คู่มอื
ความปลอดภยั ในการทางาน
ทป่ี รกึ ษา...
คณุ อสิ ญิ า สังขศ์ ริ ิ
ผูจ้ ดั การฝา่ ยอาชวี อนามยั ความปลอดภัย และสิง่ แวดล้อม
วา่ ทร่ี อ้ ยตรี วันอนั มนี โฮ คณะผจู้ ัดทา
นาย ชยั วฒั น์ คงพรหม
นาย ฟารสุ สขุ พนั ธ์เยีย่ ม หวั หน้าส่วนอาชีวอนามัยและความปลอดภยั
เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภยั ในการทางาน
เจา้ หน้าที่ความปลอดภัยในการทางาน
ฝ่ายอาชวี อนามยั ความปลอดภยั และส่งิ แวดลอ้ ม
ค่มู ือความปลอดภัยในการทางาน ฝา่ ยอาชวี อนามัย ความปลอดภยั และสง่ิ แวดล้อม PS &ANV 1
“ คานา ”
การทางานด้วยความปลอดภัยและปราศจากอบุ ัติเหตุ เป็นส่ิงสาคัญและจาเป็นต่อตัว
เราเอง เพ่ือนพนักงานรอบข้างรวมท้ังบริษัท ซึ่งมีผลให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างมี
ประสทิ ธภิ าพสมบรู ณ์ในเบื้องตน้ และทกุ คนมสี ขุ ภาพดีท้งั ร่างกายและจิตใจ
เราคงได้ทราบข่าวมาบ้าง เร่ืองอุบัติเหตุจากการทางานท้ังในบริษัทต่างๆ และท่ีบ้าน
ท่ีเคยเกิดข้ึนนั้น ซ่ึงบางคร้ังเกิดจากเหตุการณ์ที่เราไม่คาดคิด อาจเป็นเรื่องเล็กน้อยจาก
การกระทาเท่านั้น แต่ผลทาให้เกิดการสูญเสียที่มากมาย เพียงเพราะว่าผู้ปฏิบัติงานไม่ได้
ตระหนกั ถงึ อนั ตรายท่อี าจจะเกดิ ขึน้ ไดท้ ุกขณะเวลาเทา่ นน้ั เอง
บริษัทของเรามีนโยบายท่ีเด่นชัด ต้องการให้พนักงานทุกคนปฏิบัติงานอย่างมี
ความสุขและปลอดภยั ปราศจากอุบตั เิ หตุจากการทางานท้ังหลาย
แผนกความปลอดภัยฯ จึงได้จัดทา คู่มือเพ่ือความปลอดภัยในการทางาน ซึ่งได้
รวบรวมข้อมูล เน้ือหาที่จาเป็นของวิธีการปฏิบัติงานและข้อควรปฏิบัติต่างๆทั้งในออฟฟิต
และพื้นที่ปฏิบัติงานท่ีปลอดภัย เพ่ือให้พนักงานทุกคนได้มีความรู้ในการปฏิบัติงานได้
ถูกต้องตามหลักวิชาการ ดังที่ว่าเราได้ทางานอย่างมีสติ ใช้ความรู้ เป็นการยกระดับการ
ทางานของเราได้อย่างดี
แผนกความปลอดภัยหวังว่า คู่มือความปลอดภัยเล่มน้ีคงเป็นประโยชน์สาหรับ
ผู้ปฏิบัติงาน พนักงานทุกคน ฉะน้ันเมื่อเรามีแนวทางก็ขอให้นาวิธีการไปใช้ ปฏิบัติและ
ตระหนกั ถึงความปลอดภยั ขอให้พนักงานทุกคนได้ทาความเขา้ ใจให้ถอ่ งแท้ สามารถปฏบิ ตั ิ
ตามขั้นตอน เพ่ือให้เกิดความปลอดภัย หากมีข้อสงสัย ไม่เข้าใจ ให้สอบถามหัวหน้างาน
คปอ.หรือจป. เพ่ือจะนามาซ่ึงความปลอดภัยของตัวพนักงานทุกคน ดังคาที่เราควร
ตระหนักอยเู่ สมอคอื
SAFETY FIRST “ ความปลอดภัยต้องมากอ่ น ”
คมู่ อื ความปลอดภัยในการทางาน ฝ่ายอาชวี อนามยั ความปลอดภยั และสิง่ แวดล้อม
พฤษภาคม 2565
ฝ่ายอาชวี อนามยั ความปลอดภยั และสิ่งแวดล้อม PS &ANV 2
คุยกันกอ่ น...
คู่มือความปลอดภัยในการทางานเล่มน้ี
• เพอ่ื หวังว่า…
ทุกคนได้อ่านคู่มือความปลอดภยั ในการทางาน
• เพื่อหวงั วา่ …
พนกั งานทุกคน ตระหนกั เรอื่ งความปลอดภัยทุกคร้งั ขณะปฏบิ ตั งิ าน
“SAFETY FIRST ” ปลอดภยั ไว้ก่อน
• เพื่อหวงั วา่ …
การบาดเจบ็ และความสญู เสีย สามารถปอ้ งกันได้
• เพ่อื หวังว่า…
อุบัตเิ หตุในแผนก,ในฝ่าย ไมเ่ กิดข้นึ เลย
• เพอ่ื หวังวา่ …
ทุกคนทางานด้วยความปลอดภยั และเป็นสุขกบั หน้าท่ขี องตน
คมู่ อื ความปลอดภัยในการทางาน ฝ่ายอาชวี อนามยั ความปลอดภยั และสิง่ แวดล้อม PS &ANV 3
“ สารบญั ”
นโยบายระบบการจดั การ - - - - 6-
เจ้าหนา้ ทคี่ วามปลอดภัยในการทางาน ระดบั หัวหนา้ งาน- - - - 7
เจ้าหน้าท่ีความปลอดภยั ในการทางาน ระดับหัวบรหิ าร- - - - 8
เจ้าหน้าทค่ี วามปลอดภัยในการทางาน ระดบั วชิ าชพี - - - - 9
หน้าท่ขี อง คปอ. - - - - 10
หน้าทข่ี อง พนกั งานทุกคน - - - - 11
อบุ ัติเหตุจากการทางาน, สาเหตุของอุบตั เิ หตุ - - - - 12
กฎระเบียบความปลอดภัยในการทางาน- - - - 18
ความปลอดภัยในสานักงาน - - - - 22
ความปลอดภัยเกยี่ วกบั ตูเ้ อกสาร - - - - 24
อบุ ตั เิ หตุในสานักงานและวิธปี ฏบิ ตั ิเพื่อความปลอดภัย - - - - 25
การทางานหนา้ จอคอมพิวเตอร์ - - - - 28
การเคลือ่ นย้ายวัสดุ - - - - 29
การทางานบนทส่ี งู - - - - 31
การใช้บนั ได - - - - 32
การใช้เครอ่ื งมอื โดยท่วั ไป - - - - 33
การใชร้ ะบบลม - - - - 34
อปุ กรณ์ไฟฟ้า - - - - 35
เคร่อื งมือไฟฟ้า - - - - 36
สายไฟฟา้ - - - - 37
การตรวจสอบ - - - - 38
การใชเ้ ครื่องจกั ร - - - - 39
ค่มู ือความปลอดภยั ในการทางาน ฝา่ ยอาชีวอนามัย ความปลอดภยั และส่งิ แวดล้อม PS &ANV 4
“ สารบัญ ”(ตอ่ )
งานขัด และ งานเจียร - - - - 41
งานตดั และ งานเช่อื ม - - - - 42
ประกาศ เรื่องการปฏบิ ตั ิเก่ยี วกบั งานเช่ือมไฟฟา้ - - - - 43
การทางานในทอ่ี ับอากาศ- - - - 44
การใช้รถยก (โฟรค์ ลฟิ ท์) - - - - 45
การใช้สารเคมี - - - - 50
การใชเ้ ครน และสลิง - - - - 51
การลดความเครียด - - - - 52
อุปกรณ์ปอ้ งกันอนั ตรายสว่ นบคุ คล - - - - 53
ป้ายเคร่ืองหมายความปลอดภัย - - - - 54
วิธปี ฏบิ ตั เิ มอื่ เกิดเพลิงไหม้ - - - - 55
