The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การบริหารจัดการพื้นที่ตามโครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นาโมเดล”
นายปลวัชร วรรณจงคำ
พัฒนาการอำเภอแวงใหญ่
๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kmcddt1, 2022-06-10 01:07:59

การบริหารจัดการพื้นที่ตามโครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”พัฒนาการอำเภอแวงใหญ่

การบริหารจัดการพื้นที่ตามโครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นาโมเดล”
นายปลวัชร วรรณจงคำ
พัฒนาการอำเภอแวงใหญ่
๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔

รายงานการจดั การความรู้ในชมุ ชน

(Knowledge Management in Community)

ช่อื เรื่อง การบรหิ ารจดั การพน้ื ที่ตามโครงการพัฒนาพน้ื ที่ตน้ แบบการพัฒนาคณุ ภาพ
ชวี ิตตามหลกั ทฤษฎีใหม่ ประยกุ ตส์ ู่
“โคก หนอง นา โมเดล”

โดย
นายปลวชั ร วรรณจงคา
พฒั นาการอาเภอแวงใหญ่
.........................................................................
สานักงานพฒั นาชุมชนอาเภอแวงใหญ่ จังหวดั ขอนแก่น

จังหวัดขอนแกน่

คานา

กรมการพัฒนาชุมชน มีภารกิจสาคัญในการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และการมีส่วน
ร่วมของประชาชน สง่ เสรมิ และพัฒนาเศรษฐกจิ ชุมชนฐานรากใหม้ คี วามมั่นคงและมีเสถยี รภาพ เพื่อให้
เป็นชุมชนเขม้ แขง็ โดยมีผู้นาชุมชน อาสาสมัคร กลุ่ม/องค์กร เครือข่าย และประชารัฐเป็นกลไกในการ
พัฒนาในการบริหารจัดการชมุ ชน และเศรษฐกิจฐานราก เพอ่ื ให้บรรลตุ ามวสิ ัยทัศน์ “เศรษฐกจิ ฐานราก
มัน่ คง และชุมชนพ่งึ ตนเองได้ ภายในปี ๒๕๖๕”

ในปี ๒๕๖๔ กรมการพัฒนาชุมชน ดาเนินโครงการพัฒนาพ้ืนที่ต้นแบบการพัฒนา
คุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” ซึ่งเป็นโครงการช่วยเหลือ ฟ้ืนฟู
เยียวยาประชาชนที่ไดร้ บั ผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 พ.ศ. 2563 โดย
ภาครัฐได้ชดเชย ช่วยเหลือ ฟื้นฟูให้แก่ภาคประชาชน เกษตรกร และผู้ประกอบการ และเอกสารการ
บันทึกการจัดการความรู้ในชุมชนฉบับน้ีจัดทาข้ึนเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ให้ผู้เก่ียวข้องนาไปปรับใช้ได้
ตามบรบิ ทของแต่ละพน้ื ที่

ปลวชั ร วรรณจงคา
๒๕ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๔

บันทกึ องค์ความรู้

(Knowledge Management in Community)

....................................................................

ช่อื เรื่อง การบริหารจัดการพ้ืนที่ตามโครงการพัฒนาพื้นท่ีต้นแบบ นายปลวัชร วรรณจงคา
การคณุ ภาพชีวิตตามหลกั ทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ พฒั นาการอาเภอแวงใหญ่
“โคก หนอง นา โมเดล”

วตั ถปุ ระประสงค์ ๑. เพือ่ แบง่ ปันความรู้ และวธิ ีการทางานโคก หนอง นา โมเดล ในระดับพืน้ ที่
กิจกรรมที่ ๒ สร้างพ้ืนท่ีเรียนรู้ชุมชนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับตาบล และพัฒนาพื้นที่
ครัวเรอื นต้นแบบการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ระดับครวั เรือน เฉพาะครัวเรอื นต้นแบบ (HLM.)

๒. เพอื่ เพ่มิ ประสิทธิภาพการปฏิบตั งิ าน เปน็ แนวทางปฏบิ ตั ิงานท่ัวไป
ผู้บันทกึ องคค์ วามรู้ นายปลวชั ร วรรณจงคา พฒั นาการอาเภอแวงใหญ่ จังหวดั ขอนแกน่
ดาเนนิ การจัดการความรู้ เมอื่ วนั ท่ี ๒๐ – ๒๕ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๔
สถานทีบ่ ันทกึ การจัดการความรู้ สานักงานพฒั นาชมุ ชนอาเภอแวงใหญ่ จงั หวดั ขอนแก่น
องคก์ รทเ่ี ก่ียวข้อง สานกั งานพฒั นาชมุ ชนอาเภอ

เนอ้ื หา

โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”
คือโครงการขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นท่ีต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยมีจุดมุ่งหมายสาคัญ คือเพื่อ
แก้ไขปัญหาการระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 โดยช่วยเหลอื เยยี วยา และชดเชยให้แกภ่ าค

ประชาชน เกษตรกร และผู้ประกอบการ และเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคม กระทรวงมหาดไทย โดย
กรมการพัฒนาชุมชน ได้เสนอโครงการภายใต้กรอบนโยบายการฟ้ืนฟูเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
ฟื้นฟูเศรษฐกิจท้องถ่ินและชุมชน โดยโครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลัก
ทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” เป็นการพัฒนาพื้นที่เรียนรู้ชุมชนต้นแบบ โคก หนอง
นา โมเดล ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ฟ้ืนฟูเศรษฐกิจท้องถ่ินและชุมชน การประยุกต์หลัก
ทฤษฎีใหม่สู่การปฏิบัติ สร้างงาน สร้างรายได้ให้กับครัวเรือนและชุมชน เกิดการกระตุ้นเศรษฐกิจฐาน
ราก ฟื้นฟแู ละพัฒนาท้องถ่ินของตนเอง

