เอกสารคำแนะนำ
การเก็บเมลด็ พนธุ
ไวใ ชในครวเรอื น อยางงา ย
กลุมพฒนาแมบานเกษตรกรและเคหกจิ เกษตร กองพฒนาเกษตรกร
กรมสง เสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ
เอกสารคำแนะนำ
การเก็บเมลด็ พนธุ
ไวใ ชในครวเรอื น ออยยาา งงงงาา ยย
กลุมพฒนาแมบานเกษตรกรและเคหกจิ เกษตร กองพฒนาเกษตรกร
กรมสง เสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ
เอกสารคำ�แนะน�ำ การเก็บเมล็ดพันธุไ์ วใ้ ชใ้ นครวั เรอื นอยา่ งงา่ ย
พมิ พ์คร้งั ที่ 1 : จ�ำ นวน 1,000 เลม่ กรกฎาคม พ.ศ. 2564
ออกแบบ/พมิ พท์ ่ี : กลุ่มโรงพิมพ์ สำ�นักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี
จัดพิมพ ์ : กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
คำ�นำ�
การเก็บเมล็ดพันธุ์ไว้ใช้ในครัวเรือนเป็นสิ่งจำ�เป็นสำ�หรับเกษตรกร
เพอื่ รกั ษาคณุ ภาพของเมลด็ ไวใ้ ชใ้ นการเพาะปลกู ในฤดกู าลผลติ หากใชเ้ มลด็ พนั ธ์ุ
ทไี่ มม่ คี ณุ ภาพจะท�ำ ใหผ้ ลผลติ ต�่ำ และไมม่ คี ณุ ภาพ จะสง่ ผลใหต้ น้ ทนุ การผลติ สงู
ตลอดจนเปน็ แหล่งสะสมของโรคและแมลงอีกดว้ ย
กรมส่งเสริมการเกษตร จึงได้จัดทำ�เอกสารคำ�แนะนำ� เรื่อง
การเกบ็ เมลด็ พนั ธไ์ุ วใ้ ชใ้ นครวั เรอื นอยา่ งงา่ ย โดยมเี นอ้ื หาทเ่ี หมาะสม สามารถ
เขา้ ใจและท�ำ ตามไดง้ า่ ยไมซ่ บั ซอ้ น เพอื่ ใชเ้ ปน็ แนวทางในการด�ำ เนนิ งานสง่ เสรมิ
ความมั่นคงด้านอาหารระดับชุมชนให้แก่เกษตรกรและเจ้าหน้าท่ี ตลอดจน
เผยแพรค่ วามรูใ้ หผ้ ู้ทสี่ นใจได้น�ำ ไปประยุกตใ์ ชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ตอ่ ไป
กลมุ่ พัฒนาแม่บ้านเกษตรกรและเคหกจิ เกษตร
กองพฒั นาเกษตรกร กรมส่งเสรมิ การเกษตร
กรกฎาคม 2564
สารบัญ หนา้
6
บทที่ 1 บทนำ� 6
1.1 ความหมายของการเกบ็ เมลด็ พันธไุ์ ว้ใช้ในครัวเรอื น 9
1.2 ประโยชน์ของการเกบ็ เมลด็ พันธ์ไุ วใ้ ช้ในครวั เรอื น 10
บทท่ี 2 การเกบ็ เมล็ดพันธ์ุ 10
2.1 หลกั การในการเก็บเกยี่ วเมลด็ พนั ธ์ุ 20
2.2 การคัดเลือกคณุ ภาพของเมลด็ พันธท์ุ ่ดี ี 24
2.3 การเกบ็ รกั ษาเมลด็ พนั ธุ ์ 26
2.4 การตรวจสอบคณุ ภาพเมลด็ พันธเ์ุ บอื้ งตน้ 34
บทท่ี 3 การเกบ็ รักษาเมลด็ พนั ธ์ุ 36
3.1 ปัจจัยทม่ี ผี ลตอ่ การเก็บรกั ษาเมลด็ พนั ธ์ุ 39
3.2 วธิ กี ารเกบ็ รกั ษาเมล็ดพนั ธุ์ 40
3.3 ข้นั ตอนการเก็บรกั ษาเมลด็ พันธ์ุ 40
3.4 ภาชนะที่ใช้ในการบรรจุ
บทที่ 4 ตวั อย่างวธิ กี ารเกบ็ เมลด็ พนั ธ์ุ หนา้
4.1 กลุ่มเมล็ดแห้ง 42
1. บวบ 42
2. ถั่วฝักยาว 46
3. กระเจี๊ยบเขียว 48
4. ถั่วพ ู 50
5. ผกั ชี 52
6. ผักบุ้ง 54
7. กะเพรา 56
4.2 กลุ่มเมล็ดเปียก 58
1. แตงกวา 60
2. ฟกั เขยี ว 64
3. แตงไทย 66
4. พรกิ 68
5. ฟกั ทอง 70
6. มะละกอ 72
7. มะเขอื เทศ 74
เอกสารอา้ งอิง 76
ท่ปี รึกษาและคณะผูจ้ ัดทำ� 78
79
บทที่ 1 บทนำ�
1.1 ความหมายของการเก็บเมลด็ พันธุ์ไวใ้ ชใ้ นครัวเรอื น
การเกบ็ เมลด็ พนั ธไุ์ วใ้ ชใ้ นครวั เรอื น คอื การเกบ็ รกั ษาหรอื เกบ็ ส�ำ รองเมลด็ พนั ธ์ุ
เพื่อใช้ในการเพาะปลูก การเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ต้องเก็บให้พ้นจาก นก หนู
และแมลงต่าง ๆ และมีการเก็บอย่างถูกวิธีเพื่อให้เมล็ดพันธ์ุมีความสมบูรณ์
มีอัตราการงอกและความแข็งแรงเป็นสำ�คัญ โดยเมล็ดพันธุ์แบ่งออกเป็น 4 ชั้น
ตามลำ�ดับ ดังน้ี
6 การเก็บเมล็ดพันธ์ุไว้ใช้ในครวั เรือนอยา่ งงา่ ย
การเกบ็ เมล็ดพันธไุ์ ว้ใชใ้ นครวั เรือนอย่างงา่ ย 7
1) เมล็ดพันธุ์คัด (Breeder Seed)
เป็นเมล็ดพันธุ์ที่นักปรับปรุงพันธุ์
ได้มาจากกระบวนการปรับปรุงพันธุ์ มีลักษณะ
และคุณสมบัติต่าง ๆ ตรงตามความต้องการ
ที่นักปรับปรุงพันธ์ุกำ�หนด ซ่ึงนักปรับปรุงพันธุ์
จะเป็นผู้ควบคุมกำ�กับดูแลการผลิตเมล็ดพันธุ์คัด
อย่างละเอียดทกุ ขนั้ ตอน และเมลด็ พันธ์คุ ดั ใช้เพือ่
การผลิตเมลด็ พันธห์ุ ลกั เทา่ นั้น
2) เมลด็ พนั ธหุ์ ลกั (Foundation Seed)
เ ป็ น เ ม ล็ ด พั น ธุ์ ท่ี ไ ด้ จ า ก ก า ร นำ �
เมล็ดพันธ์ุคัดมาปลูก เพ่ือรักษาความบริสุทธ์ิและ
ลักษณะประจ�ำ พันธุข์ องพืชนั้น ๆ ไว้
3) เมลด็ พนั ธขุ์ ยาย (Registered Seed)
เป็นเมล็ดพันธุ์ได้จากการนำ�เมล็ด
พนั ธห์ุ ลกั ไปปลกู ภายใตค้ �ำ แนะน�ำ ของนกั วชิ าการ
ซ่ึงเกษตรกรผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์ขยายจะเป็นผู้จัดการ
และดแู ลแปลงผลติ เมลด็ พนั ธุ์ ภายใตค้ �ำ แนะน�ำ ของ
นักวิชาการดังกล่าว โดยที่นักวิชาการไม่ได้เป็น
ผู้จัดการและดูแลแปลงด้วยตนเอง แต่เป็น
ผตู้ รวจสอบ และรบั รองการผลติ เมลด็ พนั ธด์ุ งั กลา่ ว
4) เมลด็ พนั ธจุ์ �ำ หนา่ ย (Certified Seed)
เป็นเมล็ดพันธ์ุท่ีได้จากการนำ�เมล็ด
พันธุ์ขยายไปปลูกต่อ และเมล็ดพันธุ์จำ�หน่ายท่ีได้
จะเป็นเมล็ดพันธ์ุสำ�หรับทำ�พันธ์ุของเกษตรกร
โดยท่วั ไป บางกรณเี มลด็ พนั ธจ์ุ �ำ หน่ายอาจไดจ้ าก
การน�ำ เมลด็ พนั ธ์หุ ลักมาปลูกตอ่ กไ็ ด้
ดังน้ัน การเก็บเมล็ดพันธุ์ไว้ใช้ในครัวเรือนจึงเป็นสิ่งจำ�เป็นสำ�หรับ
เกษตรกร โดยพืชแตล่ ะชนิด แตล่ ะพนั ธ์ุ จะมรี ะยะเวลาในการเกบ็ เกย่ี วท่เี หมาะสม
แตกต่างกัน เพื่อรักษาคุณภาพของเมล็ดพันธ์ุ การลดความช้ืน และการทำ�
ความสะอาดเมลด็ ตลอดจนการควบคมุ คณุ ภาพของเมลด็ พนั ธใุ์ หม้ อี ตั ราการงอกสงู
หากใช้เมล็ดพันธุ์ที่ไม่มีคุณภาพ ย่อมส่งผลต่อต้นทุนการผลิต ไม่ว่าจะเป็นการ
เสียเวลา เสียแรงงานในการปลูกและอาจทำ�ให้ปลูกได้ล่าช้า รวมท้ังส่งผลให้
ผลผลิตที่ได้ไม่มีคุณภาพและผลผลิตตำ่� ตลอดจนจำ�เป็นต้องลงทุนค่าเมล็ดพันธุ์
เพิ่มมากข้ึน เนื่องจากต้องใช้อัตราปลูกสูงกว่าปกติ เม่ือคุณภาพของผลผลิตไม่ดี
ก็ยอ่ มเป็นแหลง่ สะสมของโรคและแมลง
8 การเก็บเมลด็ พันธไ์ุ ว้ใชใ้ นครวั เรอื นอยา่ งง่าย
การเกบ็ เมลด็ พนั ธไ์ุ วใ้ ชใ้ นครัวเรือนอยา่ งง่าย 9
1.2 ประโยชนข์ องการเกบ็ เมลด็ พนั ธไ์ุ วใ้ ชใ้ นครวั เรอื น
1) เกดิ ความปลอดภยั ตอ่ ผผู้ ลติ และผบู้ รโิ ภค เนอ่ื งจากเมลด็ พนั ธ์ุ
มีความทนทานต่อโรคและศัตรูพืชในท้องถ่ินนั้น จึงไม่ต้องใช้สารเคมี
ในการเพาะปลกู และดแู ล
2) ช่วยลดต้นทุนในการซื้อเมล็ดพันธ์ุ และลดการใช้
