The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wichan52001, 2021-10-26 02:37:52

c-clamp ใบงาน25064

c-clamp ใบงาน25064

วิทยาลัยเทคโนโลยชี ลบุรี

ภาคเรยี นท่ี .... ปกี ารศกึ ษา 256..
เอกสารการสอนและประเมินผลตามสภาพจริง

วชิ างานฝึกฝมี ือ
รหสั 20100-1003 จำนวน 2 หน่วยกิต

ชือ่ -สกุล ..............................................................................................
ระดบั ....................... รหัสประจำตัว .............................. เลขท.่ี ..........
หมายเลขโทรศัพท์นักศึกษา .................................................................
ครผู ู้สอน ..............................................................................................

คำนำ

เอกสารการสอนและประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ รายวชิ า งานฝกึ ฝมี ือ รหสั วิชา 20100-1003 เป็นเอกสาร
ใช้สำหรับการเรียนการสอนภาคปฏบิ ัตงิ านของนักเรียน นกั ศึกษา เพอื่ ให้มีสมรรถนะหลงั จากปฏิบตั ิงานตามหัวข้อ
งานทกี่ ำหนด นักเรียน นกั ศึกษา จะต้องบันทึกผลการปฏิบัติงาน เทคนิคสำคัญ และเทคนคิ เฉพาะลงในเอกสาร
เล่มน้ี โดยมคี รูผ้สู อนเปน็ ผ้ปู ระเมินผลการปฏิบัตงิ านนัน้ ๆ

เอกสารเลม่ น้ี ครผู สู้ อนจัดเกบ็ และบันทึก ตรวจสอบความสมบรู ณ์และประเมนิ ผลในการปฏบิ ัตงิ านทุก
คร้งั ตามท่ีกำหนด

คณะชา่ งอุตสาหกรรม

รหัสวชิ า 20100-1003 ช่ือวชิ า งานฝึกฝีมือ จำนวน 2 หน่วยกติ
จุดประสงคร์ ายวชิ า

1. อธบิ ายเก่ยี วกับการใช้ การบำรุงรักษาเคร่อื งมือและเครื่องมือกลเบื้องต้น
2. ปฏิบัตงิ านโดยใชเ้ ครื่องมือได้อยา่ งถกู ต้องและปลอดภยั
3. มีเจตคตแิ ละกจิ นสิ ัยท่ีดใี นการทำงานด้วยความอดทน ปลอดภยั ผลงานประณีต เรยี บร้อย ละเอียด
รอบคอบ เปน็ ระเบยี บ สะอาด ตรงต่อเวลามีความซ่อื สตั ย์ รับผดิ ชอบ และรกั ษาสภาพแวดล้อม

คำอธบิ ายรายวชิ า

ปฏบิ ัตเิ กีย่ วกับการใช้ การบำรงุ รกั ษาเครื่องมือและเครื่องมือกลเบื้องตน้ งานวัดและตรวจสอบ งาน
รา่ งแบบ งานเลอื่ ย งานสกดั งานตะไบ งานเจาะ งานลบั คมตดั งานทำเกลยี ว เบอ้ื งต้นและการประกอบ
ชิน้ งาน สง่ิ แวดลอ้ มและความปลอดภัยในการปฏิบัตงิ าน

มำตรฐำนรำยวิชำ

1. เตรยี มเครอื่ งมือและเครอื่ งมือกลเบอื้ งตน้ ตามคมู่ อื
2. วดั และรา่ งแบบชิน้ งานโลหะ
3. แปรรูปและประกอบชิน้ งานโลหะดว้ ยเครอื่ งมอื กลท่วั ไป
4. ลบั คมตดั เครอ่ื งมือกลท่วั ไป

งานที่จะตอ้ งปฏิบัติ
งาน ช-ี แคลม็ ป์ ( C-CLAMP) ขนาด 50 มลิ ลเิ มตร

ใบงานที่ 1 สอนครั้งท่ี 4-18
ชื่อวิชา งานฝกึ ฝีมือ (20100-1003 จำนวน ชั่วโมง
ชอ่ื งาน ช-ี แคล็มป์ ( C-CLAMP) ขนาด 50 มิลลิเมตร

ผู้ออกแบบ นายวิชาญ กฤษณะพันธ์ 28-10-64
ผ้อู อกแบบ นายกมล ศรวี ัฒนะ 28-10-64 วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบรุ ี
ผตู้ รวจแบบ นายพพิ ิธ องั ติกลุ
มาตราสว่ น : ชื่องาน ชี-แคลม็ ป์ ( C-CLAMP) ขนาด 50 มิลลิเมตร 28-10-64

หมายเลขแบบ:ctc-01-03

ใบงานท่ี 1 สอนครั้งท่ี 4-18
ชอ่ื วิชา งานฝกึ ฝีมอื (20100-1003 จำนวน ชั่วโมง
ชือ่ งาน ช-ี แคล็มป์ ( C-CLAMP) ขนาด 50 มิลลเิ มตร

ผอู้ อกแบบ นายวชิ าญ กฤษณะพันธ์ 28-10-64
ผอู้ อกแบบ นายกมล ศรีวัฒนะ 28-10-64 วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบรุ ี
ผ้ตู รวจแบบ นายพพิ ิธ องั ติกลุ
มาตราส่วน : ช่อื งาน ชี-แคลม็ ป์ ( C-CLAMP) ขนาด 50 มิลลิเมตร 28-10-64

หมายเลขแบบ:ctc-01-03

ใบงานท่ี 1 สอนครั้งท่ี 4-18
ชอ่ื วิชา งานฝึกฝีมือ (20100-1003 จำนวน ช่ัวโมง
ชอ่ื งาน ช-ี แคล็มป์ ( C-CLAMP) ขนาด 50
มิลลิเมตร

ผอู้ อกแบบ นายวิชาญ กฤษณะพนั ธ์ 28-10-64
ผู้ออกแบบ นายกมล ศรวี ฒั นะ 28-10-64 วิทยาลยั เทคโนโลยชี ลบรุ ี
ผูต้ รวจแบบ นายพพิ ิธ อังติกุล
มาตราสว่ น : ชื่องาน ชี-แคลม็ ป์ ( C-CLAMP) ขนาด 50 มลิ ลเิ มตร 28-10-64

