The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sciencemsu2021, 2021-11-15 03:39:37

No 40 issue 5

No 40 issue 5

วารสารวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม

วัตถปุ ระสงค์ รองศาสตราจารย์ ดร.ฉันทนา อารมย์ดี
วารสารวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม จดั ท�ำ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือเป็นแหล่งเผยแพร่ผลงานทางวิชาการที่มี รองศาสตราจารย์ ดร.บญุ จง ขาวสิทธิวงษ์
คณุ ภาพของนักวิชาการท้ังในและต่างประเทศ โดยเผยแพร่บทความ สถาบันบัณฑติ พฒั นาบริหารศาสตร์
วจิ ยั (research article) บทความปรทิ ศั น์ (review article) ในสาขาวชิ า รองศาสตราจารย์ ดร.พรเทพ ถนนแก้ว
ต่างๆ ได้แก่ คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น
เกษตรศาสตร์ แพทยศาสตร์ วทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพ และสหวทิ ยาการ รองศาสตราจารย์ ดร.นฤมล แสงประดบั
ดา้ นวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ขอนแก่น
เจ้าของ รองศาสตราจารย์ ดร.เทอดศักด์ิ คำ�เหม็ง
มหาวิทยาลยั มหาสารคาม มหาวิทยาลยั ขอนแกน่
สำ�นกั งานกองบรรณาธกิ าร รองศาสตราจารยย์ ืน ภวู่ รวรรณ
กองส่งเสรมิ การวจิ ยั และบรกิ ารวชิ าการ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ตำ�บลขามเรยี ง อำ�เภอกันทรวชิ ัย จงั หวัดมหาสารคาม 44150 รองศาสตราจารย์ ดร.อรวิชญ์ กุมพล
โทรศัพท์ภายใน 1754 โทรศัพท/์ โทรสาร 0-4375-4416 มหาวิทยาลยั มหาสารคาม
อทธป่ี ิกราึกรษบาดีมหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม รองศาสตราจารย์ นายแพทยศ์ ริ เิ กษม ศริ ิลกั ษณ์
ศาสตราจารย์ ดร.วสิ ทุ ธ์ิ ใบไม้ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร
ศาสตราจารย์ ดร.วชิ ยั บุญแสง รองศาสตราจารย์ ดร.ชวลติ บญุ ปก
ศาสตราจารย์ ดร.พีระศกั ดิ์ ศรนี ิเวศน์ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม
ศบารสรตณราาธจาิกรายร์ ดร.ปรชี า ประเทพา ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.นพรตั น์ พุทธกาล
ผู้ชว่ ยบรรณาธกิ าร มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี
ศาสตราจารย์ ดร.ไพโรจน์ ประมวล ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.อนชุ า เพียรชนะ
มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อุบลราชธานี
ศาสตราจารย์ ดร.ศิริธร ศริ อิ มรพรรณ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เสกสรร สขุ ะเสนา
มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม มหาวทิ ยาลยั นเรศวร
รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.วรพล เองวานชิ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วลยั พร ทองเจริญบัวงาม
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
รองศาสตราจารย์ ดร.วัลยา สุทธขิ ำ� ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อลงกรณ์ ละมอ่ ม
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม
กศาอสงตบรรารจณารายธ์ ดกิ รา.รทวีศกั ด์ิ บุญเกดิ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.ณฐพล ภมู ิพันธ์ุ
จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ศาสตราจารย์ ดร.ละออศรี เสนาะเมอื ง ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สมนึก พว่ งพรพิทักษ์
มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม
ศาสตราจารย์ ดร.ปราณี อ่านเปรอ่ื ง อาจารย์ เภสัชกร ดร.รักษ์จนิ ดา วัฒนาลยั
จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั สยาม
ศาสตราจารย์ ดร.นิวฒั เสนาะเมอื ง Dr.Adrian R. Plant
มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ศาสตราจารย์ ดร.อนงค์ฤทธ์ิ แขง็ แรง เลขานุการ
มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม ฉวีวรรณ อรรคะเศรษฐงั
ศาสตราจารย์ ดร.วงศา เลา้ หศิริวงศ์ ผพูช้ัก่วตยร์วเลิไลขารน่งุ วกุ ิสาัยร
มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น จิรารตั น์ ภูสีฤทธิ์
รองศาสตราจารย์ ดร.สนุ นั ท์ สายกระสุน กำ�หนดเผยแพร่
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปลี ะ 6 ฉบับ
รองศาสตราจารย์ ดร.สุวรรณา บญุ ยะลพี รรณ ฉบบั ท่ี 1 มกราคม-กุมภาพันธ์
มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ฉบับที่ 2 มนี าคม-เมษายน
รองศาสตราจารย์ ดร.ขวัญใจ กนกเมธากุล ฉบบั ท่ี 3 พฤษภาคม-มิถุนายน
มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ ฉบับท่ี 4 กรกฎาคม-สิงหาคม
ฉบบั ท่ี 5 กนั ยายน-ตุลาคม
ฉบบั ที่ 6 พฤศจิกายน-ธนั วาคม

บทความและความคิดเห็นในวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั มหาสารคาม เปน็ ความคิดเหน็ ของผู้เขียน กองบรรณาธิการ
ไม่จำ�เป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป และบทความในวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สงวนสิทธ์ิตามกฎหมายไทย การจะนำ�ไปเผยแพร่ต้อง
ไดร้ ับอนญุ าตเป็นลายลกั ษณ์อักษรจากกองบรรณาธิการเท่านั้น

วารสารวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม http://www.journal.msu.ac.th เผยแพรเ่ ม่อื วันที่ 31 ตลุ าคม 2564

บทบรรณาธกิ าร

เฮด็ เห็ด ... Head-hed... หัวเหด็

จากหัวเร่อื ง “เฮด็ เห็ด” ถา้ แปลตามความหมายของภาษาอสี าน “เฮด็ ” หมายถงึ “ทาำ ” แต่เสยี ง “เฮ็ด” นี้ก็ไปพ้องกบั
เสยี ง “Head” ในภาษาองั กฤษทแี่ ปลว่า “ศีรษะ” หรือ “หวั ” ซ่ึงในภาษาไทยใช้คาว่า “หัวเหด็ ” ในความหมายเชงิ เปรียบเทยี บ
ถึงสิ่งต่างๆ ที่มีลักษณะหัวบานแต่ก้านยาวเหมือนดอกเห็ด เช่น ใช้ เรียกตะปูชนิดหนึ่งสำาหรับตอกสังกะสีที่มีหัวบานเหมือน
ดอกเหด็ ว่าตะปหู ัวเห็ด เปน็ ต้น นอกจากน้ี คาำ วา่ หัว เหด็ ยังใชเ้ ป็นสำานวนท่ีหมายถงึ ลักษณะของผูม้ ีความทรหดอดทนและ
เกาะตดิ กับสงิ่ ใดส่ิงหน่งึ อย่างแน่วแน่ เชน่ นักข่าวหัวเห็ด นบั สืบหวั เหด็ เปน็ ต้น ซ่ึงคุณสมบัติเหลา่ น้ี น่าจะเป็นสิ่งทไ่ี ด้มาจาก
การสังเกตธรรมชาติการเจริญเติบโตของเห็ด ที่มักจะเกาะติดกับพืชอาหารหรืออินทรีย์วัตถุที่เห็ดน้ันกำาลังย่อยอยู่ เพื่อให้ได้
เป็นสารอินทรีย์ขนาดเล็กสำาหรับการเจริญของเห็ดเองและเป็นการช่วยหมุนเวียนสารอาหารในระบบนิเวศ เห็ด กลุ่มน้ีจัดเป็น
กลมุ่ เห็ดผยู้ ่อยสลาย (saprobe) เชน่ เห็ดฟาง เหด็ โขน หรอื เหด็ หนา้ ววั น้อย ทเี่ ป็นพระเอกบนปก ของวารสารฉบับนี้ นอกจากนี้
ยังมีเห็ดอีกกลุ่มท่ีมีการดำารงชีวิตร่วมกับส่ิงมีชีวิตอื่นแบบซิมไบโอซิส (symbiosis) ได้แก่ เห็ดกลุ่มท่ีพ่ึงพาอาศัยกับพืช เช่น
เห็ดเผาะ เห็ดไค เป็นต้น กับกลุ่มท่ีพ่ึงพาอาศัยกับปลวก เช่น เห็ดโคน อย่างไรก็ดี ยังมีเห็ดท่ีดำารงชีวิตแบบเป็นปรสิตของ
พชื ยืนต้นหรือของเหด็ ดว้ ยกนั เชน่ เหด็ หลนิ จือ ซึง่ มสี รรพคุณทางยาท่ีรูจ้ ักกันดมี าชา้ นาน

เม่ือการเปลี่ยนแปลงของฤดูกาลมาถึงอีกคร้ัง จากร้อนสู่ฝน จากฝนกำาลังจะเปลี่ยนเป็นหนาว ซึ่งเป็นฤดูกาลของ
การเกบ็ เห็ดป่า ที่มกั จะมาในเวลาไล่เลย่ี กบั ปัญหาหมอกควนั จนบางครั้งทาำ ให้ “การเกบ็ เห็ด” กลายเปน็ จาำ เลยของสังคม ทั้งนี้
เพราะยังมีความเช่ือท่วี า่ “ต้องเผาป่ากอ่ นเหด็ ถงึ จะออก” แต่หากพจิ ารณาให้ดี จะเห็นไดว้ า่ ความรอ้ นจากการเผาน้นั นอกจาก
จะทำาลายเช้ือเห็ด ซึ่งก็คือเชื้อราจำาพวกหนึ่งท่ีอยู่ตามผิวดิน แล้วยังทำาลายแหล่งอาหารพวกซากอินทรีย์วัตถุของเห็ดไปด้วย
ดังนั้น นอกจากไม่ควรเผาป่าแล้ว เวลาเก็บเห็ดต้องเหลือส่วนหน่ึงไว้เป็นแม่เชื้อในธรรมชาติ ไม่ควรเก็บจนหมด และควร
ช่วยกันเตมิ อนิ ทรยี วัตถุให้ปกคลุม และรกั ษาความชมุ่ ชืน้ ของผนื ป่าตามธรรมชาติไว้ เพือ่ ให้เราสามารถ “เฮ็ดเห็ด” กนั ไดต้ อ่ ไป
อีกตราบนานเทา่ นาน เพราะไมแ่ น่วา่ อาจมีสารออกฤทธสิ์ าคัญในเห็ดบางอยา่ งท่ีมสี รรพคุณทางยาที่เป็นเลิศ รอให้นกั วิจัยมา
ค้นพบอยูก่ เ็ ปน็ ได้

รองศาสตราจารย์ ดร.วลั ยา สุทธขิ ำา
ผชู้ ่วยบรรณาธิการ



สารบญั

Agricultural Science 341

ผลของวธิ ีการเตรยี มและอณุ หภูมิทมี่ ผี ลต่อระยะเวลาทใ่ี ชใ้ นการอบแห้งและคุณภาพของเมล่อน 347
Effect of raw material preparation method prior drying and temperature in hot-air drying process 356
on the drying time and melon of quality 369
376
วิเชยี ร ดวงสเี สน
Wichian Duangsrisen

Engineering

การศกึ ษาการวดั แรงบิดโดยออ้ มโดยใชค้ ณุ ลกั ษณะการสนั่ ของมอเตอรข์ นั สกรู
Study of indirect torque measurement using vibration characteristics of screw motor

ทัศนยี ์ โพธ์ิศร,ี ชลธี โพธิ์ทอง
Tatsanee Phosri, Chonlatee Photong
อณุ หภมู ิและเวลาที่เหมาะสมในการอบคนื ไฟต่อคณุ สมบตั เิ ชงิ กลของมีดโต้
Optimal tempering process on mechanical properties of chopping knife
สมบตั ิ น้อยมง่ิ , วรรณา หอมจะบก, มาโนช รทิ ินโย, ณรงคศ์ ักด์ิ ธรรมโชติ
Sombut Noyming, Wanna Homjabok, Manote Rithniyo, Narongsak Thammachot

Health Science

กลมุ่ อาการที่พบจากการใช้คอมพวิ เตอร์ในการปฏบิ ัตงิ าน
The physical symptoms from personnel computer using

วรนิ ทร์ทพิ ย์ คงฤทธิ์
Varintip Khongrit
การพัฒนาระบบการพยาบาลผปู้ ่วยโรคหลอดเลอื ดหวั ใจ โรงพยาบาลชินเขต ในกรงุ เทพมหานคร
Development of nursing system for coronary artery disease patients at Chinnakhet Hospital
in Bangkok
สุทศั น์ ศุภนาม, นิษา เรืองกิจอดุ ม, สถาพร มนัสสถติ ย์
Suthat Supanam, Nisa Ruangkitudom, Sathaporn Manatsathit

VI J Sci Technol MSU Vol 40. No 4, July-August 2021

ผลของวิธีการเตรียมและอุณหภูมิที่มีผลต่อระยะเวลาท่ีใช้ในการอบแห้งและคุณภาพ
ของเมล่อน
Effect of raw material preparation method prior drying and temperature in hot-air
drying process on the drying time and melon of quality

วิเชียร ดวงสเี สน1*
Wichian Duangsrisen1*
Received: 20 May 2021 ; Revised: 30 July 2021 ; Accepted: 31 August 2021
บทคัดยอ่

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาระยะเวลาท่ีใช้ในการอบแห้งและคุณภาพของเมล่อนอบแห้ง โดยใช้เมล่อนสด ไม่ผ่านการ
ปรับสภาพ (Untreated) เมล่อนท่ีปรับสภาพลวกด้วยน้ำ�ร้อน (BHW) และเมล่อนท่ีปรับสภาพแช่ในสารละลายน้ำ�ตาล (SS)
อบแหง้ ด้วยต้อู บลมร้อนอุณหภมู ิ 50°C, 60°C และ 70°C จากผลการทดลองพบว่าอุณหภูมิ ลมรอ้ น 70°C ใช้เวลาในการอบแห้ง
สนั้ กว่าอุณหภูมิลมร้อน 60°C และ 50°C ตามล�ำ ดับ เมล่อนทป่ี รับสภาพลวกด้วยน้ำ�รอ้ นใชเ้ วลาในการอบแห้งสนั้ กว่าเมล่อนสด
ไม่ผ่านการปรับสภาพ และเมล่อนท่ีปรับสภาพแช่ในสารละลายน้ำ�ตาล ตามลำ�ดับ อุณหภูมิลมร้อน 70°C มีการหดตัวตำ่�กว่า
อณุ หภูมิ 60°C และ 50°C ตามล�ำ ดับ เมลอ่ นท่ีปรบั สภาพแชใ่ นสารละลายนำ้�ตาล มกี ารหดตวั ต่ำ�กว่าเมลอ่ นสดไม่ผ่านการปรับ
สภาพ และเมลอ่ นทีป่ รบั สภาพลวกด้วยน้�ำ รอ้ น ตามล�ำ ดับ อุณหภูมทิ ใ่ี ชใ้ นการอบแหง้ เพิ่มขน้ึ ค่าความสวา่ ง (L*), คา่ ความเป็น
สีแดง (a*) และค่าความเปน็ สเี หลอื ง (b*) ของตวั อยา่ งเมล่อนอบแห้งมคี า่ เพ่ิมข้นึ เมลอ่ นสดไมผ่ ่านการปรบั สภาพ และเมลอ่ น
ที่ปรับสภาพแช่ในสารละลายนำ้�ตาล การอบแห้งท่ีอุณหภูมิท่ีต่างกันให้ค่าความแตกต่างของสีรวม (∆E*) ใกล้เคียงกัน ส่วน
เมล่อนท่ีปรับสภาพลวกด้วยน้ำ�ร้อนมีค่าความแตกต่างสีรวม (∆E*) แตกต่างจากเมล่อนสดไม่ผ่านการปรับสภาพ และเมล่อน
ทปี่ รบั สภาพแชใ่ นสารละลายนำ้�ตาล
คำ�สำ�คัญ: การอบแหง้ เมล่อน คณุ สมบตั เิ มลอ่ นอบแห้ง การอบแห้งแบบลมรอ้ น

Abstract

This research aimed to study the drying time and qualities of dried melon prepared from fresh melon, melon blanched
in 88°C hot water and melon which had been soaked in 10% (w/w) syrup. Samples were dried with a hot-air oven
at 3 different temperatures (50°C, 60°C and 70°C). The results showed that a hot air temperature of 70°C took less
time to dry than at 60°C and 50°C. Blanched melons took less time to dry than untreated melons and melons that
had been soaking in syrup. At 70°C hot air drying temperature, shrinkage was less than at 60°C and 50°C. Melons
that had been soaking in syrup experienced less than the untreated or blanched melons. The brightness (L*),
redness (a*), and yellowness (b*) of the dried melon samples increased as the drying temperature increased. The total
color difference (∆E*) between untreated melons and melons that had been soaking in syrup and dried at different
temperatures was similar. For blanched melons, the total color difference (∆E*) was different from that of untreated
melons and melons that had been soaking in syrup.
Keywords: Melon Drying, Properties of Dried Melon, Hot air Drying

1 อาจารย์, คณะเทคโนโลยกี ารเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลสุวรรณภูมิ พระนครศรีอยุธยา 13000
1 Lecturer, Faculty of Agricultural Technology and Agro-Industry, Rajamangala University of Technology Suvarnabhumi,

Phranakhonsiayutthaya, 13000
* Corresponding author: Wichian Duangsrisen, Faculty of Agricultural Technology and Agro-Industry, Rajamangala University of

Technology Suvarnabhumi, Phranakhonsiayutthaya, 13000, e-mail: [email protected]

342 Wichian Duangsrisen J Sci Technol MSU

บทน�ำ วัสดุอปุ กรณแ์ ละวธิ กี ารศึกษา

เมล่อน (Cucumis melo L.) สามารถเจริญเติบโตไดด้ ีในเขต 1. การวางแผนการทดลอง
ที่มีอากาศอบอุ่นมีแสงแดดเพียงพอและความช้ืนสัมพัทธ์ตำ่� ใช้แผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely
ดว้ ยรสชาตทิ ่ีหวานหอม จึงเปน็ ท่ตี อ้ งการของตลาดและราคา randomized design, CRD) จดั การทดลองแบบแฟกทอเรียล
แพงทำ�ให้เกิดการวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตและการ (Factorial Experiment) โดยมปี จั จยั การศกึ ษาปจั จัยที่ 1 คอื
ปรับปรุงพันธุ์เมล่อนต่อเนื่องมาตามลำ�ดับ ประเทศไทยมี อณุ หภูมิ 3 ระดับ (50°C, 60°C, 70°C) และปัจจัยที่ 2 คือ
พนื้ ท่ปี ลกู เมลอ่ น 6,120 ไร่ จ�ำ นวนผู้ปลกู 570 ราย ในพน้ื ท่ี วิธเี ตรียมวัตถุดบิ ที่ใช้ในการอบแห้ง 3 วธิ ี (เมลอ่ นสดไมผ่ า่ น
26 จังหวัด ผลผลิตรวม 9,547.71 ตนั หรอื 2,035 กิโลกรัม/ การปรับสภาพ, เมล่อนท่ผี า่ นการปรับสภาพลวกดว้ ยน�ำ้ ร้อน,
ไร่ พ้ืนที่ปลูกส่วนใหญ่อยู่ในจังหวัดลพบุรี นครสวรรค์ เมล่อนท่ีผ่านการปรับสภาพแช่ด้วยนำ้�เชื่อม) โดยนำ�
พระนครศรีอยุธยา และสระบุรี (พวงทิพย์ บุญช่วย, 2560) แต่ละระดับของทุกปัจจัยมาทดลองร่วมกันเป็นทรีตเมนต์
สายพันธทุ์ ี่ใชป้ ลูก คือ เมลอ่ นตาข่ายเนือ้ สีสม้ เมล่อนตาขา่ ย (Treatment combinations) โดยวัดค่าผลการทดลอง 3 ค่า
เนอื้ สเี ขยี ว เมลอ่ นสที องผวิ เรยี บเนอ้ื สสี ม้ เมลอ่ นสที องผวิ เรยี บ คือระยะเวลาท่ีใชใ้ นการอบแห้ง การหดตัวของเมล่อนอบแห้ง
เนื้อสีขาว และเมล่อนสีทองผิวเรียบเนื้อสีเขียว เมล่อนท่ีได้มี และคณุ ภาพสขี องเมลอ่ นอบแห้ง ท�ำ การทดลอง 3 ซ้ำ�
3 เกรด คอื เกรด A น้�ำ หนกั ผล 1.3-2.5 กโิ ลกรมั ราคา 100 2. วัตถดุ ิบทใี่ ชใ้ นการทดลอง
บาท/กโิ ลกรัม เกรด B น้�ำ หนักผล 1-1.2 กโิ ลกรมั ราคา 45 เน็ตท์เมล่อน (Netted melon) ช่ือวิทยาศาสตร์
บาท/กิโลกรมั (ราคาสินค้าเกษตร, 2564) และเมลอ่ นทข่ี นาด Cucumis melo L. var. reticulate เปน็ ชนิดทีผ่ ิวนอกของผล
ไม่ได้ตามข้อก�ำ หนดเบ้ืองต้น เชน่ นำ�้ หนักตำ่�กวา่ 1 กิโลกรัม มีลักษณะขรุขระเป็นร่างแหคลุมทั้งผล และผลมีกลิ่นหอม
หรือมากกว่า 2.5 กิโลกรัม เรียกได้ว่าเป็น เมล่อนตกเกรด เนอื้ ผลเปน็ สเี ขียว หรือสสี ม้ (ปรชี า หวังพทิ ักษ,์ มปป.) โดย
ซึ่งเมล่อนเหล่าน้ีจะมีช่องทางในการจำ�หน่ายน้อยมาก หรือ ใช้เมล่อนตกเกรดจากการคัดทิ้งของเกษตรกรผู้ปลูกเมล่อน
ถ้ามีการนำ�ออกจำ�หน่ายในราคาท่ีต่ำ�เกินไป อาจทำ�ให้กลไก วิ ส า ห กิ จ ชุ ม ช น ก ลุ่ ม เ ม ล่ อ น ห มู่ ใ ห ญ่ ร่ ว ม ใ จ พั ฒ น า
ทางการตลาดเสยี หายได้ เนอื่ งจากจะท�ำ ใหเ้ มลอ่ นทไ่ี ดค้ ณุ ภาพ อ.ลาดบัวหลวง จ.พระนครศรีอยุธยา โดยเลือกใช้เมล่อนท่ี
(เมล่อนเกรด A และเมล่อนเกรด B) ราคาต่ำ�ตามไปด้วย มาจากรอบการผลติ เดยี วกนั มนี �ำ้ หนกั ผล 1.2±0.2 kg ผา่ เมลอ่ น
จงึ จ�ำ เปน็ ตอ้ งมกี ารหาชอ่ งทางในการจ�ำ หนา่ ยเมลอ่ นตกเกรด ออกเปน็ 4 สว่ นตามแนวยาวของ เมล่อน และตัดส่วนหัวและ
ด้วยการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อื่นๆ ซ่ึงการอบแห้งเป็น ส่วนท้ายในลักษณะตามขวางของผลออกให้เหลือส่วนกลาง
อกี ทางเลอื กทไ่ี มซ่ บั ซอ้ น การอบแหง้ ผลไมจ้ ะไมส่ ง่ ผลกระทบ ผลความยาว 50±0.5 mm นำ�ตัวอย่างที่ได้มาตัดในลักษณะ
ต่อสารอาหารที่ให้พลังงานแก่ร่างกาย เกลือแร่ และวิตามิน ตามขวางให้ได้ความหนา (T) 15±0.5 mm นำ�ตัวอย่างที่ได้
อ่ืนๆ เม่ือเทียบกับวิธีการแปรรูปแบบอ่ืน มีระยะเวลาในการ มาตดั ให้มีขนาดกว้าง (W) 20±0.5 mm และยาว (L) 50±0.5
เก็บรักษานานเมื่อเก็บรักษาด้วยวิธีท่ีเหมาะสมช่วยลดต้นทุน mm โดยชนิ้ ตวั อย่างทไี่ ดจ้ ะมขี นาด (WxLxT) คอื 20±0.5 mm
ในการขนสง่ และเกบ็ รกั ษา สามารถจำ�หน่ายได้ตลอดท้งั ปี x 50±0.5 mm x 15±0.5 mm
ดังน้ัน ในงานวิจัยน้ีจึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 3. การปรบั สภาพเมล่อนกอ่ นอบแห้ง
ระยะเวลาท่ีใช้ในการอบแห้งและคุณภาพของเมล่อนที่ผ่าน 3.1 ลวกด้วยนำ้�ร้อน (Blanched in Hot Water,
การอบแห้งด้วยตู้อบลมร้อนโดยมีปัจจัยการทดลอง คือ BHW): ลวกเมล่อนด้วยน้ำ�ร้อนอุณหภูมิ 88°C นาน 3 min
เมล่อนสดไม่ผ่านการปรับสภาพ และเมล่อนที่ผ่านการปรับ ลดอุณหภมู ดิ ว้ ยการแช่ในนำ้�เยน็ (จนิ ตนา ศรผี ุย, 2546)
สภาพ 2 วิธีการคือการลวกด้วยนำ้�ร้อนเนื่องจากการลวก 3.2 แช่ในสารละลายนำ้�ตาล (Soaked with Syrup,
ด้วยนำ้�ร้อนจะช่วยในการยับย้ังเอนไซม์ท่ีทำ�ให้เน้ือ เมล่อน SS): แช่เมล่อนในสารละลายนำ้�ตาลเข้มข้น 10% (w/w) ใน
เกดิ การเปลย่ี นสเี ปน็ สนี �้ำ ตาลไดใ้ นขณะท�ำ การอบแหง้ (จนิ ตนา สภาวะอุณหภูมิห้องเป็นเวลา 120 min โดยแช่เมล่อนด้วย
ศรีผุย, 2546) และการแช่ด้วยนำ้�เชื่อมซึ่งเป็นการคายน้ำ� อัตราส่วนเมล่อนต่อน�ำ้ เชอื่ ม 1:5 (w/w) (Jalal et al., 2018)
ด้วยการออสโมติก (Osmotic) เพือ่ เปน็ การลดระยะเวลาท่ใี ช้ 4. การอบแห้ง
ในการอบแห้ง (Jalal et al., 2018) ใชอ้ ุณหภมู กิ ารอบแหง้ ที่ วิเคราะห์ปริมาณความช้ืนเร่ิมต้นของเมล่อนตาม
แตกต่างกัน 3 ระดับ คือ 50°C, 60°C (Gabriella et al., 2016) มาตรฐาน AOAC (AOAC, 2000) ใช้ตู้อบลมร้อนแบบ
และ 70°C เพอ่ื ประเมนิ ระยะเวลาทใี่ ชใ้ นการอบแหง้ การหดตวั หมุนเวียนอากาศ (BINDER Scientific, MODEL: FED53)
ของเมล่อนอบแหง้ และคณุ ภาพสีของเมลอ่ นอบแหง้ อณุ หภมู ใิ นตอู้ บแหง้ 70±1°C ทค่ี วามดนั บรรยากาศ (Mustafa
et al., 2016)

Vol 40. No 5, September-October 2021 Effect of raw material preparation method prior drying and temperature 343

in hot-air drying process on the drying time and melon of quality

การศึกษาคุณสมบัติการอบแห้งเมล่อนด้วยตู้อบ ของตวั อยเา่มง่ือเมSลอ่คนอื ทเปเี่ วอลรา์เซtน็ หตรข์อื อปงรกมิ าารตหรดสตดุ วัท,า้ Vยtขคออื งปตรวั ิมอายตา่ งร
ลมร้อนแบบหมุนเวียนอากาศยี่ห้อ WTB BINDER ควบคุม (mm3), V0 คือปริมาตรเร่ิมต้นของตัวอย่าง
อุณหภูมิด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์ (BINDER Scientific, เมล่อนอบแห้ง
MODEL: FED53) โดยใช้อุณหภูมิการอบแห้ง 3 ระดับ คือ เมล่อน (mm3)
50°C, 60°C (Gabriella et al., 2016) และ 70°C คร้งั ละ 10
5.2 การทดสอบคุณภาพด้านสีของเมล่อนอบแห้ง:
ช้ิน โดยใช้ตัวอย่างในการทดลองเป็นเมล่อนสดท่ีได้จากการ วเิ คราะหด์ ้วยเครอ่ื งวเิ คราะห์สี (Color Flex Standards Box,
เตรียมขนาด 20±0.5 mm x 50±0.5 mm x 15±0.5 mm model CX2428, USA) คา่ สที ีว่ ดั ไดใ้ ชห้ นว่ ยระบบสี CIE (L*,
(WxLxT) ไม่ผ่านการปรับสภาพ และเมล่อนที่ผ่านการปรับ a*, b*) โดยค่าสีสามารถอธบิ ายได้ดงั นี้ L* (Lightness) คือค่า
สภาพ 2 วิธีการคือการลวกด้วยนำ้�ร้อน (จินตนา ศรีผุย, ความสวา่ ง โดยทค่ี า่ บวกหมายถงึ ความสวา่ ง และคา่ ลบหมาย
2546) และการแชใ่ นสารละลายนำ�้ ตาล (Jalal et al., 2018) ถงึ ความความมดื , a* (Redness) คอื คา่ ทบ่ี ง่ บอกถงึ ความเปน็
นำ�มาช่ังน้ำ�หนักตัวอย่างทีละชิ้นด้วยเครื่องช่ังทศนิยม 2 สีแดงหรือ สีเขียว โดยท่ีค่าบวกหมายถึงอยู่ในทิศทางของ
ตำ�แหน่ง (RADWAG, WL C2/2A) วางบนถาดตะแกรงที่ สีแดง และค่าลบหมายถึงอยู่ในทิศทางของสีเขียว, b*
ทำ�สัญลักษณ์หมายเลขไว้ (1-10) ตามลำ�ดับการช่ัง นำ�ถาด ทโแห(Yดลดมeยะลาllทคยoอ่ีwณคถง่าnึงคกบหะบอeอุลื,มวsยวคากs2แู่ใกา่ย)น5หลทหคถ5ทะมบ่มีอืงึ5คิศคอ่งาา)ณทบยาย่ยวทา่ะอใูถถังดน,บ่ีกึงึขงคท2งอ่ถออบ5่าศยิงึ งย5สอคู่ทใส5ู่นีใโกวาีนด)นถทางำ้�ยวมทงึขิศเดัใคเงอิทศชปินควง้า็ทตนา่าสงมัว(สสานีขสเอเโีงี้ปาอุภหดยขเน็งวลงย่าอสสรนอิืงใงีเรเีชงคหหณส(หต้รสลลีเ้ัรงวัภุอืือหอลืฏองวงสะลิรยหรนีะือ่ารรแ3ว้าองืณงลณเคสงะซแนรีนิิชคฏ้ำ�งัล้ำ้�ย่าริกลโเะละ์กงดาะวคบนิุลรยณ3่าทลิชซค่ี บย้าา่ ์
ตะแกรงท่ีใส่เมล่อนเข้าตู้อบลมร้อนระหว่างการทดลองให้นำ� อ บแห้งกกับาครต่าทคัวดอวลยาอม่าคงงแ่าเตมคกลวต่อา่านมงสแขดตอสกงาตสมีร่าาวงรมขถรอหะงหาสไวีรด่าว้จงมาตรกัวะสอหมยวก่า่าางงรเตมทวัล่ี อ่อ(3ยน)่างเม ลมรอ้
ถาดตะแกรงท่ีใส่ เมล่อนออกจากตู้อบลมร้อนเพ่ือเก็บข้อมูล (Gabrieลlla่อนetอaบl.แ, ห20้ง1ก6ับ)ตัวอย่างเมล่อนสดสามารถหาได้จาก 70°C
ยวานนามวลมตกขกัยาัวนษมาามวณแงีนนใ5ะห้าวต0้ไหย±าด0มาน้ค.วขั5กวขวmท1บลท1ผาอา81อ่mนั�ำุกมลงง±±นกทๆ25าชกึ%รน้ิg6ขทเ1เเเเ0อ้มพwดมตดด1ม่ยอีื่อeล่ยีอ±ืลmลูtเซ่วอว5เอ-สกiเbกก%้ำ�นnงมรบ็aกนันัอจอ่ื็ s3ขเาใwใสอเพiนรsนสอ้ นe้กิซท่ือกรมก(tใจำ�้-จ็สดเาูลหาbกากสเุภลนรaกน้ก็บานิ้อเวs้าบ็รตากขใงรiหทsเหขู้อบ็ร้อขนดอ้ณน้บ(มขา้ สกัลม�ำูลลต้อุอภฏทเลู นมูอ้มขงเริเ่วีบ้ำ�รสาู้ลปะรห้อตมโเเวลรดชสนอู้นอณย่ีณย่นมบจเักนชิพมเอนเทดชไยฏนี่จอืเ่ีปเมิมน่ก์ิรน้ำ�เปกทลลุเหะเลพดอ่มวบ็าน่ีแยมิรนซณลขักลนอ้ทเ้า่ออ้ตะิชหไม�ำโนคมปวัดยซลทณอเูลอืย์ก�ำ้งหั้ยพทโคะบใุลลด่าช,ุกรวนัองืย2้อเ้แาๆเทมคใ5มมฉลชลกึ5วช6ทละเ้่5อาขมน้ื0คีย่้ัง)มนอ้ ณmชชมะi้นนื้ิูลn, อบแห
ไ)5ด0ค้ม±ือา0ต.52ัดm0ใ±mห0.้มโ5ดีขmยนmว 5ชา.ัด้ินดxกขานราวต25ดเิ5.วัดค55อก้ว.ร51ยายา)่ารเะกงทววหเาอิเาฉค์รครกลทณุ์เรย่าีนดารภียะส1ทาหคอ8พดา±บค์ ลล2ขกณุ gิปออาภเงรงตปหาเ่อ3มอพดซรลซขต้า์ อ่้ัาวกอ(นMก:างรเอาiนมtทรuบำ�ลดทtขแoล่อด้อหyอนมoล้งงอูอลsทบงe่ีไแrโดiหดe้จs้งยามก5กีน3า้0าร)หนัก สมการท่ี (3) (Gabriella et al., 2016) ตามล
(สุภวรรณ ฏิระวณ4.ิช1ยก์กาลุ รทแลดะสคอณบะก,า2ร5ห5ด5ต) ัวโด: ยนวาดั ขข้อนมาูลดทจ่ไีาดก้จาก ∆E* = √(L*-L*0)2+(a*-a0* )2+(b*-b*0)2 (3) (3) 2016)
ห้ง ตัวอย่างกเามรลว่อดั นขกน่อานดอดบ้วแยหเ้งวอแรล์เนะเียมคลา่อลนปิ อเบปแอหร้ง์ ห(Mลiังtuผt่าoนyoกาsรeries
ched in Hot Waอteบr,แห้ง5จ3น0เห) ล(สือุภควรารมณช้ืนฏริ1ะ1ว±ณ5%ิชยw์กeุลt-แbลaะsคisณ(ะW, x2L5x5T5)) หโดายวดั ตอคd iบ่ัาวffคอeแยrวหeา่า้งnมงdเตส,cมเเieดวัเมfปคลfม,อ,eลื็อน่อ่ือยrTa่อeคนสา่*Cนn่าี∆งแอคDcอเคดบมeอืEเ)บวงม,แ,ลค*แา/อ่ืหTL่อส่ามหค*Cนี้งคเ∆ส้งขือ,DอวคกวียEคLบา)ือ่ัาบ,ว0**่มาแคงตLขคเคหคขา่ *ปัวอวคอือืงอ้ ็อนคงากควคงตยมืสาอบา่ตั่า่ัาวมแแคีคคตัวงอตสดว่อววัาเยวากงมอายคม่า่า/ตมลย่สางวงแ่า่อา่สงเีขเาตขงงเนมวอมมขเกยี่าลสมงลอตวงสต่อดล่องข่าขวัวน่อสงนออ่อ(านอขีรTงงสยงสบอวตoตด่าขดมงแtวังวั,aสอรหออ(lรีเะaงTย้งยมวหc*ตo,่า่ามลoวtงงัวอ่aคครl่าเเoะlนอืืมอมองrหcยลลoว่่่ออาlา่oนนงงr การอ
ภมู ิ 88°C นาน 3 mปiรnมิ าตรขขนอางดตจัวาอกยตา่ วั งอเมยลา่ อ่งเนมจลา่อกนสกม่อกนาอรทบี่แ(1ห)ง้ และเมล่อนอบแหง้ ค่าความอเบปแ็นหส้งีแ,ดaง*0/สคีเขือียคว่าขคอวงาตมัวเปอ็ยน่าสงีแดเมงล/ส่อีเนขสยี ดว,ขอb*งตคัวืออย่าง Figure
ตนา ศรผี ุย, 2546) หลงั ผ่านการอบแหง้ จนเหลอื ความชน้ื 11±5% wet-basis คา่ ความเเมปลน็ ่อสนีเหสลดือ,ง/bส*นี ค้�ำ ือเงคิน่าขคอวงตาัวมอเยปา่็ นงสเมีเลห่อลนือองบ/สแีนห้งา,เคงินือของ ผ่านก
ต าล (Soaked w ith (WVxL=xTW) xหLาปxรTมิ าตรข องตวั อ ยา่ งเม ล่อนจากสมก(า1ร)ท่ี (1) ค่าความตเปวั อ็นยส่าีเหงเลมือลง่อ/สนีนอ�้ำบเแงนิหขง้ อ, งbต*0วั คออื ยค่า่างคเมวลา่อมนเปส็นดสเี หลอื ง/สนี ้า การอบ
นล00นอSเา±0้มาcร1)ตi่ิมe1°1ใาnCต2:ชล5t0้นi้เตทfiข(ขmcู้wอ่ีคม้,อiบ/nMขwวงลนเ้)โาOมมด(มDJล1รยaEด2 ตค1ต( 0่้ออแml01%Lือััวัaวนนนช1±m:อlคอ่ 58ยวย)%)่าา่างมคWต(ยตงJเwกสววััามวaเกVอวดมeาควlลอาaา้tยมตื่ออืข=อ่-ยรlงb่าช่คอนอหe่ขาWงaV้นืปวtงองดs(าaเกรตงiสmตxคs1มมlิมตา.ัวดั1ือว,m่อืLกรโวัาอ±ปคเดต2หตอว)มx5Vย0,ืย่รออา้ยดรล%1ิ่มาหTงอTส่าตปคอ่8างขงัาตุดวอัืน)รwตเเคไอรทคมปิมมดรeอืง(าอื้ลาขรmจ้tลตาคส-อยม่อิาอ่bอตวัวm่วตกันขางaาอนรน)ตตรสอsมยส(าiขมัวงรmsห(่าุสดอตขmอกงนmโ่วยทัอวางเดmานม)่ารอปง้าย,ข)ขทงตลยร,ยLอหเอี่่อวั่ิามมTงข(างคองน2ตลาปไอแอืคย)่อตวัดรห(งค่าืออนรm(้จมิตงJว้งยคเาาเamาทรัว(า่มกวตlมm่ิมงa่ีค)อสลาร,ยlตmวย่มเอมเLาe้รานม่3นาวกหม)t่ิมคลข,ขงานตชa่ออือ(แอรWmlน้้ืนนาค.ทงงห,ขขวm่ี้ง((าออ312ทม)งง)),่ี เงนิ ำ�ขขอ้องตมวัูลอทยี่ไ่าดง้จเมาลกอ่กนาสรดทดสอบคุณภาพด้านสีของ อ่นื เน่อื
เมล่อนอบแห้งมานวาิเขคอ้รามะลู หท์คไ่ี วดาจ้ มากแกปารรปทรดวสนอโดบยคใณุ ชภ้โปาพรแดกา้ รนมสขี อง เน้ือเม
SPSS เชม่วลย่อในนกอาบรวแิเหคร้งามะาหว์โดิเคยรราายะงหา์คนวเปา็นมคแ่าปเฉรลปี่ยรว±นส่วโนดยใช้ ปรับส
เดคบว้วี่ยายงมวเเธิ บชี แคโDนอื่ ปตา่มมuเรnกั่นาฉแcตตลaก9ร่าย่ีn5รฐง’%มาs±คนส่าnSว่เePฉแนwลSลเบmะ่ยีSเย่ี ดuปชงl้วรtเ่วiบยียpยlบวนeใธิเมนrทีaากDียnตาuบgรรneฐควcาวtเิaeนคาnsมร’tแsาแ(ละDnตะหeMกเwป์โตRดร่าmTยียง)บuครทlาเ่าtทiย่รีเpฉะยีงleดลบาบัี่ยนrคaเวnปาg็นมe เตรีย
ตระก
1ผ.ลรแะยละะผtเeกวลsลาtแา(รDลทวMะ่ีใิจชกRา้ใาTรนร)ณกวทาผ์ิจร่ี ระาลอดรบบั ณแคหว์ผาง้ ลมเชอ่ื มนั่ 95% ผ่านก
1.จราะกยกะาเวรอลบาทแี่หใช้ง้ใเมนลก่อานรอดบ้วยแวหิธ้งีการเตรียมตัวอย่าง ใชร้ ะย
แหง้ เมล่อนดว้ ยตู้อบ S = (1- VV0t) × 100 (2) (2) เมลอ่ น 3 วธิ กี ารคจอื าเกมลกอ่ านรสอดบไมแผ่ หา่ ้งนเกมาลร่ปอรนบั ดส้วภยาพวิธคีกวาามรชเตนื้ รียม ล่อนด
ห้อ WTB BIND ER สารล
ทรลเลอร์ (BINDER เม่ือ S คือเปอร์เซ็นต์ของการหดตัว, Vt คือเริ่มต้น ต8วั4อ.8ย7่า±ง0.42%เมwลe่อtนb3asวisธิ กี เมารลค่ออืนสเดมทล่อี่ผน่านสกดาไรมป่ผร่าับนการ สารละ
อุณหภูมกิ ารอบแหง้ ปรมิ าตรของตวั อยา่ งเมลอ่ นทเ่ี วลา t หรอื ปรมิ าตรสดุ ทา้ ย ปรับสภาพ ความช้ืนเร่ิมต้น 84.87±0.42% wet basis ของแ
a et al., 2016) และ ของตัวอย่างเมล่อนอบแห้ง (mm3), V0 คือปริมาตร เมล่อนสดท่ผี ่านการปรบั สภาพลวกด้วยน้าร้อนอุณหภูมิ เม่อื อบ
เรมิ่ ตน้ ของตวั อย่าง เมลอ่ น (mm3) ทผ่ี วิ ข
การจบั
2555)
ความ
ออกส
การอบ
การป
การอ
(Untre
ในสาร