ภาพวาดฝีพระหตั ถเ์ กษตรทฤษฏีใหมแ่ บบประยกุ ต์ (โคก หนอง นา)พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ฯ

2

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลปัจจุบัน ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรด
กระหม่อมพระราชทานภาพวาดฝีพระหัตถ์เกษตรทฤษฏีใหม่แบบประยุกต์ (โคก หนอง นา) ทาให้
กระแสของโครงการโคก หนอง นา โมเดล เป็นที่รู้จัก นิยม อย่างแพร่หลาย ได้รับความสนใจจาก
ประชาชนทุกหมูเ่ หล่า ในส่วนของข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชนกม็ ีกาลังใจในการขบั เคล่ือนอยา่ งเต็ม
พลัง สิ่งที่สาคัญคือ ความรู้ที่ต้องค้นคว้า และคานึงถึงความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน ทาด้วย
ความสขุ ไม่เกดิ ความทุกขก์ ังวลใจ ลดความเส่ียง จึงตอ้ งดาเนินการเตรยี มความรู้ ประกอบดว้ ย ความรู้
ด้านนโยบายต้องชัดเจน ถูกต้อง ความรู้ด้านกฎหมาย ระเบียบท่ีเก่ียวข้อง ความรู้พื้นฐานด้าน
วิศวกรรม และความสามารถในการบริหารให้สัมฤทธิ์ผล ท้ังน้ีอาเภอแวงใหญ่ได้รับการอนุมัติ
งบประมาณงบเงนิ กรู้ ะยะที่ ๑ จานวน ๕๐ แปลง โดยมีการดาเนนิ งานตามลาดับ ดงั น้ี

ก.ขั้นเตรยี มการ
๑.การศกึ ษานโยบาย ใหถ้ กู ตอ้ งชดั เจน วัตถุประสงคท์ ่ตี อ้ งการ ซ่งึ โครงการฯดงั กล่าวนี้ เกดิ จาก
การระบาดของเชือ้ ไวรัสโควิต-๑๙ และรัฐบาลมีนโยบายเพ่ือเยียวยาประชาชนที่ได้รบั ผลกระทบ ฟ้ืนฟู
เศรษฐกจิ
๒.ความรู้ด้านกฎหมายและระเบียบท่ีเก่ียวข้อง กรณีการขุดดินลึกเกิน ๓ เมตร หรือพ้ืนที่ขุด
เกิน ๑๐,๐๐๐ ตารางเมตร ดังนี้

 พรบ.การขุดดินและถมดนิ พ.ศ.๒๕๔๓ ข้อ ๑๗ ตอ้ งแจง้ เจ้าพนักงานท้องถ่ิน

 กฎกระทรวง พ.ศ.๒๕๔๖ ใหม้ ีวิศวกรโยธาผูไ้ ด้รับใบอนญุ าตเป็นผ้คู วบคุมการขุดดิน

 กฎกระทรวง พ.ศ.๒๕๔๖ ข้อ ๑ ค่าธรรมเนียมในการขุดดิน (๑)ใบแจ้ง ๕๐๐ บาท (๒)
ค่าคัดสาเนา ๑ บาท

 กฎกระทรวง พ.ศ.๒๕๔๘ ขอ้ ๔ ต้องมวี ศิ วกรโยธาระดับสามัญรบั รอง ข้อ ๗ ระยะปาก
บ่อต้องห่างจากแนวเขตของบุคคลอ่ืนหรือท่ีสาธารณะไม่น้อยกว่าสองเท่าของความลึก
เว้นแต่ จะได้มีการป้องกันการพังทลายของดินหรือสิ่งปลูกสร้างโดยมีวิศวกรโยธาผู้
ไดร้ ับใบอนุญาตรบั รอง ขอ้ ๑๔ การถมดนิ ที่ระดับดินถมสงู ต้งั แต่สองเมตรขึน้ ไปมีพนื้ ที่
ถมสองพนั ตารางเมตรขน้ึ ไปต้องขออนุญาตและมีวิศวกรโยธาระดับสามญั รับรอง

 ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซ้ือจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.
๒๕๖๐ ขอ้ ๑๗๘ อานาจหน้าท่ีของช่างควบคมุ งาน (เมื่อได้รบั การแต่งตัง้ จะมีอานาจใน
ตัวโดยไม่ตอ้ งไปรบั มอบมาจากใคร)

๓.ความรู้พ้นื ฐานด้านวศิ วกรรม สิง่ ทีค่ วรรู้

 ๑ ไร่ = ๔ งาน = ๑,๖๐๐ ตร.ม. , ๑ งาน = ๑๐๐ ตร.วา = ๔๐๐ ตร.ม.

