The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ชาลินี เจริญฉาย, 2019-11-13 22:35:12

ลูกเสือ ป.2

ลูกเสือ ป.2

เกม

ถา้ .....จะ
วิธีเล่น

ใหล้ ูกเสอื แต่ละหมู่ ร่วมกนั คดิ หาคําประโยคทมี่ ีคาํ ว่า “ ถา้ .... จะ .... ”
เช่น ถา้ ทุกคนบินได้ จะเกดิ อะไรข้ึน

หม่ใู ดคิดได้กอ่ นใหย้ กมอื ขนึ้ แลว้ ต้ังประโยค “ถ้า.... จะ ...” แต่ละหม่ปู ระโยคต้องไมซ่ า้ํ กัน
กตกิ า หมู่ใดคดิ ช้าและถกู หมอู่ ื่นแซงไปกอ่ นถอื วา่ แพ้คดั ออก

ใบความรู้

ขน้ั ตอนการควบคมุ อารมณโ์ กรธ

ในแต่ละคนขณะท่ีคนเราจะมีอารมณ์ได้แบบเดียว ดังนั้นถ้าเรานําอารมณ์ที่สงบมาแทนที่
อารมณ์โกรธได้ ความโกรธกจ็ ะเบาบางลง

ข้นั ตอนการควบคมุ อารมณโ์ กรธ มี 2 ขนั้ ตอน คอื
ข้ันตอนที่ 1 ตงั้ สตแิ ละควบคมุ อารมณโ์ กรธ วิธที ีท่ ําได้งา่ ย ได้แก่

1.1 หายใจเขา้ ออกยาว ๆ มวี ธิ ฝี กึ ดงั นี้
1) สูดลมหายใจเขา้ ลกึ ๆ ช้า ๆ พรอ้ มกบั นับ 1 – 2 - 3 – 4 ในใจ
2) กล้นั หายใจ 1 วนิ าที
3) ค่อย ๆหายใจออกยาว ๆ ชา้ ๆ พรอ้ มกบั นบั 1 – 2 - 3 – 4 ในใจ

1.2 นับเลขเบรคอารมณ์ โดยนบั เลขในใจช้า ๆ 1.....2......3.......4......5.....6.........
1.3 น่งั ตัวตรง หลบั ตา หายใจเขา้ ทางจมูก หายใจออกทางปากอย่างชา้ ๆ
ขัน้ ตอนที่ 2 บอกความรู้สกึ และความต้องการด้วยท่าทีสงบ ไม่ก้าวร้าว เช่น กรณีโกรธ
เพราะถกู เพื่อนแกล้ง

- เราไม่สนุกด้วยเลย เลกิ แกลง้ เราได้ไหม
- เราไม่ชอบการเล่นแรง ๆ แบบนี้ เราไมเ่ ล่นแลว้ นะ (แล้วเดนิ ออกจากเหตุการณ)์

92100 คู่มคือสู่ม่งือเสสร่งมิ เสแลระมิ พแฒั ลนะพากฒั ิจกนรารกมจิลกกู เรสรือมทลักูกษเะสชือีวทติ ใกั นษสะถชานีวศติ ึกใษนาสถปาระนเศภทกึ ลษกู าเสลือกู สเำ�สรอืองสาหรลอกั งสูตชรดนั้ วปงรดะาถวทม่ี ศ2กึ ษาปีที่ 2
ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 2

เรอื่ งสั้นทเี่ ปน็ ประโยชน์ สุนัขจง้ิ จอกกบั อกี า

สนุ ัขจง้ิ จอกตวั หน่ึง เหน็ อกี าคาบชน้ิ เนือ้ อย่บู นตน้ ไม้ มนั ตอ้ งการเนอื้ ชนิ้ นน้ั เจ้าสุนขั จง้ิ จอกท่ี

ฉลาดแกมโกง จงึ กล่าวยกยออกี า ว่า "เจ้าช่างสวยอะไรเชน่ นี้ จะดูขนก็สวยงามกว่าใครๆข้ายังไม่เคย
พบใครขนสวยอยา่ งน้มี าก่อนเลย รปู ร่างกร็ ะหง สวยสง่า นํ้าเสียงหรอื ก็จะแสนไพเราะจับใจ " อีกาดี
ใจที่ไดฟ้ ังคาํ พดู ยกยอดังน้ันจงึ กระโดดไปมาดว้ ยความตน่ื เตน้ บนกงิ่ ไม้และต้องการพิสูจน์ตัวเองว่ามี
เสยี งไพเราะจริงหรือไม่จึงอ้าปากส่งเสียงร้องเพลง ทันใดน้ันช้ินเน้ือก็ตกลงมาท่ีพ้ืน สุนัขจิ้งจอกจึง
ตรงเข้าตะครุบและขยาํ้ กินทันทดี ว้ ยความปลาบปลมื้ กับ สมองอันชาญฉลาดของมนั

เร่อื งนี้สอนใหร้ วู้ ่า ในโลกน้ีมีนอ้ ยคนนกั ทไี่ ม่สามารถเอาชนะการประจบยกยอได้

แตนกบั รังผึ้ง

แตนฝูงหนง่ึ กับผงึ้ ฝงู หนึง่ กาํ ลงั ทะเลาะกันอ้ืออึงวา่ ใครเปน็ เป็นเจ้าของรังผ้ึงรังหน่ึงที่อยู่บน
ก่ิงไม้ใหญ่ต่อตัวหน่ึงบินผ่านมาพอดีจึงถูกเชิญให้เข้ามาตัดสิน ตัวต่อถามผ้ึง ๆ ก็บอกว่ามันน่าจะ

เป็นเจ้าของมากกวา่ พอถามแตน ๆ กว็ ่า นา่ จะเป็นพวกมันต่างหาก ถกเถียงกันอยู่หลายวันก็หา
ขอ้ ยุติไม่ได้ ในทส่ี ดุ ตวั ต่อกใ็ หห้ าผู้ร้เู หน็ มาเปน็ พยาน เรม่ิ ทฝ่ี ูงมด แล้วก็ปลวก แลว้ กผ็ ีเสื้อ ผงึ้ เจ้า
ปัญญาตัวหน่ึงอดรนทนไม่ไหวจึงพูดข้ึนว่า “เอาอย่างนี้ไม่ดีกว่าหรือ ก่อนท่ีเราจะถกเถียงกัน
จนกระท่ังนํ้าผ้ึงเน่าเสียไปหมด ให้พวกเราทํารังของมันและพวกแตนก็ทํารังของมัน จะได้เห็นเสีย
ท่ีวา่ ใครกนั ที่ทาํ รังไดเ้ หมือนอยา่ งนี้”

พวกแตนบน่ พมึ วา่ แบบนพ้ี วกตนเหน็ จะไม่ไหวแลว้ จงึ พากนั หนไี ป ดงั นนั้ ตัวต่อจึงตัดสิน
ว่าผงึ้ ควรทจ่ี ะเป็นเจ้าของรงั ผ้ึงน้ัน

เรื่องนสี้ อนใหร้ ้วู ่า ผลงานยอ่ มช้ีคณุ คา่ ของผทู้ ก่ี ระทํา

คูม่ อื ส่งเสรมิ และพัฒนากิจกรรมลกู เสอื ทกั ษะชวี ิตในสถานศึกษา ลกู เสอื สารอง ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 2 101
คู่มอื สง่ เสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสือทักษะชวี ติ ในสถานศึกษา ประเภทลกู เสอื สำ�รอง หลักสตู รดวงดาวที่ 2
ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 93

แผนการจัดกิจกรรมลูกเสือสารอง ดาวดวงที่ 2 ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 2
หนว่ ยท่ี 13 คาปฏิญาณและกฎของลกู เสอื สารอง

แผนการจัดกจิ กรรมที่ 25 กาจัดยงุ ลาย เวลา 1 ชัว่ โมง

1. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1.1 ลกู เสอื อธบิ ายความสําคญั ในการทาํ ประโยชนต์ อ่ ส่วนรวม
1.2 ลูกเสือสามารถสํารวจแหล่งเพาะพันธ์ยุ งุ ลายและกาํ จดั ได้

2. เน้ือหา
สาํ รวจและกาํ จัดแหลง่ เพาะพนั ธยุ์ ุงลาย

3. ส่อื การเรียนรู้
3.1 แผนภูมเิ พลง
3.2 ทรายอะเบท ถุงมือ/ถงุ พลาสตกิ
3.3 เรื่องสนั้ ท่ีเปน็ ประโยชน์

4. กจิ กรรม
4.1 พธิ ีเปิดประชุมกอง (แกรนด์ฮาวล์ ชกั ธงขน้ึ สวดมนต์ สงบนิง่ ตรวจ แยก)
4.2 เพลงหรอื เกม
4.3 กจิ กรรมตามจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1) ผ้กู ํากับลกู เสอื นําลกู เสือสาํ รวจแหลง่ เพาะพันธยุ์ งุ ลายในบริเวณโรงเรยี น และทาํ ใบ

งานการสํารวจแหล่งเพาะพนั ธ์ุยงุ ลาย
2) กองลูกเสือรว่ มกนั กาํ จัดลกู น้าํ ยงุ ลายและแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย โดยการควา่ํ กะลานา้ํ

ขงั การใชท้ รายอะเบท
3) กองลูกเสอื วางแผนใหค้ วามรกู้ ับเพื่อน ๆ น้อง ๆ และบุคคลอ่นื เกยี่ วกบั การปอฺ งกนั โรค

ไข้เลอื ดออกโดยวิธกี ารตา่ ง ๆ เชน่ เสียงตามสาย ติดปฺายประกาศข่าว เดินรณรงค์ในชมุ ชน และการ
เฝาฺ ระวังตลอดปกี ารศึกษา เพอ่ื ดําเนินการต่อไป

4.4 ผกู้ าํ กับลกู เสือเลา่ เร่ืองสน้ั ท่ีเปน็ ประโยชน์
4.5 พธิ ปี ดิ ประชุมกอง (นดั หมาย ตรวจเครื่องแบบ แกรนดฮ์ าวล์ ชกั ธงลง เลกิ )

5. การประเมินผล
สงั เกตการทํางาน ความสามคั คี

94102 คู่มคอื สู่มง่ อื เสสรง่ มิ เสแลระิมพแัฒลนะพากฒั ิจกนรารกมจิลกกู เรสรือมทลักกูษเะสชอื วี ทิตใักนษสะถชานวี ศิตกึใษนาสถปาระนเศภทึกลษกู าเสลอื กู สเ�ำ สรือองสาหรลอักงสตู ชรดน้ั วปงรดะาถวทม่ี ศ2กึ ษาปีท่ี 2
ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2

เพลง ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกิจกรรมท่ี 25

ฉันเกลียดยุง เผลอหนอ่ ยกัดเราทกุ ที
ฉนั เกลียด เกลยี ดยุงส้นิ ดี

ขาแขง้ จาํ้ แดงแล้วสิ ดซู ิ ดูซิ บินมากนั ใหญ่

บนิ มา บินมา บนิ มา บนิ ถลา ใกล้ไกล

ไล่ไป บนิ มา ไลไ่ ป บินมา แหม! ช่างน่าราํ คาญ

เร่อื งส้นั ทเี่ ปน็ ประโยชน์

งกู ับตะไบเหล็ก

งตู ัวหน่งึ เลอ้ื ยเขา้ ไปในโรงงานของช่างเหล็กได้พบกับตะไบเหล็กเข้ามันคิดว่าเป็นส่ิงแปลก
ประหลาดมันจึงเร่ิมลองเลียตะไบเหล็กน้ัน ย่ิงเลียมากเท่าไรเลือดก็ออกมาจากล้ินของมันมากขึ้น
เทา่ น้นั มันเชอื่ อย่างโง่เขลาว่ามนั สามารถทําให้ตะไบเหลก็ เลือดออกไดแ้ ละคดิ ว่ามนั ไดเ้ ปรียบแล้วมนั
ก็เลียต่อไปอีกเรื่อย ๆ จนมันไม่สามารถทําต่อได้อีกแล้ว มันจึงกัดตะไบเหล็ก แต่ตะไบเหล็กกลับ
แข็งแรงเกินกว่าฟนั ของมนั จะทําอะไรได้ ไมช่ ้ามนั จึงเลกิ ลม้ ความตง้ั ใจและเลื้อยจากไป