สารก�ำ จดั ศตั รูพชื ได้มากขน้ึ
3) เป็นการรักษาพันธ์ุแท้ไว้ในระบบการเกษตร เพื่อให้เกิด
ความหลากหลายทางชวี ภาพ
4) เปน็ การสร้างความมัน่ คงดา้ นอาหาร โดยการเก็บส�ำ รองเมลด็ พนั ธุ์
บทที่ 2 การเก็บเมลด็ พนั ธ์ุ
2.1 หลกั การในการเกบ็ เกยี่ วเมลด็ พนั ธ์ุ
2.1.1 ความหมายของการเก็บเก่ยี วเมลด็ พันธุ์
การเก็บเก่ียวเมล็ดพันธ์ุ (Seed harvesting) หมายถึง การตัด
เกี่ยวต้น รวง หรือฝักออกจากแปลงปลูกแล้วแยกเฉพาะเมล็ดพันธ์ุออกมา
เปา้ หมายหลักทสี่ ำ�คัญกค็ ือ เพือ่ ใหไ้ ดเ้ มลด็ พนั ธทุ์ ี่มีคุณภาพดี
2.1.2 ปจั จัยทีต่ ้องค�ำ นึงถงึ ในการเก็บเกย่ี ว
เมลด็ พนั ธุท์ ่เี ก็บเกย่ี วมาไดแ้ ลว้ นั้น จะมีคณุ ภาพดีหรือไม่ มากน้อย
เพยี งใด ขนึ้ อยูก่ บั ปจั จัยต่าง ๆ ดังน้ี คอื
10 การเกบ็ เมลด็ พนั ธ์ุไวใ้ ชใ้ นครัวเรือนอย่างงา่ ย
การเกบ็ เมลด็ พนั ธุ์ไว้ใชใ้ นครัวเรอื นอย่างงา่ ย 11
1) อณุ หภูมแิ ละฤดูกาล
สภาพภูมิอากาศมีผลโดยตรงต่อการกำ�หนดอายุการเก็บเก่ียว
และคณุ ภาพของเมลด็ พนั ธุ์ การก�ำ หนดวนั เพาะปลกู ทเ่ี หมาะสมโดยค�ำ นงึ ถงึ ระยะเวลา
ที่พืชได้เจริญเติบโต อายุการสุกแก่ ระยะเวลาการเก็บเกี่ยว เพื่อให้พืชที่ปลูก
เจรญิ เตบิ โตไดด้ ี และเมอ่ื เขา้ สรู่ ะยะเวลาการเกบ็ เกย่ี ว สภาพภมู อิ ากาศเออื้ อ�ำ นวย
ต่อการเก็บเก่ียว เช่น การเพาะปลูกในช่วงฤดูฝนและเก็บเก่ียวในช่วงฤดูหนาว
ความชื้นในอากาศชว่ งฤดูหนาวตำ�่ ชว่ ยลดความช้ืนของเมลด็ พนั ธ์ไุ ด้ดี
2) พันธพ์ุ ืช ลักษณะการสุกแก่ และการร่วงหล่น
พืชแต่ละชนิดมีลักษณะการสุกแก่แตกต่างกัน ซึ่งส่งผลโดยตรงต่อ
วิธีการเก็บเก่ียว ในกรณีพืชท่ีมีลักษณะการออกดอกพร้อมกันหรือไม่ทอดยอด
การสุกแก่ของผลผลิตจะเกิดขึ้นพร้อมกัน สามารถเก็บเก่ียวได้โดยการ
ใชแ้ รงงานและเครอ่ื งจกั ร แตถ่ า้ หากพชื ทปี่ ลกู มลี กั ษณะการออกดอกไมพ่ รอ้ มกนั
หรอื ทอดยอด การสกุ แกข่ องผลผลติ จะเกดิ ขนึ้ ไมพ่ รอ้ มกนั การเกบ็ เกยี่ วไมค่ วรใช้
เครอื่ งจกั ร เนอ่ื งจากจะมกี ารสญู เสยี ผลผลติ เพราะความไมส่ ม�่ำ เสมอของการสกุ แก่
3) ความชื้นของเมลด็ (Seed moisture content)
ความช้ืนของเมล็ดพันธุ์นั้นจะมีค่าสูงมากในระยะการสุกแก่ทาง
สรีรวิทยา (Physiological maturity) ซ่ึงเป็นอุปสรรคท่ีทำ�ให้ไม่สามารถ
เก็บเก่ียวเมล็ดพันธุ์ได้ ท้ัง ๆ ที่ในระยะนี้เมล็ดพันธ์ุมีความสมบูรณ์สูงสุดท้ังใน
ด้านทางโครงสร้าง องค์ประกอบทางเคมี ความมีชีวิต ความแข็งแรง ตลอดจน
การสะสมน�้ำ หนกั แหง้ ดงั นน้ั ในทางปฏบิ ตั จิ งึ มกั จะรอใหเ้ มลด็ พนั ธมุ์ คี วามชนื้ ลดลง
เสียก่อน โดยเฉพาะเมื่อมีการเก็บเก่ียวเมล็ดพันธ์ุด้วยเครื่องจักร (Mechanical
harvesting) ซ่ึงเราเรียกระยะที่เก็บเก่ียวเมล็ดพันธ์ุน้ีว่าระยะการสุกแก่สำ�หรับ
เก็บเกีย่ ว (Harvesting maturity)
นอกจากน้ี ถ้าเมล็ดมีความช้ืนสูงมาก เม่ือเก็บเกี่ยวมาแล้วก็จะมี
ผลเสียในการปรับปรุงเมล็ดพันธ์ุเพราะต้องเสียเวลานานในการตากเมล็ด และ
เมล็ดมีอายุการเกบ็ รกั ษาสนั้
แต่อย่างไรก็ตาม ถา้ เมลด็ มีความชนื้ ตำ�่ มากกอ่ นทีจ่ ะเก็บเกีย่ ว กจ็ ะ
เปน็ ผลเสยี ในการเก็บเก่ียวมากเช่นเดยี วกนั เพราะเมลด็ จะหลุดร่วงสญู เสียทิ้งไป
มากในไร่ และแตกรา้ วไดง้ า่ ยในระหวา่ งการเกบ็ เกยี่ วโดยเฉพาะเมอื่ มกี ารเกบ็ เกย่ี ว
เมล็ดพนั ธดุ์ ้วยเคร่อื งจักร
ดังนน้ั ในการเก็บเกยี่ วเมล็ดพนั ธ์ุ ต้องรอให้ความชนื้ ของเมลด็ พนั ธ์ุ
ลดลงจนเหมาะสมเสียก่อนจึงจะทำ�การเก็บเก่ียวเมล็ดพันธ์ุ ซึ่งจะแตกต่างกันไป
ขึน้ อยกู่ ับชนดิ ของเมล็ดพนั ธ์แุ ตล่ ะชนิด
12 การเกบ็ เมล็ดพนั ธุ์ไว้ใชใ้ นครัวเรือนอย่างงา่ ย
การเกบ็ เมล็ดพนั ธุ์ไวใ้ ช้ในครวั เรอื นอยา่ งงา่ ย 13
4) วิธกี ารเกบ็ เกย่ี ว (Seed harvesting methods)
มี 2 วธิ ี คอื การเกบ็ เกยี่ วดว้ ยแรงงานคน และเกบ็ เกยี่ วดว้ ยเครอื่ งจกั ร
4.1) การเก็บเกี่ยวดว้ ยแรงงานคน
เหมาะส�ำ หรบั การเกบ็ เกยี่ วจากพชื ทม่ี ลี กั ษณะการสกุ แกข่ อง
ผลผลิตไม่พร้อมกนั พืชท่ีฝักแตกหกั หรือเมล็ดรว่ งหล่นงา่ ย ตน้ พชื ลม้ มาก มีพ้ืนท่ี
เก็บเกี่ยวขนาดเล็ก หรือสภาพแวดล้อมไม่เหมาะสมต่อการใช้เคร่ืองจักร
การเก็บเก่ียวด้วยแรงงานคนจะได้เมล็ดพันธุ์ท่ีมีคุณภาพดี เพราะสามารถเลือก
เกบ็ เฉพาะเมลด็ ทส่ี กุ แกก่ อ่ นได้ และแรงกระแทกใหเ้ มลด็ บอบช�ำ้ มนี อ้ ย แตก่ ม็ ขี อ้ เสยี
ตรงทสี่ ิน้ เปลืองแรงงาน เวลา และต้นทนุ การผลิต
4.2) การเก็บเกี่ยวดว้ ยเครื่องจักร
เหมาะสำ�หรับการเก็บเก่ียวจากพืชท่ีมีลักษณะการสุกแก่
ของผลผลติ สม�ำ่ เสมอมพี นื้ ทเ่ี กบ็ เกยี่ วขนาดใหญ่ผลผลติ มปี รมิ าณมากการเกบ็ เกยี่ ว
ด้วยเคร่ืองจักรกล จะมีข้อเสียตรงท่ีเมล็ดบอบชำ้�เสียหาย (Seed injury)
จากเคร่อื งจกั รกล (Mechanical damage) ซ่งึ แบง่ ออกเปน็
4.2.1) ผลทเ่ี ห็นได้ทนั ที (Immediate effect) เช่น
l แตกร้าว (Crack)
l แยกเป็น 2 สว่ น (Split)
4.2.2) ผลปรากฏภายหลัง (Latent effect) เชน่
l ตน้ กล้าผดิ ปกติ (Abnormal seedling)
5) ชว่ งเวลาในการเกบ็ เกย่ี ว (Seed
harvesting periods)
การเก็บเกี่ยวเมล็ดพันธุ์ในช่วงเช้า
เ ม ล็ ด จ ะ ไ ด้ รั บ ค ว า ม เ สี ย ห า ย น้ อ ย ก ว่ า
การเกบ็ เกย่ี วในชว่ งบา่ ย ทงั้ นี้ เพราะในช่วงเชา้
เมลด็ ยงั คงมคี วามชน้ื สงู การบอบช�ำ้ เสยี หายของ
เมล็ดจึงค่อนข้างต�่ำ
2.1.3 ก า ร ป ฏิ บั ติ ต่ อ เ ม ล็ ด ห ลั ง ก า ร
เก็บเกยี่ ว (Handling)
เมล็ดท่ีเก็บมาจากต้นแล้วต้องได้รับ
การปฏิบัติอย่างถูกต้องและเหมาะสมโดยทันที
จงึ จะท�ำ ใหเ้ มลด็ พนั ธมุ์ คี ณุ ภาพดี ปจั จยั ทม่ี ผี ลตอ่
คณุ ภาพเมลด็ พนั ธใ์ุ นระหวา่ งการปฏบิ ตั ติ อ่ เมลด็
หลังการเก็บเกี่ยว ได้แก่ สิ่งแวดล้อม อุณหภูมิ
และการถ่ายเทอากาศเพ่ือการป้องกันการ
สญู เสยี ความมชี วี ติ ของเมลด็ พนั ธ์ุ และการควบคมุ
คุณภาพของเมล็ด ระยะหลังการเก็บเกี่ยว
ซึ่งได้แก่ การเก็บรักษาเมล็ดชั่วคราวในพ้ืนท่ี
และการขนส่ง จะต้องควบคุมปัจจัยแวดล้อม
ทม่ี ผี ลต่อคณุ ภาพเมล็ด
สภาพแวดลอ้ มท่ีตอ้ งควบคมุ คือ
l ความช้ืนท่ีเหมาะสม
