SWAY

32
3. กิจกรรมแนะแนว
กิจกรรมแนะแนว เปนกิจกรรมที่สงเสริมและพัฒนาความสามารถของผูเรียน ให
เหมาะสมตามความแตกตางระหวางบุคคล สามารถคนพบและพัฒนาศักยภาพของตน เสริมสราง
ทักษะชีวิต วุฒิภาวะทางอารมณ การเรียนรูในเชิงพหุปญญา และการสรางสัมพันธภาพที่ดี ซ่ึงผูสอน
ทุกคนตองทําหนาที่แนะแนวใหคําปรึกษาดานชีวิต การศึกษาตอและการพัฒนาตนเองสูโลกอาชีพ
และการมีงานทํา ซ่ึงประกอบดวย กิจกรรมรูตน รูงาน สานฝนสูอาชีพ กิจกรรม Marketplace FB
กิจกรรม Digital start up กิจกรรมสํารวจขอมูลนักเรียน กิจกรรม Line Creator โปรแกรม
Admission premium ระบบวดั บคุ ลิกภาพกรมจดั หางาน Facebook Youtube
4. กิจกรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณะประโยชน
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน ซึ่งเปนหนาที่ของสถานศึกษาทุกแหง
จะตองเนนการสรางเยาวชนกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชนเปนกิจกรรมท่ีตองสงเสริมให
ผูเรียนสามารถพัฒนาตนเองตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพโดยคํานึงถึงความแตกตางระหวาง
บคุ คลและพฒั นาการทางสมองเนน ใหค วามสําคัญทั้งความรูและคุณธรรมจริยธรรมจัดกิจกรรมโดยให
ผูเรยี นคดิ สรางสรรคออกแบบกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชนอยางหลากหลายรูปแบบเพ่ือ
แสดงถึงความรับผิดชอบตอสังคมในลักษณะจิตอาสา ซ่ึงประกอบดวย การลงทะเบียนกิจกรรม
กิจกรรมของดีบานฉัน โดยบูรณาการเคร่ืองมือเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดกิจกรรมไดแก
โปรแกรม MS Form Facebook Viva video และYoutube
5. กจิ กรรมสภานักเรียน
จัดกิจกรรมสภานักเรียน เพื่อเปนการสงเสริมใหนักเรียนไดฝกฝนใหรูจักการ
แสดงออก มีการเปนผูนํา ผูตามในสังคม การอยูรวมกันในสังคมไดอยางมีความสุข การพัฒนา
เว็บไซตสภานักเรียน กิจกรรมการเลือกต้ัง 4.0 กิจกรรมสื่อประชาสัมพันธ โดยบูรณาการเคร่ืองมือ
เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดกิจกรรมไดแก โปรแกรม MS Form SWAY Wordpress และ
Adobe Photoshop
3. ออกแบบสือ่ เสรมิ
การออกแบบและพัฒนาส่ือเพื่อสนับสนุนกิจกรรมในบทเรียนทําใหการออกแบบการเรียนรูเกิด
ประสทิ ธิภาพยง่ิ ข้นึ การพัฒนาทักษะพลเมืองดิจิทัลดวยกิจกรรมพัฒนาผูเรียนโดยใชโมลเดล 4Gs ไดสรางส่ือ
เพื่อสนบั สนุนผูเรยี นไดแ ก เวบ็ ไซต ใบความรู ส่ืออินเทอรเนต็
4. ลงมอื ทํา
การพัฒนาทักษะพลเมืองดิจิทัลดวยกิจกรรมพัฒนาผูเรียนโดยใชโมลเดล 4Gs เปนนวัตกรรมในการ
พัฒนาทักษะพลเมืองดิจิทัลโดยบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศในกิจกรรมการจัดการเรียนรูทั้ง 5 กิจกรรม
พัฒนาผูเรียนแผนการจัดการเรียนรู โดยในแตละแผนกิจกรรม เครื่องมือท่ีมาใชในการสนับสนุนผูเรียนในการ
พัฒนาทักษะพลเมืองดิจิทัลในกิจกรรมตางๆ จะทําใหการทําโครงงานมีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึน โดยข้ันตอน
ของการลงมือทําไดแ ก

33

1. การออกแบบแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู โดยใชกิจกรรมพัฒนาผูเรียนขับเคลื่อน กิจกรรม
เรียนรดู ี (Good Learning process) ในโมเดล 4Gs ไดแก

1. กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี
2. กิจกรรมชมุ นุม
3. กิจกรรมแนะแนว
4. กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน
5. กจิ กรรมสภานกั เรยี น