หมายเลขแบบ:ctc-01-03



กอ่ นการฝึกปฏิบัติงาน ผเู้ รยี นต้องทำความเขา้ ใจเก่ียวกบั การปฏิบตั ิ งานตะไบ หน่วยท่ี 4
การจดั เตรยี มเคร่อื งมอื อุปกรณ์ และทบทวนความปลอดภัย เพอื่ ทีจ่ ะไดน้ ำไปปฏิบตั ิในใบงานท่ี 5
การตะไบขึ้นรปู โครงซี-แคลม็ ป์ มขี ัน้ ตอนดังนี้
1. ศกึ ษาแบบงาน
2. จดั เตรยี มวัสดุ ตดั ชนิ้ งานให้ได้ตามแบบใบงานที่ 5
3. จดั เตรียมเครือ่ งมือและอปุ กรณ์ ใสด่ ้ามตะไบให้มนั่ คง และตรวจสอบความเรยี บร้อย
4. จับชิ้นงานบนปากกาให้มั่นคง และได้ระดบั การจบั ช้นิ งานควรใหพ้ ้นจากปากกาจบั
ช้ินงานไม่เกิน 2 เซนตเิ มตร เพราะเวลาตะไบอาจท าใหเ้ กิดเสียงดงั
5. ลบมุมทกุ ดา้ นเพ่ือไม่ให้เกดิ การบาดมือ และขูดผิวดบิ ชิ้นงานออกทุกดา้ น
6. ตะไบปรบั ผวิ ให้ได้ระดับดา้ นที่ 1
7. ใชแ้ ปรงขนอ่อนปัดทำความสะอาดก่อนท าการตรวจวัด
8. ใชบ้ รรทดั เสน้ ผมตรวจสอบผวิ ราบดา้ นที่ 1 และตอกรหสั
9. ตะไบปรบั ผวิ ด้านที่ 2 ให้ไดร้ ะดบั โดยให้ตง้ั ฉากกบั ผิวราบดา้ นที่ 1
10. ตะไบปรับผวิ ด้านที่ 3 ให้ได้ระดับ โดยให้ต้ังฉากกับผวิ ราบด้านท่ี 1 และดา้ นท่ี 2
11. ตะไบปรบั ผิวดา้ นที่ 4 ให้ได้ระดบั โดยใหต้ ั้งฉากกับผวิ ราบดา้ นที่ 3 และดา้ นท่ี 1 พร้อม
กบั ใช้เวอร์เนียร์คาลเิ ปอรว์ ดั ให้ได้ขนาดความกวา้ ง 45 มิลลิเมตร
12. ตะไบปรบั ผวิ ให้ได้ระดบั ด้านที่ 5 โดยใหต้ ัง้ ฉากกับผวิ ราบด้านท่ี 4, 1 และด้านที่ 2
พร้อมกบั ใช้เวอร์เนยี ร์คาลเิ ปอร์วดั ให้ไดข้ นาดความยาว 65 มลิ ลิเมตร
13. ตะไบปรับผิวให้ไดร้ ะดบั ด้านท่ี 6 โดยใหต้ ง้ั ฉากกับผวิ ราบดา้ นที่ 5,4 และดา้ นที่ 3
พร้อมกับใช้เวอร์เนียร์คาลเิ ปอรว์ ดั ให้ไดข้ นาดความหนา 14 มิลลเิ มตร
14. ทำความสะอาดบริเวณปฏบิ ัติงานทุกคร้ังหลังจากการปฏิบัติงาน
ขอ้ แนะน า
1. ตรวจสอบความสงู ของโตะ๊ และปากกาจับชนิ้ งานใหเ้ หมาะกบั ผู้ปฏบิ ตั ิงาน
2. ปรับต่ำแหนง่ การยืนเหมาะสมกบั การตะไบ
3. การตะไบให้ทศิ ทางการเคลื่อนตะไบไขวก้ ัน
4. กอ่ นตรวจสอบจะตอ้ งลบครีบออกทกุ ดา้ น
5. ผิวท่ตี ะไบละเอยี ดต้องผ่านการตะไบหยาบมาก่อน
6. ผวิ งานดา้ นส าเรจ็ ต้องใช้แผน่ รองปากเพ่ือไม่ให้เกดิ รอย

7. ขณะทำการวัดฉากต้องจบั ด้านฉากให้ชดิ กบั ขอบงานและเลอ่ื นลงมาสังเกตช่องแสง
ตรวจสอบอยา่ งน้อย 3จุด

8. ใช้แปรงลวดขดั ตะไบเม่ือมเี ศษติดในฟนั ตะไบ
ข้อควรระวัง
1. การเจาะรดู า้ มตะไบต้องมีครูผู้สอนควบคุมดูและอย่างใกลช้ ิด
2. การใสด่ า้ มตะไบต้องปฏิบัติอยา่ งระมัดระวงั เพราะอาจเกิดการบาดมือได้
3. หา้ มใช้ปากเป่าเศษโลหะจากการตะไบ ต้องใชแ้ ปรงขนอ่อนปดั ทำความสะอาด



กอ่ นการฝึกปฏบิ ัติงาน ผเู้ รยี นต้องทำความเข้าใจเก่ยี วกับการปฏิบัติ งานเจาะ หน่วยที่ 6 การ
จัดเตรยี มเคร่ืองมืออปุ กรณ์ และทบทวนความปลอดภัย เพื่อท่จี ะได้นำไปปฏบิ ัตใิ นใบงานท่ี 5
การเจาะโครงซี-แคลม็ ป์ มีข้นั ตอนดังนี้
1. ศึกษาแบบงานให้เขา้ ใจ
2. จัดเตรยี มเครื่องมอื และอปุ กรณ์
3. ตรวจสอบความพร้อมของเครื่องเจาะสว่านตงั้ โต๊ะให้พร้อมใช้งาน
4. ใช้ปากกาจบั ชนิ้ งานใหแ้ น่นและได้ระดบั ใช้ซี-แคล็มป์ จบั ปากกาจับชน้ิ งานเจาะอีกครั้ง
เพื่อใหม้ ั่นคง
5. ปรบั ความเร็วรอบใหเ้ หมาะสมในการเจาะดอกสว่านที่มีขนาดเลก็ และดอกสวา่ นท่ีมี
ขนาดใหญ่
6. สวมแวน่ ตาปอ้ งกนั สะเกด็ โลหะ
7. จบั ดอกสวา่ นขนาด Ø5 มิลลเิ มตร เพอ่ื เป็นดอกเจาะน าให้แนน่ กับปากจบั เจาะ
8. ตรวจสอบความถกู ต้องอีกคร้ัง แลว้ เปิดสวติ ชเ์ ครือ่ งเจาะ เจาะดอกสวา่ นขนาด Ø5
มิลลิเมตร ตรงจดุ ท่ีหมายไวท้ ุกรู
9. หยอดนำ้ หลอ่ เย็นเพ่ือระบายความร้อนทกุ ครั้ง
10. เมื่อเจาะเสร็จแตล่ ะรูใหย้ กแขนโยกจับเจาะขึน้ ปิดสวิตชเ์ ครื่อง แลว้ ใช้แปรงขนอ่อนปดั
เศษเหล็กออกจากชน้ิ งาน เพื่อให้เห็นจุดเจาะตอ่ ไป
11. จับดอกสว่านขนาด Ø7 มิลลเิ มตร เจาะตามใบงานท่ี 5 โดยต้องเจาะใหด้ อกสวา่ นตรงจดุ
ท่ีหมายไว้
12. ปดิ เคร่อื ง ตรวจสอบช้ินงาน
13. คลายชน้ิ งานออกจากปากจบั ชน้ิ งาน และท าความสะอาดบริเวณปฏบิ ตั ิงานเจาะให้
เรียบร้อย
ขอ้ แนะน า
1. จบั งานให้แนน่ และมัน่ คง
2. หยอดนำ้ มนั หล่อเยน็ เปน็ ระยะเพ่ือป้องกันการเสยี ดสี
3. ใชค้ วามเร็วรอบในการเจาะให้เหมาะสมกับขนาดของดอกสว่าน
4. การเริม่ เจาะต้องใหด้ อกสวา่ นลงตรงจดุ ทตี่ อกน าศนู ย์ไว้

ขอ้ ควรระวงั
1. ต้องสวมแวน่ ตาปอ้ งกนั สะเกด็ โลหะ
2. ตอ้ งตรวจสอบความมน่ั คงของปากกาจบั ชิ้นงาน และซี-แคล็มป์
3. ต้องขนั ยดึ ดอกสว่านให้แน่น
4. ห้ามใช้แปรงปดั เศษเหลก็ ในขณะทีห่ มุนเจาะช้นิ งาน เพราะจะท าให้หมนุ เอาแปรงขน
อ่อนเขา้ ไปพนั กับดอกสว่าน อาจเกดิ อันตรายได้



กอ่ นการฝกึ ปฏบิ ัตงิ าน ผูเ้ รยี นตอ้ งทำความเข้าใจเกี่ยวกบั การปฏิบัติ งานเล่ือย หนว่ ยที่ 7
การจดั เตรยี มเครื่องมอื อปุ กรณ์ และทบทวนความปลอดภัย เพอ่ื ทจ่ี ะได้นำไปปฏบิ ัติในใบงานท่ี 5
การเลอื่ ยโครงซ-ี แคลม็ ป์ มีข้นั ตอนดงั นี้
1. ศกึ ษาแบบงานให้เขา้ ใจ
2. จดั เตรยี มเคร่ืองมือและอุปกรณ์
3. ตรวจสอบความพร้อมของเลื่อยมือใหพ้ ร้อมใชง้ าน ใส่ใบเล่ือยใหถ้ ูกตอ้ ง
4.ใชป้ ากกาจับงานใหแ้ นน่ และให้ได้ระดบั
5.ใช้ตะไบสามเหลยี่ มตะไบนำรอ่ งก่อนเลอ่ื ย หรือใช้หวั แมม่ ือประครองใบเล่อื ยให้ตรง
กอ่ นเลื่อย
6. เล่ือยตามแนวตดั ท่ีทำการเผอื่ ไว้จากเส้นร่างแบบจริง ประมาณ 0.5-1 มลิ ลิเมตร
7. จังหวะชกั ตอ้ งสม่ำเสมอ ไม่เร็วหรอื ช้าเกนิ ไป โดยใช้จังหวะชกั ประมาณ 40 ครั้งตอ่ นาที
8. ตรวจสอบรอยเล่ือยให้ถูกตรง และถกู ตอ้ ง
ข้อแนะน า
1. จบั งานให้แนน่ มั่นคง
2. จงั หวะการชักเลอื่ ยต้องสม่ำเสมอ อย่าเลื่อยเรว็ หรือชา้ เกินไป
ข้อควรระวงั
1. หา้ มหยอดนำ้ มันใส่ใบเลอื่ ย และช้นิ งาน
2. ต้องตรวจสอบความม่นั คงของปากกาจบั ชนิ้ งาน
3. ตอ้ งขนั ยึดใบเลอื่ ยใหต้ รง และมั่นคง