l อุณหภมู ิที่ไม่สูงเกนิ ไป
l อากาศถ่ายเทไดส้ ะดวก
14 การเกบ็ เมล็ดพันธ์ุไวใ้ ช้ในครวั เรอื นอย่างง่าย
การเกบ็ เมล็ดพันธุ์ไวใ้ ช้ในครัวเรือนอยา่ งง่าย 15
ก า ร ป ฏิ บั ติ ห ลั ง ก า ร เ ก็ บ เ กี่ ย ว ที่ มี
ประสิทธิภาพควรมีการวางแผนที่ดี ก่อนการเก็บ
เมล็ดต้องมีการเตรียมการล่วงหน้าในเรื่องของ
การขนส่งเมล็ด และการปฏิบัติหลังการเก็บเก่ียว
(handling) เช่น การผึ่ง การแยกเยื่อหรือปีก และ
การเกบ็ รักษาเมลด็ ชัว่ คราว (Temporary storage)
เพอื่ ใหก้ ารปฏบิ ตั เิ ปน็ ไปอยา่ งรวดเรว็ และตามวธิ กี าร
ทถี่ กู ตอ้ ง อนั จะท�ำ ใหส้ ามารถรกั ษาคณุ ภาพของเมลด็
ไว้ได้ ส่ิงท่ีสำ�คัญท่ีสุดในการเก็บเมล็ดท่ีต้องคำ�นึงถึง
คือ ความสามารถในการขนส่งเมลด็ และการปฏิบัติ
หลงั การเกบ็ เมล็ด ตอ้ งใหส้ อดคล้องกับปรมิ าณเมล็ด
ที่เก็บ เพราะหากวา่ เก็บเมลด็ เกนิ ความสามารถแล้ว
จะทำ�ให้คุณภาพของเมล็ดเส่ือมต่ำ�ลง นอกจากน้ี
วิธีการปฏิบัติในการเก็บรักษาเมล็ดชั่วคราว และ
การขนสง่ ตอ้ งถูกตอ้ งและเหมาะสม
ขอ้ ควรปฏบิ ตั ิหลงั การเก็บเกี่ยว
1) เลือกวิธีการเก็บเก่ียวท่ีเหมาะสม
ตามชนดิ ของเมลด็ และสภาพพืน้ ที่
2) ใช้เวลาเก็บรักษาเมล็ดชั่วคราว
ในพน้ื ที่ และระยะเวลาในการขนสง่ ใหส้ ้นั ที่สดุ
3) ใหผ้ ลและเมลด็ อยใู่ นทท่ี ม่ี อี ากาศ
ถ่ายเทได้สะดวก โดยระหว่างการเก็บรักษา
ชั่วคราวก่อนการขนส่ง ให้กองเป็นชั้นบาง ๆ
บนตะแกรงหรอื ชน้ั ในระหวา่ งการขนสง่ ใหใ้ สใ่ น
ถุงผ้ากระสอบ หรือถงุ ตาข่าย
4) ควบคุมอุณหภูมิไม่ให้สูงเกินไป
โดยในระหว่างการขนส่งอย่าให้เมล็ดโดนแดด
โดยตรง หลกี เล่ยี งการจอดรถกลางแดด
5) ป้องกันเ มล็ดจ าก ความชื้น
โดยคลมุ เมลด็ ดว้ ยผา้ ใบ หรอื วสั ดกุ นั ชน้ื ชนดิ อนื่
6) ในผลสดอาจต้องเอาเนื้อออก
เพื่อไม่ให้เมล็ดเน่า แต่ไม่จำ�เป็นสำ�หรับผลสด
ที่เกบ็ เกยี่ วก่อนการสกุ แก่ของเมลด็
7) Recalcitrant seed เช่น เมล็ด
ล�ำ ไย มะม่วง ทเุ รียน เปน็ ต้น เป็นเมลด็ ทตี่ อ้ ง
ระวังอย่าให้ความช้ืนลดต่ำ�เกินไป โดยอย่าให้
โดนแดดโดยตรง ป้องกันการสูญเสียความช้ืน
โดยเก็บเมล็ดหรือคลุมเมล็ดด้วยวัสดุที่ช้ืน เช่น
ขีเ้ ลอื่ ย
16 การเก็บเมลด็ พนั ธ์ไุ วใ้ ชใ้ นครัวเรือนอย่างง่าย
การเก็บเมลด็ พันธ์ไุ ว้ใชใ้ นครัวเรอื นอยา่ งงา่ ย 17
2.1.4 ขบวนการเตรียมเมลด็ (Seed processing)
ขบวนการเตรยี มเมลด็ มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ ใหไ้ ดเ้ มลด็ สะอาด บรสิ ทุ ธ์ิ
คุณภาพสูง ง่ายต่อการเก็บรักษา การขนส่ง ตลอดจนการผลิตกล้า ขบวนการ
เตรียมเมล็ดมีอยู่หลายขั้นตอน ในการปฏิบัติควรเลือกดำ�เนินการให้สอดคล้อง
กบั ชนิด สภาพของเมล็ด และศกั ยภาพการเกบ็ รกั ษา ดงั น้ี
1) การทำ�ความสะอาดขั้นต้น เพ่ือแยกสิ่งที่ไม่ต้องการออก
เช่น กง่ิ ใบ เศษของผลหรอื เมล็ด
2) การบ่มหรือผึ่งเมล็ดขั้นต้น สำ�หรับเมล็ดที่ไม่สุกแก่ หรือ
เมลด็ ทีแ่ หง้ ท�ำ ให้การคัดแยกเมลด็ ทำ�ได้ยากข้ึน
3) การแยกเมล็ด ส�ำ หรบั ชนดิ ผลหรอื เมล็ดทีม่ ีเย่อื หรอื เนอ้ื ผล
4) การตัดหรอื ตปี ีก ส�ำ หรบั ผลหรือเมลด็ ท่ีมีปกี หนาม และขน
5) การทำ�ความสะอาด สำ�หรับผลหรือเมล็ดท่ียังไม่บริสุทธิ์
มสี ่งิ ตา่ ง ๆ เช่น กงิ่ ใบ เมลด็ ลบี ปะปนอยู่
6) การคัดเมล็ด สำ�หรับกลุ่มหรือกองท่ีมีขนาดเมล็ด
แตกตา่ งกัน
7) การปรับสภาพความชื้นในเมล็ด เพ่ือให้เมล็ดมีความชื้น
พอเหมาะสำ�หรบั การเกบ็ รักษา
2.1.5 การแยกเมลด็ (Extraction)
มีวัตถุประสงค์เพ่ือแยกเมล็ดออกจากผลหรือส่วนอ่ืนท่ีติดกับ
เมล็ด โดยให้ได้ปริมาณเมล็ดมากท่ีสุด และมีคุณภาพทางสรีระสูงสุด การแยก
เมล็ดจึงรวมถึงการเอาเน้ือเยื่อในผลสดออก การแยกเมล็ดออกจากผลของเมล็ด
แหง้ และการตดั หรอื ตีปลขี องเมล็ดหรอื ผลออก ดงั นัน้ ในการปฏิบตั ิควรพิจารณา
วิธีการท่ีถูกต้อง เหมาะสมกับเมล็ดแต่ละชนิด และเป็นวิธีการประหยัดท่ีสุด
วิธีการแยกเมล็ดที่ไม่ถูกต้องทำ�ให้คุณภาพของเมล็ดด้อยลง สำ�หรับการปฏิบัติ
จะแบ่งประเภทของเมล็ดตามลักษณะต่าง ๆ วิธีการแยกเมล็ดในแต่ละประเภท
จะแตกต่างกันไปตามปัจจัยต่าง ๆ ท่ีมีอิทธิพลต่อคุณภาพเมล็ดท้ังด้านกายภาพ
และสรรี ะ ซ่งึ มีแนวทางในการปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี
1) การแยกเมลด็ ตามสภาพของเมล็ดในขณะท่เี กบ็
เมล็ดที่สุกแก่เป็นเมล็ดท่ีมีคุณภาพดีที่สุด การแยกเมล็ด
สามารถปฏิบัติได้ในทันทีและตามขั้นตอนทั่วไปของการแยกเมล็ด แต่เมล็ด
บางชนดิ จ�ำ เปน็ ตอ้ งเกบ็ กอ่ นทเ่ี มลด็ จะสกุ แก่ เนอื่ งจากเมลด็ จะกระจายไปหมด หรอื
เป็นอาหารสัตว์ในระยะสุกแก่ จำ�เป็นต้องผ่านกระบวนการบ่มหรือผึ่งเมล็ด
ในข้ันต้นเสียก่อน เพื่อใหเ้ มลด็ มีการพัฒนาตอ่ ไปจนถงึ ระยะสกุ แก่ และช่วยแยก
เมล็ดท่มี ปี ัญหาเนอื่ งจากผลแห้งเร็วเกินไปไดง้ า่ ยขึน้
18 การเก็บเมลด็ พนั ธไ์ุ ว้ใชใ้ นครวั เรอื นอยา่ งง่าย
การเก็บเมล็ดพันธ์ไุ วใ้ ชใ้ นครวั เรือนอย่างง่าย 19
2) การแยกเมล็ดตามชนิดของผล
แบง่ ออกไดเ้ ปน็ ผลแหง้ และผลสด ซง่ึ ผลแหง้ แบง่ ยอ่ ยเปน็ ผลแกแ่ ตก
และผลแก่ไม่แตก วิธีการแยกเมล็ดมีอยู่ 2 รูปแบบ คือ แบบแห้ง เช่น การผ่ึง
การตาก การอบ และแบบเปียก เช่น การแยกเน้ือหรือเน้ือเยื่อโดยการหมัก
การขูดเน้ือออก (maceration) การแยกเมล็ดแต่ละชนิดอาจใช้เพียงรูปแบบใด
รูปแบบหน่ึง หรือการผสมผสานกนั
ผลแห้งชนิดแก่แตกผลจะแตกเองเม่ือสุกแก่ การแยกเมล็ดจึงทำ�
ไดง้ า่ ย ในขณะทผ่ี ลแหง้ ชนดิ แกไ่ มแ่ ตกตอ้ งแยกเมลด็ ออกโดยวธิ กี ล โดยในขน้ั แรก
อาจใช้การตากหรืออบเพ่ือให้เมล็ดแตก จากนั้นจึงทำ�การแยกเมล็ดออกจากผล
อกี ครงั้ โดยการตี ทบุ หรอื นวด ผลชนดิ ทเี่ รยี ก Serotionous ซงึ่ เปน็ ผลแหง้ ชนดิ แก่
ไม่แตก การแยกเมล็ดต้องอบด้วยความร้อนสูงผลจึงแตกออก สำ�หรับผลสด
การแยกตอ้ งใชแ้ บบเปยี ก คอื การแชใ่ นน�้ำ เพอื่ ใหเ้ นอื้ ผลยยุ่ เปอ่ื ย จากนนั้ อาจหมกั
หรอื ขดู เอาเน้ือออก (maceration) หลงั จากนนั้ ลา้ งใหส้ ะอาด
2.2 การคัดเลอื กคณุ ภาพของเมลด็ พนั ธ์ทุ ีด่ ี
1) มเี ปอรเ์ ซ็นต์ความงอกสูงและมอี ัตราการงอกดี