 การคานวณพื้นท่ใี หใ้ ช้สตู รสามเหลยี่ มใดๆ หรอื APP LING ชว่ ยคานวณ

 การใชก้ ล้องระดบั เพื่อสารวจสภาพดินเดนิ (ถ้ามีผูร้ ู้)

 การคานวณปริมาณดนิ ขดุ แบบงา่ ย เชน่ พ้ืนที่บนบวกพน้ื ทีล่ า่ งหารสองคูณความลกึ ขดุ

 การเขียนผังโครงการโดยกาหนดเทียบมาตราส่วน (Scale)และการออกไอเดียพ้ืนที่
แปลง



 สาหรับแบบแปลนมาตรฐานของกรมฯ ถือว่าเป็นแบบกลางท่ียังไม่ปรุงรส หาก
ผบู้ ริโภคชอบรสชาติใดกป็ รงุ เอา เพยี งแตอ่ ยู่ภายใต้ขอบเขตท่ที าได้ เชน่ ในส่วนบ่อนา้ ๒
บ่อเราสามารถเลือกใช้ได้ลดภาระการเขียนแบบใหม่ ลดภาระค่าใช้จ่ายค่ารับรองแบบ
ส่วนคลองไส้ไก่ระบุกว้าง ๓ เมตร และบางแบบยาวมาก ส่วนของคลอง ๓ เมตรตาม
ระบุก็ใช้ที่สมควรใช้ในบางบริเวณของพ้ืนท่ี จากนั้นก็เขียนปรับปรุงแบบเพิ่มเติมให้
คลองลดความกว้าง ๒ เมตร หรือ ๑.๕๐ เมตร ก็ได้ตามระเบียบและกฎหมายที่
เกี่ยวข้องอยแู่ ลว้

๔.ความสามารถในการบริหารงานให้สัมฤทธ์ิผล โดยข้อมูลถูกต้อง มีระเบียบกฎหมายรองรับ
ถูกต้อง กล้าตัดสินใจบนฐานข้อมูลท่ีดี เดินหน้าโครงการอย่างม่ันใจ และกล้ารับผิดชอบ โดยมีประเด็น
สาคญั ดงั น้ี

 มอบมอบอานาจการจดั ซอื้ จ้างผูว้ า่ ราชการจงั หวดั – นายอาเภอ

 การประสานความร่วมมือกบั ภาคีเครือขา่ ย เช่น ท้องถิ่น-ชา่ ง เปน็ ตน้

 การศกึ ษาค้นควา้ ระเบียบกฎหมายทเ่ี กี่ยวขอ้ ง และทนั สมัย

 การสร้างความรู้ความเข้าใจสาหรับทีมงาน สพอ./นพต. ให้พร้อมและทางานอย่าง
ทมุ่ เท มอบหมายงานให้ถกู คน สอนแนะ แก้ปัญหา on The job Training ชื่นชม ให้
กาลงั ใจ

๕.ฝึกทักษะการปฏิบัตงิ านให้กับนกั พัฒนาพ้ืนที่ต้นแบบ ท้งั หลักการทางานกสิกรรมธรรมชาติ
การออกแบบตามหลักภูมิสังคมตามท่ีฝึกอบรมจากทีมวิทยากรหลักของกรมฯต้องสรุปสาระสาคัญท่ี
เข้าใจได้ถ่ายทอดเป็น รวมถึงการใช้เคร่ืองมือสารวจต่างๆ อาทิ เทปวัดระยะ กล้องระดับ กล้องสารวจ
(TOTAL STATION)แบบเบ้อื งต้น การสารวจและ Plotผังโดยใชม้ าตราส่วน(Scale) การปักหมุดวางผัง
เลือกตาแหนง่ ทางกายภาพในแปลง การคานวณปรมิ าณงาน การใชข้ ้อมูลเพอื่ การตัดสนิ ใจ และอื่นๆ

ข. ขั้นดาเนินการ
๑. การแต่งตั้งวิศวกรผู้วินิจฉยั แบบแปลน อาเภอแวงใหญ่ได้แต่งต้ังวิศวกรโยธาผู้มีใบอนญุ าต
เปน็ ผู้วนิ ิจฉยั แบบแปลนปรับปรงุ เพมิ่ เติมตามอานาจหน้าทที่ ี่มีตามระเบยี บกฎหมายให้สามารถใช้งานได้
ทันที ลดภาระของช่างทอ้ งถ่ินในพ้ืนที่ (ปรุงอาหารสาเร็จรูปให้ถูกปาก) ซ่ึงมีความเห็นว่าแบบมาตรฐาน
ของกรมฯมีจุดแข็งคือ การออกแบบโดยโปรแกรมมาตรฐาน AUTOCAD และบ่อมีความเป็นธรรมชาติ
ออกแบบและรับรองโดยวิศวกรโยธาระดับสามัญวิศวกรแล้ว จึงใช้งานได้ เพียงแต่ผู้ใช้ต้องเข้าใจแบบ
แปลนและใช้แบบแปลนเป็น ท้ังนี้วิศวกรผู้วินิจฉัยแบบได้เขียนแบบเพิ่มเติมให้คลองไส้ไก่มีหลายขนาด
เขียนแบบเพิ่มให้สามารถขุดดินปรับระดับแปลงนา หรือการปรับระยะขอบเขตคลองไส้ไก่ได้อย่างสม
ประโยชน์ของโครงการ เช่น การขุดไปเช่ือมหนองหรือคลองธรรมชาติท่ีใกล้เคียงแต่ต้องอยู่ในขอบเขต
ที่ดินแปลงดังกล่าวและมีระยะไม่เกินที่กาหนดและเท่าที่จาเป็นเท่าน้ัน (ซ่ึงได้ปรึกษา ป.ป.ช.ประจา
จังหวดั ขอนแกน่ แล้ว เมื่อ ๔ ก.พ.๒๕๖๔ ณ ศาลากลางจังหวดั ขอนแกน่ ซึ่งทาไดโ้ ดยใหผ้ ้มู ีอานาจอนมุ ัติ)
๒. การออกแบบพ้นื ท่ีรายแปลง ได้มีการรว่ มออกแบบตามระบบภูมิสังคมของแปลงโครงการ
ร่วมกับเจ้าของแปลงพื้นที่ โดยการสารวจทางกายภาพของพ้ืนที่ การส่องกล้องระดับ กาหนดขอบเขต
โคก หนอง นา ใหส้ มดุล การคดั เลอื กแบบแปลนให้เหมาะสมกับสภาพแปลง การใหค้ าแนะนาและให้