2. จดั กระบวนการเรียนรูใ หส อดคลองกับ กระบวนการพฒั นาทกั ษะพลเมืองดิจทิ ัล ของ Dr. Howard
Gardner โครงการ GoodPlay Project ที่ Harvard Graduate School of Education และความฉลาดทาง
ดิจิทัล (Digital Inteligence) หรือ DQ เปนชุดของความสามารถดา นการรับรู สตปิ ญญา อารมณ และสังคมท่ี
จะทาํ ใหคนในยุคดิจิทลั (Digital Citizen) ของ Yuhyun Park (2016) 8 ทักษะประกอบดว ย

1. ทกั ษะในการรักษาอตั ลักษณท่ดี ีของตนเอง
2. ทักษะในการจดั สรรเวลาหนาจอ
3.ทักษะในการรับมอื กบั การคุกคามทางโลกออนไลน
4. ทกั ษะในการรักษาความปลอดภัยของตนเองในโลกออนไลน
5. ทักษะในการรกั ษาขอ มลู สวนตัว
6. ทกั ษะการคดิ วเิ คราะหม วี จิ ารณญาณทดี่ ี
7. ทักษะในการบริหารจดั การขอ มูลที่ผใู ชง านมีการทงิ้ ไวบนโลกออนไลน
8. ทักษะการใชเทคโนโลยีอยา งมจี ริยธรรม

3. ศึกษาเคร่ืองมือเทคโนโลยีสารสนเทศที่จะสามารถนํามาบูรณาการการจัดการเรียนรูเพ่ือใหผูเรียน
ไปถึงเปาหมาย

4. การทดลองใชระยะส้ันเพ่อื ปรับปรุงเนอื้ หาสาระ
นวตั กรรมการพฒั นาทักษะพลเมอื งดจิ ทิ ัลดวยกจิ กรรมพัฒนาผูเรียนโดยใชโมลเดล 4Gs ผูพัฒนาไดนํา
แผนการจัดการเรียนรูไปทดลองใช กับกลุมนักเรียนที่มีความสามารถใกลเคียงกัน โดยใชกลุมนักเรียนช้ัน
มธั ยมศึกษาปท่ี 3 ในปก ารศึกษา 2559 เพอื่ พัฒนาการจัดกิจกรรม เคร่ืองมือเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีนํามาใชมี
ความเหมาะสมหรือไม จะตองปรับปรุงวิธีการสอนในสวนใด หรือจําเปนตองเพิ่มในสวนใดเพื่อใหการจัด
กิจกรรมการเรยี นรโู ครงงานคอมพิวเตอร มปี ระสทิ ธิภาพมากยิ่งข้ึน

5. นาํ ไปใชเพื่อแกปญหา
จากปญหาการจัดกิจกรรมการเรียนรูพบวาการใชเครื่องมือในการจัดการเรียนรูของครูท่ียังขาด
ประสิทธิภาพ ผูเรียนฝกทักษะความเปนพลเมืองดิจิทัลยังไมครอบคลุม และประสิทธิภาพในการใชเครื่องมือ
เทคโนโลยีสารสนเทศพฒั นากิจกรรมยังไมส อดคลอ ง ผพู ัฒนาจึงนาํ รูปแบบกจิ กรรมดังกลา วทไ่ี ดพัฒนาขึ้นไปใช
เพื่อแกป ญหาในภาคเรียนท่ี 2 ปก ารศกึ ษา 2560

34

ข้นั ตอนที่ 4 การหาประสิทธภิ าพของนวัตกรรม
นวัตกรรมการพัฒนาทักษะพลเมืองดิจิทัลดวยกิจกรรมพัฒนาผูเรียนโดยใชโมลเดล 4Gs หา
ประสทิ ธิภาพ การบรรยายคณุ ภาพ การคาํ นวณคา รอ ยละของผเู รยี น
ขนั้ ตอนที่ 5 ปรับปรุงนวัตกรรม
นําผลจากการหาประสิทธิภาพของนวัตกรรมมาปรับปรุงใหดีขึ้นหลังการทดลองใชกับผูเรียนจะทําให
ไดขอมลู ท่ีชัดเจนและเปน รายละเอียดทีจ่ ะปรบั ปรงุ นวตั กรรมไดงายข้นึ
3. ผลงานนวัตกรรม
นวัตกรรมการพัฒนาทักษะพลเมืองดิจิทัลดวยกิจกรรมพัฒนาผูเรียนโดยใชโมลเดล 4Gs มุงพัฒนา
ทักษะพลเมืองดิจิทัลของผูเรียน 8 ทักษะจัดกิจกรรมควบคูกับกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ที่เนนทักาะชีวิเปนหลัก
เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพในการจัดการเรียน พรอมท้ังบูรณาการเครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการ
เรยี นรู ดงั นี้
ตารางที่ 2 แสดงผลการเชื่อมโยงนวตั กรรมสกู ารจัดกจิ กรรมการเรยี นรู