เครอ่ื งดับเพลิงชนิดมอื ถอื - - - - 57
วธิ กี ารตรวจเช็คถังดับเพลิง - - - - 58
วิธีการใชเ้ ครอื่ งดับเพลงิ เมือ่ เกิดเพลิงไหม้ - - - - 59
ข้อปฏิบัติเกี่ยวกับการป้องกนั อคั คีภัย - - - - 60
จุดรวมพล - - - - 61
การปฐมพยาบาล นาร้อนลวก - - - - 62
การปฐมพยาบาลสารเคมี - - - - 63
การปฐมพยาบาลผู้ป่วยถูกกระแสไฟฟ้าดูด - - - - 65
การปฐมพยาบาลบาดแผลและข้อเคล็ด - - - - 66
การแกพ้ ิษต่างๆเบืองต้น - - - - 67
การรายงานอบุ ัตเิ หตุ - - - - 68
คมู่ อื ความปลอดภัยในการทางาน ฝ่ายอาชวี อนามยั ความปลอดภยั และส่ิงแวดลอ้ ม PS &ANV 5
การหยัง่ รอู้ นั ตราย ( KYT ) - - - - 69
การขออนญุ าตเข้าทางานในพนื ท่ีและการกนั แยกพนื ทท่ี างาน- - - - 72
คณุ เคยทาเชน่ นีบ้างไหม - - - - 74
แบบทดสอบความรู้ - - - - 75
ค่มู ือความปลอดภัยในการทางาน เป็นของ... - - - - 77
หมายเลขโทรศัพท์ทคี่ วรทราบ - - - - 80
วธิ ีการใชถ้ งั ดบั เพลงิ - - - - 81
กอขอ ความปลอดภยั - - - - 82
คู่มอื ความปลอดภยั ในการทางาน ฝา่ ยอาชวี อนามยั ความปลอดภยั และส่งิ แวดลอ้ ม PS &ANV 6
นโยบายระบบการจดั การ
Management System Policy
ค่มู ือความปลอดภยั ในการทางาน ฝา่ ยอาชวี อนามยั ความปลอดภยั และสิ่งแวดลอ้ ม PS &ANV 7
ค่มู ือความปลอดภยั ในการทางาน ฝ่ายอาชวี อนามยั ความปลอดภยั และส่งิ แวดล้อม PS &ANV 8
หนา้ ที่รับผดิ ชอบของผู้มีหนา้ ทีเ่ ก่ียวข้องกับความปลอดภยั ในการทางาน
เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทางาน ระดบั หัวหน้างาน มีหนา้ ท่ดี งั นี้
(๑) กากับ ดูแล ให้ลูกจ้างในหน่วยงานท่ีรับผดิ ชอบปฏิบัติตามข้อบังคับและคู่มือตามข้อ ๓ (ข้อ 3 น้ี คือ ข้อที่ระบุวา่ สถาน
ประกอบการจะต้องจดั ใหม้ ขี ้อบงั คบั และคู่มอื วา่ ด้วยความปลอดภัยไวใ้ นสถานประกอบการ)
(๒) วิเคราะห์งานในหน่วยงานท่ีรับผิดชอบเพ่ือค้นหาความเส่ียงหรืออันตรายเบื้องต้น โดยอาจร่วมดาเนินการกับเจ้าหน้าท่ี
ความปลอดภัยในการทางานระดับเทคนคิ ระดับเทคนคิ ข้ันสูง หรือระดบั วิชาชีพ
(๓) สอนวิธกี ารปฏบิ ัติงานที่ถูกต้องแกล่ กู จ้างในหนว่ ยงานทีร่ บั ผิดชอบเพอื่ ใหเ้ กดิ ความ ปลอดภยั ในการปฏบิ ัติงาน
(๔) ตรวจสอบสภาพการทางาน เครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์ให้อยู่ในสภาพท่ีปลอดภัย ก่อนลงมือปฏิบัติงาน
ประจาวัน
(๕) กากับ ดูแล การใช้อุปกรณ์คุม้ ครองความปลอดภัยส่วนบคุ คลของลกู จ้างในหน่วยงาน ที่รับผิดชอบ
(๖) รายงานการประสบอันตราย การเจ็บป่วย หรือการเกิดเหตุเดือดร้อนราคาญ อันเนื่องจาก การทางานของลูกจ้างต่อ
นายจ้าง และแจ้งต่อเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทางานระดับเทคนิค ระดับเทคนิคข้ันสูง หรือระดับวิชาชีพ สาหรับ
สถานประกอบกจิ การทีม่ หี นว่ ยงานความปลอดภัย ใหแ้ จ้งต่อหน่วยงานความปลอดภัยทันทที ี่เกดิ เหตุ
(๗) ตรวจสอบหาสาเหตุการประสบอันตราย การเจ็บป่วย หรือการเกิดเหตุเดือดร้อนร าคาญ อันเน่ืองจากการทางานของ
ลูกจ้างร่วมกับเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางานระดับเทคนิค ระดับ เทคนิคขั้นสูง หรือระดับวิชาชีพ และรายงาน
ผล รวมทง้ั เสนอแนะแนวทางแกไ้ ขปัญหาตอ่ นายจา้ ง โดยไมช่ ักช้า
(๘) สง่ เสรมิ และสนบั สนุนกจิ กรรมความปลอดภยั ในการทางาน
(๙) ปฏิบัตงิ านดา้ นความปลอดภยั ในการทางานอ่ืนตามที่เจ้าหน้าที่ความปลอดภยั ในการทางานระดบั บริหารมอบหมาย
คูม่ อื ความปลอดภัยในการทางาน ฝา่ ยอาชีวอนามัย ความปลอดภยั และสง่ิ แวดลอ้ ม PS &ANV 9
เจ้าหน้าท่คี วามปลอดภัยในการทางาน ระดับบริหาร มีหน้าทด่ี ังน้ี
(๑) กากับ ดูแล เจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทางานทุกระดับซึ่งอยูในบังคับบัญชาของเจ้าหน้าท่ีความ
ปลอดภัยในการทางานระดบั บรหิ าร
(๒) เสนอแผนงานโครงการด้านความปลอดภยั ในการทางานในหน่วยงานที่รบั ผดิ ชอบต่อนายจา้ ง
(๓) ส่งเสริม สนับสนุน และติดตามการดาเนินงานเก่ียวกับความปลอดภัยในการทางาน ให้เป็นไปตาม
แผนงานโครงการเพ่ือให้มีการจัดการด้านความปลอดภัยในการทางานทเ่ี หมาะสมกบั สถานประกอบกิจการ
(๔) กากับ ดูแล และตดิ ตามใหม้ ีการแก้ไขขอ้ บกพร่องเพอ่ื ความปลอดภัยของลูกจา้ งตามที่ ได้รับรายงานหรือ
ตามข้อเสนอแนะของเจา้ หนา้ ท ี่ความปลอดภัยในการทางาน คณะกรรมการ หรอื หนว่ ยงานความปลอดภัย
ค่มู ือความปลอดภัยในการทางาน ฝ่ายอาชวี อนามยั ความปลอดภยั และส่ิงแวดลอ้ ม PS &ANV 10
เจ้าหนา้ ที่ความปลอดภยั ในการทางาน ระดับวิชาชพี มีหน้าท่ีดังน้ี
(๑) ตรวจสอบและเสนอแนะให้นายจ้างปฏิบัติตามกฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน
การทางาน
(๒) วิเคราะห์งานเพอื่ ชีบ้ ง่ อันตราย รวมท้ังกาหนดมาตรการปอ้ งกนั หรอื ขั้นตอนการทางานอย่างปลอดภัยเสนอต่อนายจ้าง
(๓) ประเมนิ ความเส่ียงดา้ นความปลอดภัยในการทางาน
