The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือความปลอดภัย STGT-PS (1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by torap48n, 2022-05-27 01:55:26

คู่มือความปลอดภัย STGT-PS

คู่มือความปลอดภัย STGT-PS (1)

6.ต้งั ระยะความกว้างของงาใหเ้ หมาะสม, ระยะห่างทป่ี ลอดภยั
7. ขบั รถทีค่ วามเรว็ ไม่เกิน 15 กม./ชม. ,ห้ามยกงาสงู คา้ งไว้ในกรณีวงิ่ รถเปล่า

8. เลือกใช้ Pallet ให้เหมาะสมกับของท่ีจะยก และจะต้องจัดเรียงวัสดุ หรือส่งของบนงาให้
มนั่ คงเสียก่อน

9. จอดรถทุกครง้ั จะต้องลดงาลงเพ่อื ปอ้ งกันคนเดินชน
10. อยา่ ! หา้ มยนื หรอื เดินผ่านใตง้ ารถยกไมว่ า่ จะบรรทุกของอยู่หรือไม่

คมู่ อื ความปลอดภัยในการทางาน ฝ่ายอาชวี อนามัย ความปลอดภยั และสง่ิ แวดลอ้ ม PS &ANV 51

11. กอ่ นออกรถมองหน้ามองหลงั ให้ดแี ละใหส้ ญั ญาณถอยหลงั ทุกครงั้ เมอ่ื รถถอยหลัง

12. จอดรถในบริเวณท่ปี ลอดภัยไม่กีดขวางทางเดินเท้าหรือบรเิ วณทพ่ี นกั งานปฏิบัติงาน

13.ไม่ว่าจะบรรทุกของอยู่หรือไม่ในระหว่างขับรถจะต้องยกงาสูงจากพื้นไม่เกิน 20 cm.
เพอ่ื ใหเ้ ห็นขา้ งหน้าสะดวก

14. จอดรถทกุ ครั้งจะต้องลดงาลงเพอื่ ป้องกนั คนเดินชน

คมู่ อื ความปลอดภยั ในการทางาน ฝา่ ยอาชีวอนามยั ความปลอดภยั และสงิ่ แวดล้อม PS &ANV 52

15. ไมค่ วรใช้รถยกแทนลิฟทห์ รือบันใด

16. เบาเครือ่ งใหส้ ัญญาณแตรและไฟเมื่อถึงทางแยกหรือเลี้ยวหวั มมุ

17. ขับรถยกข้ึนเนินมีของบรรทุกอยู่ ให้ขับรถไปข้างหน้า หากมองข้างหน้าไม่เห็นต้องมี
คนคอยบอกทางอยู่ดา้ นหน้าเสมอ

18. การขบั ขึน้ ทชี่ นั ให้เดนิ หนา้ การลงทางลาดต่าให้ถอยหลงั และใช้เกียรต์ ่า

คู่มอื ความปลอดภยั ในการทางาน ฝ่ายอาชีวอนามัย ความปลอดภยั และสง่ิ แวดล้อม PS &ANV 53

19. หา้ มยกกะบะเกิน 3 ชั้น และใหข้ บั รถถอยหลงั
20.ขับรถช้า ๆ เม่ือผา่ นทางทีเ่ ปยี กลนื่

21. หวั หน้างานมหี น้าที่ต้องควบคมุ พนักงานปฏิบตั ติ ามขอ้ ดงั กล่าว

คมู่ อื ความปลอดภยั ในการทางาน ฝ่ายอาชวี อนามยั ความปลอดภยั และส่ิงแวดล้อม PS &ANV 54

การใชส้ ารเคมี

1. ก่อนการใช้สารเคมีให้ตรวจสอบและทาความเข้าใจ ฉลาก ข้อกาหนดของ
MSDS ของสารเคมเี สยี กอ่ น
2. ให้ปิดป้ายฉลาก MSDS ที่ภาชนะบรรจุเกี่ยวกับสารเคมี เช่น พาเลท หรือชั้น
วางสารเคมี
3. ให้ปฏิบัติตามคาเตือนเก่ยี วกับวธิ กี ารเกบ็ วธิ กี ารใช้ และการเคลือ่ นยา้ ยสารเคมี
4. ผู้ไมม่ ีหนา้ ทเี่ กี่ยวข้อง ห้ามใช้ หรือนาสารเคมไี ปโดยพละการ
5. หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับสารเคมีโดยตรงให้สวมอุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล
เชน่ สวมถงุ มอื และชดุ ทางาน
6. อยา่ ! ห้ามรบั ประทานอาหาร เครื่องดมื่ หรอื สบู บุหร่ขี ณะปฏิบตั งิ าน
7. ขณะปฏบิ ัตงิ านห้ามใชม้ ือขย้ียา หรือสัมผสั ปาก จนกว่าจะล้างมอื ให้สะอาดกอ่ น
8. หากพบมอี าการเจบ็ ป่วย บาดแผล หรือวงิ เวยี นศีรษะ ให้หยุดปฏบิ ัตงิ านและแจ้ง

หวั หน้าทันที
9. จัดเก็บอุปกรณ์หรือภาชนะ ท่ีเกี่ยวกับสารเคมีให้เป็นระเบียบเรียบร้อยและทา
ความสะอาดหลังใช้งาน
10. ล้างมอื ทาความสะอาดรา่ งกายเมือ่ เสรจ็ สิน้ การปฏิบตั งิ าน

คมู่ อื ความปลอดภยั ในการทางาน ฝ่ายอาชวี อนามัย ความปลอดภยั และสิ่งแวดลอ้ ม PS &ANV 55

การใชเ้ ครน และสลิง

1. เครนทมี่ ีขนาด 5 ตนั หรือมากกวา่ จะตอ้ งมีพนกั งานขบั เครนทีม่ ใี บอนุญาต
สาหรับเครนท่ีใช้บนที่สูง และเครนที่มีขนาดต่ากว่า 5 ตัน จะอนุญาตให้ใช้ได้

เฉพาะพนักงานทไ่ี ด้ผ่านหลกั สูตรทางเทคนิคที่กาหนด หรือการฝึกอบรมเป็นพเิ ศษ
เทา่ นน้ั
2. การทางานสลิงนั้น พนกั งานทีจ่ ะปฏบิ ัติงานนีไ้ ด้จะตอ้ งเปน็ ผู้ผา่ นหลักสตู รทาง

เทคนิคท่ีกาหนดเท่าน้ัน โดยอนุญาตให้ทางานกับงานสลิงท่ีมีน้าหนักหนึ่งตัน
หรือมากกว่า ส่วนงานสลิงทม่ี ีน้าหนักน้อยกว่า 1 ตันนั้น พนักงานสลิงจะต้องเป็นผู้
ท่ีไดร้ บั แต่งตง้ั และผา่ นการอบรมหลกั สูตรพิเศษ
3. ถา้ พนักงานน้ันไดถ้ กู กาหนดให้เป็นผูช้ ่วย พนักงานน้ันควรได้มกี ารปรึกษาหารือ
ในการเตรียมการ และวธิ กี ารใหส้ ัญญาณกับหวั หน้าทม่ี ีคุณสมบัตเิ หมาะสม และ

ปฏบิ ตั ติ ามคาส่งั ของหัวหนา้ ดังกล่าว
4. เครอ่ื งมอื ประกอบเครน และสลิง จะต้องไดร้ ับการตรวจสอบตามท่กี าหนด (กอ่ น

