The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sciencemsu2021, 2021-11-15 03:39:37

No 40 issue 5

No 40 issue 5

Vol 40. No 5, September-October 2021 Development of nursing system for coronary artery disease patients at 385

Chinnakhet Hospital in Bangkok

มากข้ึน เช่น เคร่ืองตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ เครื่องควบคุม ในการเปล่ียนแปลงระบบการปฏิบัติการพยาบาลในคร้ังนี้
อัตราหยดของสารนำ้�ทางหลอดเลือดดำ� และจอแสดงผล และควรมกี ารเสรมิ แรงทางบวกในการยกยอ่ งชมเชย บคุ ลากร
ติดตามคล่ืนไฟฟ้าหัวใจของผู้ป่วยแต่ละเตียง เป็นต้น ทำ�ให้ ในหน่วยงานท่ีปฏิบัติงานตามระบบได้เป็นอย่างดี เพ่ือสร้าง
พยาบาลวิชาชีพสามารถนำ�อุปกรณ์ต่างๆ มาใช้ในการดูแล กำ�ลังใจให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน และเกิดการพัฒนาการพยาบาล
ผปู้ ว่ ยทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ และไดม้ าตรฐานวชิ าชพี ทง้ั นพ้ี ยาบาล ผู้ป่วยโรคหลอดเลอื ดหวั ใจท่ีย่งั ยนื
วิชาชีพทราบขั้นตอนของระบบการส่งต่อผู้ป่วยในกรณีที่เกิด 2. ควรใหญ้ าตผิ ดู้ แู ลหรอื ผดู้ แู ลหลกั เขา้ มามสี ว่ นรว่ ม
ภาวะฉุกเฉินชัดเจน และมีการทำ�งานร่วมกับทีมสหสาขา ในการดแู ลผปู้ ว่ ย เพือ่ ให้ผู้ป่วยโรคหลอดเลอื ดหวั ใจได้รบั การ
วชิ าชพี มากขนึ้ ท�ำ ใหร้ ะบบการพยาบาลผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ด ดูแลต่อเน่ืองภายหลังจำ�หน่ายออกจากโรงพยาบาล อกี ท้ังยัง
หัวใจเป็นไปในทศิ ทางเดยี วกัน ต้องส่งเสริมสมรรถนะการดูแลในญาติผู้ดูแลหรือผู้ดูแลหลัก
ภายหลังการดูแลผู้ป่วยโดยใช้ระบบการดูแลผู้ป่วย เพ่ือฟน้ื ฟสู ภาพผู้ปว่ ยทบ่ี ้านดว้ ย
โรคหลอดเลือดหัวใจ โรงพยาบาลชินเขต พบว่า ผู้ป่วยท่ี
ได้รับการดูแลมีความพึงพอใจในระบบการให้บริการของ ข้อเสนอแนะในการทำ�วิจัยครงั้ ต่อไป
โรงพยาบาลชนิ เขตอยใู่ นระดบั มาก เนอ่ื งจากทางโรงพยาบาล การศึกษาวิจัยในครั้งต่อไปควรศึกษาผลของการ
มีการให้บริการท่ีเป็นระบบเป็นข้ันตอนที่ชัดเจนมากข้ึน ใช้
ระยะเวลาในการรอเข้ารับการรักษาไม่นานมาก ทำ�ให้ผู้ป่วย พัฒนาระบบการบริการท่ีครอบคลุมการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจ
เขา้ รบั การรกั ษาไดท้ นั ทว่ งที ไมเ่ กดิ ภาวะแทรกซอ้ น และไดร้ บั ชนิดอ่ืนๆ การพัฒนาระบบระบบเครือข่าย และการติดตาม
การบริการทไี่ ดม้ าตรฐานวชิ าชีพมากขึน้ นอกจากน้ีพยาบาล ผลต่อเนื่องในชุมชน เพื่อให้มีความชัดเจนในการดูแลผู้ป่วย
วิชาชีพได้ให้คำ�ปรึกษาและคำ�แนะนำ�เก่ียวกับอาการและ เชงิ รุก
อาการแสดงทเ่ี กดิ ขน้ึ เปน็ อยา่ งดี มกี ารแนะน�ำ ใหผ้ ปู้ ว่ ยสงั เกต
อาการของตนเองเบื้องต้น หากผู้ป่วยมีอาการเจ็บแน่นกลาง เอกสารอ้างอิง
หน้าอกรุนแรง หายใจเหน่ือย หายใจลำ�บากมากข้ึน แนะนำ�
ใหญ้ าติน�ำ ผูป้ ว่ ยมาโรงพยาบาลทนั ที กระทรวงสาธารณสขุ กรมควบคุมโรค. (2563). ค่มู อื ส�ำ หรบั