ลําดบั ท่ี กิจกรรมพัฒนาผูเรียน กิจกรรม จุดเนนทกั ษะพลเมอื ง เคร่อื งมอื เทคโนโลยี
ดจิ ิทลั
1. กิจกรรมลกู เสือ-เนตรนารี - กิจกรรมเงื่อนเชือก 1. ทกั ษะในการ - HP Reveal MS
- กจิ กรรม รกั ษาอัตลักษณทด่ี ี - Form Facebook
2 กจิ กรรมชมุ นุม นันทนาการ ของตนเอง - Viva video
- กจิ กรรมดาํ รงชีพ 2. ทักษะในการ -Youtube
ในปา จัดสรรเวลาหนา จอ - SWAY
4. ทักษะในการ
รกั ษาความ
ปลอดภัยของตนเอง
ในโลกออนไลน
6. ทกั ษะการคิด
วิเคราะหม จี ารณ
ญาณทดี่ ี
8. ทักษะการใช
เทคโนโลยีอยา งมี
จริยธรรม
- กจิ กรรมโครงงาน 2. ทักษะในการ - My Craft
คอมพวิ เตอร จัดสรรเวลาหนา จอ - Adobe
- กจิ กรรมภาพยนตร 3.ทักษะในการ Premirepro
สน้ั รบั มอื กบั การคุกคาม - HP Reveal
- กจิ กรรมเกม ทางโลกออนไลน - Wordpress

35

ลําดบั ที่ กิจกรรมพัฒนาผเู รียน กจิ กรรม จดุ เนนทกั ษะพลเมือง เครือ่ งมอื เทคโนโลยี
ดิจทิ ลั
3 กจิ กรรมแนะแนว สรางสรรค 6. ทักษะการคิด - MS Form
วิเคราะหมี - Mindmeister
4 กจิ กรรมเพอื่ สงั คมและ วิจารณญาณทดี่ ี SWAY
สาธารณประโยชน 7. ทักษะในการ
บริหารจดั การขอมลู
ที่ผใู ชง านมกี ารทงิ้ ไว
บนโลกออนไลน
8. ทักษะการใช
เทคโนโลยีอยางมี
จริยธรรม
- กิจกรรมรตู น รูง าน 1. ทกั ษะในการ - Admission
สานฝนสูอาชีพ รักษาอตั ลักษณท ี่ดี premium
- กจิ กรรม ของตนเอง - ระบบวดั
Marketplace FB 2. ทกั ษะในการ บคุ ลิกภาพกรม
- กิจกรรม Digital จัดสรรเวลาหนาจอ จัดหางาน
start up 3.ทกั ษะในการ - Facebook
- กิจกรรมสํารวจ รบั มอื กับการคุกคาม - Youtube
ขอมูลนักเรียน ทางโลกออนไลน
-กิจกรรม Line 4. ทกั ษะในการ
Creator Sticker รักษาความ
line ปลอดภยั ของตนเอง
ในโลกออนไลน
5. ทักษะในการ
รักษาขอมูลสว นตัว
6. ทกั ษะการคิด
วิเคราะหมี
วจิ ารณญาณท่ีดี
7. ทักษะในการ
บรหิ ารจดั การขอมูล
ทผี่ ใู ชง านมกี ารทง้ิ ไว
บนโลกออนไลน
8. ทกั ษะการใช
เทคโนโลยอี ยา งมี
จริยธรรม
- การลงทะเบยี น 1. ทักษะในการ - MS Form
กิจกรรม รกั ษาอตั ลกั ษณที่ดี - Facebook

36

ลําดบั ที่ กิจกรรมพฒั นาผูเรยี น กจิ กรรม จดุ เนนทักษะพลเมอื ง เครอ่ื งมือเทคโนโลยี
ดจิ ทิ ัล
5 กิจกรรมสภานักเรียน - กิจกรรมของดีบาน ของตนเอง - Viva video
ฉัน 2. ทกั ษะในการ -Youtube
จดั สรรเวลาหนา จอ
- การพฒั นาเว็บไซต 3.ทักษะในการ
สภานกั เรยี น รบั มือกบั การคุกคาม
- กิจกรรมการ ทางโลกออนไลน
เลอื กตง้ั 4.0 4. ทักษะในการ
- กจิ กรรมสอื่ รักษาความ
ประชาสัมพันธ ปลอดภัยของตนเอง
ในโลกออนไลน
5. ทกั ษะในการ
รักษาขอมลู สว นตวั
6. ทักษะการคิด
วเิ คราะหมี
วิจารณญาณทดี่ ี
7. ทกั ษะในการ
บริหารจัดการขอมลู
ที่ผูใชงานมีการท้ิงไว
บนโลกออนไลน
8. ทักษะการใช
เทคโนโลยอี ยา งมี
จริยธรรม
2. ทกั ษะในการ - MS Form
จัดสรรเวลาหนา จอ - SWAY
4. ทกั ษะในการ -Wordpress
รกั ษาความ - Adobe
ปลอดภยั ของตนเอง Photoshop
ในโลกออนไลน
6. ทักษะการคิด
วิเคราะหม ี
วิจารณญาณทด่ี ี
7. ทักษะในการ
บรหิ ารจัดการขอมลู
ที่ผูใชง านมีการท้ิงไว
บนโลกออนไลน
8. ทกั ษะการใช