กอ่ นการฝึกปฏบิ ตั ิงาน ผู้เรียนต้องทำความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบตั ิ งานสกดั หนว่ ยท่ี 8 การจดั เตรียม
เคร่อื งมอื อุปกรณ์ และทบทวนความปลอดภัย เพ่ือทจี่ ะได้นำไปปฏิบัตใิ นใบงานท่ี 5 งานสกดั โครงซี-แคล็มป์
มีขั้นตอนดงั น้ี
1. ศึกษาแบบงานใหเ้ ข้าใจ
2. จดั เตรียมเครือ่ งมอื และอปุ กรณ์
3. ตรวจสอบความพร้อมของหัวสกัด และคมสกัด
4. ใชแ้ ผน่ อะลมู เิ นียมรองปากกากาจับชนิ้ งาน และใช้ปากกาจบั งานใหแ้ น่น
5. สวมแว่นตาป้องกนั สะเก็ดโลหะ สกัดตามแนวท่ีเจาะขาดโดยมองทปี่ ากสกดั
หากไม่ใชป้ ากกาจับช้ินงาน ต้องวางบนทง่ั ให้มั่นคงก่อนท าการสกดั
6. ตรวจสอบชนิ้ งาน
7. ทำความสะอาดทุกครัง้ หลังปฏบิ ัตงิ านเสร็จ
ข้อแนะน า
1. จับงานใหแ้ น่น มั่นคง โดยให้แนวสกัดของชน้ิ งานอย่เู หนือปากกาเล็กน้อย
2. สวมแว่นตากนั สะเกด็ ทกุ ครง้ั
3. ต้งั มุมสกัดให้ถกู ต้อง
ข้อควรระวัง
1. หา้ มสกดั ไปในทิศทางท่มี ผี ู้อ่นื ปฏบิ ัตงิ านอยู่
2. หา้ มใหม้ คี ราบน้ำมันบนหวั คอ้ น และหัวสกัด
3. ต้องวางชิน้ งานบนท่งั ให้มน่ั คง



กอ่ นการฝึกปฏิบัตงิ าน ผเู้ รียนต้องทำความเขา้ ใจเกีย่ วกบั การปฏิบตั ิ งานตะไบ หน่วยที่ 4
การจัดเตรียมเคร่อื งมอื อุปกรณ์ และทบทวนความปลอดภัย เพอื่ ทจ่ี ะได้น าไปปฏิบตั ิในใบงานท่ี 5
การตะไบผวิ เรยี บ โครงซี-แคล็มป์ มีขนั้ ตอนดงั นี้
1. ศึกษาแบบงาน
2. จัดเตรียมวัสดุ ตดั ช้ินงานให้ไดต้ ามแบบใบงานท่ี 5
3. จัดเตรียมเคร่อื งมือและอุปกรณ์ ใสด่ า้ มตะไบให้มั่นคง และตรวจสอบความเรียบร้อย
4. จบั ชน้ิ งานบนปากกาให้ม่ันคง และไดร้ ะดบั
5. ตะไบแต่งผิวทกุ ดา้ นให้ไดข้ นาด ความราบเรยี บ และไดฉ้ ากตามใบงานท่ี 5
ข้อแนะน า
1. ตรวจสอบความสงู ของโตะ๊ และปากกาจับชิน้ งานใหเ้ หมาะกับผู้ปฏบิ ตั งิ าน
2. ปรับตำแหนง่ การยนื เหมาะสมกบั การตะไบ
3. การตะไบให้ทิศทางการเคลอ่ื นตะไบไขวก้ นั
4. ผิวงานด้านสำเรจ็ ต้องใชแ้ ผ่นรองปากเพื่อไม่ให้เกดิ รอย
5. ขณะทำการวดั ฉากต้องจบั ด้านฉากให้ชิดกับขอบงานและเลื่อนลงมาสังเกตช่องแสง
ตรวจสอบอย่างน้อย 3จุด
6. ใช้แปรงลวดขดั ตะไบเม่ือมีเศษติดในฟันตะไบ
ข้อควรระวัง
1. ระวงั คมชนิ้ งานขณะตะไบ
2. ต้องสวมดา้ มตะไบใหแ้ น่น



กอ่ นการฝกึ ปฏิบัติงาน ผเู้ รยี นตอ้ งทำความเข้าใจเก่ียวกบั การปฏิบตั ิ งานเจาะ หนว่ ยที่ 6 และ
งานท าเกลียว หน่วยที่ 11 การจัดเตรียมเครื่องมืออุปกรณ์ และทบทวนความปลอดภัย เพื่อทจี่ ะได้
นำไปปฏบิ ตั ิในใบงานท่ี 5 เจาะรทู าเกลยี วใน โครงซี-แคล็มป์ มขี นั้ ตอนดังน้ี
1. ศกึ ษาแบบงานใหเ้ ข้าใจ
2. จัดเตรยี มเคร่ืองมอื และอปุ กรณ์ให้พรอ้ ม
3.วางชนิ้ งานบนแท่นระดบั ใช้เวอรเ์ นยี ร์วัดความสูง รา่ งแบบตามใบงานที่ 5
3. ตอกน าศูนยต์ รงจุดทที่ าการเจาะท าเกลียว
4. ตรวจสอบความพร้อมของเคร่อื งเจาะสวา่ นตงั้ โตะ๊ ให้พร้อมใช้งาน
5. ใช้ปากกาจบั ชน้ิ งานใหแ้ น่นและได้ระดับ ใชซ้ ี-แคลม็ ป์ จบั ปากกาจบั ชิ้นงานเจาะอกี ครั้ง
เพ่ือใหม้ ั่นคง ปรับความเร็วรอบใหเ้ หมาะสม
6. สวมแว่นตาปอ้ งกันสะเก็ดโลหะ แลว้ เปิดสวิตช์เคร่อื งเจาะ เจาะดอกสว่านขนาด Ø5
มลิ ลเิ มตร และ Ø 6.7 มิลลิเมตร ตามล าดับใบงานที่ 5 เพื่อท าเกลยี ว M8x1.25 โดยก่อนการเจาะต้อง
ขนั ปากจับดอกสว่านใหแ้ น่น เจาะให้ดอกสว่านตรงจุดทีห่ มายไว้
7. ตอ้ งหยอดนำ้ หล่อเยน็ เพื่อระบายความร้อน
8. ใช้แปรงขนอ่อนปดั เศษเหล็กออกจากช้นิ งาน
9. เมอ่ื เจาะสำเรจ็ ใหป้ ิดเคร่ือง ตรวจสอบช้ินงาน
10. คลายชนิ้ งานออกจากปากจับชน้ิ งาน และทำความสะอาดบรเิ วณปฏิบตั ิงานเจาะให้
เรยี บร้อย
ข้อแนะน า
1. จบั งานให้แน่น มนั่ คง
2. หยอดนำ้ มันหล่อเยน็ เป็นระยะเพอ่ื ป้องกันการเสียดสี
3. ใช้ความเร็วรอบในการเจาะให้เหมาะสม
ขอ้ ควรระวงั
1. ตอ้ งสวมแว่นตาป้องกันสะเกด็ โลหะ
2. ตอ้ งตรวจสอบความมน่ั คงของปากกาจับชนิ้ งาน และซี-แคลม็ ป์
3. ตอ้ งขนั ยึดดอกสวา่ นให้แน่น