344 Wichian Duangsrisen J Sci Technol MSU

สภาพลวกดว้ ยนำ้ารอ้ นอุณหภมู ิ 88°C นาน 3 min ความชื้น การถ่ายเทคว
เริ่มต้น 87.45±0.68% wet basis และเมล่อนที่ผ่านการ เมล่อน พบว่า
ปรบั สภาพดว้ ยการแชใ่ นสารละลายนา้ำ ตาลเขม้ ขน้ 10% (w/w) รอ้ น (BHW) ค
ความชนื้ เริ่มตน้ 86.85±0.38% wet basis ใช้อณุ หภมู ิลมรอ้ น ล่อนสญู เสยี คว
3 ช่วงอณุ หภูมิคอื 50°C, 60°C และ 70°C 2561) ซง่ึ ไดอ้
เซลลข์ องพชื เม
พบว่าปัจจัยของอุณหภูมิลมร้อนที่ใช้ในการอบแห้ง เซลล์ของ เ
มีผลต่อระยะเวลาท่ีใช้ในการอบแห้งจาก Figure 1 จะเห็น อบแหง้ ทอ่ี ุณห
ว่าระยะเวลาท่ีใช้ในการอบแห้งข้ึนอยู่กับอุณหภูมิลมร้อน ดว้ ยวธิ กี ารอ่นื
เมอื่ อบแหง้ ดว้ ยอณุ หภมู ลิ มรอ้ น 50°C, 60°C และ 70°C โดยท่ี FigureF1igDvuerreyrsin1ucgosDncrdtyeuriynnrvigtnevgc:euwrtrsimveuetse:bdwareystiinsbgamstiimosiesmtuoriestucroentent ก ลับ กัน เ ม ล่ อ
อุณหภูมิลมร้อน 70°C จะใช้ระยะเวลาในการอบแห้งส้ันกว่า สารละลายน้า
อุณหภมู ิลมร้อน 60°C และ 50°C ตามลาำ ดบั ซงึ่ สอดคลอ้ งกับ สารละลายน้า
งานวิจัยของ (Mustafa et al., 2016) ภ2า.ยคในณุ เนภ้ือาขพอขงอเมงลเมอ่ ลนอ่มนีอณุอบหแภหมู ้งิสูงขึ้นเกดิ ความแตกต่างของ ออสโมติก (O
ความดันไอ2ข.1องกนาำ้ารภหาดยตใวันเเมนลื้ออ่ ขนอองบเมแลห่อง้ นกับอากาศแวดล้อม เมล่อนเพิ่มข้ึน
วธิ กี ารเตรียมตวั อยา่ งเมลอ่ นทง้ั 3 วธิ กี าร กอ่ นการ ทำาให้นำ้าหรจือาคกวผาลมกชาื้นรทท่ีอดยลู่ภอางยดใงันแเนส้ือดเงกใิดนกFาiรgเuคrลe่ือ2นทพ่ีอบอวก่าสู่ ถ่ายเทความรอ้
อบแห้งมีผลต่อระยะเวลาท่ีใช้ในการอบแห้งจาก Figure 1 ออากุณาหศภแมู วลิดมลร้ออ้ มนเมมผี ่ือลปตร่อิมกาาณรหนด้ำาตเควั ขลอ่ื งนเมทลี่ออ่ อนกอจบาแกหเนง้ เ้ือนข่อื องง ขน้ึ ของแขง็ ทแ่ี
จะเห็นว่าที่อุณหภูมิลมร้อนท่ีเท่ากันเมล่อนท่ีผ่านการปรับ หคอผอกเมบบวาแอกอดกิวดลราขาตแาว้ยแตา่อรมกรอยหกหู่รภัวะนถรางกต้งเ้งเา้อศจ่เาหคทาดท่ามยนยะแรยง่ีอล้วี่อลทใวเแหขขุ่ณยือุทณ่นอดำาลดออกนนคใหลเะหงตงหานกวเอ้ทภคนภวรัก้ป้าืาอมวู่มีอำ้อาขูมิดมรรทขาหิทบออคิเติมรมาอปรง่ีสแอ้ากำ่าาดใือเง็นูงยหนทตหมสนัคเโค้งรรำานู่้ลมอใซไววภทะใน่้อาอลาานหหาี่อาหทนขม่กอมแ้เวยุณราใอกชนขชา่าในอืงงิื้ดนนหง็ศง้ืนมกคนกลกททเภภแลีวอ้รานมาี่ผี่ผูับมาาะวุภณื้อรริวิวมยบิกตดาเอ้เขขหใปชวมัน่ำยาลนนออนน้ืทลภลใเ้อกเงงมน่ียทก่อนำาูมเเบัม่ือเในนมามอ่ีื้อินสเหใเรยลลลแเมชูม้ืองอม้ก่่ออ่ภดูปล้อขข่ืบอลลนนล่อาลุณอ้ึน่อแไปยงจเนงงกนนหหเแใโะรทเกกนคื่ตอสงมภล้ิมาิดาเรเงูำ่งาะลูมกใานรงจกกเค่อหิทกดณิถส้ือาววนวน้่ีสิดจก่ราเ่า่านกาก้าูง้าายกกกกทมข้บดกังิาเาาาาททึ้น่ีรรรรี่ ทาให้การการ
สภาพลวกด้วยน้ำาร้อน (BHW) จะใช้เวลาในการอบแห้งสั้น จับเคตลัว่อื ขนอทงอ่ีนอำ้ากตจาาลกใเนนเ้ือนขื้ออเมงเลม่อลน่อทนำาจใะหท้เามใลห่อป้ นรเมิ กาิดตกราภราหยดในตัว ตัวอย่างเมล่อ
กว่าการเตรียมตัวอย่างเมล่อนด้วยวิธีการอ่ืนเนื่องจากการ เมล่อนท่ีผ่าน
ลวกทาำ ใหเ้ กดิ การถา่ ยเทความชนื้ ภายในเนอ้ื เมลอ่ นไดเ้ พม่ิ ขนึ้ น้าตาล (SS)
ทำาให้ความช้ืนของเมล่อนที่ผ่านการปรับสภาพลวกด้วย ปรบั สภาพ (U
น้ำาร้อน (BHW) ลดลงเร็วกว่าการเตรียมตัวอย่างเมล่อนด้วย ลวกดว้ ยน้ารอ้
วิธีการอน่ื (วิจิตรา เหลยี วตระกูล และวชิรญา เหลยี วตระกลู ,
2564) ส่วนเมล่อนที่ผ่านการปรับสภาพด้วยการแช่ใน นเอ้ นย้ือลเงมซลง่ึ ่สออนดลคดลลอ้ งงแกลบั ะงเากนิดวกจิ ายั รขหอดงต(สัวภุ ดวร้วรยณกาฏรริ อะวบณแหชิ ย้งทก์ ลุ่ี
สารละลายนาำ้ ตาล (SS) ใชร้ ะยะเวลาในการอบแหง้ สงู กวา่ การ แลอะุณคหณภะูม, 2ติ 5่า5ท5า)ใทหไ่ี ก้ดลอ้ ไธกบิ กาายรกถล่าไยกเกทาครหวาดมตรวั อ้ แนบแบลนะวี้ กา่ าสราคมายรถ
เตรียมตัวอย่างเมล่อนด้วยวิธีการอื่นเนื่องจากการปรับสภาพ เกคดิ วขาน้ึมไชดน้ื ก้ ภบั ากยาใรนอเบนแ้อื หเมง้ ลผอ่ลนไมตท้่ากม่ี วปี า่ รกมิ าารณอนบาำ้แตหาง้ ลทแอ่ี ลุณะแหปภง้ ูมททิ ส่ี ่ีงู
ด้วยการแช่ในสารละลายนำ้าตาลจะเกิดกลไกการแลกเปล่ียน จาสกงู ใกนาทราทงดกลลอบั งกจนั ึงเพมบ่อื ใวช่าอ้ ทุณี่อหุณภหมู ภทิ ูมส่ี ิลงู ขมน้ึร้อกนารร7ะ0เห°Cยขมอีองนัต้ารา
ระหว่างสารละลายน้ำาตาลกับน้ำาภายในเนื้อเมล่อนทำาให้ กาหรรหือดคตวัวาตมำา่ ชกว้ืนา่ ทอ่ีผณุ ิวหขภอูมงิ เ6ม0ล°C่อนแจละะส5ูง0ก°Cว่าตกาามรลอำาบดบัแห้งท่ี
ปริมาณของแข็งภายในเน้ือ เมล่อนเพิ่มขึ้น (Jalal et al., อุณหภูมจติ า่ากทผาลใกหาเ้ กรดิทกดาลรอเปงดลัย่งี แนสแดปงลใงนโคFรงigสuรrา้ eงท2ผ่ี วิพขบอวง่า
2018) เมื่ออบแห้งด้วยลมร้อนจะเกิดการเปลี่ยนแปลง วมคเรแกคม้อิธรวนแปอตเวีวาผมลงนีกาณรุาณ้บัวรลอ่ลอลมมสาจิมขตยบิชหงน่อรราูญรอา่อลเยน้อกภนท้อณตง(กเงก์น้ีนเวนี่เูผมสนรสซกานุลจ่้ำาา่าียแีลิย้ ากร่ดึิง้ารานสลมมตคหแสกส้อเตากะตรปาลวรดไนอามกอ้าลัว็อระานตดทลรานาอคใมนโัวปแคำานรวรยณซำ้าแขใ7คลรงลถเ่าหนข0นับคอะะา้งอจเ็้ผ°งแ,แย้์ศืงอเสกางCมแขน2เปคิกรเภิดกมมรล5งิ้็ังงวกมาับขงลท5่อแเลทาพาอีซข้ึ่น5องนล่ผอ่ีมร่สี ตัลล)าอนะทไทนวิชูงวรลนคงทดอขี่ผ้ังท้ืนาก์ขผจณว้ไ่ีกบอนกาภดอาด3นิจงับะแใังา้วงกา้อเััยหง,เรหเกยยมวซกเธมหขเ้ 2้งิธซนใลาลมาบิ ลอดน5จีก่รอ้ำารลลลา่อ6งตาเารอทน์ขล่ยอนน1ก้รอวั บ์อเดขนก()ื้อสกตนนสงลแอกลเูญ่่าลืซอุภกองหเ่ไอก(เไงึ่งมเดพิกBมงวน้กสงจวไลจกกHลรืดชีกผย่ากา่องึ ร่อาากอ้Wอคาเลาพนณรรมนรุณธกรวไ)หหบอื่อสิบถาามหพบดดวูญมไรคฏ่าา้ทภดจ่าตตแบยแยวิรเ่ีบม้ัูทมรสหวาััวขถวเะัทบมียีิ่็่ง้งาีึง
โครงสร้างท่ีผิวของเมล่อนเกิดเป็นโซนแข็งท่ีผิวของเมล่อน Figure 2 Shr
เนอ่ื งจากการจบั ตวั ของนำ้าตาล (สภุ วรรณ ฏริ ะวณิชย์กุล และ 60
คณะ, 2555) ซึ่งโซนแข็งทเี่ กดิ ข้นึ ทผ่ี วิ ของเมล่อนทำาใหค้ วาม 2.2 ก
สามารถในการถ่ายเทความช้ืนภายในเน้ือเมล่อนออกสู่ออกสู่ อุณห
อากาศแวดล้อมลดลงทำาให้ระยะเวลาที่ใช้ในการอบแห้ง คว6า0ม°Cแขแ็งลแะรง5ล0ง°Cเมตอื่ านมำาลไาปดอบั บแห้งท่อี ณุ หภูมทิ ่เี ทา่ กันกบั การ
เพิ่มขึ้นจากการทดลองจึงพบว่าเมล่อนที่ผ่านการปรับสภาพ เตรียมตัวอจยา่ กงเผมลลก่อานรดท้วดยลวอิธงีกดางัรแอสื่นดงจใะนทำาFใหig้เuกreิดก2าพรหบดวต่าัว เตรยี มตวั อย่า
ลวกด้วยน้ำาร้อน (BHW) ใช้ระยะเวลาในการอบแห้งส้ันกว่า ทวสี่ ิธูงกี วา่ารเใตนรทียามงกตลัวบั อกยนั ่าเงมเลม่อลน่อทน่ีผท่านัง้ ก3ารวปิธรีกับาสรภากพ่อดน้วกยากราร ต่อการเปลย่ี นแ
เมล่อนสดไม่ผ่านการปรับสภาพ (Untreated) และเมล่อน แชอ่ใบนแสหา้งรมละีผลลาตย่อนก้ำาาตราหลดจตะเัวกขิดอกงลเไมกลก่อานรอแบลกแเหป้งลจี่ยานกรกะลหไวก่าง ท่ไี ด้จากการว
ท่ีผ่านการปรับสภาพด้วยการแช่ในสารละลายน้ำาตาล (SS) สารละลายน้ำาตาลกับน้ำาภายในเนื้อเมล่อนด้วยหลักการ
ตามลำาดับ

2. คณุ ภาพของเมลอ่ นอบแห้ง
2.1 การหดตัวเมลอ่ นอบแหง้
จากผลการทดลองดังแสดงใน Figure 2 พบว่า

อุณหภูมิลมร้อนมีผลต่อการหดตัวของเมล่อนอบแห้ง เนื่อง
ด้วยการหดตัวของเมล่อนในกระบวนการอบแห้งเกิดจาก
การถ่ายเทความร้อนระหว่างลมร้อนกับเมล่อนทำาให้นำ้าท่ีอยู่

ure content ด้วยวธิ กี ารอ่นื จะทาใหเ้ กดิ การการหดตวั ทส่ี งู กว่าในทาง
ก ลับ กัน เ ม ล่ อ น ท่ี ผ่ า น ก า ร ป รับ ส ภ า พ ด้ ว ย ก า ร แ ช่ ใ น
Vสอสolาอา4รรส0ลลโ.ะมะNลลตoาาิกยย5น,(นO้Sา้าตseตmpาาtลeoลmกtจicบัbะ)eนเทrก้า-Oิดาภใcกาหtoยล้ปbไใeนรกrมิ เก2นาา0้ือณร2เแ1ขมลอลกง่อเแนปขดลง็ ้ว่ยีภยนาหEยรลfะใfeกัหนcกเวtน่าาoin้ือรงf
raw material preparation method prior drying and temperature 345
hot-air drying process on the drying time and melon of quality

igure 2 พบว่า อเอมสลโ่อมนตเิกพิ่ม(Oขs้ึนm(oJtaicla)l eทtำาaใlห.,้ป2ร0ิม1า8ณ) เขมอ่ืองเแกขิด็งกภลาไยกในกาเนรื้อ 2.2 การวิเคราะห์ทางด้านสขี องเมล่อนอบแหง้
นอบแหง้ เน่อื ง เมถล่า่อยนเทเพคิ่มวขามึน้ ร(อ้ Jนaแlaลl ะeกtาaรlค.,า2ย0ค1ว8า)มเชมน้ื่อเภกาดิ ยกใลนไเกนก้ือาเมรถล่าอยนเท อุณหภูมิลมร้อนท่ีใช้ในการอบแห้งและวิธีการ
บแหง้ เกดิ จาก ทตสคหเวมตเทขนปิธวภำ่า่ีดแมลีก้าน้กึวัราาาตท่ลอมบัอตาวขใพัวร่อนรรห่สายาอขดกอ้อนเทภ่ล้างกอ้มวน่ืซนทงแ่ีผาางยล(แึเมขพ่่าีผSรเม่กอลจมนง็อก่Sาละนาา(ทลกยนาU)ก่รกอส่อแ่ี ู่ารเแกามnนกดทนนรหรชtาีกาดไrปค้ืตรอe่รดใรมา้วการน่ำาaปเทต่รผยยับมซกtสรดหeัว่าวคสลมวึาับdลนขธิดวภ่่ารออ)สอกีกาอตลวยานแมงภาาิงธัวะพ่เู จลจชรรเาลนีกตึงละอมปะนื้ พา้่ือาาพเว่ไนื ลรภยมรเกดกมบับม่ เอนาล้ววจต่ดเวลสยน่อำ้า่ายกา้รว่า่อใภนตเตกิีกยนดยมนาาท่ ากเมาเนกพจลลมนกผ่ี ราต้ำาาะ่อลอ้ื แ่ราวรัวไร(น(่อเนท่ช้าอSมUอหมนสกดว่นใS่เยลnดกนดทิาธล่อ่)าtตรดrิไีี่สกผอ(งนeปBัมมวกางเ่าาขaมรHีท่จกผรนารtนึ้ บั ลeรลงึWเ่าำากาขตหสพ่dอระนใาอ)ภ)หรหดนลบรกงียตาาปด้ตดกวแแาพยมวั้ต่าวรารลขาับมยัวะรง็ เตรียมตัวอย่างเมล่อนท้ัง 3 วิธีการ ก่อนการอบแห้งมีผลต่อ
ล่อนทาใหน้ ้าท่ี ลลาำ ดวกับดว้ ยน้ารอ้ น (BHW) ตามลาดบั การเปล่ียนแปลงสีของเมล่อน จาก Table 1 แสดงค่าสีท่ีได้
ข้ึนเกิดความ จากการวัดตัวอย่างเมล่อนสด และตัวอย่างเมล่อนอบแห้ง
ของเมล่อนกบั พบว่าค่าความสว่าง (L*) เพ่ิมข้ึนเม่ืออุณหภูมิท่ีใช้ในการ
ภายในเน้ือเกดิ อบแห้งเพิ่มข้นึ ค่าความเป็นสีแดง (a*) เพ่มิ ข้นึ เม่ืออุณหภูมิ
อปริมาณน้ า ท่ีใช้ในการอบแห้งเพิ่มขึ้น และค่าความเป็นสีเหลือง (b*)
รมิ าตรภายใน เพม่ิ ขึน้ เม่ืออุณหภูมิทใ่ี ช้ในการอบแห้งเพมิ่ ขึ้น ซ่ึงสอดคลอ้ ง
การอบแห้งท่ี กับงานวิจัยของ (สุภวรรณ ฏิระวณิชย์กุล และคณะ, 2555)
นและการคาย ท่ีได้อธิบายการเปล่ียนแปลงสีของขนุนอบแห้งท่ีอุณหภูมิ
หง้ ทอ่ี ณุ หภมู ทิ ่ี ลมรอ้ นระดบั ตา่ งๆ คา่ ความแตกตา่ งของสรี วม (∆E*) ระหวา่ ง
รระเหยของน้า ตวั อยา่ งตวั อยา่ งเมลอ่ นสดกบั เมลอ่ นอบแหง้ พบวา่ เมลอ่ นสด
การอบแห้งท่ี ไมผ่ า่ นการปรบั สภาพ (Untreated) และเมลอ่ นทผ่ี า่ นการปรบั
งสรา้ งทผ่ี วิ ของ สภาพด้วยการแช่ในสารละลายนำ้าตาล (SS) และอุณหภูมิ
ลมร้อนท่ีใช้ในการอบแห้ง 3 ระดับ ให้ค่าความแตกต่างของ
องจากการจบั สีรวมที่ใกล้เคียงกันท่ีระดับความเช่ือม่ัน 95% ส่วนเมล่อน
เกดิ การหดตวั ท่ีผ่านการปรับสภาพลวกด้วยนำ้าร้อน (BHW) ให้ค่าความ
สุภวรรณ ฏิระ แท(∆ต่ีใชกE้อต*ุ)ณ่างสหขูงภอกูงมวสิล่าีรมววิธรม้ีอกนา(∆รอ5Eื่น0*°ส)C่วทนี่แอใตหุณก้คหต่าภ่าคงูมวอิาลอมมกแรไ้อตปนกโดต6ย่า0กง°ขาCรอองบสใหแีรวห้คม่า้ง
ลไกการหดตวั FigureFi2gu6Sre0hr2ainnSkdharg7aine0tk°5avC0ga,er6iav0atiraoianntdsio7no0sf°Codfriderdiedmmeleolnonat 50,
แห้งผลไม้ท่ีมี ความแตกตา่ งของสรี วม (∆E*) ต่าำ กว่าวิธีการอ่ืน

ลองจงึ พบว่าท่ี
ากว่าอุณหภูมิ Table 1 อ2.ุณF2rหeกsภาhรูมวaิลเิnคมdรราd้อะrนiหeทท์d่ใีาmชงด้ใeนาl้ oนกnสาsขรี aออmบงเpแมleหลs้ง่อ’แนcลอoะบloวแrธิ หvีกaง้ าluรes
เตต่อรกยี ามรตเปวั Dลอyย่ียinน่าgแงtเปeมmลลpง่อeสrนขีaทtอuงงัr้ eเม3(°ลCว่อ)ธิ นกี าจรากก่อTนaกbาleรLอ1igบแhแtสnหดeง้sงมsค(ผี่าLลส*)ี Color of products
igure 2 พบว่า U5ท0n่ไี trดea้จteาdกการวดั ตวั อย่างเมล่อนสด และตวั อย36่า.8ง2เ±ม0ล.1่อ8gน
การ ก่อนการ Redness (a*) Yellowness (b*) ∆E*
แห้งจากกลไก 29.10±0.25abdeg
20.35±0.08bgi 28.11±0.44gh

60 38.16±0.45bcd 23.61±0.81adfh 33.80±0.37bcdf 29.47±0.85abdeg

70 41.88±0.04a 25.61±1.77adef 42.58±4.35a 30.14±1.31abdeg

Blanching (88°C, 3 min.)

50 29.89±0.55i 20.90±0.56bghi 19.69±1.34i 37.25±0.64i

60 42.70±0.41f 25.02±1.28adef 34.38±2.41bcdf 26.68±0.79f

70 38.35±0.59bcd 27.69±1.71ce 36.23±2.01bcdef 31.95±1.16ch

Sucrose solution 10% (w/w)

50 34.60±0.05h 22.70±0.19bdhi 26.95±1.00gh 32.19±0.03ch

60 41.17±0.10e 26.16±0.20acef 39.05±1.20bce 29.51±0.28abdeg

70 38.62±0.03bcd 21.13±0.24bghi 36.70±0.75bcdef 28.42±0.29abdeg

Means within the same column followed by different letters are significantly different at the 95% confidence level.
Note: Fresh melon samples’ color values (L* = 63.51±0.07, a* = 8.98±0.16, b* = 30.34±0.25)

346 Wichian Duangsrisen J Sci Technol MSU

สรุปผล เอกสารอา้ งอิง
จากการทดสอบอบแห้งเมล่อนด้วยตู้อบลมร้อน
พบว่าอุณหภูมิลมร้อนที่ใช้ในการอบแห้งมีผลต่อระยะเวลา จินตนา ศรีผุย. (2546). การแปรรูปผักและผลไม้แช่อ่ิม.
ทใี่ ชใ้ นการอบแหง้ โดยทอี่ ณุ หภมู ลิ มรอ้ น 70°C จะใชร้ ะยะเวลา วารสารศูนย์บริการวิชาการ ภาควิชาเทคโนโลยีการ
ในการอบแห้งสนั้ กว่าอณุ หภมู ลิ มรอ้ น 60°C และ 50°C ตาม อาหาร มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น, 58-64.
ลำ�ดับ วิธีการเตรียมตัวอย่างเมล่อนก่อนการอบแห้งมีผลต่อ
ระยะเวลาทใี่ ชใ้ นการอบแหง้ โดยทเ่ี มลอ่ นทผ่ี า่ นการปรบั สภาพ ปรีชา หวังพิทักษ์. (มปป). การปลูกแตงเทศ. มหาวิทยาลัย
ลวกด้วยนำ้�ร้อน (BHW) ใช้ระยะเวลาในการอบแห้งสั้นกว่า เกษตรศาสตร์.
เมล่อนสดไม่ผ่านการปรับสภาพ (Untreated) และเมล่อน
ท่ีผ่านการปรับสภาพด้วยการแช่ในสารละลายนำ้�ตาล (SS) พวงทิพย์ บญุ ช่วย. (2562, 16 พฤศจิกายน). สถานการณ์การ
ตามลำ�ดับ อุณหภูมิลมร้อนมีผลต่อการหดตัวของ เมล่อน ปลูกแคนตาลูปรายจังหวัด ปี 2559. https://www.
อบแห้งคืออุณหภูมิลมร้อน 70°C มีค่าการหดตัวต่ำ�กว่า kasetprice.com/.http://www.agriinfo.doae.go.th/
อณุ หภมู ิ 60°C และ 50°C ตามล�ำ ดับ วธิ กี ารเตรียมตวั อยา่ ง year60/plant/rortor/veget/18.pdf.
เมล่อนก่อนการอบแห้งมีผลต่อการหดตัวของเมล่อนอบแห้ง
โดยที่เมล่อนที่ผ่านการปรับสภาพด้วยการแช่ในสารละลาย ราคาสินค้าเกษตร. (2564, 20 พฤษภาคม). https://www.
นำ้�ตาล (SS) มีการหดตัวตำ่�กว่าเมล่อนสดไม่ผ่านการปรับ kasetprice.com/.
สภาพ (Untreated) และเมลอ่ นท่ผี ่านการปรับสภาพลวกด้วย
น�้ำ ร้อน (BHW) ตามลำ�ดับ ส่วนการเปลย่ี นแปลงสีของเมล่อน วิจิตรา เหลียวตระกูล และวชิรญา เหลียวตระกูล. (2564).
พบว่า เมื่ออุณหภูมิท่ีใช้ในการอบแห้งเพิ่มข้ึนค่าความสว่าง ผลการเตรยี มขนั้ ตน้ และอณุ หภมู กิ ารท�ำ แหง้ ตอ่ คณุ ภาพ
(L*), ค่าความเป็นสีแดง (a*) และค่าความเป็นสีเหลือง (b*) ทางกายภาพเคมี และ ปรมิ าณจลุ ินทรีย์ของผักพืน้ บ้าน
ของตัวอย่างเมลอ่ นอบแหง้ เพ่มิ ข้นึ ส่วนค่าความแตกตา่ งของ อบแห้ง. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ววท.),
สีรวม (∆E*) ระหว่างตัวอย่างตัวอย่างเมล่อนสดกับเมล่อน 29(1), 134-147.
อบแห้งพบว่าเมล่อนสด ไม่ผ่านการปรับสภาพ (Untreated)
และเมล่อนที่ผ่านการปรับสภาพด้วยการแช่ในสารละลาย สุภวรรณ ฏิระวณิชย์กุล, สากีนา ลาแมปะ, และยุทธนา
นำ้�ตาล (SS) ให้ค่าความแตกต่างของสีรวมท่ีใกล้เคียงกัน ฏิระวณิชย์กุล. (2555). การอบแห้งขนุนด้วยพลังงาน
ทั้งวิธีการเตรียมตัวอย่างเมล่อนก่อนการอบแห้ง และการ ความรอ้ นรว่ มของรงั สอี นิ ฟราเรด/ไมโครเวฟ และลมรอ้ น:
อบแห้งที่อุณหภูมิที่ต่างกัน ส่วนเมล่อนท่ีผ่านการปรับสภาพ จลนพลศาสตร์คุณภาพและการทดสอบประสาทสัมผัส.
ลวกดว้ ยนำ้�รอ้ น (BHW) ใหค้ า่ ความแตกตา่ งของสรี วม (5∆0E°C*) วารสารวิทยาศาสตร์บรู พา, 17(1), 117-129.
ท่ีแตกต่างออกไปโดยการอบแห้งที่ใช้อุณหภูมิลมร้อน
ใอหุณ้คห่าภควูมาิลมมแรต้อนกต6่า0ง°ขCองใสหีรค้ วา่ มคว(า∆มEแ*ต)กสตูง่ากงขว่าอวงิธสีกรี วามรอ(่ืน∆สE่ว*น) เสกสรร วงคศ์ ริ ,ิ จารวุ รรณ ดรเถื่อน, กนกอร นกั บญุ . (2561).
ต่ำ�กว่าวธิ กี ารอืน่ ผลของการลวกด้วยไอน้ำ�และอุณหภูมิของการทำ�แห้ง
ตอ่ ฤทธติ์ า้ นออกซเิ ดชนั่ คณุ สมบตั ทิ างเคมกี ายภาพและ
กิตตกิ รรมประกาศ การทดสอบทางประสาทสัมผัสของเนื้อผลเม่าและกาก
ผลเมา่ . วารสารวทิ ยาศาสตรเ์ กษตร, 49, 530-533.
ขอบพระคุณวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเมล่อนหมู่ใหญ่
ร่วมใจพัฒนา ที่เอื้อเฟื้อสนับสนุนเมล่อนตกเกรดท่ีได้จาก AOAC. (2000). Official methods of analysis of AOAC.
การคัดคุณภาพ และขอบพระคุณมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี Association of Analytical Communities.
ราชมงคลสุวรรณภูมิท่ีได้จัดกิจกรรมลงสำ�รวจปัญหาชุมชน
จนได้นำ�มาสู่การทดลองน้ี และได้เอื้อเฟื้อสถานที่ในการ Gabriella, D., Zilmar M., Rafael A.B., Carlos B.O., Shirley, C.R.
ทดลอง & Patrícia, M.A. (2016). Pretreatments for melon
drying implementing ultrasound and vacuum. Journal
of LWT-Food Science and Technology, 114-119.

Jalal, D., Seyed-Hamed, H. & Maryam, K. (2018).
Multi-stage continuous and intermittent microwave
drying of quince fruit coupled with osmotic dehydration
and low temperature hot air drying. Journal of
Innovative Food Science and Emerging Technologies,
132–151.

Mustafa, A., Seyfi, S., Ali, A., & Ataollah, K. (2016).
Analysis of drying of melon in a solar-heat recovery
assisted infrared dryer. Journal of Solar Energy,
137, 500-515.

การศึกษาการวัดแรงบิดโดยออ้ มโดยใชค้ ุณลักษณะการสัน่ ของมอเตอร์ขันสกรู
Study of indirect torque measurement using vibration characteristics of screw motor

ทัศนยี ์ โพธ์ิศร1ี , ชลธี โพธท์ิ อง2
Tatsanee Phosri1, Chonlatee Photong2
Received: 24 March 2021 ; Revised: 18 June 2021 ; Accepted: 5 October 2021
บทคัดย่อ

หนง่ึ ในวธิ กี ารการประกอบชนิ้ งานทเ่ี ปน็ ทน่ี ยิ มส�ำ หรบั โรงงานอตุ สาหกรรมคอื การยดึ ชน้ิ งานดว้ ยการขนั สกรเู พอ่ื จบั ยดึ เนอื่ งจาก
มีความสะดวก รวดเรว็ และง่ายตอ่ การแก้ไขในภายหลังในกรณีตอ้ งการแยกช้ินงานออกจากกนั อยา่ งไรก็ตาม การขนั ยดึ สกรู
จะต้องทำ�ด้วยความระมัดระวังเพ่ือป้องกันการขันที่หลวมหรือแน่นเกินไปซึ่งอาจทำ�ให้การยึดชิ้นงานไม่แน่นหรืออาจก่อให้เกิด
การแตกร้าวของช้ินงานได้ แรงบิดเป็นค่าตัวแปรที่นิยมใช้ในการกำ�หนดความเหมาะสมของการขันสกรูด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า แต่
มอเตอรไ์ ฟฟ้าเพอ่ื ขันสกรสู ่วนใหญไ่ มม่ กี ารแสดงแรงบิดของการขันสกรู งานวจิ ยั นน้ี �ำ เสนอการศึกษาการวัดคา่ แรงบิดโดยออ้ ม
โดยใชค้ ุณลักษณะการสนั่ ของมอเตอร์ขันสกรู เพ่อื เปน็ ทางเลือกในการใช้งานทเี่ กย่ี วข้อง อปุ กรณท์ ดลองประกอบด้วย 2 ส่วน
ได้แก่ ส่วนของชุดทดลองและสว่านไฟฟ้าทำ�หน้าท่ีสร้างการสั่นสะเทือนและส่วนตรวจวัด และวิเคราะห์ค่าทำ�หน้าที่แสดงค่า
เพอื่ ใชใ้ นการวเิ คราะหข์ อ้ มูลการวิจัย การทดลองแบง่ ได้เปน็ 2 ส่วน ได้แก่ การทดลองเพอื่ วัดแรงบดิ จากระดับแรงดนั rms ที่
เกิดจากการสั่นสะเทือน และที่ได้จากค่าระลอกคล่ืนการส่ันสะเทือน ค่าที่ได้จะถูกนำ�ไปเปรียบเทียบกับค่าที่วัดได้จากเครื่องวัด
มาตรฐาน การทดลองพบวา่ คา่ แรงดนั ทไ่ี ดจ้ ากการคา่ แรงดนั ของการสนั่ สะเทอื นมคี า่ ระหวา่ ง 7.70-23.47 นวิ ตนั -เมตร เทยี บกบั
13.38-29.30 นิวตัน-เมตร ของค่ามาตรฐาน ซ่ึงมีค่าสมการถดถอยเท่ากับ 0.7672 มีค่าความถูกต้องการวัด 84.27 % ส่วน
ค่าแรงบิดท่ีได้จากค่าระลอกคล่ืนการสั่นสะเทือนมีค่าระหว่า 13.82-23.49 นิวตัน-เมตร เทียบกับ 13.38-29.30 นิวตัน-เมตร
ของค่ามาตรฐาน ซงึ่ มีคา่ สมการถดถอยเทา่ กบั 0.9786 มคี ่าความถูกต้องการวดั 99.34 % ดังนน้ั การวัดค่าแรงบดิ โดยอ้อมจาก
การสน่ั สะเทอื นสามารถท�ำ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยการวดั แรงบดิ จากระลอกคลน่ื การสนั่ มคี วามถกู ตอ้ งแมน่ ย�ำ สงู กวา่ การวดั
จากคา่ ระดบั แรงดนั ที่เกิดจากการส่ันสะเทือน
ค�ำ ส�ำ คญั : การวดั แรงบิด แรงบิดโดยออ้ ม การส่ันสะเทอื น สว่านไฟฟา้

Abstract

One of the most commonly used methods for assembling components for the industry factories is by using screws.
This is because of its convenience, fast and ease for de-assembling which could be done later. However, screwing
the components must be performed carefully; otherwise, the components may ease to loosen or break. The Torque
is the most popular parameter to control the optimum screwing by using the electric motor screwdriver. Unfortunately,
most screwdrivers do not have the torque measurement function. This research presents a study of indirect torque
measurement by using vibration characteristics of a screw motor, which could be an alternative solution for related
applications. The experimental test-rig consists of 2 parts: an electric screwdriver for vibration generation and
measurement and an analysis unit for data collection and analysis. There are 2 experimental test scenarios: torque
measurement from generated vibration voltage levels in rms and vibration ripples. These measured values of torque were
compared with values measured by the standard torque-speed measurement. The test results showed that the torque
values measured from vibration voltage levels in rms had values between 7.70-23.47 N.m compared to 13.38-29.30

1 นสิ ติ ปรญิ ญาโท คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม อ.กนั ทรวิชัย จ.มหาสารคาม 44150
2 รองศาสตราจารย์ สาขาวิศวกรรมไฟฟา้ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม อ.กันทรวิชัย จ.มหาสารคาม 44150
1 Master degree student, Faculty of Engineering, Mahasarakham University, Kantarawichai District, Maha Sarakham, 44150
2 Assoc. Prof.Dr., Faculty of Engineering, Mahasarakham University, Kantarawichai District, Maha Sarakham, 44150

348 Tatsanee Phosri, Chonlatee Photong J Sci Technol MSU

N.m of standard values, which had R2 of 0.7672 and accuracy of 84.27%. Alternatively, the torque values measured
from vibration ripples had values between 13.82-29.30 N.m, which had R2 of 0.9786 and an accuracy of 99.34%.
These results revealed that measurement torque indirectly from motor’s vibration is feasible and effective. The
proposed measurement by using vibration ripple provides better accuracy and precision than using vibration voltage level.
Keywords: Torque measurement, indirect torque, vibration, screw driver