เรอ่ื งน้สี อนให้รู้ว่า การทําร้ายผู้อน่ื ด้วยความโกรธ เปน็ ความบา้ ระหาํ่ และเป็นผลร้ายตอ่ ผู้กระทาํ
อย่างมาก

ค่มู ือสง่ เสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสือทักษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสอื สารอง ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 103
คู่มือส่งเสรมิ และพัฒนากิจกรรมลกู เสือทกั ษะชีวติ ในสถานศึกษา ประเภทลกู เสือสำ�รอง หลักสตู รดวงดาวท่ี 2
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 95

แผนการจัดกจิ กรรมลูกเสอื สารอง ดาวดวงที่ 2 ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 2

หนว่ ยที่ 13 คาปฏญิ าณและกฎของลกู เสือสารอง เวลา 2 ชว่ั โมง
แผนการจัดกจิ กรรมที่ 26 โรงเรยี นของฉัน

1. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
ลูกเสือสามารถอธบิ ายความสาํ คญั และวธิ ีการดแู ลรักษาสาธารณสมบัตใิ นโรงเรียน

2. เน้อื หา
2.1 ลูกเสือสาํ รวจโตะ๊ เกา้ อ้ีและฝาผนังในหอ้ งเรยี นของตนเองท่มี รี อยขดี ข่วน รอยปากกาแล้ว

วางแผนชว่ ยกนั ทาํ ความสะอาด
2.2 การรณรงคป์ ระชาสมั พนั ธใ์ หท้ ุกห้องเรยี นใช้โตะ๊ เกา้ อ้ีดว้ ยความระมดั ระวงั ไมท่ าํ สกปรก

เลอะเทอะเวลาชาํ รดุ หักพังต้องแจง้ ครูหรือนักการภารโรงทนั ที
2.3 การทําความสะอาดโต๊ะ เกา้ อ้ี พน้ื และฝาผนงั ในหอ้ งเรียน

3. สอ่ื การเรยี นรู้
3.1 แผนภูมิเพลง
3.2 แบบฟอรม์ การบนั ทกึ ขอ้ มลู การสํารวจ อุปกรณก์ ารทําความสะอาด
3.3 เรื่องส้ันทีเ่ ปน็ ประโยชน์

4. กิจกรรม
4.1 กจิ กรรมครั้งท่ี 1

1) พธิ ีเปิดประชุมกอง (แกรนดฮ์ าวล์ ชกั ธงขน้ึ สวดมนต์ สงบนง่ิ ตรวจ แยก)

2) เพลงหรอื เกม
3) กจิ กรรมตามจดุ ประสงค์การเรยี นรู้

(1) ให้ลกู เสอื แต่ละหมสู่ าํ รวจ โต๊ะ เกา้ อ้ี พนื้ และผนงั ในห้องเรยี นของตนเองที่มรี อย
ขีดขว่ น รอยปากกา เขียนลงแบบฟอร์มการบันทึกข้อมลู สํารวจ และนาํ มารายงานในกองลูกเสอื

(2) ผูก้ ํากบั ลูกเสอื นําสนทนาถงึ ความรู้สึกของลูกเสือในส่ิงทีไ่ ด้พบเห็นจากการสํารวจ
และแนะนาํ วธิ กี ารทําความสะอาดบางวธิ ี เชน่ การทําความสะอาดคราบสเี มจิ

(3) รว่ มกนั วางแผนทาํ ความสะอาดสิ่งทีส่ ํารวจของแตล่ ะหมู่ และมอบหมายให้ลูกเสือ
จัดเตรียมอุปกรณ์ทาํ ความสะอาดมาทาํ ความสะอาดในคาบตอ่ ไป

4) ผกู้ ํากบั ลูกเสือเล่าเรือ่ งส้ันทเ่ี ปน็ ประโยชน์
5) พธิ ปี ดิ ประชมุ กอง (นดั หมาย ตรวจเครื่องแบบ แกรนด์ฮาวล์ ชักธงลง เลกิ )

96104 คู่มคือสมู่ ง่ อื เสสรง่ ิมเสแลระิมพแฒั ลนะพากฒั จิ กนรารกมจิลกกู เรสรือมทลักกูษเะสชอื วี ทติ ใกั นษสะถชานีวศติ ึกใษนาสถปาระนเศภทึกลษูกาเสลือกู สเ�ำ สรอืองสาหรลอกั งสตู ชรดั้นวปงรดะาถวทมี่ ศ2กึ ษาปีที่ 2
ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 2

4.2 กิจกรรมคร้ังที่ 2
1) พิธีเปดิ ประชุมกอง (แกรนด์ฮาวล์ ชกั ธงขึน้ สวดมนต์ สงบน่ิง ตรวจ แยก)
2) เพลงหรอื เกม
3) กจิ กรรมตามจดุ ประสงค์การเรยี นรู้
(1) ลกู เสือแต่ละหมู่ทําความสะอาดโต๊ะ เก้าอี้ พืน้ และผนงั ในห้องเรียน ตามท่ีได้วางแผนไว้
(2) ผกู้ าํ กับลกู เสอื ถามความรสู้ ึกของลูกเสอื ท่ีชว่ ยกันทาํ ใหห้ อ้ งเรยี นสะอาดสวยงาม
(3) ลูกเสอื ร่วมกันวางแผนรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ทุกห้องเรียนใช้โต๊ะ เก้าอี้ พื้นและ

ผนังในห้องเรียนด้วยความระมัดระวังไม่ทําสกปรกเลอะเทอะและเม่ือพบเห็นของชํารุดหักพังควร
แจ้งครูหรือนักการภารโรง ทันที เช่น การเขียนข้อความ เขียนแผ่นป้าย คาขวัญ เชิญชวนให้รักษา
ความสะอาดติดในบริเวณโรงเรียนทเี่ หมาะสม ถา้ เวลาไมพ่ อ อาจใหม้ าตดิ ป้ายในวันถัดไปได้

4) ผกู้ ํากบั ลกู เสือเลา่ เร่อื งสั้นท่เี ปน็ ประโยชน์
5) พิธปี ิดประชุมกอง (นดั หมาย ตรวจเครอ่ื งแบบ แกรนด์ฮาวล์ ชักธงลง เลกิ )

5. การประเมนิ ผล
5.1 สังเกตความร่วมมอื ในการปฏิบัตกิ จิ กรรม
5.2 สังเกตการอธบิ ายความรู้สกึ และความเชอื่ ของลูกเสอื

6. องคป์ ระกอบทกั ษะชีวติ สาคญั ท่ีเกิดจากกจิ กรรม
คือ การคดิ วิเคราะห์ ความคิดสรา้ งสรรค์ ความรบั ผดิ ชอบต่อสังคม และทกั ษะการสอื่ สาร

เพลง ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกจิ กรรมท่ี 26

ในหมู่ลกู เสอื ในหมู่ลกู เสอื เม่ือเรามารว่ มอยู่

ต่างคนตา่ งรู้ กันดีว่าหนา้ ท่ที กุ อยา่ ง

ต่างชว่ ยกันทาํ ทาํ ไมเ่ ว้นวา่ ง

งานทุกอยา่ ง งานทุกอยา่ ง จะเสรจ็ โดยงา่ ยดาย

เกม

ทาไม อย่างไร

วธิ เี ล่น ให้หม่ลู กู เสือคดิ ตัง้ คาํ ถามทีถ่ ามวา่ “ทําไม” “อย่างไร” “อะไร”
เช่น ก้อนอฐิ ทํามาจากอะไร? , ถา้ เมอื งไทยมีแต่ฤดูหนาวจะเป็นอยา่ งไร? , ทาํ ไมลอ้

รถจงึ กลม?

กติกา หมูล่ ูกเสอื ช่วยกนั คดิ ตง้ั คําถามแปลก ๆ มาใหม้ ากทสี่ ดุ ในเวลา 5 นาที
หมใู่ ดตัง้ คําถามไดม้ ากทีส่ ดุ เหมาะสมที่สุด เปน็ ผู้ชนะ

คูม่ ือสง่ เสรมิ และพัฒนากิจกรรมลกู เสือทกั ษะชีวิตในสถานศกึ ษา ลกู เสือสารอง ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 2 105
คู่มอื ส่งเสริมและพัฒนากจิ กรรมลกู เสอื ทักษะชีวิตในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสือส�ำ รอง หลกั สตู รดวงดาวที่ 2
ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 2 97

เร่ืองสนั้ ท่ีเป็นประโยชน์

แมวกับสนุ ขั จ้ิงจอก
แมวและสุนัขจิ้งจอกเป็นเพื่อนกัน สัตว์ท้ังคู่กําลังเดินทางไกลเพื่อแสวงบุญ เม่ือทั้งคู่เกิด
ความเบอ่ื หน่ายกก็ อดรัดฟัดเหวย่ี ง ขู่คาํ รามเข้าไล่กัดล้อเล่นกัน เม่ือเหน่ือยก็น่ังพักและพูดคุยถึงแผนการ
ในอนาคต ตกกลางคืนทงั้ คู่ก็หลับสบาย เพราะตอนกลางวนั เหน็ดเหนือ่ ยกันมามาก
วันหนึง่ สนุ ขั จงิ้ จอกพดู ขนึ้ วา่ “เธอน่ะฉลาดนกั หรือ แต่ฉันคิดวา่ ฉันฉลาดกว่าเธอเพราะฉัน
มคี วามสามารถมากมายเลย”
แมวตอบว่า “ถึงฉันจะเก่งอยู่เพียงอย่างเดียว แต่ก็คิดว่าความเก่งของฉันมีค่ามากกว่า
ความสามารถเล็ก ๆ นอ้ ย ๆ ของเธอ ตง้ั พันอย่างเสยี อีก”
ทั้งคู่ตรงเข้าต่อสู้กันอีกเพ่ือท่ีจะได้รู้ว่าใครเก่งกว่าใคร ยังไม่ทันไร สุนัขล่าสัตว์ฝูงหนึ่งก็
ห้อมล้อมมันทั้งคู่ไว้
“เอาล่ะ คงจะถึงเวลาแล้วกระมังท่ีจะรู้ว่าใครเก่งกว่าใคร” แมวพูดแล้วก็ปีนขึ้นต้นไม้
“ความสามารถเพยี งอยา่ งเดยี วของฉันก็คอื ฉันปนี ต้นไม้ได้คลอ่ ง”
สนุ ัขจ้งิ จอกได้แต่เดินวนอยู่รอบ ๆ ต้นไม้น้ัน มันมุดเข้าไปในโพรงใต้ต้นไม้ แต่ไม่มีโพรง
ไหนที่ปลอดภัยพอ ฝูงสุนัขล่าสัตว์ บีบวงล้อมแคบเข้ามาทุกที ๆ สุนัขจิ้งจอกจะปีนต้นไม้อย่าง
แมวบา้ งกป็ ีนไมไ่ ด้ มันพยายามกระโจนสงู ๆ เพือ่ ที่จะบินอย่างนกแต่กบ็ นิ ไมได้ ในที่สุดมนั ก็ถูกฝูง
สนุ ัขล่าสัตวร์ ุมกดั ตาย

เร่ืองนส้ี อนใหร้ วู้ ่า อนั ความรู้แม้จะรูก้ ระจ่างเพียงอยา่ งเดยี ว แตใ่ หเ้ ช่ยี วชาญเถิดจะเกิดผล

ชายหวั ลา้ นกับแมลงวนั
ในวันท่แี สนรอ้ นระอวุ นั หนง่ึ ในฤดูรอ้ นมีชายหัวลา้ นคนหนงึ่ นง่ั พักเหน่ือยหลังจากทาํ งานเสร็จ
ไม่นานกม็ แี มลงวนั ตวั หนงึ่ บนิ มาตอมทหี่ วั ลา้ นของเขาและคอยกวนเขาครง้ั แลว้ ครง้ั เล่าชายคนน้เี ลง็
จะตบไปท่ศี ัตรูตวั นอ้ ยของเขาแตแ่ ลว้ ก็พลาด กลับตีโดนศีรษะของตัวเองแทน แมลงวนั ยังบนิ เขา้ มา
กวนเขาอกี แตค่ ราวนี้เขารทู้ นั และกล่าววา่ “เรามีแตจ่ ะทํารา้ ยตวั เองถ้ามัวจดจ่อกับศัตรทู ี่ชัว่ ร้าย”
เร่ืองนส้ี อนใหร้ ู้ว่า อยา่ เสียเวลากบั เรอ่ื งไรส้ าระ