ก่อนการฝึกปฏบิ ัตงิ าน ผเู้ รยี นตอ้ งทำความเขา้ ใจเกีย่ วกับการปฏบิ ัติ งานทำเกลียว หน่วยท่ี 11 การ
จดั เตรียมเครื่องมืออุปกรณ์ และทบทวนความปลอดภัย เพ่ือทจี่ ะได้น าไปปฏิบตั ใิ บงานที่ 5การทำเกลียวใน โครง
ซี-แคล็มป์ มีขัน้ ตอนดังน้ี
1. ศึกษาแบบงานให้เขา้ ใจ
2. จดั เตรยี มเคร่อื งมอื และอุปกรณ์
3. จบั ยึดช้ินงานท่เี จาะรไู ด้เหมาะสมแล้วกับขนาดของดอกตาปดว้ ยปากกาจับงานโดยให้
แนวแกนของรเู จาะอยู่ในแนวดิง่ และขอบบนของชน้ิ งานอย่เู หนอื ปากปากกาจบั ชิ้นงานประมาณ
2-3 มลิ ลเิ มตร
4. ประกอบดอกตาปดอกที่ 1 เขา้ กับดา้ มโดยหมนุ ขันสกรดู ้ามจบั ให้ปากจับเหลี่ยมของกา้ น
ดอกตาปดว้ ยแรงจับทแี่ นน่ พอไมใ่ ห้หลวมคลอน
5. จากนั้นให้ใช้มือกำตรงกลางของด้ามตาปไว้ กดและหมนุ ลงไปในรูเจาะ 2 – 3 ฟนั
เมอ่ื คมตัดของตาปเริม่ ตัดเฉือนช้นิ งานแล้ว ให้ใช้สองมือจบั บรเิ วณโคนดา้ มตาป และขันให้หมนุ
ตามเข็มนาฬิกาอยา่ งชา้ ๆ ใหค้ มตดั เร่มิ ตัดเฉือนเขา้ ไปในเน้ือโลหะ
6. หลังจากคมตัดของตาปเริม่ ตดั เฉอื นเน้ือโลหะแล้วถอดดา้ มจบั ออก และทำการ
ตรวจสอบความฉากระหว่างดอกตาปกับผิวหน้าช้ินงานดว้ ยเหลก็ ฉาก
7. เมอ่ื ดอกตาปถกู ปรบั จนกระท่ังไดฉ้ ากดแี ล้ว ใหย้ า้ ยมือท้ังสองมาจับส่วนปลายของด้าม
ตาป เพื่อให้เกดิ ความแขง็ แรงและความเที่ยงตรงในการทำเกลียว
8. การหมนุ ตาปเกลยี วดอกที่ 1 หมนุ ตามเข็มนาฬิกา 1/4 – 1/2 รอบ จากนน้ั กลับ 1-2 รอบ
เพ่อื คลายเศษ
9. หลงั จากตัดเกลียวดว้ ยดอกตาปดอกท่ี 1 จนสนิ้ สุดการทำเกลียวแลว้ ให้คลายดอกตัด
เกลยี วออก จากนน้ั จึงทำการตัดเกลียวตอ่ ด้วยดอกตาปดอกท่ี 2 โดยใช้และทำการตดั เกลยี วต่อไป
จนกระทัง่ สิ้นสุดการท าเกลียว
10. ทำการตาปดอกท่ี 3 เพ่ือใหย้ อดเกลยี วแหลมและมีความแขง็ แรง โดยปฏิบตั ิตาม
ข้ันตอนเชน่ เดียวกบั ข้นั ตอนที่ 5 ทกุ ประการ
11. ตรวจสอบเกลียวทต่ี าป
12. ปัดทำความสะอาดเคร่อื งมือ ดอกตาป ดา้ มตาป ปากกาจับช้นิ งาน และบรเิ วณ
ปฏบิ ตั งิ านใหส้ ะอาดเรียบรอ้ ย

ขอ้ ควรระวงั
1. ตอ้ งดใู หแ้ น่ใจวา่ เลือกดอกตาปใช้งานตามลำดบั การหมุนประกอบดอกตาปเข้ากบั ดา้ ม
ต้องหมุนด้วยแรงมือเปลา่ ไม่ควรใช้คมี หรอื เคร่ืองมอื อย่างอื่น
2. การหมนุ ด้ามตาปตอ้ งออกแรงกดท้ังสองดา้ นใหส้ มดุลกัน
ขอ้ แนะน า
ควรหยอดนำ้ มันหล่อลืน่ เพ่ือลดความฝดื และระบายความรอ้ นจากการตาปเกลยี ว



กอ่ นการฝกึ ปฏบิ ตั งิ าน ผ้เู รยี นตอ้ งทำความเขา้ ใจเก่ียวกับการปฏิบตั ิ งานเคร่ืองมือกลเบอื้ งต้น หน่วยท่ี 10
การจดั เตรยี มเครือ่ งมืออปุ กรณ์ และทบทวนความปลอดภัย เพื่อที่จะไดน้ ำไป ปฏิบัตใิ บงานที่ 5 การกลึงแกน
เกลียว มขี ้นั ตอนดังนี้
1. ศกึ ษาแบบงานใหเ้ ข้าใจ
2. จัดเตรียมเครอ่ื งมือและอุปกรณ์
3. ตัดเตรยี มชิน้ งานโดยใช้เลอื่ ยมอื หรอื เครอื่ งเลื่อยกลแบบชกั ก็ได้ ให้ได้ขนาด Ø9 ยาว 67 มิลลเิ มตร ตามใบงาน
ท่ี 5
4. ตรวจสอบความพร้อมของเครือ่ งกลึงให้พร้อม
5. ตดิ ตง้ั มีดกลึงมุมปาดหน้าเขา้ กบั ป้อมมีดใหแ้ น่นและม่ันคง
6. นำช้ินงานทต่ี ดั เตรียมไว้ จับบนหวั จับชิน้ งานเคร่ืองกลึงใหแ้ นน่ และมัน่ คง โดยใหพ้ ้นออกมาจากหัวจับไมเ่ กนิ
1.5 นวิ้
7. ตรวจสอบความพร้อมอีกครัง้ เปิดเครื่องกลึงกลึงปาดหน้า พรอ้ มเจาะยันศูนย์ใหเ้ รยี บร้อย
8. ปิดเคร่ืองกลงึ แล้วจับชนิ้ งานใหมใ่ ห้ชนิ้ งานอยู่ในหัวจับเครอ่ื งกลงึ ประมาณ 1 นว้ิ สว่ น
ทเ่ี หลอื กใ็ ห้พน้ ออกมา พร้อมใชย้ นั ศูนยท์ ้ายหมนุ ตาม เพื่อกลึงปอกผวิ
9. ต้ังมดี กลงึ มุมปอกผวิ เขา้ กับปอ้ มมีดให้แน่นและมนั่ คง
10. กลึงปอกผิวใหไ้ ดต้ ามขนาดท่ีตอ้ งการ ตามใบงานที่ 5 ให้ได้ขนาดแกน Ø7.6 มลิ ลเิ มตร
11. ใชเ้ วอร์เนียร์คาลิเปอร์วัดใหไ้ ด้ตามขนาดใบงานท่ี 5
12. การกลงึ ปอกผิวควรใหม้ ีดกลึงกินงานครงั้ ละไมเ่ กนิ 0.5 มลิ ลเิ มตร
13. ปดิ เครอื่ งกลึง แลว้ จับช้ินงานใหมบ่ นหวั จบั เคร่ืองกลึง โดยใหพ้ น้ ออกมาจากหวั จับไม่เกิน 1.5 น้วิ แลว้ เจาะรู
ขนาด Ø4.2 มลิ ลเิ มตร ลึก 10 มลิ ลิเมตร เพ่ือท าเกลยี วใน M5x0.8
14. ตัง้ มดี กลึงเพ่ือลบมมุ เขา้ กับปอ้ มมดี ให้แน่นและมัน่ คง ท าการลบมมุ ท่หี วั แกนเกลยี วสง่ กำลงั
15. ตรวจสอบความถูกตอ้ งของช้ินงานใหเ้ รียบร้อย แล้วปิดเครือ่ ง
16. ทำความสะอาดเครอ่ื งมอื อุปกรณ์ และเครื่องกลงึ ใหเ้ รียบรอ้ ย
17. จากนั้นนำชน้ิ งาน ไปเจาะหวั แกนเกลยี วดว้ ยเครื่องสวา่ นตัง้ โต๊ะ เพ่ือเจาะรูชิน้ งานขนาด
Ø5.5 มิลลิเมตร เพอื่ เป็นรูสอดแขนหมุนประกอบ โดยศึกษาการเจาะจากขน้ั ตอนการเจาะขา้ งต้น