งานวจิ ยั นส้ี อดคลอ้ งกบั การศกึ ษาของนติ ยาชนะกอก การดแู ลผปู้ ว่ ยโรคหวั ใจ. พมิ พค์ รงั้ ที่ 6. กรงุ เทพฯ: พ.ี เอ.
(2561) และเสาวนีย์ เนาวพานิช และคณะ (2558) พบว่า ลีฟวิง่ .
พยาบาลวิชาชีพท่ีดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจต้องมี
ความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะในการประเมินผู้ป่วยโรค นิตยา จนั ทร์นคร, ทัศนยี ์ แดขุนทด, อไุ รวรรณ ศรีดามา และ
หลอดเลือดหัวใจ เพื่อให้การดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยได้อย่าง ปยิ นุช บุญกอง. (2563). การพัฒนารูปแบบการประเมิน
ถูกตอ้ ง อีกทัง้ มคี วามจ�ำ เป็นตอ้ งอาศยั การทำ�งานรว่ มกันเป็น สัญญาณเตือนภาวะวิกฤต สำ�หรับผู้ป่วยหนักวัยผู้ใหญ่
ทีมท้งั แพทย์ พยาบาล และสหสาขาวชิ าชีพ เพือ่ ใหก้ ารดูแล โรงพยาบาลสกลนคร. วารสารกองการพยาบาล. 47(1).
ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจมีประสิทธิภาพมากขึ้น และลด 39-60.
โอกาสการเกดิ ภาวะแทรกซอ้ นภายหลงั การเกดิ โรค เชน่ เดยี ว
กับการศึกษาของ รัชนี ผิวผ่อง และคณะ (2564) ที่ทำ�การ นิตยา ชนะกอก. (2561). การพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วย
ศกึ ษารปู แบบการพยาบาลผปู้ ว่ ยโรคกลา้ มเนอื้ หวั ใจขาดเลอื ด โรคกลา้ มเนอื้ หวั ใจขาดเลอื ดเฉยี บพลนั ชนดิ STEMI โดย
เฉยี บพลนั ทมี่ งุ่ เนน้ ใหพ้ ยาบาลวชิ าชพี ทดี่ แู ลผปู้ ว่ ยโรคหลอด การจดั การผปู้ ว่ ยรายกรณี ในโรงพยาบาลลำ�พนู . วารสาร
เลือดหัวใจมีความสามารถในการประเมินอาการและอาการ สาธารณสุขล้านนา, 11(2), 37-43.
แสดงท่ีจะเกิดขึ้นกับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ เพ่ือให้การ
พยาบาลไดถ้ กู ตอ้ ง รวดเรว็ และทนั เวลา นอกจากนไี้ ดม้ กี ารจดั บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร. (2553). ระเบียบวิธีการวิจัยทาง
รวบรวมสว่ นตา่ งๆ ไวเ้ ปน็ ระบบทคี่ รอบคลมุ การพฒั นาผลลพั ธ์ พยาบาลศาสตร์. ยแู อนด์ไอ อนิ เตอร์ มเี ดีย จำ�กัด.
ทางคลนิ กิ และใชท้ รพั ยากรดา้ นสขุ ภาพใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ
ในการดูแลผูป้ ่วยโรคหลอดเลอื ดหวั ใจ รัชนี ผิวผอ่ ง, ธญั สุดา ปลงรัมย์ และวิไลวรรณ เงาศร.ี (2564).
การพฒั นารปู แบบการพยาบาลผปู้ ว่ ยโรคกลา้ มเนอื้ หวั ใจ
ขอ้ เสนอแนะในการนำ�ผลการวิจยั ไปใช้ ขาดเลอื ดเฉียบพลนั ชนดิ STEMI ท่ไี ดร้ บั การเปิดขยาย
1. การนำ�ระบบการพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือด หลอดเลือดหัวใจผ่านสายสวน โรงพยาบาลบุรีรัมย์.
วารสารการแพทย์ โรงพยาบาลศรสี ะเกษ สรุ นิ ทร์ บรุ รี มั ย,์
หัวใจไปใช้ ควรให้บุคคลในหน่วยงานหรือองค์กรมีส่วนร่วม 30(2), 28-38.

สำ�นักนโยบายและยุทธศาสตร์สำ�นักงานปลัดกระทรวง
สาธารณสขุ . (2563). สถติ สิ าธารณสขุ . ดไี ชนค์ อนดกั ชนั่ .