(๔) วิเคราะห์แผนงานโครงการ รวมท้ังข้อเสนอแนะของหน่วยงานต่าง ๆ และเสนอแนะมาตรการความปลอดภัยในการ
ทางานต่อนายจา้ ง
(๕) ตรวจประเมินการปฏิบัติงานของสถานประกอบกิจการให้เป็นไปตามแผนงานโครงการหรือมาตรการความปลอดภัยใน
การทางาน
(๖) แนะนาให้ลูกจ้างปฏิบัติตามข้อบังคับและคู่มือตามข้อ ๓ (ข้อ 3 นี้ คือ ข้อที่ระบุว่า สถานประกอบการจะต้องจัดให้มี
ข้อบงั คบั และคู่มือว่าดว้ ยความปลอดภัยไวใ้ นสถานประกอบการ)
(๗) แนะนา ฝึกสอน อบรมลกู จา้ งเพ ื่อให้การปฏบิ ัติงานปลอดจากเหตอุ ันจะทาใหเ้ กดิ ความไม่ปลอดภยั ในการทางาน
(๘) ตรวจวัดและประเมินสภาพแวดล้อมในการทางาน หรือดาเนินการร่วมกับบุคคลหรือหน่วยงานที่ขึ้นทะเบียนกับกรม
สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานเป็นผู้รับรองหรือตรวจสอบเอกสาร หลักฐานรายงานในการตรวจสอบสภาพแวดล้อมในการ
ทางานภายในสถานประกอบกจิ การ
(๙) เสนอแนะต่อนายจ้างเพื่อให้มีการจัดการด้านความปลอดภัยในการทางานท่ีเหมาะสม กับสถานประกอบกิจการ และ
พฒั นาใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพอย่างต่อเนื่อง
(๑๐) ตรวจสอบหาสาเหตุ และวิเคราะห์การประสบอันตราย การเจ็บป่วย หรือการเกิดเหตุ เดือดร้อนราคาญอันเนื่องจาก
การทางาน และรายงานผล รวมท้ังเสนอแนะต่อนายจ้างเพอื่ ปอ้ งกนั การเกดิ เหตุโดยไมช่ กั ช้า
(๑๑) รวบรวมสถิติ วิเคราะห์ข้อมูล จัดทารายงาน และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการประสบ อันตราย การเจ็บป่วย หรือการ
เกดิ เหตุเดือดร้อนราคาญอันเนอื่ งจากการทางานของลูกจ้าง
(๑๒) ปฏิบัติงานด้านความปลอดภยั ในการทางานอืน่ ตามท่ีนายจ้างมอบหมาย
คมู่ อื ความปลอดภยั ในการทางาน ฝ่ายอาชีวอนามยั ความปลอดภยั และสิง่ แวดลอ้ ม PS &ANV 11
คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน
(คปอ.) มหี น้าท่ีดังนี้
(๑) พิจารณานโยบายและแผนงานด้านความปลอดภัยในการทางาน รวมทั้งความปลอดภัยนอกงานเพ่ือ
ป้องกันและลดการเกิดอุบัติเหตุ การประสบอันตราย การเจ็บป่วย หรือการเกิดเหตุเดือดร้อนราคาญอัน
เน่อื งจากการทางาน หรือความไมป่ ลอดภัยในการทางานเสนอต่อนายจา้ ง
(๒) รายงานและเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้องตามกฎหมายเก่ียวกับความ
ปลอดภัยในการทางานและมาตรฐานความปลอดภยั ในการทางานตอ่ นายจ้าง เพอื่ ความปลอดภัยในการทางาน
ของลกู จา้ ง ผู้รบั เหมา และบคุ คลภายนอกท่ีเขา้ มาปฏิบตั ิงานหรือเขา้ มาใช้บริการในสถานประกอบกจิ การ
(๓) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ กิจกรรมดา้ นความปลอดภยั ในการทางานของสถานประกอบกิจการ
(๔) พิจารณาข้อบังคับและคู่มือตามข้อ ๓ รวมท้ังมาตรฐานด้านความปลอดภัยในการทางานของสถาน
ประกอบกิจการเสนอตอ่ นายจา้ ง
(๕) สารวจการปฏิบัติการด้านความปลอดภัยในการทางาน และตรวจสอบสถิติการประสบอันตรายท่ี
เกิดขนึ้ ในสถานประกอบกิจการน้นั อยา่ งนอ้ ยเดือนละหนึ่งครัง้
(๖) พิจารณาโครงการหรือแผนการฝึกอบรมเก่ียวกับความปลอดภัยในการทางาน รวมถึงโครงการหรือ
แผนการอบรมเก่ียวกับบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบในด้านความปลอดภัยของลูกจ้าง หัวหน้างาน ผู้บริหาร
นายจ้าง และบุคลากรทุกระดบั เพอ่ื เสนอความเห็นตอ่ นายจ้าง
(๗) วางระบบการรายงานสภาพการทางานท่ีไม่ปลอดภัยให้เป็นหน้าที่ของลูกจ้างทุกคนทุกระดับต้อง
ปฏิบตั ิ
(๘) ตดิ ตามผลความคืบหน้าเรื่องทีเ่ สนอนายจา้ ง
(๙) รายงานผลการปฏิบัติงานประจาปี รวมทั้งระบุปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะในการปฏิบัติหน้าที่
ของคณะกรรมการเมอื่ ปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ีครบหนึง่ ปี เพ่ือเสนอต่อนายจ้าง
(๑๐) ประเมินผลการดาเนินงานด้านความปลอดภยั ในการทางานของสถานประกอบกิจการ
(๑๑) ปฏิบตั งิ านด้านความปลอดภยั ในการทางานอ่ืนตามทีน่ ายจ้างมอบหมาย
คมู่ อื ความปลอดภยั ในการทางาน ฝ่ายอาชวี อนามยั ความปลอดภยั และสิง่ แวดล้อม PS &ANV 12
พนกั งานทุกคนมีหน้าที่ดงั น้ี
1. พนักงานทุกคนต้องทางานด้วยความสานึกถึงความปลอดภัยอยู่เสมอทั้งของ
ตนเองและผ้อู นื่
2. พนักงานทุกคนต้องรายงานสภาพการทางานท่ีไม่ปลอดภัยและอุปกรณ์ป้องกัน
ท่ชี ารดุ เสยี หายตอ่ ผู้บังคับบัญชา หรอื ผเู้ กี่ยวขอ้ ง
3. พนักงานทุกคนต้องเอาใจใส่และปฏิบัติตามกฎข้อบังคับในการทางานอย่าง
ปลอดภัยเสมอ
4. พนักงานทกุ คนตอ้ งให้ความรว่ มมอื กับบริษทั ฯ เก่ียวกับข้อปฏิบตั ิใหเ้ กิดความ
ปลอดภัยในการทางาน
5. เม่อื พนักงานมีขอ้ คดิ เห็นเก่ียวกับความปลอดภัยให้เสนอผู้บังคบั บญั ชาหรือ
ผเู้ ก่ยี วข้อง
6. พนกั งานทกุ คนต้องใชอ้ ุปกรณป์ ้องกนั ภัยที่บริษทั ฯจัดให้ และแต่งกายใหร้ ดั กมุ
เหมาะสมกับงานตลอดเวลาปฏบิ ัติงาน
7. พนักงานต้องไม่เส่ยี งกับงานที่ไม่เข้าใจ หรอื ไม่แน่ใจว่าทาอยา่ งไรจงึ จะปลอดภยั