ขอ้ แนะนำ
1. จบั งานให้แนน่ ม่นั คง
2. ใช้ความเรว็ รอบในการกลึงใหเ้ หมาะสม
3. ตั้งมมุ มดี กลึงปาดหนา้ และมีดกลึงปอกผวิ ให้ถกู ต้อง
4. ต้องฉดี นำ้ หล่อเยน็ ทกุ ครง้ั ในการกลงึ เพ่ือรักษาคมตดั ของมีดกลึง
ขอ้ ควรระวัง
1. ตอ้ งสวมแว่นตาป้องกนั สะเกด็ โลหะ
2. ต้องตรวจสอบความมั่นคงของหัวจับชิน้ งาน
3. ต้องขนั ยึดดอกสวา่ นให้แน่น
4. ต้องขนั ยดึ ดอกเจาะนำศูนย์ใหแ้ น่น
5. กอ่ นปฏบิ ตั งิ านขั้นต่อไปต้องหยดุ เครื่องกลงึ ใหห้ ยดุ สนิท



ก่อนการฝกึ ปฏิบัติงาน ผู้เรยี นต้องทำความเขา้ ใจเกี่ยวกบั การปฏบิ ัติ งานเคร่ืองมือกลเบื้องต้น หนว่ ยท่ี
10 การจดั เตรียมเครื่องมืออุปกรณ์ และทบทวนความปลอดภยั เพอ่ื ทจ่ี ะได้นำไปปฏบิ ตั ใิ บงานท่ี 5 การกลึงแขน
หมนุ มขี ้นั ตอนการกลงึ ดงั นี้
1. ศึกษาแบบงานใหเ้ ขา้ ใจ
2. จัดเตรยี มเครือ่ งมอื และอุปกรณ์
3. ตัดเตรียมชน้ิ งานดว้ ยเลอ่ื ยมอื ให้ไดข้ นาด Ø5 ยาว 65 มิลลเิ มตร
4. ตรวจสอบความพร้อมของเครอื่ งกลงึ ใหพ้ ร้อม
5. ตดิ ตั้งมีดกลึงมมุ ปาดหน้าเขา้ กับป้อมมีดใหแ้ น่นและมั่นคง
6. นำชนิ้ งานที่ตัดเตรยี มไว้ จับบนหัวจบั ชน้ิ งานเครอ่ื งกลงึ โดยใหพ้ ้นออกมาจากหวั จับไม่เกิน 1 น้ิว
7. เปิดเคร่ืองกลงึ กลึงปาดหนา้ ทั้งสองด้านให้ผิวเรยี บ
8. ปดิ เครือ่ งกลึง ตัง้ มีดกลึงมุมปอกผิว เขา้ กับป้อมมีดใหแ้ นน่ และมน่ั คง
9. กลงึ ปอกผวิ ใหไ้ ด้ตามขนาดท่ตี อ้ งการ ตามใบงานท่ี 5 ลึกเข้าไป 6 มิลลเิ มตร
10. การกลงึ ปอกผวิ ควรใหม้ ดี กลึงกินงานครงั้ ละไมเ่ กนิ 0.5 มลิ ลเิ มตร
11. กลับดา้ นชิน้ งาน จับบนหวั จับชนิ้ งานเครื่องกลงึ โดยให้พ้นออกมาจากหวั จับไม่เกนิ 1น้วิ
12. กลงึ ปอกผิวให้ได้ตามขนาดท่ตี อ้ งการ ตามใบงานท่ี 5 ลึกเขา้ ไป 6 มลิ ลิเมตร
13. ตง้ั มีดกลงึ เพ่ือลบมุม เข้ากับปอ้ มมีดใหแ้ นน่ และม่นั คง ท าการลบมมุ แขนหมนุ ท้งั 2ดา้ น
14. ตรวจสอบความถูกต้องของชน้ิ งาน ปดิ เคร่ือง
15. ทำความสะอาดเคร่อื งมือ อปุ กรณ์ และเคร่ืองกลงึ ให้เรียบรอ้ ย
ขอ้ แนะน า
1. จบั งานใหแ้ น่น ม่นั คง
2. ใช้ความเร็วรอบในการกลงึ ให้เหมาะสม
ขอ้ ควรระวงั
1. ตอ้ งสวมแวน่ ตาปอ้ งกันสะเกด็ โลหะ
2. ตอ้ งตรวจสอบความมัน่ คงของหัวจบั ช้นิ งาน



กอ่ นการฝึกปฏบิ ัติงาน ผ้เู รียนต้องทำความเข้าใจเก่ียวกบั การปฏบิ ัติ งานเครื่องมือกลเบื้องต้น หน่วยท่ี
10 การจดั เตรียมเครอื่ งมืออปุ กรณ์ และทบทวนความปลอดภยั เพ่อื ท่ีจะได้นำไปปฏิบัติใบงานท่ี 5 การกลึงปลอก
ยึดแขนหมนุ มีขัน้ ตอนดงั น้ี
1. ศึกษาแบบงานให้เข้าใจ
2. จดั เตรยี มเครอื่ งมือและอปุ กรณ์
3. ตดั เตรยี มชนิ้ งานดว้ ยเลือ่ ยมอื ขนาด Ø7 ยาว 40 มลิ ลิเมตร (ตอ้ งมีความยาวเพียงพอในการจับยึดชน้ิ งาน)
4. ตรวจสอบความพร้อมของเครอื่ งกลึงให้พร้อม
5. ติดตัง้ มดี กลึงมมุ ปาดหนา้ เข้ากบั ป้อมมีดให้แนน่ และมั่นคง
6. น าช้นิ งานทต่ี ดั เตรียมไว้ จับบนหัวจบั ชิน้ งานเครื่องกลึง โดยให้พน้ ออกมาจากหัวจับไม่เกนิ 1 นิ้ว
7. เปิดเครือ่ งกลึงกลงึ ปาดหน้า พรอ้ มเจาะยันศูนย์ให้เรยี บร้อย
8. ปิดเครื่อง แล้วใช้หัวจบั ยึดดอกสวา่ นขนาด Ø4.5 มลิ ลเิ มตร ให้ม่นั คง เจาะรูลกึ ยาวตลอดประมาณ 20
มลิ ลิเมตร
9. ตัง้ มีดกลึงเพ่อื ลบมุม เขา้ กับปอ้ มมีดใหแ้ น่นและมน่ั คง ทำการลบมมุ ทปี่ ลอกยดึ แขนหมุน
10. ต้ังมดี กลึงเซาะร่องเพื่อตัดชนิ้ งาน เข้ากบั ป้อมมีดใหแ้ น่นและมนั่ คง ทำการเซาะร่องจน
ขาดให้ไดข้ นาดความยาวปลอกยดึ แขนหมนุ 5 มิลลเิ มตร 2 ชิ้น
11. ตรวจสอบความถูกตอ้ งของช้ินงาน ปิดเคร่ือง
12. ทำความสะอาดเครอ่ื งมอื อปุ กรณ์ และเครื่องกลงึ ให้เรียบรอ้ ย
ขอ้ แนะน า
1. จับงานใหแ้ น่น มน่ั คง
2. ใชค้ วามเรว็ รอบในการกลงึ ให้เหมาะสม
ขอ้ ควรระวัง
1. ต้องสวมแว่นตาป้องกนั สะเกด็ โลหะ
2. ต้องตรวจสอบความมัน่ คงของหวั จบั ชิ้นงาน
3. ต้องขันยดึ ดอกสวา่ นใหแ้ น่น
4. ตอ้ งขันยึดดอกเจาะนำศูนย์ให้แน่น
5. ต้องใช้ความระมัดระวงั เป็นพเิ ศษเพราะชนิ้ งานมีขนาดเล็ก