และระหวา่ งการใช้งาน) หากตรวจพบความผดิ ปกติ ใหห้ ยดุ การใช้งานโดยทนั ที
และรายงานใหห้ วั หนา้ งาน เพอื่ ขอคาแนะนาเก่ียวกบั การซอ่ มแซมตอ่ ไป
5. หลีกเล่ียง (เช่น) การบรรทุกน้าหนักเกิน การแขวนในลกั ษณะทแยงมุม และหอ้ ย
แขวนจุดเดยี ว

ค่มู อื ความปลอดภยั ในการทางาน ฝ่ายอาชีวอนามัย ความปลอดภยั และสิ่งแวดล้อม PS &ANV 56

การลดความเครยี ด

1. ปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทางานให้เหมาะสม เช่น แสงสว่าง ความร้อน
เสียง

ตามสภาพของการทางาน
2. สร้างบรรยากาศในการทางานใหส้ ดช่นื พื้นท่ปี ฏิบัตงิ านสะอาด ตามหลกั 5ส.
3. ทาจติ ใจให้ผ่องใส ไมค่ ิดรา้ ย ใสร่ า้ ย หรือนนิ ทาผู้อ่ืน ให้เสอ่ื มเสีย
4. อย่า! ระบายอารมณ์ทไ่ี มเ่ หมาะสมต่อผรู้ ่วมงาน
5. งดการสูบบุหร่ี และ/หรือการดมื่ สุรา
6. เปดิ โอกาสให้ทุกคนมสี ว่ นรว่ มในการคดิ การทาและการแก้ไขปญั หา
7. รับฟังความคดิ เห็นของเพื่อนร่วมงาน
8. ผ่อนคลายความเครียดดว้ ยการพักผอ่ น อา่ นหนังสอื หรอื การออกกาลงั กายหลงั

เลกิ งาน

ค่มู อื ความปลอดภยั ในการทางาน ฝา่ ยอาชีวอนามัย ความปลอดภยั และสิ่งแวดล้อม PS &ANV 57

อุปกรณป์ อ้ งกนั อันตรายส่วนบุคคล

1. พนักงานตอ้ งสวมอุปกรณป์ ้องกนั อนั ตรายส่วนบคุ คลที่จดั ให้ตามสภาพของงาน
ตลอดระยะเวลาการทางาน

2. สวมแวน่ ตากันสารเคมี ถงุ มอื นริ ภยั เมอื่ ทางานเก่ียวข้องกับสารเคมี
3. สวมหมวกแข็งป้องกันของตกใส่ศีรษะแกละรองเท้าหัวเหล็กป้องกันของตกทับ
เท้า
4. สวมแวน่ ตา หน้ากากกรองแสง ถงุ มือ เม่อื เชื่อมหรอื ตัดโลหะ
5. สวมปลกั๊ อุดหู/ครอบหู ในบริเวณการทางานท่ีมีเสยี งดังเกิน 85 dB(A)
6. พนักงานต้องทราบวิธีการใช้ การดูแลและบารุงรักษาอุปกรณ์ป้องกันอันตราย
ส่วน

บคุ คลอย่างถกู ตอ้ ง

คูม่ ือความปลอดภยั ในการทางาน ฝ่ายอาชวี อนามัย ความปลอดภยั และสิง่ แวดลอ้ ม PS &ANV 58

ค่มู ือความปลอดภยั ในการทางาน ฝ่ายอาชวี อนามยั ความปลอดภยั และส่งิ แวดลอ้ ม PS &ANV 59

วิธีปฏบิ ตั ิเม่ือเกิดเพลงิ ไหม้
ขัน้ ตอนการปฏิบตั ิเมือ่ พนักงานพบเหตุเพลิงไหม้

ผพู้ บเห็นเพลงิ ไหม้

ตดั สนิ ใจวา่ สามารถดับเพลิงได้ดว้ ยตนเอง
หรือไม่

ถ้าดบั ไมไ่ ด้ ถ้าดับได้

รายงานหวั หน้า “ให้ทาการดับเพลิงตามวิธกี าร”
รายงานหัวหนา้
- แจ้งเจา้ หนา้ ทคี่ วามปลอดภัยในการทางาน(จป.)
- แจง้ ประชาสมั พันธ์ ผู้จดั การฝ่าย เจา้ หน้าทค่ี วามปลอดภยั
“ใช้แผนปฏบิ ตั กิ ารระงบั เหตเุ พลิงไหมข้ ั้นตน้ ” ในการทางาน(จป.)

ดับไมไ่ ด้ ถ้าดับได้
ผู้จดั การฝ่าย
ผอู้ านวยการดบั เพลิง ผู้อานวยการดบั เพลิง
“ตัดสนิ ใจใช้แผนปฏบิ ัติการ
เมื่อเกดิ เหตุไหม้ขน้ั รนุ แรง”

คมู่ อื ความปลอดภยั ในการทางาน ฝ่ายอาชวี อนามัย ความปลอดภยั และส่ิงแวดล้อม PS &ANV 60

เครือ่ งดบั เพลงิ ชนดิ มือถือ

1. ชนดิ ผงเคมแี ห้ง แบบสะสมแรงดัน(ถังสีแดง)
คุณสมบตั ิ สามารถดบั ไฟทเี่ กิดจากไม้, กระดาษ, ผา้ , พลาสตกิ , นา้ มัน, แก๊ส และ

ไฟฟา้ ชอ๊ ต
- ฉีดออกมาจะเป็นผงเคมีฟุ้งกระจาย ทาให้เกิดความสกปรกเสียหายต่อวัสดุและ
อปุ กรณไ์ ฟฟ้า
ฉดี ไดไ้ กล 6-8 เมตร
ขนาดบรรจุ 2,3,5,10,15,20,50 lbs. ฉดี ได้นาน 10-15 วนิ าที
สถานทีต่ ดิ ตัง้ พนื้ ที่รอบนอกอาคาร
มาตรฐาน: มอก.
ข้อควรระวัง
1. อยา่ ฉดี ก่อนเมื่อยังไมเ่ หน็ จุดตน้ เพลิง เพราะผงเคมีจะฟ้งุ กระจายทาใหแ้ สบตามอง
ไมเ่ หน็ จุดตน้ เพลงิ และทางออก

2. ชนดิ น้ายาเหลวระเหย แบบอดั แรงดัน BCF,(ถังสีเหลือง),Halotrol(ถงั สเี ขยี ว)

คณุ สมบตั ิ สามารถดบั ไฟทีเ่ กดิ จากไม้ กระดาษ ผ้า พลาสติก นา้ มัน และไฟฟา้ ช๊อต
ฉดี ออกมาจะเป็นไอสีขาว ไมท่ าให้เกิดความสกปรก เสียหายต่อวัสดุ

ฉดี ไดไ้ กล 3-7 เมตร
ขนาดบรรจุ 5,10,15,20 lbs. ฉีดไดน้ าน 10-12 วินาที
สถานท่ตี ิดตง้ั สานกั งาน, ห้องคอมพิวเตอร์, ห้องไฟฟ้า

คู่มอื ความปลอดภยั ในการทางาน ฝา่ ยอาชวี อนามยั ความปลอดภยั และสงิ่ แวดลอ้ ม PS &ANV 61

ข้อควรระวงั

1. ฉดี ใหใ้ ห้นา้ ยาไปยังบริเวณฐานของไฟ (หา้ มฉีดเปลวไฟ จะไมไ่ ดผ้ ล)

3.ชนิดโฟม แบบสะสมแรงดัน (ถงั สแตนเลส)

คุณสมบตั ิ สามารถดับไฟท่เี กดิ จากไม้ กระดาษ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมที ุกชนิด ยาง

ฉีดออกมาจะเปน็ โฟม

ฉีดได้ไกล 7 เมตร

ขนาดบรรจุ 2.5แกลลอน(9ลติ ร) ฉีดได้นาน 10-12 วนิ าที

สถานท่ีติดตัง้ บรเิ วณจดุ เกบ็ นา้ มัน สี

มาตรฐาน: มอก.