37

ลําดับที่ กจิ กรรมพฒั นาผเู รียน กจิ กรรม จดุ เนน ทักษะพลเมือง เคร่อื งมือเทคโนโลยี
ดจิ ทิ ัล

เทคโนโลยอี ยา งมี
จริยธรรม

38

บทที่ 3

การทดลองใชนวตั กรรม

1. รปู แบบการทดลอง
นวัตกรรมการพัฒนาทักษะพลเมืองดิจิทัลดวยกิจกรรมพัฒนาผูเรียนโดยใชโมลเดล 4Gs ใชรูปแบบ

การทดลองแบบกลุม เดียว (One Group Pretest-Postest Design) ดังน้ี

O1 X O2

O1 หมายถึง การวัดตวั แปรตามกอนการทดลองใชน วตั กรรม
X หมายถึง การใชนวัตกรรมการพัฒนาทักษะพลเมืองดิจิทัลดวยกิจกรรมพัฒนาผูเรียน

โดยใชโ มลเดล 4Gs
O2 หมายถึง การวดั ตัวแปรตามหลังการทดลองใชน วัตกรรม
O1 และ O2 เปนการวัดดว ยเครอ่ื งมือวัดเดียวกนั มีมาตรวัดเดยี วกัน
การวเิ คราะหเปน การเปรยี บเทยี บผลระหวา ง O2 กบั O1

2. วิธกี ารทดลอง
การพัฒนาทักษะพลเมืองดิจิทัลดวยกิจกรรมพัฒนาผูเรียนโดยใชโมลเดล 4Gs มี

วัตถุประสงคเพื่อออกแบบกจิ กรรมพฒั นาทักษะความฉลาดทางดิจิทัล ของผูเรียนดวยกระบวนการจัดกิจกรรม
การเรียนรูกิจกรรมพัฒนานักเรียน โดยการใชรูปแบบการพัฒนาทฤษฎีระบบ 4Gs เปรียบเทียบผลกอนเรียน
และหลังเรียนการพัฒนาทักษะความฉลาดทางดิจิทัลของผูเรียนดวยกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู
กิจกรรมพัฒนานักเรียน โดยการใชรูปแบบการพัฒนาทฤษฎีระบบ 4Gs ศึกษาความพึงพอใจตอการจัด
กิจกรรมการเรียนรู พัฒนาทักษะความฉลาดทางดิจิทัลของผูเรียนดวยกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู
กิจกรรมพัฒนานักเรียน โดยการใชรูปแบบการพัฒนาทฤษฎีระบบ 4Gs โดยมีข้ันตอนในการทดลองใช
นวัตกรรมดงั นี้

1. ประชากรและกลมุ ตวั อยาง
ประชากรท่ีใชในการทดลองนวัตกรรมการพัฒนาทักษะพลเมืองดิจิทัลดวยกิจกรรมพัฒนาผูเรียนโดย
ใชโมลเดล 4Gs ขั้น เปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนตน โรงเรียนวัดบางใหญ ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา
2560 จาํ นวน 76 คน

2. เครอ่ื งมือท่ใี ชใ นการวจิ ัย
ผูพ ฒั นาไดดาํ เนินการเก่ยี วกบั เคร่อื งมือทใี่ ชใ นการวิจัย พรอมการสรางและหาคุณภาพของเครื่องมือท่ี
ใชในการวจิ ยั ดังน้ี

39

2.1 แผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรูการพฒั นาทกั ษะพลเมืองดิจิทลั ดว ยกิจกรรมพัฒนาผูเรียน
โดยใชโมลเดล 4Gs

2.2 แบบทดสอบการพัฒนาทกั ษะพลเมืองดิจิทัล
2.3 แบบประเมินความพึงพอใจตอการจัดกิจกรรมการพัฒนาทักษะพลเมืองดิจิทัลดวย

