The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

4-การสร้างความร่วมมือระหว่างบ้านและโรงเรียน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nippitsadudee, 2021-04-15 23:47:35

4-การสร้างความร่วมมือระหว่างบ้านและโรงเรียน

4-การสร้างความร่วมมือระหว่างบ้านและโรงเรียน

 1. เขา้ ใจพฒั นาการและความแตกตา่ งรายบคุ คลของลกู



เด็กในวัยนี้มีการเจริญเติบโตที่รวดเร็วมาก จึงจาเป็ นอย่างยิ่งท่ี
ผปู้ กครองจะรแู้ ละเขา้ ใจ สามารถส่งเสริมพัฒนาการอย่างเหมาะสม
เพราะการเจริญเตบิ โตในชว่ งใดชว่ งหนงึ่ จะเป็ นพื้นฐานของการเจริญเตบิ
ในช่วงต่อไป ท้ังนี้เพ่ือไม่ใหเ้ กิดการชะงกั งนั อีกท้ังเด็กแต่ละคนมีความ
แตกตา่ งกนั มีสไตล์ (style) ท่ีอาจแตกตา่ งกนั ผปู้ กครองตอ้ งเขา้ ใจ
บางครั้งอาจตอ้ งมีความอดทนกบั สไตลข์ องลกู ตอ้ งไม่นาลกู ของตนไป
เปรียบเทียบกบั เด็กคนอ่ืนในวยั เดยี วกนั แตต่ อ้ งเขา้ ใจ รใู้ จลกู และสง่ เสริม

พั ฒ น า ก า ร ข อ ง ลู ก ใ น วิ ถี ท า ง ท่ี ลู ก ช อ บ

 2. ใหค้ วามรกั /ความอบอ่นุ :เด็กตอ้ งการความรกั ความอบอนุ่ จากพ่อ
แม่



เด็กทกุ คนตอ้ งการความรักความอบอ่นุ จากพ่อแมต่ ง้ั แตแ่ รกเกิด
เนอ่ื งจากเด็กมีกลไกดา้ นประสาทวิทยาและชวี วิทยา มีโปรแกรมในสมอง
สามารถรับรอู้ ารมณ์ของผอู้ ่ืนได้ และสื่อสารความรสู้ ึกความตอ้ งการ
ภายในไดข้ องตนได้ ความอบอ่นุ ท่ีเด็กไดร้ ับจากครอบครวั จะเป็ นกาลงั ใจ
สนบั สนนุ ใหล้ กู กลา้ คิด กลา้ ทาในส่ิงใหม่ท่ีตอ้ งเรียนรู้ อีกทงั้ ความอบอ่นุ
นเี้ ป็ นการสรา้ งสายใยของความผกู พันระหว่างพ่อแมแ่ ละลกู ใหเ้ กิดความ
ไวว้ างใจ กลา้ เล่าสิ่งต่างๆที่กังวล ที่เป็ นปัญหา ทาใหผ้ ปู้ กครองไดร้ ับรู้
ความจริง สามารถใหค้ าแนะนาเพื่อแกป้ ัญหาไดอ้ ย่างเหมาะสมทั้งใน
ปั จ จุ บั น แ ล ะ ใ น ภ า ย ภ า ค ห น้ า

 3. การอบรมสงั่ สอน: การอบรมเลีย้ งดกู บั บคุ ลิกภาพของลกู



พฤตกิ รรมการเลียนแบบทางกาย วาจานน้ั ปรากฏชดั เจนมาก ทงั้ การแตง่ กาย
ทา่ ทาง กริ ิยามารยาทของพ่อแมย่ ่อมถา่ ยทอดไปสลู่ กู การใชภ้ าษาพดู และภาษาทา่ ทาง
นน้ั เด็กสามารถเลยี นแบบพ่อแมไ่ ดอ้ ยา่ งไมม่ ผี ดิ เพี้ยน หลอ่ หลอมเป็ นบคุ คลิกภาพของ
ลกู ผปู้ กครองสามารถทากจิ กรรมการสงั่ สอนนไี้ ดอ้ ย่างเป็ นธรรมชาตทิ ีบ่ า้ น การ
เรียนรใู้ นชวี ิตประจาวนั ของเด็กและครอบครัวทาใหก้ ารเรียนรนู้ น้ั มคี วามหมายมากขน้ึ
โดยเฉพาะเมอื่ การเรียนรทู้ ีส่ ถานศึกษาและบา้ นสอดคลอ้ ง สนบั สนนุ ซ่ึงกนั และกนั อกี ทงั้
ผปู้ กครองยงั สามารถจดั สงิ่ แวดลอ้ มทเ่ี อื้อตอ่ การเรียนรขู้ องเด็กได้ โดยอาจจะเริ่มจาก
การหาสถานทป่ี ระจาซึ่งเงยี บสงบใหเ้ ด็กทาการบา้ น จดั สถานทใี่ นการจดั แสดงผลงาน
ตา่ งๆ ของเด็ก จดั ส่อื เกม หนงั สอื ทเ่ี หมาะกบั การพฒั นาบคุ คลิกภาพของเด็กในวยั นี้
ใหโ้ อกาสเด็กไดฝ้ ึ กชว่ ยเหลือตนเอง ฝึ กทกั ษะ และมสี ว่ นร่วมชว่ ยรับผดิ ชอบงานบา้ น
เล็กๆ นอ้ ยๆ ตามวยั อย่างสมา่ เสมอ เป็ นการฝึ กความมวี นิ ยั ใหก้ บั เด็กอกี ดว้ ย เรียกได้
วา่ วินยั เริ่มทบี่ า้ นและเป็ นวินยั ทใ่ี ชใ้ นชวี ิตประจาวนั เชน่ ชว่ ยเก็บของเลน่ เมอ่ื เลิกเลน่ เก็บ
ของเลน่ เป็ นท่ี รับประทานอาหารเป็ นท่ีเป็ นตน้