บทน�ำ บางประเภทเทา่ นนั้ ส่วนวธิ ีการวัดแบบโดยออ้ ม เป็นการแปร
ค่าแรงบิดจากค่าสัญญาณอื่นเพื่อประมาณค่าของแรงบิด
ในกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมส่วนใหญ่มีการประกอบ วิธีการวัดโดยอ้อมนี้นิยมใช้กับการวัดค่าแรงบิดในอุปกรณ์
ชนิ้ งานเขา้ ดว้ ยกนั อาทเิ ชน่ อตุ สาหกรรมยานยนต์ อตุ สาหกรรม หรือเคร่ืองจักรสมัยใหม่ ท้ังนี้เนื่องจากค่าสัญญาณที่วัดได้
อเิ ลก็ ทรอนิกส์ เป็นต้น ซ่งึ การประกอบช้นิ งานเขา้ ดว้ ยกันใน สามารถใช้ในการวิเคราะห์งานด้านอ่ืนๆ ได้อีกด้วย และการ
กระบวนการเหลา่ นนั้ สามารถแบง่ ไดเ้ ปน็ 2 วธิ ี (อนชุ า วฒั นาภา วัดโดยตรงไม่เหมาะสมกับการทดสอบแบบไดนามิคสำ�หรับ
และคณะ, 2553) ได้แก่ การจับยึดแบบถาวรและการจับยึด เครื่องจักรมีขนาดใหญ่ เพราะจะทำ�ให้เกิด “mechanical low
แบบช่ัวคราว ตัวอย่างการจับยึดแบบถาวร ได้แก่ การเช่ือม pass” (Suzuki, 2020) วิธีการวัดน้ีมีข้อเสียคือ ค่าที่ได้มีค่า
การจับยึดด้วยกาวหรือการใช้รีเวต (rivet) (NISHI, 2004) ความผิดพลาดสูง (high error) ซ่ึงอาจเกิดจากกระบวนการ
ส่วนการจับยึดแบบชั่วคราวสามารถแบ่งย่อยได้อีก 2 แบบ แปลงค่าแรงบดิ แบบทางออ้ ม ความสญู เสียกำ�ลงั หรอื สภาพ
คือ การจับยึดที่ใช้เกลียว ซึ่งประกอบไปด้วย โบล์ว (bolt), ปัจจยั ภายนอกอ่นื ๆ นอกจากนี้ การสอบเทยี บ (calibration)
นตั (nut) และสกรู (screw) สว่ นอีกรปู แบบหนงึ่ คือ การจบั ยึด (Dawkins et al, 2001) สำ�หรับอุปกรณ์วัดด้วยวิธีการน้ี
ที่ไม่ใช้เกลียว ซ่ึงได้แก่ ตัวล็อคแบบกุญแจ (key), ตัวล็อค กท็ �ำ ไดย้ ากและตอ้ งท�ำ สม�่ำ เสมอ (British Standards Institution,
แบบเข็ม (pin) (Hetenyi, 1943) ในการประกอบชิน้ งานด้วย 2008) แต่การวัดแรงบิดโดยอ้อมมีความสะดวกมากกว่า
สกรูจะเป็นชิ้นส่วนมาตรฐานท่ีนิยมใช้กันทั่วไป เนื่องจากมี การวัดโดยตรง ทั้งน้ี เพราะทำ�ข้ึนได้ง่ายและมีความแม่นยำ�
ความสะดวกและค่อนข้างแข็งแรง โดยอาศัยหลักการขันอัด ในระดับที่สามารถใช้งานได้ในอุตสาหกรรม ซ่ึงค่าที่วัด
ช้ินงานให้ติดกันและสามารถคลายออกได้โดยไม่เกิดความ ได้สามารถใช้วิเคราะห์งานด้านอื่นได้ด้วยเพิ่มเติม เม่ือ
เสยี หาย นอกจากน้ี สกรูยงั ถกู ใช้งานอย่างอน่ื ด้วย เช่น การ เปรียบเทียบกับการวัดโดยตรง (Ozcan, 2004) ที่ทำ�ขึ้นได้
สง่ ก�ำ ลงั การเคลือ่ นท่ี (Owen & Cleary, 2009) ปอ้ งกันการ ยากกว่าและประยุกตใ์ ชง้ านเฉพาะบางประเภทเท่านน้ั ดังน้ัน
รั่วซึม การผ่อนแรง เป็นต้น สกรูจึงเป็นที่นิยมใช้กันมาก ผู้วิจัยจึงได้สนใจท่ีจะการศึกษาการวัดและการวิเคราะห์
ในอตุ สาหกรรมทั่วไป (Terrier, 2010) ค่าแรงบิดโดยอ้อม เพื่อตอบสนองการใช้งานในโรงงาน
อย่างไรก็ตาม การใช้สกรูจะยึดช้ินงานได้อย่างมี อุตสาหกรรมที่มีเคร่ืองจักรขนาดเล็ก โดยการวัดค่าแรงบิด
คุณภาพ (Freund, 2000) จะต้องมีการตรวจวัดค่าแรงบิด โดยอ้อมได้ค่าท่ีเป็นท่ียอมรับและใช้งานได้จริงในโรงงาน
ของเครอ่ื งขนั สกรทู เี่ หมาะสม เพราะแรงบดิ มคี วามส�ำ คญั มาก อุตสาหกรรม
ตอ่ การยดึ ตดิ ชน้ิ งาน แรงบดิ ทใี่ ชใ้ นการประกอบชน้ิ งานจะตอ้ ง จากการศึกษางานวิจัยพบว่า มีความเป็นไปได้ท่ีจะ
มขี นาดแรงบดิ ทเี่ หมาะสมตอ่ ชนิ้ งาน เพอื่ ใหท้ งั้ ตวั ชนิ้ งานและ หาค่าของแรงบิดจากการส่ันสะเทือน โดยการวัดค่าแรงบิด
ตัวสกรูไม่เกิดความเสียหาย ดังน้ันการตรวจวัดค่าแรงบิดท่ี โดยอ้อม โดยหาจากความสัมพันธ์ระหว่างค่าแรงบิดกับ
ใช้ในการขันสกรูประกอบช้ินงานจึงมีความสำ�คัญเป็นอย่าง การส่ัน ซึ่งมีบทความอื่นๆ ท่ีได้กล่าวไว้เช่นกัน งานวิจัย
ยิ่ง การตรวจวัดค่าแรงบิดของการขันสกรูในปัจจุบันแบ่งได้ Zhao (2013) ได้ทำ�การวเิ คราะหแ์ ละได้ข้อสรุปความสัมพนั ธ์
เป็น 2 วิธี ได้แก่ วิธกี ารวัดโดยตรง (direct) (Vaez-Zadeh, ระหว่างการส่ันและแรงบิดของมอเตอร์ แล้วทำ�การบันทึกไว้
2018) และ วิธีการวัดโดยอ้อม (indirect) (Dib, 2012) โดยวิธี เพ่ือที่จะนำ�ไปใช้ในการลดความไม่สมำ่�เสมอของแรงบิดของ
การวดั โดยตรงเปน็ การหาคา่ สญั ญาณแรงบดิ จากระบบขนั สกรู มอเตอร์ในการใช้งานจริง โดยงานวิจัยนี้ได้ทำ�การออกแบบ
(drive train)( Pitipong, 2010) ผา่ นหนา้ จานวดั แรงบดิ (torque ตวั ควบคมุ มอเตอรแ์ บบใหม่ ทค่ี วบคมุ กระแสขาเขา้ ในขดลวด
flanges) (Andrae, 2001) อาทเิ ช่น digital torque transducer ที่ทำ�ให้เกิดความไม่สมำ่�เสมอของแรงบิด สามารถปรับปรุง
วิธกี ารวัดแบบนม้ี ีขอ้ ดีหลายประการ เช่น ตอบสนองรวดเร็ว ประสทิ ธภิ าพและขยายชว่ งการใชง้ านของสเตป็ เปอรม์ อเตอร์
ความถูกตอ้ งสงู (high accuracy) และ ความแมน่ ย�ำ สูง (high ได้ (Zribi & Chiasson,1991)
precision) อย่างไรก็ตาม วิธีการวัดแบบน้ีมีข้อจำ�กัดคือ
เครอ่ื งวดั มรี าคาแพง สามารถประยกุ ตใ์ ชง้ านไดก้ บั งานเฉพาะ

มิค วสั ดุและอปุ กรณ์ดงั น้ี
กิด (1) ชุดทดลองการสนั่ สะเทอื น เคร่อื งจาลอง
น้ีมี กาVรoสl 4ัน่ 0ส. Nะoเท5,ือSนepคteวmาbมerถ-O่ีตc่าtoใbนerแ2น02ว1ดิ่ง ด้วยหลักการ Study of indirect torque measurement using vibration 349
or) เหน่ียวนาของขดลวด โดยใชต้ วั กาเนิดการสนั่ สะเทอื น
characteristics of screw motor

บบ ดว้ วยิธมกี อาเตรดอรำ�์เทนานิ กการาทรศดลึกอษงาการเคลอ่ื นทข่ี องขดลวดผดั τ = คอื แรงบิดของแรง หนว่ ยเปน็ นวิ ตัน.เมตร
อก ผเมป่าิลส ว็ นนลิจั่นสัยิเสPมนใะVนเตาทคCมรรือแF1ง้ั เนขนสม)igคนี้ น้่เuวชชหาrผาดุุดeลดม่ทาท1ก็ถแศดดใี่แตมลูนลนสำ่�อ่เอยใดแงหนง์กงนปกแลสลรวนา่ว็กะาดรนวกแงสงิ่ดปอรั่น่ิง2บรปงะส5ดสดรกะ.้วะ้วูง4อเยทกยทบวมหืออขสัรลลินบอดงักงลุแแกชกเลเิ กรคุดมาะนะรรทอตื่บอเดุปดหรงอว้กลนจหยอรกำ่ีย�ณงขนมลวเดพด์นอาีรงัลงำ�ือ่ ะน1ขกกวยี้.อาาด4ะงรร Vrms = คือ ค่าแรงดันที่ไดจ้ ากการวัด
รน้ี Irms = คอื คา่ กระแสทีไ่ ด้จากการวดั
F = คา่ ความถี่

rds ควขาดมลสวงูด 2โดเยซใชนต้ ตวั เิ กม�ำ ตเนรดิ เกสาน้ รสผัน่ ่าสศะนู เทยอื ก์ นลดา้วงยม2อเซตอนรต์ ทเิ ม�ำ กตารร การทดลองดำ�เนินการทั้งหมด 100 รอบ โดย
าม ขนทาดดลชออ่ งงกวา่ารงเคอลากื่อนาศทม่ีขรีอะงยขะดล2ว.5ดผมัดลิ ผล่าเิ นมสตนรามแม่เหล็กใน สว่านไฟฟ้าทำ�การทดลองพร้อมกับบันทึกค่ากระแส ค่า
งา่ ย กา2ทแล5นรงั .งว4ไกดฟร่ิงมะิล5ปบ(ล25รอิเะ0)กมกWมตสอีรรบวะแย่หากะนนคนาวไดาฟ้ว1มย.ฟส4ขงู้ดามล2ิลวHลดเIซิเTเมปนAต็นตCริเPมHขVตIนCรราดุ่เเนสสแ้นน้ มDผผ่เหV่าา่ ศศล1ูนูน็ก3ยยแV์ก์กรSงลลสาาSูงงง ความเรว็ รอบเพ่อื นำ�มาคำ�นวณหาคา่ แรงบดิ จากนั้นใชข้ อ้ มลู
ใน น�ำ มาค�ำ นวณคา่ เฉล่ยี (Mean) มธั ยฐาน (Median) คา่ สงู สุด
ดา้ น 2 เซนตเิ3ม)ตOร sขcนiาllดoชsอ่coงวpา่ eงอยา่หีกาอ้ ศมGรี WะยะIn2s.t5ekมลิ รลุ่นิเมGตรDS- (Maximum) ค่าตำ่�สุด (Minimum) และค่าส่วนเบี่ยงเบน
ตรง 20 74A สาห2)รบสั วอา่ ่านนไฟค่าฟสา้ ญั HญITาAณCHกIารุน่สนั่ DV13VSS ก�ำ ลงั ไฟ มาตรฐาน (Standard deviation ; SD) ในการวเิ คราะห์ โดย
าน 550W 4) Digital Tachometer DT-2234C เคร่อื งวดั ค่าเฉลี่ย และมัธยฐาน ใช้สำ�หรับการวิเคราะห์ความถูกต้อง
ทจ่ี ะ (Accuracy) ส่วนค่าสูงสุด ค่าต่ำ�สุด และส่วนเบี่ยงเบน
อม รอ บสาหรบั 3ว) ดOั รscอilบlosวcดัopรeอบยหี่ม้ออเGตWอรIn์ วstดั eรkอรบุ่นแGบDบSใ-ช20แ้ 7ส4งA มาตรฐาน ใช้วิเคราะห์ค่าความแม่นยำ� (Precision) ของวิธี
วดั สค�ำ า่หครวับาอมา่ นแคมา่ ่นสยญั าญสางู ณเวกลาารใสน่ันการตรวจวดั ทร่ี วดเรว็ และ การวัด การคำ�นวณแรงบิดในการวิจัยดำ�เนินการด้วย 2 วิธี
รเละเ แสยซม�ำ ะหอน่ ตรรยรบั์�ำ ววสจดังู 4เจรว)อบัลบDารiใวะgนดัiยtกaระาlอยรบTตามaรวcวอไhจเดตoวmอดัถ้ รทeึง์ tวร่ี eวดั5rดร0Dอเ0รบTว็ -แแม2บลม2ะบ3.รใ4ะช(Cย2แ้ ะ0สเตคงรนวรวดัือ่้ิวจคงจ)วา่บั ัดดครรวว้ะอายยบมะ การคำ�นวณ ได้แก่ การคำ�นวณจากค่าแรงดันเฉล่ีย (rms
ท่มี ี ยาวได้ถ5ึง )50E0Mม0ม1. (-20Dนigว้ิ i)taดl้วCยlเaลmเซpอรm์ eter DT3266L (vOolptatigoenaหlรpอื inV)rmทs)ี่ไดซ้แง่ึ เปปลน็ งคคา่่ารกะาดรบัสแั่นรสงะดเนัทจอื านกเปขาน็ ขรอะงดเับซแนรเงซดอนั ร์
มได้ วดั กระแสไ5ฟ)ฟE้Mา0ว1ดั- แDรigงitดalนั Cไlaฟmฟp้าmวeดัteคr วDาTม32ต6า้ 6นLทวดัากนระวแดั ส ดว้ ยวงจรภายในของเซน็ เซอร์ และ การค�ำ นวณจากคา่ ความถี่
าน

ดท้ ่ี เป็นคา่ ตคววั ไแาฟมปฟตร้า่อทวเจ่ีัดนะแ่อื นรงงาดมนั าไใฟชฟใ้ ้านวกัดาครวคาามนต้าวนณทคาน่าแวรัดงคบวาดิ มต(T่อ)เนือ่ ง รทโดะ่ีไลยดอค้จก่าามภคกาลกาต่ืนาพรร(ฐคRปาำ�iนpนรไpวดะleณจ้ กาfมrกอeากqบเาปuรทeรวnีย่ีดัcบ2yดเ,ว้ทfยแrียipเpบสคleร)กดือ่ ับโดงงควยต่าัดตแัวแรรรงองงบจบยาิดิด่ากมมนงาา้ันตสตนรรัญฐฐำ�าาคญนนา่ าณ
ค่า ท่เี กดิ ข้นึ ด้วยสมการถ่ายโอนพลงั งานระหว่างกลและ รแ่นุ รงMดaนัkiไtaฟBฟ-2้า8จ5า3ก1เUซltน็ raเMซaอgรM์ทaบ่ี gนั nทetiกึ cโBดitยsอHอoสldซerลิ. โลสโคป
ค่า ไฟฟ้าดงั แสดงในสมการ (1) ผ ขคล่าณตแะลวั ทแะ่ีสอปFวภiรg่าปิuทงrร่eไีไาดฟ2ย้จฟผแา้าสกลดเกกกงาาติดรรัวกววอยาิจดั ่ารัยงสแสนัลัญ่ ะญแคาล่าณแะแตรรงางดบรันาิดไงทฟทฟ่ไี ่ี ด้า1จ้จาแากกสคด่าง
วไว้ เกซา็นรเซคอารน์ทว่ีบณันทจึกาโกดยคอ่าอรสะซลิลอโลกสคโคลป่ืนขณ(Rะทip่ีสpวl่eาง)ไฟแฟล้าะเจกาิดกค่า
และ คแกแมล่าาราแระงตสจรดงรา่ันบกนัฐคิดาแr่าทนลmแะีไ่ รดsงTจ้ ดa(าVันbกlคremrา่mก1ssา)แร(คเสVทำ�ดrนmยีงวคsบณ่า)กตจเับวทัาแกียคปคบ่ารา่กแทรับระ่ีไคลดง่าอบ้จแกาดิรกคงทกลบน่ืาไ่ี ิดรดท(วRจ้ ัดี่ไiดาpก้จแpาlลเeกคะ) รอ่ื ง

(1)ของ เครือ่ งมาตรฐาน
= ×

การ
รใช้
คุม เมตร τ = คอื แรงบดิ ของแรง หน่วยเป็น นิวตนั .
ด ท่ี
รถ Vrms = คอื คา่ แรงดนั ทไ่ี ดจ้ ากการวดั
องส Irms = คอื คFา่igกuรreะ1แสRทesไ่ีeดarจ้ cาhกkiกt cาoรmวpดั onents
F = คFา่ คiกgวาuราrทมeดถ1ล่ี อRงเeปsน็ eกaาrรcวhดั kคiา่tกcรoะmแสpไoฟnฟeา้ nคtวsามถท่ี อี่ า่ น


(แสคขMเทไวลว้อปฟา่าe่เีะ็นมกฟนมdคคดิู้าลiไเ่าa่าขดรฟอตสนnวง้นึ็ั ่าวฟั่แว)รดไถทาτกแนสดน้อาค้่วจ่ีปมาดไจ้ยทบยะเ่ารรดงากนาบโส=ทาเทสใกอจ้�ำพานคมก่ยีจ่ีนกูคงมดารสกะ่อืารางพสอืากทลนมาา รนเใ นุลดกอ รชฟากแดบท งัามถใ้รารงวลง=นดน((มงรา่าาดiาMอณrบกใลmยมานฟ(าชงsา1ดิคอโa )รา เใ้ รเค)อ ขะ แนxนง าปต ค ห น(่อลiาพ 2นก�็ำินi mนร rวพงะ× นาmเ ว รฐ กแา่ก×uรลแฉsว อณ้ง รา)คา าmรณง ั ก ง ม ล น างร งร แ ห ล คนด)ากท ่ีหวยล แาา่ น(นัว ดคนบั ังล ัะแ ้Sคณไร่หวะค่รา(บฟะ่าtแไงยคMaต่ามหฟนฟแับรา่เnก่ปาวดรeฟ้าแดิงทd่าร็สงนรaดา้(ก(ึaงะ1vงบTุดดnนักrบนแrค0m()งัด)ิd1ลไsดิวิสแท่า0()ฟ)แตMสกมไdเี่เจ(กลพรนัดTฟฟeราัiธะดิอnอื่)ง.ะv้กาฟขใบเiยแiนmปaน้นึ้า(สฐน็vtดคนัโu้iมroคาว้ดmคmวใกnย่านsชยาา่ )ต)ส;ม้รัวมกแแขมคเถแพก(รร่าาณา1(ปงง่ตทีตาร่1อื)ดดะรรครัว)่ีทนนภััฐาแา่ีสไนปาrนฟวmวพร่าฟiFณทsnปง้าi่ไีFไ(gจจรaVดiฟาาguะnr้จกกuฟmกrาrคเe้eาsกอeซ่า)xเก2นบ็2กรpเeาเะททิดEeซExรลยีxก่pีrวอxอaie2บาดmัรamกrรก์ทimmคแpeสแบับ่ี leลnสนeัลp่คนัn่ืนtะดlo่าtaทeแaคfแงl(lกึล่าtรoRตhssโแะงeefดiัeวตบpรtยttcpองาดิwhuอlบรwยทeiertอาrิดh)่ไา่ีieสงtcดทnแhaงซทutจ้n่ไีลสลิ่ีsarาดะั1oญrโiกgn้จจesลnเcแญาาสnคaoiกกสlโtllราosคคดค่อmืssณcป่า่งงาcieigolalponseuas.rcleodmpieneaa.snured
SเDม)ตรในการวิเคราะห์ โดยค่าเฉล่ีย และมธั ยฐาน ใช้

350 Tatsanee Phosri, Chonlatee Photong J Sci Technol MSU

Table 1 Experimental variable data

Test Ripples Speed Voltage Current Torque standard Tor(qNu.me )Vrms Torque Ripples
No. (Hz) (rpm) (Vrms) (Arms) (N.m) 16.52 (N.m)
1 1.29 0.90 29.30 12.48 23.67
2 7.14 345 1.63 0.86 21.85 11.88 22.59
3 1.65 0.83 18.72 12.11 18.67
4 7.14 441.7 1.64 0.84 20.34 11.69 22.07
5 1.72 0.85 22.90 12.55 22.33
6 8.33 496.9 1.61 0.85 22.27 7.70 22.84
7 2.95 0.96 16.24 8.82 9.92
8 7.14 463.3 2.52 0.94 15.55 14.73 8.82
9 1.44 0.90 16.32 12.40 23.56
10 7.14 416.4 1.74 0.91 15.35 10.77 23.96
11 2.03 0.92 14.63 15.71 13.87
12 7.02 430.3 1.35 0.90 22.01 13.22 23.56
13 1.64 0.92 23.98 17.06 22.37
14 18.18 664.1 1.3 0.94 21.08 10.50 24.64
15 2.14 0.95 16.76 10.44 16.04
16 20.00 678.3 2.23 0.98 14.30 17.65 25.85
17 1.25 0.93 18.17 22.23 21.01
18 7.14 616.8 0.95 0.89 28.71 23.16 28.49
19 0.909 0.89 28.71 16.98 28.39
20 7.14 666.8 1.44 1.03 23.33 22.49 23.28
21 0.938 0.89 27.32 15.79 27.62
22 12.50 708.4 1.32 0.88 15.00 16.58 15.71
23 1.19 0.83 22.42 17.36 21.91
24 7.14 457.3 1.21 0.89 23.14 18.99 23.33
25 1.09 0.88 24.04 23.47 22.99
26 7.69 429 0.9 0.89 25.08 18.61 24.30
27 1.06 0.83 23.04 19.46 23.47
28 7.14 256.2 1.05 0.86 24.30 20.36 24.32
29 0.86 25.05 17.36 24.23
30 11.11 635.8 1 0.84 23.52 17.64 23.56
31 1.14 0.83 22.97 18.02 23.31
32 7.14 772.3 1.11 0.88 27.32 18.54 23.64
33 1.16 0.87 24.40 18.46 24.49
34 8.33 576 1.11 0.84 23.40 17.20 23.50
35 1.07 0.83 23.34 21.07 23.33
36 5.88 349 1.14 0.88 27.41 28.14
0.99
5.88 347.8

8.33 497.3

6.06 366.3

10.53 659.1

7.14 417.3

7.14 430.6

7.14 408.3

6.90 399.5

6.67 406.2

6.67 399

6.67 385.7

6.67 399.3

6.67 404.4

7.02 363

6.67 400.1

6.67 400.3

6.67 398.6

5.88 361

Vol 40. No 5, September-October 2021 Study of indirect torque measurement using vibration 351

characteristics of screw motor

Table 1 Experimental variable data (cont.)

Test Ripples Speed Voltage Current Torque standard Tor(qNu.me )Vrms Torque Ripples
No. (Hz) (rpm) (Vrms) (Arms) (N.m) 18.57 (N.m)
37 7.02 408.3 1.09 0.86 23.52 18.83 22.89
38 0.85 23.81 17.47 23.98
39 6.67 401.5 1.07 0.88 23.07 17.72 23.09
40 0.88 23.65 18.67 23.22
41 7.14 427.5 1.19 0.89 23.94 17.55 23.43
42 0.85 23.40 20.57 23.81
43 7.14 419.3 1.18 0.89 25.57 17.51 23.30
44 0.84 23.68 17.55 23.76
45 7.14 418 1.13 0.85 23.68 19.14 23.81
46 0.87 25.21 20.15 25.19
47 6.67 405.7 1.14 0.87 25.04 22.00 25.28
48 0.89 26.83 20.89 26.81
49 7.14 389.2 1.02 0.88 22.97 17.92 23.86
50 0.86 22.97 20.46 22.70
51 6.67 399.9 1.14 0.89 22.94 20.09 23.41
52 0.94 24.02 18.26 24.77
53 6.67 400.9 1.14 0.92 22.20 18.88 22.42
54 0.87 21.97 19.07 22.86
55 6.45 385.4 1.07 0.90 22.61 15.14 23.51
56 0.86 15.15 14.67 14.59
57 6.45 389.4 1.02 0.86 14.52 12.96 14.46
58 0.84 13.75 12.62 14.25
59 6.25 373.4 0.96 0.85 13.91 13.09 12.82
60 0.84 13.57 13.79 14.12
61 6.90 428.3 0.993 0.83 13.55 17.13 14.08
62 0.84 23.91 11.93 13.40
63 7.14 422 1.14 0.84 13.80 11.67 14.14
64 0.83 13.41 13.17 14.00
65 7.14 435.7 1.03 0.84 14.08 10.95 14.20
66 0.83 14.57 12.72 14.00
67 7.14 440.4 1.11 0.86 14.46 10.46 15.24
68 0.83 13.38 19.21 13.97
69 7.69 464.4 1.19 0.88 19.99 16.35 19.75
70 0.81 17.44 17.39 18.22
71 7.14 444.4 1.09 0.82 18.92 18.21 19.14
72 0.82 19.24 19.33
7.14 444.1 1.11

11.11 640 1.35

11.11 661.3 1.38

11.11 688.6 1.54

12.50 689 1.6

11.11 691 1.51

11.11 690.5 1.43

11.76 394.1 1.16

11.11 680.5 1.66

11.11 693.7 1.68

11.11 670 1.51

11.11 638.5 1.79

10.53 663.4 1.59

11.11 693.3 1.87

8.33 492.2 1.08

8.33 520.5 1.17

8.00 483.9 1.11

8.00 480.6 1.07

352 Tatsanee Phosri, Chonlatee Photong J Sci Technol MSU

Table 1 Experimental variable data (cont.)

Test Ripples Speed Voltage Current Torque standard Tor(qNu.me )Vrms Torque Ripples
No. (Hz) (rpm) (Vrms) (Arms) (N.m) 19.29 (N.m)
73 7.14 432 0.997 0.81 21.12 11.87 21.36
74 0.84 13.84 12.79 14.24
75 11.11 683.4 1.68 0.87 14.46 10.82 14.61
76 0.83 13.53 19.19 13.98
77 11.11 671 1.6 0.85 18.56 17.17 19.19
78 0.84 21.53 11.70 21.94
79 11.11 686.4 1.81 0.84 14.54 16.52 14.20
80 0.82 14.46 19.38 15.46
81 8.33 515 1.05 0.85 19.53 19.08 19.19
82 0.85 18.43 20.17 19.07
83 7.14 435.2 1.15 0.90 20.80 17.58 21.20
84 0.83 17.00 17.81 17.03
85 11.11 648.9 1.7 0.82 17.07 16.75 16.95
86 0.79 15.44 19.19 14.88
87 10.00 639.3 1.18 0.85 18.37 20.41 19.98
88 0.83 17.59 16.11 17.95
89 8.33 489.5 1.04 0.80 16.01 17.80 15.84
90 0.83 16.94 19.34 17.09
91 8.33 515.7 1.05 0.87 15.25 14.99 21.15
92 0.81 15.23 15.41 15.11
93 8.00 487.6 1.06 0.82 15.81 14.09 15.41
94 0.73 13.78 14.27 13.64
95 9.09 544.4 1.11 0.72 15.87 13.98 13.59
96 0.80 13.89 20.94 13.58
97 9.09 539.7 1.09 0.74 20.81 12.63 20.86
98 0.80 13.47 13.33 13.53
99 10.00 576.3 1.12 0.81 13.80 13.11 13.61
100 0.81 13.90 13.66
8.00 520.5 1.05

8.70 530.8 0.964

9.52 563.6 1.18

9.09 548.5 1.1

7.69 637.7 1.06

10.00 593.1 1.27

10.00 582.5 1.26

10.00 591.9 1.22

10.00 512 1.2

11.11 649.3 1.36

6.67 399.5 0.837

11.11 667.3 1.5

11.11 655.3 1.43

11.11 653.1 1.46

เมื่อนำ�ข้อมูลจาก Table 1 มาวาดเป็นกราฟ Vrms = 1.29 V, Irms = 0.90 A และ F = 7.12 Hz
เปรียบเทียบระหว่างค่าแรงบิดท่ีเกิดขึ้นจากค่ามาตรฐาน ** 6.305 คือค่า K สำ�หรับชุดตรวจวัดความ
ค10า่ 0ค�ำชนดุ วจณะดไดว้ ยข้ อ้ Rมipลู pดleงั แแสลดะงคใน�ำ นภวาณพปดว้ระยกVอrmบs ดว้ ยชดุ ขอ้ มลู ทงั้ สนั่ สะเทอื นท่ใี ช้ในการวิจัย
3 โดยมคี า่ ขอ้ มลู แทนคา่ ในสมการ (1)
เชงิ สถติ กิ ารวเิ คราะหแ์ สดงใน Table 2 คา่ ripple ทไี่ ดจ้ ากการ
วัด น�ำ มาคำ�นวณหาคา่ แรงบดิ โดยใช้สมการ (1) Tripple = 0.90 x 220 x 0.85
2 x π(7.12 x 6.305)
ตวั อยา่ งการค�ำ นวนโดยใช้ค่าท่วี ดั ได้จาก Figure 2

จะได้ Tripple = 22.404 N.m

มาตรฐาน ค่าคานวณด้วย Ripple และ คานวณด้วย หรอื
Vrms ด้วยชุดขอ้ มูลทงั้ 100 ชุด จะได้ขอ้ มลู ดงั แสดงใน
ภาพประกอบ 3 โดยมคี ่าขอ้ มูลเชงิ สถติ ิการวเิ คราะห์ Vrms = Kfripple (3)

Vol 40. No 5, September-October 2021 แคตาสวั นอดยวงณา่ในงหกตาาาครรค่าาแางนรทงว่ีบน2ดิ โโดคดย่ายใชrใiชpค้ ส้pา่ มlSทeกว่ีtทuาดั ร่ไีdไ(ดดy1้จจ้)oาากกf รกinปู าdทรiว่ีr2eดั cนt าtoมrาquecmhaeraเซaทs้าc่าut3กer0eเบัrม0imsเ่อืฉtคทieลcราn่ยีงsั้ กtทาo0uรค่.ีfs7ท่าs8iดnc5fลgrripอVeplvงewแ=วibดลั m3rคะa7จา่ot3ะit.oVไ7onrดrmr้วps ่mาเมK่อจื 3=ะเป65วล.ดั33ย่ีค0น่า5แVสปrาmลหsงรคไบัด่า้

แกคคเ กทลา่า่าายีรแกะรใบไรวาชดงัรกดค้ด้ดวับคา่นัีกัดวคเจ8วคพา(วา2่าV่ามากื่อก.แr6มmถอาร3sถF่ีกร)งธ%i่ีใบgิแาRบชuรลิดiา้คpสrะจยe่าpคั่นาคleวก3สVวsากะrาmมแใเามsหทถลรสค้ทะรี่สือัมขะา่่ัน่ีคนลทอ้พ่าสสอมใี่คันะกากูลวเธมลทคใา์ขเน้าลืมอคอร่ืนนถยี ถTงูขกง(แaอคRอตbรธา่งi้อlงpิบeแสงบpราVท*แจวเ2lิ*ดงฉะทeยrใ่ี6่าmไชบทน.ssลนดด3จใ้ ค)ดิน0่ียี่้เ้ไวะ=่าก5ทกมฟเใ ย าหน ิคด91เ่ีา ฟรส ก ส.อื 3 ต็น วข2 มมค ้าิดจ 9ิ. รไ้ึ น5 ก่ายด ัก จดฐ V า6 ก K้ว าาร,ว้า%=ั(บนยกIรา่ส1rm)าs2ห0=ร×.90บั .0คไกแส กช 9cT ด ุด0ล่ัาo(วนา×aต7้กระAmารbสรค.2รม1วปlแFpะ2�ำeาจ2ลสiaรเน0วฟgะัท×ม2ดัrะuวF×คeคืพเมrอณ6TdeวF=วม0ันน.าาhา3คi7ื่.อม5tgณ8eมธท.0oา่1ส5ทu์5ขตแส2ี่นัใ่คrtrำ)รชeัอ�สามhH่eางะมs้eกงzใพเบแu3ทนลคาันsิดรlอื�ำ่ากtรTtนธsงดทaตทาo์ถบบัาnัoวรrดดงิdดqfแวอถaลuปsเิจ้อrอทetอัรdยaมยียงกสภสชคกtrตนvieมVุวาดมาแsรบาี้ร(aาพกตsกาtrRปลมมmiกาlจรปuฟcาuเรสรวsสะ2รัึรมงบlaะมeค)ัจtะ(สมมเ่ืsอไ1lแวพกsวคากา)กดดทดัอaนลัณาหo่า็คบบาัาง้ธnวมะรคbวมรกข์แaั่บ4ขาสา่าtอาสaแามlกfั(ม้แงyอรr1รสiดตคiาลสpพทnsง)นมัรา่ะp่บงรieดัมlนตสคseูดใภิลฐลdวะัาธนกเาเแdทอเโนา์ทถพปfาดพงยaีวนอrืปดFรแบรoณยtน่ืรอถaiลVกสmะทgตคอบrะศักพำmใ่ี�่uoารเคอชsยึกแกหirbบงบา่ใ้nแeร็นบมกtษ(ลรdวง5aกาRขะัับบบ่iต4าาาiต้r2อnfิด)รรerาiมpวฐeทมpcดูาจิลledลาtนยัังเโางพนmดแดfอพr้ี่ืยอบสั้อจoบeตศงึมดวmaรไึกา่ตงงดsษกาใไว้ utนมบดั่าาhr้ eem
ความสมั พันธ์ของฟาราเดยด์ งั แสดงดว้ ยสมการ (2)-(3) Torque (N.m) Maximum Minimum Mean

Standard 29.30 13.38 19.72

Vrms = 4.44fripplen φ (2) จากคา่ Ripples 28.49 8.82 19.84

จากคา่ Vrms 23.47 7.70 16.38

หรือ

Vrms = Kfripple (3) จากภ
03 c0.o70m8ค5pรa้งัVreทเมdFแ่คี อื่iลา่tgทoะufจ�ำritrpกะhpelไาee=ดร3ทs้ว3Tt่าด7ao3ลnKr.อdq7=งaurว6repดัd.m3คr0veา่ จa5sะVluuวสrlmetัดำ�sssคหเมo่ารbอ่ื ับVtเaปrชmiุลsดnไยี่eตดนdรเ้ แวทfปจr่าoวลกmัดงบั คคเiา่ฉnวdลาซมiีย่�้ำrect measuFmreiegmauseruencrt3eosmmTweopnraitqrhsueedwthirtteoehstRtuhhleitepsspRotlaibepntpadalieannredaddnvVdfarrolVmumsremvssinvadaluilrueeecsst แรงด
R2 =
TTaabbllee22 ThTehererseuslutsltsofofsstatatitsistitcicaallaannaallyyssiiss ddaattaa oobbttaainineeddfrforommthteheexepxepreimriemnet nt เท่าก
TorTquoer(qNu.me) (N.m) MMaaxximimumum MinMiminiummum M19e.a7n2M19e.a7Fn2igurMe2e40d.S1ia7hnMo2ew0d.s1ia7nthe rSetgarnedssairSo4dtn.a5nDr7deealrv4adi.t5aDi7oteinvoisanhtioipn สนั่ สะ
SSttaanndadradrd 2299.3.030 13.1338.38 ผดิ พล
8.882.82 19.8419b.8e4tween21th.2e8to2r1q.2u8e obtained fr4o.6m6th4.e66voltage กบั ผล
จาจกคาา่กRคipา่ plResipples 2288.4.949 ไดว้ ่า
2233.4.747 7.770.70 16.3816m.3e8asure1m7e.2n8t (1V7r.m28s) versus the3s.4ta6nd3a.4r6d torque การส
จจาากกค่าคV่าrmsVrms ค่าคว
การใ
อปุ กร

thbeFFeitgtiowgurqureuereee4no4StbhhtSaeovihwnetoesorsdwrtuqhsfsreuottemhrheeeogthsbrreteteasagnsvindioroeaelntsarddgsreeiftolroaomnrtqmioeurnaeestslhahueitrpieovmbnoeesltntwhatiegp(eVenrms) จากภาพประกอบ 4-5 พบว่า ค่าแรงบดิ ดว้ ยการใช้ค่า 4. สร
measurement (Vrms) versus the standard torque แรงดนั Vrms เปรยี บเทยี บกบั ค่าแรงบดิ มาตรฐานมีค่า
R2 = 0.7672 มคี ่ารอ้ ยละความผดิ พลาดเฉลย่ี (%error) ออ้ มโ
freผไสเกFbFtทqดihนบัดิัg่eimueว้่gาสuพผtew่าeutrกะลoลneaerเrักบกcsาทeq5euyาาดuอnืr5Sรรe1eเvนวhทฉmta5Sohoดัลดblefh.ewurคt7niย่ีลpoasetpt่า3อiwolns(te(แmhงf%%ertsraรqeiใจpdepหงnuetรlreahfบใe)derrงค้ิ serogนavทดิo่าumorerrreโขไ่ีrdbreR)eดsดsVณtgsumเ2atยใ้iiobทrsoนie=อะnerrn่าatqกsทอen้htก0sruieาdtมoe่ีเ.iบัeรo9n(lมดsaffวnr7trt่fวื้a0iอoiจpิro8nepย.rmยใัnl66edqeกชsน)au6lahมVา้reค้ีv%idtซรpnคีiei่bาoใctง่ึ่าrborชซnyคsสaรersuค้qง่ึvวอ้ttาwhiusaสวoมยาielepอาuntลามeheมดระnถeถถคค่ีก่จสีวลาราาอ้ กุปมรง ขนั สก
การสนั่ สะเทอื นของสว่างสามารถทาไดจ้ รงิ โดยการใช้ ส่วนข
ค่าความถ่ใี นการคานวณจะให้ค่าความถูกต้องสูงกว่า แรงส
ข้อมูล
ได้แก
วั ด ค่

354 Tatsanee Phosri, Chonlatee Photong J Sci Technol MSU

จาก Figure 4-5 พบว่า ค่าแรงบิดด้วยการใช้ เอกสารอา้ งอิง
Rค่า2 แ=ร0ง.7ด6ัน72Vมrmคี sา่ รเอ้ปยรลียะบคเวทาียมบผดิกพับลคา่าดแเรฉงลบย่ี ิด(%มาeตrrรoฐr)าเนทมา่ กีคบั่า
15.73% ในขณะที่เมื่อใช้ค่าความถ่ีการส่ันสะเทือน (f%ripeplerroใหr)้ อนชุ า วฒั นาภา, สทุ ธพิ งษ์ โสภา และพลศกั ดิ์ เลศิ หริ ญั ปญั ญา.
ค่า R2 = 0.9786 มคี า่ รอ้ ยละความผดิ พลาดเฉล่ยี (2553). เขยี นแบบวศิ วกรรมพนื้ ฐาน = Fundamental of
เท่ากับ 0.66% ซ่งึ สอดคล้องกบั ผลการทดลองจรงิ ทไี่ ดใ้ นการ Engineering Drawing (พิมพ์คร้งั ที่ 2). แมคกรอ-ฮิล.
วิจัยน้ี ซึ่งสามารถสรุปได้ว่า การวัดค่าแรงบิดโดยอ้อมด้วย
การใช้ความถี่จากการสั่นสะเทือนของสว่างสามารถทำ�ได้จริง Alencar, M.C., et al. “Study development and
โดยการใช้ค่าความถ่ีในการคำ�นวณจะให้ค่าความถูกต้อง characterization of micro torque transducer applied
สูงกว่าการใช้ค่าแรงดัน rms ที่เกิดจากการสร้างแรงดัน on screw elements analysis.”
ของอปุ กรณว์ ดั การส่ันสะเทอื น
Andrae, J. (2001). Measurement and calibration using
สรุปผลการทดลอง reference and transfer torque flanges. Proceedings
of the 17 th International Conference on Force, Mass,
การวจิ ัยสามารถสรปุ ผลไดด้ ังน้ี Torque and Pressure Measurements. IMEKO TC3.
1. งานวิจัยน้ีนำ�เสนอการวัดค่าแรงบิดโดยอ้อม
โดยใช้คุณลักษณะการส่ันสะเทือนของสว่านไฟฟ้าขันสกรู British Standards Institution. (2008). Constant Amplitude
อปุ กรณท์ ดลองประกอบดว้ ย 2 สว่ น ไดแ้ ก่ สว่ นของชดุ ทดลอง Force Calibration: Calibration of the calibration device
และสว่านไฟฟ้าซ่ึงทำ�หน้าท่ีสร้างแรงสั่นสะเทือน และส่วน instrumentation to be used for the dynamic calibration
ที่แสดงค่าเพ่ือทำ�การวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วยอุปกรณ์ of non-resonant uniaxial dynamic testing systems.
วดั คา่ ทางไฟฟา้ ตา่ งๆ ไดแ้ ก่ แคลมปม์ เิ ตอรว์ ดั คา่ กระแสไฟฟา้ Method. BritishStandards Institution.
Tachometer วัดค่าแรงบิดมาตรฐานและความเร็วรอบ และ
ออสซิลโลสโคปทำ�หน้าท่ีเก็บสัญญาณการส่ันสะเทือนและ Dawkins, C., Thirukodikaval, N., Srinivasan & Whalley, J.
ตวั แปรวเิ คราะห์จากการสน่ั สะเทอื นท่เี กย่ี วขอ้ ง (2001). “Calibration” Handbook of econometrics.
2. การประมาณค่าแรงบิดโดยอ้อมจากการวัดค่า Elsevier.
ความสั่นสะเทือนสามารถทำ�ได้จริง โดยอาศัยความสัมพันธ์
สมการพลังงานและสมการตามกฎของฟาราเดย์ มีความ Dib, A. (2012). Sensorless indirect adaptive control with
สัมพนั ธก์ ันอยา่ งมาก (R2 อยใู่ นช่วง 0.7672-0.9786) และท่ี parameters and load-torque estimation of induction
ค่าความถกู ต้อง 84.27% สำ�หรับการใชค้ ่าแรงดันกำ�เนดิ rms motor. CCCA12.
การสั่นสะเทือน และ 99.34% ส�ำ หรับการใช้ค่าความถี่ระลอก
คล่นื โดยตรงจากการสั่นสะเทือน ตามล�ำ ดับ Freund, Jouni, Esa-Pekka, T. & Risto, T. (2000). Effects
การศึกษาการวัดแรงบิดโดยอ้อมด้วยวิธีการที่ of two ergonomic aids on the usability of an in-line
นำ�เสนอในการวิจัยนี้สามารถนำ�ไปประยุกต์ใช้ในงานท่ี screwdriver. Applied ergonomicsm, 31(4), 371-376.
เก่ียวข้องได้ในอนาคต ซึ่งค่าแรงบิดที่เหมาะสมจะขึ้นอยู่กับ
การประกอบชิ้นงานน้ันๆ ซึ่งมีความแตกต่าง คณะผู้วิจัยจะ Hetenyi, M. (1943). A photoelastic study of bolt and nut
ไดน้ ำ�เสนอในงานวิจัยในอนาคตต่อไป fastenings.