ข้อห้าม หา้ มฉดี อุปกรณไ์ ฟฟ้า หรือท่ีมกี ระแสไฟฟ้าไหลเดด็ ขาด

ข้อควรระวัง

1. ฉดี ใหน้ า้ ยาไปยังบริเวณฐานของไฟ (หา้ มฉีดเปลวไฟ จะไม่ได้ผล)

2. ควรยืนห่างจากตน้ เพลงิ ประมาณ 4-5 เมตร

สลักนิรภัย ซลี ลอ็ ค

สายฉดี คนั บบี

ประเภท
ของเพลงิ

ตัวถัง

ชนิดผงเคมแี หง้ (ถังสีแดง) NON-CFC (ถังสเี ขยี ว)

คมู่ ือความปลอดภัยในการทางาน ฝ่ายอาชวี อนามัย ความปลอดภยั และส่งิ แวดล้อม PS &ANV 62

วิธกี ารตรวจเชค็ ถงั ดบั เพลงิ

1. ตรวจสอบสลักพร้อมซีลล็อคของถังดับเพลิง ตรงคันบีบว่าอยู่ในสภาพเรียบร้อยหรือไม่
?

ซีลลอ็ ค

2. ตรวจเช็คสภาพสายฉีด ดูการแตกหรือชารุด พร้อมตรวจดูว่ามีการอุดตันของสาย ฉีด
หรอื ไม่ ?
3. คว่าถงั ดบั เพลิง เพ่ือใหส้ ารเคมีภายในถังคลายการอัดแน่นของสารเคมี
4. ตรวจสอบมาตรวัดความดัน PRESSURE GAUGE ขณะหันหน้ามองตัวถังดับเพลิง
สังเกตเข็มสีเหลืองในมาตรวัดความดันชี้ในช่องสีเขียวหรือค่อนไปทางด้าน OVER
CHARGE(ขวามือ) เลก็ น้อย แสดงว่าถงั อยู่ในสภาพเรียบร้อยดี (รูปท่ี1) หากเข็มสีเหลือง
ในมาตรวัดความดันชี้ไปทางด้าน RECHARGE (ซ้ายมือ) แสดงว่าถังอยู่ในสภาพต้องทา
การบรรจุใหม่ หรอื ขัดขอ้ ง (รูปที่2)

คมู่ ือความปลอดภยั ในการทางาน ฝ่ายอาชวี อนามยั ความปลอดภยั และสิง่ แวดล้อม PS &ANV 63

วิธีการใชถ้ งั ดบั เพลิงเมอื่ เกดิ เพลงิ ไหม้

อย่าต่ืนเต้นตกใจมองหาถังดับเพลิงที่อยู่ใกล้ตัวที่สุด เข้าเหนือลมและฉีดตรง
ไปยังฐานของไฟ (พยายามเขา้ ใกลไ้ ฟ 2-4 เมตร) ตามขั้นตอนคอื
1. ดึงสลกั ใหห้ ลดุ ออกจากคนั บีบ
(ดงึ )

2. ปลดปลายสาย, หวั อุดปลายสายออก และจบั ปลายสายหันไปจดุ เพลงิ ไหม้

(ปลด)

3. กดคันบบี ฉดี ไปท่ฐี านของเปลวไฟ (กด)

4. ส่ายปลายสายบริเวณฐานของเปลวไฟ (ส่าย)

ค่มู อื ความปลอดภยั ในการทางาน ฝา่ ยอาชวี อนามัย ความปลอดภยั และสงิ่ แวดล้อม PS &ANV 64

ข้อปฏบิ ตั ิเกี่ยวกับการปอ้ งกันอัคคภี ัย

1. พนักงานทุกคนช่วยดูแลอุปกรณ์ดับเพลิง เช่นถังดับเพลิง เปลพยาบาล ตู้เก็บสาย
ดบั เพลิง ปา้ ยทางออก ให้อยูใ่ นสภาพพรอ้ มใช้งานได้ตลอดเวลา
2. ห้าม! วางสิ่งของกีดขวางอุปกรณ์สาหรับใชใ้ นภาวะฉกุ เฉิน เช่น ถังดับเพลิง,จุดจ่ายน้า
,ประตูหนีไฟ เปน็ ต้น
3. เจ้าของพ้ืนที่คอยดูแลตรวจสอบ การทางานของช่างท่ีเกี่ยวกับการเกิดประกายไฟทุก
ครั้ง
4. ห้าม! นาน้ามัน ของเหลว สารเคมี และวัสดุไวไฟทกุ ชนิดทิ้งลงถังขยะหรอื ท่อระบายน้า
5. สารเคมี นา้ มนั สี และสารไวไฟทกุ ชนิด เมอื่ ใชเ้ สร็จแล้วให้จดั เก็บใหเ้ รียบรอ้ ย
6. เจ้าของพื้นที่ต้องแจ้งหากใช้ถังดับเพลิง, ถังดับเพลิงชารุด และตรวจสภาพของถัง
ดับเพลิงและอปุ กรณ์ ภายใน วนั ที่ 15 ของเดือน
7. เจา้ ของพน้ื ท่ตี ้องแจ้งผลการทดสอบสญั ญาณเตือนภยั ประจาเดือนทกุ เดือน
8. จะต้องรู้สถานท่ที ี่ติดตง้ั อปุ กรณ์ดับเพลงิ ท่ีใกล้ทีส่ ดุ ภายในบริษทั
9. ทางหนีไฟ ทางเดนิ ตา่ งๆจะต้องรกั ษาความสะอาดและไมว่ างสงิ่ ของกดี ขวาง
10. เมื่อพบเห็นเพลิงไหม้จะต้องแจ้งหัวหน้างานทันที หากสามารถทาการดับเพลิงได้โดย
ใชถ้ ังดับเพลงิ ให้รบี ปฏบิ ตั ิก่อน

คู่มอื ความปลอดภัยในการทางาน ฝา่ ยอาชีวอนามัย ความปลอดภยั และสิง่ แวดลอ้ ม PS &ANV 65

จดุ รวมพลเมื่อเกดิ เหตฉุ กุ เฉิน

ค่มู อื ความปลอดภยั ในการทางาน ฝ่ายอาชีวอนามัย ความปลอดภยั และส่งิ แวดล้อม PS &ANV 66

การปฐมพยาบาล นา้ ร้อนลวก

การปฐมพยาบาล คือ การใช้ความช่วยเหลือเบ้ืองต้นต่อผู้ประสบอันตราย
หรือเจบ็ ปว่ ย ในสถานที่เกิดเหตุ กอ่ นทจี่ ะถึงมือแพทย์หรอื โรงพยาบาล