98106 คมู่ คอื สู่ม่งือเสสรง่ ิมเสแลระมิ พแฒั ลนะพากฒั ิจกนรารกมจิลกกู เรสรือมทลักกูษเะสชือีวทิตใักนษสะถชานวี ศติ กึใษนาสถปาระนเศภทกึ ลษูกาเสลอื กู สเ�ำ สรอืองสาหรลอกั งสูตชรด้นั วปงรดะาถวทม่ี ศ2กึ ษาปีท่ี 2
ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 2

แผนการจัดกิจกรรมลูกเสอื สารอง ดาวดวงที่ 2 ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 2

หน่วยที่ 14 ประเมนิ ผล

แผนการจดั กจิ กรรมที่ 27 การประเมนิ ผล เวลา 1 ชัว่ โมง

1. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

1.1 เพอื่ ให้ลกู เสือเขา้ ใจการประเมินผลเพอ่ื การตดั สินผลการผา่ น ไมผ่ า่ นกจิ กรรมได้
1.2 เพื่อใหล้ ูกเสอื เขา้ ใจการประเมินพฤตกิ รรมทักษะชวี ิตท่ลี กู เสอื ได้รับการพัฒนา
1.3 เพ่อื ใหล้ ูกเสือเตรยี มความพร้อมรบั การประเมนิ ตามวธิ กี ารของผู้กํากบั กองลูกเสอื ได้
2. เนื้อหา

2.1 เกณฑก์ ารตดั สินกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียนตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พ.ศ. 2551
2.2 การประเมนิ พฤติกรรมทกั ษะชีวิต

3. สอื่ การเรียนรู้
3.1 Flow Chart การประเมินเพ่ือตดั สนิ ผลการเลอื่ นช้ันของลูกเสอื และจบการศึกษา
3.2 การประเมนิ ทักษะชีวติ ของลูกเสือรายบคุ คลหรอื รายหมูล่ กู เสือ
3.3 ใบความรู้

4. กจิ กรรม
4.1 ผกู้ าํ กับลกู เสอื อธิบายหลกั เกณฑ์ วธิ กี ารประเมนิ ผลการเรยี นรตู้ ามทห่ี ลักสูตรแกนกลาง

การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 กาํ หนดเพอื่ ตดั สนิ การจบการศึกษา
4.2 ผู้กํากบั ลกู เสืออธิบายถงึ พฤติกรรมของลกู เสือท่ีไดร้ บั การเสรมิ สรา้ งทกั ษะชวี ิตผ่าน

กิจกรรมลกู เสือ
4.3 ลูกเสือประเมินความพรอ้ มของตนเองเพอ่ื รบั การประเมินและวางแผนพฒั นาตนเองใน

สว่ นทีไ่ มม่ น่ั ใจ
4.4 ผูก้ าํ กับลกู เสือและลูกเสอื กาํ หนดขอ้ ตกลงรว่ มกันถึงช่วงเวลาการประเมนิ
4.5 ผกู้ าํ กบั ลกู เสือนัดหมายและดาํ เนนิ การประเมนิ

5. การประเมนิ ผล
5.1 สงั เกตจากผลการประเมินตนเองของลกู เสอื

5.2 สงั เกตความม่ันใจและการยืนยนั ความพรอ้ มของลกู เสอื

คู่มือสง่ เสริมและพัฒนากิจกรรมลกู เสอื ทักษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสือสารอง ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 2 107
คมู่ อื ส่งเสริมและพฒั นากิจกรรมลกู เสอื ทักษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสอื ส�ำ รอง หลกั สตู รดวงดาวท่ี 2
ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 2 99

ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกิจกรรมท่ี 27
1. การประเมนิ ผลตามเกณฑ์ของหลักสตู รการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551

ผังกระบวนการประเมนิ ผลลูกเสอื (Flow Chart)

ลูกเสอื เรียนร้จู ากกิจกรรม เกณฑ์การประเมนิ
ลกู เสอื เสรมิ สรา้ งทกั ษะชวี ติ 1. เวลาเข้าร่วมกิจกรรม
2. การปฏิบตั กิ จิ กรรม
ผู้กากบั ประเมนิ ผลเรียนของ 3. ผลงาน / ชน้ิ งาน
ลูกเสอื ท่รี ่วมกจิ กรรม 4. พฤตกิ รรม/คณุ ลักษณะ
ของลกู เสือ
ผลการประเมิน
ผา่ น ไม่ผา่ น - ซ่อมเสรมิ
- พฒั นาซ้า
ตัดสนิ ผลการเรยี นรูผ้ ่านเกณฑ์
ผ่าน

รบั เคร่ืองหมายชั้นลกู เสอื
ตามประเภทลกู เสอื

110008 คค่มู ู่มอื อืส่งสเ่งสเรสมิ รแิมลแะพลัฒะพนฒัากนจิ ากกรริจมกลรูกรเสมือลทกู กั เษสะอื ชทีวกัติ ษในะสชถีวาิตนใศนึกสษถา าปนรศะเึกภษทลาูกลเสกู ือเสสำ�ือรสอางรหอลงกั สชูต้ันรดปวรงะดถามวทศ่ีึก2ษาปที ี่ 2
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 2

แบบประเมินตนเองของลกู เสือ

ชือ่ ..........................................................ประเภทลูกเสอื ...........................ช้ัน................................

เกณฑท์ ่ี การประเมินตนเอง ข้อคดิ เห็น
ท่ี รายการท่ีรบั การประเมนิ สถานศกึ ษา ครบ/ ไมค่ รบ/ การพฒั นา
กาหนด ผ่าน ไม่ผา่ น

1 1. เขา้ รว่ มกจิ กรรมลกู เสือ

1.1 รว่ มกิจกรรมการฝึกอบรม 30 ชัว่ โมง/ ปี

1.2 รว่ มกิจกรรมวันสาํ คัญอย่างน้อย

5 คร้ัง/ปเี ช่น

- วันคล้ายวันสถาปนาคณะ

ลูกเสือแห่งชาติ

- วนั คลา้ ยวนั สวรรคต ร.6

- วนั ชาติ
- วันแมแ่ ห่งชาติ

- วันตอ่ ต้านยาเสพตดิ โลก

- กิจกรรมบําเพ็ญประโยชนอ์ ื่นๆ

- กิจกรรมวัฒนธรรม/ ประเพณี

-..........................................

-..........................................

1.3 เดินทางไกล/ อยคู่ ่ายพักแรม

2 2. มีผลงาน/ ชน้ิ งานจากการเรยี นรู้ 1 รายการ/ ปี
กิจกรรมลกู เสือ 1 รายการ/ ปี
ุ.2.1 ผลงานการบริการ 1 รายการ/ ปี
2.2 ชน้ิ งาน/ งานท่คี ดิ สร้างสรรค์
2.3 อ่ืนๆ เชน่ รายงานฯ

3 3. มคี วามพรอ้ มเข้ารบั การทดสอบเพ่ือ
รับเครอ่ื งหมายวิชาพิเศษตามประเภท
ของลูกเสอื
ุ.3.1.............................................
3.2.............................................
3.3.............................................
3.4.............................................

ผ่านและพรอ้ ม

คู่มอื ส่งเสรมิ และพฒั นากิจกรรมลกู เสอื ทักษะชวี ิตในสถานศึกษา ลกู เสือสารอง ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 2 109
คมู่ ือส่งเสรมิ และพฒั นากิจกรรมลูกเสือทกั ษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสือส�ำ รอง หลักสูตรดวงดาวที่ 2
ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 2 101

สรปุ  ฉนั มนั่ ใจวา่ ผา่ น  ฉนั มคี วามพรอ้ มให้ประเมิน  ฉันยงั ไม่
พรอ้ ม

สรุปผลการประเมินตนเอง

1. กรณลี ูกเสอื สาํ รอง (ใหเ้ ลอื กภาพต่อไปนแ้ี ทนการยนื ยันการประเมนิ ตนเอง)


มั่นใจมากทไ่ี ด้รับ พรอ้ มแล้ว ไมแ่ นใ่ จ ต้องขอความ งุนงง
ไมเ่ ขา้ ใจ
เคร่อื งหมาย ชว่ ยเหลอื จาก
วิชาพิเศษ ผ้กู ํากบั

2. กรณลี กู เสอื สามัญ-สามญั รุ่นใหญ่

มน่ั ใจมาก พรอ้ มรบั การประเมนิ เคร่อื งหมายวชิ าพเิ ศษ
พร้อมรับการประเมนิ
ยังต้องพฒั นา/ ซ่อมเสรมิ บางเรอ่ื ง
ต้องการความชว่ ยเหลือจากผกู้ าํ กับลกู เสอื

110120 คค่มู ูม่ อื อืสง่สเ่งสเรสมิ รแมิ ลแะพลฒัะพนฒัากนิจากกรริจมกลรกู รเสมือลทูกกั เษสะือชทวี กัิตษในะสชถีวาิตนใศนกึ สษถา าปนรศะเกึภษทลากู ลเสกู อื เสสำ�อื รสอางรหอลงกั สชตู ั้นรดปวรงะดถามวทศี่ึก2ษาปีท่ี 2
ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 2

แบบประเมนิ พฤตกิ รรมทกั ษะชีวิตของลกู เสอื สาหรบั ผกู้ ากบั ลูกเสือ
คาชีแ้ จง ให้ผูต้ อบทําแบบประเมนิ ทกุ ข้อโดยแต่ละขอ้ ให้ทาํ เครอื่ งหมาย/ ลงในชอ่ งทีต่ รงกับความเป็น
จรงิ
2.1 พฤตกิ รรมลูกเสอื สารองท่ีคาดหวัง

รายการประเมนิ ใช่ ไมใ่ ช่

1. ลกู เสือมีทกั ษะในการสังเกตและจดจาํ
2. ลกู เสือสามารถพง่ึ ตนเองและดูแลตนเองได้
3. ลกู เสอื สํารองปฏิบตั กิ จิ กรรมบาํ เพ็ญประโยชนร์ ักษาสิง่ แวดลอ้ ม
และอนุรกั ษท์ รัพยากรธรรมชาติ
4. ลกู เสอื ไม่มีปญั หาทันตสขุ ภาพและไม่เจบ็ ปวู ยดว้ ยโรคติดต่อ
ตามฤดกู าล
5. ลูกเสอื รจู้ กั รกั ษาสุขภาพและปฏเิ สธส่งิ เสพตดิ
6. ลูกเสือรจู้ กั แก้ปญั หาเฉพาะหน้าหรอื ใหก้ ารช่วยเหลือ/ แจ้งเหตเุ มอื่ ประสบเหตุ
วิกฤต
7. ลกู เสอื มีสว่ นสงู และน้าํ หนกั ตามเกณฑม์ าตรฐาน
8. ลูกเสือมที กั ษะในการสอ่ื สารได้ถกู กาลเทศะและไมก่ ้าวรา้ วรุนแรง

สรุปแบบการประเมนิ ตนเอง

  

ฉนั มที กั ษะชวี ิต ฉนั จะมที กั ษะชวี ติ ฉนั ต้องพฒั นาตนเองอกี มาก
ถ้าแก้ไขปรบั ปรุงพฤตกิ รรม

ค่มู อื ส่งเสรมิ และพฒั นากิจกรรมลกู เสือทกั ษะชีวิตในสถานศกึ ษา ลกู เสอื สารอง ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 2 111
คูม่ ือสง่ เสริมและพัฒนากจิ กรรมลูกเสอื ทักษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสอื สำ�รอง หลักสตู รดวงดาวที่ 2
ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 103

ใบความรู้

การประเมินกจิ กรรมลกู เสือ

1.การประเมินผลการเรียนรตู้ ามแนวทางหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน 2551
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน กาํ หนดให้กิจกรรมลูกเสือเป็นกิจกรรมท่ีมุ่งปลูกฝัง

ระเบียบวินัยและกฎเกณฑ์เพ่ือการอยู่ร่วมกัน รู้จักการเสียสละ บําเพ็ญประโยชน์แก่สังคมและ
ดําเนินวถิ ีชีวิตในระบอบประชาธปิ ไตย ตลอดจนมีทกั ษะชวี ิตเป็นภูมคิ ุม้ กนั ปญั หาสังคมตามชว่ งวยั ของ
ลูกเสอื