หมายถึง ทุกเมล็ดหรือเกือบทุกเมล็ดท่ีเพาะลงไปต้องงอก และงอก
ได้รวดเร็วหลังการเพาะ ลักษณะเช่นน้ีจะทำ�ให้ได้ต้นพันธุ์ที่สมบูรณ์แข็งแรง
เจรญิ เติบโตไดด้ ี และเมื่อเมล็ดมีคณุ สมบัติเช่นนี้ จะท�ำ ใหก้ ารคำ�นวณการใชเ้ มลด็
ในพื้นท่ีจะปลูกน้ันง่ายและแน่นอน พืชในแปลงจะมีระยะห่างและอัตราการ
เจริญเติบโตใกล้เคียงสมำ่�เสมอกัน การที่เมล็ดจะมีเปอร์เซ็นต์ความงอกสูงและ
อัตราการงอกดนี น้ั จะไดจ้ ากเมลด็ พนั ธใุ์ หม่ เก็บไว้ไมค่ า้ งปี อยา่ งไรกด็ ีถา้ มวี ิธีการ
เก็บรักษาเมล็ดพันธ์ุถูกต้องตามวิธีการแล้ว แม้ว่าเมล็ดนั้นจะมีอายุ 1 - 2 ปี
ก็ยงั มีเปอร์เซ็นต์ความงอกสูงอยู่
20 การเกบ็ เมลด็ พนั ธไ์ุ วใ้ ชใ้ นครวั เรอื นอย่างง่าย
การเกบ็ เมล็ดพันธ์ไุ ว้ใช้ในครวั เรือนอย่างงา่ ย 21
โดยทว่ั ไปกอ่ นจะตดั สนิ ใจใชเ้ มลด็ พนั ธป์ุ ลกู เปน็ การคา้ ควรทดสอบ
ทัง้ เปอร์เซน็ ตค์ วามงอก และอตั ราการงอกเสยี ก่อน โดยทดลองเพาะในกระดาษ
ช้นื ๆ สัก 25 - 50 เมล็ด โดยกำ�หนดระยะเวลา 7 วนั แลว้ ตรวจดวู ่าเมลด็ นนั้ งอก
กเ่ี มลด็ กจ็ ะทราบเปอรเ์ ซน็ ตก์ ารงอกภายใน 7 วนั เมลด็ พนั ธท์ุ ด่ี คี วรงอกหมดภายใน
7 วนั ไมค่ วรจะทยอยกนั งอกจนลา่ ชา้ เกนิ 15 วนั จะท�ำ ใหต้ น้ ผกั ทไ่ี ดโ้ ตไมส่ ม�ำ่ เสมอ
ยกเว้นเมล็ดพนั ธุท์ ี่งอกช้าตามธรรมชาตอิ ยู่แลว้ แต่กส็ ามารถมีวิธีเรง่ ใหง้ อกเรว็ ได้
2) ตรงตามลักษณะสายพนั ธุ์
กล่าวคือ เมล็ดน้ันเมื่อปลูกแล้วจะให้ต้นพันธุ์ท่ีมีลักษณะตรงตาม
ที่บอกไว้ข้างบรรจุภัณฑ์ที่บรรจุเมล็ดพันธุ์น้ันไว้ เน่ืองจากถ้าปลูกพืชหลายชนิด
ปนกัน แต่เป็นพืชในตระกูลเดียวกัน พืชเหล่านั้นอาจผสมปะปนทำ�ให้เมล็ด
ท่ีได้เม่ือนำ�ไปปลูกจะได้ต้นพันธ์ุใหม่ที่ไม่เหมือนต้นแม่ท่ีให้เมล็ดนั้น พืชเช่นนี้
มีหลายชนิด เช่น แตงกวา ฟักทอง กะหลำ�่ ปลี ข้าวโพดหวาน ดงั นัน้ เกษตรกร
ท่ีจะผลิตเมล็ดพันธพุ์ ืชเหล่านไ้ี ว้ใชเ้ อง จึงควรมีความรู้ในการปลกู พันธ์พุ ืชเหลา่ น้ี
แยกจากกันในระยะไกลพอ เพื่อมิให้เกิดการผสมข้ามเกิดขึ้น โดยเฉพาะ
ข้าวโพดหวาน เกษตรกรไมค่ วรผลิตเมลด็ พันธ์ใุ ช้เอง
3) เปน็ เมลด็ พนั ธท์ุ ป่ี ราศจาก
เชื้อโรคและแมลง
หมายถึง เมล็ดจะต้อง
มาจากกรรมวิธีการผลิตท่ีถูกต้อง
รวมทั้งวิธีการเก็บรักษาท่ีถูกวิธีด้วย
หากเมล็ดท่ีผลิตมาไม่ได้มาตรฐาน
จะมีเช้ือโรคและแมลงที่เป็นศัตรู
ต่อพืชน้ัน ติดมากับเมล็ดในส่วนของ
เปลอื กเมลด็ หรอื ภายในเมลด็ ได้ซงึ่ จะ
ไมส่ ามารถก�ำ จดั เชอื้ โรคนน้ั กอ่ นปลกู ได้
ดังน้ัน เมื่อนำ�เมล็ดนั้นไปปลูก เม่ือ
เมล็ดงอกเป็นต้น ต้นนั้นก็จะเป็นโรค
ทันที ทำ�ให้ผลิตผลเสียหายไม่เป็นไป
ตามเปา้ หมาย
4) เปน็ เมลด็ พนั ธท์ุ ป่ี ราศจาก
สิง่ ตา่ ง ๆ
เชน่ เมลด็ วชั พชื เศษหญา้
กรวด ทราย แม้กระทั่งเมล็ดลีบ
เมล็ดแตก เศษลำ�ต้นผัก ส่ิงเหล่านี้
จะเป็นอุปสรรคในการทำ�สวนผัก
ขั้ น ต่ อ ไ ป แ ล ะ แ ม้ แ ต่ ก า ร คำ � น ว ณ
นำ้�หนักเมล็ดเพ่ือใช้ในพื้นที่การ
เพาะปลกู
22 การเก็บเมลด็ พันธุ์ไว้ใชใ้ นครวั เรือนอยา่ งงา่ ย
การเกบ็ เมล็ดพนั ธ์ุไว้ใชใ้ นครวั เรอื นอย่างงา่ ย 23
การเก็บรักษาเมล็ดพันธ์ุไว้โดยให้ความงอกยังอยู่ดี ต้องคำ�นึงว่า
เมล็ดพันธุ์ท่ีมีอยู่น้ันมีความแก่เต็มท่ีดีแล้ว เมล็ดจะต้องแห้ง ส่วนความชื้น
จะเหลือมากน้อยเท่าใดขึ้นกับเมล็ดพันธุ์นั้น โดยทั่ว ๆ ไปมักเหลือ 4 - 8 %
และเก็บเมล็ดไว้ในที่ท่ีมีความชื้นและอุณหภูมิต่ำ� โดยเฉลี่ยห้องที่เก็บเมล็ดพันธุ์
ควรมีความชื้นสัมพัทธ์ประมาณ 30 – 45 % และอุณหภูมิประมาณ 4 - 10
องศาเซลเซียส นอกจากน้ีควรโรยยาฆ่าแมลงและยาฆ่าเชื้อราคลุกกับเมล็ดพันธุ์
นนั้ ไวเ้ พอ่ื ปอ้ งกนั อนั ตรายจากแมลงและเชอื้ รา หรอื ถงุ น�ำ เมลด็ พนั ธใ์ุ สไ่ วใ้ นโหลทบี่ รรจุ
แคลเซียมคลอไรด์ ซ่งึ เป็นสารดูดความชื้นและเกบ็ ขวดโหลนไี้ วใ้ นที่เยน็ และแหง้
2.3 การเก็บรักษาเมลด็ พนั ธุ์
การเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์เป็นการคงสภาพความมีชีวิตของเมล็ดพันธ์ุให้อยู่
ไดน้ านทีส่ ดุ ซงึ่ มอี ย่หู ลายวธิ ี เช่น
1) แบบเปิด เป็นวิธีการท่ีไม่สามารถควบคุมความช้ืน และอุณหภูมิของ
บริเวณท่ีเก็บเมล็ดพันธุ์ได้ ความมีชีวิตของเมล็ดจึงผันแปรไปตามสภาพอากาศ
ถ้าเมลด็ อย่ใู นสภาพทม่ี ีความช้นื สูงจะท�ำ ให้ความชน้ื ในเมลด็ สงู ขนึ้ ด้วย
2) แบบควบคุมความช้ืนของเมล็ด โดยเก็บในภาชนะที่ปิดสนิท เช่น
ขวดแก้วหรือขวดพลาสติก กระป๋อง ถุงที่ห่อด้วยซองอะลูมิเนียม เพื่อป้องกัน
ไม่ใหค้ วามช้ืนในอากาศเขา้ ไปในเมล็ดได้
3) แบบปรับสภาพให้เย็นและแห้ง เหมาะกับการเก็บรักษาเมล็ดพืช
หลายชนดิ เช่น ผัก ไมด้ อก ธญั พชื สภาพทม่ี ปี ระสิทธภิ าพสงู สดุ ควรรกั ษาระดบั
ความชนื้ ในเมลด็ 3 - 5 เปอรเ์ ซ็นต์ และเก็บในอณุ หภูมิ 1 - 5 องศาเซลเซยี ส
4) แบบอุ่นและช้ืน เหมาะกับการเก็บรักษาเมล็ดพืชเมืองร้อนหลายชนิด
เช่น ล�ำ ไย เงาะ มังคุด มะมว่ ง ทุเรยี น โกโก้ มักเปน็ เมลด็ พืชท่มี อี ายสุ น้ั ด้วย
24 การเกบ็ เมล็ดพนั ธไุ์ ว้ใช้ในครวั เรอื นอยา่ งง่าย
การเกบ็ เมล็ดพันธไุ์ ว้ใช้ในครวั เรือนอยา่ งงา่ ย 25
จะเห็นได้ว่าการเพาะเมล็ดจะต้องมีการเลือกใช้เมล็ดท่ีมีคุณภาพดี
เมลด็ มคี วามพรอ้ มทจ่ี ะงอกไดแ้ ลว้ จะตอ้ งมกี ารจดั การสภาพแวดลอ้ มใหเ้ หมาะสม
กบั การงอกดว้ ย เมลด็ จะงอกไดส้ งู สดุ ควรจะเพาะเมลด็ หลงั จากเกบ็ เมลด็ มาจากตน้
ได้ไม่นาน การเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์เป็นวิธีการช่วยรักษาคุณภาพไว้ให้นานขึ้น
ดังน้ัน การเก็บรักษาเมล็ดพันธ์ุจึงไม่ใช่การทำ�ให้เมล็ดที่มีอยู่มีคุณภาพดีขึ้น
การเกบ็ รกั ษาทไี่ มถ่ กู วธิ ี และการน�ำ เมลด็ ทม่ี ปี ญั หาอยแู่ ลว้ มาเกบ็ รกั ษาจงึ จะท�ำ ให้
เมลด็ มคี วามเสยี่ งตอ่ การสญู เสียคณุ ภาพในการงอกมากย่ิงขึ้น
2.4 การตรวจสอบคณุ ภาพเมล็ดพันธเุ์ บ้อื งต้น
2.4.1 คุณภาพเมล็ดพันธุ์ (Seed quality)
หมายถึง ผลรวมของลักษณะต่าง ๆ ของเมล็ดพันธ์ุท้ังกอง
(Seed lot) อันเป็นผลมาจากแต่ละเมล็ดแสดงลักษณะต่าง ๆ ออกมาร่วมกัน
ลักษณะทสี่ ำ�คญั ของคณุ ภาพเมลด็ พันธ์ุ จะมีคุณสมบัตดิ ังนี้