กอ่ นการฝึกปฏิบัตงิ าน ผ้เู รยี นตอ้ งทำความเขา้ ใจเก่ยี วกบั การปฏบิ ตั ิ งานเครื่องมือกลเบ้ืองตน้ หนว่ ยที่
10 การจดั เตรียมเคร่อื งมืออปุ กรณ์ และทบทวนความปลอดภยั เพื่อทจ่ี ะไดน้ ำไปปฏบิ ัตใิ บงานท่ี 5 การกลึงแป้นยึด
มีข้นั ตอนดงั น้ี
1. ศึกษาแบบงานให้เขา้ ใจ
2. จัดเตรียมเครอื่ งมือและอปุ กรณ์
3. ตดั เตรียมชิ้นงานดว้ ยเล่อื ยมอื ขนาด Ø9 ยาว 50 มลิ ลิเมตร
4. ตรวจสอบความพร้อมของเครอ่ื งกลงึ ให้พร้อม
5. ตดิ ตงั้ มีดกลงึ มุมปาดหนา้ เขา้ กบั ป้อมมีดให้แน่นและมนั่ คง
6. นำชน้ิ งานทตี่ ดั เตรียมไว้ จับบนหวั จบั ชิ้นงานเคร่ืองกลึง โดยใหพ้ ้นออกมาจากหัวจบั ไม่
เกนิ 1 นิ้ว
7. เปิดเครื่องกลึงกลงึ ปาดหน้า พร้อมเจาะยันศูนยใ์ ห้เรยี บร้อย
8. ใชห้ ัวจบั ยดึ ดอกสว่านขนาด Ø6.5 มลิ ลเิ มตร ใหม้ น่ั คง เจาะรลู กึ ยาวตลอดประมาณ 20
มิลลิเมตร
9. ตดิ ต้ังมดี กลงึ ปอกผิว เพ่ือกลึงงานเรียว เขา้ กบั ป้อมมดี ให้แน่นและมั่นคง
10. กลงึ เรยี วตามใบงานที่ 5
11. ใชห้ วั จับยึดดอกสวา่ นขนาด Ø7 มิลลิเมตร ใหม้ ั่นคง เจาะรูลึก 3 มลิ ลเิ มตร
12. ตง้ั มุมมดี กลึงเพื่อลบมุม ทำการลบมุมที่แปน้ ยึด
13. ต้ังมีดกลงึ เซาะร่อง เข้ากับป้อมมีดใหแ้ นน่ และม่ันคง ทำการเซาะรอ่ งจนขาด ให้ได้
ขนาดความยาวปลอกยดึ แขนหมุน 11 มิลลเิ มตร
14. ตรวจสอบความถูกต้องของชน้ิ งาน ปดิ เคร่ือง
15. ทำความสะอาดเคร่ืองมือ อปุ กรณ์ และเคร่ืองกลงึ ใหเ้ รียบรอ้ ย
ข้อแนะน า
1. จบั งานใหแ้ น่น มั่นคง
2. ใชค้ วามเร็วรอบในการกลึงใหเ้ หมาะสม
ขอ้ ควรระวัง
1. ตอ้ งสวมแว่นตาปอ้ งกันสะเกด็ โลหะ
2. ต้องตรวจสอบความมั่นคงของหวั จับชน้ิ งาน
3. ต้องขนั ยึดดอกสว่านให้แน่น
4. ต้องขันยึดดอกเจาะน าศูนย์ให้แนน่
5. ตอ้ งใช้ความระมัดระวังเป็นพเิ ศษเพราะชิน้ งานมีขนาดเลก็



ก่อนการฝกึ ปฏบิ ตั ิงาน ผ้เู รียนต้องทำความเข้าใจเกีย่ วกับการปฏบิ ัติ งานทำเกลียว หน่วยท่ี11 การ
จดั เตรียมเคร่ืองมืออุปกรณ์ และทบทวนความปลอดภยั การทำเกียวในขนาด M5×0.8 ตามขนั้ ตอนการทำเกลยี ว
ในข้างต้น ส่วนการทำเกลียวนอก แกนเกลยี วสง่ กำลัง มีข้ันตอนดังน้ี
1. ศกึ ษาแบบงานให้เข้าใจ
2. จัดเตรียมเคร่ืองมือและอปุ กรณ์
3. จบั ชิน้ งานที่ตอ้ งดายเกลียวให้ตงั้ ฉากกบั ปากกาจับชน้ิ งาน ให้สว่ นทต่ี อ้ งการดายพน้ ออกมาจากปากกาจบั ชิน้ งาน
(ใชว้ ี-บลอ็ ก ช่วยในการจับยดึ หวั แกนเกลยี วให้มนั่ คง)
4. ประกอบดาย M8×1.25 เข้ากับด้ามดายให้ร่องผา่ ของดายตรงกับสกรูตัวกลาง (สกรถู ่างดาย) โดยคลายสกรูทุก
ตวั ออกก่อน
5. ใชม้ อื ทั้งสองจับบริเวณปลายของด้ามดาย แล้วประคองหมนุ ตามเข็มนาฬิกาอยา่ งชา้ ๆให้คมตดั ของดายเฉือนเขา้
ไปในเนื้องาน ในข้นั ตอนน้ีต้องระมดั ระวังไม่ให้ดายเอียง ควรตรวจสอบความฉากด้วยฉากวดั
6. เมื่อคมตัดของดายตัดเฉอื นเนื้อโลหะเข้าไปประมาณ 2-3 เกลยี วแลว้ โดยทดี่ ายและสลกั ทำมุมฉากซ่ึงกันและกนั
ยา้ ยมือท้ังสองมาจับบริเวณส่วนปลายของด้ามดาย เพื่อการจับที่มนั่ คงและได้แรงมากข้ึน
7. ดายเกลยี วโดยหมนุ ตามเข็มนาฬกิ าตัด 1/4 รอบ แล้วหมุนกลบั 1/2 -1 รอบ จนกระท่ังดายเกลยี วเสร็จรอบที่ 1
8. การดายรอบที่ 2 ใหค้ ลายสกรตู ัวถา่ งออกและปรบั สกรูตวั บบี ทงั้ สองข้างเข้า เพ่ือปรับให้ฟันดายบีบเขา้ เป็น
ขนาดดายสำเร็จ
9. ตรวจสอบเกลียวดว้ ยหวีวัดเกลียว
10. ปัดทำความสะอาดเคร่อื งมอื ดอกดาย ด้ามดาย ปากกาจับชน้ิ งาน และบริเวณปฏิบัติงานให้สะอาดเรียบร้อย
ขอ้ แนะนำ
1. ไมค่ วรใหส้ ว่ นท่ีดายเกลียวพน้ ออกมามากเกนิ ไป เพราะจะทำให้เกลยี วคดงอได้
2. ควรหยอดนำ้ มันหลอ่ ล่ืนเพื่อลดความฝืดและระบายความร้อนจากการดายเกลยี ว
3. ต้องประกอบดายใหถ้ ูกด้านโดยให้ดา้ นทมี่ ตี ัวเลขอย่ดู า้ นลา่ ง (เป็นด้านทสี่ มั ผสั กบั
ชนิ้ งาน)
4. ควรใส่ตัวดายใหไ้ ดร้ ะดับ ไม่เอียง และเลอื กดา้ มดายให้เหมาะสมกบั ตวั ดาย
ข้อแนะน า
1. การเรมิ่ ตน้ ดาย อย่าออกแรงกดดายมากเกินไป