386 Suthat Supanam, Nisa Ruangkitudom, Sathaporn Manatsathit J Sci Technol MSU

เสาวนยี ์ เนาวพานชิ , บญุ ทพิ ย์ สริ ธิ รงั สร,ี สพุ มิ พ์ ศรพี นั ธว์ รสกลุ , Guo, P., & Harris, R. (2016). The effectiveness and
พิชชดุ า วริ ัชพนิ ทุ และวนั เพ็ญ พญิ โญภาสกุล. (2558). experience of self-management following acute
การพัฒนาแบบประเมินสมรรถนะพยาบาลวิชาชีพ coronary syndrome: A review of the literature.
ที่ดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือดในโรพยาบาล International journal of nursing studies, 61, 29-51.
มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง. วารสารการพยาบาล, 33(1),
33-41. Kemmis, S., McTaggart, R. (1988). The action research
planner. Deakin University.
แสงอรณุ ใจวงศผ์ าบ, ศรวี รรณ เรอื งวฒั นา, ธนติ า จติ นารนิ ทร์
และกนกรัตน์ มัชชะ. (2563). การพัมนาระบบการ Lefort, H., Fradin, J., Blgnand, M., & Tourtier, J. (2016).
พยาบาลผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ดสมอง โรงพยาบาลล�ำ พนู . Pre-hospital management of acute coronary
วารสารพยาบาล, 69(2), 37-45. syndrome. Soins ; la revue de reference infirmiere,
793, 39-43.
Ambrose, J., & Singh, M. (2016). Pathophysiology of
coronary artery disease leading to acute coronary Liu, X., Wu, C., Willis, K., Shi, Y., & Johnson, M.
syndromes. F1000 Prime Reports,7(8). (2018). The impact of inpatient education on self-
management for patients with acute coronary
American Heart Association [AHA]. (2018). Epidemiology syndrome and type 2 diabetes mellitus: a
of coronary heart disease and acute coronary cross-sectional study in China. Health Education
syndrome. Annals of Translational Medicine. 4(13), Research, 33(5), 389-401.
256.
Chinnakhet hospital. (2019). Medical Record of
Amsterdam, E., Wenger, N., Brindis R., Casey D., Chinnakhet hospital. Chinnakhet hospital.
Ganiats T., & Holmes D. (2017). Guideline for the
management of patients with non-ST-elevation acute Sulo, G., Igland, J., Nygard, O., Vollse,t S., Ebbing, M., &
coronary syndromes: executive summary: a report Poulter, N. (2017). Prognostic impact of in-hospital
of the American College of Cardiology/American and postdischarge heart failure in patients with acute
Heart Association Task Force on Practice Guidelines. myocardial infarction: A nationwide analysis using
Circulation,130(25), 2354-94. data from the cardiovascular disease in Norway
(CVDNOR) project. Journal of the American Heart
Coventry, L., Bremner, A., Williams, T., Celenza, A., Association, 6(3), 225-236.
Jacobs, I., & Finn, J. (2019). Characteristics and
Outcomes of MI Patients with and without Chest World health organization [WHO]. (2020). Cardiovascular
Pain: A Cohort Study. Heart, Lung and Circulation, Disease (CVDs). World Health Organization. https://
24(8), 796-805. www.who.int./mediacentre/factsheets

Donna, S., & Workman, Y. (2017). Prevention of Wright, E., Steinhubl, S., Jones, J., Barua, P., Yan, X., &
cardiovascular disease in adults. Journal of the Van, R. (2017). Medication burden in patients with
American College of Cardiology, 38, 1787-821. acute coronary syndromes. The American journal of
managed care, 23(4), 106-112.
El-Toukhy, H., Omar, A., & Abou, M. (2017). Effect of
acute coronary syndrome patients’ education on Yamane, T., (1970). Taro Statistic : An Introductory
adherence to dual antiplatelet therapy. Journal of Analysis. Harper & row.
the Saudi Heart Association, 29(4), 252-8.