8. ต้องศึกษางานที่ปฏิบัติว่า อาจเกิดอุบัติเหตุ หรืออันตรายใดที่อาจเกิดข้ึนกับ
ตนเองหรอื ผู้อื่น
คู่มอื ความปลอดภยั ในการทางาน ฝา่ ยอาชีวอนามยั ความปลอดภยั และส่งิ แวดล้อม PS &ANV 13
ค่มู ือความปลอดภยั ในการทางาน ฝ่ายอาชวี อนามยั ความปลอดภยั และส่งิ แวดลอ้ ม PS &ANV 14
SAFETY FIRST
อุบตั เิ หตจุ ากการทางาน หมายถงึ เหตุการณ์ทีเ่ กิดขน้ึ โดยบงั เอิญ
ไมไ่ ดค้ าดคิด ไม่ใชเ่ รอื่ งของโชคลางทเี่ หนอื การควบคมุ และไม่ได้ควบคุมไว้
กอ่ นในท่ที างาน ยงั ผลทาให้คนเกิดการบาดเจ็บ พกิ ารหรอื เสยี ชีวิตและอาจทา
ให้ทรพั ย์สินเสยี หาย
สาเหตขุ องอุบัติเหตุ ท่ีสาคญั จากการทางานได้แก่
1. การปฏิบตั ิงานท่ไี มป่ ลอดภัย เปน็ กระทาที่ไมป่ ลอดภยั ของพนกั งานใน
ขณะที่ ทางาน พบว่าประมาณ รอ้ ยละ 88 ของการเกดิ อบุ ตั เิ หตุ
• การหยอกลอ้ เล่นกนั ,แกล้ง,เหมอ่ ลอย
ค่มู อื ความปลอดภัยในการทางาน ฝ่ายอาชวี อนามัย ความปลอดภยั และสงิ่ แวดล้อม PS &ANV 15
• ประมาท ไมร่ ะมัดระวัง
• รบี เรง่ ลดั ขัน้ ตอน
• คาดการณผ์ ิด ฝา่ ยอาชีวอนามยั ความปลอดภยั และสิ่งแวดล้อม PS &ANV 16
ค่มู ือความปลอดภัยในการทางาน
• ไม่สวมใส่อุปกรณป์ ้องกนั อันตรายสว่ นบคุ คล
2. สภาพการทางานทไี่ มป่ ลอดภยั เป็นสภาพแวดลอ้ มท่ีไมป่ ลอดภัยอยู่
รอบๆตวั พนกั งานในขณะทางานพบวา่ ประมาณ ร้อยละ 10 ของการเกิดอบุ ตั ิเหตุ
• ไม่มีการด์ ครอบป้องกนั ส่วนอันตราย
• อปุ กรณเ์ คร่อื งจกั รเครือ่ งมือชารุด
• เสียงดงั แสงไม่พอ การระบายอากาศไม่ดี
ค่มู ือความปลอดภยั ในการทางาน ฝา่ ยอาชีวอนามัย ความปลอดภยั และสิง่ แวดล้อม PS &ANV 17
• ส่งิ แวดล้อมในการทางานไมด่ ี
3. เกิดข้ึนโดยธรรมชาติ นอกเหนือการควบคมุ ได้ พบวา่ ประมาณ ร้อยละ 2
ของ
การเกิดอบุ ตั ิเหตุ
• พายุ,ฟ้าผ่า
• นา้ ท่วม,สึนามิ(คล่นื ชายฝั่ง)
• ไฟปา่
• แผ่นดนิ ไหว
ค่มู อื ความปลอดภัยในการทางาน ฝ่ายอาชวี อนามยั ความปลอดภยั และสิง่ แวดล้อม PS &ANV 18
4. ขาดความร่วมมอื ทีด่ ีในเรอ่ื งความปลอดภัย
• ไมร่ ายงานอบุ ตั เิ หตุ
• ไมเ่ ข้าร่วมกิจกรรมความปลอดภยั
• ไมป่ ฏิบตั ิตามกฎความปลอดภยั
ค่มู ือความปลอดภยั ในการทางาน ฝา่ ยอาชีวอนามัย ความปลอดภยั และสงิ่ แวดล้อม PS &ANV 19
กฎระเบยี บความปลอดภัยในการทางาน
ความปลอดภัยทว่ั ไป
1. แต่งกายใหถ้ ูกระเบยี บให้เรยี บร้อยตามท่บี รษิ ัทฯกาหนด เช่น
คมู่ อื ความปลอดภัยในการทางาน ฝา่ ยอาชวี อนามัย ความปลอดภยั และสิ่งแวดล้อม PS &ANV 20
2. ปฏิบัติตามกฎ ข้อบังคับ เคร่ืองหมาย ป้ายสัญลักษณ์ และคาสอนของหัวหน้างานโดย
เครง่ ครัด
3. ปฏิบัติถูกต้องตามขั้นตอนการทางาน(WI) และมาตรฐานความปลอดภัยในการ
ปฏิบตั งิ านต่างๆแตล่ ะแผนกอย่างเคร่งครดั
4. เรียนรูว้ ิธกี ารดบั ไฟเบื้องตน้ และวธิ กี ารอพยพหนีไฟ
5. การขับข่ี และจากัดความเร็วในการขับข่ยี านพาหนะไม่เกนิ 25 กม./ชม.
6. สบู หรีต่ อ้ งสูบบริเวณ และตามเวลาทกี่ าหนดไวเ้ ทา่ นั้น
7.ตรวจสอบช่างภายใน/ภายนอก ท่ีเข้ามายังพื้นท่ีต้องได้รับอนุญาตให้ทางานจาก
เจา้ ของพื้นท่ี เจ้าของงาน และทางจป. และปิดกั้นพื้นที่ทางานใหเ้ รยี บรอ้ ย
คู่มือความปลอดภัยในการทางาน ฝ่ายอาชีวอนามัย ความปลอดภยั และสง่ิ แวดลอ้ ม PS &ANV 21
8. ตรวจสอบอปุ กรณ์ เครอ่ื งมอื หรือความเรยี บรอ้ ยทว่ั ไปของพื้นที่ปฏบิ ตั งิ านกอ่ น
การปฏิบัตงิ าน
9. หลีกเลย่ี งการดัดแปลงเครื่องมือและอปุ กรณ์การทางานทกุ ชนดิ
10.หลีกเล่ียงการปฏิบัติงานโดยที่ไม่มีหน้าที่เก่ียวข้อง ก่อนได้รับอนุญาตจากหัวหน้า
งาน
11. อย่า! หยอกลอ้ หรือเล่นกนั ขณะปฏบิ ัตงิ าน
12. อยา่ ! ปฏิบัตนิ อกเหนือหน้าที่ของตนเอง
คูม่ อื ความปลอดภัยในการทางาน ฝ่ายอาชวี อนามัย ความปลอดภยั และสิ่งแวดล้อม PS &ANV 22
13. ไม่เข้าใจในเรื่องความปลอดภัยในการทางานให้สอบถามหัวหน้างาน คปอ.
หรอื จป.
14. ตระหนักถึงอันตรายและพิษภัยต่างๆที่อาจจะเกิดข้ึนระหว่างปฏิบัติงานและ
ทราบวธิ กี ารควบคมุ อันตราย
15.ให้ดู และสังเกต ป้ายเตือน สัญญาณเตือน ต้องปฏิบัติตามความหมายของ
สญั ลกั ษณ์ สัญญาณเตอื นแต่ละพนื้ ท่ี อยา่ งเคร่งครดั !
16. ชว่ ยดแู ล รกั ษา อปุ กรณ์ดับเพลงิ ให้อยู่ในสภาพพรอ้ มใชง้ านไดต้ ลอดเวลา
17. แจ้งสภาพการทางาน และสภาพการณ์ท่ีไม่ปลอดภัยให้หัวหน้า จป.หน.งาน
คปอ.หรือจป. ทราบทันทีท่พี บ
18. รักษาบริเวณสถานท่ีทางานใหส้ ะอาดตามหลัก 5 ส.
19. เมือ่ มอี บุ ัตเิ หตุรีบแจ้งหวั หนา้ งาน หรือจป.ทนั ที
คมู่ ือความปลอดภยั ในการทางาน ฝ่ายอาชวี อนามยั ความปลอดภยั และสง่ิ แวดล้อม PS &ANV 23
20. จัดเก็บอุปกรณ์ เครอื่ งมือ ใหเ้ รยี บรอ้ ยหลงั เสร็จส้นิ การปฏิบัตงิ านทกุ ครั้ง
21.พนักงานทุกคนมีหน้าท่ีช่วยระงับเหตุเบื้องต้นเม่ือเกิดเหตุฉุกเฉินในพ้ืนท่ี เช่น