การจัดกิจกรรมลูกเสือยังต้องเป็นไปตามข้อบังคับของสํานักงานลูกเสือแห่งชาติและ
สอดคล้องกับหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐานอกี ด้วย

แนวทางการประเมนิ ผลกิจกรรมลกู เสอื
กิจกรรมลกู เสือเป็นกิจกรรมนักเรียนท่ลี กู เสอื ทกุ คนตอ้ งเขา้ รว่ มกิจกรรมลูกเสือ 40 ชั่วโมง
ต่อปีการศึกษาในระดับประถมศึกษาและมัธยมศกึ ษา
การประเมนิ การจดั กิจกรรมลกู เสอื ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐานมีประเด็น/สิ่ง
ท่ตี อ้ งประเมนิ ดงั น้ี
1. เวลาในการเขา้ รว่ มกจิ กรรม ผ้เู รียนตอ้ งมเี วลาเข้ารว่ มกจิ กรรมตามทส่ี ถานศกึ ษากาํ หนด
2. การเรยี นร้ผู ่านกิจกรรมหรอื การปฏิบัติกิจกรรมอยา่ งตอ่ เนื่อง มุ่งเน้นการพัฒนาศักยภาพ
ของตนและการทํางานกลุ่ม
3. ผลงาน / ช้นิ งาน / พฤติกรรม / คุณลักษณะของผู้เรียน ที่ปรากฏจากการเรียนรู้หรือการ
เปลยี่ นแปลงตนเอง

101412 ค่มู คือส่มู ง่ อื เสสรง่ มิ เสแลระิมพแัฒลนะพากัฒิจกนรารกมจิลกูกเรสรือมทลกั กูษเะสชอื ีวทติ ใกั นษสะถชานวี ศติ กึใษนาสถปาระนเศภทกึ ลษกู าเสลือกู สเ�ำ สรือองสาหรลอักงสูตชรด้นั วปงรดะาถวทม่ี ศ2ึกษาปีที่ 2
ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 2

แนวทางการประเมนิ ผลการเรยี นรกู้ ิจกรรมลูกเสือ

แผนการจัดกจิ กรรมลกู เสอื

จัดกจิ กรรมลกู เสือ เกณฑก์ ารประเมิน
ตามคมู่ อื การจัดกิจการลกู เสือท่ี 1. เวลาเข้าร่วมกิจกรรม
2. การปฏบิ ตั กิ จิ กรรม
เสรมิ สรา้ งทกั ษะชีวิต 3. ผลงาน / ชน้ิ งาน
4. พฤติกรรม/คณุ ลักษณะ
ประเมนิ ผลการเรียนรู้ ของลกู เสอื

ผลการประเมิน ไม่ผา่ น
ผ่าน ซ่อมเสรมิ

สรุปผลการประเมนิ / ผา่ น
ตดั สินผลการเรยี นรู้

รายงาน / สารสนเทศ

จดั พิธีประดับเครอ่ื งหมายลกู เสือ
ตามประเภทลกู เสอื

คู่มือส่งเสริมและพัฒนากจิ กรรมลูกเสือทกั ษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสอื สารอง ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 2 113
คู่มอื ส่งเสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลูกเสือทักษะชีวิตในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสอื ส�ำ รอง หลักสูตรดวงดาวท่ี 2
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 2 105

การประเมินกจิ กรรมลกู เสือ มี 2 แนวทาง คือ
1. การประเมนิ กจิ กรรมลกู เสอื รายกจิ กรรมมีแนวปฏิบัตดิ งั นี้
1.1 ตรวจสอบเวลาเข้าร่วมกิจกรรมของลูกเสือให้เป็นไปตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษา

กาํ หนด
1.2 ประเมินกิจกรรมการเรียนรู้จากการปฏิบัติกิจกรรมและผลงาน / ชิ้นงาน /

คณุ ลักษณะของผู้เรยี นตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากาํ หนดด้วยวิธีการที่หลากหลาย เน้นการมีส่วนร่วม
ในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม

1.3 ลกู เสือทีม่ เี วลาการเข้าร่วมกิจกรรม มกี ารปฏบิ ัตกิ ิจกรรมและผลงาน / ชิ้นงาน /
คุณลักษณะตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากําหนดเป็นผู้ผ่านการประเมินรายกิจกรรมและนําผลการ
ประเมินไปบนั ทึกในระเบียนแสดงผลการเรียน

1.4 ลูกเสือท่มี ผี ลการประเมนิ ไม่ผ่านในเกณฑ์เวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติ
กจิ กรรมและผลงาน / ช้นิ งาน / คณุ ลกั ษณะตามทีส่ ถานศึกษากําหนด ผู้กาํ กับลูกเสือต้องดําเนินการ
ซ่อมเสริมและประเมนิ จนผา่ น ทั้งนคี้ วรดาํ เนนิ การให้เสร็จส้นิ ในปกี ารศกึ ษานน้ั ๆ ยกเวน้ มีเหตุสุดวสิ ยั
ให้อยใู่ นดุลพนิ ิจของสถานศกึ ษา

2. การประเมินกจิ กรรมลกู เสือเพอ่ื การตัดสินใจ
การประเมินกิจกรรมลูกเสือเพื่อตัดสินควรได้รับเคร่ืองหมายและเล่ือนระดับทาง

ลูกเสือและจบการศกึ ษาเป็นการประเมินการผ่านกิจกรรมลูกเสือเป็นรายปี / รายภาค / เพ่ือสรุปผล
การผา่ นในแตล่ ะกิจกรรม สรปุ ผลรวมเพอื่ สรปุ ผลการผา่ นในแตล่ ะกจิ กรรม สรปุ ผลรวมเพอื่ เลอื่ นชัน้
ระดับลูกเสือและประมวลผลรวมในปีสุดท้ายเพ่ือการจบแต่ละระดับการศึกษา โดยการดําเนินการ
ดงั กลา่ วมีแนวทางปฏบิ ตั ิ ดงั นี้

2.1 กําหนดให้มีผู้รับผิดชอบในการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการเข้าร่วมกิจกรรม
ลูกเสือของลกู เสือทกุ คนตลอดระดับการศึกษา

2.2 ผู้รับผิดชอบสรุปและตัดสินใจผลการร่วมกิจกรรมลูกเสือของลูกเสือเป็น
รายบุคคล รายหมู่ ตามเกณฑ์ทีส่ ถานศึกษากําหนด

เกณฑก์ ารตัดสิน
1. กําหนดเกณฑ์การประเมินตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานกําหนดไว้ 2

ระดบั คอื ผา่ น และ ไมผ่ ่าน
2. เกณฑก์ ารตัดสินผลการประเมินรายกิจกรรม
ผา่ น หมายถึง ลูกเสอื มเี วลาเขา้ รว่ มกิจกรรมครบตามเกณฑ์ ปฏิบัติกิจกรรมและมีผลงาน

/ ชิ้นงาน / คณุ ลกั ษณะตามเกณฑ์ทีส่ ถานศึกษากําหนด
ไม่ผ่าน หมายถึง ลูกเสือมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมไม่ครบตามเกณฑ์ ไม่ผ่านการปฏิบัติ

กิจกรรมหรือมีผลงาน / ชน้ิ งาน / คุณลกั ษณะไม่เปน็ ไปตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากําหนด
3. เกณฑ์การตดั สนิ ผลการประเมินกิจกรรมลกู เสอื รายปี / รายภาค

101614 คมู่ คือสมู่ ง่ อื เสสรง่ มิ เสแลระิมพแฒั ลนะพากฒั ิจกนรารกมิจลกูกเรสรือมทลักกูษเะสชือวี ทติ ใักนษสะถชานวี ศติ ึกใษนาสถปาระนเศภทกึ ลษูกาเสลอื กู สเำ�สรือองสาหรลอักงสูตชรด้นั วปงรดะาถวทมี่ ศ2ึกษาปีท่ี 2
ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 2

ผ่าน หมายถึง ลูกเสือมีผลการประเมินระดับ “ผ่าน” ในกิจกรรมสําคัญตามหลักสูตร
ลูกเสอื แตล่ ะประเภทกาํ หนด รวมถงึ หลกั สูตรลูกเสือทักษะชีวิต

ไมผ่ า่ น หมายถงึ ลูกเสอื มีผลการประเมนิ ระดับ “ไมผ่ า่ น” ในกิจกรรมสําคญั ที่หลักสูตรลูกเสือ
แตล่ ะประเภทกาํ หนดและลูกเสือทกั ษะชวี ติ

4. เกณฑก์ ารตัดสนิ ผลการประเมินกิจกรรมลูกเสอื เพ่ือจบหลักสูตรลูกเสือแต่ละประเภทเป็น

รายชั้นปี
ผ่าน หมายถึง ลูกเสือมีผลการประเมินระดับ “ผ่าน” ทุกช้ันปีในระดับการศึกษานั้น
ไม่ผา่ น หมายถึง ลกู เสอื มีผลการประเมินระดบั “ไม่ผ่าน” บางชั้นปใี นระดบั การศกึ ษาน้ัน

(หมายเหตุ การประเมินผลอาจเขียนแยกการประเมินผลแต่ละกิจกรรม หรือเขียนรวมในภาพรวม

ของกิจกรรมลกู เสอื กไ็ ด้)
ุุุุุุุุุุุุุุุ

เอกสารอ้างองิ
กระทรวงศึกษาธกิ าร. หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551.กรงุ เทพมหานคร :
โรงพมิ พช์ มุ นุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จาํ กัด. 2551.

2. การประเมนิ พฤติกรรมทกั ษะชีวิตและคุณลกั ษณะทางลูกเสอื
2.1 ความสามารถท่ีคาดหวังให้เกดิ ขนึ้ กบั ลูกเสอื โดยรวม คอื
1) ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์
2) ความสามารถในการคดิ สร้างสรรค์
3) ความสามารถในการเหน็ ใจผู้อ่นื
4) เห็นคณุ ค่าตนเอง

5) รับผดิ ชอบต่อสังคม
6) ความสามารถในการส่ือสารเพอ่ื สร้างสมั พนั ธภาพ
7) ความสามารถในการตดั สนิ ใจ
8) ความสามารถในการจดั การแกไ้ ขปัญหา
9) ความสามารถในการจัดการกบั อารมณ์

10) ความสามารถในการจดั การกับความเครยี ด
2.2 พฤตกิ รรมท่คี าดหวงั ใหเ้ กิดขึ้นกบั ลกู เสือโดยรวม คอื

1) ลูกเสือสํารอง
(1) มที กั ษะในการสังเกตและจดจาํ
(2) พง่ึ ตนเอง ดูแลตนเองได้
(3) รจู้ ักรกั ษาส่ิงแวดล้อม

(4) ไมเ่ จ็บปูวยดว้ ยโรคติดตอ่ ตามฤดูกาล

คูม่ ือสง่ เสรมิ และพัฒนากิจกรรมลกู เสือทักษะชวี ิตในสถานศึกษา ลกู เสอื สารอง ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 2 115
คมู่ ือสง่ เสริมและพฒั นากจิ กรรมลูกเสอื ทักษะชีวิตในสถานศึกษา ประเภทลกู เสือส�ำ รอง หลักสูตรดวงดาวท่ี 2
ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 2 107

(5) ปฏเิ สธส่งิ เสพติดทกุ ชนดิ
(6) พดู จาส่อื สารเชงิ บวก ไมก่ ้าวรา้ วรนุ แรง
(7) แก้ปญั หาเฉพาะหนา้ ได้
(8) ใหค้ วามชว่ ยเหลอื เพื่อนในภาวะวกิ ฤติ
2) ลูกเสอื สามัญ

(1) มที กั ษะในการปฏิบตั กิ ิจกรรมกลางแจ้ง
(2) ร่วมกิจกรรมบําเพญ็ ประโยชนด์ ว้ ยจติ อาสา
(3) พ่งึ ตนเองและช่วยเหลอื ครอบครัว
(4) ไม่ดืม่ นา้ํ อัดลม
(5) ไมร่ บั ประทานขนมหวานและขนมกรบุ กรอบ