กิตติกรรมประกาศ NISHI, M. & NAKAMURA, S. (2004). Fundamental
Engineering Drawing at Kanazawa Institute of
ผู้วิจัยขอขอบคุณ ห้องวิจัยพลังงานรังสีอาทิตย์และ Technology Relation of Mechanical Drawing and
แหลง่ พลงั งานส�ำ รอง และคณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั Engineering Drawing. The Proceedings of the
มหาสารคาม ทไี่ ดเ้ ออ้ื เฟอ้ื อปุ กรณ์ สถานทท่ี �ำ การทดลอง และ Tecnology and Society Conference (pp. 13-16).
อำ�นวยความสะดวกในการวิจยั ในครงั้ นี้
Owen, P.J. & Cleary, P.W. (2009). Prediction of screw
conveyor performance using the Discrete Element
Method (DEM). Powder Technology, 193(3), 274-
288.

Ozcan, E. (2004). A novel automated direct measurement
method for total antioxidant capacity using a new
generation, more stable ABTS radical cation. Clinical
biochemistry, 37(4), 277-285.

Pitipong, S., Pornjit, P. & Watcharin, P. (2010). An
automated four-DOF robot screw fastening using
visual servo. IEEE/SICE International Symposium
on System Integration. IEEE.

Vol 40. No 5, September-October 2021 Study of indirect torque measurement using vibration 355
Ranganath, Kate A., Colin Tucker Smith, and Brian A.
characteristics of screw motor
Nosek. “Distinguishing automatic and controlled
components of attitudes from direct and indirect
measurement methods.” Journal of Experimental
Social Psychology, 44.2(2008), 386-396.
Suzuki, T. (2020). Mechanical Low-Pass Filtering of Cells
for Detection of Circulating Tumor Cells in Whole
Blood. Analytical chemistry, 92(3), 2483-2491.
Terrier, A., Kochbeck, S.H., Merlini, F., Gortchacow,
M., Pioletti, D.P., & Farron, A. (2010). Tightening
force and torque of nonlocking screws in a reverse
shoulder prosthesis. Clinical Biomechanics, 25(6),
517-522.
Vaez-Zadeh, S. (2018). Direct Torque Control. Oxford
Scholarship Online.
Zhao, H. (2013). Vibration Torque Measurement And
Mechanism Analysis of Rotary Stepping Motor.
Zribi, M. & Chiasson, J. (1991). Position control of a
PM stepper motor by exact linearization. IEEE
Transactions on automatic control, 36(5), 5620-625.

อณุ หภมู ิและเวลาทีเ่ หมาะสมในการอบคนื ไฟต่อคุณสมบตั ิเชงิ กลของมดี โต้
Optimal tempering process on mechanical properties of chopping knife

สมบตั ิ นอ้ ยม่ิง1*, วรรณา หอมจะบก2, มาโนช รทิ ินโย3, ณรงคศ์ ักดิ์ ธรรมโชต4ิ
Sombut Noyming1*, Wanna Homjabok2, Manote Rithniyo3, Narongsak Thammachot4
Received: 23 January 2021 ; Revised: 13 September 2021 ; Accepted: 30 September 2021
บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยท่ีเหมาะสมของอุณหภูมิและเวลาท่ีมีผลต่อสมบัติเชิงกลของมีดโต้ที่ผ่านกระบวนการ
อบคืนไฟ ทำ�การทดลองชุบแข็งมีดโต้ด้วยกระบวนการอบคืนไฟ โดยการนำ�เหล็กแหนบมาตีข้ึนรูปให้มีรูปทรงเดียวกับมีดโต้
ของชมุ ชน ซึง่ ได้นำ�คณุ สมบัตเิ ชิงกลของมีดโต้ที่ประกอบดว้ ยค่าความแขง็ และความต้านทานแรงกระแทกมาเปรยี บเทยี บมดี โต้
ท่ีตีข้ึนรูปและผ่านการชุบแข็งจากชุมชน ในส่วนการวิเคราะห์ผลการทดลองการอบชุบทางความร้อนโดยใช้หลักการออกแบบ
การทดลอง (DOE) มาวิเคราะห์ปัจจัยท่ีเหมาะสมตามหลักการทางสถิติ ปัจจัยในการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ปัจจัย โดยปัจจัย
แรก คือ อณุ หภูมใิ นการอบคืนไฟมีอยู่ 3 ระดบั ไดแ้ ก่ 180, 200 และ 220 องศาเซลเซียส ปจั จยั ท่ีสอง คือ เวลาอบคืนไฟมีอยู่
3 ระดบั ไดแ้ ก่ 60, 90 และ 120 นาที ผลจากการวเิ คราะห์ พบวา่ ปจั จยั ทเี่ หมาะสมของอณุ หภมู อิ บคนื ไฟ คอื 200 องศาเซลเซยี ส
เวลาในการอบคืนไฟ คอื 83 นาที โดยคา่ ความแข็งเฉลย่ี 579.9 HV และค่าความตา้ นทานแรงกระแทกเฉล่ยี ตำ่�สดุ 35.8 Joules
ผลของการอบคืนไฟเพ่ือยืนยันผลโดยใช้อุณหภูมิและเวลาอบคืนไฟที่ได้จากการวิเคราะห์ปัจจัยที่เหมาะสม ได้ค่าความแข็ง
เฉลี่ย 549.9 HV และค่าความต้านทานแรงกระแทกเฉลี่ย 38.8 Joules ซ่ึงเป็นคุณสมบัติเชิงกลของชุมชนตีมีดท่ีสอดคล้อง
ตามมาตรฐานผลิตภณั ฑช์ ุมชนตีมีด
คำ�สำ�คัญ: อบคืนไฟมีดโต้ อุณหภมู อิ บคนื ไฟ เวลาอบคนื ไฟ

Abstract

The objective this research was to study the optimization of the time factors that effected the mechanical properties of
the of hardened chopping knife in the tempering process. The mechanical properties were hardness and impact values.
The experiment was conducted by forging the chopping knife made from medium carbon steel with the same shape
as community chopping knife. The principle of Design of Experiment (DOE) was used to design the experimental and
analyze the optimization by statistics. There were two factors in this study, tempering temperature and tempering time.
The tempering temperature consists of three levels at 180, 200 and 220°C, and also, the tempering time consists of

1 อาจารย์, สาขาวชิ าวิศวกรรมวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร,์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอสี าน, จงั หวัดนครราชสีมา, 30000
2 ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย,์ สาขาวิชาวศิ วกรรมวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปตั ยกรรมศาสตร,์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน,

จงั หวดั นครราชสมี า, 30000
3 ผู้ช่วยศาสตราจารย,์ สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปตั ยกรรมศาสตร,์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน,

จังหวัดนครราชสีมา, 30000
4 รองศาสตราจารย,์ สาขาวชิ าวศิ วกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตรแ์ ละสถาปัตยกรรมศาสตร์, มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน,

จังหวัดนครราชสีมา, 30000
1 Lecturer, Department of Material Engineering, Faculty of Engineering and Architecture. Rajamangala University of Technology Isan,

Nakhonratchasima 30000
2 Assistant Professor, Department of Material Engineering, Faculty of Engineering and Architecture, Rajamangala University of Technology Isan,

Nakhonratchasima 30000
3 Assistant Professor, Department of Industrial Engineering, Faculty of Engineering and Architecture, Rajamangala University of Technology Isan,

Nakhonratchasima 30000
4 Associate Professor, Department of Industrial Engineering, Faculty of Engineering and Architecture, Rajamangala University of Technology Isan,

Nakhonratchasima 30000
* Corresponding author ; Sombut Noyming, Material Engineering, Faculty of Engineering and Architecture,

Rajamangala University of Technology Isan, Nakhonratchasima, 30000, Thailand. E-mail: [email protected], 081-2654795

Vol 40. No 5, September-October 2021 Optimal tempering process on mechanical properties 357

of chopping knife

three levels such as 60, 90 and 120 minutes. The number of trials was 9 times, and in order to ensure the accuracy
of the data for all factors, the experiment was repeated 5 times. The analyzed results showed that the tempering
temperature was 200 °C and the optimized tempering time was 83 minutes. These conditions resulted in an average
hardness of 579.9 HV and the minimum average impact value of 35.8 Joules. The optimum values of tempering
temperature and time were used for verification. The result of average hardness was 549.9 HV and the average impact
value was 38.8 Joules, which coincided with the cutting edge Thai community Product Standard

Keywords: chopping knife tempering, tempering temperature, tempering time

บทน�ำ เสร็จแล้วน้ันค่าความแข็งอยู่ระหว่าง 450-600 HV จาก
ปัญหาที่เกิดขึ้นอาจเกิดจากข้ันตอนการชุบแข็งมีดเพราะ
ปัจจุบันมีดทางการเกษตรส่วนใหญ่น้ันจะถูกตีข้ึนรูปจาก การชุบแข็งแต่ละคร้ังจะใช้ประสบการณ์ในการชุบแข็งโดย
เหล็กแหนบและเหล็กใบเลื่อย เน่ืองจากเหล็กทั้งสองชนิดน้ี คา่ ความแขง็ ทไ่ี ดจ้ ะไมเ่ ทา่ กนั ซงึ่ คา่ ความแขง็ ของเหลก็ ทใี่ ชท้ ำ�
มปี รมิ าณคารบ์ อนทส่ี งู สามารถน�ำ มาชบุ แขง็ ได้ จากการศกึ ษา มดี โตน้ นั้ จะขนึ้ อยกู่ บั ลกั ษณะของปรมิ าณคารบ์ อนทอี่ ยใู่ นเนอ้ื
ชุมชนตีมีดมีดทางการเกษตร จังหวัดนครราชสีมา พบว่า เหล็ก โดยการทดสอบค่าความแข็งจะใช้ปริมาณค่าคาร์บอน
มีดท่ีผ่านการตีขึ้นรูปยังมีองค์ประกอบอีกหลายอย่างในการ เป็นหลักในการคำ�นวนค่าความแข็ง โดยกำ�หนดปริมาณค่า
ปรบั ปรงุ คณุ สมบตั ขิ องมดี เพอื่ ใหม้ คี วามคงทนมคี ณุ สมบตั ทิ าง คาร์บอน 0.3-0.5 เปอรเ์ ซ็นตค์ าร์บอน จะใช้ค่าความแข็งอยู่ท่ี
ดา้ นความแขง็ และความเหนยี วยดื อายกุ ารใชง้ านเพม่ิ มากขนึ้ 550 HV จากการศกึ ษางานวจิ ยั (สทิ ธพิ งษ์ อดุ มบญุ ญานภุ าพ
การเพ่ิมคุณสมบัติทางด้านความเหนียว เป็นอีกหน่ึงปัจจัย และนลิน เพียรทอง, 2557) พบว่าปัจจุบันได้มีการพัฒนา
ทสี่ ามารถน�ำ มาปรบั ปรงุ คณุ สมบตั หิ ลงั จากการใชก้ ระบวนการ กระบวนการตีมีดด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ เพื่อให้มีดที่ผ่าน
ชุบแข็ง โดยใช้กระบวนการทางความร้อนมาปรับปรุง มนัส การตขี น้ึ รปู มขี นาดทส่ี ม�่ำ เสมอสามารถใหค้ า่ คณุ สมบตั เิ ชงิ กล
สถิรจินดา (2540) ท่ีส่งผลตอ่ คณุ สมบตั ทิ างกลของเหล็กกล้า ของมีดตรงตามมาตรฐานท่ีกำ�หนดไว้ ในขณะเดียวกันมี
คาร์บอน ทีผ่ ่านกระบวนการอบคืนไฟ ณรงค์ศักด์ิ ธรรมโชติ นักวิจัยได้นำ�หลักการสถิติมาประยุกต์ใช้ในการชุบแข็งมีด
(2556) ซ่ึงในกระบวนการน้ีจะส่งผลต่อค่าความแข็งให้ ทางการเกษตร จากการศึกษางานวิจัยของศักดิ์สิทธิ์ ศรีสุข
ลดลงเล็กน้อยและความเหนียวเพิ่มข้ึน ท้ังน้ีเนื่องจากการ และคณะ (2560) พบว่าได้ศึกษาการออกแบบการทดลอง
เปล่ียนแปลงโครงสรา้ งของมาร์เทนไซต์ Kumara (2003) ซ่ึง ของปัจจัยท่ีมีผลต่อสมบัติเชิงกลของมีดโต้ที่ผ่านข้ันตอน
ในการเปล่ียนแปลงคุณสมบัติทางกลขณะทำ�การอบคืนไฟ การชบุ แขง็ ดว้ ยกระบวนการแพก็ คารเ์ บอไรซงิ ท�ำ ใหท้ ราบวา่
จะมีความสัมพันธ์ของอุณหภูมิและเวลาท่ีส่งผลต่อค่า ปัจจัยของอุณหภูมิและเวลามีผลต่อสมบัติเชิงกล โดยจาก
ความแข็งและความสามารถในการรับแรงกระแทก จากการ การศึกษางานวิจัยข้างต้นพบว่าการออกแบบการทดลองและ
ศกึ ษางานวจิ ยั ของวรรณา หอมจะบก และคณะ (2558) พบวา่ การวิเคราะห์ทางสถิติน้ัน Montgomery (2013) สามารถ
มีดโต้ท่ีผ่านการตีขึ้นรูปจากเหล็กกล้าคาร์บอนตำ่� โดยผ่าน นำ�มาหาค่าปัจจัยท่ีเหมาะสมในการปรับปรุงคุณสมบัติของ
การอบเพิ่มคาร์บอนด้วยกระบวนการแพ็กคาร์เบอไรซิง มดี โต้ด้วยการอบคืนไฟ
เปรียบเทียบกับมีดโต้ท่ีผลิตจากเหล็กแหนบในท้องตลาด ดังน้ัน งานวิจัยน้ีจึงมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาปัจจัย
จากผลการทดลองพบว่า มีดโต้ท่ีผลิตจากเหล็กแนบจะ ทเี่ หมาะสมของอณุ หภมู แิ ละเวลาทมี่ ผี ลตอ่ สมบตั เิ ชงิ กลมดี โต้
ประกอบไปด้วยโครงสร้างคาร์ไบด์กระจายตัวบนเนื้อ ที่ผ่านการอบคืนไฟ ซ่ึงผลท่ีได้จากงานวิจัยนี้สามารถทำ�การ
พ้ืนโครงสร้างมาเทนไซต์ โดยโครงสร้างคาร์ไบด์จะมีขนาด เลอื กใช้ปจั จัยของอณุ หภมู ิ และเวลาทเี่ หมาะสมในการอบคนื
เล็กลง เม่ือมีระยะลึกเพิ่มข้ึนซ่ึงเป็นสาเหตุทำ�ให้มีดมีความ ไฟมีดโตท้ ีผ่ ่านการชุบแข็งให้มีประสทิ ธภิ าพมากย่ิงขนึ้
เปราะ คุณสมบัติในการรับแรงกระแทกลดน้อยลง ซ่ึงจาก
การศึกษางานวจิ ยั ของณรงค์ศกั ด์ิ ธรรมโชติ และคณะ (2562) วัสดุ อุปกรณ์ และวธิ กี ารศกึ ษา
พบว่ามีดโต้ที่ผลิตจากภูมิปัญญาของชุมชนตีมีด 4 จังหวัด
ในประเทศไทย ค่าความแข็งของมีดโต้มีความแตกต่างกัน วัสดุ
โดยมีดโต้ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยามีความแข็งสูงสุด - เหลก็ แหนบ
รองลงมาคือมดี โตจ้ ากจังหวัดนครราชสมี า นา่ น และต�ำ่ สดุ คอื - มีดโต้ของชุมชนทีผ่านการตีขึ้นรูปและชุบแข็ง
มีดโต้จากจังหวัดสงขลา จะเห็นได้ว่ามีดโต้ที่ทำ�การชุบแข็ง ดังแสดงใน Figure 1

ยห่ี อ้ SNOL รุน่ IP 20 • กระบวนการอบคนื ไฟ

3-L58Sเค10รNS2่ืoอamDroงbnEugทtsaNดkoyสTmhอainmgบm, WaแcahรnonงtaกHoรmะjaแboทk, กManยote่ีหR้อithnLiyoe,edรsูปรรม่าุ่นดีงขโตอ้ทงม่ถี ดีูกทตาขี งน้ึ ชรุมูปชจนากนเาหมลาก็ ผแ่าหนนJกบSาcตรi าอTมeบcขคhnนนื oาlไดMฟSแUซละ่งึ
ย-- ห่ีเเคคอ้ รรอ่ืM่ืองงaตทtดัsดuชzสน้ิ aองwาบaนคทรวุ่นดาสมMอแHบขTย็ง2แห่ี บอ้ บMไEมTโKคOรNวิกรเนุ่ กตคเแปขอนาืQนรก็นมง็ูปไรำาร-มกฟรรมะ์สา่ะบาาีดทงดแรโวขเ่ีตบนันลวอ้ทอลว้งกามี่ผมมาุณีาดจ่าดีรโดีนา6หตทอกกโ0้ทาบภตรน,งี่ถคะูมช้ท9นับูก้นืุมใิ0ผ่ีวตทนไชนฟ่ีาขแนกากึ้นนกลาานรกระารูปำาอตรรม1จีทขบะาา2้ึนบผดคก0รา่วเลนืูปนหนนอไพกลาฟงกรา็กทด้อราจแอมีว้ระหซบชยใตนงค่ึชุบกขีบในืแอ้ นรน้ึตไขณุะฟกา็รงบมมหูาปซวขารภพ่ึงแนพนเูมลรปากจิ้ว้อดใิน็ าานแจมกรรากลาณชอกระาุบบาร
ด •ว3-รเุ่นAิธคLอยกSีห่ีกปุรM-ยอ-1าอ้กอ่ื า0ห่ีเปุเรรตASงF2ครอ้ณกเDNาตiXตศรgรอEO์S่---รือuรณบึกFLNxวrเงยเเีiชegต์คOครษจทมuบุL่นุารร1Lสrอาดื่ื่ออดMeมIบPอSงรงสว้1ดีททุ่นชFhยบ2อSุบดดa0คhบIปด0สสpPวa้วแeออp5ราย2eบบมรมิo0คคoแงรfาวfรวอ้กcาcณงานooมรกมmmขระธรแ้อmดแะmขานแuลท็งตunขทวแinกดtุผดกyบiลtคบสbyวยยiวgไดมb่่ีีหหามคki้มอg้โnอวยคiตfาkeLรห่ีมา้Lnวeนตei่อิกef้ทeาedเนdกาsMทsอนรารEรุ่นน์สุ่นTEดคอคอXงงบาืันกทไใ1อนแศรTนฟ2คงันบั้ไาำ บ์eสศา0จกทฟืนFเmดอาะเหาiาำนซใไเgรนpงลกซชาuฟ(อลeใ็กาอ้ลททTrบนrรeเณทุเกีaeผ่ีทซซคซลt3่อีหmFืนดยีา่uยีงึ่้าภุณสลนiไrใคpสgeฟนอมู กใาeuหกงนใิใร(าrนrดาTกน์ภiบeรnวก้รeาอชกูพยมgาmร3นรกุเบา)ิจิตpลอทรารผ่eอืาบทะร่ีผเrบกวณิคลi่ีอาเnอวแนืพอืนาgุณนณุ ไขต)กกฟรกหางท็หาอาาทมโภี่อรระุณอภ่ีดรชอณุมู เะณุ ยบุบูชิหมหดหคหนว่ผับิมภภงนืภิวา1อูมกาูมไแมูม8ุณฟาิะข1ตชิิ0รดีทสห8็งา่ำท่ว,โเ0่ีภโมดเวตง2ด,พูมลกลก02ไย้ ริใาอ0บัป0านนาง60ะรกำทาเน0แเหทมแาห,ด้ีารลลี9ดมลดงักอะ0ะแโา็กลบาตสะ2แอรกคส้ได22ลอปืนมง0ลงะ2นบ0า้ ้ี 1.
าร การมนดียาี่หโ-Lยเ้อตSหห่ีเMท้ค1อ้ ลa0รใ่ี tM็่2กือ--sชDuเงaเแคส้zคทEtรasาหรอื่wดuื่อหงazนงสตตaรรดัอบรw่นุบัชบวaนิ้ทจMนคงสรH่ีามวาอ่นุนTาบมีลท2มปMาดักรแสHทิมษขอTาาบ็งณ2ณกแยธห่ีาบาะตอ้รบแุผอMไสบEบมมTนโคKยคมOนืี่หรN่อวไาฟิกรตMนุ่ เEีขกQเTตอ้ึน-E3รรXAร์สยี ูปมใโหด้มยี 2.

อง ปั จ
ค่า เทา่
าร ทกุ
น ทงั้ ห
ท่ี Tab
ม ord

ย R
มี
ด 220 Tempering
มี 200
ขง็ รูปร่างรนุ่แ-MลเคAะรXข่อื xนงตLาMดั ดFชเน้ิ0ช5ง่นานเทดดยี สวอกบบั ยหม่ี อ้ดี MโตEช้TKุมOชNนรุน่ดงัQแ- สดงใน 180
อง
าร Figureวธิ 32ีกAาจราศกึกษนาัน้ ทาการทดลองด้วยกระบวนการอบ 60 min 90 min 120 min

คใชนื ง้ ไาฟนกกเาารคร-รรเนุ่นยีเคอืตำารบMเรอ่ืหมยีรAงลมมาอต้็กXีดมทแรโยตดีxวหาแ้ทจนLกี่ใสลบMชาอทว้้สFรบ่ีมำาจหทีลป0ะักร5รดับตษมิ นลณาดั ำาอณะมเแงฉาธบทหาพนำาตลมกาุผาางั ะตสรจอีขสมบาึ้นว่ คยกรนูปืนห่ี กไใ่อทหฟา้มเ่Mรี เีรปอตูปE็รบนรTีย่าEมคตงแXโนวืัดลยะมไฟดี เทสถ่ี รูกจ็FFiigguurere3 Air Time

T3imTeim-teem-pteermatupreersaetquureencseefqour eexnpceerimfoenrt
าร ขชกทนน้ิา่ี 1ราทดทFรกขดูปiชทขเคสหาgนดฉส่วน้ิวน2ำารลรuวม•พนาก่าาัทงาสนอ0rิมธดทดจีาาeงดดากบอแระเาีแกี่โสช2ทเสข2ากตลทบอาห่น2่็งรวดกขท้บะรจจเเนลลจา่0ีกน7ดขตศทะใ่ีาอรท็กาียชะต0นร่ีจกาอึกงดี่เวัดแยทส้ีะดปบานรษกจทม2มาห้ว็ดคนาับันาร้0าำายห2มืนตนเลกิมกกกับชร´ดัไ0ีวสทดีบาลรบาฟั่น7ม่วรโแะาเท0ิตรนนเทีมดบเกมสรดช้ท่ทีมดมทาวรลิามุตยงีี่นสมลิี่ถ็ีจลดร1ชลอลกวกาูกรักทนเิบสชากทเิใขมษรดรมชิ้กนบอัดนาตอ้งะลาทณกงัาตรมบบารแอดแดารคนดีะรสคงสรับืนทแโด2ดอแควไตแ0งบบบ้ฟวกรือ´ใาช้ ลงนทนยเคจ2กุมมร่ีจมะกมนื0ียFรชะะแาชะรบiไาgททนมแตะฟขรตuน้ิำาำิลทา้บอrักีดงดข็กeลทกยเวาติเจาง้ึันแจจ2มนรดรแระละรทตทาจกตยี้วสสูตปรดาดัดจากมดกอสใะดลัจรแโงนอตหสาอบอลดจใั้นบัดกงะ้นมบ่ยวทาี นกกหจ่ี สรทละเกพทขกปะว่กทัอราาิเ•จ่ี น็บะงพงรนาก2าบสผปอรวก่อืาถลวณัจอนารหตินคจการทกิาัยำกาจคแเอตาพงาึาป(ุณบออรFนงร่ือัจอบบuกภาำสอหบจlกขกแาlถาบคอายfัพาบaปริงตืนรคทขcทัจกบทไtิอืนมจ่ีoดาฟจกดงัยรrลไผีiงึมาทลaทอeฟโนลรีดlดดอง่ีมxdทแโตลยางpีผตeโฟอดใ่กอeลsด้ภหงกiลสrตาgา้ยมiทเอm่รอnมยพีคใอ)สทงหบรวeหเโมราลาดดnตั้ยมีะบมังยtลคลทิจัตีคสกวเอาิอทาตำาวากงดงม็หามากแงคกรแนมรกปูลขฟลดะสลแ้อง็บใขกขบเหงอปวอตอทบค้ดนน็างงม่าอกผคมมมคาาเลหีดใลวดีรรชทโลา้ออียตโศ้มน่ีักบตง้กดึลแาำกคตษ้้ดวมขเาืนยตาาาง็รว้ มม็ย
มิ
ษา
าร

ติ

ษา Figคใชทกขuชนนน้ืิา่ี rง้1ราทไeาดทฟขนด2นดเส2รคาสอ0ยีTอFืดบอบihgทบม2รueาจ่0ีอก้s7retทะ0ยeาb2ทeาแรiมlกTgารลa2ลhิกาับnว้0eลรkdา1จแทเbิรnมpะมiรทgดoiตลิตงfsลดkeลดัiกรtnอiสเิoเiรfมงฉmอneะหsตพบmแaลfรคoาaทdงัrdะวแจกeteสาeลาsจoมว่ ะกtfoนะแชpกlofตขทiน้ิeาw2ัดงlc็เ่รีทoeปจcอจดsawะ็บนาrสตbคกตoอดัcnนวืัสบจaมไ่วทาrฟดีนกbจ่ี เทสoทะสถ่วี่ทรn่ี นูกจ็2าsปครทโtดูปeัุณจดTทปไยeฟจแaร่สีลภยbักะlบอปอกาlทงาeบัจอพงหใ่ีคจ1บมชขัยือเนไPาใ้ทอFปพเนaดใaวี่ดงcrชชรกลใaว้มtoใ้าา้หmศยานrดีอsะรึกe้คบปโศคtาษ่eตาคจั รกึวrจนืค้ภศsาษยัาไึกขวาaฟแมาษnยาอรมdาแกมหงมอี ขnปแลคอียLo(็ังือยขงจ-ัotู่1awเู่จ2)จ็ง2อtปiายเัoุณปป็ปกนnหัจัจMs็(กนผLจFภจeรe(ยัdผลu0มูยัvะi)uelอิลดทบlmlดบังคf่ีนวแaงคั านสแcืนาตHดt(สกไมo+iฟงgอด1าrาใh)iนบงรaแพใอลlขTนิจะบdaอUปาebคTnงจัlsรieนืtaกจiณgยัb1ไาnฟlาeร)
ติ
จยั
ท่ี
มี

การตรวจเaหสnอลd็กบแสpหว่ oนนบsผทiสtี่ใiมoชท้ใnนาsงกเาคfรoมตrี ีข้ึtนeรsูปtมีดpโiตe้ cจeะถsูกนำามา 1. Tempering Temp (A) 180 200 220 ºC
2. Tempering Time (B) 60 90 120 min
ตรวจสอบส่วนผสมทางเคมีด้วยเคร่ืองวิเคราะห์ธาตุผสม

(Optical Emission Sp1ectrometer : OE2S) ยีห่ อ้ MAX x ร่นุ

LMF 05 เพือ่ ให้ทราบปรมิ าณคารบ์ อนและธาตุผสมอนื่ ๆ ใน
Fเนig้อื เuหrลe็ก2 The big knife made of low carbon steel
and positions for test pieces

Vol 40. No 5, September-October 2021 Optimal tempering process on mechanical properties 359
จากปัจจัยในการทดลองที่มีอยู่ 2 ปัจจัย ในแต่ละ
of chopping knife
ปัจจยั มีอยู่ 3 ระดบั จะไดจ้ ำานวนครัง้ ในการทดลองเท่ากบั 9 การทดลองทำาซำ้า 5 ครัง้ ดังนั้นการทดลองท้ังหมดจะเทา่ กับ
ครั้ง และเพ่ือให้เกิดความแม่นยำาของข้อมูลในทุกปัจจัยจึงมี 45 การทดลอง ดังแสดงใน Table 2

Table 2 Design table showing the randomized run order of the experiment

Run Order Std Order Temperature (°C) Time (Min)
60
1 10 180 90
120
2 14 200 90
120
3 18 220 90
60
4 17 220 120
60
5 15 200 120
90
6 11 180 60
90
7 13 200 90
60
8 12 180 120
120
9 16 220 60
60
10 42 200 90
60
11 44 220 60
120
12 37 180 90
120
13 41 200 90
120
14 38 180 120
60
15 40 200 60
-
16 45 220 -
-
17 39 180 60

18 43 220

19 25 220

20 20 180

21 19 180

22 22 200

23 21 180

24 23 200

25 24 200

25 26 220

27 27 220

28 3 180

29 7 220

30 4 200

-- -

-- -

-- -

45 28 180

ตเคร3รว6น่ือ0จงาส22322ว0897มอ8NSิเบีดoaคmrปoทรbnราu่gีผtsมิะaN่าหาkoนyณT์ธmhก2าa347iคn7mตาg1าm,รุ8ผรWa0ตบ์สcahีnขอมont้ึนนa ดHรแoังูป2122mลแ2802jเaะ0000สbปสo6ด็ k่นว0,งนMมใaผนีดnสoโtF11eม66ต2200iR00ทg้ ituมาhrnงาeiyเoทค,4มากดีก่อว้านยทคFวรดiั่ดาgจทลuาอr่ีไeกงดค5้มมา(ขbทอ)างใกมนาดีกรเาเขรฉา้ วลไดั ป่ียคเจป่าา็คนกวรนะาัน้ยมะทแขา8Jกง็ Sมชาcลิร้นิ iลบTทเิeนั มดcทhตสnอึกรoบlผแMจลลSะกะUถนาูกรา
มอฮตมขารเอบีอรดคกิาองยีล3ปทะรางวม8์ หรารเ่เีผิเชหพมิะทคป์อ่ดนแผคแอา้ิหลา่อืรผแน•ตเงดรอุนลา่้ณววิาคทณก็ทาอ์ธศรมิวิสเลว้กยหไรกวละดไหฉดาาหาานค่ืออกาปวจกปเผกLกคทตธเหนนคตสาลณค้วรเงาคาMสาบภอเร่าิิอวาดรท4ทเซ้รา์อรธ้วุวยตาะ่คีผเย-ม--รรอหฮตว5สFอร่ืฮฉคขูดกามุปิเาตบาเขาล์บจบีออนงรรดกส่อืลตคาก0ออรามวาตยบสีกิล้าีษาอยี่ปเข5ทอะรรรมาเงิงลร3ขมรอกซ์คสุกทผะยีารางรเะ่้เีึนทนวผ์บอนาบ8ร์อชอหพรมิมะหะทีรยเดสเีอ่ารด่งิเาำาบานป้ิหรออหบพลาชอ่ะอืณุชทดแคยป์อมสนมาองัหทณูรบิ้น็กปท์าธนิ้นจสคล่อลหน่ืีืิรษดมงธด์แรกดคาดทดาาทคอแๆาภเรทก็ทาะืทกนาศมิืนคตสาสสดท้วตดผปาบุู่มนนณลี่สะ2ผไดอรวาุดไผผยุาสาสรด---ดอิ8ฟว็นรั้ิกห่ะาา่นตบว3คสคบ์อฟอว้กณ้สวเสลาMโหงบม8นาธมยีบานซขบดอ์ธวรมา้มยรยใอโสกเรอนาคงกดยะ้ึนAนาคาผอลน์ดบะกีดแดงาจบดงนัตด้ราามาตรXอศบวแ้ลสรเแอยำือ่าราางัุขูปโรปยาารส้วซตFสุชคผนลงมษแะก3เนแดดตบ์xวอีอวิ้นขซเรiะะืนียสดสอทิทงgเผิเปน้ึง้งาลสนะแอคอบคใลไLจดuวา็มรสนิาเมชา่นวลกชรรรักฟน้านซMุ1าดหงคrาาูษนงปะFอน้8ิมดยีอ้าeนิ---ขยใโละะแนทรสiฮืนเ0Fเผgนสหดัดหีทดทจบผคเป่้องุ่า้าวนuล4สผ์ธด์ไยปพาทลข็rโนดวนาร0งิมอFาาะeมิวกฟรน์ดตอสเผตนากMหi่ด5มืหอส่นิธืมด4ีทพกgสนง้าุผสียอดนโ่าu้ออวขนาหกออื่มชาว้ชAันาส้มณด้าโrทบอ่จงบตบๆนยท้นิดยม้า้ัeนิาตลขารXทนเาำคยาททุข3้คอป้งา่ีคนา4าร6ก3งนดามงมxวอาจง---ุ่นาำรร0เนกาดไสดุเ์าบหดีกนงาะปมคLจ่ท้ออMวขลอว้ชาเกชสัทนม้Mุพำบ็ยกดนนาดยัAระาำน้ีิดอ้นิดกอื่ลแอXกF้วห้วทาลาบาเ้งาดยยรรxะาพดา0งอHน่ด5ือส่นืF้อaวขหigrบๆยทดัาdu่ีnree(sa5s) ((taae))s tจTHpะeFoถasiช•gsrtูกdiuน้ิptนnกiroiทeeาeาncด(sมรksa5esทสnา)o (iวอดetfaeneาmบส)sงอtแtbhTใบeรpeนeงdคos(ลsกbsวt(กiัh)bniราptaษi)ะมoisreแณpnตocทkslา้eeะindกนตdoiefขทgrnงeั้meeนาstโbนhาioดneeดแfยdร(tsหb2hง(ihbn)0กeนั a)รsดrะpo้าแlน7eiทd0dขกgrา้
ถนชรrดูกeอืนท้ิ สนนท4ดอเาสดบยCมอสคแ5•กน็hาแอแค5กด•บอวลาชeท(ุลลา่า้ณวกบา(รทaF้mวกนเร้ิa้วFวยเมาฉขเาหข)าทiจ)มถ่วีiจแถกไดแ8ทโทเมเทiggกลรรรดมแนนc้้คึึ0ภเลิลงักูชะาี่ไชะดผ่อ่ีืู่อกือืทuย่คทีดยuโ0ดแaาเ้วะขรรถวเูสน้ิถมชคนรน้ิ่rาเช,ดทสขร้มจ่ทรอืัดสrlรดูรอกงeรอ็เืนท้ิิาูดนะกสeำาาิ่มจ1อยืงดนท้ิวน้ตึcบอ3นนสถะททกง4ด,าอF็จนวิกกสoนน80ทใหทบูก4เเดดักาาาำiอาสดบเเิชน0gเยอCรmี่ถรกรกนมคกเคมาป์ออท0สอ้ิดuสบนคนบข็ยอืูCกอาhFะมกำา่ือารมrงรบpอทวัดรออสคถชรeeมคi่ีขขรบแนชนท็าgศมิhเบาดส์oทมาะmึ้าวนนอ้ฉิลบ4ิ้กนuอะูกวมาวาาชดeเสทันทsาทงrะ่ถีตลเหททiCยบกาณeเเตาทอแรนcมmมำiาน้ิย่ีผา่ีูกซดปt์ธดษhือมาaบ1าขกจดีน็5มiทดแจัคก่ถี่าeสขoทาน,สliลทร็าทกางเ็นาห2แขcmน(จาอขตกผน่้ตีึาncูรอเกรbกเี่0ถดลง็aาดยรขบi้ากตสoซานะุ)cผรบน0เดัูก่ากัขไบ์็นยสlaรทรmัoดรงใง้ันถั็่ีทวยนั้ปสตทอกนนlเอืจอะตนอ่ี้ผตึcแอfทบpทเัดมสcานูอกถ่กีดะบนปอานก่าooรoำาสบอsาำเัดถกามูกนกนm็นๆวขลเกแรmกดsรทรรpรูดกยลเทตกอเนอร์iาุ่pนาัวงลออืาะปปteดนำาะ1น็รงงpรoiดรแััดกอถoะจ่ีบม็ดน็ยงนะส8ำcนวาsบสใสMจคoธาnบiับะ0กมสัามดเกูiนtดนัดาอสว่าเะimราsร,Aoว่วเนาคกoยคทงงเถัต่ขท8วบพนตniนยนขี2X่าึกใแปftวeกึFนูนกน็ุนดื่อปiดดั2กคดััๆoกมบาสosผn็3วiใ0นxนๆfลาวดมัรนจpิลg้ดดหลฒัาn,Fรssราจอะ้าแวดลeLจสuก้งชpะทรทi้วมอ้นจ3ากมยขgงเิcMุeใดoาิ้นงrถมั่ดทกว2แศuาเย็งกยiนอcาารemรแงf0ตลขFชนriกรนทูรกขmบดเeาย,ีอียร็งิน้้ันสeะsFพนดนดัe0อนดๆบงลกด4ทnทpi5ลดnแไัน่5เg้ืดอ่้นวื0ลุารsดอรดsาำาอeลu0ยงทษว้หอ้ี(ยกสจ้รง(ะมงa,rcเ2ใๆทยยบะทอาeนาาค)าเi5น6นารบรm่ีราำรร40กชข้อาขคาื่อจย9ี0บ้ึ้ินนยยeFา่ะงน),ดับ6จทแniันg้ดะรรsดเuงถทว้อ้นFสสผกสเจดช•rใขยูกยFi่าะeอืภจทแ6า้ว่อานลg้าน้ิiถHนรgนระานFงดหกบกกเูกuทวขuงถaทนFผจiสาา•ชานาะgใrเ้าาrrดูกจi่สeอืาอนใdดขงมรgาำรeu้นิFรนุดสtนมงมnกกบ5มeกทiทurาส้ดทกากกชgอจsีดe6ทาeาาเา(rสหดuร้ิาtนาวอาบดดaดขวัsมรeาระrรเ5pรภ)กทาsลทPคาาาeสม้งดบสาททแoต6งTสเดหอวอ่ื(จวงอดาตดs6ัotบใอคeรแaาeภ6แทสiนทาPาากใบวtสงทุดsวขsPมi)บsงอมรoลtจงานดรหoจออดะแoiาtกีnเดTบกัpใtวงตดุคสงsสกัsงบงในFรsiลpนiสeแษะioรeiอลกา้กา้ใขอดนttวงคoioiใs่cรกiัอืลูกบoอนะณนnนอบoรกาg้รนnesางวtกnตกัแทงะงทnษนบปกiะรกะขามuกptteมรุ้มoาทoษจตhiาะรขมรบแmoiงoาเณาาfดีr้ตeeรfะนัง้บิแมาณากข้nตรeftดbทนรงแcขแesทาง้แาtkขรกแseโาะ้ังteาทม้นั้ดsehะดมeะณnอตกdนร6อตแกนtaตสตหมoกแsยsiดงดดeีัีสpงงrfกกiธขขทททnnกัขptภกงeัหtงั้miPด้ลาลทาeหนนเาหกเนpรนัาseเงpcูกtกตจาโมobูกนhกoโมะาาัiาdใeดนดกeดิุาัผiตวeนดุl่อืดแesgดดแeขiตง้าd่อcoจืยสดdุTแมe้ขทะทiรนกอcดneายtsุTมF้eม2ทหr2ใงรoiดกอขกeeiงhดsoรii0าne้0หใกน2fomgนงsัมา้ดแสtaงนงะดัsnนitunรง0กnpรophsดอก´ดrนัีมแสtเrทขะpงaieงoัหขeneบ(รiา้นสoา7แpใอcmดอดbีlแcบนkลน7eะitาแ0้นดังi)ทร้df6eneบi้านp็กก0tสdชแรขงmHขeงแiมกcftaมนา7grทน้ิงeเแsมนดใัaeา้ท้มeeกอตนัรcิลtกepนทr่ี0นงรขsดsdงtดมลเื่อิีลกงรกaขดำากniงดัotงใtิาเลn้Fะมลกมสeัeอcมหจกดfทินแเเpิiงsอsาgกูา(tตงลเิมมtาจsทรกbขhัitบตกกuชงรeาtตตลFะ่อ)ืeกีreขอน้ิกดิceรแเุิiTม้ทsgองeมจeทtuดชงดาsตกorมสtน้ิกeงัรnpอดีแieบiนสmcแนดั้epรงมaงใ

ขึ้นรูป ด้วยเคร่ืองเคร่ืองวิเคราะห์ธาตุผสม โดยทำาการสุ่มตัด
เหล็กแหนบมาทั้งหมด 3 ช้ิน ขนาด 3 x 3 เซนติเมตรและ
นำามาขัดผิวเพ่ือให้เห็นเนื้อเหล็ก จากน้ันนำามาทดสอบด้วย
เครอ่ื งวเิ คราะหธ์ าตผุ สม และนาำ คา่ ทไี่ ดม้ าหาคา่ เฉลย่ี ของธาตุ
ผสมตา่ งๆ ซ่งึ สามารถเทียบใกลเ้ คียงเหล็กเกรด (AISI 5160)
ดังแสดง Table 3

Vol 40. No 5, September-October 2021 Optimal tempering process on mechanical properties 361

of chopping knife

Table 3 Chemical composition of test piece

Steel Chemical Composition (% by weight)
No.
C Si S P Mn Cr Mo
มาตรฐาน AISI 5160 0.50-0.65 0.15-0.35 0.10-0.90
1 <0.04 <0.035 0.45 0.010
2 0.526 0.253 0.145 0.016
3 0.615 0.328 0.0012 0.007 0.780 0.265 0.014
0.561 0.221 0.184 0.013
Average 0.567 0.267 0.0021 0.010 0.823 0.198