กิจกรรมพัฒนาผเู รยี นโดยใชโ มลเดล 4Gs

การสรางและการหาคณุ ภาพของเครื่องมอื
ผวู จิ ยั ไดด าํ เนนิ การสรางและการหาคณุ ภาพของเครื่องมือ รายละเอียดดังน้ี

แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูการพัฒนาทักษะพลเมืองดิจิทัลดวยกิจกรรมพัฒนาผูเรียนโดยใช
โมลเดล 4Gs

ผูวิจัยไดดําเนินการสราง และการหาคุณภาพของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูการพัฒนาทักษะ
พลเมอื งดจิ ิทัลดวยกิจกรรมพัฒนาผูเรียนโดยใชโมลเดล 4Gs จํานวน 13 แผนกิจกรรมการเรียนรู ตามลําดับ
ดงั นี้

ขน้ั สรา ง
1. ศึกษาหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551
2. ศึกษาผลการเรยี นรูท่คี าดหวังของกจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น
3. วเิ คราะหค วามสอดคลอง ระหวางเนื้อหาในหนว ยการเรียนรกู บั กจิ กรรม และ

มาตรฐานการเรียนรชู วงชน้ั ท่ี 3
4. วิเคราะหผลการเรียนรู จดุ ประสงคการเรยี นรู
5. ออกแบบกระบวนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรูกิจกรรมพฒั นาผูเรียน
6. ศกึ ษารูปแบบการจดั การเรยี นรูโดยการบรู ณาการเคร่ืองมือเทคโนโลยี
7. ศึกษาทกั ษะพลเมืองดิจิทลั
8. เขียนแผนการจดั การเรยี นรู
9. จัดทํา เอกสารและสอื่ การสอน
10. จดั ทําแบบทดสอบการพฒั นาทักษะพลเมืองดจิ ิทลั ดว ยกจิ กรรมพัฒนาผูเ รยี นโดย

ใชโมลเดล 4Gs และแบบประเมนิ ความพึงพอใจการจัดกิจกรรมการเรียนรู

ขัน้ หาคณุ ภาพ
1. ผพู ัฒนานาํ แบบตรวจสอบความเทีย่ งตรงตามเน้ือหา ระหวา งการจัดแผนการจัดการเรียนรูก บั
ผลการเรียนรูท่สี รางขึน้ เสนอใหผูเชี่ยวชาญดา นเทคโนโลยสี ่ือสารการศึกษาตรวจสอบความเท่ียงตรงตาม
เนอื้ หา ระหวา งการจดั แผนการเรยี นรูก บั ผลการเรยี นรู โดยพิจารณาจากคะแนน
กําหนดการใหคะแนน

+1 แทน แนใจวา ขอ คําถามนนั้ สอดคลองกับผลการเรยี นรู
0 แทน ไมแ นใจวา ขอคําถามนนั้ สอดคลองกับผลการเรยี นรู
-1 แทน แนใจวา ขอคําถามนั้นไมสอดคลองกับผลการเรียนรู

40

2. ผูพัฒนาสรปุ ผลจากแบบตรวจสอบ ความเทย่ี งตรงตามเนอ้ื หา ระหวา งการจดั แผนการเรียนรู
กับผลการเรยี นรู มีคา IOC เทากับ 1.00 ทกุ ขอ แสดงวา มีความเท่ียงตรงตามเน้ือหา ระหวา งการจดั แผนการ
เรียนรกู ับผลการเรยี นรู สามารถนาํ ไปใชส อนจริงได

3. ผพู ฒั นานําแผนการจัดการเรยี นรู พรอมแบบตรวจสอบ เสนอใหผ ูเชี่ยวชาญดานเทคโนโลยี
ส่อื สารการศึกษาประเมินความเหมาะสม ระหวางการจัดแผนการเรยี นรูก ับผลการเรยี นรู โดยพิจารณาจาก
คะแนน

กําหนดการใหคะแนน
5 คะแนน มคี วามเหมาะสม ระดบั มากทสี่ ดุ
4 คะแนน มีความเหมาะสม ระดับมาก
3 คะแนน มีความเหมาะสม ระดับปานกลาง
2 คะแนน มีความเหมาะสม ระดับนอย
1 คะแนน มคี วามเหมาะสม ระดับนอยทีส่ ุด

เกณฑการแปลผล (พสิ ณุ ฟองศรี, 2551)
4.21–5.00 เหมาะสมมากทสี่ ดุ
3.41–4.20 เหมาะสมมาก
2.61–3.40 เหมาะสมปานกลาง
1.81–2.60 เหมาะสมนอย
1.00–1.80 เหมาะสมนอยทีส่ ุด