(6) ใชเ้ วลาว่างใหเ้ ป็นประโยชน์
(7) ร้จู กั พูดเชิงบวก ไมพ่ ูดก้าวรา้ วรุนแรง
(8) มีความซือ่ สัตย์ ไม่โกหก
(9) รู้จักแกป้ ญั หาดว้ ยสนั ตวิ ธิ ี
(10) มนี ้าํ หนกั ส่วนสงู ตามเกณฑม์ าตรฐาน
3) ลกู เสือสามัญรนุ่ ใหญ่

(1) มีทักษะในการทาํ กจิ กรรมตามความสนใจ
(2) มีจติ อาสาทาํ ประโยชน/์ ไมก่ อ่ ความเดอื ดรอ้ น ใหก้ ับครอบครวั
สถานศึกษา ชมุ ชน สงั คม
(3) ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
(4) รว่ มกิจกรรมสง่ เสรมิ อนรุ กั ษป์ ระเพณี ศลิ ปวฒั นธรรมไทย
(5) มที กั ษะการคิดวิเคราะห์ การยับยั้งไมเ่ ป็นทาสของส่ือโฆษณา

(6) มที ักษะการใช้ประโยชนจ์ าก Internet
(7) มีผลงาน/ โครงการการประหยดั พลงั งาน/ ทรัพยากร
(8) มกี ารออมหรือทําบัญชรี ายรบั รายจา่ ยของตนเองอยา่ งต่อเนื่อง
(9) มที กั ษะการหลกี เลี่ยง ลอดพน้ และไมเ่ กดิ อบุ ตั ิเหตจุ ากการใช้
ยานพาหนะ

(10) ไม่เกยี่ วขอ้ งกับส่งิ เสพตดิ ทกุ ประเภท
4) ลกู เสือวิสามัญ

(1) มผี ลงาน/ โครงการเฉพาะท่ีเป็นประโยชน์ตอ่ ตวั เอง/ สงั คม
(2) มจี ิตอาสาและบริการ
(3) รู้วิธปี ฺองกัน/ และหลีกเล่ียงความเสยี่ งทางเพศ
(4) ใช้เวลากับสอื่ IT อยา่ งเหมาะสม ไม่เกิดความเสียหายตอ่ วิถีชีวิตปกติ

ของตนเอง

101816 คมู่ คอื ส่มู ่งือเสสร่งมิ เสแลระมิ พแฒั ลนะพากัฒิจกนรารกมจิลกูกเรสรือมทลกั กูษเะสชอื ีวทิตใกั นษสะถชานวี ศิตึกใษนาสถปาระนเศภทกึ ลษกู าเสลอื กู สเ�ำ สรือองสาหรลอักงสูตชรด้นั วปงรดะาถวทมี่ ศ2กึ ษาปีที่ 2
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 2

(5) ไมเ่ ก่ียวขอ้ งกับสิง่ เสพติด
(6) มีคา่ นิยมดา้ นสขุ ภาพอยา่ งเหมาะสม ไมเ่ กดิ ผลเสยี ตามมา
(7) มคี ่านิยมดา้ นการรับประทานอาหารทีเ่ หมาะสม ไม่เกดิ ผลเสยี หาย
ตามมา
(8) มคี ่านิยมดา้ นความงามท่ีเหมาะสมไมเ่ กดิ ผลเสยี หายตามมา
(9) ไม่มีพฤตกิ รรมก้าวร้าวและกอ่ เหตรุ ุนแรง

อ้างองิ จาก หวั ขอ้ ในคมู่ ือ Bench Marking

คูม่ อื สง่ เสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสอื ทกั ษะชีวิตในสถานศกึ ษา ลกู เสือสารอง ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 2 117
คมู่ ือสง่ เสรมิ และพฒั นากิจกรรมลูกเสอื ทกั ษะชวี ติ ในสถานศึกษา ประเภทลูกเสอื สำ�รอง หลกั สูตรดวงดาวที่ 2
ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 109

แผนการจดั กิจกรรมลกู เสอื สารอง ดาวดวงท่ี 2 ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 2
หน่วยท่ี 15 พธิ กี าร

แผนการจัดกิจกรรมท่ี 28 พธิ ีประดบั ดาวดวงท่ี 2 เวลา 1 ชั่วโมง

1. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
ลูกเสือไดร้ ว่ มพิธปี ระดับดาวดวงท่ี 2

2. เนือ้ หา
พิธปี ระดับดาวดวงที่ 2

3. สือ่ การเรยี นรู้
3.1 ดาวลูกเสอื สาํ รอง
3.2 ใบความรู้

4. กิจกรรม
4.1ผู้กํากับลูกเสือและลูกเสือสํารองทุกคนพร้อมกันบริเวณท่ีนัดหมาย เช่น สนามโรงเรียน

ห้องประชุมหรอื บริเวณทีเ่ หมาะสม
4.2ผู้กาํ กับลกู เสอื จดั พิธปี ระดบั ดาวดวงท่ี 2
4.3 ผู้กํากับกองลูกเสือแสดงความยินดีกับลูกเสือทุกคนและนัดหมาย เพ่ือร่วมกิจกรรม

ดาวดวงท่ี 3

5. การประเมินผล
สังเกตการรว่ มกจิ กรรมและจาํ นวนลกู เสอื ท่ไี ดป้ ระดบั ดาวดวงที่ 2

111018 คู่มคอื สู่ม่งือเสสร่งิมเสแลระมิ พแฒั ลนะพากัฒิจกนรารกมจิลกกู เรสรอื มทลกั กูษเะสชอื ีวทติ ใักนษสะถชานวี ศิตกึใษนาสถปาระนเศภทึกลษกู าเสลือกู สเำ�สรือองสาหรลอักงสตู ชรดน้ั วปงรดะาถวทม่ี ศ2กึ ษาปที ่ี 2
ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 2

ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กจิ กรรมท่ี 28

ใบความรู้

ข้อบังคับคณะลกู เสือแหง่ ชาติ วา่ ดว้ ยการปกครองหลักสตู รและวิชาพเิ ศษลูกเสือ พ.ศ. 2509 ขอ้ 290

พธิ ีประดับดาวดวงท่ี 2

พิธีประดบั ดาวดวงท่ี 2 โดยใหป้ ฏบิ ตั ิดังนี้
(1) กองลูกเสอื สาํ รองทํารูปวงกลมใหญ่
(2) ผู้กํากับลูกเสือสํารองอยู่กลางวงกลม มีรองผู้กํากับลูกเสือยืนอยู่นอกวงกลมหลัง ผู้กํากับ
ลูกเสือ
(3) หมวกทีต่ ดิ ดาวดวงท่ี 2 แล้ว อยูท่ ่ีผกู้ าํ กับลูกเสอื
(4) ลูกเสอื ท่ีจะไดร้ ับดาวดวงที่ 2 มายนื อยู่หน้าผกู้ ํากับลูกเสอื ในแถววงกลม (แม้จะมีหลาย
หมู่หลายคนก็ให้มายืนอยรู่ วมกนั หน้าผ้กู าํ กบั ลูกเสือ)
(5) ผกู้ าํ กบั ลกู เสอื อธบิ ายความหมายของดาวดวงที่ 2 ใหล้ ูกเสอื ทีจ่ ะได้ รบั ทราบ แล้วสง่ั
สอน (6) ผู้กํากับลูกเสอื สง่ั ใหล้ ูกเสอื ทจี่ ะไดร้ ับทวนคาํ ปฏิญาณอกี ครัง้ หนง่ึ โดยสง่ั ว่า “เพ่ือเปน็ ที่
แน่ใจว่า เจา้ ยังจาํ คาํ ปฏิญาณของเจา้ ได้ ขอให้เจา้ ทวนคําปฏิญาณอกี ครง้ั หนง่ึ ” และลกู เสือทจ่ี ะ
ไดร้ บั กก็ ลา่ วคาํ ปฏิญาณ
(7) ผู้กํากับลูกเสอื มอบหมวกให้ลกู เสอื ลูกเสือรบั ไปสวมเอง แลว้ ทาํ วันทยหัตถ์ผกู้ าํ กับลูกเสอื
(8) ผูก้ าํ กบั ลกู เสือแสดงความยนิ ดี ด้วยการสมั ผสั มือกับลกู เสอื
(9) ลูกเสอื ท่ไี ด้รับดาวดวงที่ 2 ทํากลับหลงั หนั วิ่งเขา้ ทขี่ องตน (คือหนา้ ผกู้ าํ กบั
ลกู เสอื ไม่ใชห่ มขู่ องตน)
(10) กองลกู เสอื แสดงความยินดดี ว้ ยการทําแกรนด์ฮาวล์ ลกู เสือทีไ่ ดร้ ับดาวดวงท่ี 2 เป็น
ผูร้ อ้ ง “จงทําด-ี จงทําด-ี จงทําดี” (ถ้ามีหลายคนก็ใหร้ อ้ งพรอ้ มกันท้ังหมด) เสรจ็ พธิ ี

ค่มู อื สง่ เสริมและพฒั นากจิ กรรมลูกเสอื ทกั ษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสือสารอง ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 2 119
คู่มอื สง่ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลกู เสอื ทักษะชีวิตในสถานศึกษา ประเภทลูกเสือส�ำ รอง หลักสตู รดวงดาวท่ี 2
ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 2 111



ภาคผนวก

120 คู่มอื สง่ เสรมิ และพฒั นากิจกรรมลกู เสอื ทกั ษะชวี ิตในสถานศึกษา ลกู เสอื สารอง ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 2

ภาคผนวก ก

แนวคดิ เร่อื งทักษะชีวติ

ความหมายและองคป์ ระกอบทักษะชวี ติ

ทกั ษะชีวิต เปน็ ความสามารถของบคุ คล ทจี่ าํ เปน็ ตอ่ การปรับตวั ในการเผชิญปัญหาตา่ ง ๆ
และสามารถดาํ เนินชีวติ ทา่ มกลางสภาพสังคมที่มกี ารเปลี่ยนแปลงท้ังในปจั จุบนั และเตรยี มพร้อม
สาํ หรับการเผชิญปัญหาในอนาคต

องค์ประกอบทักษะชีวิต มี 12 องค์ประกอบ จัดเป็น 6 คู่ โดยแบ่งตามพฤติกรรมการเรียนรู้
3 ดา้ น ดังน้ี

องhgคhj์ปhgรfะgjกjhอgfบf jทhhกั gfษfdะsdชsdีวsติ6คู่ 3 ด้าน

ความตระหนกั การสรา้ ง
รู้ในตน สัมพนั ธภาพและ

การสื่อสาร

ความเห็นใจ ความคดิ การ ทักษะพิสยั
ผ้อู ่นื สรา้ งสรรค์ ตดั สนิ ใจ
พทุ ธิพสิ ยั
จติ พิสยั และแก้ไข
ความ ความคิดวเิ คราะห์ ปญั หา
ภาคภมู ิใจ วิจารณ์

ในตวั เอง ความ การจดั การกับ
อารมณ์และ
รบั ผดิ ชอบ ความเครยี ด
ต่อสังคม

แผนภาพที่ 1 องคป์ ระกอบของทักษะชวี ติ

1. ด้านพุทธิพสิ ยั จดั ไวต้ รงกลางของแผนภาพ เพราะเปน็ องคป์ ระกอบรว่ มและเป็นพน้ื ฐาน
ของทกุ องคป์ ระกอบ ไดแ้ ก่

- ความคดิ วเิ คราะหว์ ิจารณ์ เปน็ ความสามารถที่จะวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ ประเมนิ
ข้อมูล ขา่ วสาร ปัญหา และสถานการณต์ ่าง ๆ รอบตวั

- ความคิดสร้างสรรค์ เปน็ ความสามารถในการคิดออกไปอยา่ งกวา้ งขวางโดยไม่
ยดึ ตดิ อยใู่ นกรอบ และการสรา้ งสรรคส์ ่ิงใหม่

คู่มือส่งเสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลกู เสือทักษะชวี ิตในสถานศึกษา ลกู เสอื สารอง ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 121
คมู่ ือส่งเสริมและพัฒนากจิ กรรมลกู เสอื ทักษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสอื ส�ำ รอง หลักสูตรดวงดาวที่ 2
114 ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 2

2. ด้านจิตพสิ ัย หรอื เจตคติ มี 2 คู่ คอื
คู่ท่ี 1 ความตระหนักร้ใู นตนเอง และ ความเขา้ ใจ/เห็นใจผอู้ ่ืน
คทู่ ี่ 2 เห็นคณุ คา่ /ภูมิใจตนเอง และ ความรับผิดชอบต่อสังคม
- ความตระหนักรู้ในตนเอง เป็นความสามารถในการค้นหาและเข้าใจในจุดดีจุด