การปฐมพยาบาลผู้ป่วยบาดแผลถกู ความร้อนและนา้ ร้อนลวก

1. ทาใหแ้ ผลเยน็ ลงโดยนา้ เย็นจานวนมากราดบรเิ วณท่มี ีบาดแผล
2. ถอดเข็มขัด รองเท้า แหวน นาฬิกา หรือเส้ือผ้าท่ียังออกก่อนที่บาดแผลจะบวม (ถ้าติด
กบั บาดแผล ไมต่ ้องถอด)
3. ปิดบริเวณท่ีบาดเจ็บด้วยวัสดุที่สะอาดเพ่ือป้องกันการติดเช้ือ(ท่ีหน้าไม่ต้องปิด ให้ใช้น้า
ประคบให้เย็นเพ่ือบรรเทาปวด)
4. อย่าเจาะแผลพอง
5. ให้ความอบอุ่นแกร่ ่างกาย ดูแลสภาวะชอ็ ค รีบนาส่งแพทย์ทันที

คูม่ อื ความปลอดภัยในการทางาน ฝา่ ยอาชวี อนามยั ความปลอดภยั และสง่ิ แวดลอ้ ม PS &ANV 67

การปฐมพยาบาล สารเคมี

จาพวกกรด

ถ้าหายใจเข้าไป.... ระคายเคืองตอ่ ระบบหายใจอยา่ งรุนแรง แน่นหนา้ อก หายใจไมอ่ อก

ถ้าเขา้ ตา.... ระคายเคียงตา อักเสบ หากความเข้มขน้ สูงอาจทาใหต้ าบอดได้

ถา้ ถกู ผวิ หนัง.... ผวิ หนงั อักเสบ ไหม้

ถา้ รบั ประทานเข้าไป.... ไหมป้ าก ลาคอ และท้อง มีอาการปวดท้อง คลน่ื ไส้ อาเจียน

การปฐมพยาบาล

ถา้ หายใจเข้าไป.... ให้รีบย้ายผู้ได้รับสารออกจากบริเวณน้ัน เพ่ือให้ได้รับอากาศ

บริสุทธ์ิหากหายใจลาบากให้ใช้เคร่ืองช่วยหายใจโดยผู้ท่ีผ่านการอบรม

แล้วรีบนาส่งแพทยท์ นั ที

ถา้ เขา้ ตา.... ล้างตาด้วยน้าอุ่นโดยให้น้าไหลผ่านตาเบาๆ 20 นาที เปิดเปลือกตาไว้

ระวงั อย่าใหน้ ้าล้างตาไหลเขา้ ตาอีกขา้ งทีไ่ ม่เป็นอะไร รบี นาสง่ แพทยท์ ัน

ถ้าถกู ผิวหนัง.... บริเวณที่สัมผัสสาร เช็ดให้แห้งแล้วล้างด้วยน้าไหลผ่านเป็นเวลา 20

นาที แลว้ รบี นาส่งแพทยท์ ันที

ถา้ รบั ประทานเข้าไป.... ห้ามกระตุ้นให้อาเจียน ให้ล้างปากด้วยน้าและให้ด่ืมน้า

ประมาณ 240-300 มิลลิลิตร แต่ถ้าผู้ป่วยหมดสติห้ามให้อะไรทางปาก

เดด็ ขาด รบี นาสง่ แพทยท์ นั ที

กรด..... ห้ามทาให้อาเจียร ให้กินยาลดกรดหรือน้าปูนใส ให้ด่ืมนม,น้าข้าว,น้ามัน

มะพร้าวหรือกินเฉพาะไขข่ าวดบิ 2 ฟองตกี บั นา้

แอมโมเนีย, ด่าง...ห้ามทาให้อาเจยี ร ให้กินน้าสม้ สายชู 2 ชอ้ นโต๊ะผสมน้า 2 แก้วหรือนม

หรือไข่ขาวดิบ 2 ฟองตกี ับน้า ตามดว้ ยนา้ มนั พชื ¼ แก้ว

คมู่ อื ความปลอดภยั ในการทางาน ฝา่ ยอาชีวอนามยั ความปลอดภยั และสง่ิ แวดลอ้ ม PS &ANV 68

การปฐมพยาบาล สารเคมี

จาพวกสารระคายเคือง

ถ้าหายใจเข้าไป...ระคายเคืองจมูกและคอ มีอาการปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน มึนงง

หายใจติดขดั

ถ้าเขา้ ตา.... ระคายเคียงตา หากเปน็ ของเหลวสามาทาลายเยื่อตาได้

ถ้าถกู ผิวหนัง.... ทาให้ผิวหนังบริเวณนั้นแตก ระคายเคือง และสามารถซึมผ่านเข้าสู่

รา่ งกายได้

ถา้ รบั ประทานเข้าไป.... จะรู้สึกมึนงง อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ คล่ืนไส้ อาเจียน หายใจ

ตดิ ขดั สายตาพล่ามัว

การปฐมพยาบาล

ถ้าหายใจเข้าไป..ให้ย้ายผู้ป่วยออกไปบริเวณที่มีอากาศถ่ายเทได้ดี ให้รับอากาศบริสุทธ์ิ

หากหายใจติดขัด ให้ผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมการปฐมพยาบาลเป็นผู้ให้การ

ชว่ ยเหลอื แลว้ รีบนาส่งแพทย์ทนั ที

ถ้าเข้าตา.... ล้างตาด้วยน้าอุ่นไหลผ่านเบาๆเป็นเวลาอย่างน้อย 10 นาที เปิดเปลือก

ตาไว้ระวังอย่าให้น้าล้างตาไหลเข้าตาอีกข้างที่ไม่เป็นอะไร รีบนาส่ง

แพทย์ทนั

ถา้ ถกู ผวิ หนงั .... บริเวณท่ีสัมผัสสาร ชะล้างออกด้วยน้าปริมาณมาก ถอดเส้ือผ้าที่เป้ือน

ออกทันที

ถา้ รบั ประทานเขา้ ไป.... ให้ผู้ป่วยดื่มน้าปริมาณมากๆกระตุ้นให้อาเจียน รีบนาส่ง

แพทย์ทันที

คมู่ อื ความปลอดภัยในการทางาน ฝ่ายอาชวี อนามยั ความปลอดภยั และส่ิงแวดล้อม PS &ANV 69

การปฐมพยาบาลผปู้ ่วยกรณีถกู กระแสไฟฟา้ ดูด

คนทถ่ี ูกไฟฟ้าชอ๊ ตจะตอ้ งไดร้ บั การดูแลอย่างฉบั พลนั คือ
1. อยา่ ! เข้าชว่ ยเหลือจนกวา่ จะตดั กระแสไฟฟ้าแล้ว, อย่หู า่ งจากทเ่ี กดิ เหตอุ ยา่ ง

นอ้ ย 18 เมตร
2. รีบตัดกระแสไฟฟา้ ทีไ่ ปถึงตวั เขาอยา่ งเร็วทส่ี ุด
3. ในกรณีตดั วงจรยาก

- ยนื บนวตั ถทุ ี่เปน็ ฉนวน
- ให้ใชฉ้ นวนไฟฟา้ จาพวกไม้ทด่ี า้ มยาวผลักผู้บาดเจ็บใหห้ ลดุ จากไฟฟา้
- ใช้เชือกคลอ้ งเทา้ หรอื แขนผู้บาดเจบ็ แล้วดึงออกมา
- ถา้ ไม่สาเรจ็ ใหด้ ึงชายผ้าของผ้บู าดเจ็บทีแ่ ห้งและไม่ตดิ กบั ตัว
4. ทาการชว่ ยหายใจดว้ ยการผายปอดโดยทันที
5. รีบนาสง่ แพทย์ทนั ที