คำาแนะนำาสำาหรับผนู้ ิพนธ์

วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม กำาหนดพิมพ์ปีละ 6 ฉบับ ฉบับท่ี 1 (มกราคม-กุมภาพันธ์)
ฉบับท่ี 2 (มนี าคม-เมษายน) ฉบับท่ี 3 (พฤษภาคม-มิถุนายน) ฉบบั ที่ 4 (กรกฎาคม-สงิ หาคม) ฉบับท่ี 5 (กันยายน-ตลุ าคม)
ฉบับท่ี 6 (พฤศจิกายน-ธันวาคม) ผู้นิพนธ์ทุกท่านสามารถส่งบทความวิจัยเพ่ือรับการพิจารณาลงตีพิมพ์ได้ โดยไม่ต้อง
เป็นสมาชิกและไม่จำาเป็นต้องสังกัดมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผลงานท่ีได้รับการพิจารณาในวารสารจะต้องมีสาระท่ีน่าสนใจ
เปน็ งานทที่ บทวนความรูเ้ ดิมหรอื องคค์ วามรใู้ หม่ ทที่ นั สมัย รวมทั้งข้อคดิ เหน็ ทางวิชาการทเ่ี ป็นประโยชน์ตอ่ ผอู้ ่าน และจะตอ้ ง
เปน็ งานทไี่ มเ่ คยตพี มิ พเ์ ผยแพรใ่ นวารสารอน่ื มากอ่ น รวมถงึ ไมอ่ ยรู่ ะหวา่ งพจิ ารณาลงพมิ พใ์ นวารสารใด บทความอาจถกู ดดั แปลง
แก้ไข เนอ้ื หา รปู แบบ และสาำ นวน ตามที่กองบรรณาธิการเห็นสมควร ทง้ั นี้ เพือ่ ใหว้ ารสารมีคุณภาพในระดบั มาตรฐานสากล
และนำาไปอ้างอิงได้

การเตรียมตน้ ฉบับ

1. ตน้ ฉบับพิมพ์เปน็ ภาษาไทยหรอื ภาษาอังกฤษ แต่ละเร่อื งจะตอ้ งมบี ทคดั ย่อทง้ั ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ การใช้
ภาษาไทยให้ยึดหลักการใช้คำาศัพท์การเขียนทับศัพท์ภาษาอังกฤษตามหลักของราชบัณฑิตยสถาน ให้หลีกเล่ียงการเขียน
ภาษาองั กฤษรวมกบั ภาษาไทยในขอ้ ความ ยกเวน้ กรณจี าำ เปน็ เชน่ ศพั ทท์ างวชิ าการทไ่ี มม่ ที างแปล หรอื คาำ ทใี่ ชแ้ ลว้ ทาำ ใหเ้ ขา้ ใจ
ง่ายข้นึ คำาศัพท์ภาษาอังกฤษทเ่ี ขียนเป็นภาษาไทยใหใ้ ช้ตัวเล็กท้ังหมด ยกเวน้ ชื่อเฉพาะ สำาหรบั ต้นฉบับภาษาองั กฤษ ควรได้
รบั การตรวจสอบความถูกต้องของภาษาจากผเู้ ช่ยี วชาญด้านภาษาองั กฤษก่อน

2. ขนาดของตน้ ฉบบั ใช้กระดาษขนาด A4 (8.5x11 นว้ิ ) และพิมพโ์ ดยเว้นระยะห่างจากขอบกระดาษดา้ นละ 1 นว้ิ
จดั เปน็ 2 คอลมั น์

3. ชนดิ ของขนาดตัวอกั ษร ทัง้ ภาษาไทยและภาษาองั กฤษใหใ้ ช้ตวั อักษร Browallia New
3.1 ช่อื เร่อื งให้ใช้อักษรขนาด 18 pt. ตัวหนา
3.2 ช่ือผ้นู ิพนธใ์ ช้อักษรขนาด 16 pt. ตัวปกติ
3.3 หัวข้อหลักใช้อกั ษรขนาด 16 pt. ตวั หนา
3.4 หัวข้อรองใช้อักษรขนาด 14 pt. ตวั หนา
3.5 บทคัดย่อและเนอ้ื หาใช้ตัวอกั ษรขนาด 14 pt. ตวั บาง
3.6 เชงิ อรรถอย่หู นา้ แรกทเ่ี ป็นรายละเอยี ดช่อื ตาำ แหน่งทางวชิ าการ และทีอ่ ยู่ของผนู้ พิ นธใ์ ช้อกั ษรขนาด 12 pt.