4. ผูศึกษาสรุปผล จากการประเมินความเหมาะสม ระหวางการจัดแผนการเรียนรู กับผลการ
เรียนรู พบวา คาเฉล่ีย เทากับ 4.63 แสดงวา แผนการจัดการเรียนรูมีความเหมาะสมระดับมากท่ีสุด นําไปใช
สอนจรงิ ได

5. ผวู จิ ัยนําแผนการจัดการเรียนรู มาปรับปรงุ ในสว นทบ่ี กพรอง ตามคําแนะนําของผเู ชีย่ วชาญ ให
ดีขึ้น เชน ระยะเวลาในการจัดกิจกรรมการเรียนรูนอยไป ทักษะกระบวนการท่ีจะใหเกิดกับผูเรียน การ
ปรับปรุงแกไขข้ันสอนตลอดจนการเลือกใชเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการเรียนรู จนถูกตองเปนท่ี
เรยี บรอ ย

6. ผูว จิ ยั นําแผนการจดั การเรียนรูทีป่ รบั ปรุงแลวไปทดลองใช
6.1 ทดลองใชสอนกับผูเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3 ภาคเรยี นท่ี 1 ปก ารศกึ ษา 2559

จํานวน 32 คน จัดกิจกรรมการเรียนรูผานกิจกรรมแนะแนว ทดสอบหลังเรียนดวยแบบทดสอบการพัฒนา
ทักษะพลเมืองดิจิทัลดวยกิจกรรมพัฒนาผูเรียน จํานวน 20 ชั่วโมง พรอมบันทึก และสังเกตพฤติกรรมผูเรียน
อยางใกลชิด โดยการสัมภาษณ (อยางไมเปนทางการ) หรือพูดคุยอยางอิสระเปนกันเอง และจากการสังเกต
ของครู ผลการทดลอง ปรากฏวา มีจดุ บกพรอ ง ดังน้ี

41
1. ระยะเวลาการจดั การเรียนรูบางขน้ั นอยเกินไป และบางข้ันเวลาไมเหมาะสม
2. ความรูดา นเทคโนโลยที ีผ่ เู รียนจาํ เปน จะตองมีกอ นการเรยี น
3. การอธิบายเคร่ืองมือทางเทคโนโลยที ่ผี ูเรียนเพื่อใหค วามรูผเู รียนกอ นจะเกดิ

ทกั ษะความชาํ นาญในเคร่ืองมือนั้น
สําหรับจุดบกพรองของครูท่ีควรเพิ่มเติมใหชัดเจนย่ิงข้ึน คือ ปรับปรุงแบบสังเกตพฤติกรรม
แบบประเมนิ คณุ ภาพผูเ รียน ใหม ีเกณฑรดั กมุ การเรยี นรเู ครอื่ งมอื เทคโนโลยีสารสนเทศกอนการจัดการเรยี นรู
7. ผูวจิ ยั ไดด ําเนนิ การปรับแกทุกขอท่ีกลาวขางตน ใหถ ูกตองเรยี บรอย แลวจัดกิจกรรมการเรียนรู
และพัฒนาอยา งตอเน่ืองแลว ยืนยนั การปรบั ปรงุ แกไขเสนอผเู ช่ยี วชาญดา นเทคโนโลยสี อื่ สารการศึกษา
ตรวจสอบ เพื่อพิจารณาความเหมาะสมและความถกู ตองอกี คร้ัง
8. จากการปรับปรุงและพฒั นาเปนทีเ่ รียบรอย ตรวจสอบถกู ตอ งแลว ไดด าํ เนนิ การทดลอง ตอ ไป
9. นําแผนการจัดการเรียนรูไปใชทดลองกับผูเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนตน ในภาคเรียนท่ี 1 ในป
การศึกษา 2560 กับผูเรียนจํานวน 76 คน จํานวน 20 ชั่วโมง จัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชกิจกรรมพัฒนา
ผูเรียน 5 กิจกรรม ที่ปรับปรุงมาแลว ทดสอบหลังจัดกิจกรรมการเรียนรูการพัฒนาทักษะพลเมืองดิจิทัลดวย
กิจกรรมพฒั นาผูเรยี น
แบบทดสอบการพฒั นาทกั ษะพลเมืองดจิ ทิ ัลดว ยกิจกรรมพัฒนาผูเ รียน
ผูศึกษาไดสรางและหาคุณภาพ ของแบบทดสอบการพัฒนาทักษะพลเมืองดิจิทัลดวยกิจกรรมพัฒนา
ผเู รียน ตามลาํ ดับดังนี้
ขัน้ สราง
1. ศึกษาและทบทวนทฤษฎี แนวคิดตาง ๆ และงานวิจัยท่ีเก่ียวของกับแบบทดสอบการพัฒนา
ทักษะพลเมืองดิจทิ ลั
2. ศึกษาความหมายของพลมืองดิจิทัล ประเภทของแบบทดสอบทักษะพลเมืองดิจิทัล จากตํารา
ตาง ๆ อยา งหลากหลาย
3. ศึกษาวิธสี รา งแบบทดสอบทักษะพลเมืองดจิ ิทลั จากเอกสารท่เี ก่ยี วขอ ง
4. สรางแบบทดสอบทักษะพลเมืองดิจิทัล ใหครอบคลุมผลการเรียนรู ของการจัดการเรียนรู
กิจกรรมพฒั นาผูเ รยี น
5. สรางแบบทดสอบการพัฒนาทักษะพลเมืองดิจิทัลดวยกิจกรรมพัฒนาผูเรียน เปนแบบทดสอบ
แบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จํานวน 30 ขอ
ขนั้ หาคุณภาพ
1. นําแบบทดสอบการพัฒนาทักษะพลเมืองดิจิทัลดวยกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ที่ผูวิจัยสรางข้ึนให
ผเู ชย่ี วชาญดานวัดผล จํานวน 1 คน และผูเช่ียวชาญดานภาษาไทย จํานวน 1 คน ผูเชี่ยวชาญดานเทคโนโลยี
จํานวน 1 คน ตรวจสอบความเท่ียงตรงตามเนื้อหา และแกไขสํานวน ภาษา ตัวเลือก ตัวลวง และตรวจสอบ
เฉลย แลวนาํ มาปรบั ปรงุ แกไข ตามความเหน็ และขอ เสนอแนะเพ่ิมเติมของผเู ชี่ยวชาญ 3 คน