4. การอบรมเลยี้ งดกู บั จริยธรรมของเด็ก



การอบรมเด็กเพื่อใหเ้ กิดพฒั นาการทางจริยธรรมนนั้ ตอ้ ง
ใชเ้ หตผุ ลที่เหมาะกับระดับพัฒนาการทางการรขู้ องเด็ก การใช้
เหตผุ ลท่ีไม่สงู เกินระดับพัฒนาการทางการรขู้ องเด็กมากนักจะมี
ประสทิ ธิภาพในการส่งเสริมการพฒั นาทางจริยธรรมของเด็ก การ
เล้ียงดโู ดยการใชเ้ หตผุ ลจะทาใหเ้ ด็กเป็ นเด็กดี ไม่กา้ วรา้ ว รจู้ ัก
รับผิดชอบชั่วดี มีพัฒนาการทางความรู้สึกละอายผิด รู้จัก
เ อ้ื อ เ ฟื้ อ เ ผ่ื อ แ ผ่ มี เ ม ต ต า ก รุณ า แ ก่ สั ต ว์เ ล้ี ย ง แ ล ะ ผู้อื่ น

 5. การเสริมแรง จงู ใจ และใหร้ างวลั สรา้ งความมนั่ ใจใหล้ กู



เราพดู กนั อย่เู สมอว่า คาชมนนั้ ไมต่ อ้ งซ้ือหา หากแตค่ าชมตอ้ ง
เป็ นรปู ธรรม บอกกลา่ ววา่ ลกู ทาอะไรดจี ึงไดร้ บั คาชม การชมนเ้ี ป็ นการ
แนะแนวทางใหแ้ กล่ กู วา่ สิง่ ทท่ี านน้ั ถกู ตอ้ งและตอ้ งทาอีกถา้ หากวา่ ลกู
ตอ้ งการคาชม และเมือ่ ทาบ่อยๆพฤตกิ รรมนนั้ ก็จะกลายเป็ นนสิ ยั เป็ น
บคุ คลิกของเด็ก สาหรบั รางวลั นนั้ ไมจ่ าเป็ นตอ้ งเป็ นสิง่ ของเสมอไป ใน
ระยะแรกอาจใชส้ ิ่งของเพ่ือชว่ ยใหเ้ ด็กเห็นชดั เจน แตต่ อ้ มาผปู้ กครองตอ้ ง
ค่อยๆลดสงิ่ ของลง คงเหลือไวเ้ พียงคาพดู ยิ้ม พยกั หนา้ ทง้ั นเี้ พ่ือไมใ่ ห้
ลกู ยึดตดิ กบั ส่งิ ของหรือกลายเป็ นว่าจะทาดตี อ่ เมอ่ื มีส่ิงของ หากแตก่ าร
ทาดนี น้ั เพราะเป็ นสง่ิ ทด่ี ี