ก่อนการฝกึ ปฏบิ ัติงาน ผเู้ รยี นต้องทำความเข้าใจเกี่ยวกบั การปฏบิ ตั ิ งานประกอบหนว่ ยที่12 การ
จดั เตรียมเคร่ืองมืออปุ กรณ์ และทบทวนความปลอดภัย เพ่ือท่จี ะได้น าไปปฏบิ ัตใิ บงานที่ 5การประกอบ มีขน้ั ตอน
ดงั นี้
1. ศกึ ษาแบบงานใหเ้ ขา้ ใจ
2. จัดเตรียมเครื่องมอื และอุปกรณ์
3. ใชป้ ลอกยดึ แขนหมุนสวมประกอบเข้ากับแขนหมุนด้านหนงึ่ ก่อน แลว้ ใชค้ ้อนหวั กลมตอกแขนหมนุ ใหส้ ่วนปลาย
ของแขนหมนุ ใหบ้ านออก เพื่อยึดไมใ่ ห้ปลอกยดึ แขนหมุนหลุดออก
4. สอดประกอบแขนหมุนดา้ นทีย่ ังไม่สวมปลอกยดึ แขนหมุนเข้ากับแกนเกลียว แลว้ ใช้ค้อนหัวกลมตอกแขนหมนุ
ใหส้ ว่ นปลายของแขนหมุนให้บานออก เพื่อยดึ ไม่ใหป้ ลอกยึดแขนหมนุ หลดุ ออก
5. นำโครงตัวซี-แคลม็ ป์ จบั บนปากกาจับช้ินงานใหแ้ นน่ และใชแ้ ผ่นอะลมู เิ นียมรองปากกา
จบั ช้นิ งานด้วย จากนนั้ หมนุ แกนเกลยี วเข้ากบั โครงตวั ซี-แคล็มป์
6. ทดสอบหมนุ แกนเกลียวเข้าออก เพื่อสังเกตความฝืด แล้วใชน้ ้ำมันหล่อล่ืนใหห้ มุนประกอบสะดวกข้ึน
7. สวมแปน้ ยดึ เข้ากบั ส่วนปลายของแกนเกลียวแลว้ ใชไ้ ขควงแฉกขันยึดให้แป้นยึดไม่ให้หยุดจากแกนเกลยี ว

8. ทำความสะอาดเครื่องมือ และบรเิ วณปฏิบัติงานใหเ้ รยี บรอ้ ย

















เกณฑ์การใหค้ ะแนนผลการปฏิบัตงิ าน
1. โครง C-Clamp
1. งานตะไบผิวราบด้านที่ 1
1. ได้ = 8-10 คะแนน 2. พอใช้ = 6-7 คะแนน 3. ปรับปรุง = 4-5 คะแนน
2. ผวิ ดา้ นที่ 2 (ตั้งฉากกบั ด้านท่ี 1)
3. ผวิ ด้านท่ี 3 (ตั้งฉากกับดา้ นท่ี 1,2)
4. ผวิ ดา้ นท่ี 4 (ตง้ั ฉากกับด้านที่ 1,3)
5. ผวิ ด้านท่ี 5 (ตั้งฉากกับด้านที่1,2,4)
6. ผวิ ดา้ นท่ี 6 (ตั้งฉากกบั ดา้ นท่ี 5,4,31)
7. ฉากสนั ดา้ น6 กบั ด้านที่ 4
จากข้อ 2-7 1. พิกัด ± 1 องศา = 8-10 คะแนน
2. พิกัด ± 1.5 องศา = 6-7 คะแนน
3. พิกดั ± 2 องศา = 4-5 คะแนน
8. ขนาดความยาว 65 มิลลเิ มตร
9. ขนาดความกว้าง 45 มิลลิเมตร
10. ขนาดความหนา 14 มลิ ลิเมตร
11. ขนาดความหนาปาก (1) 12 มิลลิเมตร
12. ขนาดความหนาปาก (2) 12 มลิ ลิเมตร
13. ขนาดความหนาก้าน 12 มิลลเิ มตร
14. มมุ R10 (ดา้ นเกลียว)
จากขอ้ 8-14 1. พิกดั ± 0.1 มม. = 8-10 คะแนน
2. พิกัด ± 0.2 มม. = 6-7 คะแนน
3. พิกัด ± 0.3 มม. = 4-5 คะแนน
15. มมุ 6×45๐ (1)
16. มุม 6×45๐ (2)
จากขอ้ 15-16 1. พิกัด ± 1 องศา = 8-10 คะแนน2. พกิ ัด ± 1.5 องศา = 6-7 คะแนน
3. พกิ ดั ± 2 องศา = 4-5 คะแนน

17. งานร่างแบบ
1. ถกู ต้อง = 8-10 คะแนน 2. พอใช้ = 6-7 คะแนน 3. ปรับปรงุ = 4-5 คะแนน
18. งานตอกร่างแบบ และ ตอกนำศนู ย์
1. เทยี่ งตรง = 8-10 คะแนน 2. พอใช้ = 6-7 คะแนน 3. ปรบั ปรงุ = 4-5 คะแนน
19. งานเจาะรทู ะลุ Ø 5 มม. และ Ø 7 มม.
1. ตรงรู = 8-10 คะแนน 2. พอใช้ = 6-7 คะแนน 3. เอยี ง = 4-5 คะแนน
20. งานเลื่อยมือ
1. เทีย่ งตรง = 8-10 คะแนน 2. พอใช้ = 6-7 คะแนน 3. เอยี ง = 4-5 คะแนน
21.งานสกัด
1. ถกู ตอ้ ง = 8-10 คะแนน 2. พอใช้ = 6-7 คะแนน 3. ปรับปรุง = 4-5 คะแนน
22. งานตะไบปรบั ผิวทกุ ด้าน
1. ได้ = 8-10 คะแนน 2. พอใช้ = 6-7 คะแนน 3. ปรับปรงุ = 4-5 คะแนน
23. งานเจาะทำเกลยี ว M8×1.25
1. ตรงรู = 8-10 คะแนน 2. พอใช้ = 6-7 คะแนน 3. ปรับปรงุ = 4-5 คะแนน
24. งานทำเกลยี วใน M8×1.25
1. สวยงามยอดแหลม = 8-10 คะแนน 2. พอใช้ = 6-7 คะแนน 3. ปรบั ปรุง = 4-5 คะแนน
25. ความเรียบรอ้ ยท่ัวไปของชิน้ งาน
1. เรียบรอ้ ย สวยงาม = 8-10 คะแนน 2. พอใช้ = 6-7 คะแนน 3. ปรับปรงุ = 4-5 คะแนน
26. ปฏิบตั ิงานได้ตามกำหนดเวลา
1. เสร็จตรงตามเวลา = 8-10 คะแนน 2. เสร็จ แต่ไม่ตรงตามเวลา = 6-7 คะแนน

27. กจิ นิสัยในการท างาน เชน่ การแตง่ กาย การตรงต่อเวลา การบำรงุ รักษาเครื่องจักร การทำความสะอาด
1. ถูกตอ้ ง = 8-10 คะแนน2. พอใช้ = 6-7 คะแนน 3. ปรบั ปรงุ = 4-5 คะแนน
2. แกนเกลียวส่งก าลัง
1. ขนาดความยาวแกน 64 มม.
2. ขนาดความยาวแกนเกลยี ว 50 มม.
3. ขนาดความยาวหวั แกน 8 มม.
4. ขนาดความยาวบา่ 6 มม.
5. กลึงแกนขนาด Ø 7.6 มม.