อานาจเจา้ ของแปลงตัดสนิ ใจบนพ้ืนฐานข้อมูลทเ่ี พียงพอ ทงั้ นี้มีการออกแบบสารวจข้อมูลรายแปลงเพ่ือ
เป็นหลกั ฐาน ทั้งสภาพแปลง สภาพดนิ พิกดั การเลอื กแบบ เปน็ ตน้ เรยี กแบบฟอรม์ น้ีวา่ แบบ วญ.๑

๓. กาหนดขนั้ ตอนและแผนปฏบิ ัตกิ าร เพอ่ื บรหิ ารจดั การรายแปลง ดังน้ี
๑) สารวจกาหนดขอบเขตรายแปลง ๑ ไร่ ๓ ไร่ ท่ีเข้าร่วมโครงการที่แท้จริง เน่ืองจาก

บางแปลงมีพืน้ ท่ีจานวนมาก เช่น ๕ – ๑๐ ไร่ แต่แบง่ เข้ารว่ มโครงการ ๑ – ๓ ไร่ เปน็ ต้น
๒) สารวจพื้นทีท่ างกายภาพภายในขอบเขตท่ีกาหนด เชน่ ระดับดนิ เดิม บ่อน้าเดิม สิ่ง

ปลูกสรา้ ง ปา่ นา เปน็ ต้น
๓) ร่างสภาพเดิมในกระดาษร่างแบบแผ่นใหญ่ ให้เห็นสภาพจริงให้มากท่สี ุด แลว้ Plot

ไอเดยี การทาโคก หนอง นา คลองไส้ไก่ ลงไปในกระดาษรา่ งแผ่นเดยี วกัน
๔) ร่างพ้ืนท่ีวางโคก หนอง นา ลงใน A4 แผ่นท่ี ๑ เจ้าของแปลงลงนามรับรองในแผ่น

ร่าง (วญ.๒) เพอื่ เป็นหลักฐานเบื้องต้นว่าเจ้าของแปลงเหน็ ชอบแล้วในการกาหนดตาแหนง่ ตา่ งๆ
๔) Plot โคก หนอง นา ท่ีออกแบบใหม่ในกระดาษ A4 แผ่นท่ี ๒ ลงกากับระยะต่างๆ

ลงสี ลงค่าระดับดิน เพ่อื ใช้เป็นผงั แบบดาเนนิ การขดุ ปรบั แต่งจรงิ และเปน็ ผงั ใหมท่ แี่ นบกบั หลักฐานการ
เบิกจา่ ยเงนิ โดยชา่ งควบคมุ งานเป็นผ้ลู งนามรบั รอง

สาหรับการดาเนินงานทุกข้ันตอนนั้นไดฝ้ ึกนกั พฒั นาพ้ืนที่ต้นแบบ(นพต.)เป็นผู้ปฏิบัติ
หลัก โดยใชแ้ นวทาง ON The job Training และมีการกากับควบคมุ ตรวจสอบทกุ ขน้ั ตอนเพ่ือปอ้ งกนั
ความผดิ พลาด

๔. การแต่งต้ังคณะกรรมการกาหนดราคากลางเพียง ๑ คณะ เพื่อให้การกาหนดราคากลาง
เป็นไปในทิศทางเดียวกันทั้งอาเภอ โดยแต่งตั้งคณะกรรมการ ๔ คน คือ วิศวกรโยธาผู้มีใบอนุญาต
ประกอบวิชาชีพ(สังกัด อปท.ในพื้นท่ี) ๑ คน นายช่างโยธา ที่จบปริญญาตรีด้านสถาปัตยกรรม(สังกัด
อปท.ในพื้นที่) ๑ คน และแต่งต้ังพัฒนากรของสานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอแวงใหญ่ ๒ คน ร่วมเป็น
คณะ รวม ๔ คน เพือ่ ช่วยกันทางานตรวจสอบปอ้ งกนั ความผิดพลาด

๕. มีการประชุมชี้แจงผู้รับจ้าง โดยเชิญผู้รับจ้างท่ีสนใจเข้ารับฟังคาชี้แจง จานวน ๑๗ ราย มี
การอธบิ ายและใหส้ อบถามขน้ั ตอนการดาเนนิ งาน ทงั้ น้สี ว่ นใหญ่เปน็ ผู้ทีไ่ ม่เคยมปี ระสบการณ์ขดุ บอ่ โคก
หนองนา การประชมุ ชแ้ี จงจะทาให้มคี วามเข้าใจในทศิ ทาง วธิ กี ารทีถ่ ูกต้อง กอ่ นทีจ่ ะเสนอราคา และทา
สญั ญาเป็นผูร้ ับจา้ ง