ตัวบาง และใส่ Corresponding author
4. ผนู้ ิพนธ์จะต้องจัดเตรียมต้นฉบับในรูปแบบของไฟล์ “.doc” (MS Word) และ “.pdf” (Portable Document Format)
5. จำานวนหนา้ ความยาวของบทความไมค่ วรเกนิ 12 หน้า รวมตาราง รูป ภาพ และเอกสารอา้ งอิง
6. รปู แบบการเขยี นต้นฉบับ แบง่ เป็น 2 ประเภท ได้แก่ ประเภทบทความรายงานผลวิจยั หรือบทความวจิ ยั (research

article) และบทความจากการทบทวนเอกสารวิจัยท่ผี อู้ ่ืนทาำ เอาไว้ หรอื บทความทางวชิ าการ หรือบทความทัว่ ไป หรือบทความ
ปริทัศน์ (review article)

7. การส่งบทความ ส่ง online ผา่ นระบบ ThaiJo โดยสามารถเขา้ ไปดูรายละเอยี ดที่ www.scjmsu.msu.ac.th
8. หากจัดรูปแบบไม่ถูกต้องทางวารสารจะจัดส่งคืนผู้นิพนธ์เพื่อปรับแก้ไข ก่อนเสนอผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณา
ซงึ่ อาจทาำ ใหก้ ระบวนการตีพิมพ์ล่าช้า

388 J Sci Technol MSU Vol 40. No 4, July-August 2021

บทความวจิ ัย/บทความวิชาการ ใหเ้ รยี งลำ�ดับหวั ขอ้ ดังน้ี

ชอ่ื เร่ือง (Title) ช่อื เร่อื งให้มที ั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ควรสั้น กะชบั และสอ่ื เปา้ หมายหลกั ของงานวจิ ยั ไมใ่ ช้
ค�ำ ย่อ ความยาวไมเ่ กิน 100 ตวั อกั ษร
ชือ่ ผู้นพิ นธ์ [Author(s) ] และทอ่ี ยู่ ใหม้ ีท้งั ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ และระบุตำ�แหน่งทางวิชาการ หน่วยงาน หรอื
สถาบนั ที่สังกดั และ E-mail address ของผูน้ พิ นธ์ไว้เป็นเชงิ อรรถของหน้าแรก เพ่ือกองบรรณาธิการสามารถตดิ ต่อได้
บทคดั ยอ่ (Abstract) เปน็ การยอ่ เนอ้ื ความงานวจิ ยั ทง้ั เรอื่ งใหส้ นั้ และมเี นอื้ หา ประกอบดว้ ย วตั ถปุ ระสงค์ ผลการคน้ พบ
ที่สำ�คัญ และสรุป มีท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยบทคัดย่อภาษาอังกฤษมีความยาวไม่เกิน 300 คำ� สำ�หรับบทคัดย่อ
ภาษาไทยใหส้ อดคลอ้ งกับบทคดั ย่อภาษาอังกฤษ
ค�ำ ส�ำ คญั (Keywords) ทัง้ ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ ไมเ่ กนิ 5 คำ� ใหร้ ะบุไวท้ ้ายบทคัดย่อของแตล่ ะภาษา
บทน�ำ (Introduction) เปน็ สว่ นเรม่ิ ตน้ ของเนือ้ หา ทบี่ อกความเป็นมา เหตุผล และวัตถุประสงค์ ที่น�ำ ไปสูง่ านวิจยั นี้
ให้ข้อมูลทางวชิ าการทเี่ กย่ี วขอ้ งจากการตรวจสอบเอกสารงานวจิ ัยที่เก่ยี วข้องที่มรี ายงานการศกึ ษาก่อนหน้า
วสั ดอุ ปุ กรณแ์ ละวธิ กี ารศกึ ษา (Materials and Methods) ใหร้ ะบรุ ายละเอยี ด วสั ดอุ ปุ กรณ์ สงิ่ ทนี่ �ำ มาศกึ ษา จ�ำ นวน
ลกั ษณะเฉพาะของตวั อยา่ งทศ่ี กึ ษา อธบิ ายวธิ กี ารศกึ ษา แผนการทดลองทางสถติ ิ วธิ กี ารเกบ็ ขอ้ มลู การวเิ คราะหแ์ ละการแปรผล
ผลการศกึ ษา (Results) รายงานผลทค่ี น้ พบ ตามล�ำ ดบั ขน้ั ตอนของการวจิ ยั อยา่ งชดั เจนไดใ้ จความ ถา้ ผลไมซ่ บั ซอ้ น
และมีตัวเลขไม่มากควรใช้คำ�บรรยาย แต่ถ้ามีตัวเลข หรือ ตัวแปรมาก ควรใช้ตารางหรือแผนภูมิประกอบการรายงาน
ผลการศกึ ษา
วิจารณ์และสรุปผล (Discussion and Conclusion) การอภิปรายผลการศึกษาว่าตรงกับวัตถุประสงค์และ
เปรียบเทียบกับสมมติฐานของการวิจัยท่ีตั้งไว้ หรือแตกต่างไปจากผลงานท่ีมีผู้รายงานไว้ก่อนหรือไม่ อย่างไร เหตุผลใด
จงึ เปน็ เชน่ นนั้ และมพี นื้ ฐานอา้ งองิ ทเี่ ชอ่ื ถอื ได้ ผนู้ พิ นธอ์ าจมขี อ้ เสนอแนะทนี่ �ำ ผลงานวจิ ยั ไปใชป้ ระโยชน์ หรอื ทง้ิ ประเดน็ ค�ำ ถาม
การวจิ ัย ซึ่งเปน็ แนวการส�ำ หรับการวจิ ัยต่อไป
ตาราง รูป ภาพ แผนภูมิ (Table, Figures, and Diagrams) ควรคัดเลือกเฉพาะที่จำ�เป็น แทรกไว้ในเนื้อเร่ือง
โดยเรียงลำ�ดับให้สอดคล้องกับคำ�อธิบายในเนื้อเร่ือง และมีคำ�อธิบายเป็นภาษาอังกฤษ ท่ีส่ือความหมายได้สาระครบถ้วน
กรณีท่ีเป็นตาราง ค�ำ อธิบายอยดู่ า้ นบน ถ้าเป็นรูป ภาพ แผนภมู ิ คำ�อธิบายอยดู่ ้านลา่ ง ใชต้ วั อักษร Times New Roman
กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgements) ระบุว่างานวจิ ยั ไดร้ ับการสนับสนนุ งบประมาณ หรือสนับสนนุ ด้านอนื่ ๆ
รวมถงึ ความช่วยเหลือจากองค์กรใดหรือผใู้ ดบ้าง
เอกสารอ้างอิง (References) ระบุรายการเอกสารท่ีนำ�มาใช้อ้างอิงให้ครบถ้วนไว้ท้ายเร่ือง โดยใช้ APA Style
ดังตัวอยา่ ง สามารถดรู ายละเอียดและตัวอย่างเพม่ิ เติมได้ท่ี www.scjmsu.msu.ac.th