คู่มอื ความปลอดภัยในการทางาน ฝ่ายอาชีวอนามยั ความปลอดภยั และสิ่งแวดล้อม PS &ANV 70

การปฐมพยาบาลเมื่อผู้ป่วยมบี าดแผล

1. ใหค้ นเจบ็ นอนราบลง
2. ให้ยกสว่ นท่ีเปน็ บาดแผลไวใ้ หส้ งู กว่าระดบั หวั ใจ
3. กด หรือบีบลงตรงแผล
4. รีบนาสง่ อาคารพยาบาล
การกด หรอื บบี บาดแผล
1. สาหรบั บาดแผลเลก็ บบี รอยแตกของผิวเนื้อใหม้ าสมั ผัสกนั แล้วหาผ้าสะอาดผกู ไว้
2. บาดแผลขนาดใหญ่ ให้ผา้ พนั แผลกอ่ นกดอดั ไวแ้ ล้วพนั ให้รอบ

การปฐมพยาบาลผูป้ ว่ ยข้อเคล็ด

สาเหตุ : ข้อถกู กระทบกระเทือน,ถกู ชน,ถกู บิด,พลกิ แพลงอยา่ งรุนแรง,ตกจากทสี่ งู
ทาให้เยื่อหมุ้ หรือเอน็ รอบ ๆ ขอ้ พลกิ ทาใหข้ อ้ เคล็ด

1. ใหข้ ้อนั้นไดพ้ ักหรืออยู่นิง่ ๆ
2. ยกส่วนน้นั ใหส้ ูง ถ้าเปน็ ขอ้ มอื ควรห้อยแขนดว้ ยผา้ คล้องแขน
3. ประคบด้วยความร้อน ,นวดเบาๆ ด้วยบาลม์ ตา่ ง ๆ
4. เข้าเฝือกแนน่ พอประมาณ เพ่อื ใหส้ ว่ นนน้ั น่งิ ท่สี ุด

คู่มือความปลอดภัยในการทางาน ฝ่ายอาชวี อนามยั ความปลอดภยั และส่ิงแวดล้อม PS &ANV 71

การแก้พิษตา่ งๆเบือ้ งต้น

สารมีพิษ วธิ ีปฏิบตั ิเมือ่ ผปู้ ่วยกินสารพษิ - ห้าม ทาให้อาเจียนในกรณีมี

นา้ ประสาททอง 1 - รบี นาส่งโรงพยาบาลหรอื แพทย์ถ้าทาได้ รอยไหม้ที่ปาก หรอื รายที่กนิ
- สอบถามผู้ปว่ ยก่อนหมดสตหิ รือดูสิ่งทผ่ี ้ปู ่วยกนิ เข้าไปว่า กรด - ด่าง หรือนา้ มัน
นา้ มันเบรค 1 เป็นอะไร
- ปฐมพยาบาลโดยดว่ นตามหมายเลขในระหวา่ งทางทีส่ ง่ - ใหค้ วามอบอ่นุ และกาลังใจ
การบรู , ลูกเหมน็ 1 แพทย์ - ทาการแกไ้ ขอย่างมีสติ

ยาฆา่ แมลงชนิดมีสารหนู 2 เมอ่ื ผู้ป่วยหมดสติ แตย่ งั หายใจได้ ได้รับสารพษิ ทต่ี า

เหล้า 2 - เมือ่ คนไข้นอนราบแลว้ พลกิ ตะแคงขวา - อย่าขยต้ี า
- อย่าใหม้ สี ง่ิ กีดขวางทางเดนิ หายใจ - ปลนิ้ เปลือกตา ลมื ตาในนา้
นา้ ยาฆา่ เชอ้ื ชนดิ มี - รบี สง่ โรงพยาบาล สะอาดเปน็ เวลา 15 นาที
คารบ์ อริค ฝ่ิน,มอฟีน 3 - อยา่ ใชย้ าหยอดตา หรอื ปา้ ยตา
ดีดที ี, สตริคนนิ 5
3. ทาให้อาเจยี นโดย
เหด็ มีพษิ 6

นา้ ยาฆ่าเชอ้ื ชนดิ มฟี นี อล 7 1. รีบทาให้คนไขอ้ าเจยี นโดย 2. ให้กินนา้ นมหรอื นา้ ข้าว

น้าหอม 8

แอลกอฮอล์จดุ ไฟ 8 - ใช้นว้ิ สะอาดล้วงคอ จานวนมาก - กินน้ามนั ละหงุ่ 4 ชอ้ นโตะ๊
- หรอื น้าแป้งจานวนมาก เชน่ แป้งมัน - หรอื ให้กินผงถา่ ยบดละเอียด - แล้วกนิ นม 1 แกว้ หรือ ไขข่ าว
นา้ มันระกา 8 1 ชอ้ นโต๊ะกบั น้าครง่ึ แกว้ ดิบ 2 ฟองตกี ับน้า
ละลายน้ามากๆ - ทาให้อาเจียน
ยาแกป้ วด 8 6. ทาใหอ้ าเจยี นโดยวิธที ่ี 1
4. ทาให้อาเจยี นโดยวิธที ่ี 1 5. ทาให้อาเจยี นโดยวิธที ่ี 1
ยาแกห้ วัด 8

ยานอนหลับ 9

ยากล่อมประสาท 9 - ด่มื นม 1 แกว้ นา้ ข้าว หรอื ผงถ่าน - ใหก้ ินน้านม,นา้ ข้าว หรอื ผง - แล้วให้กนิ ดเี กลอื 1 ชอ้ นโตะ๊
ละเอียดผสมน้า ถา่ นผสมนา้ ในนา้ มากๆ
ยายอ้ มผม 10 - หรอื กนิ ยาถา่ ย
- ปลกุ คนไขต้ ื่นอย่เู สมอ 8. ทาใหอ้ าเจยี นโดยวิธที ่ี 1
โซเดยี มฟลูโอไรด์ 10 9. ทาให้อาเจยี นโดยวิธที ี่ 1
7. ทาให้อาเจยี นโดยวธิ ที ่ี 1
ยาฆ่าแมลงมฟี อสฟอรัส 11

ยาบารุงเลือดท่มี ธี าตุเหลก็ 11 - แลว้ กนิ นม หรือผงถา่ นผสมนา้ - ใหก้ นิ นมหรือน้าขา้ ว 1 แกว้ - กนิ ผงถา่ นและน้ามากๆ
- กนิ นา้ มันละหุ่ง 4 ชอ้ นโตะ๊
กรด 12 11. ทาให้อาเจยี นโดยวธิ ที ี่ 1 12. หา้ มทาให้อาเจยี น
10. ทาให้อาเจยี นโดยวธิ ีที่ 1
ดา่ ง , แอมโมเนยี 13

ผงซักฟอก 14 - ด่มื นม 1 แก้ว หรือนา้ ปนู ใสจานวน - แล้วใหก้ ินผงฟู (โซดาทาขนม - ใหก้ ินยาลดกรด หรอื นา้ ปนู ใส
มาก ปัง) 1 ช้อนชา ในน้าอนุ่ 1 แกว้ - ใหด้ ม่ื นม,น้าข้าว,น้ามะพรา้ ว
ผงขดั สขุ ภัณฑ์ 14 หรอื โซดา มนิ ทแ์ ละนา้ หรอื กินเฉพาะไขข่ าวดบิ 2 ฟอง
ตีกบั นา้ อย่าใช้ผงฟ,ู โซดาซกั ผา้
น้ายาฆา่ เช้ือชนดิ มีคลอรีน14 หรือโซดามินท์