42

2. นาํ คะแนนไปหาคา IOC โดยใชส ูตร ดังนี้
IOC = ∑NR

เมือ่ ∑R แทน ผลรวมคะแนนความคดิ เหน็ ของผูเช่ียวชาญ
N แทน จํานวนผเู ชย่ี วชาญ

กําหนดการใหคะแนน
+1 แทน แนใจวาขอ คําถามน้ันสอดคลอ งกบั ผลการเรียนรู
0 แทน ไมแ นใจวาขอคาํ ถามนั้นสอดคลองกับผลการเรยี นรู
-1 แทน แนใจวา ขอ คาํ ถามนนั้ ไมสอดคลอ งกับผลการเรยี นรู

และพบวา ขอสอบแตละขอ มีคา IOC เทากบั 1.00 ทุกขอ
3. นําแบบทดสอบการพัฒนาทักษะพลเมืองดิจิทัลดวยกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ที่ปรับปรุงแกไข แลว
เสนอ ผูเช่ียวชาญดานวัดผล ผูเชี่ยวชาญดานภาษาไทย จํานวน 1 คน และผูเชี่ยวชาญดานเทคโนโลยี จํานวน
1 คน ตรวจสอบเพ่ือพิจารณาอีกคร้ัง และยืนยันการปรับปรุง แลวพิจารณาคัดเลือกขอสอบที่มีคาดัชนีความ
เทยี่ งตรงตามเนื้อหา ตั้งแต 0.50–1.00 ซงึ่ ไดท ุกขอ และสอดคลอ งกบั ทุกผลการเรียนรู
4. แบบทดสอบการพฒั นาทักษะพลเมอื งดจิ ทิ ัลดว ยกจิ กรรมพฒั นาผูเ รยี น ไปทดลองใชกับผูเรียน ช้ัน
มัธยมศึกษาปท ี่ 3 ภาคเรยี นที่ 1 ปก ารศกึ ษา 2559 จํานวน 32 คน
5. ตรวจกระดาษคาํ ตอบ โดยตอบผดิ ให 0 คะแนน ตอบถูก ให 1 คะแนน
6. นําผลการสอบมาวิเคราะหหาคาความยากงาย และคาอํานาจจําแนก และหาคุณภาพของ
แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น คา ความยากงา ย ท่ใี ชไ ด มคี า ตั้งแต 0.20–0.80

การแปลความหมาย มีดังนี้
คา ความยากงาย ตง้ั แต 0.20–0.40 คอ นขา งยาก
คา ความยากงา ย ต้ังแต 0.40–0.60 ปานกลาง
คา ความยากงาย ตั้งแต 0.60–0.80 คอ นขางงาย