1) ตรงตามพนั ธุ์
2) มคี วามงอกสูง
3) มคี วามบริสุทธิ์สงู
4) ปราศจากโรคแมลงศตั รูพืช
5) มอี ายุการเก็บรกั ษาที่ยาวนาน
2.4.2 การทดสอบเมล็ดพันธุ์
คุณภาพของเมล็ดพันธุ์มีข้อกำ�หนดให้เป็นมาตรฐานเดียวกันไว้
โดยหน่วยงาน เชน่ ISTA (International Seed Testing Association), AOSA
(Association of Official Seed Analysts) ซ่ึงมีรายละเอียดของเมล็ดพันธุ์
ทที่ ดสอบ เชน่
1) การทดสอบความบรสิ ทุ ธขิ์ องเมลด็ พนั ธุ์ (purity test) เปน็ การ
ทดสอบเพอื่ วเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบเมลด็ พนั ธ์ุ (เปอรเ์ ซน็ ตโ์ ดยน�ำ้ หนกั ) และจ�ำ แนก
เมลด็ พนั ธพ์ุ ชื ชนดิ อน่ื ๆ และสงิ่ เจอื ปน ค�ำ นวณแตล่ ะสว่ นเปน็ เปอรเ์ ซน็ ตโ์ ดยน�้ำ หนกั
26 การเก็บเมล็ดพนั ธ์ุไว้ใชใ้ นครัวเรอื นอยา่ งง่าย
การเก็บเมลด็ พันธุไ์ วใ้ ช้ในครวั เรอื นอย่างง่าย 27
2) การทดสอบความชื้นในเมล็ดพันธ์ุ (moisture determination)
เป็นการหาความช้ืนโดยการช่ังหาน้ำ�หนักของเมล็ดเปรียบเทียบกับนำ้�หนัก
ของเมลด็ ทผ่ี า่ นการอบแหง้ หรอื ใชเ้ ครอื่ งมอื วดั ความชน้ื ของเมลด็ นอกจากนอี้ าจใช้
การหาจากคณุ สมบัติทางกายภาพของเมลด็ เชน่ การวัดคา่ การน�ำ ไฟฟ้า การวดั
คา่ ความต้านทานไฟฟา้ เปน็ ต้น
ท่มี า : https://pirun.ku.ac.th/~fengcwc/
วธิ เี พาะบนกระดาษเพาะ วิธเี พาะบนกระดาษพลที วิธเี พาะในทราย
(top of paper) (pleated paper) (sand)
3) การทดสอบความมชี วี ิตของเมล็ด (viability determination)
l การทดสอบความงอก (germination test) โดยนับจำ�นวน
ต้นกล้าที่มีลักษณะปกติ จากการเพาะด้วยเมล็ดพันธ์ุบริสุทธ์ิในสภาพแวดล้อม
ที่เหมาะสม คุณภาพเป็นเปอร์เซ็นต์ความงอกจาก 100 เมล็ด วิธีการเพาะ
เมล็ดท่เี ป็นมาตรฐานน้ีกระท�ำ ไดโ้ ดยวธิ เี พาะบนกระดาษเพาะ (top of paper),
วิธีเพาะระหว่างกระดาษเพาะ (between paper), วิธีเพาะบนกระดาษพลีท
(pleated paper) และวิธีเพาะในทราย (sand)
l การทดสอบโดยใช้สาร (tetrazolium) เป็นวิธีการทดสอบ
ความมชี วี ติ ของเมลด็ ทางชวี เคมี จากหลกั การทวี่ ่าการหายใจของเซลลท์ ่ีมีชวี ติ จะ
ใหก้ ๊าซไฮโดรเจน ซึ่งทำ�ปฏิกิรยิ ากบั สารละลาย 2,3,5 triphenyl tetrazolium
chloride (TTC) ซ่ึงไม่มีสีจะให้สีแดงของ triphenylformazan ทำ�ให้กลุ่ม
เนอ้ื เยอ่ื ภายในของเมลด็ ทสี่ �ำ คญั ใหส้ แี ดงทแี่ ตกตา่ งกนั ตามการมชี วี ติ ของตน้ กลา้
ขอ้ เสยี คอื ผทู้ ดสอบตอ้ งมคี วามเชยี่ วชาญสงู ในการตรวจสอบความมชี วี ติ ของเมลด็
สารเคมมี ีราคาแพง
28 การเกบ็ เมล็ดพนั ธุไ์ ว้ใช้ในครวั เรือนอย่างงา่ ย
การเกบ็ เมลด็ พนั ธไุ์ ว้ใช้ในครัวเรอื นอยา่ งงา่ ย 29
4) การทดสอบความแขง็ แรง
ของเมลด็ พนั ธ์ุ (seed vigor testing)
เปน็ วธิ กี ารทดสอบวา่ เมลด็
ทม่ี ชี วี ติ สามารถงอกไดน้ น้ั เมอื่ น�ำ ไปเพาะ
ในแปลงแล้วจะมีความแข็งแรงทนทาน
ต่อสภาพแวดล้อมและงอกได้เร็ว เมล็ด
ท่ีไม่มีความแข็งแรงอาจงอกได้ดีในห้อง
ปฏบิ ตั กิ ารแตง่ อกไดน้ อ้ ยในแปลงปลกู กไ็ ด้
5) การตรวจสุขภาพของ
เมลด็ (seed health testing)
โดยการตรวจสอบการ
แสดงอาการ ของโรคท่ีติดมากับเมล็ด
ซึง่ ตอ้ งใชค้ วามชำ�นาญในการตรวจสอบ
2.4.3 การตรวจสอบคณุ ภาพเมล็ดพนั ธุเ์ บือ้ งตน้ สำ�หรบั เกษตรกร
การตรวจสอบความงอกของเมล็ดพันธ์ุ
ความงอกของเมลด็ เปน็ คณุ สมบตั ทิ บี่ ง่ ชถ้ี งึ คณุ ภาพของเมลด็ พนั ธุ์
ได้ดีที่สุดลักษณะหน่ึง เกษตรกรสามารถด�ำ เนินการได้เอง โดยใช้อุปกรณ์ง่าย ๆ
ในครวั เรอื น เชน่ กระดาษชำ�ระชนดิ หนา หรอื ทราย หรือข้เี ถ้าแกลบ
เกษตรกรสามารถดำ�เนินการได้โดยสุ่มเมล็ดท่ีต้องการจำ�นวน
200 - 400 เมล็ด การสุ่มมีความจำ�เป็นเพราะจะทำ�ให้เมล็ดที่สุ่มเป็นตัวแทน
ทแ่ี ทจ้ รงิ ของเมลด็ ทเ่ี ราตอ้ งการทราบขอ้ มลู การสมุ่ จะน�ำ เมลด็ มาจากหลาย ๆ สว่ น
ในกระสอบ/ในถงุ ในการสมุ่ ไมค่ วรหยบิ มาจากเพยี งดา้ นบนหรอื บรเิ วณใดเทา่ นน้ั
เนื่องจากต้องการความสม่ำ�เสมอ เพ่ือให้ได้ตัวอย่างท่ีสามารถประเมินคุณภาพ
ของเมล็ดพันธุ์โดยรวมได้ ซึ่งเมล็ดหนักจะอยู่ด้านล่าง เมล็ดเบาจะอยู่ด้านบน
เมลด็ ทมี่ นี �้ำ หนกั มากกวา่ จะมคี ณุ ภาพเมลด็ ดกี วา่ การเพาะเมลด็ ควรท�ำ ซ�ำ้ 4 ครง้ั
คร้ังละ 100 เมล็ด หรือ 50 หรอื 25 เมล็ดตอ่ ครงั้ ก็ได้ โดยน�ำ เมลด็ พชื ชนดิ นน้ั
เพาะในสภาพแวดล้อมที่พืชน้ันต้องการ กล่าวคือต้องจัดสภาพแวดล้อมให้
เหมาะสมกับการงอกใหม้ ากที่สุด
30 การเก็บเมล็ดพันธ์ไุ ว้ใช้ในครัวเรือนอยา่ งง่าย
การเก็บเมลด็ พันธไ์ุ ว้ใชใ้ นครวั เรือนอย่างง่าย 31
กรณเี มลด็ ขนาดใหญ่
เช่น เมล็ดถ่ัว ข้าวโพด ข้าว
เป็นต้น ให้เพาะเมล็ดบนกระดาษชำ�ระ
ท่ีจมุ่ น้ำ�หมาด ๆ ซอ้ นกนั 2 แผน่ จากน้นั
ปิดทับด้วยกระดาษจุ่มนำ้�หมาด ๆ อีก
1 แผน่ วิธนี ้ีเรยี กว่า between paper
ท�ำ ซ�ำ้ 4 ซ้�ำ ใสไ่ ว้ในถุงพลาสติกใส แล้ว
วางไว้ในห้องท่ีมีอากาศถ่ายเทได้สะดวก นับความงอกของเมล็ดที่งอกปกติ
หลังจากเพาะไปแล้ว 14 วัน ระหว่างที่เมล็ดงอกหากกระดาษแห้งจนเกินไป
สามารถสเปรยน์ ้ำ�ให้กบั มว้ นกระดาษได้
กรณีเมลด็ พืชทมี่ ีขนาดเล็ก
เช่น กะเพรา โหระพา ผักชี
สามารถใช้กระดาษชำ�ระท่ีมีอยู่ทั่วไป
โ ด ย ใ ช้ ก ล่ อ ง พ ล า ส ติ ก ใ ส ท่ี มี ฝ า ปิ ด
นำ�กระดาษชำ�ระใส่ลงในกล่อง พ่นน้ำ�
ใส่ลงไปให้กระดาษเปียก แล้ววางเมล็ด
ลงบนกระดาษ ปดิ ฝากลอ่ งทง้ิ ไวป้ ระมาณ
1 - 2 สปั ดาห์ จงึ ทำ�การตรวจนับความงอกของเมล็ด
กรณีการใชท้ รายหรือขเ้ี ถา้ แกลบเพาะเมลด็
นิยมทำ�กบั เมลด็ ท่ีมขี นาดใหญ่ เชน่ เมล็ดถวั่ เมลด็ ขา้ วโพด เมลด็ บวบ
มะระ เช่นเดียวกับการเพาะบนกระดาษ โดยน�ำ ทรายหรอื ขี้เถ้าแกลบใสใ่ นกลอ่ ง
พลาสตกิ ทรงสงู หรอื ตะกรา้ แลว้ ฝงั เมลด็ ลงไปรดน�ำ้ ใหช้ มุ่ ประมาณ 1 - 2 สปั ดาห์
เมลด็ จะงอกขน้ึ มาและตรวจนบั ได้ ระหวา่ งการเพาะเมลด็ หากทรายแหง้ จนเกนิ ไป
สามารถสเปรย์นำ้�เพ่อื ให้ความชน้ื ได้
สรุป
1) การเก็บเก่ียวเมล็ดจะต้องให้เมล็ดมีการสุกแก่ทางสรีรวิทยาก่อน
การเกบ็ เรว็ หรอื ชา้ กว่า ช่วงการแกท่ างสรีรวทิ ยามผี ลเสียตอ่ คณุ ภาพเมลด็ พันธุ์