นา้ มันเบนซลิ 15

น้ามนั กา๊ ด 15

นา้ มนั สน 15

นา้ มนั ซักเงา 15 13. ห้ามทาให้อาเจยี น 14. ใหก้ นิ นมหรือน้าขา้ ว 15. หา้ มทาให้อาเจยี น

- ให้กนิ นา้ ส้มสายชู 2 ชอ้ นโตะ๊ ผสม จานวนมาก - ให้ด่มื นา้ หรอื นม 1 แก้ว
น้า 2 แกว้ หรอื นม หรอื ไขข่ าวดบิ 2 - ทาให้อาเจยี น - แลว้ ให้กนิ น้ามนั พชื 4 ช้อน
โต๊ะ
ฟองตีกบั นา้
- ตามดว้ ยนา้ มันพืช 1 ส่วน 4 แกว้
- ใหแ้ พทยต์ รวจ

คู่มอื ความปลอดภัยในการทางาน ฝ่ายอาชวี อนามัย ความปลอดภยั และส่ิงแวดล้อม PS &ANV 72

การรายงานอุบตั ิเหตุ

ผ้อู ยู่ในเหตกุ ารณ์หรือ ผูป้ ระสบเหตุ แจ้ง พยาบาลรายงานการเกิด
หวั หน้าแผนก / ให้รายละเอียดแก่ อุบตั ิเหตุหรอื การเจบ็ ปว่ ยจาก
เจา้ หน้าท่ีพยาบาล เพ่ือนาสง่ อาคาร
พยาบาล การทางาน

หัวหนา้ แผนกสง่ “รายงาน
เหตุการณ์เกือบเกดิ อบุ ตั เิ หตุ -

อุบัติเหตุจากการทางาน”

จป. ประสานงานกบั
ผู้เกย่ี วขอ้ ง

ดาเนนิ การสอบสวนวิเคราะห์
เหตกุ ารณ์เกอื บเกิดอบุ ตั ิเหตุ-

อบุ ตั ิเหตุ-โรคจากการทางาน”

กาหนดมาตราการแก้ไข และ
ปอ้ งกนั

ค่มู อื ความปลอดภัยในการทางาน ฝ่ายอาชวี อนามยั ความปลอดภยั และสิง่ แวดล้อม PS &ANV 73

การหย่ังรอู้ ันตราย
KYT และ มอื ชี้ - ปากยา้

KYT คือการวิเคราะหห์ รอื คาดการณว์ ่า จะมอี ันตรายใดๆแฝงอยู่ในงานท่เี รากาลงั
จะทา แล้วหาทางป้องกนั อันตรายนัน้ เสีย

K มาจาก KIKEN ( คิเคน็ ) อนั ตราย / อบุ ัติเหตุ
Y มาจาก YOSHI ( โยชิ ) คน้ หา / คาดการณ์ / วิเคราะห์
T มาจาก TRAINING (เทรนนงิ่ ) ฝึกดว้ ยตนเอง / ฝกึ สรา้ งจิตสานึก
“มือช้ี - ปากย้า” เป็นการสร้างจิตสานึกในเรื่องความปลอดภัยให้เกิดขึ้นกับ
พนักงาน จึงควรทากันอย่างจริงจัง ซ่ึงจะเป็นการสร้าง บรรยากาศในการประชุม
ดว้ ย

ข้นั ตอนของการทา KYT

รอบท่ี1 แลกเปล่ียนความคดิ เหน็ เก่ยี วกับความเส่ยี งที่อาจมีจากภาพ
รอบท2่ี เลอื กจดุ ที่มีอันตรายมากเพยี งหนึ่ง หรอื สองจดุ
รอบท่3ี แลกเปลี่ยนความคดิ เหน็ เกี่ยวกับมาตรการปอ้ งกันจุดอนั ตรายทีเ่ ลอื กไว้
รอบท่ี4 เลือกมาตรการปอ้ งกนั ท่ีดีท่ีสดุ เพื่อจะไดน้ าไปใชเ้ ปน็ เป้าหมายและ

“มือชี้ - ปากย้า”ก็เลือกมาจากความเหน็ พอ้ งต้องกนั ของทมี

คูม่ ือความปลอดภัยในการทางาน ฝา่ ยอาชีวอนามัย ความปลอดภยั และส่ิงแวดลอ้ ม PS &ANV 74

การปฏิบตั ิ KYT

1. หัวหนา้ นัดประชุมพนกั งาน กอ่ นเรม่ิ งาน

2. เริ่มประชุมโดยการตะโกนคาขวัญ
3. หัวหนา้ ทักทายพนักงาน

คู่มือความปลอดภยั ในการทางาน ฝ่ายอาชวี อนามยั ความปลอดภยั และสิ่งแวดล้อม PS &ANV 75

4. หัวหน้าให้ดรู ูปแสดงการทางานและอธบิ ายประกอบ
สรุป การระดมสมองทา KYT 4 ขั้นตอน

คมู่ ือความปลอดภัยในการทางาน ฝา่ ยอาชีวอนามัย ความปลอดภยั และสิ่งแวดลอ้ ม PS &ANV 76

สโลแกนกลาง “มื้อชี้-ปากย้า”(KYT)
“คิดก่อนทา ทาตามกฎ ทางานปลอดภัย รว่ มใจส่ิงแวดล้อม O.K !”

การขอ/การตรวจสอบ/การออกใบอนุญาตเขา้ ทางาน( WORK PERMIT)

1. การขออนญุ าตทางานให้ทราบจป. ล่วงหน้าอยา่ งนอ้ ย 1 วนั (ยกเวน้ กรณฉี กุ เฉนิ )
2.ให้เจา้ ของพืน้ ท่ี ตรวจสอบการเขา้ ทางานของชา่ งผรู้ ับเหมา โดยต้องมีใบอนญุ าตเข้าทางาน

( WORK PERMIT) อยู่ในพื้นที่ตลอดเวลา โดยตรวจสอบร่วมกัน คือ 1.ผู้ขออนุญาต 2.

เจ้าของงาน 3.เจา้ ของพน้ื ที่ 4.จป.วชิ าชีพ หรอื ผทู้ ่ีได้รับมอบหมาย หรอื She man

3.การปฏิบัติในสถานที่อับอากาศ ปฏิบัติงานต้องผ่านการอบรมความปลอดภัยท่ีอับอากาศแล้ว

เท่าน้ัน และ ตรวจสอบร่วมกัน 4 ส่วน คือ 1.ผู้ปฏิบัติงาน 2.ผู้ช่วยเหลือ 3.ผู้ควบคุม 4.ผู้อนุญาต
ถึงจะเขา้ ปฏบิ ัติงานได้

คู่มอื ความปลอดภยั ในการทางาน ฝา่ ยอาชีวอนามยั ความปลอดภยั และสงิ่ แวดล้อม PS &ANV 77

ข้นั ตอนการขอใบอนุญาตทางานในพื้นท่ี

ผ้รู บั เหมา

เจา้ ของงาน

ผรู้ บั ผิดชอบพนื้ ที่ เจ้าหน้าท่ีความปลอดภัย

ปฏิบตั ิงานได้

2. ต้องติดป้ายแสดงการเข้าทางาน โดยระบุ ชื่อผู้รับผิดชอบงานให้เห็นเด่นชัด ในบริเวณท่ี
ทางานตลอดเวลาท่ปี ฏิบัตงิ าน