เอกสารอา้ งองิ ใหเ้ ขยี นตามรปู แบบ “Publication Manual of the American Psychilogical Association”
(7th Edition)

1. หนงั สือ (ในรูปแบบรูปเล่ม)
ชื่อ-สกลุ . (ปพี มิ พ)์ . ชอ่ื เรอื่ ง (พิมพ์คร้งั ท)่ี . สำ�นกั พมิ พ์.
ตวั อยา่ ง:
วิธาน ฐานะวฑุ ฒ์. (2547). หัวใจใหม-่ ชวี ิตใหม่. ปิติศกึ ษา.

Vol 40. No 4, July-August 2021 J Sci Technol MSU 389

2. บทความในวารสารอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
ชอื่ -สกลุ . (ปีพมิ พ์). ชือ่ บทความ. ชอื่ วารสาร, เลขของปที ี(่ เลขของฉบบั ที่), เลขหน้า. /https://doi.org/เลขdoi
ตัวอย่าง:
มานะ สนิ ธวุ งษานนท์. (2549). ปจั จัยส่งเสริมการจัดการศกึ ษาท่สี ง่ ผลตอ่ คุณภาพนักเรยี นในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ. วารสาร

ครศุ าสตร,์ 18(2), 115-116.

3. รายงานการประชุมเชงิ วิชาการ (Proceeding)
ชื่อ-สกุล. (ป)ี . ชือ่ บทความ. ใน/ชื่อบรรณาธกิ าร (บ.ก.), ชื่อหัวขอ้ การประชุม. ชือ่ การประชุม (น. เลขหนา้ ). ฐานข้อมูล.
ตัวอย่าง:
พัชราภา ตันติชูเวช. (2553). การศึกษาทั่วไปกับคุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงค์ในประเทศมาเลเซีย และสิงคโปร์ ศึกษา

โดยเปรยี บเทียบกับประเทศไทย. ใน ศิริชัย กาญจนวาสี (บ.ก.), การขับเคล่ือนคณุ ภาพการศกึ ษาไทย. การประชมุ วิชาการ
และเผยแพร่ ผลงานวจิ ยั ระดบั ชาติ (น. 97-102). คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย.

4. หนงั สอื พมิ พแ์ ละหนงั สือพิมพ์ออนไลน์
ชือ่ สกลุ . (ปี, /วัน/เดือน). ช่ือคอลมั น์. ช่ือหนงั สอื พิมพ์, เลขหนา้ .
ตวั อย่าง:
พงษพ์ รรณ บญุ เลิศ. (2561, 15 สิงหาคม). เดลินวิ สว์ าไรต:้ี ‘สอ่ื พิพิธภัณฑ์’ เช่อื ม ยุคสมยั เขา้ ถึงดว้ ย ‘มิติใหม’่ อินเทรนด์.