ค. การจดั ซ้อื จัดจา้ ง
๑. ขออนุมัติจัดซื้อจ้างเป็นรายแปลง โดยผู้รับจา้ งแต่ละรายเป็นคู่สัญญาคราวละ ๑ แปลง ให้
ความเสมอภาค เพื่อป้องกันการผูกขาด และบริหารโครงการได้อย่างมีประสิทธิภาพ เม่ือทางานเสร็จ
แปลงใดค่อยรับสญั ญาแปลงตอ่ ไป
๒. แต่งต้ังคณะกรรมการดาเนินงาน คณะกรรมการจัดซ้ือจัดจ้าง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
ช่างควบคมุ งาน ให้เปน็ ไปตามระเบียบทถ่ี ูกต้อง
๓. การควบคุมงาน และรายงานผลงาน โดยช่างผู้ควบคุมงาน และนักพัฒนาพื้นท่ีต้นแบบ
(นพต.) โดยมีพฒั นากรกากบั ตดิ ตามอีกชน้ั หน่ึง
๔. การตรวจรับงานจา้ ง โดยวดั ปรมิ าตรดนิ ขดุ จากการดาเนินงานจริงสาหรบั การเบิกจ่ายเงนิ


๕. การประเมนิ ผล และความพึงพอใจ โดยคณะกรรมการตรวจรบั และเจา้ ของแปลงพน้ื ท่ี

ง. การขดุ ปรับพ้ืนท่ี
๑. การวางผังปักหมุดขอบบอ่ โดยการวัด Scale จากแบบมาตรฐานโดยเทียบหลายๆจดุ และ
ปักตามจุดปลายหักโค้งมุมบ่อต่างๆ การวางหมุดนี้ใช้ท้ังดึงเทปวัดระยะสกัด และการใช้กล้อง TOTAL
STATION ท้งั นใี้ ห้ช่างควบคมุ งานทีไ่ ด้รับแตง่ ต้งั รว่ มตรวจสอบอกี ครงั้ หนงึ่ กอ่ นเร่มิ ขุด สาหรับผงั ปักหมดุ
ขอบบ่อได้จัดทาท้ังแบบใช้เทปวัดระยะอย่างเดียว และใช้กล้อง TOTAL STATION ทั้งนี้ได้กากับให้
ระมดั ระวงั ความคลาดเคลอื่ นและให้ยึดถือแบบมาตรฐานของกรมฯเป็นหลกั
๒. การช้แี นวขอบเขตงานให้ชัดเจน จดุ เริ่มตน้ และสน้ิ สดุ ของงานตา่ งๆ
๓. การชีแ้ จงแบบแปลน กาชับ ตรวจสอบ ระมัดระวงั เรอื่ งความผิดพลาด เนอ่ื งจากแบบแปลน
มหี ลายชุด แตล่ ะชดุ มีความแตกต่างกัน หากดาเนินการผดิ พลาดจะเกิดความเสียหาย
๔. การควบคุมงาน ชา่ ง เจ้าของแปลงและ นพต.รายงานความก้าวหน้า ปญั หาอุปสรรค ทกุ วัน
๕. การปรับปรุงเพิ่มเติมแบบแปลน การต่อยอด สามารถกระทาได้ โดยอาศัยระเบียบ
กระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.๒๕๖๐ ข้อ ๑๗๘ อานาจ
หน้าที่ของช่างควบคุมงาน

จ. ปัญหาอปุ สรรค และแนวทาวแก้ไขในระดบั พ้ืนที่
๑. ขาดทักษะการดูและใชแ้ บบแปลน
แก้ไขโดย การแต่งต้ังวิศวกรโยธาผู้มีใบอนุญาตเป็นผู้วินิจฉัยและปรับปรุงเพ่ิมเติมแบบแปลน
ตามระเบยี บและกฎหมาย ท้งั น้ี ไมม่ กี ารแกไ้ ขแบบแปลนมาตรฐานของกรมฯแต่อย่างใด
๒. เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนและนักพฒั นาพ้นื ทีต่ ้นแบบขาดทักษะการทางานและการบริหารงาน
กอ่ สรา้ ง
แก้ไขโดย ฝึกอบรม ฝึกทักษะ แลกเปลย่ี นเรียนร้รู ะหว่างอาเภอ/หนว่ ยงาน และใชห้ ลักฝกึ อบรม
ขณะทางาน ON The job Training
๓. มผี รู้ บั จ้างบางรายตอ้ งการทาสญั ญาไวห้ ลายๆแปลงพรอ้ มกัน
แก้ไขโดย ใหท้ าสญั ญารายละแปลง เมอ่ื ขดุ ปรับและส่งงานตรวจรับแลว้ จึงทาสัญญาแปลงตอ่ ไป
เพ่ือไม่ใหเ้ กดิ การผกู ขาด
๔. เจา้ ของแปลง เปลยี่ นใจปรบั สภาพแปลงบ่อย
แกไ้ ขโดย ให้ข้อมูลท่ีครบถ้วนถูกตอ้ งกับเจ้าของแปลงตั้งแต่แรก หากมีการยืนยันเปล่ยี นสภาพ
ในภายหลังก็ใหเ้ ข้าใจในความต้องการของเขา โดยปรบั เปลี่ยนได้ หากกรณีได้เร่ิมขุดปรับแลว้ จะเปล่ียน
ใจไม่ได้อีก จึงได้จดั ทาแบบ วญ.๒ ไว้เป็นหลกั ฐาน
๕. ผู้รบั จา้ งตอ้ งการลดภาระโดยขุดดินเหวยี่ งข้ึนบริเวณใกลข้ อบบ่อไมน่ าไปวางทาโคกในพ้ืนที่ท่ี
กาหนด ซง่ึ ถอื ว่าเป็นการขุดขนมคี า่ ใช้จ่ายเพิ่ม
แก้ไขโดย ยืนยันแบบผังที่ทาขึ้นก่อนทาสัญญาจ้าง หากแต่เจ้าของแปลงเห็นพอ้ งกับผู้รับจ้างก็
สามารถปรบั ผังแปลงใหมไ่ ด้ แต่ต้องคงความมโี คก หนอง นา มสี ภาพพื้นทีเ่ หมาะสมสวยงาม และได้รับ
อนุมตั ิจากผูม้ อี านาจเทา่ นั้น ท้ังนไ้ี ม่สามารถขอรบั งบประมาณเพิ่มเติมได้
๖. ปรมิ าณดนิ ขุดไม่ได้ตามทีก่ าหนด ผูร้ บั จ้างบอกขาดทุน ไมค่ ุ้ม