 6. การใชเ้ วลากบั ลกู อย่างมีคณุ ภาพ



เวลาท่มี ีคณุ ภาพนน้ั อาจจะหลอมรวมอย่ใู นกิจวตั รประจาวนั ไม่
จาเป็ นตอ้ งจดั ขน้ึ ใหม่ หากแตผ่ ปู้ กครองใหล้ กู มสี ว่ นร่วม อย่าราคาญ
หรือคิดว่าเมอ่ื ลกู รว่ มกจิ กรรมดว้ ยแลว้ ทาใหเ้ กิดความลา่ ชา้ เสยี เวลา
ขอใหใ้ ชก้ ารเสียเวลานน้ั อย่ามคี ณุ คา่ เพราะการทา"งาน"รว่ มกนั เป็ นการ
สรา้ งความสมั พนั ธร์ ะหว่างผปู้ กครองกบั ลกู การสนทนา การพดู คยุ กบั
ลกู นน้ั ยงั ชว่ ยใหร้ บั รถู้ ึงความคิดความอ่านของลกู ส่งิ ทล่ี กู กลวั ทเ่ี ป็ น
ปัญหาของลกู หลายๆครง้ั เรามีความรสู้ กึ ว่าลกู พดู อะไรก็ไมร่ ู้ พอ้ เจอ้
แตน่ นั่ คือความคิดสรา้ งสรรคท์ ี่ลกู จินตนาการขน้ึ ซึ่งก็เป็ นพฒั นาการ
ตามวยั ความสมั พนั ธห์ รือสายใยน้ี จะยงั ตงอยตู่ อ่ ไปและกลายเป็ น
องคป์ ระกอบทส่ี าคญั เพราะเมือ่ ลกู เห็นว่าพอ่ แมค่ ือคนท่พี ดู คยุ ดว้ ยได้
เม่อื มีปัญหาก็รว่ มกนั แกไ้ ด้ เม่ือเด็กโตขน้ึ ปัญหาก็ย่ิงสลบั ซบั ซอ้ นย่ิงขน้ึ
ในยามท่ีลกู ตอ้ งการความชว่ ยเหลือ พ่อแมก่ ็จะเป็ นคนแรกทล่ี กู นกึ ถึง

7. รว่ มมอื กบั โรนงเรียนในการปรบั พฤตกิ รรมที่ไมพ่ งึ ประสงค์



ความรว่ มมอื ทดี่ ขี องผปู้ กครองกบั ครหู รือผดู้ แู ลเด็กนน้ั จะ
ชว่ ยใหก้ ารปรบั พฤตกิ รรมทไ่ี มพ่ งึ ประสงคข์ องเด็กใหห้ ายไปไดอ้ ยา่ ง
งา่ ยดาย ครมู ปี ระสบการณเ์ พราะสอนเด็กมาหลายรนุ่ อีกทงั้ การ
ปรับพฤตกิ รรมนนั้ ตอ้ งทาอยา่ งสมา่ เสมอ ถา้ ร่วมมอื กนั ทาทง้ั ที่
โรงเรียนและท่บี า้ น พฤตกิ รรมนน้ั ก็จะหายไปอยา่ งรวดเร็ว

 8. การร่วมมอื กบั การจดั กิจกรรมของโรงเรียน



กจิ กรรมทที่ างโรงเรียนจดั ขน้ึ มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พ่อื ส่งเสริมพฒั นาการ
ของเด็กเป็ นสาคญั ความร่วมมอื ของผปู้ กครองเป็ นการสนบั สนนุ ใหล้ กู เห็นว่า
พอ่ แมแ่ ละครมู คี วามเป็ นอันหนง่ึ อนั เดยี วกนั การเรียนรทู้ โ่ี รงเรียนและทบ่ี า้ น
สอดคลอ้ ง สนบั สนนุ ซ่ึงกนั และกนั อีกทง้ั ผปู้ กครองยงั สามารถจดั สงิ่ แวดลอ้ มท่ี
เอื้อตอ่ การเรียนรขู้ องเด็กได้ นอกจากนกี้ ารทผี่ ปู้ กครองไปร่วมกจิ กรรมตา่ งๆที่
โรงเรียนจดั ขน้ึ เชน่ การเป็ นวิทยากร อาสาสมคั ร การใหข้ อ้ มลู ของลกู การร่วม
ประเมนิ ความกา้ วหนา้ พฒั นาการของลกู การสื่อสารจากบา้ นสโู่ รงเรียนทาให้
เกดิ การสือ่ สารสองทาง ซึ่งการตดิ ตอ่ ส่ือสารนไ้ี มค่ วรเกิดขน้ึ เมอ่ื มเี หตกุ ารณท์ ี่
เป็ นปัญหาเทา่ นนั้ แตค่ วรไดส้ อื่ สารใหค้ รไู ดร้ บั ทราบถึงสิ่งทเ่ี กิดขน้ึ ทบี่ า้ น
พฒั นาการของเด็ก ความสนใจของเด็ก ความรสู้ กึ ของเด็กเกี่ยวกบั ครู โรงเรียน
กิจกรรม และการเรียนรคู้ วบค่ไู ปดว้ ย รวมถึงขอ้ เสนอแนะตา่ งๆ เชน่ แหล่ง
เรียนรู้ สอื่ ทนี่ า่ สนใจ เป็ นตน้