0.0100 0.008 0.788

0.004 0.008 0.797

คา่ ความแข็ง กระบวนการอบคืนไฟทำาการทดสอบความแข็งด้วยเคร่ือง
การวจิ ยั ครงั้ นใี้ ชค้ า่ ความแขง็ ของมดี โตท้ ตี่ ขี น้ึ รปู จาก ไมโครวิกเกอร์ส โดยค่าความแข็งแสดงใน Table 5 จะเห็น
ได้ว่าเมื่ออุณหภูมิและเวลาการอบคืนไฟเพ่ิมขึ้นพบว่าค่า
ทางชมุ ชนเปน็ เกณฑใ์ นการเปรยี บเทยี บกบั ชน้ิ งานทดสอบมดี ความแขง็ ของมีดโต้ลดลง ดังแสดงใน Figure 7 จะเห็นได้วา่
โตท้ ผี่ า่ นการอบคนื ไฟ โดยนาำ มดี โตจ้ ากชมุ ชนจาำ นวน 5 เลม่ มา อุณหภูมิ และเวลาการอบคืนไฟท่ีสูงขึ้นจะส่งผลให้ค่าความ
ทาำ การตัดวัดค่าความแขง็ ตามมาตรฐาน (ASTM E-140–02) แข็งของช้ินทดสอบลดลงท่ีเป็นเช่นน้ี เพราะอุณหภูมิและ
จากนนั้ นาำ คา่ ความแขง็ ทว่ี ดั ไดใ้ นแตล่ ะจดุ มาหาคา่ เฉลยี่ แสดง เวลาเป็นปัจจัยท่ีสำาคัญในการเปล่ียนแปลงคุณสมบัติทางกล
ข้อมูลใน Table 4 จากขอ้ มลู พบว่ามีดโตท้ างชมุ ชนมีคา่ ความ ในเน้ือเหล็ก
แข็งเฉลี่ยอยู่ที่ 704.1 HV ซึ่งในส่วนช้ินงานทดสอบที่ผ่าน

Table 4 Hardness values of the big knife of community

Position Number Average sd LCL UCL

0.1 5 826.6 46.8 890 774

0.5 5 784.8 13.1 795 763

1.0 5 773.2 8.5 786 763

1.5 5 767.2 13.5 780 746

2.0 5 761.2 10.8 776 746

2.5 5 749.4 10.5 763 735

3.0 5 727.6 17.9 749 709

3.5 5 707.2 17.6 726 685

4.0 5 686.2 14.3 694 661

4.5 5 680.6 13.5 694 661

5.0 5 665.8 17.9 685 639

5.5 5 662.0 16.7 685 639

6.0 5 648.6 14.8 661 626

6.5 5 646.4 15.4 661 626

7.0 5 633.0 7.0 639 625

7.5 5 629.0 10.0 639 618

8.0 5 620.6 12.6 639 606

704.1 15.4 721 684

362 SNoamrobnugtsaNkoyTmhainmgm, Wacahnonta Homjabok, Manote Rithniyo, J Sci Technol MSU

TTaabbllee55 HaHrdanrdensesssvavlaulueessoofftthhee tteesstt ppiieecceess 1 2 HardHnaersdsnVeaslusesV(aHluV)es (HV) 5 AverAagveeragesd sd
2 33 44 5
TeTmemppeerraattuurree(°(C°C) ) TimTeim(Mein()Min) No. No. 1

118800 169620000169620000 669.7 656619164995....0737666542180288....8294 640.8 670.2 670.2 655539794397....5429565593797934....5492 655658917050....5202566558197500....5022 666550094538....5305656609054583....3055 16.4 16.4
220000 90 90 615.0 622.2 615.6 615.6 569.2569.2 17.7 17.7
614.3 618.9 607.6 607.6 16.1 16.1
120120 599.7 596.2 7.8 7.8
60 60 584.2 588.4 596.2
22220 90 90 584.2588.6 588.6 581.6581.6 541.9541.9 549.5549.5 21.7 21.7
120120 584.1 584.1588.9 588.9 562.9562.9 549.6549.6 551.9551.9 567.5567.5 18.2 18.2
569.2 569.2561.6 561.6 553.8553.8 559.7559.7 561.6561.6 561.2561.2 5.5 5.5
537.4 537.4538.0 538.0 559.5559.5 548.9548.9 556.3556.3 548.0548.0 10.2 10.2
533.5 533.5557.6 557.6 521.0521.0 541.6541.6 564.2564.2 543.6543.6 17.6 17.6

Hardness (HV)800 ความตา้ คนวทาามนตแ้ารงนกทราะนแทแกรงกระแทก
แใมJ นoนีดuTวโleตทaมดเsป้bขาัดีงสl็องนeโวแ่ใผงแผน6ตนชสลนลก้ชขซุมกดกวานิ้งอึ่ชราทามงทงนทรรคีใาดชโททดา่งนสดุมดสคใดอยชนอวสบTสใาบนกอชเaอมหบคา้มโbบตลดรวคlาeคา้ก็ทาตย่านแม่าดครใ6ทหคตชฐวสาน้าาซวา้มอนนนบมา่ึบงาแททมตตมคร(ผาี่้ตาIงรวีSนคาน่ก้าฐานOแ่รทานามกะราคนทแตงร1นกะทวาา้4(แบรนกนา8IระSวเ-ทแมงแนฉ2Oกรทาก:ลต2งรนยี่กา1้0ากะรอแ40แอนรดยร88ทบะัทงงู่ท)-คแกแก2ี่ 1านืเทขสร:ป32นไดอะก.ฟ็น06แงงแข0ทอร8กงง)
600 ผลขอกงรคะ่แาคทวกาเมฉตล้าย่ี นอทยา่ทู น่ี แ1ร3ง.6กรJะoแuทleกs แสส่วดนงชดน้ิ ังทTดaสbอleบเ7หลก็
โดยคแา่ หควนาบมตทา้ ่ผี น่าทนานกแรระงบกวระนแกทากรนอน้ั บจคะแืนตไกฟตา่ ผงจลาขกอคงา่ คคว่าาคมวาม
400 แทเทพขำำ��รใ็ใงหาหตตนะน้ค้เชห้้าาัน่่าั่น้ินนนลคคคท็กวททอืือดามาามสีคเนนเมตมอวแแ่้าอบื่ือารรนมออทงงทเุณุณี่มกกปาีคหรรรหนวาะะภแภาะแแูมรมนูมททงิแแ้อกแิกกลขยรละน็งละแเะลแันงว้ สเดจทลวจดลึงากละมงงกนาแดีคาก้ันดตวงรั ังากอาเแรTมบตพสอaสค่า่ิมดบbางืนขงlมคจeไึ้นาฟาFนื 7รกiทเไgถพคฟโu่ีเใปดิ่มนr่าเe็นขยพคกเึ้นคาว8ม่ิชรา่า่นขรจจมคนับน้ึะะแว้ี าขจมง็ะ
แรงกทระาแใหทกค้ ไ่าดคม้ วาากมขตน้ึ ้านทานแรงกระแทกนนั้ เพม่ิ ขน้ึ ทเ่ี ป็น
200

0
60 minutes 90 minutes 120 minutes
180°C 200°C 220°C

FiguFirgeu7reH7aHradrndenessssggrraapphh ffoorreeacahchcocnodnitidonition

Table 6 Impact values of the big knife of community เช่นน้ีเพราะช้นิ ทดสอบท่มี ีความแขง็ ลดลง ดงั แสดง
Figure 8 จะทาให้เหล็กมีความเปราะน้อยลงจึงมี

Impact values (Joulคesว)ามสามารถในการรบั แรงกระแทกไดม้ ากขน้ึ
No. 1 2 3 4 5 Average sd

14.0 17.0 10.0 16.0 11.0 13.6 3.04

Table 7 Impact values of the test pieces

Temperature (°C) Time (Min) No. 1 Impact values (Joules)
2 3 4 5 Average sd

60 30 27 25 24 27 26.6 2.3

180 90 31 30 35 30 31 31.4 2.1

120 38 33 37 32 30 34.0 3.4

14.0 17.0 10.0 16.0 11.0 13.6 3.04
80 กระแทกของมดี โตท้ ใ่ี ชใ้ นการทดลอง โดยตงั้ สมมตฐิ าน
Impact (Joules) 6TV0aobl 4le0.7NoIm5p, aScept tveamlbueers-Ooctfotbheer 2t0e2s1t pieces คอื Optimal tempering process on mechanical properties 363
H0 : เศIษmตpaกcคtา้ vงaมluกี eาsร(แJoจuกlแesจ)งแoบf บchปoกppตinิ g knife
42T00aTbemlep7eratuImrep(a°cCt)values oTfimth6ee0(tMesint )pieces (cNonot..) 1 H1 :2เศษตกคา้3งไมไ่ ดม้ กี 4ารแจกแจ5งแบบAปvกeตraิ ge sd
30 ททใ(Aนดดnขสส334จd2394อณอeาบบr342333กะsแ407393แIทomกสสn่ีpคดาด-a่dงาcรง334tใa3คใ520ทvนrนaวlดilunF343332าFegส275550iมsgigอ(tuตJeuroบ้าsreu334e4tน762lข)e1s9ทอ0)ข333423าพงอซ202764นแบงง่ึ แมคอว3335รคี่่า658านงมา่คเกคี วPด333233ร่าา-065187อะVAมPแรva334แe-์45l1ทสVru...aข662ันeกag็งelมu-0343323ดe.ผี414516ผ8......าล66026400ล222sร.6กก...1d153์ ลา3าจ่ิ6รงระ 2.3
0 Tempe1ra8t0ure (°C) 90 Time (9M0in) 120 minutNeos. 1 31 2.1
60 minutes minute1s20 32 38 3.4
180°C 200°6C060 220°C 36
Figu22r00e008 Impact resista19n21090c200e values 42 32 2.1
36 2.5
42 2.3
6060 35 35 เห็น3ไ8ด3้ว8่า ค่า40P-4V0alue38ขอ3ง8สม4บ0ตั ทิ 4า0งก3ล8.2ทงั้ 3ส8อ.2ง2ม.0คี ่า 2.0
การวิเคร2า222ะ00หท์ างสถิติ 9090 38 38 มาก40กว4่า0ค่าน4ัย2 ส4า2คัญ 404.0544จึงไ45ม่สา4ม5 า4ร1ถ.8ปฏ41เิ .ส82ธ.9H0 2.9
• การตรวจสอบความถกู ตอ้ ง1ข21อ02ง0ขอ้ มลู 49 49 แสด5ง0ถ5งึ 0เศษต48กค4า้ 8งมกี 4า8รแจ4ก8แจ4ง5แบ4บ5ปก48ต.0ิ 48.01.9 1.9

การวิเคราะห์ทางสถิติทางผู้วิจัยใช้โปรแกรมImpact (Joules) กระแทกของมดี โตท้ ใ่ี ชใ้ นการทดลอง โดยตงั้ สมมตฐิ าน
Minitab 1780ในการวเิ คราะห์ กอ่ นการวเิ คราะหห์ าปัจจยั คอื
ท่เี หมาะสม60จาเป็นอย่างยิ่งท่จี ะต้องมีการตรวจสอบ Te
ความถูกต4้อ0งของขอ้ มูล ของผลการทดสอบค่าความ H0 : เศษตกคา้ งมกี ารแจกแจงแบบปกติ 1
แขง็ และค2่า0ความต้านทานแรงกระแทก รวมถึงการ H1 : เศษตกคา้ งไม่ไดม้ กี ารแจกแจงแบบปกติ 2
ตค่ารควจวสามอแบปส0รมปมรตวฐิ น6า0นโmดดยiว้nมuยtรีหeาsลยกั ลทะ9เาอ0งยีสmดถinดติ uงัtิ eตแs่อลไะปต1นร2ว0้ี จmสinอuบtes จ า กกา รท ดสอ บ ข อ ง แ อ น เดอ ร์สัน -ด า ร์ลิ่ง 2
(Anderson-darling test) ของค่าความแข็ง ผลการ
การทดสอบการแ1จ80ก°แCจงแบ20บ0ป°Cกติ (T22e0s°tCfor ทดสอบแสดงใน Figure 9 พบว่ามคี ่า P-Value 0.136 If in
normality) ขอFงคigา่Fuคigrวueาre8ม8แImขImงp็ paaแccลttะrreคess่าisiคstaวtanาcnมecตevaา้ vlนuaeทlsuาeนsแรง ใ น ข ณ ะ ท่ีค่ า ค ว า ม ต้า น ท า น แ ร ง ก ร ะ แ ท ก มีผ ล ก า ร
ทเหFด็นiสgไอFuดบigr้วeแu่าrส9eดค9Pง่าPrใoนrPob-bFaVabibgaiilluliiuttryyeeppขl1olo0อt toงซfoสhง่ึfมaมhrบคdีanตั่าredทิ sPnsา-eVงsกasลluทeงั้ 0ส.8อ0ง6มคีจ่าะ F
กกาารรกตวาริเรวควจริสเาคอะรบหาคท์ะวหาางท์มสถาถงกู สิตตถอ้ิ ิตงขิ องขอ้ มูล มากกว่าค่านัยสาคัญ 0.05 จึงไม่สามารถปฏเิ สธ H0
• กากราตรรววเิ คจรสาอะหบท์คาวงาสมถถติ ูกทิ ตางอ้ ผงวู้ ขจิ อยั งใชขโ้ อ้ปมรแลู กรม Minitab แสดงถงึ เศษตกคา้ งมกี ารแจกแจงแบบปกติ ind
ต้า
Mทจ1ขแำ7รา้อ่เีiงnเหมกปกใiูลtมนร็aนาะกาbขอแระาอยทว1รสง่าก7ิวเผมงคิเรลคใยวรนจกิ่รงมาาาากทถระะเี่าจงึทหปหระกด์็นวต์าทกสเริ้ออค่ออาตงยบนรรงม่วาาคกสีกจะงา่าถาสหยครรอิตววิ่ง์ ตกบิเาิททครสม่อ่จีวรามแนาจะมงขกะสตตผ็งหาอแ้อฐิู้วร์หลบางวิจานะคมเิปคัดยควีก่าัจว้ ใารคจยาชมาวัยหระถ้โาทตลหมูปกกัี่เรห์ตหตรทว้าา้มอแาจนปงงากสทสขะัจอรสถาอจนมตบิมงยั ิ แส
คแลวะาตมรถวจูกสตอ้อบงคขา่ คอวงาขมอ้แปมรูลปรขวอนงโผดลยกมรีาารยทลดะเสออยี ดบดคงั ่าตคอ่ ไวปานม้ี Va
แขง็ และกคา่ารคทดวสาอมบตก้ารนแทจกาแนจแงแรบงบกปรกะตแิ(ทTeกstfรoวrnมoถrmึงaกlitาyร) ดัง
nตคขทoอา่ร่ใี ชrงควmกค้ใจวนา่aาสากคlมรอiาวtแทบรyHHจาท)มป10าสดดแข::รกมสขลปอเเกมศศอง็องรตษษางแควบรฐตติลโนา่ ดกทาะกกคคยนคคโาดวา่ตดา้า้ดราคสงั้งงยมว้แวสมไอมยมาแมจกี บมรี่ไหขมากดาตขรงลต็ ้มยแา้แอฐิกันกีแลจจางทาทกละนงแรเแาะาอแแคอนงคจจยีสงือบแน่ากแดรถคบเแบงดตวิดจกบปงัางิรอปตมแแะกรกแบ่อลต์ตสตทบไะา้ ัิินปกตปน(ขนร-กทTอดวต้ี าeงจาิ นมsสรtดีแ์อลfโรoติ่บงงr้ FigFuigreur1e010PProrobbaabbiilliittyypploltootfoimf pimacptact ตงั้
for hสoาmหoรสgบัeำาnหกeราiับtรyกทoาfดรvสทaอดriaบสnอคcบeวค)าวขมาอแมงปคแา่ปรคปรวปรารวมวนแนขเเท็งทแ่า่าลกกะันคนั ่า(ค(TTวeeาsมstt
(Anderson-darling test) ของค่าความแข็ง ผลการทดสอบ fตo้าrนhทoาmนแoรgงeกnรeะiแtyทกoทf ี่ใvชa้ใrนiaกnาcรทe)ดลขอองงตคงั้ ่าสคมมวตาฐิมาแนขไวง็ ้ แคลอื ะ
แสดงใน Figure 9 พบวา่ มคี า่ P-Value 0.136 ในขณะทค่ี า่ ความ ค่าความHต0้า: นควทาามนแปแรรปงรกวนรขะอแงทเศกษทต่ีใกชค้าใงนทกุกากรลทมุ่ เดทล่ากอนั ง
ต้านทานแรงกระแทกมีผลการทดสอบแสดงใน Figure 10 ตองยั้ ส่าHงมน0ม้อ:ตยคHฐิ 2วา1 านก:มไลควแมุ่ ว้ปคารมอื ปแรปวรนปขรอวนงเขศอษงเตศกษคตา้ กงคท้าุกงกแตลก่มุ ตเท่าง่ากกันนั
ซ่งึ มคี า่ P-Value 0.806 จะเห็นไดว้ ่า คา่ P-Value ของสมบตั ิ อFยigา่uHงreน1 1้อ: 1ยคจพาว2กบาผกมวลา่ลแขไุ่มดปอ้คงรคา่ปข่ารอควงวนาPมข-Vแอaขงl็งuเกeศาษ0ร.เ0ตป9กร6ียคคบ้า่าเงคทแวียตาบมกตแต้าส่านดงทงกาดนนััง
ทางกลทั้งสองมีค่ามากกว่าค่านัยสำาคัญ 0.05 จึงไม่สามารถ
ปฏิเสธ H0 แสดงถงึ เศษตกค้างมีการแจกแจงแบบปกติ

จากผลของค่าความแขง็ การเปรยี บเทยี บ แสดงดงั
Figure 11 พบว่าได้ค่าของ P-Value 0.096 ค่าความ
ต้านทานแรงกระแทก แสดงดงั Figure 12 ได้ค่าของ

จากผFลiขguอrงeค1่า1คพวบาวม่าแไขดง็้คก่าขารอเงปPร-ยีVบalเuทeยี 0บ.09แ6สคด่างคดวงัาม ตงั้ สHม0ม: ตเศฐิ ษาตนกคคา้ อื งเป็นอสิ ระกนั
Figure 11ต้าพนบทาวน่าแไรดง้คก่ราะขแอทงก Pแส-Vดaงlดuงั eF0ig.u0r9e61ค2 ่าไดค้คว่าาขมอง HH10::เศเศษษตกตคกา้ คงไา้ มง่ไเดปเ้ ็นป็นออสิ สิรระะกกนันั
364Pขsตตแแจtึงรปณ้-าaกVไงนรtมกะiคaปSNsท่สรเlo้taราuดะาiาmrวcแมeoงยีน)นbทnาวทsขตคPค0uเแgขรกทttก่่sาณา.-ถุaกรกอ9VaNมค่าแtนัปงะiค1งakกวsoากสกเฏคlค6้tyกาัาuนดTดiลิเcmร่มาe่กาhงยีสงจ)ะุ่กaตiควมใดวทธn0ขงึแmน่า้าากgงัว.ุไกมอ9คนทขm,Hรนัาม1งF่ากทีWณทคก0คaมค6น่iสาgcล่าดa่าะแแวยันจhาuแุ่กnคมเสสสoขงึมrแดาnาสวetดไมาอรaง็ียรามามดคงงีทบไค1รวมH่วกสญังแด2ดถกขแว่oาารดค้สันปขmเะมปอา0ไศงัอแด่งา็ค.ามjงฏ0รaษทบไรค้่าเF5bแดเิPปถตลกขก่าoสiค้ปจgกปขอไ-วkารธV่ดางึ,uงอครฏนรี ไวคเ้Maทrง้าเิPปHมลeส่างlนด(a-uว่สPร0ทLธVnสP1นีeาเ-วeoaุกแVมอH-2ทtlVนv(ก0สeuaบา0Le่aeไล.lราเดeขRแu5lnถดทุ่มuvก0eสงอi5etปeeม่้ค.hาวดง6ั5น’n0ฏnีคs0เ่กา่งา5e.ลiเส.วิวy9ข6เั9น’สtวsoศา่1าe่วใ0อธสีน,มเ6stษ0นนศeง่วใHtsษนนม0tี
ค(L่าeคvวenาeม’sตแ้าสteนดsงทtวาา่sนเtศaแtษiรsตงtiกกcค)รา้ ะขงแมอทงคี ควก่าไมคดแวค้ปา่มารปแPรขว-็งVนไaดทl้คเ่ีuท่าe่ากP0นั-.V90al0ueมี นตนกัยัยคสสจHจา้าาางคา1กคเญักป:ผญั ็นเผล0ศอ.ลก0สษ0ิ .5ารก0ตะรจ5าตกทงึ ่อรคจไดกทมา้งึ สนั ่งสไดอไามสมบม่สาไ่อารดพบมถเ้บปปาวรฏ็พน่าถเิ อบสปJสิมธวฏSรีคH่าcะเิ่าi0สกมTแมธนั eาสีcคกHดh่างกn0วoมวแ่lา่าาMเสศคกดSษ่าUงกวว่า่าเศคษ่า
แควม0.่าส่คาี 5เมดา่5ศม6งาษาวกสตกา่ว่กกกเนวคศวค่า้าา่ษTา่eงคคmคตมpา่่าวีคนกTนiาmวยัMคeมัยาuสตาl้tมสipาำ งา้lTeแาคeนมcsปoคญัtmทคีfรoญpั าraวป0rEนisqา.รo0u0แnมวa5liร.nน0Vแtงeจaทr5กปrvงึiaa่ีเรlไsnรทจะcมfeปoแงา่ึsrส่ :tกทรไHhาeaวมันกมrsdtนไ่สanาneดรทdsาsaค้ถrมvเd่ี า่sปทdาTePฏev่ารmia-เิกถtpViสo,nนTปัaธ,imαluฏHe=eเ0ิ0.ส00แ5.ธส9ด0H0ง0 ตกคา้ งเป็นอสิ ระต่อกนั
180 60 Multiple Comparisons
(a) Hardness values
P-Value 0.096
90 Levene’s Test (a) Hardness values

120 P-Value 0.556

Test for Equal Variances: Hardness vs Temp, Time

Multiple20c0omp6a0 rison intervals for the standard deviation, α = 0.05

Temp Time 90 Multiple Comparisons
120 P-Value 0.096
180 60 Levene’s Test
90 220 60 P-Value 0.556
90
120
120

200 60 0 10 20 30 40 50 60
90 If intervals do not overlap, the corresponding stdevs are significantly different.
Figure 13 Tes(tb)f oImr pinacdtevapleuensdence
120 Figure 11 Test for homogeneity of variance of จากการตรวจสอบขอ้ สมมตฐิ านดว้ ยหลกั ทางสถติ ิ
hardness values ทั้ ง 3 ส่ วFนigurคeื 1อ3 TTesetsftorfiondrepneonrdmenacliety, Test for
220 60 นviทแnaลัย้งัdrะeสi3apTาnสeeคcว่nseญั นtdจคefาคo0กn่าrอื.กc0hPeTา5oร-emVตจsแtoaรงึ วgflสลuoeจาrenสะมneอขoาiบtอyrรmขTงถo้อaeท(สfbสlsiงั)ร้tvมt yุaป,Iม3mrfไTiตoapสดeิฐnra่sว้วาcctนนe่าthfขดvoมoคar้วอ้mคีา่lยuiมn่าoeหPdูลมgs-ลeมVeาัpกกanกีeทleกnuาาideรวtงyeแส่าขnจถคอcoกิต่eางfิ
90 แทจ้ังง3ควสา่วมนนม่าีคจ่าะมเาปก็นกวแ่าบคบ่าปนัยกสตำาิ คมัญคี ว0า.ม05เปจ็นึงอสาสิ มราะรตถ่อสกรนุัป
แนจเไปดลึงา็นส้วขะ•า่าอมอ้ มขิสคีมคา้อรวลูระวมาถตไาูลมปน่อมมแำากทสีกขปันามาั อ้ รกรพมแปแาูลลนัจรรไะกธววปมขแ์เนิ ทีคคจอไำาวรงมงกาาคปแ่มาะวัรจตแหาวจปกมใ์ิเยัครนนตปตรข่า่าาร่อจงนั้ะวะคกหตนเ่านัป์ใอไนคม็นนดขว่แแต้ันงาัตบ่นอมตกบไอนัแต้ ปปนข่ากจไงตง็ ดกงตึ่อสันิ้ไปมามดไีคดังาว้นรา้ันถม
120

0 10 20 30 40 50 60
If intervals do not overlap, the corresponding stdevs are significantly different.

FiguFrigeu1re11T1eTsetstfhofaorrrdhhnooemmssoogvgeaenluneeietsyitoyf ovafrviaanrcieanocf e of
hardness values

Test for Equal Variances: Impact vs Temp, Time
Multiple comparison intervals for the standard deviation, α = 0.05

Temp Time

180 60 Multiple Comparisons
90 P-Value 0.916
Levene’s Test
120 P-Value 0.900

200 60

90 อคุณวาจหมาภสกูมัมรจพแิ ูปาลนั กกะธรรเข์ูปวาอกลฟงราปาใ(ฟัจนCจกoัย(Cาnตรot่อoอnuคบtorา่ คuคPrนื วloไาPtฟม)loแดคt)ขงั่าง็แคคส่าวคดาวงมาใมนแแขFข็งi็งgขขuออreงง •
120 1อ4ุณแหสภดูมงิแใลหะ้เหวลน็ าวใน่ากเามร่อื อเบพค่ิมืนรไะฟดดบั ังขแสอดงงปใัจนจยัFiทgงัu้ re2 ค14่า และค
แใขแ5บคน5นสข้ึ่ารช0คเิดง็ วจ่ววงทณHใะางห่ีตมทVท5้เ้แอาส่ีห5ซขใีเงน็0ขห็ง่ึงกวยีลพค้–าา่ วดบ่ารปลเ5ควมคาง7่าว่ือนือ5คาเโกพ่าดม5Hลคยิ่มแ5าVวใร0งขนาะงใม็ชดHนลแ่วับVดบขงขขล็งรอซออเงิงว่ึงยงปโณคพู่ใจัดน่าจบทยคชัยวส่ใีว่วทน่างาเี ง้ัขมชค5ยีแ2่ว่า5ขวงคค0็งปข-่าวท5อาขา่ีต7นงึน้ ม5้อคกแงจา่ลHกะขคาทVาง็วงราำ อาคใใมหนยือู้่
220 60 ก
90 อุณห
ผลต่อ
120 ทดลอ

1234 5678 9 10
If intervals do not overlap, the corresponding stdevs are significantly different.

FiguFreig1ur2eT1e2sTtesfootfrfiomhrpohamocmtoovggaeelunneeesiittyyoof fvavraiarniacence of ของป
impact values ท่ี 0.0
Test การทดสอบความเป็นอิสระกัน (Test for ดงั กล
และ indeกpeาnรdeทnดceส) อขบองค่าวคาวมามเแปข็ ็งนแอลิะสคร่าคะวกาัมนต้า(นTทeาsนtแfรoงr Contour Plot of Hardness vs Time, Temp และจ
ลอง กแ(0ตiแna.รร้ส2า)dะง8พนeดแก9pบททรงeโะวกผาดแnา่ขนลยทdอคตดแeกงา่ ัง้nมังครสcแดีวงมFeสาโกมตiม)ดgรต้ทแงuะขิฐขี่ใดrแชาeง็ังอน้ใทPนง1Fกค-ก3คViือgาขa่ าuร(อlaทurคeงe)ดวมล0พ1ีาดอ.30บงมโ5(ตว0แแb่้าทสแ)ขดล่ีใคค็งะงชือคผ่าแ้ใา่ลคนลมคดวกีควะงั าา่าาคFมมร่iาPตgแทา้-uคขVดนreวa็งทลlาาu1อPนe3มง- Hardness เปอร
ากนั 120 < 550 เปอร
จานว
110 550 – 575
575 – 600
100 600 – 625
625 – 650

> 650

Time 90

กัน Vตดงaัั้งสluมFeมig0ตu.HHจ0ฐิrา01eา5ก::น0ผ1เเศศลแ3คกษษลอื า(ตตะรbคกกท)คค่าดคา้้าคสงงวืออเไาปมบม็น่ไพมดตอบเ้ีสิคา้ปวรน่็นาา่ะทอกมPาิสันคี นร-า่Vะแมกaรานั lงกuกกeรว0ะา่ .คแ2า่ท8นก9ยั สแโาำ สคดดญั ยง 80
งดงั
70

60 190 200 210 220
180 Temp

วาม ต0.่อ0ก5HHนั จ01ึง::ไมเเศศ่สษษามตตากกรคคถปาา้้ งงฏเไิเปมส็นธไ่ ดอHเ้สิ ป0ร็นะแกสอดนสิั งรวะ่ากเศนั ษตกค้างเป็นอิสระ FigFuirgeur1e414CCoonntotouurr pplloottoof fhahradnrdenssess ปัจจยั
ของ
เศษ จากผลการทดสอบ พบว่า มีค่ามากกว่าค่า
ใ น นัยสาคญั 0.05 จงึ ไม่สามารถปฏเิ สธ H0 แสดงว่าเศษ • ความสมั พนั ธข์ องปัจจยั ต่อคา่ ความตา้ นทานแรง

Vol 40. No 5, September-October 2021 Optimal tempering process on mechanical properties 365

of chopping knife

ความสัมพันธ์ของปัจจัยต่อค่าความต้านทานแรง การหาอิทธิพลของปัจจัยท่ีมีผลต่อค่าความแข็งและ
กระแทก ค่าความตา้ นทานแรงกระแทก
จากรปู กราฟ (Contour Plot) ของค่าความตา้ นทาน การวเิ คราะหผ์ ลการทดลอง พบวา่ ปจั จยั ของอณุ หภมู ิ
แรงกระแทกของอุณหภูมิและเวลาอบคืนไฟดังแสดงใน อบคืนไฟ เวลาอบคืนไฟ และปัจจัยร่วมน้ันมีผลต่อค่าความ
Figure 15 พบว่า เม่ือเพิ่มระดับของปัจจัยท้ัง 2 ค่าข้ึน แข็งเฉล่ียของมีดโต้ท่ีนำ�มาทำ�การทดลองอย่างมีนัยสำ�คัญ
จะทำ�ให้ค่าความต้านทานแรงกระแทกสูงขึ้น โดยในช่วงของ ใน Table 8 แสดงรายละเอียดของปัจจัยร่วมมีค่า P-value
คา่ ความตา้ นทานแรงกระแทกท่ีต้องการคอื 35 Jules จะอยู่ น้อยกวา่ ค่าระดบั นยั ส�ำ คัญท่ี 0.05 ทุกปัจจัย ดงั นัน้ สามารถ
ในช่วง 30-35 Jules ในบริเวณสเี ขยี วปานกลาง สรุปได้ว่าปัจจัยร่วมดังกล่าวน้ันมีผลต่อค่าความแข็งเฉล่ีย
อย่างมีนัยสำ�คัญ และจากผลการทดลองได้ค่าของ R-sq
งสถติ ิ Contour Plot of Impact vs Time, Temp Impact เทา่ กบั 85.26 เปอรเ์ ซน็ ต์ ขณะทค่ี า่ R-sq (adj) มีคา่ เทา่ กับ
st for < 30 81.99 เปอร์เซ็นต์ ซ่ึงใกล้เคียงกับค่าของ R-sq แสดงถึง
ty of 120 จ�ำ นวนของข้อมลู มีจำ�นวนเพยี งพอทใ่ี ชใ้ นการวิเคราะหป์ ัจจยั
ว่าค่า 30 – 35 ทเ่ี หมาะสม
รแจก 110 35 – 40
ต่อกนั 40 – 45
มารถ 100
> 45
งของ 90
Figure Time
2 ค่า
ความ 80
ขง็ อยู่
ลาง 70

rdness 60 190 200 210 220
< 550 180 Temp
– 575
– 600 FigFuigruere1515CCoonnttoouurr pplolot tofoifmipmapctact
– 625
– 650 Table 8 Variance analysis results Hardness value of temperature and time
> 650 Fac•torกiaาlรinหfoาrอmทิ atธioพิ nลของปัจจยั ทม่ี ผี ลต่อคา่ ความแขง็
และคา่ คFวacาtมorตา้ นทานแรงกระLแeทveกls
นแรง Values
นทาน การTวeิเmคpราะห์ผลการ3ทดลอง 1พ80บว่าปั จจ2ัย0ข0 อง
ดงใน ขอททผAุณอด่ลี n0งลตSMLaห.ปil0อon่oyอภัuจe5dงsคraeiจูมอscrlทT่ายeัยอิoimุกคร่าfบว่evปงวคaมมัาจrนื มiนีมจaไคnยีัยัแฟc่าสeขดาPเ็งงคัว-เนvญลัฉaัน้าลlอใu่ียนส3บeาขคTนมอนืa้อางbไยรมlฟถกeีดวส8แโา่รล6ตคุปแ0ะ้่าทสไปรดด่ีนัะจงว้ ดาจร่าบัมยัาปยนราัจ่วลยัทจมะส9Dายั84เ0นาfอกรคนั้ย่วีาญัมมดรี 220 Adj. MS F-Value P-Value
ค่าขน้ึ ดงั กTลem่าวpนนั้ มผี ลต่อค่าความแขง็ เฉลย่ี อยา่ งมนี ัยส2าคญั 120 6211.6 26.03 0.000
11905.4 49.90 0.000
Adj. SS 18667.8 78.24 0.000
49693 21.56 0.000
47622 2.17 0.092
37336 2.17 0.092

และTจimาeกผลการทดลองได้ค่าของ R-sq เท่ากบั 825.26 10286 5143.0

เปอ2ร-W์เซay็นinตte์ rขacณtioะnท่ีค่า R-sq (adj) มีค่าเท่ากับ 841.99 2071 517.8

เปอTรem์เซp*็นTimตe์ ซ่ึงใกล้เคียงกับค่าของ R-sq แสด4งถึง 2071 517.8
ปจMาัจนoจTEdวยัorerนtoทlarslขเ่ีuหอmมงmขาaอะ้ rสyมมลู มจี านวนเพยี งพอทใ่ี ชใ้ นการวเิ ค43ร64าะห์ 8589 238.6
58282

S R-Sq R-Sq (adj) R-Sq (pred)
76.97%
15.4465 85.26% 81.99%

366 NSoamrobnugtsaNkoyTmhainmgm, Wacahnonta Homjabok, Manote Rithniyo, J Sci Technol MSU

การวิเคราะห์อิทธิพลของปัจจัยที่ส่งผลต่อค่าความ ตอ่ ค่าความตา้ นทานแรงกระแทกอยา่ งมีนยั สำ�คญั
ต้านทานแรงกระแทก ทำ�ให้ทราบว่าปัจจัยของอุณหภูมิอบ โดยผลของการทดลองไดค้ า่ R-sq ของการอบคนื ไฟ
คืนไฟ เวลาอบคืนมีผลต่อค่าความต้านทานแรงกระแทกของ คา่ เทา่ กบั 88.31 เปอรเ์ ซน็ ต์ ขณะทค่ี า่ R-sq (adj) มคี า่ เทา่ กบั
มดี โตท้ ใี่ ชท้ ดสอบอยา่ งมนี ยั ส�ำ คญั ดงั แสดงตัวอยา่ งใน Table 85.71 เปอรเ์ ซน็ ต์ ซึง่ มีคา่ ใกล้เคยี งกบั คา่ ของ R-sq แสดงถงึ
9 โดยคา่ P-Value ของปจั จยั หลกั และปจั จยั รว่ ม มคี า่ นอ้ ยกวา่ จำ�นวนของข้อมลู มีคา่ ที่มากพอท่ใี ช้ในการวเิ คราะหข์ ้อมูล
ระดับนัยสำ�คัญท่ี 0.05 น่ันหมายความว่าปัจจัยดังกล่าวมีผล

Table 9 Variance analysis results impact value of temperature and time

General factorial regression: Impact value versus temperature, time

Factorial information

Factor Levels Values
TaTbelemp9 Variance ana3lysis resul1ts80impact va2lu0e0 of temper2a2t0ure and time
GFaeTcnitmoerreiaall fiancfotormriaatliorengre3ssion: Impa6c0t value versu9s0temperature1,2t0ime
AnalysFisacotof rvariLaenvceels
Values

Temp 3 Sourc1e80 200 220 Df Adj. SS Adj. MS F-Value P-Value
Time 3 Mode6l0 90 120 8 33.99 0.000
Analysis of variLainnceear 1595.38 199.422 66.53 0.000
Source 92.23 0.000
Model Temp Df Adj. SS Ad4j. MS F1-V5a6l1u.e16 P-Va3lu9e0.289 40.82 0.000
8 1595.38 1929.422 3130.8929.18 0.005041.089 1.46 0.235
1.46 0.235
Linear Time 4 1561.16 3920.289 6467.583.98 0.002039.489
Temp 2 1082.18 5441.089 9412033...444826..232222 000...00203000588..555566
Time 2-Way interaction 2 478.98 2834.95.54689 12.1416.20 0.2355.867
2-Way interaTcetimonp*Time 4 34.22 386.556
Temp*Time Error 4 34.22

Error Total 36 211.20 454.867 1806.58
ModelTMsouotmdaelml saSurymSmary 44 1806.58
R-Sq RR--SSqq (adj) R-SRq-S(pqre(add) j) R-Sq (pred)
2.422.412212 88.31% 88.8351.%71% 818.753.7%1% 81.73%

โกแเว ปซด่ารรัจยละปงจแเไกัจซัยดท8วอตจรียทค้ ก่3ัะยางา้ สา่่ีเเศ.แนปทห6คฉจ•จาัททจี่เเวลามานเวหจกากาปยซ่ีกาลานมมยัรตัลรจะทาูปแแาทูป�่ำเสจใีซะขรนสกโ่กยีัเมสงง็ดดยุหีรกรทกตเมายสามาฉ3ร่เีฟ่อขรไฟห5ลาะเดออค.แวย่ีะม8Oบค้Oง่าทลสา5อJา่เpคาpมกพะ7oคุณtใtวiสข2uimนิ่มวmาห.มlอาe9คกaมaมภตงsาาlHlแอแ่อรูมรจใใVขุ์บขณอนคาินอก็งงบอ็แ่าบหเแFFผนลคเฉคพภiiลละคgวgลืนคูขมิ่มะuาืuนย่ี ไา่อคrคมrิอไฟeeคงฟ5่าาแบปวร7ค11ขคคาจบั์266ควง็มืนือจ.อือาแ9แตยัแไนมลสา้2ทสฟH8คะตนด0ดเี่3Vคหนืท0้างคง.่6ามไในใแาือหหคฟอานลทนะว้เเ้งะ2แหหาสาคศาค0รนท็นมนม็อืา0ง่าี Figure 16 Optimization plot of the effect of each factor
ทไ่ี ด้ ผควู้ วจิ ายั มจตึงไ้าดน้นท�ำ ารนะดแบั รปงกัจรจะัยแขทองกทเฉง้ั สลอ่ยี งตเง่าอ่ื สนุดไข3ด5.ัง8กลJoา่ uวlมeาs
ท�ำ การจทาดกลผอลงขเอพงอ่ื ปยัจนื จยยั นั ทผเ่ี ลหจมำ�านะวสนมท5ไ่ีกดา้รผทวู้ ดจิ ลยั อจงงึ โไดดยน้ เางอ่ืระนดไบขั Figure 16 Optimization plot of the effect of each
ทใ่ี ช้ คปือัจจอยั ณุ ขหอภงทมู งั้อิ สบอเงพเง่ิม่อืคนาไรข์บดองันกล2่า0ว0มอาทงศาากเาซรลทเซดลียอสงเแพล่อืะ factor
เวลาอยบนื เพย่ิมนั คผาลรจ์บาอนนวน835นกาทารี ทดลอง โดยเง่อื นไขท่ใี ช้ คอื

อณุ หภูมอิ บเพมิ่ คารบ์ อน 200 องศาเซลเซยี ส และเวลา
อบเพม่ิ คารบ์ อน 83 นาที

Vol 40. No 5, September-October 2021 Optimal tempering process on mechanical properties 367

of chopping knife

การทดลองเพ่ือยนื ยนั ผล และคา่ ความตา้ นทานแรงกระแทกแสดงดงั Table 11 จะเหน็
เพอื่ เปน็ การตรวจสอบความถกู ตอ้ งของระดบั ปจั จยั ได้ว่า ค่าความแข็งเฉลี่ยมีค่าเท่ากับ 549.9 HV และความ
ทเี่ หมาะสมทไี่ ดจ้ ากคา่ ทางสถติ ิ จงึ ท�ำ การทดลองชบุ แขง็ มดี โต้ ต้านทานแรงกระแทก 38.8 Joules ซึ่งอยู่ในคา่ ตามเป้าหมาย
ด้วยการอบคืนไฟตามสภาวะของอุณหภูมิและเวลาในการอบ ของมีดชมุ ชน
คืนไฟ โดยผลการทดสอบค่าความแข็งแสดงดัง Table 10

Table 10 Hardness values of repeated experiment 4 5 Average sd
522.8 532.6 549.9 21.7
No.