เดลินวิ ส,์ 4.

5. หนังสอื (ในรปู แบบอิเล็กทรอนกิ ส)์
ชือ่ สกุล. (ปพี ิมพ)์ . ช่ือเร่อื ง (พิมพ์ครง้ั ท)่ี . URL
ตัวอย่าง:
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2560). หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช 2560 ส�ำ หรบั เดก็ อายุ ต�่ำ กวา่ 3-5 ป.ี http://drive.google.

com/file/d/1HiTwiRh1Er73h VYIMh1cYWzQiaNl_Vc/view

Intruction for Authors

Research manuscripts relevant to subject matters outlined in the objectives are accepted from all institutions and private
parties provided they have not been preprinted elsewhere. The context of the papers may be revised as appropriate
to the standard. The manuscript must be interesting topic, review knowledge, modern knowledge, and academic
comments that are beneficial to readers. The journal publishes 6 issues a year. Vol.1 (January-February) Vol.2 (March-
April) Vol.3 (May-June) Vol.4 (July-August) Vol.5 (September-October) Vol.6 (November-December).

Preparation of manuscripts:

1. Manuscripts can be written in either Thai or English with the abstract in both Thai and English. The use
of Thai language adheres to the principles of vocabulary, transliteration in English according to the principles of the
Royal Society of Thailand. Manuscript should be specific, clear, concise, accurate, and consistent. Mixing Thai and
English should be avoided except for the case of necessity, such as academic vocabulary with no translation or mixing
words for easier understanding. English vocabulary written in Thai must use all lowercase except for unique names.
English language manuscripts should be checked by an English language editor prior to submission.

2. Manuscript should be on A4 standard size paper. Each side must have 1” margins with 2 columns.
3. Browallia New font is required with font size as follows:

3.1 Title of the article: 18 pt. Bold
3.2 Name(s) of the authors: 16 pt. Unbold
3.3 Main Heading: 16 pt. Bold
3.4 Sub-heading: 14 pt. Bold
3.5 Body of the text: 14 pt. Unbold
3.6 Footnotes for authors and their affiliations: 12 pt. Unbold, must be cited at the bottom of the first
page. Academic position and corresponding author must be added at footnotes.
4. Manuscripts should be typed in MS word “.doc” and “.pdf” (Portable Document Format)
5. The number of pages are limited to 12 pages, including references, tables, graphs, or pictures.
6. Types of manuscripts: research articles and review articles.
7. Manuscript submission: online submission via www.scjmsu.msu.ac.th.
8. Manuscript with uncorrected format will be sent back to the author before review process which can
delay the publication process.

Research article / review article must be in sequence as follows:

Title: denoted in both Thai and English, must be concise and specific to the point, normally less than 100
characters.

Name(s) of the author(s): denoted with affiliation must be in Thai and English, academic position must be
specified, and email address for contact the author.

Abstract: This section of the paper should follow an informative style, concisely covering all the important
of findings. The abstract must include objectives, findings, and conclusion. Thai and English abstract is required. The
English abstract is restricted to 300 words. Thai abstract should be relevant to English version.

Keywords: Give 4-5 concise words to specify your article

Vol 40. No 4, July-August 2021 J Sci Technol MSU 391

Introduction: This section is the initial part of the article, contain information about background, reasons,
purposes, and review section.
Materials and Methods: A discussion of the materials used, and a description clearly detailing how the
experiment was undertaken, e.g., experimental design, data collection and analysis, and interpretation
Results: Present the output. Li the information in complicated, add tables, graphs, diagrams etc., as
necessary.
Discussion and Conclusion: Discuss how the results are relevant/oppose to the objective and hypothesis.
How the result is different/relevant when comparing to the former findings. Give us your reason why result is like that
base on reliable researches. This part should end with suggestions for research utilization or providing questions for
future studies.
Tables, figures, diagrams: Selected only necessary objects to insert in the body of manuscript in accordance
with the description in the text. The short description is required in English with completely meaningful. For figures
and diagrams, the description is below the picture. But, for table, the description is on top of the table. (Times New
Roman)
Acknowledgement: the name of the persons, organization, or funding agencies who helped support the
research are acknowledged in this section.
References: listed and referred in APA.