ด้อยของตนเอง ยอมรับความแตกต่างของตนเองกับบุคคลอื่น ไม่ว่าจะในแง่ความสามารถ เพศ วัย
อาชพี ระดบั การศกึ ษา ฐานะทางเศรษฐกิจ ฐานะทางสงั คม ศาสนา สผี ิว ท้องถนิ่ สุขภาพ ฯลฯ

- ความเขา้ ใจ/เหน็ ใจผู้อ่นื เปน็ ความสามารถในการเข้าใจความรู้สึกของผู้อ่ืน เห็น
อกเห็นใจและยอมรับตัวตนของบุคคลอื่นที่แตกต่างกับเรา ไม่ว่าจะในแง่ความสามารถ เพศ วั ย
อาชีพ ระดบั การศึกษา ฐานะทางเศรษฐกจิ ฐานะทางสงั คม ศาสนา สีผวิ ท้องถ่นิ สขุ ภาพ ฯลฯ

- เห็นคณุ คา่ /ภูมใิ จตนเอง เป็นการค้นพบ คุณสมบัติเฉพาะตัวของตนเอง รู้สึกว่า
ตนเองมีคุณค่า เช่น เป็นคนมีน้ําใจ ซ่ือสัตย์ ยุติธรรม และภูมิใจในความสามารถด้านต่าง ๆ ของ
ตนเอง เชน่ ด้านสงั คม ดนตรี กฬี า ศิลปะ การเรยี น ฯลฯ

- ความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม เป็นความรู้สึกว่าตนเองเป็นส่วนหนึ่งของสังคมและมี
สว่ นรบั ผิดชอบในความเจรญิ หรือเส่อื มของสังคมนั้น คนท่เี ห็นคุณคา่ ตนเองจะมแี รงจูงใจทจ่ี ะทําดีกับ
ผู้อน่ื และสงั คมส่วนรวมมากข้ึน จึงจดั เข้าคู่กบั ความรับผดิ ชอบต่อสังคม

3. ด้านทักษะพิสัยหรอื ทกั ษะ ประกอบด้วย 3 คู่ คอื
คูท่ ่ี 1 การสอ่ื สารและการสร้างสมั พันธภาพ
คู่ที่ 2 การตดั สินใจและการแกไ้ ขปัญหา
คทู่ ่ี 3 การจดั การกับอารมณ์และความเครยี ด
- ทกั ษะการการสื่อสารและการสรา้ งสัมพันธภาพ เปน็ ความสามารถในการใช้

คาํ พูดและภาษาทา่ ทาง เพอื่ สอ่ื สารความร้สู กึ นึกคิดของตนเอง และสามารถรบั รคู้ วามรสู้ กึ นกึ คดิ
ความต้องการ ของอกี ฝาู ยหนึ่ง มกี ารตอบสนองอยา่ งเหมาะสมและเกดิ สมั พันธภาพทด่ี ตี อ่ กัน

- ทักษะการตดั สนิ ใจและการแก้ไขปญั หา การตัดสนิ ใจใช้ในกรณีทมี่ ีทางเลอื กอยู่
แล้ว จึงเริ่มต้นดว้ ยการวเิ คราะห์ขอ้ ดขี ้อเสยี ของแตล่ ะทางเลือกเพื่อหาทางเลือกทีด่ ีทส่ี ดุ และนาํ ไป
ปฏิบัติ สว่ นการแกไ้ ขปญั หาเป็นความสามารถในการรบั รปู้ ัญหาและสาเหตขุ องปัญหา หาทางเลือก
ได้หลากหลาย วเิ คราะหข์ อ้ ดขี อ้ เสียของแตล่ ะทางเลือก ตดั สินใจเลอื กทางเลือกในการแกป้ ัญหาท่ี
เหมาะสมทีส่ ดุ และนําไปปฏิบตั ิ

- ทักษะการจดั การกบั อารมณแ์ ละความเครยี ด เป็นความสามารถในการรบั รู้
อารมณต์ นเอง ประเมนิ และร้เู ทา่ ทนั ว่าอารมณจ์ ะมอี ทิ ธพิ ลตอ่ พฤตกิ รรมของตนอยา่ งไร และเลือกใช้
วธิ ีจดั การกับอารมณท์ เ่ี กิดขน้ึ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ส่วนการจดั การความเครยี ดเปน็ ความสามารถในการ
รบั รรู้ ะดบั ความเครียดของตนเอง รสู้ าเหตุ หาทางแกไ้ ข และมีวธิ ผี อ่ นคลายความเครยี ดของตนเอง
อย่างเหมาะสม

122 คู่มคอื ู่มสอื่งเสส่งรเมิ สแรลิมะแพลัฒะนพาัฒกจิ นการรกมจิ ลกกู รเสรมอื ทลักูกษเสะชอื วี ทิตกั ในษสะถชาวี นติ ศใกึ นษสาถปารนะเศภกึ ทษลูกาเสลือกู สเ�ำสรอื อสงชาหรน้ั ลอปกั งรสะูตถชรมน้ัดศวปึกงรษดะาาถปวมทีทศ่ี่ี 22กึ ษาป1ีท1่ี 25

ความแตกต่างระหว่างทักษะชวี ิตท่วั ไปและทักษะชีวิตเฉพาะ

ทักษะชีวิตท่ัวไป เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม สําหรับปัญหาทั่ว ๆ ไปใน
ชีวติ ประจําวนั ดว้ ยทกั ษะชวี ติ 12 องคป์ ระกอบ ให้กบั เดก็ ทกุ คน

ทักษะชีวิตเฉพาะ เป็นการประยุกต์ใช้ทักษะชีวิต 12 องค์ประกอบ ที่มีเนื้อหา
เก่ียวกับการปฺองกันปัญหาเฉพาะเรื่องสําหรับเด็กกลุ่มเส่ียง โดยมีครูท่ี ปรึกษาและระบบดูแล
ชว่ ยเหลอื นักเรียนรองรับ

ทักษะชวี ิตกบั การพฒั นาเยาวชน

เมื่อแบ่งเยาวชนออกเป็น 3 กลุ่ม คือเด็กปกติ เด็กกลุ่มเส่ียง และเด็กที่มีปัญหา
ทักษะชีวิตจะเป็นกลยุทธ์สําคัญในการส่งเสริมภูมิคุ้มกันทางสังคม ให้กับเด็กปกติ และเด็กทุกคน
สําหรับเด็กกลุ่มเส่ียงต้องมีการสอนทักษะชีวิตเฉพาะในแต่ละปัญหา มีครูท่ีปรึกษาและระบบดูแล
ช่วยเหลอื นักเรยี นรองรับ ส่วนเดก็ ทม่ี ปี ัญหาแล้วใช้การดูแลใกล้ชิดเพ่ือหาทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม
เป็นรายบคุ คล และมรี ะบบสง่ ตอ่ ยงั วชิ าชีพเฉพาะท่เี ก่ยี วขอ้ ง

ค่มู ือส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมลกู เสอื ทกั ษะชีวิตในสถานศึกษา ลกู เสอื สารอง ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 2 123
คู่มือสง่ เสริมและพฒั นากิจกรรมลกู เสอื ทกั ษะชีวติ ในสถานศึกษา ประเภทลกู เสอื ส�ำ รอง หลกั สูตรดวงดาวที่ 2
116 ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 2

ตัวอยา่ งทักษะชวี ิตเฉพาะ

เสพตดิ

124 คมู่ คือู่มสอื่งเสส่งรเิมสแรลมิ ะแพลฒั ะนพาัฒกิจนการรกมจิ ลกูกรเสรมอื ทลกั ูกษเสะชือวี ทติ ักในษสะถชาีวนิตศใกึ นษสาถปารนะเศภกึ ทษลกูาเสลือกู สเำ�สรอื อสงชาหรั้นลอปกั งรสะตู ถชรมั้นดศวปึกงรษดะาาถปวมทีทศี่่ี 22กึ ษาป1ที 1่ี 27

ผิดชอบและปลอดภยั

ความแตกต่างระหวา่ งทักษะชีวติ และทักษะการดารงชีวติ

ทักษะชีวติ (Life Skills) เป็นความสามารถทางจิตสังคม อนั ประกอบ ด้วย ความรู้ เจตคติ
และทักษะ ที่จาํ เปน็ ในการดาํ เนนิ ชีวิตทา่ มกลางสภาพสังคมท่ีเปล่ยี นแปลงอยา่ งรวดเร็วในปจั จุบนั
และเตรยี มพรอ้ มสําหรับการเผชิญปัญหาในอนาคต มี 6 คู่ 12 องค์ประกอบ

ทกั ษะการดารงชวี ติ (Living Skills) เปน็ ทักษะท่ีใชใ้ นกจิ วตั รประจาํ วนั ในเรื่องพนื้ ฐาน
ของชวี ติ มกั เปน็ ทกั ษะทางกายภาพ เชน่ อาบนาํ้ แต่งตัว ซกั เสอื้ ผา้ ปรุงอาหาร
ขจ่ี กั รยาน วา่ ยนาํ้ ผกู เงื่อนเชอื ก การจดั กระเปา฼ เดนิ ทาง การใช้แผนทีเ่ ข็มทศิ ฯลฯ

ความเชื่อมโยงระหว่างทักษะชวี ิต และทกั ษะการดารงชีวติ
ทักษะชวี ติ และทักษะการดํารงชีวิต มกั ถกู ใชผ้ สมผสาน เชอ่ื มโยงกัน ท้งั ในกจิ วตั รประจําวนั
ปกติ และในสถานการณ์ต่าง ๆ ทเ่ี กดิ ขนึ้ ไมแ่ ยกสว่ น โดยทกั ษะชีวติ จะเป็นตัวช่วยในการเลอื กและ
ใชท้ ักษะการดํารงชีวติ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ถกู ที่ ถกู เวลา และเกิดผลลพั ธท์ ดี่ ี
สถานการณ์ทางจิตสังคม มกั ใช้ทกั ษะชีวติ เป็นหลกั ตัวอยา่ ง เชน่

การจัดการกับอารมณโ์ กรธ ความขดั แย้ง และ ความรนุ แรง

ตระหนกั ร้แู ละหลีกเลย่ี งพฤตกิ รรมเสี่ยงต่าง ๆ รวมถึงการปฺองกนั อบุ ตั เิ หตุ

การช่วยเหลือผอู้ น่ื และรับผิดชอบต่อสว่ นรวม

การสือ่ สารเชงิ บวกและสร้างสมั พันธภาพที่ดี
กิจวัตรทีท่ าํ เปน็ ประจาํ ใชท้ กั ษะการดาํ รงชีวติ เป็นหลัก เชน่ อาบนาํ้ แต่งตวั แปรงฟัน ซกั
เส้อื ผ้า ปรุงอาหาร ขจ่ี กั รยาน ว่ายนํา้ ผูกเงอ่ื นเชือก ใช้แผนทเ่ี ขม็ ทิศ ฯลฯ

คมู่ อื ส่งเสรมิ และพัฒนากิจกรรมลกู เสอื ทกั ษะชีวติ ในสถานศึกษา ลกู เสอื สารอง ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 2 125
คูม่ อื ส่งเสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลกู เสอื ทกั ษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสือสำ�รอง หลกั สตู รดวงดาวที่ 2
118 ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 2

ทักษะชีวติ สร้างได้อยา่ งไร

สรา้ งดว้ ย 2 วิธีการใหญ่ ๆ คอื
1. เรยี นรู้เองตามธรรมชาติ ซง่ึ ข้ึนกบั ประสบการณแ์ ละการมีแบบอย่างทดี่ ี จงึ ไมม่ ีทศิ ทางท่ี
แน่นอน และกว่าจะเรียนรกู้ อ็ าจชา้ เกนิ ไป
2. สร้างโดยกระบวนการเรยี นการสอนทย่ี ดึ ผเู้ รยี นเปน็ ศูนย์กลาง ใหเ้ ดก็ เรียนรรู้ ่วมกนั ใน
กลุ่ม ผา่ นกจิ กรรมรปู แบบต่าง ๆ ท่ีเดก็ ตอ้ งมีสว่ นร่วมท้งั ทางรา่ งกายคอื ลงมอื ปฏิบัติ และทาง
ความคดิ คอื การอภิปรายแลกเปลย่ี นความคดิ และประสบการณ์ เพอ่ื สร้างองคค์ วามรู้ใหมร่ ว่ มกนั