2) ช่วงการเก็บเกี่ยวเมล็ดพันธุ์จะต้องหลีกเล่ียงฤดูฝน ดังน้ันต้อง
วางแผนการปลกู ให้ถูกต้อง
3) การนวด การกะเทาะ เพ่ือนำ�เมล็ดออกจากฝัก/ผล ต้องทำ�อย่าง
ระมัดระวัง เพราะความชื้นในเมล็ดที่มากหรือน้อยเกินไปรวมถึงวิธีการนวด
จะก่อใหเ้ กดิ ความเสยี หายตอ่ เมล็ดได้
4) การลา้ งน�้ำ ท�ำ ความสะอาดเมลด็ พชื พวกแตงกวา มะเขอื เทศ สามารถ
แยกเมลด็ จมน�้ำ ซง่ึ มคี ณุ ภาพดอี อกจากเมลด็ ลอย ซง่ึ เปน็ เมลด็ ออ่ นออกจากกนั ได้
ถึงแม้จะพบว่าเมล็ดอ่อนเหล่าน้ันงอกได้ก็ตาม แต่จะเป็นต้นกล้าท่ีอ่อนแอ
และมอี ายุการเกบ็ รกั ษาส้ัน
5) แสงแดดจดั อณุ หภมู สิ งู วสั ดปุ ระเภทสงั กะสจี ะท�ำ ใหเ้ มลด็ ตายหรอื
เสอ่ื มสภาพไดง้ า่ ย ตอ้ งระวงั โดยเฉพาะเมลด็ ทตี่ อ้ งลา้ งน�้ำ เชน่ มะเขอื เทศ แตงกวา
ควรรบี ท�ำ ใหเ้ มลด็ แหง้ ใหไ้ วทสี่ ดุ เพอ่ื ปอ้ งกนั การเกดิ โรค แตต่ อ้ งไมใ่ ชอ้ ณุ หภมู ทิ สี่ งู
เกนิ ไป ไมค่ วรตากบนแผน่ สงั กะสี
32 การเก็บเมลด็ พนั ธ์ุไวใ้ ช้ในครัวเรือนอย่างงา่ ย
การเก็บเมลด็ พันธุไ์ วใ้ ช้ในครวั เรอื นอย่างง่าย 33
6) การบม่ ผล เชน่ แตงกวา มะเขอื เทศ ไว้ประมาณ 1 สัปดาห์ แลว้ น�ำ
ไปผา่ ช่วยใหเ้ มล็ดสมบรู ณย์ ่งิ ขนึ้
7) การหมักเมล็ด เช่น แตงกวา แตงไทย ไวป้ ระมาณ 1 คนื ชว่ ยให้
เมือกหรอื เย่อื หมุ้ เมลด็ ที่ติดอยู่กบั เมลด็ หลดุ ออกไดง้ ่าย แต่ต้องไมใ่ สน่ �้ำ เปล่าเพ่มิ
ในการหมักเพราะจะท�ำ ให้เมลด็ งอก
8) ควรเก็บรักษาเมล็ดไว้ในสภาพเย็นและแห้ง ถ้าต้องการเก็บไว้
ในตู้เย็นที่บ้านต้องเก็บไว้ในภาชนะปิดมิดชิด หรือใส่ถุงพลาสติกรัดปากถุง
ให้เรยี บรอ้ ยหา้ มอากาศเขา้
9) การทดสอบความงอกควรท�ำ ซ้�ำ 4 คร้งั ครั้งละ 100 หรอื 50 หรอื
25 เมลด็ น�ำ ไปไว้ในสภาพที่เหมาะสมตามความตอ้ งการของพชื นั้น ๆ แลว้ นำ�มา
คำ�นวณคา่ เฉล่ยี เป็นเปอรเ์ ซ็นตค์ วามงอกเบ้ืองตน้ ส�ำ หรบั เกษตรกรได้
บทที่ 3 การเก็บรักษาเมลด็ พนั ธ์ุ
การเก็บรักษาเมล็ดพันธ์ุเป็นกิจกรรมท่ีจำ�เป็นประการหน่ึงในวงจร
การเพาะปลูก เน่ืองจากฤดูปลูกถัดไปมักจะทิ้งช่วงจากฤดูกาลการเก็บเก่ียว
สำ�หรับพืชชนิดนั้น ๆ เกษตรกรจึงจำ�เป็นต้องเก็บเมล็ดพันธุ์ไว้ระยะหนึ่ง
น อ ก จ า ก ค ว า ม จำ � เ ป็ น ต า ม เ ง่ื อ น ไข ข อ ง เว ล า แ ล้ ว บ า ง ค รั้ ง ยั ง เ กิ ด
ภัยธรรมชาติ จึงจำ�เป็นต้องสำ�รองเมล็ดพันธุ์ไว้ใช้เพ่ือให้การเพาะปลูก
ดำ�เนินต่อไปได้ไม่ขาดสาย การเก็บรักษาเมล็ดพันธ์ุมีความจำ�เป็น
สำ�หรับงานปรับปรุงและพัฒนาพันธ์ุพืช โดยเฉพาะอย่างย่ิงในการเก็บ
และรวบรวมเชอ้ื พนั ธ์ุ นอกจากนบ้ี างคน หรอื บางองคก์ ร มกี ารท�ำ ธรุ กจิ อนั เกย่ี วกบั
334 การเกบ็ เมลด็ พันธ์ุไว้ใชใ้ นครัวเรือนอย่างงา่ ย
การเกบ็ เมลด็ พันธุ์ไว้ใชใ้ นครวั เรือนอย่างง่าย 35
การเก็บรักษาเมล็ดพันธ์ุด้วย การเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ไว้ใช้เองก็ดี ไว้ขายก็ดี
หรือไว้ใช้ในงานวิจัยและพัฒนาพันธุ์ก็ดี มิใช่เพียงแต่เก็บไว้ให้ปลอดภัย
จากนก หนู และแมลงเท่าน้ัน แต่จะต้องถนอมให้เมล็ดพันธ์ุยังคงมีความงอก
และความแข็งแรงเปน็ สำ�คัญ
แมว้ า่ โดยทวั่ ไปจะถอื วา่ การเกบ็ รกั ษาเมลด็ พนั ธน์ุ บั เรมิ่ ตงั้ แตก่ ารน�ำ เขา้
โรงเก็บ เมื่อเสร็จจากการปรับปรุงสภาพ และการบรรจุหีบห่อ ไปจนถึงการ
ขนออกจากโรงเก็บเพื่อจัดส่ง แต่น่ันเป็นเพียงส่วนหน่ึงเท่านั้น การเก็บรักษา
เมล็ดพนั ธุ์อาจจะแบ่งเปน็ ระยะต่าง ๆ ดงั นี้ คอื
1) การเกบ็ รกั ษาหลงั ลดความชนื้ ก่อนปรบั ปรุงสภาพ
2) การเกบ็ รกั ษาในระหวา่ งขน้ั ตอนตา่ ง ๆ ของการปรบั ปรงุ สภาพเมลด็ พนั ธุ์
3) การเก็บรักษาเมลด็ พนั ธ์หุ ลังจากบรรจหุ ีบห่อกอ่ นการขนสง่
4) การเก็บรกั ษาระหวา่ งการขนส่ง
5) การเก็บรกั ษา ณ จุดขาย หรอื ร้านคา้ ย่อย ก่อนการจ�ำ หนา่ ย
6) การเกบ็ รกั ษาหลังการซ้อื ขายกอ่ นการเพาะปลกู
3.1 ปัจจัยทีม่ ผี ลตอ่ การเกบ็ รกั ษาเมล็ดพนั ธุ์
การเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ คือ การดำ�รงไว้ซึ่งความมีชีวิตของเมล็ดพันธ์ุ
ให้ยาวนานออกไป ในการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์จึงมีปัจจัยต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้อง
หลายประการ สามารถสรุปได้ 2 ประการ คือ
1) ปัจจยั ภายใน
l ชนิดของเมล็ดพันธ์ุ เมล็ดแต่ละชนิดมีอายุการเก็บรักษา
แตกตา่ งกนั ไปตามพันธุกรรม เชน่ ขา้ วเก็บไดน้ านกว่าถว่ั เหลอื ง
l โ ค ร ง ส ร้ า ง แ ล ะ อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ท า ง เ ค มี ข อ ง เ ม ล็ ด พั น ธ์ุ
เชน่ เมลด็ ทมี่ อี งคป์ ระกอบของแปง้ จะเกบ็ ไว้ ไดน้ านกวา่ เมลด็ ทม่ี อี งคป์ ระกอบของไขมนั
l ความมีชีวิต ความสุกแก่ ความแข็งแรง การพักตัวของเมล็ด
กระบวนการภายในเมลด็ และผลของสภาพแวดลอ้ มตอ่ เมลด็ พนั ธุ์ มผี ลโดยตรงตอ่
อายกุ ารเกบ็ รกั ษา เชน่ เมล็ดที่มคี วามมชี วี ิตสงู เมอ่ื เกบ็ เก่ียวจะสามารถเกบ็ รกั ษา
ได้นานกวา่ เมล็ดที่มคี วามมชี ีวิตต่ำ�
2) ปจั จยั ภายนอก
l การจัดการในแปลงปลูก การให้น�ำ้ ปุ๋ย การป้องกันกำ�จดั ศตั รพู ืช
เป็นส่ิงท่ีมีผลกระทบต่อการพัฒนาของเมล็ด โดยในระหว่างพัฒนาเมล็ดน้ัน หาก
เกดิ สภาวะท่ีไม่เหมาะสมหรือไดร้ ับสารอาหารไม่เพียงพอ เมล็ดอาจมกี ารพัฒนา
ไมส่ มบรู ณ์ ขาดความแข็งแรง ซึง่ ส่งผลต่ออายกุ ารเก็บรกั ษาในทส่ี ุด
l สภาพแวดล้อมในแปลงปลูก การจัดการเก็บรักษาเมล็ดพันธ์ุ
เริ่มต้นตั้งแต่ในแปลง เม่ือเมล็ดพันธ์ุถึงจุดสุกแก่ เมล็ดพันธ์ุจะไม่ถูกดูแลและ
ปกป้องจากต้นแมอ่ ีกต่อไป สภาพแวดล้อมในแปลงปลูก เชน่ อณุ หภูมิ ความช้นื
36 การเกบ็ เมลด็ พันธ์ไุ ว้ใชใ้ นครัวเรอื นอยา่ งง่าย
การเกบ็ เมลด็ พันธุไ์ วใ้ ช้ในครัวเรือนอย่างงา่ ย 37
โรค แมลง ศตั รูพืชอืน่ ๆ วิธีการเกบ็ เก่ยี ว การกะเทาะเมลด็ จะสง่ ผลกระทบต่อ
คุณภาพเมล็ดพันธุ์โดยตรง ไม่ว่าจะเป็นความมีชีวิต ความสุกแก่ ความแข็งแรง
และสขุ ภาพเมลด็ พนั ธุ์ หากท�ำ การเกบ็ เกย่ี วเมลด็ พนั ธใ์ุ นระยะเวลาและสภาพแวดลอ้ ม
ที่เหมาะสม จะทำ�ให้การเก็บรักษาเมล็ดพันธ์ุให้คงคุณภาพดีสามารถทำ�ได้