6. กลงึ บา่ ขนาด Ø 6 มม.
จากข้อ 1-6 1. พิกดั ± 0.1 มม. = 8-10 คะแนน
2. พกิ ัด ± 0.2 มม. = 6-7 คะแนน
3. พกิ ัด ± 0.3 มม. = 4-5 คะแนน
7. ลบมุม 1×45๐
1. พกิ ัด ± 1 องศา = 8-10 คะแนน
2. พิกดั ± 1.5 องศา = 6-7 คะแนน
3. พกิ ัด ± 2 องศา = 4-5 คะแนน
8. เจาะรู Ø 4.0.3 มม. ความลกึ 10 มม.
1. ตรงรู = 8-10 คะแนน 2. พอใช้ = 6-7 คะแนน 3. เอยี ง = 4-5 คะแนน
9. เกลียวใน M5×0.8
10. เกลยี วนอก M8×1.25
1. สวยงามยอดแหลม = 8-10 คะแนน 2. พอใช้ = 6-7 คะแนน 3. ปรับปรงุ = 4-5 คะแนน
11. ความเรยี บรอ้ ยท่ัวไปของชน้ิ งาน
1. เรยี บรอ้ ย สวยงาม = 8-10 คะแนน 2. พอใช้ = 6-7 คะแนน 3. ปรับปรงุ = 4-5 คะแนน
12. ปฏบิ ตั ิงานได้ตามก าหนดเวลา
1. เสรจ็ ตรงตามเวลา = 8-10 คะแนน 2. เสรจ็ แตไ่ ม่ตรงตามเวลา = 6-7 คะแนน
13. กิจนสิ ัยในการท างาน เชน่ การแตง่ กาย การตรงต่อเวลา การบำรงุ รักษาเคร่ืองจกั ร การทำความสะอาด
1. ถกู ต้อง = 8-10 คะแนน 2. พอใช้ = 6-7 คะแนน 3. ปรับปรุง = 4-5 คะแนน
3. แขนหมุน
1. ขนาดความยาวแขนหมนุ 60.3 มม.
2. ขนาดความยาวบ่า (1) 6 มม.
3. ขนาดความยาวบา่ (2) 6 มม.
4. ขนาด Ø 5 มม.
5. ขนาด Ø 4.2 มม.
จากข้อ 1-5 1. พิกัด ± 0.1 มม. = 8-10 คะแนน
2. พิกัด ± 0.2 มม. = 6-7 คะแนน
3. พิกัด ± 0.3 มม. = 4-5 คะแนน

6. ลบมุม 0.5×45๐
1. พิกดั ± 1 องศา = 8-10 คะแนน
2. พกิ ัด ± 1.5 องศา = 6-7 คะแนน
3. พกิ ดั ± 2 องศา = 4-5 คะแนน
7. ความเรียบรอ้ ยทัว่ ไปของชน้ิ งาน
1. เรียบร้อย สวยงาม = 8-10 คะแนน 2. พอใช้ = 6-7 คะแนน 3. ปรับปรุง= 4-5 คะแนน
8. ปฏิบัติงานได้ตามก าหนดเวลา
1. เสร็จตรงตามเวลา = 8-10 คะแนน 2. เสรจ็ แต่ไม่ตรงตามเวลา = 6-7 คะแนน
9. กิจนิสัยในการทำงาน เชน่ การแต่งกาย การตรงตอ่ เวลา การบำรงุ รักษาเครื่องจกั ร การทำความ
สะอาด
1. ถกู ตอ้ ง = 8-10 คะแนน 2. พอใช้ = 6-7 คะแนน 3. ปรบั ปรุง = 4-5 คะแนน
4. ปลอกยึดแขนหมุน
1. ขนาดความยาวปลอก 5 มม.
2. ขนาด Ø 7 มม.
3. เจาะรู Ø 4.5 มม.
จากข้อ 1-3 1. พิกัด ± 0.1 มม. = 8-10 คะแนน
2. พกิ ดั ± 0.2 มม. = 6-7 คะแนน
3. พิกัด ± 0.3 มม. = 4-5 คะแนน
4. ลบมุม 0.5×45๐
1. พิกดั ± 1 องศา = 8-10 คะแนน
2. พกิ ดั ± 1.5 องศา = 6-7 คะแนน
3. พกิ ดั ± 2 องศา = 4-5 คะแนน
5. ความเรียบรอ้ ยท่วั ไปของชิ้นงาน
1. เรยี บรอ้ ย สวยงาม = 8-10 คะแนน 2. พอใช้ = 6-7 คะแนน 3. ปรับปรงุ = 4-5 คะแนน
6. ปฏบิ ัติงานไดต้ ามกำหนดเวลา
1. เสร็จตรงตามเวลา = 8-10 คะแนน 2. เสรจ็ แต่ไม่ตรงตามเวลา = 6-7 คะแนน
7. กิจนิสัยในการทำงาน เช่น การแตง่ กาย การตรงต่อเวลา การบำรุงรักษาเครื่องจกั ร การทำความ
สะอาด

1. ถูกตอ้ ง = 8-10 คะแนน2. พอใช้ = 6-7 คะแนน 3. ปรับปรงุ = 4-5 คะแนน
5. แปน้ ยึด
1. ความยาวแปน้ ยึด 11 มม.
2. ความยาวบ่า 4 มม.
3. ขนาด Ø 9 มม.
4. ขนาด Ø 8 มม.
5. เจาะรู Ø 7 มม.
6. เจาะรู Ø 6.5 มม.
7. ความลึก 3 มม.
จากข้อ 1-7 1. พิกัด ± 0.1 มม. = 8-10 คะแนน
2. พิกดั ± 0.2 มม. = 6-7 คะแนน
3. พิกดั ± 0.3 มม. = 4-5 คะแนน
8. ความเรยี บรอ้ ยท่ัวไปของช้ินงาน
1. เรยี บร้อย สวยงาม = 8-10 คะแนน 2. พอใช้ = 6-7 คะแนน 3. ปรบั ปรุง= 4-5 คะแนน
9. ปฏิบัติงานไดต้ ามกำหนดเวลา
1. เสร็จตรงตามเวลา = 8-10 คะแนน 2. เสร็จ แต่ไม่ตรงตามเวลา = 6-7 คะแนน
10. กิจนสิ ยั ในการทำงาน เชน่ การแตง่ กาย การตรงต่อเวลา การบำรุงรักษาเคร่ืองจักร การทำ
ความสะอาด
1. ถกู ต้อง = 8-10 คะแนน2. พอใช้ = 6-7 คะแนน 3. ปรบั ปรุง = 4-5 คะแนน
6. งานประกอบ
1. การประกอบทีย่ ึดปลอกแขนหมนุ เข้ากับแขนหมนุ
1. เรียบรอ้ ย สวยงาม = 8-10 คะแนน 2. พอใช้ = 6-7 คะแนน 3. ปรบั ปรุง= 4-5 คะแนน
2. ความเที่ยงตรงของแกนเกลยี วสง่ ก าลัง
1. เทยี่ งตรง = 8-10 คะแนน 2. พอใช้ = 6-7 คะแนน 3. เอียง= 4-5 คะแนน
3. ความสะดวกในการหมนุ แกนเกลียว
1. สะดวก = 8-10 คะแนน 2. พอใช้ = 6-7 คะแนน 3. ฝืด= 4-5 คะแนน
4. การขนั ยดึ แป้นยนั เขา้ กบั แกนเกลยี ว
1. เรียบร้อย สวยงาม = 8-10 คะแนน 2. พอใช้ = 6-7 คะแนน 3. ปรับปรุง= 4-5 คะแนน

5. ความเรียบร้อยท่วั ไปของชน้ิ งาน
1. เรยี บรอ้ ย สวยงาม = 8-10 คะแนน 2. พอใช้ = 6-7 คะแนน 3. ปรับปรงุ = 4-5 คะแนน
6. ปฏิบตั ิงานไดต้ ามก าหนดเวลา
1. เสร็จตรงตามเวลา = 8-10 คะแนน 2. เสร็จ แตไ่ ม่ตรงตามเวลา = 6-7 คะแนน
7. กจิ นิสยั ในการทำงาน เชน่ การแต่งกาย การตรงต่อเวลา การบำรงุ รกั ษาเครื่องจักร การทำความ
สะอาด
1. ถกู ต้อง = 8-10 คะแนน2. พอใช้ = 6-7 คะแนน 3. ปรับปรุง = 4-5 คะแนน
เกณฑ์การประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ าน (ร้อยละ)
1. ระดับคะแนน 80-100 คะแนน หมายถึง ดมี าก
2. ระดบั คะแนน 70-79 คะแนน หมายถึง ดี
3. ระดับคะแนน 60-69 คะแนน หมายถึง พอใช้
4. ระดับคะแนน 50-59 คะแนน หมายถงึ ต่ำ
5. ระดบั คะแนนต่ำกว่า 50 คะแนน หมายถึง ไมผ่ ่านเกณฑ์


Click to View FlipBook Version