123
565.5 574.2 554.6

Table 11 Impact values of repeated experiment

No. Average sd
38.8 2.8
12 3 4 5
42.0 38.0 35.0 41.0 38.0

วิจารณ์ผล เหนียวไม่ทนต่อแรงกระแทก (Poor impact strength) และ
ความเครียดภายในที่เกิดข้ึน จะมีส่วนทำ�ให้ช้ินงานมีความ
ผลการทดลองชุบแข็งมีดโต้ด้วยกระบวนการอบคืนไฟ เปราะ หรืออาจเกดิ การแตกรา้ วในขณะใชง้ าน อย่างไรก็ตาม
จะเหน็ ไดว้ า่ เมอื่ เวลาการอบคนื ไฟเพม่ิ ขนึ้ จะท�ำ ใหค้ า่ ความแขง็ เม่ือมีดโต้มีค่าความแข็งท่ีลดลงส่งผลให้ค่าความต้านทาน
ลดลง ที่เป็นเชน่ นี้เนือ่ งจากเหล็กท่ผี า่ นการชบุ แขง็ ก่อนนำ�ไป แรงกระแทกสูงขึ้นซ่ึงเป็นผลมาจากเวลาและอุณหภูมิใน
ใช้งานควรจะต้องนำ�มาทำ�การอบคืนไฟ (Tempering) เพ่ือ กระบวนการอบคืนไฟ ซ่ึงสอดคล้องกับงานวิจัยของสุภกิจ
คลายความเครยี ดภายในใหห้ มดไป หรอื ใหเ้ หลอื อยนู่ อ้ ยทส่ี ดุ ขาวเนตร (2552) พบว่าผลการทดสอบความต้านทานแรง
ดังงานวิจัยของสมศักด์ิ แก้วพลอย (2559) ที่ใช้ปัจจัยของ กระแทก เมื่ออุณหภูมิการอบคืนไฟเพิ่มข้ึนหลังจากช้ินงาน
อณุ หภมู แิ ละเวลาในการศกึ ษากระบวนการอบคนื ไฟ ซง่ึ พบวา่ ที่ผา่ นการชบุ แขง็ มาแล้วทอ่ี ณุ หภมู ิ 200 องศาเซลเซยี ส และ
ทงั้ สองปัจจยั มีผลต่อพลงั งานแรงกระแทก อุณหภูมิ 250 องศาเซลเซยี ส คา่ ความตา้ นทานแรงกระแทก
มแี นวโนม้ สงู ขน้ึ
ดังนั้นเวลาในการอบคืนไฟทเ่ี วลา 60, 90 และ 120 ในการออกแบบการทดลองแบบแฟกทอเรียลท่ีใช้
นาที จะพบว่าเวลาอบคนื ไฟที่ 120 นาที ทำ�ให้คา่ ความแขง็ วิเคราะห์ความแปรปรวนของข้อมูลการทดลอง และปัจจัยที่
ลดลงจากมดี โตผ้ ลติ ของชุมชน 704.1 HV ลดลงอยูท่ ่ี 549.9 เหมาะสมในกระบวนการอบคืนไฟสามารถนำ�ไปใช้หาระดับ
HV สว่ นคา่ ความตา้ นทานแรงกระแทก จาก 14.0 Joules มคี า่ ของอุณหภูมิและเวลาอบคืนไฟ ซึ่งทำ�ให้ค่าความแข็งมีดโต้
ความเหนียวเพ่ิมขน้ึ 38.8 Joules ซ่งึ สอดคลอ้ งตามหลักการ ที่ผ่านการอบคืนไฟให้ใกล้เคียงกับค่าความแข็งและค่าความ
ณรงคศ์ กั ดิ์ ธรรมโชติ (2556) ทวี่ า่ เหลก็ ทผี่ า่ นการชบุ แขง็ มานนั้ ต้านทานแรงกระแทกตามขอบเขตคุณสมบัติทางกลของมีด
จะมสี มบตั ทิ แ่ี ขง็ และเปราะ เพราะการเยน็ ตวั ทรี่ วดเรว็ จะท�ำ ให้ ชุมชน ดังงานวิจัยของวรรณา หอมจะบก และคณะ (2558)
เกิดความเครียดข้ึนภายใน ส่งผลให้เหล็กขาดความเหนียว ท่ีว่ามีดโต้ที่ผลิตจากเหล็กแนบประกอบไปด้วยโครงสร้าง
ไมท่ นต่อแรงกระแทก ในสว่ นของการอบคืนไฟจะใช้อณุ หภูมิ คาร์ไบด์กระจายตัวบนเน้ือพ้ืนโครงสร้างมาเทนไซต์ โดย
ท่ีต่�ำ โดยใช้ปจั จัยของอุณหภมู กิ ารอบคนื ไฟที่ 180, 200 และ คารไ์ บดจ์ ะมขี นาดเลก็ ลง เมอื่ มรี ะยะลกึ เพม่ิ ขน้ึ ซง่ึ เปน็ สาเหตุ
220 องศาเซลเซียส จะพบว่าอุณหภูมิท่ีสูงขึ้นส่งผลให้ค่า ทำ�ให้มีดมีความเปราะ คุณสมบัติในการรับแรงกระแทก
ความแข็งลดลงซ่ึงสอดคล้องตามหลักการ มนัส สถิรจินดา น้อยลง และจากผลของการทดลองยืนยนั ผล พบว่า คา่ ความ
(2540) ที่วา่ การอบคนื ไฟในช่วงอณุ หภูมนิ ี้ความแข็งจะลดลง แข็งและค่าความตา้ นทานแรงกระแทก นัน้ มคี า่ อยใู่ นขอบเขต
เล็กน้อยแต่ความเครียดภายในจะถูกทำ�ลายไปเกือบหมดแต่ ของสมบัติทางกลของมีดโต้ทางชุมชน ซ่ึงสอดคล้องตาม
ความเหนียวจะเพ่ิมขึน้ ซ่ึงท�ำ ให้ทราบว่าเหลก็ ภายหลังท่ผี ่าน คุณสมบัติ มาตรฐานผลิตภัณฑ์มดี ชมุ ชน (2552)
การชุบแข็งจะเกิดความเครียดภายในอันเน่ืองมาจากอัตรา
การเย็นตัวท่ีเร็วจากอุณหภูมิสูง แต่จะขาดสมบัติด้านความ

368 NSoamrobnugtsaNkoyTmhainmgm, Wacahnonta Homjabok, Manote Rithniyo, J Sci Technol MSU

สรปุ ผลการวจิ ัย วรรณา หอมจะบก ณรงค์ศักด์ิ ธรรมโชติ และนฤดม ทาดี.
(2558). ผลของอุณหภูมิออสเทนไนไทซิงในกระบวน
จากการน�ำ หลกั การของการออกแบบการทดลองและ การแพ็คคาร์เบอร์ไรซิงเพ่ือใช้ผลิตมีดโต้. วารสารวิจัย
การใช้สถิติในการวิเคราะห์ปัจจัยท่ีเหมาะสมในการปรับปรุง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ฉบับ
คุณสมบัติมีดโต้ด้วยกระบวนการอบคืนไฟ โดยใช้สมบัติทาง วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี, 8(3), 126-136.
กลของมีดโต้ที่ตีขึ้นรูปและชุบแข็งโดยชุมชนที่มีค่าความแข็ง
เฉลยี่ อย่ทู ี่ 704.1 HV ในขณะทคี่ า่ ความตา้ นทานแรงกระแทก สทิ ธพิ งษ์ อดุ มบญุ ญานภุ าพ และนลนิ เพยี รทอง. (2557). การ
มีค่าอยู่ที่ 14.0 Joules เป็นค่าเปรียบเทียบกับมีดโตที่ผ่าน ปรับปรุงกระบวนการผลิตมีดพร้าด้ามปล้องกรณีศึกษา
กระบวนการอบคืนไฟ ทำ�ให้ทราบวา่ จากการวิเคราะห์ปจั จยั ชุมชนบ้านนาถอ่ นทุ่ง จงั หวัดนครพนม.
ทเ่ี หมาะสมของอณุ หภมู แิ ละเวลาทมี่ ผี ลตอ่ สมบตั ทิ างกล ท�ำ ให้
ไดเ้ วลาในการอบคนื ไฟ 83 นาที อุณหภมู ิการอบคืนไฟ 200 สมนึก วฒั นศรยี กลุ . (2549). การทดสอบวสั ดุ (พมิ พค์ รงั ท่ี 2).
องศาเซลเซยี ส โดยทงั้ สองปจั จยั จะใหค้ า่ ความแขง็ อยทู่ ่ี 579.9 สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนือ.
HV และคา่ ความต้านทานแรงกระแทกอยู่ที่ 35.8 Jules และ
เม่ือนำ�ปัจจัยท่ีเหมาะสมระหว่างเวลาและอุณหภูมิไปทำ�การ สุภกิจ ขาวเนตร. (2552). ผลของอุณหภูมิการอบชุบแข็ง
ทดลองเพอ่ื ยนื ยนั ผลโดยไดค้ า่ ความแขง็ อยทู่ ี่ 549.9 HV และ และการอบคืนตัวต่อคุณสมบัติเชิงกลของเหล็กกล้า
ความต้านทานแรงกระแทกอย่ทู ่ี 38.8 Jules ชุบเคลือบนิกเกิล. วิศวกรรมสาร ฉบับวิจัยและพัฒนา,
ดังน้ัน ในข้ันตอนการผลิตมีดโต้ควรมีการเพิ่ม 20(2), 87-92.
กระบวนการอบคืนไฟหลังจากการชุบแข็ง ซึ่งจะทำ�ให้มีดมี
ความคงทนต่อการนำ�ไปใชง้ าน และคณะผู้วจิ ัยมขี อ้ เสนอแนะ สมศักดิ์ แก้วพลอย. (2559). การหาค่าพารามิเตอร์ที่
เพมิ่ เตมิ เพอื่ เปน็ การตอ่ ยอดจากงานวจิ ยั นคี้ วรศกึ ษาโครงสรา้ ง เหมาะสมในการอบคืนตัวของเหล็กกล้าผสม โดยวิธี
จุลภาคเพมิ่ เตมิ ภายหลงั จากกระบวนการอบคืนไฟ พน้ื ผวิ ตอบสนอง. วารสารขา่ ยงานวศิ วกรรมอตุ สาหกรรม
ไทย, 2(2), 49-55.
กติ ตกิ รรมประกาศ
ศักดิ์สิทธิ์ ศรีสุข ณรงค์ศักด์ิ ธรรมโชติ จารุพงษ์ บรรเทา
คณะผู้จัดทำ�บทความวิชาการขอขอบพระคุณ จติ ตวิ ฒั น์ นิธิกาญจนธาร วรรณา หอมจะบก อมรศักด์ิ
สาขาวิศวกรรมวัสดุ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะ มาใหญ่ และสมบัติ น้อยมิ่ง. (2562). การศึกษาความ
วิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย สัมพันธ์ของอุณหภูมิและเวลาที่ส่งผลต่อการชุบแข็ง
เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ท่ีให้ความเอ้ือเฟ้ือสถานท่ีและ มีดโต้ในกระบวนการแพ็กคาร์เบอไรซิงโดยใช้สารเร่ง
อุปกรณ์การทดลองในครงั้ น้ี ปฏิกิริยาแคลเซียมคาร์บอเนต. การประชุมวิชาการ
การวิจัยดำ�เนินงานแห่งชาติ ประจำ�ปี พ.ศ.2562
เอกสารอ้างองิ (หน้า 201-207). ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ, คณะ
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่.
ณรงค์ศักด์ิ ธรรมโชติ. (2556). โลหะวทิ ยา. ส�ำ นักพิมพ์แหง่
จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ASTM E-140–02. Standard Hardness Conversion Tables
for Metals Relationship Among BrinellHardness,
ณรงค์ศกั ด์ิ ธรรมโชติ วรรณา หอมจะบก อมรศักดิ์ มาใหญ่ Vickers Hardness, Rockwell Hardness, Superficial
และ สมบตั ิ นอ้ ยมงิ่ . (2562). การศกึ ษาสมบตั ทิ างกลและ Hardness, Knoop Hardness, and Scleroscope
โครงสรา้ งจลุ ภาคของมดี โตท้ ผี่ ลติ จากภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ Hardness.
ของชมุ ชนตีมีด 4 จงั หวัดของประเทศไทย. วารสารวจิ ัย
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุร,ี 18(1), 60-70. ISO 148-2 : 2008 Metallic material - Charpy pendulum
impact test Part 2: Verification of testing machines
มนสั สถริ จนิ ดา. (2540). วศิ วกรรมการอบชบุ เหลก็ . วศิ วกรรม
สถานแหง่ ประเทศไทยในพระบรมราชปู ถมั ภ์. Kumar, S.A. (2003). Physical Metallurgy Handbook.
McGraw-Hill Company Inc.
มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน. (2552). มาตรฐานผลิตภัณฑ์
ชมุ ชน. http://app.tisi.go.th/ otop/otop.html. Montgomery, D.C. (2013). Design and Analysis of
Experiments. John Wiley & Sons Singapore Pte.
Ltd.

กลุ่มอาการทีพ่ บจากการใชค้ อมพิวเตอรใ์ นการปฏบิ ตั ิงาน
The physical symptoms from personnel computer using

วรินทร์ทิพย์ คงฤทธ1์ิ
Varintip Khongrit1

Received: 31 May 2021 ; Revised: 13 September 2021 ; Accepted: 29 September 2021
บทคัดย่อ
การวจิ ยั นมี้ วี ตั ถปุ ระสงค์ เพอื่ ศกึ ษาพฤตกิ รรมการใชค้ อมพวิ เตอร์ กลมุ่ อาการและตระหนกั ถงึ อาการทเี่ กดิ จากการใชค้ อมพวิ เตอร์
ในการปฏบิ ตั งิ านของบคุ ลากรคณะวทิ ยาการสขุ ภาพและการกฬี า มหาวทิ ยาลยั ทกั ษณิ กลมุ่ ตวั อยา่ งทใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั คอื บคุ ลากร
ของคณะวิทยาการสุขภาพและการกีฬา ทั้งสายอาจารย์และสายสนับสนุน จากการรวบรวมข้อมูล ได้ข้อมูลจากตัวอย่างทั้งสิ้น
44 คน จากจำ�นวนทั้งหมด 48 คน คิดเป็นร้อยละ 91.66 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสอบถาม ซึ่งมีความเชอ่ื มน่ั
ของแบบสอบถาม (α-Coefficient = 0.948) สถิตทิ ีใ่ ชใ้ นการวิเคราะหข์ อ้ มลู คือ รอ้ ยละ ค่าเฉลย่ี และสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน
ผลการวจิ ัยพบวา่ กลุ่มตวั อย่างใชค้ อมพวิ เตอรใ์ นการปฏบิ ตั ิงาน 5 วันตอ่ สปั ดาห์ รอ้ ยละ 56.8 โดยส่วนใหญ่ (รอ้ ยละ
47.7) มรี ะยะการใชค้ อมพวิ เตอร์อยใู่ นชว่ ง 6-9 ช่ัวโมงต่อวนั ระยะเวลาการการพักอย่ใู นชว่ ง 30 นาที-1 ชวั่ โมง (รอ้ ยละ 65.9)
ประเภทการหยดุ พกั ทพ่ี บมากทสี่ ดุ ไดแ้ ก่ การลกุ จากทน่ี ง่ั สลบั งานอน่ื (รอ้ ยละ 65.9) กลมุ่ ตวั อยา่ งทง้ั หมดมกี ารใชส้ ายตาในการ
เลน่ โทรศพั ทม์ อื ถอื ซงึ่ สว่ นใหญม่ รี ะยะเวลาการใชอ้ ยใู่ นชว่ ง 1-2 ชว่ั โมง การส�ำ รวจพบกลมุ่ ตวั อยา่ งมคี วามชกุ ของกลมุ่ อาการทาง
กล้ามเน้อื และกระดกู ที่พบสูงสดุ ได้แก่ ได้แก่ หลังส่วนล่างดา้ นซา้ ยและขวา ร้อยละ 75 ไหลด่ ้านซ้าย ร้อยละ 68.2 และ บริเวณ
ทา้ ยทอย คอ ไหล่ขวา หลังสว่ นบนซา้ ย ร้อยละ 65.9 ตามลำ�ดับ บริเวณทมี่ ีอาการปวดเมอ่ื ยตลอดเวลาตอ้ งกนิ ยา คือ ท้ายทอย
คอ หลังสว่ นบนซา้ ย รอ้ ยละ 4.5 บรเิ วณทป่ี วดเมอื่ ยและหยดุ พกั แล้วแตอ่ าการไม่หาย ไดแ้ ก่ ไหล่ซา้ ย ร้อยละ 22.7 ปวดเมื่อย
แต่เมอื่ หยุดพกั งานอาการหายไป ได้แก่ หลังสว่ นลา่ งซา้ ยและขวา รอ้ ยละ 38.6 กลมุ่ ดวงตาและระบบการมองเหน็ พบอาการ
แสบตา รอ้ ยละ 88.6 อาการปวดตา รอ้ ยละ 11.4 และตาส้แู สงไมไ่ ด้ ร้อยละ 4.5
คำ�สำ�คัญ: กลุม่ อาการ คอมพวิ เตอร์ บคุ ลากรคณะวทิ ยาการสขุ ภาพและการกฬี า มหาวิทยาลัยทักษิณ
Abstract
This research aims to study the behavior of computer users, signs and symptoms related to computer use, and the
recognition of computer operation among the staff of the Faculty of Health and Sports Science, Thaksin University. 48
samples including support staff and lecturers were asked to answer the questionnaire. A high response rate of 91.66%
(44/48 samples) was found in this study. The Cronbach’s alpha coefficient of the questionnaire was 0.948. Descriptive
statistics including frequency, percentage, mean, and standard deviation were used for data analysis.
This study found that 56.8% of the sample worked with a computer for 5 days/week . Most of them (47.7%)
used a computer for 6-9 hours/day with 30-60 minutes break (65.9%). Break-time activities were standing up and
changing to other work (65.9%). All of sample used thei eyes with a smart phone for 1-2 hours. This survey found
the prevalence of musculoskeletal symptoms was highest at left and right lower back (75%), left shoulder (68.5%)
and occipital, neck, right shoulder, and left upper back (65.9%) respectively. Occipital, neck and left upper back pains
required medicine to reduce pain. Left shoulder pain did not improve after stop working, in contrast with left and right
lower back that experiences reduced pain after relaxation. Eye and visual system symptoms were eye burning (88.6%),
pain (11.4%), and photo phobia (4.5%)
Keywords: Physical Symptoms, Computer, personnel of Health and Sport Science, Thaksin university

1 คณะวทิ ยาการสุขภาพและการกีฬา มหาวทิ ยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลงุ พทั ลุง 93210
1 Faculty of Health and Sports Science, Thaksin University, Phatthalung Campus, Phatthalung, 93210

370 Varintip Khongrit J Sci Technol MSU

บทน�ำ สามารถในการทำ�งานเพราะอาการปวดและความไม่สะดวก
สบายในการนั่งทำ�งาน (จันทณี นิลเลิศ, 2560) ท่าทางใน
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ได้เข้ามามีบทบาทสำ�คัญต่อชีวิต การทำ�งานที่ไม่ถูกสขุ ลักษณะเปน็ เวลานานๆ ท�ำ ใหเ้ กิดการ
ประจำ�วัน รวมถึงการทำ�งานในองค์กร เน่ืองจากเทคโนโลยี อักเสบและผิดปกตขิ องอวยั วะต่างๆ ในร่างกาย รอ้ ยละ 46.8
ทางด้านคอมพิวเตอร์ดังกล่าว สามารถนำ�มาประยุกต์ใช้ (ส�ำ นกั งานสถติ ิแห่งชาติ, 2559)
กับงานต่างๆ เพื่อความสะดวกและมีประสิทธิภาพ ทำ�ให้ คณะวิทยาการสุขภาพและการกีฬา มหาวิทยาลัย
คอมพวิ เตอรม์ คี วามจ�ำ เปน็ หลกั ในการปฏบิ ตั งิ านในหนว่ ยงาน ทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง เป็นสถาบันด้านการศึกษา ซึ่ง
ซึ่งคอมพิวเตอร์ได้รับการพัฒนาข้ึนมาอย่างรวดเร็วและมี ประกอบด้วย บุคลากร 2 ประเภท ได้แก่ 1) บุคลากรสาย
การใช้กันอย่างแพร่หลาย ท้ังในงานสำ�หรับงานและ อาจารย์ 2) บุคลากรสายสนับสนุน ซ่ึงในการทำ�งานต้องใช้
อตุ สาหกรรมทว่ั ไป เชน่ การใชง้ านภาครฐั งานทะเบยี นราษฎร์ คอมพิวเตอร์ทั้งหมด แม้ว่าจะมีตำ�แหน่ง หน้าที่งานจะ
ด้านการศึกษา ธนาคาร ฯลฯ จากข้อมูลของสำ�นักงานสถิติ แตกต่างกัน คอมพิวเตอร์ก็เป็นปัจจัยหลักในการทำ�งาน ใน
แห่งชาติ ในปี 2556-2560 พบว่า ประเทศไทยมีผู้ใช้ ส่วนของอาจารย์ต้องรับหน้าที่การสอน งานวิจัย บริการ
คอมพิวเตอรป์ ระมาณ 30.8 ลา้ นคน เป็นกลุม่ วยั ทำ�งาน (อายุ วชิ าการ บคุ ลากรสายสนบั สนนุ ซง่ึ มตี �ำ แหนง่ หนา้ ทง่ี านตา่ งๆ
15-59 ปี) ที่ใช้คอมพิวเตอร์ จำ�นวนถึง 28.1 ล้านคน หรือ เช่น การเงิน พสั ดุ บุคคล งานธรุ การ เลขานกุ าร ฯลฯ
คดิ เป็นร้อยละ 91.3 ดังนั้น ผู้วิจัยในฐานะท่ีเป็นบุคลากรทางการศึกษา
การทำ�งานคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่องเป็นเวลานาน เห็นความสำ�คัญปัญหาด้านความเสี่ยงทางการยศาสตร์และ
นั้น ย่อมส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้ปฏิบัติงานได้ โดย ผลกระทบต่อสุขภาพจากการทำ�งานกับคอมพิวเตอร์ของ
เฉพาะอยา่ งยง่ิ เมอ่ื สถานที่ท�ำ งานที่ตัง้ คอมพิวเตอร์ไมถ่ ูกตอ้ ง บุคลากรคณะวทิ ยาการสขุ ภาพและการกีฬา จงึ ทำ�การศึกษา
ตามหลักการยศาสตร์ (สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย ค้นคว้าทำ�งานวิจัย เพ่ือจะนำ�มาวางแผน หาแนวทางการ
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ�งาน (องค์การ แก้ไขปัญหาและนำ�ไปสู่การป้องกัน เพื่อลดอันตรายท่ีส่งผล
มหาชน), 2561) ท่าทางการทำ�งานคอมพิวเตอร์ การทำ�งาน ต่อคุณภาพชีวิต ท่ีเกิดขึ้นจากการทำ�งานกับคอมพิวเตอร์
ซ้ำ�ๆ และการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน ล้วนแล้วแต่มี ตอ่ ไป
ผลต่อการบาดเจ็บของกระดูกและกล้ามเน้ือ โดยเฉพาะการ
ทำ�งานที่ตอ้ งอยู่ในท่าเดมิ นานๆ และซ้ำ�ๆ มโี อกาสทำ�ใหเ้ กดิ วัตถุประสงค์ของการวิจัย
อาการบาดเจ็บจากการเคลื่อนไหวซำ้�ๆ (Repetitive Strain
Injury ; RSI) และความผดิ ปกติจากการบาดเจบ็ สะสมเรื้อรัง 1. เพ่ือศึกษาพฤติกรรมการใช้คอมพิวเตอร์ในการ
(Cumulative Trauma Disorders ; CTDs) สูง ซ่ึงสามารถ ปฏิบัติงานในการปฏิบัติงานของบุคลากรคณะวิทยาการ
เกิดได้กับทุกอวัยวะในร่างกาย อย่างที่เกิดในข้อมือจากการ สุขภาพและการกีฬา มหาวทิ ยาลัยทกั ษิณ
ใช้คีย์บอร์ด (keyboard) และเมาส์ (Mouse) นานๆ ทำ�ให้ 2. เพื่อศึกษากลุ่มอาการและการรับรู้ที่เกิดจากการ
เกดิ การบาดเจบ็ ต่อมอื แขน และไหลไ่ ด้ นอกจากนี้เอน็ กล้าม ใช้คอมพิวเตอร์ในการปฏิบัติงานของบุคลากรคณะวิทยาการ
เนือ้ เส้นประสาท กล้ามเนือ้ เกิดการบวม หรือตีบแคบลงของ สขุ ภาพและการกฬี า มหาวทิ ยาลยั ทักษิณ
อุโมงค์ในข้อมือ ทำ�ให้เกิดกลุ่มอาการอุโมงค์ข้อมือ (Carpal
Tunnel Syndrome ; CTS) และนอกจากการใช้คอมพิวเตอร์ วิธีการด�ำ เนินการวิจยั
ยงั สามารถท�ำ ใหเ้ กดิ ความผดิ ปกติตอ่ สายตาไดด้ ว้ ย จากการ
ศึกษา ระยะเวลาการใช้คอมพิวเตอร์ที่นานเกินไปและการไม่ การศึกษาคร้ังนี้เป็นการวิจัยพ้ืนฐานเชิงสำ�รวจ
พกั สายตาระหวา่ งท�ำ งานท�ำ ให้ ปวดเม่ือยตา ตาแห้ง ระคาย ประชากรที่ใช้ในการวิจัยนี้ คือ บุคลากรทุกคนท่ีปฏิบัติงาน
เคอื งตา ตาสแู้ สงไมไ่ ด้ ตาพรา่ มวั มองไมช่ ดั กลมุ่ อาการเหลา่ นี้ เตม็ เวลาในคณะวทิ ยาการสขุ ภาพและการกฬี า ทงั้ สายอาจารย์
เปน็ อาการของกลมุ่ โรคหรอื กลมุ่ อาการทางระบบการมองเหน็ จ�ำ นวน 30 คน และสายสนับสนุน จ�ำ นวน 18 คน รวมท้งั หมด
ทเ่ี กดิ จากการใชค้ อมพิวเตอร์ (Computer Vision Syndrome) 48 คน
(นรากร พลหาญ, 2557) เคร่ืองมือในการวิจัย
การนั่งทำ�งานติดต่อกันวันละหลายช่ัวโมงและ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถาม แบ่ง
อาจไม่มีการเปลี่ยนท่าทางในการน่ังเกิน 1 ชั่วโมง ส่งผลให้ ออกเป็น 4 ตอน ได้แก่
เกิดโรคทางระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ โดยอาการที่พบบ่อย สว่ นที่ 1 สภาพลกั ษณะทวั่ ไปของกลมุ่ ตวั อยา่ ง ไดแ้ ก่
ทส่ี ดุ อาการปวดกลา้ มเนอ้ื บรเิ วณบา่ ตน้ คอ โรคกระดกู สนั หลงั เพศ อายุ ต�ำ แหนง่ งาน ระยะเวลาการท�ำ งาน ลกั ษณะการตอบ
ส่วนคอและหลังเสื่อมในช่วงอายุน้อยลง จึงส่งผลต่อความ แบบสอบถามปลายปิด (Checklist) และแบบปลายเปดิ

Vol 40. No 5, September-October 2021 The physical symptoms from personnel computer using 371

ส่วนที่ 2 พฤติกรรมการใช้คอมพิวเตอร์ในการ Statistic) ไดแ้ ก่ คา่ ความถ่ี (Frequency) รอ้ ยละ (Percentage)
ปฏิบัติงานของบุคลากร ลักษณะของการตอบแบบสอบ ค่าเฉล่ีย (Mean) และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard
ปลายปดิ (Checklist) และแบบปลายเปดิ Deviation) น�ำ เสนอในรปู แบบของการอธบิ าย
ส่วนท่ี 3 กลุ่มอาการปวดเม่ือยของส่วนต่างๆ ของ
ร่างกายจากการใช้คอมพิวเตอร์ เป็นการประเมินความรู้สึก ผลการวจิ ัย
ไม่สบายของส่วนต่างๆ ของร่างกาย (สํานักโรคจากการ
ประกอบอาชพี และส่ิงแวดลอ้ ม, 2560) การศึกษาวิจัยเรื่องกลุ่มอาการท่ีเกิดต่อร่างกาย
มเี กณฑก์ ารให้คะแนน ดังนี้ จากการใช้คอมพิวเตอร์ในการปฏิบัติงานของบุคลากรคณะ
0 = ไม่มอี าการปวดเม่ือย วิทยาการสุขภาพและการกีฬา มหาวิทยาลัยทักษิณ กลุ่ม
1 = นานๆ ปวดเมือ่ ครั้งหนง่ึ ตัวอย่าง เพศหญิง จำ�นวน 29 คน ร้อยละ 65.9 เพศชาย
2 = ปวดเมอ่ื แต่หยุดพักงานอาการก็หาย จำ�นวน 15 คน ร้อยละ 34.1 อยู่ในชว่ งอายุ 30-39 ปี ร้อยละ
3 = ปวดเม่อื ย หยดุ พกั งานอาการไม่หาย 54.5 อายุเฉล่ยี 39.5 ปี (อายุระหว่าง 26.2-68 ป)ี ระดบั การ
4 = มอี าการปวดเมอ่ื ยตลอดเวลาต้องกนิ ยา ศึกษาอยู่ในการศึกษาระดับปริญญาโท คิดเป็นร้อยละ 50
สว่ นที่ 4 กลุ่มอาการท่ีเกดิ ข้ึนจาการใชค้ อมพิวเตอร์ การศึกษาต่ำ�กว่าปรญิ ญาตรี จำ�นวน 1 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 2.3
กลุ่มอาการของดวงตาและระบบการมองเห็น ตำ�แหน่งอาจารย์ ร้อยละ 56.8 สายสนับสนุน ร้อยละ 36.6
ลักษณะของการตอบแบบสอบถาม มีเกณฑ์การให้คะแนน สายตาผดิ ปกติ 26 คน รอ้ ยละ 59.1 สายตาผดิ ปกตสิ ว่ นมาก
ดงั นี้ 0 = ไม่เคยเกิดขึ้นเลย 1 = บางครง้ั 2 = บ่อย 3 = เกอื บ จะเป็นในลกั ษณะ สายตาส้นั สายตาเอยี ง สายตายาว คดิ เป็น
ทกุ ครง้ั 4 = เปน็ ประจ�ำ ร้อยละ 36.4, 25.0, 15.9 ตามล�ำ ดบั มีโรคประจำ�ตวั คิดเป็น
รอ้ ยละ 45.5 เปน็ โรคกระเพาะอาหาร โรคภมู ิแพ้ โรคไมเกรน
การสรา้ งและทดสอบคุณภาพของเครื่องมอื คิดเป็นร้อยละ 15.9, 13.6, 6.8 ตามลำ�ดับ พฤติกรรมการ
ความเทย่ี งตรง โดยมผี ทู้ รงคณุ วฒุ มิ คี วามเชย่ี วชาญ ใช้คอมพิวเตอร์ในการทำ�งานของกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ใช้
จำ�นวน 2 ท่าน ตรวจสอบความถูกต้องเที่ยงตรงเชิงเน้ือหา คอมพิวเตอรใ์ นการปฏิบัติงาน 5 วนั ต่อสปั ดาห์ รอ้ ยละ 56.8
ของคำ�ถามแต่ละข้อว่าตรงตามจุดมุ่งหมายของการวิจัย และ ใชค้ อมพวิ เตอรใ์ นการปฏบิ ตั งิ าน 7 วนั ตอ่ สปั ดาห์ รอ้ ยละ 38.6
การหาความเชื่อม่ัน (Reliability) ทำ�การทดสอบก่อนปฏิบัติ ระยะการใช้คอมพิวเตอร์ อย่ใู นช่วง 6-9 ชวั่ โมงต่อวนั รอ้ ยละ
งานจริง (Try Out) แล้วนำ�ข้อมูลจากการตอบแบบสอบถาม 47.7 ส่วนใหญ่ใช้คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ ร้อยละ 86.4
มาหาความเช่ือม่ัน โดยค่าสัมประสิทธ์ิแอลฟา (Alpha คอมพวิ เตอรท์ ใ่ี ชว้ างในจดุ ทไ่ี มม่ แี สงสะทอ้ นจากหลอดไฟหรอื
Coefficient) ของ ครอนบาค แอลฟา (Cronbach s alpha) แสงสว่างอืน่ ๆ เข้าตา รอ้ ยละ 77.3 โตะ๊ ทใี่ ชว้ างคอมพวิ เตอร์
มีขนาดเหมาะสม มีพื้นที่ว่างสำ�หรับวางอุปกรณ์และเอกสาร
ข้อพจิ ารณาดา้ นจรยิ ธรรม ท่ีใช้ทำ�งาน ร้อยละ 77.3 การจัดวางเม้าส์ และแป้นพิมพ์
งานวิจัยนี้ได้มีการชี้แจงและแจ้งวัตถุประสงค์ของ อยู่ในตำ�แหน่งท่ีเหมาะสมไม่ต้องบิดข้อมือ/กระดกข้อมือหรือ
งานวิจัยให้ผู้เข้าร่วมโครงการรับทราบ การเข้าร่วมโดยผ่าน เอื้อมแขนในขณะที่ทำ�งาน ร้อยละ 72.7 เก้าอ้ีท่ีใช้สามารถ
การพจิ ารณาทางจรยิ ธรรมการวจิ ยั ในคน มหาวทิ ยาลยั ทกั ษณิ ปรับระดับใหเ้ หมาะสมกบั ร่างกาย ร้อยละ 84.1 มีการหยุดพัก
(REC No. 068) ระหวา่ งทใ่ี ชง้ านคอมพวิ เตอร์ รอ้ ยละ 95.5 สว่ นใหญร่ ะยะเวลา
การพักอยู่ในช่วง 30 นาที-1 ชั่วโมง ร้อยละ 65.9 ประเภท
การวิเคราะห์ขอ้ มลู และสถติ ทิ ่ีใช้ในการวจิ ยั การหยดุ พกั สว่ นใหญล่ ุกจากท่นี ่ัง สลบั งานอื่น รอ้ ยละ 65.9
การวจิ ยั ครง้ั น้ี ผวู้ จิ ยั ไดเ้ ลอื กใชว้ ธิ วี เิ คราะหข์ อ้ มลู ทาง รองลงมาลุกจากท่นี ั่ง ยืดเสน้ ยดื สาย รอ้ ยละ 29.5 ระยะเวลา
สถิติด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำ�เร็จรูปโดยได้นำ�ข้อมูลจาก ใช้สายตาในอุปกรณ์ต่างๆ ต่อวัน การเล่นโทรศัพท์มือถือ
แบบสอบถามที่เก็บรวบรวมได้มาทำ�การวิเคราะห์ข้อมูลทาง ร้อยละ 100 (อยู่ในช่วง 1-2 ช่ัวโมงมากที่สุด ร้อยละ 54.5
สถิติทั้งหมด เพ่ือวิเคราะห์ค่าสถิติที่เก่ียวข้องกับการศึกษา รองลงมาอยู่ในช่วง 3-4 ช่ัวโมง ร้อยละ 29.5) ดูโทรทัศน์
ได้แก่ การวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive ร้อยละ 50.0 อา่ นหนงั สือ รอ้ ยละ 40.9

372 Varintip Khongrit J Sci Technol MSU

Table 1 Number percentage of fatigue in different body regions.