1. ทาใหท้ ราบถึงความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งผปู้ กครองกยั เด็ก
2. การมสี ว่ นร่วมของผปู้ กครองในการสง่ เสริมการเรียนรขู้ องเด็ก

ปรากฏวา่ มผี ลตอ่ พฒั นาการและความสาเร็จดา้ นการศึกษาของ
นกั เรียนอยา่ งเดน่ ชดั อีกทงั้ ยงั ชว่ ยผลกั ดนั ใหโ้ รงเรียนดาเนนิ งาน
จดั การศึกษาอยา่ งมปี ระสิทธิภาพและประสทิ ธิผลดขี น้ึ อกี ดว้ ย
3. สมั พนั ธภาพทดี่ รี ะหวา่ งผปู้ กครองและครหู รือผเู้ ลีย้ งดเู ด็กจะนาไปสู่
ความไวว้ างใจท่จี ะแลกเปลยี่ นเรียนรซู้ ึ่งกนั และกนั เต็มใจในการทา
กิจกรรมรว่ มกนั การอบรมเลย้ี งดเู ด็กในทิศทางเดยี วกนั มี
เป้ าหมายรว่ มกนั ในการพฒั นาเด็ก

 ความคาดหวงั ทีม่ ตี อ่ ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ผปู้ กครองสว่ นใหญ่
มคี วามคาดหวงั วา่ ครแู ละผดู้ แู ลเด็กมคี วามรคู้ วามสามารถ ที่จะจดั
ประสบการณก์ ารเรียนรใู้ หก้ บั ลกู หลาน ตามทีผ่ ปู้ กครองตอ้ งการ อาทิ
การจดั การเรียนการสอนแบบเตรยี มความพรอ้ ม การจดั การเรียนการ
สอนแบบเนน้ การอา่ น คดั เขยี น และคานวณ การจดั การเรียนการสอน
ภาษาตา่ ง ประเทศ และโปรแกรมพิเศษอ่ืนๆ

 ความคาดหวงั ในเร่ืองสขุ ภาพและความปลอดภยั ของเด็ก ผปู้ กครอง
สว่ นใหญจ่ ะคาดหวงั วา่ ทางโรงเรียนใหบ้ ริ การในดา้ นสขุ ภาพอนามยั และ
โภชนาการ รวมทง้ั ระบบความปลอดภยั ใหก้ บั เด็กไดเ้ ป็ นอยา่ งดี เชน่ การ
บริการอาหารเสริมและอาหารกลางวนั การบริการดา้ นการรบั – สง่
เด็ก การมีการทาประกนั อบุ ตั เิ หตใุ หก้ บั เด็ก การมบี คุ ลากรดา้ นพยาบาล
ประ จาท่โี รงเรียน และอื่นๆ

 ความคาดหวงั ในเร่ืองการเงนิ และคา่ ธรรมเนยี มการศึกษา สาหรับในเรื่อง
การเงนิ ผปู้ กครองจะพิจารณาโดยใชเ้ กณฑด์ า้ นการเงนิ ย่อมขน้ึ อย่กู บั พืน้ ฐาน
ดา้ นการเงนิ ของครอบครวั ผปู้ กครองทม่ี ฐี านะทางเศรษฐกิจดี มกั ตดั สนิ ใจส่ง
ลกู เขา้ เรียนในโรงเรียนทมี่ คี วามพรอ้ มในดา้ นตา่ งๆสงู และเป็ นโรงเรียนทเี่ รียก
เก็บค่าเลา่ เรียนเหมาะสมกบั ลกั ษณะการบริการ สว่ นผปู้ กครองทม่ี ฐี านะ
เศรษฐกิจตา่ หรือมรี ายไดน้ อ้ ย จะเลือกตดั สนิ ใจทจ่ี ะสง่ ลกู หลานเขา้ เรียนโรงเรียน
ทม่ี กี ารเก็บค่า ธรรมเนยี มการศึกษานอ้ ย หรือโรงเรียนอนญุ าตใหแ้ บ่งจ่ายเป็ น
งวดๆ

 ความคาดหวงั ดา้ นการบริหารจดั การของโรงเรียน เป็ นความคาดหวงั ในดา้ น
การบริหารจดั การระบบตา่ งๆของตวั ผบู้ ริหาร เชน่ การบริหารงานวิชาการ
การนาขอ้ คดิ เห็นของผปู้ กครองมาจดั ทาเป็ นแผนกลยทุ ธ์ และแนวการ
ดาเนนิ งานของโรงเรียน การบริหารวิชาการ การเงนิ พสั ดุ งานกจิ การเด็ก
อาคารสถานที่ และภมู ทิ ศั นข์ องโรงเรียน ตลอดจนการสรา้ งความ สมั พนั ธก์ บั
ชมุ ชน ซึ่งกระบวนการบริหารจดั การดงั กล่าว จะส่งผลตอ่ คณุ ภาพและ
ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของเด็กดว้ ย