แก้ไขโดย ได้ช้ีแจงก่อนทาสัญญาแล้ว และยืนยันการเบิกจ่ายตามปริมาณงานจริงเท่านั้น
ทางานน้อยกย็ อ่ มลงทนุ นอ้ ยอยู่แล้ว
๗. ไมม่ ีปา้ ยโครงการ
แก้ไขโดย ให้เจ้าของแปลงจัดทาป้ายเอง โดยวัสดุที่สามารถหาได้ แต่ต้องมีความเหมาะสม
สวยงาม มโี ลโกก้ รมการพฒั นาชมุ ชน และขอ้ ความสาคัญ
๘. ปริมาณดินที่ขุดมีปริมาณมาก แต่พ้ืนท่ีท้ิงดินโคกมีจากัด ทาให้ระดับดินถมสูง และถ้าสูง
ต้ังแต่ ๒ เมตรขึ้นไปและพื้นที่ถมดินมากกว่า ๒,๐๐๐ ตร.ม.ต้องขออนุญาตและมีวิศวกรโยธาระดับ
สามญั รบั รอง
แก้ไขโดย ปรับปรงุ แบบแปลนแสดงการถมดนิ จากการขดุ ไม่ให้เกิน ๒ เมตร โดยไล่ดนิ ทาโคกให้
มีพ้ืนท่ีโคกมากข้ึนแตท่ ั้งน้ีต้องอยู่ในแปลงท่ีดินแปลงน้ันและมรี ะยะที่ไม่ไกลเกินไปจนเป็นภาระผู้รับจ้าง
มากเกนิ ไป หรอื ทาให้เสยี ค่าใชจ้ ่ายเพมิ่
๙. กฎหมายระบใุ หก้ รณขี ดุ ดนิ ลึกเกนิ ๓ เมตร ตอ้ งมรี ะยะหา่ งจากเขตท่ดี ินข้างเคยี งไมน่ อ้ ยกว่า
๒ เท่าของความลึกขดุ
แก้ไขโดย มีข้อยกเว้นโดยปฏิบัติตามกฎกระทรวง พ.ศ.๒๕๕๘ ข้อ ๗ โดยมีวิศวกรโยธาระดับ
ภาคีวิศวกรรับรอง และหรือให้ท่ีดินข้างเคียงลงนามยินยอม ทั้งน้ีได้ออกแบบฟอร์ม วญ.๓ หนังสือ
ยนิ ยอมทดี่ ินข้างเคยี ง
๑๐. การขออนญุ าตขดุ ดนิ ที่ต้องใชเ้ อกสารประกอบมาก เป็นปัญหากับเจา้ ของแปลง
แก้ไขโดย ๑) อาเภอฯโดยสานักงานพัฒนาชุมชนทาหนังสือแจ้งรายการขุด ชื่อเจ้าของแปลง
แบบแปลน พิกัด ส่งให้ อปท.เป็นเบ้ืองต้นก่อน ๒) อาเภอฯโดยสานักงานพัฒนาชุมชนซ่ึงถือว่าเป็น
หน่วยดาเนินการเน่ืองจากเจ้าของท่ีดินได้ลงนามยินยอมให้กรมการพฒั นาชุมชนดาเนนิ การแลว้ หน้าที่
การขออนุญาตจึงเป็นหน้าที่ของสานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ โดยทาเร่ืองการขออนุญาตให้ อปท.โดย
รวบรวมเอกสารทเี่ กี่ยวข้องท้ังหมดสง่ อปท.ต่อไป
๑๑. การขุดทีผ่ ดิ แบบแปลน จากสาเหตุทีม่ แี บบแปลนหลายชดุ
แกไ้ ขโดย ๑) เนน้ ย้าให้ใชแ้ บบแปลนทถ่ี กู กับแปลง ๒) แจ้งยืนยันแบบก่อนขดุ ๓) ทบทวนแบบ
แปลนใหเ้ ขา้ ใจชัดเจน ๔)ลาดับบอ่ ขดุ วา่ บอ่ ใดคอื บอ่ ๑ และบอ่ ๒

ฉ. ขอ้ เสนอต่อกรมการพัฒนาชมุ ชน
เพ่ือให้การดาเนินงานบรรลุวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ จึงขอเสนอเพ่ือพัฒนาการ
ดาเนนิ งานให้ดียิ่งข้นึ ตอ่ กรมการพฒั นาชมุ ชน ดังนี้
1. การปรับรายการค่าใช้จ่ายงบประมาณ ขอเสนอให้มีการปรับรายการค่าใช้จ่ายของ
งบประมาณ โดยปรับปรุงรายการค่าใช้จา่ ยให้สามารถนาไปใช้จ่ายได้ในหลายรายการ เช่น (๑) งานขุด
ดนิ เช่นหนองน้า คลองไส้ไก่ ขุดปรับระดับแปลงนา (๒) การขนย้ายดินพร้อมตกแต่ง การขน้ึ รปู โคก(๓)
งานอ่ืนๆตามหลักวิศวกรรม เช่นการถางป่า เป็นต้น ท้ังน้ีสามารถลดปริมาณดินขุดแต่เพิ่มค่าใช้จ่ายใน
รายการอืน่ ๆตามความเป็นจรงิ และตามหลักวศิ วกรรมได้
2. ให้สามารถสร้างฐานเรียนรู้ในพ้ืนท่ี HLM กรณีพื้นที่ HLM.หากเห็นชอบปรับรายการ
ค่าใชจ้ า่ ยงบประมาณแล้ว หากมแี ปลงใดมีเงินงบประมาณเหลือจากการขดุ แต่งแลว้ และมีความต้องการ