การสอนทย่ี ดึ ผเู้ รยี นเป็ นศนู ยก์ ลาง

• สรา้ งความรู้ (Construction) กจิ กรรมทใ่ี หผ้ เู ้ รยี นมสี ว่ นรว่ มทาง
สตปิ ัญญา คน้ พบความรดู ้ ว้ ยตนเอง

• ปฏสิ มั พนั ธ์ (Interaction) กจิ กรรมตอ้ งสง่ เสรมิ ปฏสิ มั พนั ธก์ ับ
ผอู ้ น่ื และแหลง่ ความรทู ้ ห่ี ลากหลาย

• เป็ นกระบวนการ (Process Learning)
• มสี ว่ นรว่ ม (Physical Participation) มสี ว่ นรว่ มดา้ นรา่ งกาย ลง

มอื กระทากจิ กรรมในลกั ษณะตา่ ง ๆ
• มกี ารประยกุ ตใ์ ช้ (Application)

การมีส่วนร่วมทางสตปิ ัญญาทําให้เกดิ ทกั ษะชีวติ 2 องค์ประกอบแกนหลักคือความคิดวเิ คราะห์
และความคดิ วจิ ารณ์

ปฏสิ ัมพันธใ์ นกลมุ่ เพ่อื ทาํ กิจกรรมร่วมกนั ทาํ ให้เด็กไดฝ้ กึ องคป์ ระกอบทักษะชีวิต ดา้ นทกั ษะท้งั
3 คู่ คอื การสรา้ งสมั พันธภาพและการสอ่ื สาร การตัดสินใจและการแก้ไขปัญหา การจัดการอารมณ์และ
ความเครียด

การรับฟงั ความคดิ เหน็ ของคนอ่ืน ทาํ ให้เกิดความเข้าใจคนอ่ืนมากขน้ึ ขณะเดียวกนั ก็เกิดการ
ไตรต่ รองทําความเข้าใจและตรวจสอบตนเอง จัดเปน็ องคป์ ระกอบทักษะชวี ิตด้านเจตคตคิ ือ การเข้าใจ
ตนเอง และเข้าใจ/เหน็ ใจผ้อู น่ื

การได้รับการยอมรับจากกลุ่ม การทํางานสําเร็จได้รับคําชม ทําให้เกิดความภูมิใจและเห็น
คณุ คา่ ตนเอง นําไปสู่ความรบั ผิดชอบมากขึน้ ทัง้ ตอ่ ตนเองและสังคม

กระบวนการและการมีส่วนร่วม ช่วยให้กิจกรรมสนุกสนานน่าสนใจ และนําไปสู่จุดประสงค์
ท่ตี ง้ั ไว้ รวมท้ังการประยุกตใ์ ช้เปน็ การเปิดโอกาสใหผ้ เู้ รียนได้เชอ่ื มองคค์ วามรใู้ หมท่ ่ีเกิดข้นึ เขา้ สู่ชีวิต
จริง วา่ ได้เกิดการเรียนร้อู ะไรและนําไปใช้ในชวี ิตประจําวันอย่างไร

126 คูม่ คือมู่ สือง่ เสสง่รเิมสแรลิมะแพลฒั ะนพาฒักิจนการรกมจิ ลกูกรเสรมือทลกั ูกษเสะชอื ีวทติ ักในษสะถชาีวนติ ศใกึ นษสาถปารนะเศภกึ ทษลูกาเสลอืกู สเำ�สรอื อสงชาหรั้นลอปักงรสะตู ถชรมั้นดศวปึกงรษดะาาถปวมีททศ่ี่ี 22ึกษาป1ีท1ี่ 29

8







ความหมายของกระบวนการลูกเสือ (Scout movement)

ตามคํานยิ ามของลกู เสือโลก หมายถึง กระบวนการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
สําหรับเยาวชน เพ่ือสร้างเยาวชนที่มีจิตใจเสียสละ รับผิดชอบ และอุทิศตนแก่สังคม ด้วยวิธีการ
ลูกเสือ

ตามแนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 2522 (สพฐ.) หมายถึงกระบวนการทาง
การศึกษาส่วนหนึ่ง ซึ่งมุ่งพัฒนาสมรรถภาพของบุคคล ทั้งทางสมอง ร่างกาย จิตใจ และศีลธรรม
เพ่ือให้เป็นบุคคลท่ีมีความประพฤติดีงาม ไม่กระทําตนเป็นปัญหาสังคม และดํารงชีวิตอย่างมี
ความหมาย และสุขสบาย

หลักการลูกเสอื (Scout principle)

หลักการลกู เสอื โลกเน้นทห่ี น้าทห่ี ลกั 3 ประการ คอื

1.หน้าท่ีต่อพระเจ้า/ศาสนา ได้แก่ การแสวงหาและดําเนินชีวิตอย่างมีคุณค่าและ
ความหมาย

2.หน้าที่ต่อผู้อื่น ได้แก่ การเคารพ ให้เกียรติ ช่วยเหลือผู้อ่ืน รวมถึงการดูแลสังคมและ
สิง่ แวดล้อม

3.หน้าท่ีต่อตนเอง ได้แก่ พัฒนาตนเองท้ังด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และ
จิตวญิ ญาณ

ค่มู อื ส่งเสริมและพฒั นากจิ กรรมลกู เสือทักษะชีวิตในสถานศกึ ษา ลกู เสอื สารอง ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 2 127
คมู่ ือสง่ เสรมิ และพัฒนากิจกรรมลูกเสอื ทักษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสือสำ�รอง หลักสูตรดวงดาวที่ 2
120 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2

หลักการลกู เสือไทย มี 5 ขอ้ คือ
1. มศี าสนาเป็นหลกั ยดึ ทางใจ
2. จงรักภกั ดตี ่อพระมหากษัตริย์และประเทศชาติ
3. เข้าร่วมพัฒนาสังคม ยอมรับ เคารพในเกียรติและศักด์ิศรีผู้อ่ืนและเพื่อนมนุษย์ทุกคน
รวมทั้งธรรมชาติ และสรรพสง่ิ ทงั้ หลายในโลก
4. รบั ผิดชอบตอ่ การพัฒนาตนเองอยา่ งต่อเนื่อง
5. ยึดมัน่ ในคําปฏญิ าณและกฎของลูกเสอื

วิธกี ารลูกเสอื (Scout method)

วิธกี ารลูกเสอื โลก มี 8 องคป์ ระกอบ โดยแบ่งออกเป็น 3 กลมุ่ คอื
กลุ่มท่ี 1 ผู้ใหญ่มีหนา้ ท่ีช่วยเหลอื และส่งเสรมิ เยาวชนให้เกดิ การเรยี นรู้ในกลุม่
กลุ่มที่ 2 มกี จิ กรรมทีบ่ รรลวุ ัตถุประสงคใ์ นการพัฒนาเยาวชนอย่างตอ่ เนอื่ งและเป็นระบบ
กลุ่มที่ 3 เปน็ ลักษณะกจิ กรรมท่ีใช้ มี 6 องค์ประกอบ
1. ยดึ มัน่ ในคาํ ปฏญิ าณและกฎของลูกเสอื
2. ใช้ระบบสญั ลักษณ์เป็นแรงกระตุ้นไปสู่เปาฺ หมายในการพฒั นาตนเอง
3. ระบบหมู่ (กล่มุ เรยี นรูร้ ่วมกนั )
4. เรียนรใู้ กลช้ ิดธรรมชาติ
5. เรยี นรู้จากการลงมอื ปฏิบตั ิ / เกม
6. เรียนรจู้ ากการบริการผู้อน่ื
วิธีการลูกเสอื ไทย ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน 2551 มี 7 องคป์ ระกอบ
คอื
1. ความกา้ วหนา้ ในการเข้ารว่ มกจิ กรรม
2. การสนับสนนุ โดยผู้ใหญ่
3. ยดึ มน่ั ในคําปฏิญาณและกฎ
4. การใช้สญั ลกั ษณ์ร่วมกัน
5. ระบบหมู่
6. การศกึ ษาธรรมชาติ
7. เรยี นรูจ้ ากการกระทํา

128 คมู่ คือมู่ สือ่งเสสง่รเิมสแรลิมะแพลฒั ะนพาฒักจิ นการรกมิจลกกู รเสรมือทลักกู ษเสะชอื ีวทติ ักในษสะถชาวี นติ ศใึกนษสาถปารนะเศภึกทษลกูาเสลอืกู สเำ�สรืออสงชาหรัน้ ลอปักงรสะูตถชรม้นัดศวปกึ งรษดะาาถปวมีททศี่ี่ 22กึ ษาป1ที 2่ี 21

วิธกี ารลูกเสือสร้างทักษะชวี ติ ได้อยา่ งไร

วธิ ีการลกู เสอื มอี งค์ประกอบครบทง้ั 5 ประการ ของกระบวนการเรยี นการสอนท่ียึดผู้เรียน
เปน็ ศูนยก์ ลาง การสรา้ งทักษะชวี ิตท้ัง 12 องค์ประกอบ เกิดขนึ้ ด้วยกจิ กรรมดังตารางตอ่ ไปนี้





















วัตถุประสงคค์ ณะลูกเสอื แห่งชาติ (พระราชบัญญตั ลิ กู เสือ พ.ศ. 2551 มาตรา 8)

เพื่อพัฒนาลูกเสือท้ังทางกาย สติปัญญา จิตใจ และศีลธรรม ให้เป็นพลเมืองดี มีความ
รับผดิ ชอบ และช่วยสร้างสรรค์สังคมให้เกิดความสามัคคี และมีความเจริญก้าวหน้า ท้ังนี้เพ่ือความ
สงบสุข และความมน่ั คงของประเทศชาติ ตามแนวทางดังตอ่ ไปนี้

1. ให้มนี ิสัยช่างสังเกต จดจํา เชื่อฟัง และพึง่ ตนเอง

2. ให้ซ่อื สตั ย์สจุ ริต มรี ะเบียบวินัยและเห็นอกเหน็ ใจผูอ้ ื่น

3. ใหร้ จู้ กั บําเพญ็ ตนเพ่ือสาธารณประโยชน์

4. ให้รจู้ กั ทาํ การฝีมือ และฝึกฝนให้ทาํ กจิ การตา่ ง ๆ ตามความเหมาะสม

5. ใหร้ ูจ้ ักรักษาและส่งเสริมจารตี ประเพณี วัฒนธรรม และความมั่นคงของประเทศชาติ

หลกั สตู รลกู เสอื เสริมสรา้ งทักษะชวี ติ

หลกั สูตรลกู เสือเสริมสรา้ งทกั ษะชีวติ ไดใ้ ชข้ อ้ บงั คับคณะลกู เสอื แหง่ ชาตวิ า่ ด้วยการปกครอง
หลักสูตรและวิชาชพี พิเศษลกู เสือสํารอง สามัญ สามญั รนุ่ ใหญ่ และวสิ ามัญ เป็นหลัก และเพิ่มเนื้อหา
ที่สอดคลอ้ งกับปญั หาตามวัยและพฒั นาการด้านต่าง ๆ ของลกู เสอื โดยจัดหน่วยกิจกรรมตามที่ระบุ

คู่มอื ส่งเสรมิ และพฒั นากิจกรรมลูกเสอื ทักษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ลกู เสอื สารอง ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 2 129
คมู่ ือสง่ เสรมิ และพัฒนากิจกรรมลกู เสือทักษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสือส�ำ รอง หลักสูตรดวงดาวที่ 2
122 ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 2

ในหลักสูตรของลกู เสือแต่ละประเภท ดงั นน้ั ช่อื หน่วยกิจกรรม และจํานวนหน่วยกิจกรรมของลูกเสือ
แต่ละประเภทจงึ แตกตา่ งกนั