 ความคาดหวงั ในเรื่องผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนหรือพฒั นาการของเด็ก
และการแขง่ ขนั เพื่อการสอบเขา้ เรียนตอ่ ในระดบั ประถมศึกษา ซ่ึงใน
ปัจจบุ นั จะเป็ นท่ที ราบกนั ดวี ่า ผปู้ กครองมกั คาดหวงั ใหโ้ รงเรียนจดั การ
เรียนการสอนท่ีเนน้ ดา้ นวิชาการ การอ่าน คดั เขยี น และคานวณ เพื่อ
รองรบั การไดร้ บั โอกาสคดั เลือก เพ่ือเขา้ ศึกษาตอ่ ในระดบั ที่สงู ขน้ึ ตอ่ ไป
ดงั นนั้ ทางโรงเรียนจึงมีการจดั การเรียนการสอนเพื่อตอบสนองตอ่ ความ
ตอ้ งการของผปู้ กครองดงั กลา่ ว

 ความคาดหวงั ดา้ นการบริการตา่ งๆของโรงเรียน ผปู้ กครองสว่ นใหญ่
ในปัจจบุ นั ไมค่ อ่ ยมเี วลาในการจดั การตา่ งๆเกีย่ วกบั ตวั เด็ก และเร่ืองของ
การสง่ เสริมเด็กในดา้ นวิชาการ ทาใหผ้ ปู้ กครองคาดหวงั ว่าทางโรงเรียน
จะมีระบบการบริการในทกุ เรื่อง เชน่ การรบั – สง่ เด็ก การบริการ
อาหารเชา้ การบริการดา้ นวสั ดอุ ปุ กรณเ์ คร่ืองเขยี น แบบเรียนตา่ งๆ สิ่ง
เหลา่ นเี้ ป็ นการประหยดั ทง้ั เวลาและการเดนิ ทางของผปู้ กครองในการ
เตรียมการใหก้ บั ลกู หลานกอ่ นการเปิ ดภาคเรียน

ความคาดหวงั เก่ยี วกบั ชอ่ื เสียง และระบบการประกนั คณุ ภาพของ
โรงเรียน ผปู้ กครองสว่ นมากจะมงุ่ สง่ ลกู เขา้ เรียนโรงเรียนทีม่ ี
ชอื่ เสยี ง มกี ารสอบแขง่ ขนั กนั มาก แตร่ บั เด็กจานวนจากดั อีกทง้ั
โรงเรียนยงั มคี วามพรอ้ มในดา้ นตา่ งๆ ทงั้ อปุ กรณเ์ คร่ืองใชต้ า่ งๆ
อาคารสถานท่ี โปรแกรมการศึกษาเฉพาะทางตา่ งๆ และยงิ่ ถา้
โรงเรียนใดเก็บค่าธรรมเนยี มสงู ก็จะเป็ นจดุ สนใจของผปู้ กครองดว้ ย
ดงั นนั้ ความคาดหวงั ของผปู้ กครองทมี่ ตี อ่ โรงเรียนท่อี าจสง่ ผล
กระทบตอ่ ลกู จงึ ควรนามาพจิ ารณาและจดั ลาดบั ความสาคญั ใน
การสง่ ลกู เขา้ เรียนในโรงเรียนอนบุ าลไดเ้ ป็ นอยา่ งดี





วิธีการท่คี รสู ามารถสรา้ งมนษุ ยส์ มั พนั ธก์ บั ผปู้ กครองนกั เรียนไดอ้ ย่างมี

ประสิทธิภาพ เชน่
1. แจง้ ผลการเรียนหรือความเจริญกา้ วหนา้ ของศิษยใ์ หผ้ ปู้ กครอง

นกั เ2รีย.นตทิดรตาอ่ บกบั เปผ็ นปู้ รกะคยระอๆงเพ่ือชว่ ยแกป้ ัญหาของศิษยใ์ นกรณีทศี่ ิษยม์ ี
ปัญหาทางการเรียน ความประพฤติ สขุ ภาพ อื่น ๆ

3. หาเวลาเย่ียมเยียนผปู้ กครองเม่อื มโี อกาสอันเหมาะสม เชน่ เมอ่ื ได้
ขา่ ว4ก.ารเชเจิญ็บผป่ปู้วกยคหรรอืองสรม่วมาชทกิ าใกนจิ คกรรอรบมคตรา่ ัวงถๆึงแขกอก่ งรโรรมงเรเปีย็ นนตเน้ชน่ การ
แขง่ ขนั กีฬา ประจาปี งานแจกประกาศนยี บตั ร หรืองานชมุ นมุ ศิษยเ์ กา่ เป็ น