คมู่ อื ความปลอดภยั ในการทางาน ฝ่ายอาชีวอนามัย ความปลอดภยั และส่งิ แวดลอ้ ม PS &ANV 78

ลักษณะป้ายหน้างาน และการกนั้ แยกพน้ื ที่ทางาน
แสดงรายละเอียดการปฏิบัติงาน / ผู้รับผิดชอบงาน /เบอร์โทรติดต่อ /ใบอนุญาตทางาน
และกัน้ เขตพน้ื ทท่ี างานใหช้ ดั เจน

3. ต้องตรวจเช็คอุปกรณ์/เครื่องมือ และสภาพพ้ืนที่ ต้องไม่มีสภาพท่ีก่อให้เกิดอันตราย
ในขณะปฏบิ ตั ิงาน

4. ต้องติดป้ายเตือน ทาสัญลักษณ์ หรือเคร่ืองหมาย และก้ันพื้นที่ปฏิบัติงานแยกให้ชัดเจน
กับพืน้ ที่ทางาน

5. ตอ้ งจัดเก็บอุปกรณ์ เครื่องมือ ทใี่ ช้ในการปฏิบตั ิงาน เก็บความเรยี บรอ้ ยของงานรวมทง้ั ทา
ความสะอาดบรเิ วณพนื้ ทีท่ ่ีทางานให้เรยี บรอ้ ย เมอ่ื ปฏบิ ัตงิ านเสร็จสนิ้ แลว้

6. ตอ้ งสวมใส่อปุ กรณ์ป้องกันอนั ตรายสว่ นบคุ คล เชน่ สวมใสห่ มวกนิรภัย , ถงุ มือหนัง/ถุงมือ
ผ้า, แว่นตา, หน้ากาก, เคร่ืองป้องกันเสียง รองเท้าเซฟตี้หรือรองเท้าพ้ืนยางหุ้มส้น หรือ เคร่ือง
ป้องกนั อันตรายส่วนบุคคลอ่นื ๆ ตามสภาพและลักษณะของงาน

คมู่ ือความปลอดภยั ในการทางาน ฝ่ายอาชีวอนามัย ความปลอดภยั และสง่ิ แวดล้อม PS &ANV 79

ค่มู ือความปลอดภยั ในการทางาน ฝ่ายอาชวี อนามยั ความปลอดภยั และส่งิ แวดลอ้ ม PS &ANV 80

แบบทดสอบความรู้

1. จป.หัวหนา้ งานในแผนกของเรา คือ .....
2. คปอ.ในแผนกของเรา คอื .....
3. ผู้นาทางหนีไฟในแผนกของเรา คอื .....
4. นโยบาย อาชวี อนามัย และความปลอดภัย มีกข่ี อ้ .....ใจความสาคัญคือ .....
5. เดอื นนี้เราทดสอบสัญญาณเตอื นภัย คอื วนั ท่ี .....
6. ถงั ดับเพลงิ ในแผนกของเรามีก่ถี ัง.....ติดต้ังบรเิ วณไหนบ้าง........
7. ตูเ้ ก็บสาย/ท่อน้าดับเพลิง บรเิ วณแผนกของเรา มกี ี่จุด....ติดตงั้ บรเิ วณไหนบ้าง.....
8. สาเหตุของอบุ ตั เิ หตุทสี่ าคัญมากท่สี ุด เกดิ จากสาเหตใุ ด .....
9. อบุ ัตเิ หตุในสานกั งานหรอื ในออฟฟติ มีอะไรบ้าง .....
10. เม่ือเกดิ อบุ ตั ิเหตุ อันดบั แรกเราควรทาอยา่ งไร .....
11. การยก เคลอื่ นยา้ ยวัสดุ เราควรหลีกเล่ียงการ ......และ ......
12. การวางบนั ไดพาดกบั ผนงั เราควรวางให้ทามุมกันไมเ่ กนิ กี่องศา .....
13. ขอ้ ควรปฏิบัติการใชเ้ คร่อื งมอื ชา่ งโดยท่ัวไป มีอะไรบ้าง.......
14. ในการทาความสะอาด ฝุ่น ตามเส้ือผ้า รา่ งกาย เราควรใช้ลมเปา่ ตัว ใช่หรอื ไม่...
15. ขอ้ ควรปฏบิ ัตกิ ารกอ่ นใชเ้ ครอื่ งจักร เราควรตรวจสอบอะไรบา้ ง .....
16. เมอ่ื ทางานกบั งานขัด / เจียร เราควรสวมอปุ กรณ์ปอ้ งกันอนั ตรายสว่ นตวั อะไรบา้ ง …..
17. ขอ้ ควรปฏบิ ตั ิการกอ่ นทางานตดั และเชื่อม เราควรตรวจสอบอะไรบ้าง .....
18. เมอื่ เราขบั รถยกถึงทางแยก หรือเลี้ยวหัวมมุ เราควรทาอยา่ งไร .....
19. ก่อนการใชส้ ารเคมเี ราควรทาความเข้าใจอะไรบ้าง .....
20. เมื่อเราเครียดเรามวี กี ารผ่อนคลายความเครยี ดอย่างไรบา้ ง .....
21. แผนกของเรา มีการใช้อปุ กรณป์ ้องกันอันตรายส่วนบคุ คลอะไรบ้าง .....
22. ใหย้ กตวั อยา่ งเครอื่ งหมายเตือน,เครือ่ งหมายหา้ ม และเครื่องหมายแสดงสภาวะปลอดภยั

มาอย่างละ 3 เครอ่ื งหมาย .....
23. เมอื่ เราพบเหน็ เพลงิ ไหม้ เราควรทาอย่างไรอนั ดับแรก …..
24. ทา่ นทราบหรอื ไม่วา่ ถังดับเพลิงสีแดงและสีเขียว และถงั สแตนเลส ตา่ งกันอยา่ งไร .....

คมู่ ือความปลอดภัยในการทางาน ฝ่ายอาชวี อนามยั ความปลอดภยั และสิ่งแวดลอ้ ม PS &ANV 81

แบบทดสอบความรู้ (ตอ่ )

25. ท่านใชถ้ งั ดับเพลงิ เป็นหรือไม่ บอกวิธีการใช้สั้นๆ 4 คา คอื .......
26. ถงั ดบั เพลิงท่ี ไมม่ แี รงดัน นา้ ยาหมด ใชก้ ารไม่ได้ หรอื มีการใชแ้ ล้ว ต้องทาการ

อดั น้ายาใหม่ เราสามารถดูจากเกจวดั ความดนั เข็มอยบู่ รเิ วณไหน .....
27. เม่อื มีสัญญาณแจ้งให้อพยพ เราอยใู่ นแผนกเราควรว่ิงไปยังจุดรวมพลที่เท่าไหร่.............