ประสบความส�ำ เร็จ
l อุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ์ของสภาพการเก็บ และความช้ืน
ของเมล็ด เมล็ดจะเก็บรักษาไว้ได้อย่างปลอดภัยจะต้องมีความชื้นต่ำ� เมล็ดที่มี
ความชื้นสูงจะมขี บวนการเมตาโบลซิ ึมสงู นอกจากนโ้ี รคและแมลง จะเข้าทำ�ลาย
ได้ง่ายทำ�ให้เส่ือมคุณภาพเร็วเก็บไว้ไม่ได้นาน และเนื่องจากเมล็ดเป็นส่ิงที่มี
คณุ สมบตั ทิ เ่ี รยี กวา่ “ไฮโกรสโคปกิ ” (hygroscopic) คอื สามารถรบั หรอื ถา่ ยเท
ความชนื้ ของตวั เองให้สมดลุ กับบรรยากาศภายนอก
l การปฏิบัติหลังการเก็บเก่ียว วิธีการเก็บเก่ียวการลดความชื้น
และการปรับปรุงสภาพเมล็ดพันธ์ุที่เหมาะสมเป็นส่ิงจำ�เป็นในการลดความ
เสยี หายที่จะเกิดข้นึ กับเมลด็ พันธ์ุ เพราะเมล็ดพันธ์ุท่ีเสยี หายจากเคร่ืองจกั ร หรอื
การลดความชื้นในอุณหภูมิท่ีสูงเกินไป หรือลดความช้ืนให้อยู่ในระดับที่ตำ่�หรือ
สูงเกินไป จะมีผลให้เกิดการเส่ือมสภาพไวกว่าเมล็ดพันธุ์ท่ีได้รับการจัดการที่ดี
ควรเก็บเก่ียวเม่ือถึงระยะตัวทางสรีรวิทยาแล้วเท่านั้นอย่าปล่อยไว้ในไร่นา
เพราะจะกระทบกบั สภาพความช้นื ที่แปรปรวน การนวดและกะเทาะต้องกระทำ�
ด้วยความระมัดระวังอย่าให้แตกร้าวและต้องลดความชื้นโดยการผ่ึงแดดและ
ทำ�ความสะอาดแล้วบรรจุภาชนะโดยเร็ว การปฏิบัติหรือการเก็บเกี่ยวที่ถูกต้อง
ชว่ ยชะลอการเสื่อมคณุ ภาพของเมลด็ พันธไุ์ ดท้ างหน่งี
l สภาพของที่เก็บรักษา ควรมีสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสม
ไม่เป็นอันตรายต่อคุณภาพของเมล็ดพันธ์ุ สภาพของโรงเก็บเมล็ดพันธ์ุท่ีดี
โรงเก็บเมล็ดพันธ์ุจะต้องมีคุณลักษณะท่ีแตกต่างและพิเศษกว่าโรงเก็บสินค้า
ทวั่ ๆ ไป ด้วยเหตทุ วี่ ่าเมลด็ พนั ธ์ุเปน็ ส่งิ มชี ีวติ และจะต้องคงความมีชีวิตนี้ไว้ดว้ ย
โรงเก็บจึงต้องมีสภาพท่ีเหมาะสมมั่นคงแข็งแรง และสามารถป้องกันสิ่งต่าง ๆ
ทจี่ ะมากระทบและเกิดอันตรายตอ่ สุขภาพของเมล็ดพันธไุ์ ด้ โดยทั่ว ๆ ไปสภาพ
ของโรงเก็บเมลด็ พนั ธุ์ท่ดี คี วรมีลักษณะดงั น้ี
พนื้ ที่จดั เก็บ ควรราบเรยี บสมำ่�เสมอ ม่ันคง แขง็ แรง สามารถ
ทานนำ้�หนักเมล็ดพันธุ์ท่ีกดทับได้ ป้องกันน้ำ�ได้ดี นำ้�เป็นศัตรูท่ีสำ�คัญท่ีสุด
ของเมล็ดพันธ์ุในระหว่างการเก็บรักษา โรงเก็บจึงต้องสามารถป้องกันนำ้�และ
ความช้ืน ควรมีโครงสร้างหลังคาและกำ�แพงท่ีสามารถป้องกันฝนได้ดี หรือไม่มี
รอยแตกรั่ว อีกท้ังการยกระดับให้สูงกว่าพ้ืนดินโดยรอบ มีการป้องกันความช้ืน
จากใต้ดินและสามารถระบายนำ้�ออกจากพื้นท่ีโรงเก็บเมล็ดพันธุ์ได้อย่างรวดเร็ว
การระบายอากาศที่ดี การระบายอากาศให้เกิดการหมุนเวียน
ถ่ายเทภายในโรงเก็บ เป็นการช่วยลดความเสี่ยงการเกิดความร้อนและความชื้น
สะสมภายในกองเมล็ดพันธุ์ โรงเก็บท่ีมีการติดตั้งพัดลมดูดอากาศจะช่วยในการ
ระบายอากาศได้ดี
ปอ้ งกนั ศตั รไู ด้ โดยเฉพาะนก หนู และแมลง มกั สรา้ งปญั หาเขา้
ทำ�ลายเมล็ดพันธ์ุในระหว่างการเก็บรักษาเป็นอย่างมาก โรงเก็บจึงควรสร้าง
อยา่ งแขง็ แรงมิดชิด ปราศจากร่องและซอกแตกตามผนงั อาคาร อันจะทำ�ใหศ้ ตั รู
ตา่ ง ๆ นน้ั เคลื่อนย้ายเขา้ หรืออาศยั เปน็ แหล่งหลบซอ่ นไดง้ ่าย
338 การเก็บเมล็ดพันธุไ์ วใ้ ช้ในครวั เรือนอย่างงา่ ย
การเก็บเมลด็ พันธไ์ุ วใ้ ช้ในครัวเรอื นอยา่ งงา่ ย 39
ป้องกันอุณหภูมิ โครงสร้างและหลังคาของโรงเก็บควรใช้วัสดุ
ทป่ี อ้ งกนั ความรอ้ นไดด้ ี มกี ารตดิ ตง้ั ฉนวนกนั ความรอ้ นเพอ่ื ลดอณุ หภมู ใิ นโรงเกบ็
และทาสดี ว้ ยสีท่ีสวา่ งทนความรอ้ นได้ดี
ป้องกันการปะปน เมล็ดพันธุ์ท่ีจัดเก็บในโรงเก็บควรมีการ
แยกจัดเก็บไม่ให้มีการปะปนได้ ควรมีการติดป้ายหรือเคร่ืองหมายให้ชัดเจน
ความสะอาดของโรงเก็บและอาณาบริเวณเป็นส่ิงที่ต้องดูแลอยู่เป็นประจำ�
นอกจากจะช่วยลดอัตราการระบาดของศัตรูพืชได้มากแล้ว โรงเก็บท่ีสะอาด
ยังสรา้ งภาพพจนค์ วามมีคุณค่าตอ่ สนิ คา้ เมลด็ พันธ์แุ กผ่ ้ไู ด้พบเห็นดว้ ย
3.2 วธิ ีการเก็บรักษาเมลด็ พันธ์ุ
1) แบบเปิด เมล็ดพันธุ์อยู่ในสภาพอากาศปกติ ซ่ึงอาจจะท�ำ ให้ป้องกัน
ความช้ืนหรือควบคุมอุณหภูมิของการเก็บไว้ไม่ได้ อายุและสภาพของเมล็ดจึง
ขน้ึ อยกู่ บั การเปลย่ี นแปลงของสภาพอากาศ ถา้ เมลด็ พนั ธเ์ุ กบ็ อยใู่ นทท่ี มี่ คี วามชน้ื สงู
กจ็ ะท�ำ ใหเ้ มลด็ พันธมุ์ คี วามชน้ื สูงตามไปด้วย
2) แบบควบคุมความช้ืนของเมล็ด โดยการเก็บเมล็ดพันธุ์ในภาชนะท่ี
ปดิ สนิท อากาศเขา้ ออกไม่ได้ เช่น ขวดแกว้ หรือขวดพลาสตกิ กระป๋อง หรือถุง
ท่ีห่อดว้ ยซองอะลูมเิ นยี ม เพอ่ื ป้องกันความชน้ื
3) แบบปรับสภาพให้เย็นและแห้ง เหมาะสำ�หรับการเก็บรักษาธัญพืช
หรือไม้ดอก โดยการเก็บรักษาในตู้เย็นที่มีอุณหภูมิอยู่ท่ี 1 - 5 องศาเซลเซียส
และความชืน้ ของเมล็ดพนั ธุ์อยทู่ ี่ 3 - 5 เปอร์เซ็นต์ การเก็บรักษาแบบน้ี อาจจะ
เกบ็ ไดน้ านถึง 2 ปี ในกรณใี ช้ต้เู ย็นธรรมดา
4) แบบอุ่นและช้ืน เก็บในภาชนะท่ีปิดแน่นแต่อยู่ในอุณหภูมิปกติ
เหมาะสมกบั การเกบ็ รักษาเมล็ดพนั ธุ์พชื แบบเขตร้อน เชน่ มะม่วง ทุเรยี น มงั คดุ
3.3 ขัน้ ตอนการเกบ็ รกั ษาเมล็ดพันธ์ุ
1) คัดเลือกเมล็ดพันธุ์ที่มีความเหมาะสม คือ เป็นเมล็ดที่มีคุณภาพ
มีสภาพสมบรู ณแ์ ละมีน�ำ้ หนกั ดี
2) ท�ำ ความสะอาดเมลด็ พนั ธุ์
3) ในกรณที เี่ มลด็ พนั ธทุ์ เ่ี กบ็ มาจากผลแหง้ เชน่ กระเจยี๊ บเขยี ว น�ำ้ เตา้ หรอื
ถวั่ พู ตอ้ งน�ำ ไปผง่ึ แดดไวก้ อ่ นประมาณ 3 - 5 วนั สว่ นเมลด็ พนั ธทุ์ เี่ กบ็ ในชว่ งเรมิ่ สกุ
เช่น ข้าวโพด นำ�พืชท่ีเก็บมารวมกันไว้แล้วนำ�ไปผ่ึงลม แต่ต้องไม่ให้โดนแดด
อย่างต�่ำ ประมาณ 8 วัน แลว้ ค่อยเขา้ สู่ข้นั ตอนต่อไป
4) ทำ�การคัดกรองเอาฝุน่ หรอื เศษดนิ ออก อาจท�ำ โดยการฝัดดว้ ยกระดง้ กไ็ ด้
5) เลือกวิธีการเก็บรกั ษาเมลด็ พนั ธ์ใุ นแบบทเี่ หมาะสมกบั เมล็ดพันธุ์
3.4 ภาชนะท่ีใช้ในการบรรจุ
สำ�หรับการเก็บรักษาในปริมาณน้อย สามารถจะเลือกใช้บรรจุภัณฑ์
ชนดิ ต่าง ๆ แทนหรือเสริมกับโรงเกบ็ ประสทิ ธภิ าพของบรรจุภัณฑข์ น้ึ อยู่กับวสั ดุ
ที่ใชท้ ำ� โดยควรมีคุณสมบตั ิ ดังนี้
1) ป้องกันความชื้น คือ ไอของความชื้นจะไม่สามารถผ่านได้เลย