ตน้

 5. เม่ือไดร้ บั เชญิ ไปรว่ มงานของผปู้ กครองนกั เรียน เชน่ งาน
อปุ สมบท งานขนึ้ บา้ นใหม่ งานมงคลสมรส เป็ นตน้ ตอ้ งพยายามหา
เวลาวา่ งไปใหไ้ ด้
6. ครคู วรร่วมมอื กนั ทากิจกรรมเพื่อสง่ เสริมความรแู้ ละอาชพี ให้
ผปู้ กครองและประชาชนในทอ้ งถิ่นบา้ ง จะทาใหป้ ระชาชนเห็นความสาคญั
ของครมู ากย่ิงขน้ึ
7. เมือ่ ชมุ ชนไดร้ ่วมมอื กนั จดั งานตา่ ง ๆ เชน่ งานประจาปี ของวดั
หรือ งานเทศกาลตา่ ง ๆ ครคู วรใหค้ วามรว่ มมืออย่อู ย่างสมา่ เสมอ
8. ครคู วรแจง้ ขา่ วสารตา่ ง ๆ ท่เี ป็ นประโยชนต์ อ่ ผปู้ กครอง โดยให้
ผปู้ กครองไดท้ ราบเป็ นระยะ ๆ ซ่ึงอาจจะสง่ ขา่ วสารทางโรงเรียน หรือ
การตดิ ประกาศตามท่ีอ่านหนงั สือประจาหมบู่ า้ นก็ได้

ความคาดหวงั เก่ยี วกบั ชอ่ื เสียง และระบบการประกนั คณุ ภาพของ
โรงเรียน ผปู้ กครองสว่ นมากจะมงุ่ สง่ ลกู เขา้ เรียนโรงเรียนทีม่ ี
ชอื่ เสยี ง มกี ารสอบแขง่ ขนั กนั มาก แตร่ บั เด็กจานวนจากดั อีกทง้ั
โรงเรียนยงั มคี วามพรอ้ มในดา้ นตา่ งๆ ทงั้ อปุ กรณเ์ คร่ืองใชต้ า่ งๆ
อาคารสถานท่ี โปรแกรมการศึกษาเฉพาะทางตา่ งๆ และยงิ่ ถา้
โรงเรียนใดเก็บค่าธรรมเนยี มสงู ก็จะเป็ นจดุ สนใจของผปู้ กครองดว้ ย
ดงั นนั้ ความคาดหวงั ของผปู้ กครองทมี่ ตี อ่ โรงเรียนท่อี าจสง่ ผล
กระทบตอ่ ลกู จงึ ควรนามาพจิ ารณาและจดั ลาดบั ความสาคญั ใน
การสง่ ลกู เขา้ เรียนในโรงเรียนอนบุ าลไดเ้ ป็ นอยา่ งดี

หลกั การสาคัญประการหนง่ึ ของการปฏริ ปู การศึกษาตามแนวทาง

ของพระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ ก็คือ การใหท้ กุ สว่ นของ

สงั คมมสี ว่ นรว่ มพฒั นาผเู้ รียน โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ พอ่ แม่ ผปู้ กครอง

ซ่ึงเป็ นผทู้ ี่อยใู่ กลช้ ดิ กบั เด็กมากท่สี ดุ
พระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542 และที่แกไ้ ขเพ่ิมเตมิ

(ฉบบั ที่ 2) พ.ศ.2545 ไดบ้ ญั ญตั สิ าระทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั การมสี ว่ น
รว่ มของพอ่ แม่ ผปู้ กครอง ในการจดั และพฒั นาการศึกษาไวห้ ลาย

มาตรา ดงั ตอ่ ไปน้ี

1. หลกั การจดั การศึกษา
มาตรา 8(2) บญั ญตั วิ า่ ใหส้ งั คมมสี ว่ นรว่ มในการจดั การศึกษา

2. การจดั ระบบโครงสรา้ งและกระบวนการจดั การศึกษา
มาตรา 9(6) บญั ญตั วิ า่ ใหย้ ึดหลกั การมสี ว่ นรว่ มของบคุ คล
ครอบครัว ชมุ ชน องคก์ รชมุ ชน องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน เอกชน
องคก์ รเอกชน องคก์ รวชิ าชพี สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการ และ
สถาบนั สงั คมอื่น