บรเิ วณไหน ..............
28. หากมีคนรับประทาน สารเคมีจาพวกกรด เราควรทาอยา่ งไร …..
29. เมื่อเหน็ คนถกู ไฟฟา้ ช๊อตอยู่ เราควรทาอยา่ งไรอนั ดบั แรก .....
30. เมื่อมอี บุ ตั ิเหตเิ กิดขน้ึ เราควรแจ้งใครบา้ ง.......
31. ในรูปหนา้ 65 ให้เราบอกการทางานที่ผดิ วิธีมาอยา่ งนอ้ ย 3 ตัวอย่าง .....และวธิ ที ่ี

ถูกต้องคอื .....
32. พนักงานทีมระงับเหตุฉกุ เฉนิ ในแผนกของเรา มีหรือไม่ กีค่ น.....ชอ่ื อะไรบา้ ง........
33. ก่อนจะใช้เคร่ืองมือ/อปุ กรณ์ไฟฟ้า ใครที่จะตอ้ งทาการตรวจสอบกอ่ น.........
34. แผนกของเรามี ปา้ ยเครื่องหมายความปลอดภยั หรอื ไม.่ ...อะไรบา้ ง.....
35. เมื่อมีการทดสอบสัญญาณเตือนภัย หากเราได้ยินเราควรทาอย่างไร......
36. อุบตั เิ หตจุ ากการทางาน คือ.....
37. สาเหตุของอบุ ัติเหตุจากการทางาน ทส่ี าคญั มีก่ีประเภท.....คือ...
38. สโลแกน มอื ช-ี้ ปากย้า (KYT) ในแผนก คือ.....
39. สโลแกน มอื ช-ี้ ปากยา้ (KYT) ส่วนกลาง คอื .....
40. คาขวัญอาชีวอนามยั และความปลอดภัย กลุม่ บริษทั ศรตี รังฯ คือ...............

คมู่ อื ความปลอดภยั ในการทางาน ฝ่ายอาชวี อนามัย ความปลอดภยั และสิ่งแวดล้อม PS &ANV 82

คู่มือ

ความปลอดภยั ในการทางาน

สาหรับ

ชื่อ.......................................นามสกลุ ....................................
รหัส......................................กรฟุ๊ เลอื ด..................................
แผนก..................................ฝา่ ย...........................................
ชือ่ จป.หัวหน้างาน........................................................................
เข้าทางานเมอ่ื วัน.................ท่ี........เดือน.................พ.ศ...........
วนั ทีไ่ ดร้ ับคมู่ อื เพอื่ ความปลอดภยั ............................................

1. คู่มือน้ีเป็นคู่มือประจาตัวในการปฏิบัติงานให้ปลอดภัย และพนักงานได้ศึกษา และใช้เป็นแนว
ทดสอบความเข้าใจ หลังจากไดอ้ ่านคมู่ อื เล่มนแ้ี ลว้

2. จป.หวั หน้างาน หรือ คปอ. อาจทาการทดสอบโดยใชแ้ นวทางแบบทดสอบ น้ี
3. พนกั งานที่ทาการทดสอบพนื้ ฐานความรู้ด้านความปลอดภัยควควรทาการอ่านทบทวนค่มู ือนี้ และหา
ความรูเ้ พ่มิ เติมจากจป.หวั หน้างาน และทาการสอบให้ผ่าน
4. ควรมีการทบทวนความรู้และทดสอบ อยา่ งน้อยปีละ 1 คร้งั
5. พนกั งานตอ้ งเกบ็ รกั ษาค่มู ือนี้ ไว้ประจาตวั

คู่มอื ความปลอดภยั ในการทางาน ฝ่ายอาชวี อนามัย ความปลอดภยั และสงิ่ แวดลอ้ ม PS &ANV 83

ทางานดว้ ยจติ มีสานกึ

ระลึกถึง ความปลอดภัย

ทางานด้วยความ เขา้ ใจ

สวมใส่อปุ กรณ์ ปอ้ งกัน

กันก่อน...นะจะ๊

จากใจ...จป.

ค่มู ือความปลอดภัยในการทางาน ฝ่ายอาชวี อนามยั ความปลอดภยั และสิ่งแวดล้อม PS &ANV 84

“ บรรณานกุ รม ”

• คู่มือการจัดการ ความปลอดภัยและสุขภาพของพนักงาน ,สถาบันความปลอดภัยใน
การทางาน กรมสวัสดกิ ารและค้มุ ครองแรงงาน
• อนุสาร กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการและคมุ้ ครองแรงงาน
• เอกสารความปลอดภยั ,สถาบนั ความปลอดภัยในการทางาน กรมแรงงาน
• SAFETY Control ,สมาคมสง่ เสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญ่ีปนุ่ )
• การเคล่ือนย้ายวัสดุอย่างปลอดภัย,สถาบันวิจัยความปลอดภัยในการทางาน กรม
สวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
• คมู่ อื ความปลอดภัยในการทางาน,สมาคมนายจ้างอเิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละคอมพิวเตอร์
• เอกสารเร่ือง ความปลอดภัยในการทางาน,สานักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
จงั หวัดสงขลา
• QUALITY & SAFETY
HANDBOOK,NHKSPRING(THAILAND)Co.LTD.
• เอกสารความรู้ การปอ้ งกนั และระงับอคั คภี ัย ,ซานโต้ เอ็นจิเนยี ร่งิ
• คูม่ อื ความปลอดภัยในการทางาน
SIAM STEEL GROUP INTERNATIONAL Co.LTD.
• คู่มอื ความปลอดภยั Standard Can
• คมู่ อื ความปลอดภัย บรษิ ทั ไลออ้ น(ประเทศไทย)จากัดและบรษิ ทั ในเครอื
• แคตตาลอ๊ ค อุปกรณ์ SAFETY อนื่ ๆ

คมู่ ือความปลอดภยั ในการทางาน ฝา่ ยอาชีวอนามยั ความปลอดภยั และสิง่ แวดลอ้ ม PS &ANV 85

หมายเลขโทรศัพทท์ ค่ี วรทราบ

สถานีตารวจ 191

1. สะเดา 0 - 7441 - 1027

2. ปาดงั เบซาร์ 0 - 7452 - 1018-9

3. คลองแงะ 0 - 7454 - 1013

4. หาดใหญ่ 0 - 7424 – 3333

5. ทงุ่ ลงุ 0 - 7429 – 1733

สถานตี ารวจดบั เพลงิ 199

1. สะเดา 074-411015

2. ปาดังเบซาร์ 074-44 4100

3. คลองแงะ 074-54 1543

4. หาดใหญ่ 074-24 3111

5. ทุ่งลุง 074-291999

มูลนธิ ิกชู้ พี 074-411300

มูลนิธิกชู้ พี พะตงเทิดะรรม 074-291-1185

ศูนย์กภู้ ัยวงั ไผ่ 074-291-1999

ค่มู อื ความปลอดภัยในการทางาน ฝ่ายอาชวี อนามัย ความปลอดภยั และสิ่งแวดลอ้ ม PS &ANV 86

ค่มู ือความปลอดภยั ในการทางาน ฝ่ายอาชวี อนามยั ความปลอดภยั และส่งิ แวดลอ้ ม PS &ANV 87

กอขอ....ความปลอดภัย

ค่มู อื ความปลอดภยั ในการทางาน ฝ่ายอาชวี อนามยั ความปลอดภยั และสง่ิ แวดล้อม PS &ANV 88

สโลแกนกลาง “ม้ือช้ี-ปากย้า”(KYT)

“คิดก่อนทา ทาตามกฎ ทางานปลอดภยั ร่วมใจสิ่งแวดลอ้ ม O.K !”

ค่มู ือความปลอดภยั ในการทางาน ฝา่ ยอาชวี อนามยั ความปลอดภยั และสงิ่ แวดลอ้ ม PS &ANV 89


Click to View FlipBook Version