Fatigue level

Parts of body Not at all Rarely Experiences Pain did not Pains required percentage
N (%) (0) (1) reduced pain after improve after medicine to of fatigue in
stop working reduce pain different body
relaxation regions at all
(2) (3) (4)
level
Occipital left N (%) N (%) N (%) N (%) (%) (1-4)
Neck right 15(34.1) 10(22.7) 11(25.0) 6(13.6) 2(4.5)
left 15(34.1) 8(18.2) 16(36.4) 2 (4.5) 65.9
Shoulder right 14(31.8) 8(18.2) 12 (27.3) 3(6.8) 65.9
Upper back left 15(34.1) 9(20.5) 11(25.0) 10(22.7) - 68.2
Lower back right 15(34.1) 10(22.7) 14(31.8) 9(20.4) - 65.9
Upper arm left 16(36.4) 10(22.7) 14(31.8) 3(6.8) 2(4.5) 65.9
right 11(25.0) 12(27.3) 17(38.6) 4(9.1) - 63.6
Elbow left 11(25.0) 12(27.3) 17(38.6) 4(9.1) - 75.0
Lower arm right 22(50.0) 16(36.4) 6(13.6) 4(9.1) - 75.0
Hand and wrist left 21(47.7) 15(34.1) 8(18.2) - 50.0
Hip/thigh right 31(70.5) 9(20.5) 2(4.5) - - 52.3
left 30(68.2) 9(20.5) 3(6.8) - - 29.5
Knee right 27(61.4) 14(31.8) 3(6.8) 2(4.5) - 31.8
Calf left 25(56.8) 15(34.1) 4(9.1) 2(4.5) - 38.6
Foot right 20(45.5) 15(34.1) 7(15.9) - - 43.2
left 19(43.2) 13(29.5) 10 (22.7) - - 54.5
right 22(50.0) 13(29.5) 9(20.5) 2(4.5) - 56.8
left 23(52.3) 13(29.5) 8(18.2) 2(4.5) - 50.0
right 30(68.2) 6(13.6) 8(18.2) - - 47.7
left 30(68.2) 6(13.6) 7(15.9) - - 31.8
right 27(61.4) 12(27.3) 4(9.1) - - 31.8
29(65.9) 10(22.7) 5(11.4) 1(2.3) - 38.6
33(75.0) 7(15.9) 4(9.1) 1(2.3) - 34.1
33(75.0) 8(18.2) 3(6.8) - - 25.0
- - 25.0
-

Vol 40. No 5, September-October 2021 The physical symptoms from personnel computer using 373

Table 1 ระดับความปวดเมื่อยส่วนต่างๆ ของ บริเวณท่ีมีอาการปวดเม่ือยหยุดพักอาการไม่หาย
ร่างกายในภาพรวม จากระดับนานๆ ปวดเม่ือยคร้ังหนึ่ง พบมากที่สุด คือ ไหลซ่ ้าย รองลงมาไหล่ขวา (รอ้ ยละ 22.7,
ไปจนถึง ระดับมีอาการปวดเม่ือยตลอดเวลาต้องกินยา 20.5 ตามลำ�ดบั )
พบวา่ บริเวณที่มีอาการปวดเมื่อยแต่หยุดพักงานอาการ
บริเวณท่ีมีอาการปวดเม่ือยมากที่สุด คือ หลัง กห็ าย พบมากทสี่ ดุ คอื หลงั สว่ นลา่ งซา้ ยและขวา รองลงมาคอ
ส่วนล่างด้านซ้ายและขวา รองลงมาไหล่ด้านซ้าย ท้ายทอย (รอ้ ยละ 38.6, 36.4 ตามลำ�ดับ)
(ร้อยละ 75.0, 68.2, 65.9 ตามล�ำ ดับ) บรเิ วณทไ่ี มพ่ บอาการปวดเมอื่ ย คอื เทา้ ซา้ ย เทา้ ขวา
รองลงมา ขอ้ ศอกซ้าย (รอ้ ยละ 75.0, 70.5 ตามล�ำ ดบั )
บริเวณท่ีมีอาการปวดเม่ือยตลอดเวลาต้องกินยา
พบมากท่ีสุด คอื ทา้ ยทอย คอ หลงั สว่ นบนซ้าย (รอ้ ยละ 4.5)

Table 2 Number percentage of eye and visual system symptoms

Symptoms Not at all Rarely Often Most of the time Always Percentage of eye
(0) (1) (2) (3) (4) and visual system
Pain symptoms at all level
Headache/ dizziness N (%) N (%) N (%) N (%) N (%)
Eye burning 12(27.2) 18(40.9) 8(18.2) 1(2.3) 5(11.4) (1-4)
Eye irritation 10(22.7) 23(52.3) 7(15.9) 1(2.3) 3(6.8)
Lacrimation 5(11.4) 21(47.7) 13(29.6) 2(4.5) 3(6.8) 72.8
Photo phobia 16(36.4) 18(40.9) 9(20.5) 1(2.3) 77.3
Amblypia 17(38.6) 22(50.0) 5(11.4) - 88.6
Double vision 21(47.8) 15(34.1) 4(9.1) - - 63.7
18(40.9) 20(45.5) 3(6.8) 2(4.5) 2(4.5) 61.4
32(72.7) 10(22.7) 1(2.3) 1(2.3) 2(4.5) 52.2
1(2.3) 59.1
- 27.3

Table 2 กลุ่มอาการท่ีเกิดขึ้นของดวงตาและระบบ ของกลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่ใช้คอมพิวเตอร์ในการปฏิบัติงาน
การมองเหน็ 5 วนั ต่อสปั ดาห์ มรี ะยะการใช้งานในการท�ำ งาน 6-9 ชัว่ โมง
กลุ่มอาการท่ีเกิดขึ้นของดวงตาและระบบการมอง ต่อวนั สว่ นใหญใ่ ช้คอมพวิ เตอรแ์ บบตงั้ โตะ๊ ซ่งึ ข้อมูลท่ีได้จาก
เห็น อาการแสบตามากท่ีสุด รองลงมาอาการปวดศีรษะ/ การวิจัยของ (วิษณุ กัมทรทิพย์, 2554) พบว่าอาการ ปวด
เวยี นศรี ษะ (รอ้ ยละ 88.6,77.3 ตามล�ำ ดบั ) กลุม่ อาการทเ่ี ปน็ ต้นคอ ปวดหัวไหล่ ปวดบริเวณสะบัก เป็นอาการท่ีพบบ่อย
ประจ�ำ คอื อาการปวดตา (รอ้ ยละ 11.4) รองลงมา ปวดศรี ษะ/ ในผทู้ ใี่ ชค้ อมพวิ เตอรต์ ดิ ตอ่ กนั เปน็ ระยะเวลานานเกนิ 5 ชวั่ โมง
เวยี นศรี ษะ และแสบตา (ร้อยละ 6.8) กลุ่มอาการทเ่ี ป็นเกือบ ต่อวัน หากปล่อยให้เกิดพฤติกรรมเหล่าน้ีเป็นระยะเวลานาน
ทกุ คร้งั พบวา่ อาการแสบตา และตาสแู้ สงไม่ได้ (รอ้ ยละ 4.5) จะสง่ ผลกระทบตอ่ ระบบกระดกู และกลา้ มเนอื้ ระยะยาวได้ และ
กลุ่มอาการที่เป็นบ่อย พบว่า อาการแสบตา (ร้อยละ 29.6) สอดคล้องกบั (พรเทพ ศริ วิ นารังสรรค์, 2558) การนงั่ ท�ำ งาน
ระคายเคืองตา (ร้อยละ 20.5) กลุ่มอาการที่เป็นบางคร้ัง กับคอมพิวเตอร์เป็นประจำ�และสภาพแวดล้อมในการทำ�งาน
ปวดศีรษะ/เวียนศีรษะ (ร้อยละ 52.3) นำ้�ตาไหล (ร้อยละ ท่ีไม่เหมาะสม ไม่ว่าจะเป็นการนั่งทำ�งานอย่างต่อเน่ืองเป็น
50.0) กลุ่มอาการท่ีไม่เคยเกิดขึ้นเลย คือ เห็นภาพซ้อน ระยะเวลายาวนานมากกว่า 4 ชั่วโมงต่อวัน ทำ�ให้ร่างกายมี
(รอ้ ยละ 72.7) การเคล่ือนไหวน้อย ส่ิงเหล่าน้ีส่งผลให้เกิดอาการปวดเมื่อย
กล้ามเน้ือ อาการเกร็งสะสมของกล้ามเน้ือและอาการอักเสบ
สรปุ และอภปิ รายผล ของกลา้ มเน้อื โดยเฉพาะกล้ามเนือ้ บรเิ วณรยางคแ์ ขน ได้แก่
บา่ ไหล่ หลงั สว่ นบน-สะบกั แขน มอื และคอ ซึง่ การนัง่ ทำ�งาน
พฤตกิ รรมการใชค้ อมพิวเตอรใ์ นการปฏิบัตงิ าน อยหู่ นา้ คอมพวิ เตอรน์ านๆ และไมถ่ กู สขุ ลกั ษณะ จะท�ำ ใหเ้ กดิ
พฤติกรรมการใช้คอมพิวเตอร์ในการปฏิบัติงาน

374 Varintip Khongrit J Sci Technol MSU

การบาดเจ็บซำ้�ซาก (RSI: Repetitive Stress Injury) ในส่วน ตาพร่ามัว ซ่ึงอาจบ่งบอกว่ากำ�ลังเส่ียงกับกลุ่มอาการที่
ตา่ งๆ ของรา่ งกาย จงึ ควรไดร้ บั การปรบั ปรงุ ทงั้ ดา้ นพฤตกิ รรม เรียกว่า Computer Vision Syndrome (CVS) กลมุ่ อาการน้ี
ผอ่ นคลายอริ ยิ าบถและมีการออกแบบสถานงี านให้เหมาะสม แมไ้ มไ่ ดก้ อ่ ใหเ้ กดิ อนั ตรายรา้ ยแรงตอ่ ดวงตาหรอื การมองเหน็
ระดับความเมือ่ ยล้าส่วนตา่ งๆ ของร่างกาย แต่มักทำ�ให้เกิดความไม่สบายตา และอาจเป็นปัญหารบกวน
บริเวณที่พบอาการปวดเม่ือยตลอดเวลาต้องกินยา การท�ำ งานหรอื การใชช้ วี ติ ประจ�ำ วนั ได้ หากปลอ่ ยไว้ นอกจาก
คอื ทา้ ยทอย คอ หลงั สว่ นบนซา้ ย บรเิ วณทพ่ี บอาการปวดเมอื่ ย ท�ำ ใหป้ ระสทิ ธภิ าพในการท�ำ งานลดลงแลว้ ยงั สง่ ผลตอ่ สขุ ภาพ
หยุดพักอาการไม่หายคือ ไหล่ซ้าย ไหล่ขวา บริเวณที่พบ ดวงตาระยะยาวด้วย
อาการปวดเมื่อยหยุดพักงานอาการก็หาย คือ หลังส่วนล่าง
ซ้ายและขวา สอดคล้องกับงานวิจัย (เมธินี ครุสันธิ์, 2557) ข้อเสนอแนะจากผลการวจิ ัย
พบว่าพนักงานสำ�นักงานมหาวิทยาลัยมีความเสี่ยงต่ออาการ
ปวดไหล่จากการทำ�งานกับคอมพิวเตอร์ จึงควรได้รับการ จากผลการวิจัยที่พบว่า แนวโน้มของพฤติกรรมใน
ปรบั ปรงุ ทงั้ ดา้ นพฤตกิ รรม และออกแบบสถานงี านใหเ้ หมาะสม การใช้คอมพิวเตอร์ มีผลกระทบต่อร่างกายด้านต่างๆ เช่น
ตามหลักการยศาสตร์และให้มีการเฝ้าระวังปัญหาอาการ กลุ่มอาการทางกระดูกและกลา้ มเนือ้ การมองเห็นและสายตา
ปวดไหลใ่ นพนักงาน (Janwantanakul et al., 2008) พบว่า ดังนั้น เพื่อให้บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจและมีการรับรู้
ตำ�แหน่งของอาการปวด มีความชุก 5 อันดับ แรก คือ คอ ถึงกลุ่มอาการที่เกิดจากการใช้คอมพิวเตอร์ในการปฏิบัติงาน
หลังส่วนล่าง หลังส่วนบน ไหล่ (สุนิสา ชายเกลี้ยง, 2552) ระดับคณะหรือระดับมหาวิทยาลัยควรทำ�การอมรมบุคลากร
พบว่าพนักงานสำ�นักงานท่ีทำ�งานในมหาวิทยาลัยขอนแก่น เพ่ือให้ความรู้เก่ียวกับกลุ่มอาการต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนจากการ
มีความชุกของการปวดไหล่ในรอบ 1 เดือนเป็นร้อยละ 63.1 ใช้คอมพิวเตอร์ อาทิ กลุ่มอาการทางกระดูกและกล้ามเนื้อ
โดยพบความชุกสูง (นรากร พลหาญ, 2557) กลุ่มอาการทาง กลุ่มอาการต่อดวงตาและระบบการมองเห็น เป็นต้น อีกท้ัง
กล้ามเน้ือและกระดูกที่เกิดจากการใช้คอมพิวเตอร์ อาการ คณะวิทยาการสุขภาพและการกีฬา ควรจัดสภาพแวดล้อม
ปวดคอมากที่สุด อาการปวดไหล่ อาการปวดหลังส่วนบน ในการท�ำ งานใหเ้ หมาะสม ใหม้ กี จิ กรรมการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ
ปวดทา้ ยทอย ตามล�ำ ดับ ภายในคณะฯ การบริหารร่างกายเพ่ือลดความเมื่อยล้าของ
อาการปวดเมื่อส่วนต่างๆ ของร่างกายสามารถ กล้ามเน้อื และดวงตาเป็นประจ�ำ ทกุ วัน วันละ 5 ถงึ 10 นาที
เกิดได้ ต้ังแต่แขน ข้อมือ ข้อนิ้ว แผ่นหลัง ต้นคอ หัวไหล่ เปน็ ตน้ เพอื่ ใหบ้ คุ ลากรไดต้ ระหนกั ถงึ ภาวะสขุ ภาพของตนเอง
ซึ่งจะมีเกิดการบาดเจ็บท่ีกล้ามเน้ือ เอ็นยึดกระดูก เอ็นยึด ให้มากยิ่งข้ึน ตลอดจนส่งเสริมให้บุคลากรมีสุขภาพท่ีดี และ
กล้ามเน้ือ หากปล่อยไว้โดยไม่รักษา หรือไม่เปลี่ยนแปลง เมอ่ื มสี ขุ ภาพพลานามยั ทสี่ มบรู ณ์ แขง็ แรงแลว้ นนั้ ยอ่ มน�ำ พา
พฤติกรรม กอ็ าจก่อให้เกดิ อนั ตรายตามมา เช่น เส่ียงต่อการ องค์กรหรือสถาบันน้ัน ประสบความสำ�เร็จและนำ�พาองค์กร
เกดิ หมอนรองกระดูกทบั เสน้ ประสาท กระดูกสนั หลังคด จะมี ไปสคู่ วามเป็นเลิศได้อย่างมีประสิทธภิ าพ
ปัญหาสุขภาพเร้ือรังตามมา
กลุ่มอาการตอ่ ดวงตาและระบบการมองเหน็ ข้อเสนอแนะในการท�ำ วิจยั ครั้งต่อไป
กลมุ่ อาการทเี่ ปน็ ประจ�ำ คอื อาการปวดตา ปวดศรี ษะ/
เวียนศีรษะ และแสบตา ตามลำ�ดับ กลุ่มอาการที่เป็นเกือบ ควรมีการทำ�วิจัยค้นหาแนวปฏิบัติท่ีดีในการใช้
ทุกคร้ัง อาการแสบตา และตาสู้แสงไม่ได้ กลุ่มอาการที่เป็น คอมพิวเตอร์ในการปฏิบัติงาน เพื่อลดกลุ่มอาการต่างๆ ท่ี
บ่อย อาการแสบตา ระคายเคืองตา พบว่ากลุ่มตัวอย่างท่ีมี เกิดขึ้นจากการใช้คอมพิวเตอร์ในการปฏิบัติงาน โดยทำ�การ
พฤติกรรมการใช้คอมพิวเตอร์ติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน เปรียบเทียบกลุ่มอาการต่างๆ ที่เกิดข้ึนก่อนและหลังการนำ�
พบกล่มุ อาการตอ่ ดวงตาและระบบการมองเห็น ได้แก่ อาการ แนวปฏิบัติ ที่ทำ�การวิจัยไปทดลองใช้ ซึ่งในการค้นหาแนว
ปวดตา แสบตา ระคายเคอื งตา น้�ำ ตาไหล ตาพร่ามวั เป็นต้น ปฏิบตั ิท่ีดีนนั้ จะน�ำ ไปส่กู ารปรับเปล่ียนพฤติกรรมการทำ�งาน
(เนสนิ ี ไชยเอีย และคณะ, 2548) พบว่าผลกระทบสว่ นใหญ่ ของบุคลากรให้มีความเหมาะสม และสร้างเสริมให้บุคลากร
ต่อสุขภาพคนทำ�งานกับคอมพิวเตอร์ ส่วนใหญ่มีอาการ มีภาวะสุขภาพท่ีดีย่ิงข้ึน มีการศึกษาหารูปแบบการลด
ผิดปกติทางสายตารอ้ ยละ 96.4 การใช้คอมพวิ เตอรต์ ดิ ต่อกนั ความตึงกล้ามเน้ือจากการใช้คอมพิวเตอร์รูปแบบการลด
เป็นเวลานาน อาการปวดเม่ือยตา ตาแห้ง แสบตา เคืองตา ปัญหาการเจ็บป่วยเกี่ยวกับสายตาและการมองเห็น จากการ
ใชค้ อมพวิ เตอร์

Vol 40. No 5, September-October 2021 The physical symptoms from personnel computer using 375

เอกสารอ้างอิง เมธนิ ี ครสุ นั ธ.์ิ (2557). การประเมนิ ความเสย่ี งทางการยศาสตร์
ในพนักงานสำ�นักงานมหาวิทยาลัย. วารสารวิจัย มข,
กลุ่มอาชีวอนามัย สำ�นักโรคจากการประกอบอาชีพและ 19(5), 696-707.
ส่ิงแวดล้อม กรมควบคุมโรค. (2560). แนวทางการ
จัดบริการ อาชีวอนามัยให้กับแรงงานในชุมชนด้าน วิษณุ กัมทรทิพย์. (2554, กรกฎาคม). รู้ทันโรคภัยใกล้
กายศาสตร์ ส�ำ หรับเจ้าหนา้ ทห่ี นว่ ยบรกิ ารสุขภาพปฐม. คอมพิวเตอร์. สืบคน้ เม่อื 21 มีนาคม 2563, จาก http://
สบื คน้ เม่ือ 5 มกราคม 2563, จาก http://envocc.ddc. www.thnic.or.th/old_activities/project04/project04-
moph.go.th seminar.doc.

จนั ทณี นิลเลศิ . (2560). การนัง่ ตามการยศาสตร.์ เวช บนั ทึก สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพ
ศริ ริ าช, 10(1). แวดล้อมในการทำ�งาน (องค์การมหาชน). (2562).
มาตรฐานการปฏิบัติงานคอมพิวเตอร์ตามหลักกาย
นรากร พลหาญ. (2557). กลุ่มอาการท่ีเกิดต่อร่างกายจาก ศาสตร์ (มปอ. 301 : 2561).
การใชค้ อมพวิ เตอรใ์ นการปฏิบัตงิ าน ของ บคุ ลากรสาย
สนับสนนุ มหาวิทยาลัยนครพนม. วารสารมหาวทิ ยาลัย สำ�นักงานสถิติแห่งชาติ. (2559). การสำ�รวจแรงงานนอก
ศรีนครินทรวิโรฒ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, ระบบ. ส�ำ นักงานสถิตพิ ยากรณ.์ กรงุ เทพฯ.
6(12).
สนุ ิสา ชายเกลีย้ ง. (2552). การปวดหลังจากการทำ�งาน:ภยั
เนสินี ไชยเอีย และคณะ. (2548, เมษายน-มิถุนายน). ผล เงียบใกล้ตัวที่คุณควรรู้. วารสารวิจัยคณะสาธารณสุข
กระทบตอ่ สขุ ภาพจากการใช้ คอมพวิ เตอรข์ องพนกั งาน ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ , 2(3).
ธนาคารพาณิชย์ในอำ�เภอเมือง จังหวัดขอนแก่น.
ศรีนครนิ ทรเ์ วชสาร. Janwantanakul, P., Pensri, P., Jiamjarasrangsri, V.,
Sinsongsook, T. (2008). Prevalence of self-reported
พรเทพ ศิรวิ นารังสรรค์. (2558). ข่าวแจก “กรมอนามัย เผย musculoskeletal symptoms among office workers.
วัยทำ�งาน ร้อยละ 60 เสี่ยงโรคออฟฟิศซินโดรม แนะ Occupational Medicine, 58, 436-43.
ปรบั สถานที่ท�ำ งานนา่ อยู่ น่าท�ำ งานใหถ้ ูกหลัก”. สบื ค้น
เม่อื วันท่ี 21 มีนาคม 2563, จาก http://203.157.65.15/
anamai_web/ewt_news.php?nid=8547&filename=
index

การพัฒนาระบบการพยาบาลผู้ปว่ ยโรคหลอดเลือดหวั ใจ โรงพยาบาลชินเขต
ในกรุงเทพมหานคร
Development of nursing system for coronary artery disease patients at
Chinnakhet Hospital in Bangkok

สุทศั น์ ศภุ นาม1*, นิษา เรืองกิจอดุ ม2, สถาพร มนัสสถิตย3์
Suthat Supanam1*, Nisa Ruangkitudom2, Sathaporn Manatsathit3
Received: 29 June 2021 ; Revised: 27 August 2021 ; Accepted: 28 September 2021
บทคัดยอ่

การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม มีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนาระบบการพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรงพยาบาลชินเขต โดยใช้กรอบแนวคิดทฤษฏีระบบมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วย กลุ่มตัวอย่างมี 2 กลุ่ม
ได้แก่ พยาบาลวิชาชีพที่ให้การดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ จำ�นวน 15 คน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง และผู้ป่วย
โรคหลอดเลอื ดหัวใจทเ่ี ข้ารับการรกั ษาใน โรงพยาบาลชนิ เขต จำ�นวน 450 คน โดยเลอื กกลมุ่ ตวั อยา่ งแบบตอ่ เนือ่ ง เครอื่ งมอื
วิจัยประกอบดว้ ย 3 สว่ น ได้แก่ 1) แบบประเมนิ สมรรถนะการดแู ลผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลือดหัวใจ 2) แบบสอบถามความพึงพอใจ
ต่อระบบการพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจของพยาบาลวิชาชีพ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการได้รับระบบการ
พยาบาลผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ดหวั ใจ วเิ คราะหข์ ้อมูลดว้ ยสถิตเิ ชิงพรรณนา และสถิตอิ นุมานใชก้ ารทดสอบ t-test
ผลการวจิ ยั พบวา่ ระบบการพยาบาลผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ดหวั ใจทพี่ ฒั นาขนึ้ ประกอบดว้ ย การจดั ตง้ั หนว่ ยผปู้ ว่ ยเฉพาะโรค
การจัดเตรียมอุปกรณ์ทางการแพทย์ให้เพียงพอต่อความต้องการของผู้ป่วย การแต่งต้ังพยาบาลผู้จัดการผู้ป่วยรายกรณี
การนำ�แนวปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจมาใช้ในการพยาบาลผู้ป่วยอย่างเป็นธูปธรรม การพัฒนาสมรรถนะ
พยาบาลผ้ดู ูแลอย่างต่อเนื่อง และการปฏิบตั ิการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพทใี่ ห้การดแู ล ภายหลังการนำ�ระบบการพยาบาล
ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจที่พัฒนาไปใช้ พยาบาลวิชาชีพมีสมรรถนะการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจโดยรวมและรายด้าน
สงู กวา่ กอ่ นการใชร้ ะบบการพยาบาลผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ดหวั ใจอยา่ งมนี ยั ส�ำ คญั ทางสถติ ิ (p < 0.01) พยาบาลวชิ าชพี และผปู้ ว่ ย
โรคหลอดเลือดหัวใจมีความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ผลการศึกษาทำ�ให้ได้ระบบการพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือด
หัวใจท่ีสามารถนำ�ไปใช้ได้จริงในบริบทของโรงพยาบาลชินเขต และได้ระบบการพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจที่ชัดเจน
เปน็ รปู ธรรมมากข้ึน และสามารถนำ�ไปใชไ้ ด้จริง
ค�ำ ส�ำ คญั : ระบบการพยาบาลผปู้ ่วยโรคหลอดเลือดหวั ใจ ผู้ปว่ ยโรคหลอดเลอื ดหวั ใจ

Abstract

This participatory action research aims to develop a nursing system for coronary artery disease patients at Chinnakhet
Hospital, Bangkok, Thailand. System theory was used as a conceptual framework. A sample of fifteen professional
nurses who provided care for coronary artery disease patients, was purposively selected, and 450 coronary artery
disease patients, were consecutively sampled at Chinnakhet Hospital. The research instruments consisted of the nurse
competencies in caring for coronary artery disease patients, the professional nurse satisfaction and coronary artery
disease patient satisfaction questionnaires. Data were analyzed using descriptive statistics and t-tests.

1 อาจารยพ์ ยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ วทิ ยาลัยนานาชาตเิ ซนตเ์ ทเรซา
2 พยาบาลวิชาชีพช�ำ นาญการพเิ ศษ กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลชนิ เขต
3 รองศาสตราจารย์, ผ้อู ำ�นวยการโรงพยาบาลชินเขต
1 Lecturer, Faculty of Nursing, St.Theresa inti College, Nakhon Nayok 26120, Thailand
2 Registered Nurse, Department of Nursing Chinnakhet Hospital, Nonthaburi 10210, Thailand
3 Associate Professor, Director of Chinnakhet Hospital, Nonthaburi 10210, Thailand
* Corresponding Author ; E-mail: [email protected]

Vol 40. No 5, September-October 2021 Development of nursing system for coronary artery disease patients at 377

Chinnakhet Hospital in Bangkok

The results showed that the nursing system for coronary artery disease patients consisted of establishment of
a cardiac unit, provision of sufficient medical equipment to meet the demand of clients, work assignment to the cardiac
case manager, implementation of clinical nursing practice guidelines for coronary artery disease patients, competency
training for professional nurses who gave care to coronary artery disease patients and competency evaluation. After
the implementation of a nursing system for coronary artery disease patients, the professional nurses’ competencies
on caring for coronary artery disease patient in total and all subjects were significantly higher than before the
implementation (p < .01). The satisfaction of professional nurses as well as coronary artery disease patients were
at the highest level.

Keywords: Nursing System for Coronary Artery Disease, Coronary Artery Disease Patient

ความเปน็ มาและความสำ�คัญของปัญหา เหน่ือยล้า มีอาการเจ็บหน้าอกเกิดขึ้นเป็นระยะ มีอาการ
เหน่ือยง่ายเวลาออกแรง การนอนหลับแปรปรวน ความคิด
โรคหลอดเลือดหัวใจ (coronary artery disease [CAD]) และการรับรู้เปล่ียนแปลง (Amsterdam et al., 2017 ; Liu
เป็นโรคไม่ติดต่อเร้ือรัง (non-communicable diseases et al., 2018) ผปู้ ่วยร้สู ึกวา่ ตนเองเปน็ ภาระของบุคคลอ่นื ของ
[NCDs]) ท่ียังคงเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำ�คัญของโลก ญาติ ผู้ดูแล คนในครอบครัว และประเทศชาติ ทั้งนี้ผู้ป่วย
โดยองค์การอนามัยโลกคาดการณ์ว่าในทุกปีจะมีผู้ป่วยโรค บางรายมีความรู้สึกว่าตนเองสูญเสียภาพลักษณ์ และความ
หลอดเลือดหัวใจมากกว่า 13 คนล้านท่ัวโลก ซึ่งมีแนวโน้ม มั่นใจในตนเอง เกิดการบั่นทอนภาวะทางจิตใจและคุณภาพ
เพ่ิมสูงข้ึนทุกปี และมีผู้เสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดหัวใจ ชวี ติ ดงั นน้ั หากผปู้ ว่ ยไดร้ บั การดแู ลชว่ ยเหลอื และฟน้ื ฟสู ภาพ
ประมาณ 6.7 ล้านคน (รอ้ ยละ 14.3) ของการเสียชวี ิตทั้งหมด ท้ังด้านร่างกายและจิตใจท่ีเหมาะสม จะส่งผลให้ผู้ป่วยมีชีวิต
(American Heart Association [AHA], 2018 ; World health ท่ีปลอดภัย มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และสามารถใช้ชีวิตได้ใกล้
organization [WHO], 2020) สำ�หรบั ประเทศไทย สำ�นักปลดั เคยี งกบั คนปกติมากที่สุด (Guo et al., 2016 ; Lefort et al.,
กระทรวงสาธารณสุขได้รายงานแนวโน้มอัตราของผู้ป่วยโรค 2016 ; Wright et al., 2017)
หลอดเลือดหัวใจท่ีเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลเพิ่มข้ึน จากสถิติท่ีผ่านมา ตั้งแต่ปี พ.ศ.2560-2562
จากอัตรา 62.4 ตอ่ 100,000 ประชากรในปี 2558 เพม่ิ เปน็ โรงพยาบาลชินเขต พบจำ�นวนผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ
84.3 ต่อ 100,000 ประชากรในปี 2562 โดยมอี ตั ราการตาย ที่มาติดตามการรกั ษาท่แี ผนกผู้ปว่ ยนอก โรงพยาบาลชินเขต
อยู่ที่ 32-33 รายต่อประชากร 1,000 คน ซึ่งมีแนวโน้มการ เพมิ่ มากขนึ้ ในแตล่ ะปี คอื 1,090 : 1,130 ; 1,237 คน ตามลำ�ดบั
เกิดโรคและอัตราการตายเพิ่มขึ้นทุกปี (สำ�นักนโยบายและ นอกจากน้ีสถิติของการรับเข้ามารักษาซ้ําในโรงพยาบาล
ยุทธศาสตร์ส�ำ นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ , 2563) ชินเขตเพ่ิมมากขึ้นเช่นเดียวกัน คิดเป็นร้อยละ 32.7, 36.3
และ 39.2 ตามลำ�ดบั สรปุ จากสถิติพบ จำ�นวนอตั ราการตาย
โรคหลอดเลือดหัวใจตีบหรืออุดตัน เกิดจากการ และกลับเข้ามารักษาซํ้าในโรงพยาบาลชินเขตเพ่ิมมากขึ้นใน
เปลี่ยนแปลงทางพยาธิสรีรภาพภายในหลอดเลือดแดง ทุกปีด้วยอาการเจ็บหน้าอกทั้งแบบรุนแรงและแบบไม่รุนแรง
โคโรนารีย์ท่ีไปเล้ียงกล้ามเนื้อหัวใจ จากการที่มีปริมาณ ภายหลงั จากทำ�กจิ กรรม นงั่ พกั และอมยาใตล้ ้นิ 2 เม็ด อาการ
ไขมันและคอเลสเตอรอลสะสมในหลอดเลือดแดงโคโรนารีย์ ดีข้ึน ซึ่งผู้วิจัยได้ทำ�การทบทวนเวชระเบียนผู้ป่วยโรคเร้ือรัง
เพ่ิมมากขึ้น ทำ�ให้หลอดเลือดแดงโคโรนารีย์เกิดการตีบแข็ง ทม่ี ปี ระวตั โิ รคหลอดเลอื ดหวั ใจของโรงพยาบาลชนิ เขต พบวา่
อยา่ งต่อเนอ่ื ง ท�ำ ให้หลอดเลือดมีความเปราะบางและปริแตก ผู้ ป่ ว ย ที่ ม า ติ ด ต า ม ก า ร รั ก ษ า ที่ แ ผ น ก ผู้ ป่ ว ย น อ ก ข อ ง
งา่ ย (vulnerable atherosclerosis) ภายหลังการปริแตกของ โรงพยาบาลชินเขต ส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ
หลอดเลือดแดงโคโรนารีย์ เป็นจุดเร่ิมต้นของการเกิดภาวะ ท่ีอยู่ในระยะพักฟื้น 6-12 สัปดาห์แรก ภายหลังการเกิดโรค
ลิ่มเลือดอดุ กน้ั (thrombosis) ภายในหลอดเลอื ดหัวใจ ผปู้ ่วย หลอดเลือดหัวใจตีบหรืออุดตัน ภายหลังจำ�หน่ายออกจาก
ท่ีมีพยาธิสภาพภายในหลอดเลือดแดงโคโรนารีย์ในลักษณะ โรงพยาบาลต้นสังกัด และจากการวิเคราะห์ข้อมูลทาง
ดังกล่าวมาแล้วครง้ั หนึ่ง จะมีความเปราะบางของหลอดเลือด เวชระเบียนพบว่า สถิติของผู้ป่วยที่มาติดตามการรักษาที่
มากขึน้ ต่อการเกิดความรุนแรงตามกลไกนี้ (Ambrose et al., โรงพยาบาลชินเขต ต้องเข้ารับการรักษาซ้ําในโรงพยาบาล
2016 ; Amsterdam et al., 2017) สง่ ผลกระทบทง้ั ดา้ นรา่ งกาย มีจำ�นวนเพิ่มมากขึ้น อัตราการเสียชีวิตสูงข้ึน จากความไม่
จติ ใจ อารมณ์ ครอบครวั และสงั คม (Donna & Workma., 2017 ; พร้อมด้านสถานที่ในการรับผู้ป่วยเข้ารักษาในโรงพยาบาล
Sulo et al., 2017) โดยภายหลงั การเจบ็ ปว่ ย ความสามารถ
ในการทำ�กิจกรรมของผู้ป่วยจะลดลง ผู้ป่วยมีความรู้สึก

378 Suthat Supanam, Nisa Ruangkitudom, Sathaporn Manatsathit J Sci Technol MSU

วัสดุ อุปกรณ์ทางการแพทย์ ยังมีไม่เพียงพอต่อจำ�นวนของ ค�ำ ถามการวิจยั
ท่ีเข้ารับบริการ ทำ�ให้เกิดความยากลำ�บากในการให้การ 1. ระบบการพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ
พยาบาล ไม่มีระบบการให้การพยาบาลผู้ป่วยท่ีมีปัญหา
โรคหลอดเลือดหัวใจที่ชัดเจน ไม่มีแนวทางการปฏิบัติที่ดีท่ี ในโรงพยาบาลชนิ เขตทีเ่ หมาะสมควรมีลกั ษณะอย่างไร
สามารถใช้เป็นกรอบการปฏิบัติงาน และการติดต่อประสาน 2. สมรรถนะการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ
งานด้านการพยาบาลในแต่ละแผนกยังไม่ดเี ทา่ ท่คี วร รวมทงั้ ภายหลังการใช้ระบบการพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ
ไม่มีระบบสารสนเทศทางสุขภาพในการเชื่อมโยงข้อมูลและ ในโรงพยาบาลชินเขตเป็นอยา่ งไร
การใชป้ ระโยชนจ์ ากฐานขอ้ มลู ในระบบอเิ ลคทรอนคิ จากขอ้ มลู 3. ระดบั ความพงึ พอใจของพยาบาลวชิ าชพี ตอ่ ระบบ
ที่ได้สามารถสังเคราะห์ปัญหาทั้งหมดที่พบจากการทบทวน การพยาบาลผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ดหวั ใจในโรงพยาบาลชนิ เขต
เวชระเบียน สังเกต และสัมภาษณ์ คือ ปัญหาในเชิงระบบ อยใู่ นระดบั ใด
ซ่ึงยังไม่ได้มีการพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือด 4. ระดับความพึงพอใจของผู้ป่วยโรคหลอดเลือด
หัวใจให้มีคุณภาพ จากประเด็นปัญหาดังกล่าวทำ�ให้ผู้วิจัย หัวใจต่อระบบการพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจใน
สนใจการพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ โรงพยาบาลชินเขตอยใู่ นระดบั ใด
ใหม้ ีคณุ ภาพและยั่งยนื ต่อไป
วิธีดำ�เนนิ การวจิ ัย
กรอบแนวคิดการวจิ ัย
เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม
งานวิจัยน้ีผู้วิจัยใช้กรอบแนวคิดการวิจัยเชิงปฏิบัติ (Participatory action research)
การแบบมีส่วนร่วม (Participatory action research) ของ ประชากร
เคมมสิ และเมคทากการท์ (1988) รว่ มกบั กรอบแนวคดิ ทฤษฏี พยาบาลวิชาชีพท่ีปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชินเขต
ระบบ (System theory) ในการสะทอ้ นการปฏบิ ตั กิ ารพยาบาล และผู้ป่วยโรคเรื้อรังท่ีมีประวัติเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจที่อยู่
เพื่อพัฒนาระบบการพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ ในระยะพักฟน้ื 6-12 สัปดาหแ์ รก ภายหลังจ�ำ หนา่ ยออกจาก
โรงพยาบาลชินเขต โดยเน้นกระบวนการพัฒนาระบบการ โรงพยาบาล ณ หน่วยตรวจผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลชินเขต
ดแู ลผปู้ ว่ ยทม่ี ปี ญั หาโรคหลอดเลอื ดหวั ใจแบบองคร์ วมทง้ั ดา้ น กรงุ เทพมหานคร
ร่างกายและจติ ใจ โดยเร่ิมต้นจาก 1) การวางแผน (Planning) กลุ่มตวั อย่าง
2) การลงมอื ปฏบิ ตั ิ (Action) 3) การสงั เกตการณ์ (Observing) เป็นพยาบาลวิชาชีพท่ีปฏิบัติงานในโรงพยาบาล
และ 4) การสะทอ้ นคดิ (Reflecting) โดยเริม่ ตน้ กระบวนการ ชินเขตแบบเต็มเวลา จำ�นวน 15 คน มีอายุงาน 3 ปีข้ึนไป
ทบทวนปัญหา ความต้องการ และแผนการดำ�เนินงานการ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive
พยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจของโรงพยาบาลชินเขต sampling) และผู้วิจัยรวบรวมข้อมูลจากผู้ป่วยโรคเร้ือรังท่ี
ในช่วงท่ีผ่านมาร่วมกับคณะกรรมการในทีมผู้ดูแลผู้ป่วย มีประวัติเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจท่ีอยู่ในระยะพักฟ้ืน 6-12
โรคหลอดเลือดหัวใจ เพ่ือรวบรวมข้อมูลและหาข้อเท็จจริง สัปดาห์แรก ภายหลังจำ�หน่ายออกจากโรงพยาบาล และ
เกี่ยวกับสภาพการณ์การดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจของ มาติดตามการรักษาท่ีโรงพยาบาลชินเขต ระหว่างเดือน
โรงพยาบาลชนิ เขต กรกฏาคม ถงึ เดอื นพฤศจกิ ายน พ.ศ. 2562 จากประชากร
2,481 คน (Chinnakhet hospital, 2019) โดยใช้สูตรขอ
วตั ถปุ ระสงค์การวิจยั Yamane (1970) ทกี่ �ำ หนดคา่ ความคลาดเคล่ือนเทา่ กบั 5%
หรือท่ีช่วงความเช่ือม่ัน 95% การวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยรวบรวม
1. พัฒนาระบบการพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือด ขอ้ มูลได้กล่มุ ตัวอย่างทงั้ ส้นิ 450 คน เลือกกลุ่มตวั อย่างแบบ
หัวใจในโรงพยาบาลชินเขต ตอ่ เนอ่ื ง การวจิ ยั ครงั้ นไ้ี มม่ แี บบสอบถามทไี่ มส่ มบรู ณแ์ ละไมม่ ี
2. ศึกษาสมรรถนะการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือด กลุ่มตัวอย่างท่ีปฏิเสธหรือขอถอนตัวออกจากโครงการวิจัย
หัวใจภายหลังการใช้ระบบการพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือด คิดเป็นกลุ่มตัวอย่างที่เข้าร่วม ร้อยละ 100 โดยกำ�หนด
หวั ใจในโรงพยาบาลชินเขต คุณสมบตั ิของกลมุ่ ตวั อยา่ งตามเกณฑ์ ดงั นี้
3. ศกึ ษาความพงึ พอใจของพยาบาลวชิ าชพี ตอ่ ระบบ เกณฑก์ ารคัดเขา้ ศึกษา (Inclusion criteria)
การพยาบาลผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ดหวั ใจในโรงพยาบาลชนิ เขต 1. เปน็ ผปู้ ว่ ยโรคเรอ้ื รงั ทมี่ ปี ระวตั เิ ปน็ โรคหลอดเลอื ด
4. ศึกษาความพึงพอใจของผู้ป่วยโรคหลอดเลือด หัวใจทอี่ ยูใ่ นระยะพักฟ้นื 6-12 สัปดาหแ์ รก ภายหลงั จำ�หน่าย
หัวใจต่อระบบการพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจใน ออกจากโรงพยาบาล มาตดิ ตามการรกั ษาในแผนกผปู้ ว่ ยนอก
โรงพยาบาลชินเขต โรงพยาบาลชนิ เขต

Vol 40. No 5, September-October 2021 Development of nursing system for coronary artery disease patients at 379

Chinnakhet Hospital in Bangkok

2. มีระดับความรู้สึกตัวและสติสัมปชัญญะปกติ เคร่ืองมือการวจิ ยั ทงั้ 3 สว่ น มีลักษณะคำ�ถามเป็น
สามารถสอื่ สารและเขา้ ใจภาษาไทยได้ดี มาตราสว่ นประมาณค่า (rating scale) 5 ระดบั คอื มากท่ีสุด
3. ไม่มีความจ�ำ เสอ่ื มหรือมปี ัญหาทางจิต มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด ใช้เกณฑ์การแปล
4. ไม่มีภาวะแทรกซ้อน เช่น มไี ข้สงู หนา้ มืด เวียน ความหมายดงั นี้ (บญุ ใจ ศรีสถิตยน์ รากรู , 2553)
ศีรษะ เป็นลม 4.51-5.00 หมายถงึ เหน็ ด้วยมากทส่ี ุด
5. ยนิ ดใี ห้ความร่วมมือและเข้าร่วมการวจิ ัย 3.51-4.50 หมายถงึ เหน็ ด้วยมาก
2.51-3.50 หมายถึง เห็นด้วยปานกลาง
เกณฑ์การคัดออกจากศึกษา (Exclusion criteria) 1.51-2.50 หมายถึง เหน็ ด้วยนอ้ ย
1. ผู้ป่วยที่เกิดภาวะแทรกซ้อนรุนแรงต้องเข้ารับ 1.00-1.50 หมายถงึ เหน็ ดว้ ยนอ้ ยท่ีสดุ
การรกั ษาเร่งดว่ นในระหว่างการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู การตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือ ผู้วิจัยได้นำ�แบบ
2. ผู้ป่วยท่ขี อถอนตวั ออกจากโครงการวจิ ัยระหวา่ ง ประเมนิ สมรรถนะพยาบาลวชิ าชพี ทดี่ แู ลผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ด
การเก็บรวบรวมข้อมูล หัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาลชนิ เขต ซงึ่ ผวู้ ิจยั ไดพ้ ัฒนา
มาจากแบบสอบถามของ เสาวนยี ์ เนาวพานชิ และคณะ (2558)
เครอื่ งมือท่ใี ช้ในการวจิ ัย แบบสอบถามความพึงพอใจต่อระบบการพยาบาลผู้ป่วย
แบ่งออกเป็น 3 สว่ น ดังน้ี โรคหลอดเลือดหัวใจของพยาบาลวิชาชีพ และแบบสอบถาม
สว่ นท่ี 1 แบบประเมินสมรรถนะพยาบาลวชิ าชพี ที่ ความพึงพอใจต่อการได้รับระบบการพยาบาลผู้ป่วยโรค
ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาล หลอดเลือดหัวใจ ผู้วิจัยได้พัฒนามากจากแบบสอบถามของ
ชนิ เขต ซง่ึ ผวู้ จิ ยั ไดด้ ดั แปลงมาจากแบบสอบถามของ เสาวนยี ์ แสงอรุณ ใจวงศ์ผาบ และคณะ (2563) เนื่องจากข้อคำ�ถาม
เนาวพานิช และคณะ (2558) ร่วมกับการทบทววรรณที่ ครอบคลุมงานวิจัย ผู้วิจัยจึงนำ�มาปรับให้สั้น กระชับ และ
เกี่ยวข้องมาใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล แบบสอบถาม นำ�มาใช้ในงานวิจัยน้ี ซ่ึงได้นำ�ไปหาค่า ความตรง (validity)
ประกอบด้วย 6 ด้าน จำ�นวน 35 ขอ้ ไดแ้ ก่ 1) ดา้ นความรูเ้ ร่ือง จากผู้เช่ียวชาญ 5 ท่าน ได้ค่า Index of item Objective
โรคหลอดเลอื ดหวั ใจ จ�ำ นวน 6 ขอ้ 2) การใหย้ าตา้ นเกลด็ เลอื ด Congruence--IOC .92, .94, .94 ตามลำ�ดับ และนำ�ไปหาค่า
และยาตา้ นการแขง็ ตวั ของเลอื ด จ�ำ นวน 5 ขอ้ 3) การพยาบาล ความเทย่ี ง (reliability) โดยน�ำ ไปทดลองใชก้ บั พยาบาลวชิ าชพี
ในหอผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ดหวั ใจ จ�ำ นวน 7 ขอ้ 4) การประเมนิ ทมี่ ลี กั ษณะคลา้ ยคลงึ กับกลุ่มตวั อยา่ ง จ�ำ นวน 10 คน และนำ�
และการจัดการในภาวะฉุกเฉิน จำ�นวน 7 ข้อ 5) การติดต่อ ไปหาค่าค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s
ประสานงาน จ�ำ นวน 5 ขอ้ และ 6) การวางแผนจำ�หนา่ ยและ alpha coefficient) เทา่ กับ .81, .83, และ .82 ส่วนด้านความรู้
การดแู ลตอ่ เนื่อง จำ�นวน 5 ข้อ ไดห้ าคา่ Reliability ด้วย Kuder-Richardson (KR-20) ไดค้ า่
ส่วนที่ 2 แบบสอบถามความพึงพอใจตอ่ ระบบการ เท่ากบั .81
พยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจของพยาบาลวิชาชีพ
ซ่ึงผู้วิจัยได้ดัดแปลงมาจากแบบสอบถามของ แสงอรุณ การพทิ กั ษ์สทิ ธิ์
ใจวงศผ์ าบ และคณะ (2563) มีจ�ำ นวน 5 ข้อ ประกอบด้วย การวิจัยน้ีได้ผ่านการรับรองจากคณะกรรมการ
1) ความพึงพอใจต่อสถานท่ีให้บริการ 2) ความเพียงพอ จรยิ ธรรมการวิจยั โรงพยาบาลชินเขต เมือ่ วนั ท่ี 25 มถิ นุ ายน
ของวัสดุอุปกรณ์ท่ีใช้ในการให้บริการ 3) ข้ันตอนของระบบ พ.ศ. 2562 รหัส โครงการ 015/2562 ผ้วู จิ ัยใหก้ ารพทิ กั ษ์สิทธ์ิ
การให้บริการมีความง่ายไม่ยุ่งยาก ซับซ้อน 4) อัตรากำ�ลัง กลมุ่ ตวั อยา่ งตลอดกระบวนการวจิ ยั ชแี้ จงวตั ถปุ ระสงคใ์ นการ
ของทีมสุขภาพที่ให้บริการ และ 5) ระบบการส่งต่อผู้ป่วยใน ศึกษาให้พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชินเขต
ภาวะฉุกเฉิน แบบเต็มเวลา ซึ่งพยาบาลวิชาชีพสามารถปฏิเสธเข้าร่วม
ส่วนที่ 3 แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการได้รับ การศึกษาโดยไม่เกิดผลกระทบใดๆ ต่อการปฏิบัติงานใน
ระบบการพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ ซ่ึงผู้วิจัยได้ โรงพยาบาลชนิ เขต และผปู้ ว่ ยในหอผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ดหวั ใจ
ดดั แปลงมาจากแบบสอบถามของ แสงอรณุ ใจวงศผ์ าบ และ หรอื ผปู้ ว่ ยโรคเรอ้ื รงั ทม่ี าตรวจตามนดั ของแพทย์ มปี ระวตั เิ ปน็
คณะ (2563) มีจำ�นวน 5 ขอ้ ประกอบด้วย 1) ความพงึ พอใจ โรคหลอดเลือดหัวใจที่มารับการรักษา ณ หน่วยตรวจผู้ป่วย
ตอ่ คณุ ภาพการใหบ้ รกิ าร 2) พฤตกิ รรมการใหบ้ รกิ าร 3) อาคาร นอก โรงพยาบาลชินเขต รบั ทราบ ขอความร่วมมือและความ
สถานที่ 4) การใหค้ �ำ ปรกึ ษาและค�ำ แนะน�ำ และ 5) การเขา้ ถึง ยินยอมในการเก็บรวบรวมข้อมูลการวิจัย ซึ่งกลุ่มตัวอย่าง
ระบบบรกิ ารได้ง่าย ไม่ยงุ่ ยากซบั ซอ้ น สามารถปฏเิ สธในการเขา้ ร่วมการวจิ ยั ได้ตลอดเวลา โดยไม่มี
ผลตอ่ การใหก้ ารพยาบาลที่จะไดร้ บั ผลการศกึ ษาท่ีได้ ผวู้ ิจัย