3.หนา้ ที่ของบิดา มารดา ผปู้ กครอง
มาตรา 11 บญั ญตั วิ า่ บดิ า มารดา หรือผปู้ กครอง มหี นา้ ท่ีจดั ให้
บตุ รหรือบคุ คลซึ่งอยใู่ นความดแู ลไดร้ ับการศึกษาภาคบงั คบั ตาม
มาตรา17 และตามกฎหมายทีเ่ ก่ียวขอ้ ง ตลอดจนใหไ้ ดร้ ับการศึกษา
นอกเหนอื จากการศกึ ษาภาคบงั คบั ตามความพรอ้ มของครอบครัว

4. หนว่ ยจดั การศึกษา
มาตรา 12 บญั ญตั วิ า่ นอกเหนอื จากรฐั เอกชน และองคก์ รปกครอง
สว่ นทอ้ งถิ่น ใหบ้ คุ คล ครอบครัว องคก์ รชมุ ชน องคก์ รเอกชน องคก์ ร
วชิ าชพี สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการ และสถาบนั สงั คมอนื่ มี
สทิ ธิในการจดั การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน ทง้ั นใี้ หเ้ ป็ นไปตามทกี่ าหนดใน
กฎกระทรวง

 5. สทิ ธิที่บิดา มารดา หรอื ผปู้ กครองไดร้ บั
มาตรา 13 บญั ญตั วิ ่า บิดา มารดา หรือผปู้ กครอง มีสทิ ธิไดร้ บั สทิ ธิ
ประโยชนด์ งั ตอ่ ไปน้ี 1) การสนบั สนนุ จากรฐั ใหม้ คี วามรคู้ วามสามารถ
ในการอบรมเลยี้ งดแู ละการใหก้ ารศึกษาแกบ่ ตุ รหรือบคุ คลซึ่งอย่ใู น
ความดแู ล 2) เงนิ อดุ หนนุ จากรฐั สาหรบั การจดั การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน
ของบตุ รหรือบคุ คลซ่ึงอยใู่ นความดแู ลที่ครอบครวั จดั ให้ ทง้ั นี้ ตามที่
กฎหมายกาหนด 3) การลดหย่อนหรือยกเวน้ ภาษสี าหรบั ค่าใชจ้ า่ ย
การศึกษา ตามที่กฎหมายกาหนด และ มาตรา18(3) บญั ญตั วิ า่
การจดั การศึกษาปฐมวยั และการศึกษาขนั้ พ้ืนฐานใหจ้ ดั ใน ศนู ยก์ ารเรียน
ไดแ้ ก่ สถานที่เรียนท่หี นว่ ยงานจดั การศึกษานอกโรงเรียน บคุ คล
ครอบครวั ชมุ ชน องคก์ รชมุ ชน องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น องคก์ ร
เอกชน องคก์ รวิชาชพี สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการ โรงพยาบาล
สถาบนั ทางการแพทย์ สถานสงเคราะห์ และสถาบนั สงั คมอื่น

 6. แนวการจดั การศึกษา
มาตรา 23 บญั ญตั วิ า่ การจดั การศึกษาทงั้ การศึกษาในระบบ การศึกษานอก
ระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศัย ตอ้ งเนน้ ความสาคญั ทง้ั ความรู้ คณุ ธรรม

กระบวนการเรียนรู้ และบรู ณาการตามความเหมาะสมของแตล่ ะระดบั การศึกษา

ในเร่ืองดงั ตอ่ ไปนี้

• ความรเู้ ร่ืองเก่ยี วกบั ตนเองและความสมั พนั ธข์ องตนเองกบั สงั คม ไดแ้ ก่ ครอบครวั
ชมุ ชน ชาติ และสงั คมโลก รวมถึงความรเู้ กีย่ วกบั ประวัตศิ าสตรค์ วามเป็ นมาของ

สงั คมไทยและระบบการเมอื ง การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอนั มี

พระมหากษตั ริยท์ รงเป็ นประมขุ
• ความรแู้ ละทกั ษะดา้ นวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รวมทงั้ ความรคู้ วามเขา้ ใจและ

ประสบการณเ์ ร่ืองการจดั การการบารงุ รกั ษา และการใชป้ ระโยชนจ์ าก

ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ มอย่างสมดลุ ยงั่ ยืน
• ความรู้ เกี่ยวกบั ศาสนา ศิลปะ วฒั นธรรม การกีฬา ภมู ปิ ัญญาไทยและกาประยกุ ตใ์ ช้

ภมู ปิ ัญญา
• ความรแู้ ละทกั ษะดา้ นคณิตศาสตรแ์ ละดา้ นภาษา เนน้ การใชภ้ าษาไทยอย่างถกู ตอ้ ง 5)