ไฟไหม้ น้าทว่ ม แผ่นดินไหว หรอื การก่อการร้าย
ความปลอดภยั ในสานักงาน
1. ในกรณีที่ไม่สามารถจะเคลื่อนย้าย หรือยกของที่หนักเกินกาลังให้ขอความ
ชว่ ยเหลอื จากเพ่อื นรว่ มงาน
2. การยกของในสานักงาน ไม่ควรยกสูงเกินระดับสายตา เพราะจะทาให้มองไม่
เห็นทางดา้ นหนา้ และบรเิ วณรอบๆขณะเดนิ ผา่ น
คู่มอื ความปลอดภัยในการทางาน ฝา่ ยอาชีวอนามยั ความปลอดภยั และสิ่งแวดล้อม PS &ANV 24
3. ควรใช้เฟอร์นเิ จอรท์ ไี่ ม่ส่งผลกระทบต่อท่าทางการทางาน เชน่ เก้าอที้ ่ตี า่ หรือสูง
เกินไป
4. ไม่ยนื อยหู่ น้าประตู และควรออกไปยนื ให้พ้นรศั มีของประตทู ี่เปดิ เพือ่ ปอ้ งกนั การ
ชน ประตู
5. ไมค่ วรยืนออกันท่บี นั ไดหรือชานบนั ได และไมย่ ืนทห่ี วั บันได และ
6. การเก็บกวาดพื้นให้สะอาดเรียบร้อยเป็นการป้องกันการลื่นล้ม น้าหกควรเช็ด
ทันทีเศษกระดาษที่หนีบกระดาษ ไม้บรรทัด ดินสอและวัสดุอ่ืน ท่ีตกลงมาควรเก็บ
ทนั ที
คู่มอื ความปลอดภัยในการทางาน ฝ่ายอาชวี อนามยั ความปลอดภยั และส่งิ แวดลอ้ ม PS &ANV 25
7. พยายามลดหรอื ปอ้ งกันไม่ให้เกดิ เสียงดังในสถานท่ที างาน เช่นเสยี งคุยกัน เสียง
ดังผดิ ปรกตจิ ากเคร่อื งปริ้นเตอร์
8. มคี วามร้แู ละสามารถใชง้ านอุปกรณป์ ้องกันและระงับอคั คภี ัย เช่นสามารถใช้ถงั
ดบั เพลงิ เองได้
9. ลบมุมของเฟอรน์ เิ จอร์โลหะท่ีคม
10. จัดสภาพแวดล้อมให้น่าทางาน ถกู สขุ ลักษณะ
ค่มู ือความปลอดภัยในการทางาน ฝ่ายอาชวี อนามยั ความปลอดภยั และสิ่งแวดล้อม PS &ANV 26
ความปลอดภัยเกี่ยวกบั ตเู้ อกสาร
1. ปิดลิ้นชกั ตเู้ อกสารทุกคร้งั ทไี่ มใ่ ช้
2. ใช้หจู บั ลิ้นชักทุกครงั้ เม่อื จะเปด็ -ปดิ ล้นิ ชกั เพ่อื ปอ้ งกนั นวิ้ ถกู หนบี
3. ใช้มือเปิดตู้ ไม่ควรใช้เท้าหรือส่วนอื่นของร่างกาย ไม่เอานิ้วไปวางไว้บนล้ินชัก
ขณะเปดิ ตู้เอกสารและควรปิดทนั ทีหลงั ใช้เสร็จส้นิ แลว้
4. ใบมีด กรรไกร เข็มหมุดหรือของมีคมอื่นๆไม่ควรวางบนโต๊ะหรือใส่ท้ิงไว้ใน
ลิน้ ชักโต๊ะเฉยๆควรหากลอ่ งมาใสใ่ ห้เรยี บร้อย กอ่ นเก็บไวใ้ นล้นิ ชกั
5. จดั เก็บเอกสาร วสั ดุส่ิงของให้เป็นระเบียบเรยี บร้อย สะดวกต่อการหยบิ ใช้งาน
6. ห้ามวางสง่ิ ของหนักๆไวบ้ นตเู้ กบ็ เอกสาร
ค่มู ือความปลอดภัยในการทางาน ฝา่ ยอาชีวอนามัย ความปลอดภยั และส่งิ แวดลอ้ ม PS &ANV 27
อุบตั เิ หตุในสานกั งานและวิธีปฏบิ ัตเิ พื่อความปลอดภยั
• ล่นื ทาความสะอาดพ้นื ใหแ้ หง้ อยเู่ สมอ
• ล้ม หากยกของขนึ้ บนั ได ควรปฏบิ ตั ดิ ังนี้
- ไมค่ วรยกของสูงเกินไปจนมองไม่เหน็ ทาง
- สวมรองเทา้ ใหร้ ัดกุม จับราวบนั ได
• หงายหลัง
- อยา่ ! ใช้เกา้ อห้ี มุนมารองยนื เพ่อื หยิบ / วางสงิ่ ของ
- ควรใชเ้ ก้าอี / บันได ที่มน่ั คงมีคนช่วยจบั
ค่มู อื ความปลอดภยั ในการทางาน ฝา่ ยอาชีวอนามัย ความปลอดภยั และสิง่ แวดล้อม PS &ANV 28
• กระแทก
- ไม่ควรวางโตะ๊ หรือสงิ่ ของขวางทางเข้า - ออก
• ชน
- บรเิ วณมมุ อับอย่าเดินชดิ หวั มุม
• ทับ
- ตู่เกบ็ เอกสารใส่ของหนัก และเอกสารท่ีใช้บ่อยในล้นิ ชกั ลา่ ง
- อยา่ ! เปิดลนิ้ ชกั มากกวา่ คร้ังละ 1 ลิ้นชกั
ค่มู ือความปลอดภยั ในการทางาน ฝ่ายอาชีวอนามยั ความปลอดภยั และสิ่งแวดลอ้ ม PS &ANV 29
• ถูกตัด,บาด,ทิม่ ,แทง
- ใบมีดคัตเตอรค์ วรนาออกมาเฉพาะเวลาทีใ่ ช้เทา่ น้นั
- ทเี่ จาะรูกระดาษต้องจบั ใหถ้ ูกต้อง
-เก็บปากกา ดินสอ โดยเอาปลายชีล้ ง หรอื วางราบในลิน้ ชัก
- หบุ ขากรรไกร ใบมดี คัตเตอร์ หรือของมีคมอ่นื ๆ เข้าท่กี อ่ นเก็บ
- หลีกเลีย่ งการตัดกระดาษพรอ้ มกันทเี ดยี วมากเกินไป
• เตะ
-อย่า! วางส่งิ ของเกะกะทางเดิน
- ตรวจบรเิ วณช่องทางเดินให้อยใู่ นสภาพปลอดภยั เสมอ
• อคั คีภยั
-หลกี เลย่ี งการใส่รองเทา้ ส้นสูง
- ดงึ ปลก๊ั ไฟฟา้ และปดิ เคร่อื งใช้ไฟฟา้ เมื่อเลกิ ใช้งาน
- พนักงานต้องรู้จักการใช้เคร่ืองดับเพลิง และการอพยพ ออกจากสานักงานตามแผนท่ีที่
กาหนดไว้
ค่มู อื ความปลอดภยั ในการทางาน ฝา่ ยอาชีวอนามยั ความปลอดภยั และสงิ่ แวดลอ้ ม PS &ANV 30
การทางานหน้าจอคอมพวิ เตอร์
• กาจัดแสงสะท้อนที่เกิดจาก แสงไฟ หน้าต่าง หรือวัสดุท่ีมีแสง หากยังมีแสงสะท้อน บน
หน้าจอให้ใช้แผน่ กรองแสง
• ปรับความเข้ม ความสว่างของหน้าจอให้พอเหมาะ ตัวอักษรควรจะสว่างกว่าพื้นหลังแต่ต้อง
ระวังอยา่ ใหส้ ว่างมากเกินไป
• เอนหน้าจอไปดา้ นหลังเลก็ นอ้ ย แตร่ ะวงั อยา่ ให้เกิดแสงสะท้อนท่ีหนา้ จอ
• ปรบั ระดับ เกา้ อีน้ ่ัง ช้นิ งาน และแปน้ พมิ พ์ให้เหมาะสมกบั แต่ละบคุ คล
• หากเป็นงานพิมพ์โดยใช้ 2 มือ แป้นพิมพ์ควรอยู่หน้าของผู้ปฏิบัติงาน แต่หากเป็นการใส่
ขอ้ มูลที่ใชม้ ือเพียงข้างเดียว ควรให้แป้นพิมพ์เลอ่ื นไปอยดู่ ้านของมือท่พี ิมพ์ และควรจัดพนื้ ที่
พอสมควรสาหรับวางเอกสาร
• ระหว่างทางานอาจเลื่อนแปน้ พิมพ์ไปดา้ นใดด้านหนึ่งเป็นระยะๆเพ่ือให้แขนและไหลไ่ ด้มีการ
เปล่ียนตาแหน่งบ้าง