สร้างฐานเรียนรู้ก็ให้สามารถสร้างโรงเรือนได้ หรือสร้างฐานเรียนรู้ฐานใดฐานหนึ่งได้เพื่อต่อยอดหลัก
กสิกรรมธรรมชาตติ ามความถนดั ของเจา้ ของแปลงรายแปลงได้

3. จัดสรรงบประมาณสนับสนุนค่าตอบแทนช่างควบคุมงานหรือจัดจ้างผู้ทีม่ ีความรูด้ า้ นช่าง
ขอเสนอจัดสรรงบประมาณเป็นคา่ ตอบแทนสาหรับชา่ งควบคุมงาน และหรือกรมฯอาจพิจารณาจดั สรร
งบประมาณเพือ่ จัดจ้างบคุ คลที่ยังวา่ งงานที่มีความรู้ดา้ นชา่ งโยธา ก่อสรา้ ง สารวจ อาเภอละอย่างนอ้ ย
1 คนเพือ่ ชว่ ยขับเคล่อื นจะทาใหก้ ารดาเนนิ งานมีประสทิ ธภิ าพยิ่งขึน้

ช. แบง่ ปนั ความร้ใู ห้ภาคีพันธมติ ร
๑. การแบ่งปนั วิธกี ารใหร้ ะยะขอบบ่อ และการสร้างความเขา้ ใจในเพจศนู ย์พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ
ตามหลักทฤษฎใี หม่ประยกุ ตส์ ู่ “โคก หนอง นา โมเดล” และแบง่ ปนั ในเพจช่างท้องถน่ิ ไทย

๒. การจดั เก็บความรใู้ ห้เปน็ ระบบ (Organization) ระบบข้อมูลสานกั งานพัฒนาชมุ ชนอาเภอ
แวงใหญ่ และเวป็ ไซต์สานักงานพัฒนาชมุ ชนอาเภอแวงใหญ่

๓. การแบง่ ปันและการแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ (Share) มกี ารนาความรขู้ ้นึ ไว้ในเวป็ ไซต์สานกั งาน
พฒั นาชมุ ชนอาเภอแวงใหญ่

๔. การใชค้ วามรู้ (Use) ๑) ใชค้ วามรู้ในการพฒั นางานโครงการพฒั นาคุณภาพชีวติ ตามหลัก
ทฤษฎใี หม่ประยกุ ตส์ ู่ “โคก หนอง นา โมเดล” ๒) งานในลกั ษณะการบริหารพน้ื ที่ เชน่ ไรน่ าสวนผสม
และอนื่ ๆ

ภาคผนวก

โครงการพัฒนาพืน้ ทตี่ ้นแบบการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ตามหลกั ทฤษฎใี หม่ประยุกตส์ ู่
“โคก หนอง นา โมเดล” อาเภอแวงใหญ่

สอนแนะงาน นพต.ภาคทฤษฎี

สอนสอนแนะงาน นพต.ภาคปฏบิ ัตกิ ารใชก้ ลอ้ งระดับ

โครงการพฒั นาพ้นื ทต่ี น้ แบบการพฒั นาคุณภาพชีวติ ตามหลักทฤษฎใี หมป่ ระยกุ ตส์ ู่
“โคก หนอง นา โมเดล” อาเภอแวงใหญ่

ใช้กลอ้ งระดบั สารวจระดบั ดนิ เดมิ

โครงการพัฒนาพื้นทต่ี น้ แบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎใี หมป่ ระยุกตส์ ู่
“โคก หนอง นา โมเดล” อาเภอแวงใหญ่

คิดวธิ กี ารใหห้ มดุ ขอบบ่อตามหลกั วิชาการ เพ่ือความงา่ ยในการปฏบิ ัตงิ าน

โครงการพัฒนาพ้นื ท่ีต้นแบบการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ตามหลกั ทฤษฎใี หมป่ ระยกุ ตส์ ู่
“โคก หนอง นา โมเดล” อาเภอแวงใหญ่

ใหห้ มดุ ขอบบอ่ โดยใช้เทปวดั ระยะดงึ สกดั สามเหลย่ี ม และการใชก้ ลอ้ ง TOTAL STATION

โครงการพัฒนาพ้นื ทต่ี น้ แบบการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ตามหลักทฤษฎใี หมป่ ระยุกตส์ ู่
“โคก หนอง นา โมเดล” อาเภอแวงใหญ่

ประชมุ ชีแ้ จงผู้รบั จา้ งใหเ้ ข้าใจก่อนย่นื ความประสงค์เปน็ คสู่ ัญญาจา้ ง

โครงการพัฒนาพนื้ ท่ตี น้ แบบการพฒั นาคุณภาพชวี ิตตามหลกั ทฤษฎใี หม่ประยกุ ตส์ ู่
“โคก หนอง นา โมเดล” อาเภอแวงใหญ่