และคา อํานาจจาํ แนก ทีใ่ ชไ ด มีคา ต้งั แต 0.20 ขึ้นไป
จากการหาคา ความยากงายและคา อํานาจจําแนก ของแบบทดสอบการพัฒนาทักษะพลเมืองดิจิทัล
ดวยกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ไดคาความยากงายต้ังแต 0.40 ถึง 0.67 แสดงวาแบบทดสอบการพัฒนาทักษะ
พลเมืองดิจิทัลดวยกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ดังกลาว มีคาความยากงายปานกลางถึงคอนขางงาย และมีคา
อํานาจจําแนก ตั้งแต 0.27 ถึง 0.53
แสดงวา แบบทดสอบการพัฒนาทักษะพลเมืองดิจิทัลดวยกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ดังกลาวสามารถ
จําแนกผเู รียนได จงึ ถอื วา คุณภาพของแบบทดสอบการพัฒนาทักษะพลเมืองดิจิทัลดวยกิจกรรมพัฒนาผูเรียน
อยูใ นระดบั ดี นําไปใชท ดสอบได
7. นําแบบทดสอบการพัฒนาทักษะพลเมืองดิจิทัลดวยกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ไปใชทดสอบกับ
ผูเ รียน ชัน้ มัธยมศกึ ษาตอนตน ภาคเรียนที่ 2 ปก ารศึกษา 2560 จํานวน 76 คน
จาํ นวน 30 ขอ ท่ีคดั ไว และสอดคลอ งกบั ผลการเรยี นรูท กุ ขอ

43

8. หาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบการพัฒนาทักษะพลเมืองดิจิทัลดวยกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ได
เทากับ 0.80 แสดงวา เปนแบบทดสอบการพัฒนาทักษะพลเมืองดิจิทัลดวยกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ท่ีมีความ
เชอื่ มั่นในระดบั ดี

9. นําแบบทดสอบการพัฒนาทักษะพลเมืองดิจิทัลดวยกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ปรับปรุงแกไขใหมี
คุณภาพ อยูใ นระดับดที ่นี า พอใจ กอนนาํ ไปใชทดลอง และนาํ ไปใชจริงกบั กลุมทดลองและกลมุ ควบคุมตอไป

ประเมินความพึงพอใจตอการจัดกิจกรรมการพัฒนาทักษะพลเมืองดิจิทัลดวยกิจกรรมพัฒนา
ผเู รยี นโดยใชโมลเดล 4Gs

ผูพัฒนาไดดําเนินการสราง และหาคุณภาพของประเมินความพึงพอใจตอการจัดกิจกรรมการเรียนรู
แบบโครงงานดวยการพัฒนาทกั ษะพลเมอื งดิจิทัลดวยกจิ กรรมพฒั นาผูเ รียน ตามลําดบั ขนั้ ตอน ดังนี้

ขั้นสรา ง
1. ศกึ ษาทฤษฎีแนวคิดเกี่ยวกับ การสรา งแบบวดั เจตคตติ ามวิธีของ Likert
(ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ, 2542)
2. สรางประเมินความพึงพอใจตอการจัดกิจกรรมการเรียนรูการพัฒนาทักษะพลเมืองดิจิทัลดวย
กจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น เปนมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) ตามวธิ ขี อง Likert ซง่ึ ผศู กึ ษาไดสรางขึ้นให
เหมาะสมกับวยั ของผูเรียน จาํ นวน 20 ขอ

ขั้นหาคณุ ภาพ
1. นําประเมินความพึงพอใจตอการจัดกิจกรรมการเรียนรูการพัฒนาทักษะพลเมืองดิจิทัลดวย
กิจกรรมพัฒนาผูเรียน ไปใหผูเชี่ยวชาญดานภาษาไทยวัดผลการศึกษา และดานเทคโนโลยีจํานวน 3 คน ได
ตรวจสอบความถูกตองเชิงเน้ือหาและความเหมาะสม และนํามาแกไขพัฒนา คัดเลือกไวเพียง 10 ขอ ซึ่ง
ครอบคลมุ ตามท่ตี อ งการ
2. นําประเมินความพึงพอใจตอการจัดกิจกรรมการเรียนรูการพัฒนาทักษะพลเมืองดิจิทัลดวย
กิจกรรมพัฒนาผเู รยี น ที่ปรับปรุงถกู ตอ งแลวไปทดลองกบั ผเู รียน ซ่ึงไมใชกลุมทดลอง
3. นําขอมูลมาจัดระบบ วิเคราะหหาคาความเช่ือมั่น โดยวิธีสัมประสิทธิ์แอลฟา (α Coefficient)
ของครอนบัค (Cronbach, 1990) ไดคาความเชื่อมั่นของแบบประเมินความพึงพอใจตอการจัดกิจกรรมการ
พฒั นาทักษะพลเมืองดิจทิ ัลดว ยกิจกรรมพฒั นาผเู รียน ท้งั ฉบับ เทากับ .81 แลว จึงนาํ ไปใชจ รงิ


Click to View FlipBook Version