• สลับข้างซ้ายขวา ระหว่างแป้นวางเอกสาร กับหน้าจอคอมพิวเตอร์บ้าง เพื่อให้เปล่ียน
ตาแหนง่ การเอยี งศีรษะ
• ควรมีท่สี าหรับพักขอ้ มอื และควรทาความสะอาดหน้าจอเป็นประจา
ค่มู อื ความปลอดภัยในการทางาน ฝา่ ยอาชีวอนามยั ความปลอดภยั และสง่ิ แวดล้อม PS &ANV 31
การเคล่อื นยา้ ยวสั ดุ
การยกทถ่ี ูกวิธีจะตอ้ งมี
1. การวางแผน เปน็ การประเมินเพอ่ื หลีกเลี่ยง
การรับน้าหนักงานท่ีมากเกินไป จนอาจทาให้เกิดการบาดเจ็บ และช่วยตัดสินใจว่าควรใช้
เคร่อื งมือทุ่นแรงชนิดใดหรอื ไม่
2. เทคนิคการยกวัสดุท่ีดีที่สุด คานึงถึงความสมดุล หลีกเลี่ยงการก้ม การบิด และ
การยดื ลาตัว การยกของตอ้ งลดการโคง้ หลงั โดยใชก้ ารงอหวั เขา่ แทน
3. วิธีการจับวัสดุอย่างปลอดภัย การจับยึดจะช่วยให้ทราบได้ว่าการยกนั้น
ปลอดภัยหรือไม่ การจับหรืออุ้มของขณะยกต้องจับโดยใช้แขน 2 ข้างดีกว่าจะใช้เฉพาะนิ้ว
มอื
คู่มอื ความปลอดภัยในการทางาน ฝา่ ยอาชวี อนามยั ความปลอดภยั และสิ่งแวดลอ้ ม PS &ANV 32
4. ดึงน้าหนักให้อยู่ใกล้ตัวมากที่สุด ควรให้บริเวณบริเวณกึ่งกลางของน้าหนัก
วัสดุอยู่ใกล้ตัว และใช้ส่านที่แข็งแรงท่ีสุดของแขนอุ้มไว้ ยกในจังหวะพอดี ค่อยๆทาไม่
กระตุก หรือกระชาก
5. ยกวัสดุที่มีน้าหนักมากสลับกับของท่ีเบากว่า จะช่วยลดความตึงตัวของ
กลา้ มเน้ือได้
ค่มู ือความปลอดภัยในการทางาน ฝ่ายอาชีวอนามัย ความปลอดภยั และสงิ่ แวดลอ้ ม PS &ANV 33
การปฏิบัติงานบนท่ีสงู และการใช้บันได
การปฏบิ ตั ิงานบนท่ีสูง
1. ก่อนใช้อปุ กรณค์ วรตรวจสอบวา่ พร้อมท่จี ะใชง้ าน
2. ต้องจดั ใหม้ นี ง่ั ร้าน สาหรบั ทางานในทีส่ ูงเกิน 2 เมตร ข้นึ ไป
3. นัง่ ร้าน ต้องกว้างไมน่ ้อยกว่า 35 เซนติเมตรและมีราวกันตก สงู ไมน่ ้อยกวา่ 90
เซนตเิ มตร แต่ ไมเ่ กนิ 1.10 เมตร
4. ตอ้ งสวมหมวกนริ ภัย และตอ้ งมสี ายรดั คางกันหมวกหลน่ และศีรษะกระแทก
5. ต้องสวมเข็มขัดนิรภัยท่ีเอวและมีตัวล๊อคยึดติดแล้วใช้เชือกท่ีเข็มขัดผูกติดจุด
ใดจดุ หนึง่ ของโครงสรา้ งทีม่ ัน่ คง ตลอดเวลาทีท่ างานในทส่ี ูงต้ังแต่ 4 เมตรข้นึ ไป
6. ต้องสวมรองเทา้ นริ ภัยป้องกันเศษวัสดุแหลมคมหรอื ของแขง็ หล่นใส่เท้า
7. ต้องจดั ให้มอี ุปกรณ์ ปอ้ งกนั วัสดุท่อี าจกระเด็น หรอื ตกหล่นจากการทางาน
8. ตอ้ งมีการปดิ กัน้ อาณาเขตแยกพื้นท่ีปฏบิ ตั งิ านให้ชัดเจน และติดปา้ ยเตือน
9. หวั หน้างานมีหน้าทต่ี ้องควบคุมพนักงานปฏิบัติตามข้อดังกลา่ ว
คู่มอื ความปลอดภัยในการทางาน ฝ่ายอาชวี อนามัย ความปลอดภยั และสง่ิ แวดล้อม PS &ANV 34
การใชบ้ ันได
1. บันไดวางบนฐานท่ีมั่นคง ไม่ลื่นและวางให้ทามุม 68-75 องศา หรือให้มีความ
ชนั อยูใ่ นช่วง 1 ใน 4 ถงึ 3 ของความยาวของบนั ได
2. พื้นท่ีโดยรับของฐานบันได ต้องมีการปิดก้ันอาณาเขตแยกพ้ืนที่ปฏิบัติงานให้
ชัดเจนและตดิ ป้ายเตือน
3. การปนี บันได ขณะขนึ้ หรอื ลงบนั ได ควรหันหนา้ เข้าหาบันได
4. การทางานบนบนั ไดควรอยหู่ ่างจากข้นั บันไดข้นั สูงสดุ เกินกวา่ 1 เมตร
5. ใชบ้ นั ไดเสรจ็ แล้วควรจดั เกบ็ ใหเ้ รยี บร้อย
คมู่ ือความปลอดภัยในการทางาน ฝา่ ยอาชวี อนามัย ความปลอดภยั และสิ่งแวดลอ้ ม PS &ANV 35
การใชเ้ ครอ่ื งมอื โดยทั่วไป
• เลอื ก ขนาด นา้ หนกั และชนดิ ของเครอื่ งมือให้เหมาะสมกับงาน
• ทาความสะอาด และจัดเกบ็ ใหเ้ รียบรอ้ ย หลังเลิกใช้
• ซอ่ ม หรอื เปลี่ยนทันที เมือ่ เครือ่ งมอื ชารุด
• อย่า! พกเครือ่ งมอื ทแ่ี หลมคมไวท้ ต่ี ัว
• อย่า! สง่ เครอื่ งมือดว้ ยการโยน
• อย่า! วางเคร่อื งมือในท่หี มนิ่ แหม่
ค่มู อื ความปลอดภัยในการทางาน ฝ่ายอาชวี อนามยั ความปลอดภยั และส่ิงแวดล้อม PS &ANV 36
การใช้ระบบลม
1. ตรวจสอบสภาพความเรยี บร้อยของสายลม, ท่อและป๊มั ลม ก่อนการใช้
2. ควรสวมแว่นตาครอบก่อนการใชง้ าน
3. ควรสวมถงุ มือขณะทาความสะอาดอปุ กรณ์
4. อย่า!เป่าลมใต้ที่นั่งหรือเครื่องจักร หรือสายพานเพราะจะทาให้ฝุ่นโลหะเข้าตา
ได้
5. อย่า!ใช้ลมในการทาความสะอาด ฝุ่น ตามเส้ือผ้าหรือผมเพราะลมอาจทา
อนั ตราย
ตอ่ ดวงตา หรอื ทาให้ฝุ่นละออง สารเคมเี ขา้ ส่รู ่างกายจากการหายใจได้
คู่มอื ความปลอดภยั ในการทางาน ฝ่ายอาชีวอนามัย ความปลอดภยั และสิ่งแวดล้อม PS &ANV 37
อปุ กรณไ์ ฟฟา้
1. ทกุ ครง้ั ที่ทาการตอ่ สายไฟฟ้าหรือเดนิ สายไฟฟ้าตอ้ งตัดกระแสไฟฟ้าทกุ คร้งั
2. ช่างไฟฟ้าต้องใช้หรือสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันไฟฟ้า เพ่ือกันกระแสไหลผ่าน
รา่ งกายลง
สู่ดิน
3. อย่า! ซอ่ มอปุ กรณ์ต่างๆทเี่ กี่ยวข้องกับไฟฟา้ โดยไมใ่ ช่หน้าทข่ี องตนเอง
4. อย่า! ใชอ้ ุปกรณ์ทช่ี ารุด เชน่ ฉนวนหมุ้ สายแตก
5. อย่า! สวมถุงมือ เสื้อผ้าทีร่ ุงรงั หรือเคร่อื งประดับ ถ้าต้องทางานกบั อปุ กรณ์
6. อย่า! จับสายไฟฟา้ เม่อื เสยี บปลัก๊ แลว้ เพราะสายไฟฟา้ อาจมีกระแสร่วั ไหล
7. อย่า! นาส่งิ ของมีคมวางใกลห้ รอื ปะปนกบั สายไฟฟ้า