ปรมิ าณดินขดุ ทม่ี จี านวนมาก เม่ือถมแลว้ จะสูงมาก
กล่าวคอื หากขดุ ครบ ๔,๐๐๐ ลบ.ม.และมีพนื้ ทถี่ มเพยี ง ๑,๖๐๐ ตร.ม. (นามาถมโคกประมาณ
๓,๐๐๐ ลบ.ม.) ความสูงดินถมจะประมาณ ๑.๘๐ – ๒.๒๐ ม.(ดนิ ขยายตัว) ตอ้ งบรหิ ารมวลดินใหด้ ี

มิฉะนน้ั ดินจะถมพน้ื ที่นาจนเกอื บไม่เหลือพืน้ ทแี่ ปลงนาได้

โครงการพัฒนาพน้ื ที่ต้นแบบการพฒั นาคุณภาพชวี ิตตามหลักทฤษฎีใหมป่ ระยุกตส์ ู่
“โคก หนอง นา โมเดล” อาเภอแวงใหญ่

ข้อพึงระวงั การขุดดนิ ทผ่ี ดิ ไปจากแบบแปลนแมว้ ่าจะสวยงาม แต่จะทาใหเ้ สยี เวลา
และคา่ ใชจ้ า่ ยของผู้รบั จา้ ง

โครงการพัฒนาพนื้ ทตี่ น้ แบบการพัฒนาคุณภาพชวี ิตตามหลกั ทฤษฎใี หม่ประยุกตส์ ู่
“โคก หนอง นา โมเดล” อาเภอแวงใหญ่

การตรวจสอบงานรว่ มกบั ชา่ งควบคมุ งาน
โดยใช้กลอ้ งระดับ และกลอ้ ง TOTAL STATION

ระเบียบ กฎหมายทเี่ กยี่ วขอ้ ง

พรบ.การขุดดนิ และถมดนิ พ.ศ.๒๕๔๓
ขอ้ ๑๗ การแจง้ ขออนญุ าต

ระเบยี บ กฎหมายท่เี กี่ยวขอ้ ง
กฎกระทรวง พ.ศ.๒๕๔๖ กาหนดค่าธรรมเนียมในการขดุ ดนิ ๕๐๐ บาท

ระเบยี บ กฎหมายทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง

กฎกระทรวง กาหนดมาตรการปอ้ งกนั การพังทลายของดินและส่งิ ปลกู สรา้ งในการขุดดนิ หรือถมดิน
พ.ศ.๒๕๔๘

ข้อ ๔ กาหนดใหว้ ศิ วกรโยธา ระดับสามัญเปน็ ผ้รู บั รอง
ขอ้ ๗ กรณีปากบอ่ ดินหา่ งแนวเขตทดี่ นิ ขา้ งเคียงไมถ่ ึง ๒ เทา่ ของความลกึ ตอ้ งจัดการป้องกันการ

พังทลายของดิน โดยวศิ วกรโยธา ระดับภาคีวิศวกรหรอื ภาคีพิเศษข้นึ ไป

ระเบียบ กฎหมายที่เกย่ี วข้อง

กฎกระทรวง กาหนดคณุ สมบตั ิของผ้คู วบคุมงานในการขดุ ดิน ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการขดุ ดนิ และถมดนิ
พ.ศ.๒๕๔๖

กาหนดใหว้ ศิ วกรโยธา ผไู้ ด้รบั ใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี วศิ วกรรมควบคมุ เปน็ ผคู้ วบคุมงาน
(แสดงวา่ ตอ้ งเปน็ ระดบั ภาควี ิศวกร หรอื ภาควี ศิ วกรพิเศษขึ้นไปกไ็ ด้)

ระเบยี บ กฎหมายทีเ่ กย่ี วข้อง

ระเบยี บกระทรวงการคลงั วา่ ดว้ ยการจดั ซอื้ จดั จ้างและการบรหิ ารพัสดภุ าครฐั พ.ศ.๒๕๖๐
ขอ้ ๑๗๘ หนา้ ท่ีของผูค้ วบคมุ งาน

ขอ้ สงั่ การของกรมการพัฒนาชมุ ชนเกย่ี วกับแบบแปลน และการเบกิ จา่ ยเงิน

ข้อสง่ั การการใช้แบบแปลน การจดั ทาแบบแปลน การเบิกจา่ ยเงนิ โครงการฯ
นายปลวัชร วรรณจงคา
พัฒนาการอาเภอแวงใหญ่

ทีปรึกษา นายสทุ ธิพงษ์ จลุ เจริญ อธิบดกี รมการพัฒนาชมุ ชน
ผจู้ ดั ทา รศ.วรวรรณ โรจนไพบูลย์ ทปี่ รกึ ษากรมการพัฒนาชมุ ชน
นายจาเรญิ แหวนเพ็ชร พัฒนาการจงั หวดั ขอนแก่น

นายปลวัชร วรรณจงคา พฒั นาการอาเภอแวงใหญ่ จังหวดั ขอนแกน่
ประกาศนียบัตรวชิ าชพี เทคนคิ : เทคนคิ วศิ วกรรมสารวจ

: วทิ ยาลยั เทคนคิ ขอนแกน่
ปรญิ ญาตรี : การจัดการทว่ั ไป (การบริหารทรพั ยากรมนุษย์)

: สถาบนั ราชภฎั มหาสารคาม
ปรญิ ญาโท : รฐั ประศาสนศาสตรมหาบณั ฑติ (การปกครองท้องถ่นิ )

: มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่


Click to View FlipBook Version