380 Suthat Supanam, Nisa Ruangkitudom, Sathaporn Manatsathit J Sci Technol MSU

จะเก็บเปน็ ความลับ จะไมม่ กี ารระบุ ช่อื -นามสกุล และไมน่ ำ� กลมุ่ ระดมสมอง ณ ห้องประชมุ แกว้ กลั ยา ชัน้ 1 โรงพยาบาล
เสนอเพ่ือก่อให้เกิดผลเสียต่อกลุ่มตัวอย่าง ภายหลังเสร็จส้ิน ชินเขต
การวจิ ยั แล้ว ขอ้ มลู ทั้งหมดจะถูกทำ�ลายเพ่อื เปน็ การคมุ้ ครอง 1.1 ผวู้ จิ ยั และทมี สหสาขาวชิ าชพี ไดท้ �ำ การทบทวน
สิทธ์ิของตัวอยา่ ง ศึกษาปัญหาเกี่ยวการพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจใน
2 ปีท่ีผ่านมา และตรวจสอบแฟม้ เวชระเบียนผปู้ ่วยโรคหลอด
การเก็บรวบรวมข้อมูล เลือดหัวใจที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลชินเขตตั้งแต่
ข้ันเตรยี มการ เดอื นสงิ หาคม พ.ศ. 2560 ถงึ กนั ยายน พ.ศ. 2562 และทำ�การ
1. ผวู้ จิ ยั ด�ำ เนนิ การท�ำ หนงั สอื ขออนมุ ตั โิ ครงการวจิ ยั ทบทวนเอกสารวิชาการท่ีเก่ียวข้องกับการพยาบาลผู้ป่วย
เสนอผอู้ �ำ นวยการโรงพยาบาลชนิ เขต เพอ่ื ขอความอนเุ คราะห์ โรคหลอดเลอื ดหัวใจ
ในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากพยาบาลวิชาชีพ ผู้ป่วย และ 1.2 กำ�หนดบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของ
ข้อมูลจากแฟ้มเวชระเบียนของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจท่ี คณะกรรมการพฒั นาระบบการพยาบาลผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ด
เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ และผู้ป่วย หัวใจ
โรคเรื้อรังที่มาตรวจตามนัดของแพทย์ ที่มีประวัติโรคหลอด 1.3 จัดประชุมคณะกรรมการและร่วมกันวิเคราะห์
เลือดหัวใจ ณ หน่วยตรวจผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลชินเขต สถานการณ์ ร่วมค้นหาปัญหา วิเคราะห์จุดแข็งและจุดอ่อน
ต้งั แต่เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2560 ถึงกนั ยายน พ.ศ. 2562 ของการพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจของโรงพยาบาล
2. เมอื่ ไดร้ บั การอนมุ ตั จิ ากผอู้ �ำ นวยการโรงพยาบาล ชนิ เขตทผ่ี า่ นมาในทกุ แผนก โดยการสงั เกตและการสมั ภาษณ์
ชินเขต ผู้วิจัยขออนุญาตหัวหน้ากลุ่มการพยาบาล หัวหน้า ในการใหบ้ ริการ
พยาบาลแผนกผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอก และพยาบาลวิชาชีพ 1.4 วเิ คราะหร์ ะบบการพยาบาลผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ด
เพื่อแนะนำ�ตัวและขอความร่วมมือในการวิจัย พร้อมชี้แจง หัวใจแบบเดิมที่ผ่านมา ร่วมกันวางแผนวิธีดำ�เนินงาน และ
วัตถุประสงคแ์ ละวธิ ดี �ำ เนนิ การวจิ ัย ท�ำ ความเขา้ ใจเก่ยี วกับระบบการดูแล พร้อมท้งั ร่วมพิจารณา
3. เม่ือหัวหน้ากลุ่มการพยาบาล หัวหน้าพยาบาล คัดเลือกกระบวนการท่ีจะนำ�มาใช้ในการพัฒนาระบบการ
แต่ละหอผู้ป่วยรับทราบและอนุญาตให้เก็บรวบรวมข้อมูล พยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจแบบใหม่
ผวู้ จิ ยั นำ�เครอื่ งมอื ทผ่ี า่ นการปรบั ปรงุ จากผทู้ รงคณุ วฒุ แิ ลว้ ไป 1.5 ก่อนดำ�เนินการวิจัยพัฒนาระบบการพยาบาล
ทดสอบความเชอื่ มนั่ กบั พยาบาลวชิ าชพี ทมี่ ลี กั ษณะคลา้ ยคลงึ ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ ผู้วิจัยได้ทำ�การพิทักษ์สิทธ์ิกลุ่ม
กบั กลมุ่ ตวั อยา่ ง ทแ่ี ผนกผปู้ ว่ ยในและผปู้ ว่ ยนอก โรงพยาบาล ตัวอย่างท้ังพยาบาลวิชาชีพ และผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ
ชนิ เขต จำ�นวน 10 คน หลังจากน้ันจึงเริ่มเก็บรวบรวมข้อมูลตามแบบสอบถาม
4. วิเคราะห์หาค่าความเช่ือมั่นของเครื่องมือวิจัย แตล่ ะชดุ
และท�ำ การปรบั ปรุงเครอื่ งมอื วิจยั ใหเ้ หมาะสม ข้ันตอนท่ี 2 : ดำ�เนินการตามวงจรของทฤษฎี
5. เมื่อได้ค่าความเชื่อมั่นของเคร่ืองมือไม่น้อยกว่า ระบบ (System theory) ต้ังแต่ เดอื นกรกฏาคม-พฤศจกิ ายน
0.8 ผู้วิจัยจึงนำ�เครื่องมือวิจัยไปเก็บรวบรวมข้อมูลกับกลุ่ม 2562 ประกอบดว้ ย 4 ระยะ ไดแ้ ก่ 1) การวางแผน (Planning)
ตวั อย่างจรงิ 2) ลงมือปฏิบัติการและเก็บรวบรวมข้อมูล (Acting)
3) สังเกตการณ์ปฏิบัติการ (Observing) 4) สะท้อนผลของ
ขั้นดำ�เนินการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล การปฏิบตั ิ (Reflecting) ซง่ึ มรี ายละเอียดในแตล่ ะระยะ ดังนี้
ผู้วิจัยนัดหมายประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบ ระยะท่ี 1 : การวางแผน (Planning) คณะกรรมการ
การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ จำ�นวน 11 คน พฒั นาระบบการพยาบาลผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ดหวั ใจ ไดป้ ระชมุ
ประกอบดว้ ย หวั หนา้ กลมุ่ การพยาบาล 1 คน หวั หนา้ พยาบาล วางแผนพัฒนาระบบการพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ
แผนกหอผู้ป่วยใน 1 คน หัวหน้าพยาบาลแผนกหอผู้ป่วย ของโรงพยาบาลชินเขต และเช่ือมโยงระบบการพยาบาล
นอก 1 คน พยาบาลวิชาชพี 5 คน อายรุ แพทย์ 2 คน และ รว่ มกบั การรกั ษา และการสง่ ตอ่ ผปู้ ว่ ยระหวา่ งหนว่ ยงานภายใน
นกั กายภาพ 1 คน ใช้การดำ�เนินงานวจิ ยั เชิงปฏิบัตกิ ารแบบ และภายนอกโรงพยาบาล ทำ�แผนพัฒนาร่างแนวทางการ
มสี ่วนรว่ ม (Participatory action research) มี 3 ขัน้ ตอน คือ ส่งต่อ จัดทำ�แผนการฝึกอบรมการพยาบาลผู้ป่วยโรค
วเิ คราะหส์ ถานการณ์ ปฏิบัตกิ ารหรือดำ�เนนิ การวิจยั และการ หลอดเลือดหัวใจให้แก่พยาบาลและทีมสหสาขาวิชาชีพ
ประเมินผลลัพธ์ รว่ มกับการใช้ทฤษฏีระบบ ซึง่ มรี ายละเอยี ด สร้างเครือข่ายกับโรงพยาบาลชุมชน และพัฒนาระบบ
ดังน้ี สารสนเทศของโรงพยาบาลชนิ เขต
ขน้ั ตอนที่ 1 : วิเคราะห์สถานการณก์ ่อนดำ�เนนิ การ
วจิ ยั ในเดอื นกรกฏาคม 2561-มถิ นุ ายน 2562 โดยการประชมุ

Vol 40. No 5, September-October 2021 Development of nursing system for coronary artery disease patients at 381

Chinnakhet Hospital in Bangkok

ระยะที่ 2 : ลงมือปฏิบตั กิ ารและเก็บรวบรวมข้อมลู สิงหาคม ถึงเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2563 ท้ังนี้เพื่อพัฒนา
(Acting) เป็นขั้นตอนของการนำ�แผนไปสู่การปฏิบัติ ซึ่งมี ระบบการพยาบาลผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ดหวั ใจใหม้ คี วามชดั เจน
การพัฒนาระบบการพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจใน มากขึ้นและเหมาะสมกับบริบทของโรงพยาบาลชนิ เขตดว้ ย
โรงพยาบาลชนิ เขต ณ แผนกผปู้ ว่ ยใน โดยมกี ารจดั ตง้ั หอผปู้ ว่ ย ระยะที่ 4 : สะท้อนผลของการปฏิบัติ (Reflecting)
โรคหลอดเลือดหัวใจ ใช้พื้นท่ีในหอผู้ป่วยอายุรกรรมท่ัวไปท่ี ในระยะน้ีทางผู้วิจัยและคณะกรรมการพัฒนาระบบการ
มอี ยเู่ ดมิ ท่ีช้นั 4 จำ�นวน 10 เตียง สำ�หรับรับผู้ปว่ ยโรคหลอด พยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ ได้มีการจัดกิจกรรม
เลือดหัวใจ จำ�นวน 6 เตียง เพ่ือแบ่งสัดส่วนการดูแลผู้ป่วย สนทนากลมุ่ เพอ่ื สะทอ้ นคดิ รว่ มกนั ของทกุ สว่ นงานทมี่ สี ว่ นรว่ ม
ที่ชัดเจนมากข้ึนมีการจัดเตรียมอุปกรณ์ทางการแพทย์ และ ในการดแู ลผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ดหวั ใจ หลงั จากนนั้ ผวู้ จิ ยั ท�ำ การ
แต่งตั้งพยาบาลผู้จัดการผู้ป่วยรายกรณี (Case manager) เก็บรวบรวมข้อมูล โดยการประเมินสมรรถนะการดูแลผู้ป่วย
หลงั จากนนั้ ไดม้ กี ารประเมนิ สมรรถนะการดแู ลผปู้ ว่ ยโรคหลอด โรคหลอดเลือดหัวใจและความพึงพอใจต่อระบบการพยาบาล
เลือดหัวใจของพยาบาลวิชาชีพ โดยแบบประเมินสมรรถนะ ผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ดหวั ใจในโรงพยาบาลชนิ เขตของพยาบาล
ให้พยาบาลวิชาชีพตอบข้อมูลและส่งกลับให้คณะผู้วิจัย เพื่อ วิชาชพี จ�ำ นวน 15 คน
ทำ�การเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ผล ขน้ั ตอนท่ี 3 : การประเมนิ ผลลพั ธ์ ทางผวู้ จิ ยั ด�ำ เนนิ
คณะกรรมการพัฒนาระบบการพยาบาลผู้ป่วยโรค การประเมินผลลัพธ์ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2563 เป็นการ
หลอดเลือดหัวใจ โรงพยาบาลชินเขต ได้จัดทำ�แผนการดูแล ประเมินผลการดำ�เนินงาน ซึ่งเป็นไปตามแผนงานกิจกรรม
ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ เพ่ือพัฒนาองค์ความรู้และฝึก ทที่ างคณะกรรมการพฒั นาระบบการพยาบาลผปู้ ว่ ยโรคหลอด
ทักษะการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ ให้กับพยาบาล เลือดหวั ใจก�ำ หนดไว้ โดยใช้วงจรปฏบิ ัติการ 1 รอบวงจร
วชิ าชพี และพยาบาลผ้จู ดั การผ้ปู ่วยรายกรณี จำ�นวน 15 คน การวิเคราะห์ขอ้ มูล
โดยใหค้ วามรเู้ กยี่ วกบั พยาธสิ ภาพการเกดิ เรอื่ งโรคหลอดเลอื ด ผู้วิจัยใช้การวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมสำ�เร็จรูป
หวั ใจ อาการและอาการแสดง การวนิ จิ ฉยั โรค การรกั ษาดว้ ย (SPSS) วเิ คราะหโ์ ดยใชส้ ถติ พิ รรณนา (Descriptive statistics)
วธิ ตี า่ งๆ ไดแ้ ก่ การใหย้ าตา้ นเกลด็ เลอื ดและยาตา้ นการแขง็ ตวั ได้แก่ การแจกแจงความถ่ี ร้อยละ ค่าเฉลี่ย พิสัย และส่วน
ของเลอื ด การพยาบาลผปู้ ว่ ยในหอผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ดหวั ใจ เบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติอนุมานใช้การทดสอบ t-test
การประเมินและการจัดการภาวะฉุกเฉินที่มีโอกาสเกิดขึ้นกับ โดยกำ�หนดระดับนัยสำ�คัญท่รี ะดับ p < 0.05
ผู้ป่วย เพื่อทำ�ให้พยาบาลวิชาชีพมีความม่ันใจในองค์ความรู้
และมีทักษะในการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจมากขึ้น ผลการวจิ ัย
นอกจากนี้พยาบาลผู้จัดการผู้ป่วยรายกรณี มีบทบาทสำ�คัญ
ในการส่ือสาร ติดต่อประสานงาน การวางแผนการพยาบาล ข้ันตอนท่ี 1 ผลจากการวิเคราะห์สถานการณ์ก่อน
ผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ดหวั ใจกอ่ นจ�ำ หนา่ ยกลบั บา้ น โดยใชห้ ลกั การพัฒนาระบบการพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ
D-METHOD และวางแผนการดูแลต่อเนื่องในโรงพยาบาล โรงพยาบาลชินเขตในช่วง 2 ปีท่ีผ่านมา มีรายละเอียดใน
ชุมชน ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้ป่วยในระยะก่อน การศกึ ษา 5 ด้าน พบวา่ 1) ดา้ นอาคารสถานท่ี โรงพยาบาล
จำ�หน่ายออกจากโรงพยาบาล ในระยะท่ี 2 น้ีใช้เวลานาน 5 ชินเขต ยังไม่มีหอผู้ป่วยท่ีให้บริการผู้ป่วยโรคหลอดเลือด
เดือน หัวใจโดยเฉพาะ 2) ด้านวัสดุ อุปกรณ์ทางการแพทย์ ทาง
ระยะท่ี 3 : สังเกตการณ์ปฏิบัติการ (Observing) โรงพยาบาลยังมีไม่เพียงพอต่อจำ�นวนของท่ีเข้ารับบริการ
ผู้วิจัยทำ�การติดตามระบบการพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือด 3) ด้านขั้นตอนของระบบการให้บริการและสมรรถนะของ
หัวใจของโรงพยาบาลชินเขต โดยการสังเกต สัมภาษณ์ พยาบาล ที่ผ่านมา โรงพยาบาลชินเขต ยังไม่มีระบบการ
ให้คำ�ปรึกษาและคำ�แนะนำ�แก่พยาบาลวิชาชีพและพยาบาล ให้การพยาบาลผู้ปว่ ยท่ีมปี ญั หาโรคหลอดเลือดหัวใจท่ชี ัดเจน
ผจู้ ดั การผปู้ ว่ ยรายกรณี ในการใหก้ ารพยาบาลผปู้ ว่ ยโรคหลอด 4) ด้านอัตรากำ�ลังของทีมสุขภาพท่ีให้บริการ โรงพยาบาล
เลอื ดหัวใจของโรงพยาบาลชินเขต ในระยะที่ 3 นใ้ี ชเ้ วลานาน ชนิ เขต มจี �ำ นวนบคุ ลากรจ�ำ กดั การดแู ลใหก้ ารพยาบาลผปู้ ว่ ย
1 ปี ตง้ั แต่เดือน ธนั วาคม พ.ศ. 2562 ถึงเดือน พฤศจกิ ายน โรคหลอดเลอื ดหวั ใจยงั ไมม่ มี าตรฐาน ไมม่ แี นวทางการปฏบิ ตั ิ
พ.ศ. 2563 โดยทางคณะกรรมการฯ มีการประเมินผลการ ท่ีดีท่ีสามารถใช้เป็นกรอบการปฏิบัติงาน 5) ด้านระบบการ
ดำ�เนินงานเป็นระยะและนำ�ข้อเสนอแนะในแต่ละคร้ังมา ส่งต่อผู้ป่วย โรงพยาบาลชินเขต มีการติดต่อประสานงาน
ปรับปรุงและพัฒนาต่อ กำ�หนดการประเมิน คร้ังที่ 1 เดือน ด้านการพยาบาลในแตล่ ะแผนกยังไม่ดีเทา่ ท่คี วร บุคลากรใน
ธนั วาคม พ.ศ. 2562 ถงึ เดอื นมนี าคม พ.ศ. 2563 ครง้ั ที่ 2 เดอื น ทีมสุขภาพทำ�งานไม่ประสานกัน อีกทั้งระบบสารสนเทศของ
เมษายน ถงึ เดอื นกรกฏาคม พ.ศ. 2563 และคร้ังท่ี 3 เดอื น โรงพยาบาลชินเขตยังไมไ่ ด้รบั การพฒั นา

382 Suthat Supanam, Nisa Ruangkitudom, Sathaporn Manatsathit J Sci Technol MSU

ขน้ั ตอนท่ี 2 ผลการพฒั นาระบบการพยาบาลผปู้ ว่ ย พยาธสิ ภาพการเกดิ โรคหลอดเลอื ดหวั ใจ พยาบาลจ�ำ เปน็ ตอ้ ง
โรคหลอดเลอื ดหวั ใจ โรงพยาบาลชินเขต ทราบถึงสาเหตุและปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคหลอดเลือด
ทางโรงพยาบาลชินเขตได้จัดสรรให้มีพยาบาล หัวใจที่ครอบคลุม ท้ังปัจจัยท่ีผู้ป่วยสามารถควบคุมได้และ
วิชาชีพดูแลผู้ป่วยเฉพาะราย โดยให้การดูแลและติดตามผล ไมส่ ามารถควบคมุ ได้ รวมถงึ ปจั จยั กระตนุ้ การเกดิ โรคทท่ี �ำ ให้
ภายหลังปฏิบัติการพยาบาลตามกระบวนการพยาบาล ซ่ึง อาการและอาการแสดงของโรคเกิดข้ึนเฉียบพลัน ทราบการ
ก�ำ หนดใหม้ แี นวทางการปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลในการดแู ลผปู้ ว่ ย วินิจฉัยโรคและแนวทางการรักษาโรค นอกจากนี้พยาบาล
ทเ่ี ป็นไปในทศิ ทางเดียวกนั มีรายละเอียดดงั นี้ สามารถระบุแนวทางการประเมินคัดกรองผู้ป่วยโรคหลอด
1) โรงพยาบาลชนิ เขต มกี ารจัดการเผยแพรค่ วามรู้ เลือดหัวใจได้อย่างถูกต้อง สามารถให้การพยาบาลผู้ป่วยท่ี
ให้แก่ผปู้ ่วย ผู้รับบรกิ าร และประชาชนทว่ั ไปในเชงิ รุกมากขนึ้ มีภาวะหลอดเลือดหัวใจตีบและอุดตันได้ครอบคลุมในแต่ละ
โดยเนอ้ื หาท่ีนำ�มาเผยแพร่ เปน็ เน้ือหาท่ีเกีย่ วขอ้ งกับการเกดิ ปญั หา อกี ทง้ั พยาบาลมบี ทบาทส�ำ คญั ในการวางแผนจ�ำ หนา่ ย
โรคหลอดเลอื ดหวั ใจ พยาธสิ ภาพการเกดิ โรค สาเหตแุ ละปจั จยั ผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาล ให้การดูแลต่อเนื่องเมื่อผู้ป่วย
เสยี่ ง รวมถงึ ปจั จยั กระตนุ้ การเกดิ โรค อาการและอาการแสดง พกั รกั ษาตวั ทบี่ า้ น และใหก้ ารดแู ลผปู้ ว่ ยเมอ่ื เขา้ สวู่ าระสดุ ทา้ ย
การวินิจฉัยโรค การรักษาโรค และการพยาบาลที่ผู้ป่วยต้อง ของชวี ิตได้
ได้รับ เพือ่ ใหผ้ ู้ปว่ ย ผู้รับบริการ และประชาชนทั่วไปมีความ 5) โรงพยาบาลชนิ เขต มรี ะบบการตดิ ตามดแู ลผปู้ ว่ ย
ตระหนักและเห็นความสำ�คัญของการเฝ้าระวังและการดูแล อย่างต่อเน่ือง ภายหลังจำ�หน่ายผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาล
ตนเองมากขน้ึ เพื่อประเมินและติดตามการดูแลตนเองของผู้ป่วยและญาติ
2) ทางโรงพยาบาลชนิ เขต ไดจ้ ดั ทำ�สอ่ื โปสเตอรแ์ ละ ผ้ดู ูแลผู้ปว่ ยทบี่ า้ น ภายหลังพยาบาลให้ความรแู้ ละคำ�แนะน�ำ
ประชาสัมพันธ์ช่องทางการเข้ารับบริการแบบฉุกเฉิน (Fast ตาม D-METHOD ในช่วงก่อนจำ�หน่ายผู้ป่วยออกจาก
track) เม่ือเกิดอาการท่ีบ่งชี้อาการของโรคหลอดเลือดหัวใจ โรงพยาบาล ท้ังนี้ ไดต้ ดิ ตอ่ อสม และผูน้ �ำ ชุมชน ในการเขา้
เช่น อาการเจบ็ หนา้ อก หายใจเหน่ือย นอนราบไมไ่ ด้ หรอื มี เย่ียมและประเมินการดูแลตนเองของผู้ป่วยและญาติผู้ดูแล
ภาวะหัวใจหยดุ เตน้ เฉยี บพลัน เพ่ือให้ผ้ปู ่วย ผรู้ ับบรกิ าร และ เปน็ ระยะ หากมปี ญั หาสามารถตดิ ตอ่ มาทโ่ี รงพยาบาลชนิ เขต
ประชาชนทั่วไปรับทราบ และเข้าถึงการเข้ารับได้ทันถ่วงที เพ่อื ขอค�ำ แนะน�ำ ในการดแู ลผปู้ ่วยแต่ละรายได้
ทั้งน้ีเพื่อให้ผู้ป่วย ผู้รับบริการ และประชาชนมีความม่ันใจ 6) พยาบาลวิชาชีพ มีหน้าท่ีประเมินและคัดกรอง
ในระบบการดแู ลรกั ษาและการพยาบาลผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ด ภาวะสุขภาพของผู้ป่วยหรือผู้ที่เข้ารับบริการตามหลัก
หวั ใจ โรงพยาบาลชินเขตมากขนึ้ กระบวนการพยาบาล ให้การดูแลผู้ป่วยต้ังแต่แรกรับเข้า
3) โรงพยาบาลชนิ เขตมกี ารจดั ท�ำ แนวทางการสง่ ตอ่ รกั ษาจนถงึ วางแผนจ�ำ หนา่ ยผปู้ ว่ ยออกจากโรงพยาบาล ทง้ั นี้
ผปู้ ว่ ยในกรณที เ่ี กดิ ภาวะฉกุ เฉนิ ทางหวั ใจเพอ่ื ไปรบั การรกั ษา โรงพยาบาลชินเขตได้จัดทำ�แฟ้มข้อมูลเพื่อส่งต่อให้แก่ทีม
ต่อที่โรงพยาบาลต้นสังกัดหรือหน่วยงานท่ีทางโรงพยาบาล สุขภาพและวางแผนการดูแลต่อเนื่องกับทีมสหสาขาวิชาชีพ
ชินเขตได้ติดต่อประสานงานไว้ นอกจากนี้ทางโรงพยาบาล ในขณะท่ีเขา้ รบั การรักษาในโรงพยาบาล รว่ มกบั เกบ็ รวมรวบ
ไดม้ กี ารจดั ท�ำ แนวปฏบิ ตั ใิ นการคดั กรองผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ด ข้อมูลผู้ป่วยและปรึกษาวางแผนร่วมกันถึงภาวะของโรคที่
หวั ใจ ณ หน่วยตรวจผปู้ ว่ ยนอกและท่หี อ้ งฉกุ เฉิน เมือ่ ผปู้ ่วย ยังคงอยู่ ส่วนใหญ่เป็นภาวะทางจิตใจ ได้แก่ ความเครียด
มอี าการท่ีเกีย่ วข้องกบั โรคหลอดเลอื ดหัวใจ เช่น เจบ็ หนา้ อก ความวิตกกังวล ท่ีเกิดขึ้นภายหลังเกิดโรค เพื่อป้องกันการ
หายใจเหนื่อย นอนราบไม่ได้ ร่วมกับการซักประวัติ ตรวจ กลับเป็นซ้�ำ ของโรคทร่ี นุ แรง
ร่างกาย และผลตรวจทางห้องปฏิบัตกิ ารหากมคี วามผดิ ปกติ นอกจากนี้ทางโรงพยาบาลชินเขต มีนักกายภาพ
ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั โรคหลอดเลอื ดหวั ใจ หากผปู้ ว่ ยมอี าการรนุ แรง บำ�บัด ประเมินและให้คำ�แนะนำ�แก่ผู้ป่วยในการฟื้นฟู
แพทยจ์ ะพจิ ารณาสง่ ตวั ผปู้ ว่ ยไปรบั การรกั ษาตอ่ ทโ่ี รงพยาบาล สมรรถภาพของหวั ใจผ้ปู ่วยภายหลงั การเกดิ โรค เพอ่ื ปอ้ งกัน
ต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่ทางโรงพยาบาลได้ติดต่อประสาน การเกิดซ้ำ�ของโรคท่ีรุนแรง รวมท้ังฝึกทักษะผู้ป่วยเกี่ยว
งานไว้ทนั ที กับการออกกำ�ลังกายตามความทนของร่างกายที่ผู้ป่วยจะ
4) ทางโรงพยาบาลชินเขต มีการจัดทำ�แนวปฏิบัติ สามารถรับได้ และค่อยเพิ่มความหนักและระยะเวลาให้มาก
การพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ เพื่อเพ่ิม ขึ้น ร่วมกบั การออกกำ�ลงั กายแบบใชอ้ อกซเิ จน เชน่ การป่นั
สมรรถนะของพยาบาลใหม้ คี วามรู้ ความเข้าเกย่ี วกบั โรคมาก จักรยานอย่กู บั ท่ี การเดินเร็ว เป็นต้น ทำ�ให้ปริมาณออกซเิ จน
ขึ้น และวางแผนการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจในระยะ เข้าสู่ร่างกายได้มากข้ึน จนผู้ป่วยสามารถดูแลตนเองต่อที่
ยาว ซึ่งรายละเอียดประกอบด้วย การเข้าใจความหมายและ บา้ นได้

Vol 40. No 5, September-October 2021 Development of nursing system for coronary artery disease patients at 383

Chinnakhet Hospital in Bangkok

ผลการวิเคราะห์สมรรถนะการดูแลผู้ป่วยโรคหลอด ทางสถิตทิ ร่ี ะดบั < .001 และเมื่อพจิ ารณาสมรรถนะการดูแล
เลือดหัวใจของพยาบาลวิชาชีพ ภายหลังการใช้ระบบการ ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจรายด้าน พบว่า กลุ่มตัวอย่างมี
พยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ พยาบาลวิชาชีพมี คะแนนเฉลยี่ สมรรถนะดา้ นการพยาบาลผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ด
สมรรถนะการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ โรงพยาบาล หวั ใจสูงสดุ รองลงมา คอื สมรรถนะด้านการให้ยาตา้ นเกล็ด
ชินเขต โดยรวมและรายด้านทั้ง 6 ด้าน สูงกว่าก่อนการใช้ เลือดและยาต้านการแข็งตัวของเลือด และด้านความรู้เรื่อง
ระบบการพยาบาลผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ดหวั ใจ อยา่ งมนี ยั ส�ำ คญั โรคหลอดเลอื ดหวั ใจ ดัง Table 1

Table 1 Comparison of care competence for coronary heart disease patients, Overall and separated issues of
professional nurse. Before and after using the nursing care system for coronary heart disease patients
(n = 15)

Professional nurse competence Before After t p-value
Mean S.D. Mean S.D.

1. Knowledge of coronary heart disease 1.88 0.67 4.28 0.88 16.22 0.001**

2. Anticoagulants and Antiplatelet Drugs 1.67 0.42 4.32 0.94 16.45 < 0.001

3. Nursing care of patients with coronary heart disease 1.73 0.54 4.56 0.98 17.31 < 0.001

4. Emergency Assessment & Management 1.83 0.63 3.87 0.78 18.44 0.002**

5. organization contacts 1.72 0.52 3.82 0.75 17.51 0.007**

6. continuing care and discharge planning 1.74 0.58 3.93 0.82 19.32 0.028*

Total 1.76 0.56 4.13 0.85 17.54 < 0.001
NOTE : ** p < 0.01 * p < 0.05

ผลการวเิ คราะหค์ ะแนนเฉลย่ี ความพงึ พอใจตอ่ ระบบ ของพยาบาลวชิ าชพี ภายหลงั การน�ำ ระบบการพยาบาลผปู้ ว่ ย
การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจของพยาบาลวิชาชีพ โรคหลอดเลอื ดหวั ใจ โรงพยาบาลชนิ เขต ไปใช้ รายดา้ น พบวา่
ภายหลงั การน�ำ ระบบการพยาบาลผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ดหวั ใจ กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนเฉลี่ยด้านสถานที่ให้บริการ สูงสุด
โรงพยาบาลชนิ เขต ไปใช้ โดยรวมอยใู่ นระดบั มาก (M = 3.69, รองลงมา คือ ด้านระบบการส่งต่อผู้ป่วยในภาวะฉุกเฉิน
SD = .59) และเมอื่ พิจารณาคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจของ ตามลำ�ดบั ดัง Table 2
กลมุ่ ตวั อยา่ งตอ่ ระบบการพยาบาลผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ดหวั ใจ

Table 2 The average score of professional nurse satisfaction towards the nursing care system for coronary heart
disease patients after the implementation of Chinnakhet Hospital's t nursing care system for coronary heart
disease patients. (n = 15)

Satisfaction of Professional Nurses Satisfaction Level
Satisfaction Category Mean S.D. Interpretation

1. Place satisfaction 3.84 0.68 High

2. Satisfaction of materials and equipment used in the service 3.73 0.71 High

3. The process of the service is simple and uncomplicated 3.52 0.47 High

4. The number of staffs is sufficient 3.57 0.49 High

5. Emergency referral system 3.78 0.62 High

Total 3.69 0.59 High

384 Suthat Supanam, Nisa Ruangkitudom, Sathaporn Manatsathit J Sci Technol MSU

ผลการวิเคราะห์คะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจของ ผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ดหวั ใจ ภายหลงั การนำ�ระบบการพยาบาล
ผู้ป่วยต่อการได้รับระบบการพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือด ผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ดหวั ใจ โรงพยาบาลชนิ เขต ไปใช้ รายดา้ น
หัวใจ ภายหลังการนำ�ระบบการพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอด พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนเฉล่ียด้านการให้คำ�ปรึกษาและ
เลือดหวั ใจ โรงพยาบาลชนิ เขต ไปใช้ โดยรวมอยใู่ นระดับมาก ค�ำ แนะน�ำ สูงสุด รองลงมา คือ ด้านพฤตกิ รรมการให้บรกิ าร
(M = 3.98, SD = .67) และเมื่อพิจารณาคะแนนเฉลี่ยความ ตามลำ�ดับ ดงั Table 3
พึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างต่อการได้รับระบบการพยาบาล

Table 3 The average score of patients towards the nursing care system for coronary heart disease patients after
the implementation of Chinnakhet Hospital's t nursing care system for coronary heart disease patients.
(n = 450)

Satisfaction of Patients Satisfaction Level
Mean S.D. Interpretation

Satisfaction Category

1. Satisfaction of service quality 3.86 0.72 High

2. Staff’s Behavior 4.42 0.83 High

3. Satisfaction of Place 3.61 0.53 High

4. Satisfaction of consultant and recommendation 4.53 0.89 Very High

5. The process of the service is simple and uncomplicated 3.49 0.38 Intermediate

Total 3.98 0.67 มาก

อภิปรายผล การพยาบาล เพื่อติดตามและเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนใน
การพัฒนาระบบการพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือด ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจที่ได้รับยาต้านเกล็ดเลือดและ
ยาต้านการแข็งตัวของเลือดได้ดีมากขึ้น มีการประเมินผู้ป่วย
หัวใจ โรงพยาบาลชินเขต โดยใช้กรอบแนวคิดการวิจัยเชิง เป็นระยะ เพื่อเฝ้าระวังอาการไม่พึงประสงค์ เช่น เจ็บแน่น
ปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม ร่วมกับกรอบแนวคิดทฤษฏีระบบ หน้าอกมากข้ึน หายใจเหน่ือยมากขึ้นและหายใจลำ�บาก
ประกอบดว้ ย 3 ขน้ั ตอนหลกั คอื วเิ คราะหส์ ถานการณ์ ปฏบิ ตั ิ เป็นต้น หากผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจมีอาการดังกล่าวเกิด
การหรือดำ�เนินการวิจัย และการประเมินผลลัพธ์ ซ่ึงเป็น ข้ึน พยาบาลวิชาชีพทราบแนวทางในการติดต่อประสานงาน
กระบวนการที่เช่ือมโยงในการปฏิบัติ ไม่สามารถแยกส่วนใน กบั ทมี สขุ ภาพไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ เพอ่ื สง่ ตอ่ ผปู้ ว่ ยไปรบั การรกั ษา
การพัฒนาได้ และเม่ือแต่ละส่วนได้รับการพัฒนาโดยมีการ ต่อที่โรงพยาบาลต้นสังกัดได้ทันเวลา ส่วนในกรณีที่ผู้ป่วยมี
ทำ�งานร่วมกันท้ังพยาบาลวิชาชีพ และทีมสหสาขาวิชาชีพ อาการคงที่หรืออาการดีขึ้น พยาบาลวิชาชีพมีบทบาทหน้าท่ี
มากขนึ้ สง่ ผลใหก้ ารพฒั นาระบบการพยาบาลผปู้ ว่ ยโรคหลอด สำ�คัญในการวางแผนจำ�หน่ายผู้ป่วยตามหลัก D-METHOD
เลือดหัวใจ มีความสอดคล้องกับบริบทการดูแลผู้ป่วยของ ซ่ึงกระบวนการน้ีเป็นกระบวนการท่ีเกิดข้ึนก่อนท่ีผู้ป่วยจะ
โรงพยาบาลชินเขต ท้ังนี้สามารถดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือด ถูกจำ�หน่ายออกจากโรงพยาบาล เพ่ือให้ผู้ป่วยโรคหลอด
หัวใจไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ดังรายละเอยี ดต่อไปน้ี เลือดหัวใจสามารถกลับไปดูแลจัดการตนเองที่บ้านได้อย่าง
สมรรถนะการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจของ เหมาะสม และลดการเกิดการกำ�เริบซ้ำ�ของโรครุนแรงและ
พยาบาลวชิ าชพี ภายหลงั การใชร้ ะบบการพยาบาลผปู้ ว่ ยโรค เปน็ อันตรายแก่ชวี ิต
หลอดเลือดหวั ใจ โรงพยาบาลชินเขต พบว่า พยาบาลวิชาชีพ ภายหลังการดูแลผู้ป่วยด้วยระบบการพยาบาล
มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เก่ยี วกบั พยาธิสภาพ และกลไกการเกดิ ผ้ปู ว่ ยโรคหลอดเลือดหวั ใจของพยาบาลวชิ าชพี พบว่า ความ
โรคหลอดเลือดหัวใจมากขึ้น ท้ังสาเหตุ ปัจจัยเส่ียง อาการ พงึ พอใจโดยรวมอยใู่ นระดบั มาก เนอ่ื งจากภายหลงั การพฒั นา
และอาการแสดงที่จะเกิดข้ึนกับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ ระบบทำ�ให้โรงพยาบาลมีสถานที่ที่ใช้ในการดูแลผู้ป่วยโรค
พยาบาลวิชาชีพให้การดูแลผู้ป่วยได้ครอบคลุมตามปัญหาท่ี หลอดเลือดหัวใจท่ีชัดเจน โรงพยาบาลมีการเตรียมความ
เกดิ ขน้ึ จรงิ และสามารถพยากรณโ์ รคหรอื ปญั หาทอี่ าจเกดิ ขนึ้ พร้อมด้านวัสดุอุปกรณ์ในการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ
กับผู้ป่วยได้ นอกจากน้ีพยาบาลวิชาชีพยังสามารถวางแผน


Click to View FlipBook Version