8. อย่า! นาสงิ่ ของทุกชนิด วางไว้ในตทู้ ี่มอี ุปกรณ์ไฟฟ้าเด็ดขาด
9. อย่า! เข้าใกลบ้ รเิ วณสายไฟฟ้าแรงดันสงู ๆหรอื หมอ้ แปลงไฟฟา้
10. อย่า! เข้าไปในห้อง / ตู้ควบคุมไฟฟ้า เฉพาะผู้ท่ีเก่ียวข้องหรือได้รับอนุญาต
จากวศิ วกรรมไฟฟ้าแล้วเทา่ นน้ั
11.อปุ กรณ์ไฟฟา้ ควรมีสายดนิ ตามท่ีติดตัง้ มาและไมเ่ ปล่ียนแปลง แก้ไข อปุ กรณ์
ความปลอดภัยที่ติดมากบั เครอื่ ง
ค่มู อื ความปลอดภัยในการทางาน ฝ่ายอาชวี อนามยั ความปลอดภยั และส่ิงแวดลอ้ ม PS &ANV 38
เคร่ืองมอื ไฟฟ้า
1. ปดิ สวิทช์เคร่ืองมือไฟฟา้ ทกุ ครงั้ กอ่ นท่ีจะเสยี บปลกั๊ สายไฟฟา้
2. ถอดปลกั๊ ไฟฟ้าออกก่อนหากจะปรับแต่ง ซอ่ มเครื่องมือไฟฟา้
3. อย่า! เปดิ -ปดิ เคร่อื งมอื ไฟฟ้าโดยวิธีเสยี บปลั๊กเขา้ หรอื ดงึ ปลั๊กออก
4. อยา่ ! ใช้เคร่ืองมือไฟฟ้าในสถานที่เปยี ก ช้ืนแฉะ
5. อยา่ ! ใชส้ ารเคมที ีไ่ วไฟ หรือเป็นพิษ มาทาความสะอาดเครื่องมือไฟฟ้า
6. อย่า! ใช้เครอื่ งมอื ไฟฟา้ ในบรเิ วณเก็บแกส๊ สารระเหยที่สามารถระเบิดได้
คมู่ อื ความปลอดภยั ในการทางาน ฝา่ ยอาชวี อนามัย ความปลอดภยั และสงิ่ แวดล้อม PS &ANV 39
สายไฟฟา้
1. อยา่ ! ให้สายไฟฟ้าเกะกะเคร่อื งมอื ระหว่างการใช้
2. อยา่ ! พาดหรือปลอ่ ยสายไฟฟ้าเกะกะช่องทางเดิน เพือ่ ป้องกันการสะดุดล้ม
3. อยา่ ! ใช้สายไฟฟ้าท่ีทนกระแสได้ต่าหรือประเภททใี่ ชง้ านหนักไมไ่ ด้
4. อยา่ ! ถือเครอื่ งมือโดยห้ิวทสี่ ายไฟฟา้
5. อย่า! มัดสายไฟฟ้าเป็นปม เพราะอาจทาให้ไฟฟ้าลัดวงจรได้ ให้ขดสายไฟฟ้า
หรือใชเ้ ตา้ เสียบชนิดกดล็อค
6. รอยต่อสายไฟฟ้าทุกแห่งต้องใช้ เทปสาหรับพันสายไฟฟ้าหุ้มลวดทองแดง
เท่านน้ั ห้ามใชเ้ ทปใสหรือพลาสตกิ พนั
7. หวั หนา้ งานมหี นา้ ที่ตอ้ งควบคมุ พนกั งานปฏบิ ตั ิตามขอ้ ดังกลา่ ว
คูม่ ือความปลอดภยั ในการทางาน ฝา่ ยอาชวี อนามยั ความปลอดภยั และสิ่งแวดล้อม PS &ANV 40
การตรวจสอบ
• ตรวจสอบสายไฟฟ้าและเต้าเสียบ
- ตรวจสอบสายไฟฟ้าและเต้าเสยี บทกุ วนั หากพบทีช่ ารดุ เสียหายให้
แจ้งช่างไฟฟา้ ตรวจสอบและซอ่ มแซม
•หลกี เลย่ี งการใช้เต้าเสยี บรว่ มกันมากเกินไป
- ห้ามใช้เต้าเสียบหลายๆอนั ในเต้ารับอันเดยี วกนั
• จบั ดงึ เตา้ เสียบ ไมใ่ ช่ดงึ ที่สายไฟฟ้า
- ห้ามดึงเต้าเสียบ โดยวิธีดึงหรือกระตุกที่สายไฟฟ้าเพราะการดึงที่สายไฟฟ้า
อาจเป็นสาเหตุใหเ้ กิดไฟฟา้ ลัดวงจรได้
ค่มู อื ความปลอดภัยในการทางาน ฝ่ายอาชีวอนามยั ความปลอดภยั และสิ่งแวดล้อม PS &ANV 41
การใช้เครื่องจกั ร
1. พนักงานจะต้องผ่านการอบรมจากหัวหน้างานในเรื่องของความปลอดภัยและจุดที่
ควรระวงั เกี่ยวกบั การใช้งานเคร่อื งจักรนน้ั ก่อน
2. พนกั งานที่ไมม่ ีหนา้ ท่ใี ชเ้ ครอื่ งจักรโดยตรงห้ามปฏิบัตงิ านโดยพละการ
3. ก่อนใช้เคร่ืองจักร ต้องตรวจฝาครอบ การ์ด เคร่ืองนิรภัย หรือส่วนต่างๆของ
เครอ่ื งจกั รให้อยใู่ นสภาพเรยี บร้อย พรอ้ มใช่งาน
4. สวมเสื้อผ้ารัดกุมไม่รุ่มร่ามและใช้เคร่ืองป้องกันอันตรายส่วนบุคคลให้เหมาะสม
เช่น รองเท้านริ ภยั ,ปล๊กั อดุ หู,แวน่ ตานริ ภัย
5. อย่า! ใช้เครื่องจักร เคร่ืองมือท่ีมีสภาพชารุด ในระหว่างรอการแก้ไขต้องแขวน
ปา้ ยเตือนให้ชัดเจนทกุ คร้งั
6. อย่า! เคลื่อนย้ายฝาครอบ การ์ด หรือเครื่องนิรภัยออกจากเครื่องจักร ในกรณีที่
ถอดเพ่อื การซอ่ มเสร็จแล้วต้องใสก่ ลบั ให้เรยี บร้อย
คมู่ อื ความปลอดภัยในการทางาน ฝ่ายอาชวี อนามัย ความปลอดภยั และส่ิงแวดล้อม PS &ANV 42
7. อย่า! ทาความสะอาดหรือซ่อมแซมเครอื่ งจกั ร ขณะทเ่ี ครือ่ งกาลงั ทางาน
8. อยา่ ! ปล่อยให้เคร่อื งจกั รทางานโดยไม่มีคนดูแล
9. ขณะซ่อมแซมเครอื่ งจกั รต้องแขวนปา้ ยเตือนและลอ๊ คเคร่อื งจักรทุกคร้ัง
10. พนักงานต้องทราบตาแหนง่ สวิทช์หยุดเคร่ืองฉกุ เฉนิ
11. หัวหน้างานมหี น้าทต่ี ้องควบคุมพนักงานปฏบิ ตั ิตามขอ้ ดังกลา่ ว
ค่มู อื ความปลอดภยั ในการทางาน ฝ่ายอาชีวอนามยั ความปลอดภยั และส่งิ แวดล้อม PS &ANV 43
การงานขดั และงานเจยี ร
1. ใหส้ วมแว่นตาครอบ หรือหนา้ กากเต็มหนา้ กันสะเกด็ ทุกครง้ั ขณะปฏบิ ตั งิ าน
2. ตรวจเชค็ สภาพเครอ่ื งเจียรให้ปลอดภัยก่อนใชง้ านและต้องมีการด์ ครอบ
3. ตรวจสอบขนาดและชนดิ ของสง่ิ ของที่จะเจียรและจบั มน่ั คง
4. การจับถือช้ินงานควรจับด้วยความระมัดระวัง การกดชิ้นงานต้องคานึงแรงดันท่ีมาก
เกินไปในขณะปฏิบตั ิงาน
5. บริเวณพนื้ ที่รอบๆต้องไมม่ ีส่ิงกีดขวางหรือมผี ู้ปฏบิ ตั ิงานใกล้เกนิ ไป
6. ต้องทาให้ชิ้นงานอยู่นิง่ กอ่ นเจียรชิ้นงาน
7. ต้องระวงั ประกายไฟจากหินเจยี ร พ่งุ เขา้ หาร่างกายของบุคคลอ่นื
8. เม่ือจาเป็นต้องเจียรช้นิ งานในบริเวณทม่ี ผี ู้อ่นื ควรหาแผงกาบังสะเก็ดหนิ เจยี ร
9. หวั หน้างานมีหน้าทีต่ ้องควบคุมพนกั งานปฏิบตั ติ ามข้อดงั กลา่ ว
ค่มู อื ความปลอดภยั ในการทางาน ฝ่ายอาชีวอนามัย ความปลอดภยั และสงิ่ แวดล้อม PS &ANV 44