Reference are written in “Publication Manual of the American Psychilogical Association”
(7th Edition)

1. Book
Mertens, D.M. (2014). Research and evaluation in education and psychology: Integrating diversity with quantitative,

qualitative, and mixed methods (4th ed.). SAGE.

2. Academic Journal
Herbst-Damm, K.L., & Kulik, J.A. (2005). Volunteer support, marital status, and the survival times of terminally ill

patients. Health Psychology, 24, 225-229. https://doi.org/10.1037/0278-6133.24.2.225

3. Conference Proceeding
Katz, I., Gabayan, K., & Aghajan, H. (2007). A multi-touch surface using multiple cameras. In J. Blanc-Talon, W. Philips,

D. Popescu, & P. Scheunders (Eds.), Lecture notes in computer science: Vol. 4678. Advanced concepts for
intelligent vision systems (pp. 97-108). Springer-Verlag. https://doi.org/10.1007/978-3-540-74607-2_9

4. Newspaper / Online Newspaper
Brody, J.E. (2007, December 11). Mental reserves keep brain agile. The New York Times. http://www.nytimes.com

5. E-book
Dahlberg, G., & Moss, P. (2005). Ethics and politics in early childhood education. https://epdf.tips/ethics-and-politics-

in-early-childhoodeducation-contesting-early-childhood.html

Mahasarakham University Journal of Science and Technology

Aim and Scope: Associate Professor Dr.Porntep Tanonkeo
The Journal of Science and Technology aims to disseminate Khon Kaen University
of scientific knowledge in the discipline of Mathematics, Associate Professor Dr.Narumon Sangpradub
Science, Technology, Engineering, Agriculture, Medicine, Khon Kaen University
Health Science, Interdisciplinary in science and tehnology. Associate Professor Dr.Terdsak Khammeng
The journal publishes both research article and review article. Khon Kaen University
Ownership Associate Professor Yuen Poovarawan
Mahasarakham University Kasetsart University
Editorial Office Associate Professor Dr.Orawich Goompol
Division of Research Facilitation and Dissemination, Mahasarakham University
Khamriang Sub-distict, Kantharawichai District, Associate Professor Dr.Sirikasem Sirilak
Maha Sarakham Province 44150 Naresuan University
Tel & Fax: 0 4375 4416 ext. 1754 Assistant Professor Dr.Chawalit Boonpok
Advisors Mahasarakham University
President of Mahasarakham University Assistant Professor Dr.Napparat Buddhakala
Professor Dr. Visut Baimai Rajamangala University of Technology Thanyaburi
Professor Dr. Vichai Boonsaeng Assistant Professor Dr.Anucha Pranchana
Editor-in-Chief Ubon Ratchathsni Rajabhat University Assistant
Professor Dr.Preecha Prathepha Professor Dr.Seckson Sukhasena
PArsosfiesstsaonrtDErd.Pitaoirrsot Pramual Naresuan University
Mahasarakham University Assistant Professor Dr.Apinya Wongpiriyayothar
Professor Dr.Sirithon Siriamornpun Mahasarakham University
Mahasarakham University Assistant Professor Dr.Alongkorn Lamom
Associate Professor Dr.Worapol Aengwanich Mahasarakham University
Mahasarakham University Assistant Professor Dr.Natapol Pumipuntu
Associate Professor Dr.Vallaya Sutthikhum Mahasarakham University
Mahasarakham University Assistant Professor Dr.Somnuk Puangpronpitag
Editorial Board Mahasarakham University
Professor Dr.Thaweesakdi Boonkerd Dr.Rakjinda Wattanalai
Chulalongkorn University Siam University
Professor Dr.La-orsri Sanoamuang Dr.Adrian R. Plant
Khon Kaen University Mahasarakham University
Professor Dr.Pranee Anprung SCehcarweetaerwyan Akkasesthang
Chulalongkorn University Professor Assistant secretary
Professor Dr.Niwat Sonoamuang Phakwilai Rungwisai
Khon Kaen University Jirarat Puseerit
Professor Dr.Anongrit Kangrang Six issues per year
Mahasarakham University Number 1 January-February
Associate Professor Dr.Sunan Saikrasun Number 2 March-April
Mahasarakham University Number 3 May-June
Associate Professor Dr.Suwanna Boonyaleepun Number 4 July-August
Khon Kaen University Number 5 September-October
Associate Professor Dr.Kwanjai Kanokmedhakul Number 6 November-December
Khon Kaen University
Associate Professor Dr.Chantana Aromdee
Khon Kaen University
Associate Professor Dr.Boonchong Chawsithiwong National
Institute of Development Administration


Click to View FlipBook Version