ความรแู้ ละทกั ษะในการประกอบอาชพี และการดารงชวี ิตอย่างมีความสขุ

7. กระบวนการเรยี นรู้

มาตรา 24(6) บญั ญตั วิ า่ ใหส้ ถานศึกษาจดั การเรียนรใู้ หเ้ กิดขน้ึ
ไดท้ กุ เวลาทกุ สถานที่ มกี ารประสานความรว่ มมอื กบั บดิ ามารดา

ผปู้ กครองและบคุ คลในชมุ ชนทกุ ฝ่ าย เพอ่ื ร่วมกนั พฒั นาผเู้ รียนตาม

ศกั ยภาพ

8. กระบวนการเรยี นรู้
มาตรา 24(6) บญั ญตั วิ า่ ใหส้ ถานศึกษาจดั การเรียนรใู้ หเ้ กิดขน้ึ
ไดท้ กุ เวลาทกุ สถานท่ี มกี ารประสานความรว่ มมอื กบั บดิ ามารดา

ผปู้ กครองและบคุ คลในชมุ ชนทกุ ฝ่ าย เพอื่ ร่วมกนั พฒั นาผเู้ รียนตาม

ศกั ยภาพ

9. ความเขม้ แข็งของชมุ ชน
มาตรา 29 บญั ญตั วิ า่ ใหส้ ถานศึกษาร่วมกบั บคุ คล ครอบครวั
ชมุ ชน องคก์ รชมุ ชน องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น เอกชน องคก์ ร
เอกชน องคก์ รวชิ าชพี สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการ และ
สถาบนั สงั คมอื่น สง่ เสริมความเขม้ แข็งของชมุ ชน โดยจดั
กระบวนการเรียนรภู้ ายในชมุ ชน เพือ่ ใหช้ มุ ชนมกี ารจดั การศึกษา
อบรม มกี ารแสวงหาความรู้ ขอ้ มลู ขา่ วสาร และรจู้ กั เลือกสรรภมู ิ
ปัญญาและวทิ ยาการตา่ งๆเพ่ือพฒั นาชมุ ชนใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพ
ปัญหาและความตอ้ งการ รวมทงั้ หาวิธกี ารสนบั สนนุ ใหม้ กี าร
แลกเปลี่ยนประสบการณก์ ารพฒั นาระหวา่ งชมุ ชน

 1มา0ต.รกาา3รส8ง่ บเสญั รญมิ หตั นวิ ่วา่ ยในจแดั ตกล่ าะรเขศตึกพษื้นาทกี่ ารศึกษา ใหม้ คี ณะกรรมการ
และสานกั งานการศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรมเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา มี
อานาจหนา้ ท่สี ง่ เสริมและสนบั สนนุ การจดั การศึกษาของบคุ คล
ครอบครวั องคก์ รชมุ ชน องคก์ รเอกชน องคก์ รวิชาชพี สถาบนั ศาสนา
สถานประกอบการ และสถาบนั สงั คมอื่นทจี่ ดั การศึกษาในรปู แบบที่
หลากหลาย

 11. การบรหิ ารการศึกษา
มาตรา 38 วรรคสอง บญั ญตั วิ า่ คณะกรรมการการศึกษาเขตพื้นท่ี
การศึกษาประกอบดว้ ย ผแู้ ทนองคก์ รชมุ ชน ผแู้ ทนองคก์ รเอกชน ผแู้ ทน
องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นผแู้ ทนสมาคมผปู้ ระกอบวิชาชพี ครู ผแู้ ทน
สมาคมผปู้ ระกอบวิชาชพี บริหารการศึกษา ผแู้ ทนสมาคมผปู้ กครองและ
ครู ผนู้ าทางศาสนา และผทู้ รงคณุ วฒุ ิดา้ นการศึกษา ศาสนา ศิลปะและ
วฒั นธรรม

12. การบรหิ ารสถานศึกษา
มาตรา 40 บญั ญตั วิ า่ ใหม้ คี ณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน
สถานศึกษาระดบั อดุ มศึกษา ระดบั ตา่ กวา่ ปริญญาของแตล่ ะ
สถานศึกษา และสถานศึกษาอาชวี ศึกษา เพือ่ ทาหนา้ ท่ีกากบั และ
สง่ เสริมสนบั สนนุ กจิ การของสถานศึกษา ประกอบดว้ ย ผแู้ ทน
ผปู้ กครอง ผแู้ ทนครู ผแู้ ทนองคก์ รชมุ ชน ผแู้ ทนองคก์ รปกครอง

สว่ นทอ้ งถิ่น ผแู้ ทนศิษยเ์ กา่ ของสถานศึกษา และผทู้ รงคณุ วฒุ ิ


Click to View FlipBook Version