แบบฟอรม์ แผนการดาเนนิ งานการจัดการสิ่งแวดล้อม ควบคุมความเสย่ี ง กฎหมาย
คมู่ อื ความปลอดภยั ในการทางาน ฝ่ายอาชวี อนามัย ความปลอดภยั และสิ่งแวดล้อม PS &ANV 45
ค่มู ือความปลอดภยั ในการทางาน ฝ่ายอาชวี อนามยั ความปลอดภยั และส่งิ แวดลอ้ ม PS &ANV 46
งานตัด และงานเชอื่ ม
1. ต้องขออนญุ าตเจ้าของพนื้ ที่ จป. หรอื ผ้ทู เ่ี กี่ยวข้อง และให้ จป. ออกใบอนุญาตก่อนเข้า
ปฏบิ ัติงาน
2. ตรวจสอบสภาพถงั แกส๊ (Acetylene, Oxygen) และอุปกรณเ์ ครอ่ื งมอื อยใู่ นสภาพ
พรอ้ มใชง้ านก่อนปฏิบัตงิ าน
3. ตอ้ งมีใบตรวจเชค็ และทาการตรวจเชค็ ตูเ้ ชอ่ื มไฟฟ้าทกุ คร้งั กอ่ นการใช้งาน
4. ต้องนาถังดบั เพลิง มาดว้ ยทกุ ครัง้ และตอ้ งอยู่ในสภาพทพ่ี รอ้ มใชง้ าน
5. ตั้งถังแก๊ส(Acetylene, Oxygen) ให้ม่นั คง ต้องมีสายรัดหรอื โซ่ยึด เพ่ือป้องกนั การลม้
6. ตรวจสอบบริเวณท่ีจะปฏบิ ตั งิ านต้องไม่มสี ื่อทจี่ ะติดไฟไดง้ า่ ยหรอื ใช้วัสดปุ ้องกนั
สะเกด็ คลุมกอ่ นทาการเชอื่ มตดั เชอ่ื ม
7. ตอ้ งสวมอปุ กรณป์ ้องกันภัยสว่ นบุคคล เช่นปอ้ งกันดวงตา ถุงมอื ร้องเท้า ให้
ถูกตอ้ งตลอดเวลา
8. พ้นื ทป่ี ฏิบตั งิ านหรืออปุ กรณเ์ ชอื่ ม เชน่ ลวดเชือ่ ม ต้องเกบ็ ใหเ้ รยี บรอ้ ยหลังการใชง้ าน
9. ปิดวาลว์ ถังแกส๊ ให้สนิททุกครั้งเมื่อเลิกใช้งาน
10. อยา่ ! ซอ่ มวาล์วหรอื อปุ กรณ์ปรบั ความดัน อุปกรณช์ ารุดตอ้ งเปลยี่ นทันที
11. เก็บถังแกส๊ ใหห้ ่างจากแหลง่ เชื้อเพลงิ และมีการระบายอากาศดี
12. หวั หนา้ งานมหี น้าท่ีต้องควบคุมพนกั งานปฏิบัติตามข้อดังกล่าว
คมู่ อื ความปลอดภัยในการทางาน ฝ่ายอาชวี อนามัย ความปลอดภยั และสงิ่ แวดล้อม PS &ANV 47
การทางานในทีอ่ ับอากาศ
“สถานที่อับอากาศ” หมายความว่า สถานท่ีทางานที่มีทางเข้าออกจากัด มีการ
ระบายอากาศตามธรรมชาติ ไม่เพียงพอและปลอดภัย ซ่ึงอาจสะสมของสารเคมี
เป็นพิษ สารไวไฟรวมท้ังออกซิเจนไม่เพียงพอ เช่น ถังน้ามัน ถังหมัก ไซโล ท่อ
เตา ถัง บอ่ ถ้า อโุ มงค์ ห้องใตด้ ิน หรอื สิง่ อ่ืนใดท่ีมลี ักษณะคลา้ ยกัน
1.ตรวจสอบปริมาณออกซิเจน สารเคมี และส่ิงปนเปื้อนในอากาศว่าจะทาให้เกิด
การขาดออกซิเจน การระเบดิ และการเปน็ พษิ
1.1 มอี อกซิเจนต้องไมต่ า่ กว่ารอ้ ยละ19.5 หรือมากกวา่ รอ้ ยละ 23.5 โดยปรมิ าณ
1.2 มีก๊าซ ไอ ฝุ่น ละอองท่ีติดไฟหรือระเบิด ต้องไม่เกินร้อยละ 10 ของค่าความ
เขม้ ขน้ ข้ันต่า(Lower Flammable Limit หรอื Lower Explosive Limit)
2. หากเกินกว่าค่าความปลอดภัยท่ีกาหนด ให้ทาการระบายอากาศ หรือขจัดหรือ
ทาความสะอาดสถานที่นั้น จนกวา่ จะอยู่ในสภาพที่ปลอดภัย
3. ต้องขออนุญาตก่อนเข้าทางานในสถานที่อับอากาศทุกครั้งโดยต้องผ่านการ
อบรมท้ัง 4 ส่วนคอื 1.ผ้ปู ฏบิ ตั งิ าน
2.ผูช้ ว่ ยเหลือ 3.ผคู้ วบคมุ 4.ผู้อนุญาต ถึงจะเขา้ ปฏิบตั ิงานได้
3.1 ให้มีผู้ช่วยเหลือเฝ้าที่ปากทางเข้าออกสถานท่ีอับอากาศตลอดเวลา และ
สามารถติดต่อส่ือสารกับลูกจ้างที่ทางานในสถานท่ีอับอากาศพร้อมอุปกรณ์
ช่วยชีวิตท่ีเหมาะสมตามลักษณะงาน คอยให้ความช่วยเหลือลูกจ้างได้ทันที
ตลอดเวลาการทางาน
4. จัดอุปกรณ์ช่วยหายใจ เข็มขัดนิรภัย สายชูชีพ และอุปกรณ์คุ้มครองความ
ปลอดภยั ส่วนบคุ คลอน่ื ๆ ทเ่ี หมาะสม
คู่มือความปลอดภยั ในการทางาน ฝา่ ยอาชวี อนามัย ความปลอดภยั และสงิ่ แวดลอ้ ม PS &ANV 48
5. อุปกรณ์ไฟฟ้าและอุปกรณ์ประกอบ ที่ใช้ทางานในสถานที่อับอากาศ เป็นชนิดที่
สามารถป้องกันความร้อน ฝุ่น การระเบิด การลุกไหม้ และไฟฟ้าลัดวงจร อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ
6.ห้ามพนักงานสบู บุหรีห่ รือพกพาอปุ กรณ์สาหรับจุดไฟหรอื ตดิ ไฟเข้าไปในสถานที่
อบั อากาศ
7.ห้ามพนักงานทางานท่ีก่อให้เกิดความร้อน หรือประกายไฟ เช่น การเช่ือม การ
เผาไหม้ การย้าหมุด การเจาะ การขัด ในสถานท่ีอับอากาศ เป็นต้น ก่อนได้รับ
อนญุ าต
8.ห้ามพนักงานทางานพ่นสี หรือทาสีที่ใช้สารน้ามันชนิดระเหยได้ในสถานที่อับ
อากาศ กอ่ นไดร้ บั อนุญาต
9.ห้ามพนกั งานท่ไี มม่ หี นา้ ทีเ่ กย่ี วขอ้ ง เขา้ ไปในสถานทอ่ี บั อากาศ
ค่มู ือความปลอดภยั ในการทางาน ฝา่ ยอาชวี อนามัย ความปลอดภยั และสง่ิ แวดล้อม PS &ANV 49
การใช้รถยก(รถโฟล์คลฟิ ท)์
1. ผู้ที่ได้รับอนญุ าตมใี บขับข่ีและอบรมอยา่ งถูกต้องเท่านั้นเปน็ ผูข้ บั ข่รี ถยก
2. ก่อนเริม่ งานควรตรวจสภาพของรถยก รถท่พี ร้อมจะใช้งานตอ้ งอยู่ในสภาพดี
ให้ปฏเิ สธทนั ทีหากพบวา่ รถไม่อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน
3.สญั ญาณไฟเตือน แตร และเสยี งเตือนเวลาถอยหลังตอ้ งอยู่ในสภาพพรอ้ มใชง้ าน
4.รดั เข็มขดั ทุกคร้งั
5.ก่อนเคลื่อนรถต้องยกงาให้พ้นจากพ้ืนไม่น้อยกว่า 10 ซม. ขณะ วิ่งให้ยกงาสูงกว่า
พืน้ ดนิ ไมเ่ กนิ 30 ซม. พรอ้ มเอียงงาเข้าหาตวั คนขบั
คูม่ อื ความปลอดภยั ในการทางาน ฝ่ายอาชวี อนามยั ความปลอดภยั และส่ิงแวดล้อม PS &ANV 50