เชน่ กระปอ๋ งดบี กุ อะลมู เิ นยี ม ขวดแกว้ พลาสตกิ แขง็ ถงุ พลาสตกิ ความหนา 7 มลิ ลเิ มตร
ข้ึนไป ซึ่งจะต้องมกี ารเชือ่ มปดิ สนทิ โดยความรอ้ น หรือมีปะเก็นปดิ เสรมิ ที่ฝา
40 การเก็บเมลด็ พนั ธ์ไุ วใ้ ช้ในครัวเรอื นอย่างงา่ ย
การเก็บเมล็ดพนั ธุ์ไวใ้ ช้ในครัวเรือนอยา่ งง่าย 41
2) ตา้ นทานความชน้ื คอื ไอความชนื้ สามารถซมึ ผา่ นไดใ้ นระยะยาว เชน่
พลาสติกบาง ถงุ พลาสตกิ สาน ท่ีมเี ยอ่ื พลาสตกิ บซุ ้อนภายใน รวมทงั้ ถุงพลาสติก
ชนิดหนาท่ีใช้การเย็บปิดปากถุง ขวดแก้วและกระป๋องกดปิดด้านบน ซ่ึงไม่มี
ปะเกน็ เสรมิ ท่ฝี า
3) อากาศผ่านได้ เช่น ถงุ ผา้ ถุงกระดาษ และกระสอบพลาสตกิ สาน
4) ปอ้ งกนั การปะปน ร่วงหล่นของเมลด็
5) เหมาะสมต่อสภาพการเก็บรกั ษา
6) ป้องกนั ความเสียหายจากการเข้าทำ�ลายของศัตรเู มลด็ พันธุ์
เมล็ดพันธ์ุท่ีบรรจุในภาชนะปิดผนึกหรือปิดสนิท (หมายถึงที่ทำ�จาก
วัสดุตามข้อ 1)) ตัวอย่างเช่น พืชผักขนาดเล็กหรือไม้ดอกท่ีบรรจุในกระป๋อง
ปดิ ผนกึ จะไดร้ บั ผลกระทบจากสภาพอากาศภายนอกนอ้ ยมาก แตท่ ส่ี �ำ คญั คอื จะตอ้ ง
ลดความชน้ื เมลด็ ใหต้ �่ำ กวา่ การเกบ็ ธรรมดา 2 - 3 % หรอื รกั ษาระดบั ไวท้ ี่ 5 – 8 %
ซง่ึ ความชน้ื ทรี่ ะดบั นจี้ ะเปน็ ตวั ก�ำ หนดความชน้ื สมั พทั ธข์ องอากาศภายในภาชนะ
ปิดท่ีจุดสมดุล ประมาณ 30 – 35 % จึงจะท�ำ ให้เมล็ดมีอายุยาวนานมากกว่า
4 ปขี นึ้ ไป
ท้ังนี้ เนื่องจากการนำ�เมล็ดที่มีความชื้นสูงบรรจุในภาชนะปิด เมล็ด
จะหายใจและเปลย่ี นแปลงสภาพทใ่ี ชเ้ กบ็ รกั ษา มเี ชอ้ื รา ท�ำ ใหเ้ มลด็ เสอ่ื มและตาย
เร็วกว่าการบรรจุในภาชนะท่ียอมให้อากาศผ่าน บรรจุภัณฑ์ที่ทำ�จากวัสดุตาม
ขอ้ 2) กจ็ ะตอ้ งลดความชนื้ ขณะเรม่ิ บรรจใุ หอ้ ยใู่ นระดบั เดยี วกบั ภาชนะปดิ สนทิ ดว้ ย
บทท่ี 4 ตวั อย่างวิธกี ารเก็บเมล็ดพันธ์ุ
4.1 กล่มุ เมล็ดแหง้
หลักการเก็บเมลด็ พนั ธ์ุ (กลมุ่ เมล็ดแหง้ )
l การเก็บเกี่ยวเมล็ดพันธ์ุจะต้องเก็บในระยะที่เมล็ดแก่เต็มที่ และไม่ควร
ปลอ่ ยเมลด็ ใหแ้ หง้ คาตน้ นาน เพราะมโี อกาสทจี่ ะท�ำ ใหเ้ มลด็ เสอ่ื มคณุ ภาพไดง้ า่ ย
42 การเก็บเมลด็ พนั ธ์ไุ วใ้ ชใ้ นครัวเรือนอย่างงา่ ย
การเก็บเมล็ดพนั ธุ์ไว้ใชใ้ นครัวเรือนอยา่ งง่าย 43
l ความชื้นในเมล็ดมีความ
สำ�คัญต่อคุณภาพเมล็ดพันธุ์มาก ควร
ลดความช้ืนไม่ให้เกิน 10 เปอร์เซ็นต์
เนื่องจากจะทำ�ให้เกิดการแพร่ของโรค
และแมลงได้ง่ายถ้าเมล็ดมีความช้ืนสูง
แ ต่ ไ ม่ ค ว ร ล ด ค ว า ม ช้ื น ใ ห้ ต่ำ � ก ว่ า
4 เปอร์เซ็นต์ เพราะจะส่งผลให้ความ
แขง็ แรงของเมล็ดพันธ์ุลดต�ำ่ ลง
ใ นสภาlพค กวาามรเชกื้น็บสรัมักพษัทาธเม์ตลำ่�็ดอคุณวรหเภกูม็บิตไว่ำ�้
และควรเก็บไว้ในภาชนะอบั ลม
l เมล็ดพันธุ์เมื่อผลิตแล้วควร
นำ�มาใช้ให้เร็วที่สุด จะทำ�ให้ได้คุณภาพ
ต้นกล้าดีท่สี ดุ
l ทุกข้ันตอนมีความสำ�คัญ
ตอ่ ปรมิ าณและคณุ ภาพเมลด็ พนั ธ์ุ ผผู้ ลติ
เมลด็ พนั ธุ์ตอ้ งติดตามอยา่ งต่อเนอ่ื ง
44 การเกบ็ เมลด็ พนั ธ์ไุ ว้ใชใ้ นครวั เรือนอยา่ งงา่ ย
การเกบ็ เมลด็ พันธุ์ไว้ใช้ในครัวเรอื นอยา่ งงา่ ย 45
ตวั อยา่ ง(กกลาุ่มรเมเกล็ด็บแเหม้งล) ็ดพันธุ์
1.บวบ
1.1 ลกั ษณะของผล/ฝกั (สด) ผลสมบูรณ์ มขี นาดผลยาว สีเขียวออ่ น
ฝักตรงไมค่ ดงอ
1.2 อายพุ นั ธุ์ บวบอายุ 120 วนั
1.3 ลักษณะการแก่ของผล/ฝัก สังเกตจากสีของฝักจะเปล่ียนเป็น
สีนำ้�ตาล ผลแหง้ และเบา
46 การเก็บเมล็ดพันธุ์ไว้ใช้ในครวั เรอื นอยา่ งงา่ ย
การเกบ็ เมล็ดพันธไุ์ วใ้ ชใ้ นครวั เรอื นอยา่ งง่าย 47
1.4 วิธีการเกบ็
1) เก็บผลมาผ่ึงแดด 3 - 4 แดด
เพื่อใหเ้ ปลือกแหง้ สนิท
2) น�ำ เอาเมลด็ ออกจากฝกั และท�ำ
ความสะอาด แล้วน�ำ ไปผงึ่ ลมหรอื ผึ่งแดดอ่อนๆ
(ชว่ งเวลา 8.00 - 10.00 น.และชว่ ง 15.00 - 17.00 น.)
อีกประมาณ 2 - 3 ครงั้ จากนัน้ น�ำ มาผงึ่ ในรม่
ให้เย็นแลว้ คอ่ ยเก็บใส่ซองพลาสติก
3) เขียนช่ือ/วันเดือนปีท่ีเก็บ
แลว้ พบั ใสใ่ นถงุ พลาสตกิ รดั ปากถงุ แลว้ เกบ็ ไวใ้ น
ตู้เย็นเพื่อรักษาอัตราการงอกและลดการหายใจ
ของเมล็ดพันธุ์ให้น้อยที่สุด จะสามารถเก็บ
เมลด็ พันธุ์ไว้ใช้ได้นาน 1 - 2 ปี
หรือมีอีกวิธีในการเก็บรักษา
เมลด็ พนั ธบุ์ วบ คอื การเกบ็ ทงั้ ฝกั โดยการแขวน
ไว้ในที่ร่ม แต่อัตราการงอกจะลดลงเรื่อย ๆ
เพราะสภาพอากาศภายนอกมีการเปลี่ยนแปลง
ตลอดเวลา เมล็ดพันธุ์อาจจะเก็บไว้ใช้ได้แค่
ปีเดียว (บวบ : ปล่อยให้ผลแห้งคาต้น แล้วจึง
เอามีดปาดแกะเอาเมล็ดออกมา และตากเมล็ด
ในที่ร่ม 4 - 5 วัน จงึ เก็บได้)
1.5 วธิ ีสังเกตเมล็ดสมบูรณข์ องพชื
เมลด็ สดี �ำ บางเมลด็ อาจมกี ระสขี าว
ลักษณะเมลด็ ไม่บิดเบย้ี ว ไม่มีรอยบุ๋ม มนี �ำ้ หนัก
ไม่มรี อยแตก
2.ถั่วฝกั ยาว
2.1 ลกั ษณะของผล/ฝัก (สด) ฝักสมบรู ณ์ไมค่ ดงอ เนอ้ื หนา น�ำ้ หนักดี
2.2 อายพุ ันธ์ุ ฝกั จะแกแ่ ละเร่ิมเกบ็ เมล็ดพนั ธุเ์ มอ่ื อายุ 60 - 65 วนั
2.3 ลักษณะการแก่ของผล/ฝัก สังเกตสีของฝักถั่วฝักยาวจะเป็นสี
น้ำ�ตาลไม่ถึงกับแห้งสนิท ไมค่ วรทิง้ ให้แหง้ คาต้นเพราะเปลือกถว่ั จะดูดกินอาหาร
จากเมลด็ ท�ำ ให้เมล็ดไม่สมบรู ณ์
48 การเกบ็ เมล็ดพันธุไ์ ว้ใชใ้ นครัวเรือนอย่างง่าย
การเก็บเมลด็ พนั ธไ์ุ วใ้ ชใ้ นครวั เรือนอยา่ งง่าย 49
2.4 วธิ ีการเก็บ
1) ทำ�การเก็บเกี่ยวฝักท่ีแก่เต็มท่ี
มีลักษณะพองเปล่ียนสีเป็นสีน้ำ�ตาลอ่อน แต่ฝัก
ยงั ไมแ่ หง้ กรอบ
2) น�ำ มาผงึ่ แดด 2 - 3 วนั จากนนั้
น�ำ มานวดแยกเมลด็ โดยใสก่ ระสอบแลว้ ทบุ เบา ๆ
หรอื ใชม้ อื ขยเ้ี พอื่ เอาเปลอื กออกแลว้ ฝดั ใหส้ ะอาด
เลอื กเอาเฉพาะเมลด็ ที่สมบูรณ์
3) น�ำ ไปผง่ึ แดดอกี รอบประมาณ
1 - 2 วัน จนเมล็ดแห้ง มีความช้ืนประมาณ
8 เปอร์เซ็นต์ นำ�ไปเก็บไว้ในภาชนะอับลม
(แนะนำ�ให้เป็นถุงกระดาษ) เช็คความแห้งของ
เมล็ดก่อนเก็บเข้าภาชนะเก็บ
4) เขียนช่ือ/วันเดือนปีที่เก็บ
แลว้ พบั ใสใ่ นถงุ พลาสตกิ เกบ็ ไวใ้ นตเู้ ยน็ เพอ่ื รกั ษา
อัตราการงอกและลดการหายใจของเมล็ดพันธ์ุ
ให้น้อยท่ีสุด จะสามารถเก็บเมล็ดพันธุ์ไว้ใช้
ได้นาน 1 - 2 ปี
2.5 วิธีสงั เกตเมลด็ สมบูรณ์ของพชื
เมล็ดมสี เี สมอกนั ตามแตล่ ะพนั ธุ์
ไม่แตกหัก ไม่มีร่องรอยแมลงเข้าไปทำ�ลาย
มีน�ำ้ หนกั พอเหมาะ