แผนการจัดกิจกรรมลูกเสือเสริมสร้างทักษะชีวิตในคู่มือชุดน้ี ได้ออกแบบโดยบูรณาการ
กิจกรรมท่ีเสรมิ สรา้ งทกั ษะชีวิตเข้ากบั วธิ ีการลูกเสอื คอื การใช้ระบบหมหู่ รอื กล่มุ ย่อย โดยให้เด็กเป็น
ศนู ยก์ ลาง และมีผ้ใู หญ่ทาํ หน้าท่ีช่วยเหลือและส่งเสริมให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ในกลุ่ม แนะนํา สั่ง
สอน และฝึกอบรมให้สามารถพึ่งตนเองได้ มีจิตอาสา รับผิดชอบต่อส่วนรวม ยึดมั่นในคําปฏิญาณ
และกฎของลูกเสอื เสรมิ สร้างคุณค่าในตนเอง รวมทง้ั ใช้ระบบเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ทางลูกเสือ
และเครือ่ งหมายวชิ าพเิ ศษ เปน็ แรงกระตนุ้ ไปสูเ่ ปฺาหมายในการพฒั นาตนเอง

องคป์ ระกอบในการประชมุ กอง เนน้ การใช้ชีวิตกลางแจ้ง นอกห้องเรียน ใกล้ชิดธรรมชาติ
เรยี นร้จู ากการลงมือปฏิบัตดิ ้วยตนเอง เกม และการบริการผู้อ่ืน ซ่ึงถือเป็นหัวใจของกิจกรรมลูกเสือ
ทกุ ประเภท โดยกิจกรรมท่ีใช้ แบ่งออกเป็น 5 ประเภท คอื การแสดงออก การรายงานและการสาํ รวจ
การวิเคราะห์และการประเมิน เกมและการแข่งขัน การบําเพ็ญประโยชน์ การออกแบบกิจกรรม
เพื่อให้ลูกเสือใช้กระบวนการกลุ่มในการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ แลกเปลี่ยนความคิดความเชื่อ
สรา้ งองค์ความรู้และสรปุ ความคิดรวบยอด รวมทั้งเปิดโอกาสให้ลูกเสือได้ประยุกต์ใช้สิ่งที่ได้เรียนรู้
อีกด้วย

เนื้อหาสาระในแผนการจดั กิจกรรมแบง่ ออกไดเ้ ปน็ 3 กลุ่ม ประกอบด้วย

1.กิจกรรมตามข้อบังคับของคณะลูกเสือแห่งชาติ (ไม่รวมกิจกรรมทดสอบเพ่ือรับ
เคร่อื งหมายหรอื สญั ลักษณ์ทางลูกเสอื และเครอ่ื งหมายวชิ าพเิ ศษ)

2. กจิ กรรมตามข้อบังคับของคณะลกู เสือแห่งชาตทิ ช่ี ว่ ยเสรมิ สรา้ งทักษะชีวิตด้านคุณธรรม
จริยธรรม ความภาคภมู ใิ จในตนเอง ความรับผดิ ชอบตอ่ สว่ นรวม

3.กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต เพ่ือสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมต่อเหตุการณ์และสภาพ
ปญั หาของเดก็ แต่ละวัย

สําหรับกิจกรรมลูกเสือตามข้อบังคับ เพื่อการขอรับเครื่องหมายลูกเสือชั้นพิเศษ และ
เครือ่ งหมายลูกเสอื หลวง ไมไ่ ด้นํามารวบรวมไว้ในค่มู ือการจดั กจิ กรรมลกู เสอื ชุดนี้

คู่มือมีจํานวน 11 เล่ม ตามช้ันปีของลูกเสือ 4 ประเภท แต่ละเล่ม ได้จัดทําตารางหน่วย
กิจกรรม และแผนการจัดกิจกรรมครบ 40 ช่ัวโมง เพ่ือให้เห็นภาพรวมของการจัดกิจกรรมลูกเสือ
เสรมิ สร้างทักษะชีวติ ของลูกเสอื ในแตล่ ะระดับชั้น และมีหมายเหตบุ อกไวใ้ นตารางช่องขวาสุด วา่ เปน็
แผนการจดั กิจกรรมเสรมิ สรา้ งทักษะชวี ติ

แผนการจัดกิจกรรมประกอบด้วย จุดประสงค์การเรียนรู้ เน้ือหา สื่อการเรียนรู้ กิจกรรม
การประเมนิ ผล องค์ประกอบทักษะชวี ติ สําคัญท่ีเกิดจากกิจกรรม และภาคผนวกประกอบแผนการจัด
กจิ กรรม (เพลง เกม ใบงาน ใบความรู้ เรื่องท่เี ปน็ ประโยชน)์

130 ค่มู คอื มู่ สอืง่ เสสง่รเิมสแรลิมะแพลัฒะนพาฒักจิ นการรกมิจลกูกรเสรมอื ทลกั ูกษเสะชือีวทติ กั ในษสะถชาวี นติ ศใึกนษสาถปารนะเศภึกทษลูกาเสลอืกู สเ�ำสรืออสงชาหรัน้ ลอปกั งรสะตู ถชรมน้ัดศวปกึ งรษดะาาถปวมทีทศ่ีี่ 22ึกษาป1ีท2ี่ 23

ภาพรวมการพฒั นาหลกั สตู รลูกเสือเสรมิ สรา้ งทกั ษะชวี ติ

1. เร่ิมจากการศึกษาเอกสาร งานวิจัย หลักสูตรลูกเสือไทยและต่างประเทศ รวมทั้ง
สมั ภาษณ์ ผเู้ ชยี่ วชาญด้านลกู เสือ

2. สัมมนาครู ผู้ปกครอง นกั พัฒนาเยาวชน และผู้เชี่ยวชาญด้านกิจกรรมเด็กและเยาวชน
เพือ่ รว่ มกนั คน้ หาปญั หาจริงของเดก็ แตล่ ะวยั และออกแบบกจิ กรรมทีเ่ หมาะสม

3. จดั ทาํ คูม่ อื การจดั กจิ กรรมลูกเสือเสริมสร้างทักษะชีวิต 4 ประเภท ได้แก่ ลูกเสือสํารอง
ลูกเสือสามัญ ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่และลูกเสือวิสามัญ รวมทั้งส้ิน 11 เล่ม โดยผ่านการประเมิน
ปรบั ปรงุ และพฒั นา จนเป็นทีย่ อมรับและนําไปใช้ในสถานศึกษาจํานวนมาก

4. จัดทําหลักสูตรการฝึกอบรมผู้กํากับลูกเสือสํารอง ลูกเสือสามัญ ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
และลูกเสอื วสิ ามญั ข้ันความรู้เบอ้ื งตน้ และข้นั ความร้ชู ั้นสูง รวม 8 ประเภท โดยได้รบั การอนุมัติจาก
คณะกรรมการบรหิ ารลกู เสือแหง่ ชาติ ในการประชุม ครั้งท่ี 2/2557 เม่ือวันท่ี 22 กันยายน 2557 ให้
ใชเ้ ป็นหลักสตู รการฝกึ อบรมผู้กาํ กับลกู เสือของสาํ นักงานลูกเสือแห่งชาติ

5. จัดทํา คู่มือฝึกอบรมวิทยากรลูกเสือเสริมสร้างทักษะชีวิต เพื่อขยายผลในการสร้าง
วทิ ยากรและฝึกอบรมผกู้ ํากบั ลกู เสือในสถานศึกษาทัว่ ประเทศ

คมู่ อื ส่งเสริมและพฒั นากิจกรรมลูกเสอื ทักษะชวี ิตในสถานศึกษา ลกู เสือสารอง ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 2 131
คูม่ ือสง่ เสริมและพัฒนากจิ กรรมลูกเสือทกั ษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสือส�ำ รอง หลักสูตรดวงดาวที่ 2
124 ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 2

ภาคผนวก ข

กจิ กรรมลูกเสือเสริมสรา้ งทกั ษะชีวิต

การจัดกิจกรรมลูกเสือเสริมสร้างทักษะชีวิตนั้น ยังคงหลักการ และวิธีการของลูกเสือไว้ ทุก
ประการ แต่เน้นการสอดแทรกการเรียนรู้ทักษะชีวิตเพ่ิมเข้าไปด้วยเพื่อตอบสนองวัตถุประสงค์ที่รอบ
ดา้ น และครอบคลมุ การดํารงชีวติ ในปัจจบุ นั

คณุ ค่าของส่ือการเรยี นการสอนประเภทกจิ กรรม

สอ่ื การเรยี นการสอนประเภทกจิ กรรม เป็นกระบวนการเรียนการสอนท่ีให้ผู้เรียนได้ มีโอกาส
เรยี นรู้ประสบการณต์ า่ งๆ ด้วยตนเอง ผ่านการทํากิจกรรมร่วมกัน ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์
ของเพื่อนในกลุ่ม ทําให้สามารถเรียนรู้ได้มากข้ึนโดยใช้เวลาน้อยลง การออกแบบกิจกรรมจะต้อง
กระต้นุ ให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ และร่วมมือในการทํากิจกรรมที่กําหนดให้อย่างเต็มที่ จึงจะ เกิดการ
เรียนรู้ได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ ผลท่เี กดิ ข้ึนตอ่ ผูเ้ รียนมีดังน้ี

1. ส่งเสรมิ ให้ผเู้ รียนกล้าแสดงออกและทาํ งานร่วมกับผอู้ นื่ ได้
2. เกิดความสนกุ สนานเพลิดเพลิน ซึ่งเป็นลกั ษณะเฉพาะของส่ือการสอนประเภทกจิ กรรม
3. เปิดโอกาสให้ผเู้ รยี นมีสว่ นรว่ มในการกําหนดขอบขา่ ย เนื้อหา และวัตถปุ ระสงค์
4. ผเู้ รยี นไดฝ้ กึ ฝน พฤตกิ รรมการเรยี นรทู้ ั้งทางด้านความรู้ เจตคติ และทกั ษะ รวมทัง้ ความคดิ
สร้างสรรค์ และจินตนาการด้วย

ประเภทของกจิ กรรมลูกเสือเสรมิ สร้างทกั ษะชีวติ

เม่อื จัดประเภทตามทักษะ/ความสามารถ ในการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม แบง่ ออกไดเ้ ปน็ 5 ประเภท คอื
1. กิจกรรมการแสดงออก เป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ลูกเสือได้ใช้ความสามารถในการ
แสดงออก แสดงความคดิ สร้างสรรค์ จินตนาการในรปู แบบตา่ ง ๆ ซ่ึงมักจะเปน็ การจาํ ลองประสบการณ์
ต่าง ๆ มาเพื่อการเรียนรู้ได้ง่ายและสะดวกขึ้น หรือเป็นส่ิงท่ีใช้แทนประสบการณ์จริง เพราะศาสตร์
ต่างๆ ในโลก มีมากเกินกว่าที่จะเรียนรู้ได้หมดส้ินจากประสบการณ์ตรงในชีวิต และบางกรณีก็อยู่ใน
อดีต หรือซับซ้อนเร้นลบั หรือเป็นอันตราย ไมส่ ะดวกต่อการเรียนรจู้ ากประสบการณจ์ รงิ
ตวั อยา่ งกิจกรรม เชน่
1.1 สถานการณจ์ าํ ลอง เปน็ การจัดสภาพแวดล้อมใหใ้ กล้เคียงกบั สภาพความเป็นจริงมากที่สุด
เพือ่ ใหผ้ ู้เรียนไดฝ้ ึกฝน แกป้ ัญหาและตัดสนิ ใจจากสภาพการณ์ทีก่ ําลงั เผชิญอยูน่ น้ั แล้วนําประสบการณ์
แหง่ ความสําเรจ็ ไปเป็นแนวทางในการแกป้ ญั หา
1.2 การสาธิต กระบวนการท่ีผู้สอนช่วยให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ โดยการ
แสดงหรอื กระทาํ ใหด้ ูเป็นตัวอยา่ ง ให้ความสาํ คัญกบั กระบวนการทั้งหมดท่ีผู้เรียนจะต้องเฝฺาสังเกตอยู่
โดยตลอด
1.3 เล่านทิ าน

132 คมู่ คอื มู่ สือง่ เสส่งรเิมสแรลิมะแพลัฒะนพาฒักิจนการรกมจิ ลกูกรเสรมือทลักกู ษเสะชือวี ทติ ักในษสะถชาีวนิตศใกึ นษสาถปารนะเศภึกทษลูกาเสลอืกู สเ�ำสรืออสงชาหรัน้ ลอปกั งรสะูตถชรมน้ัดศวปกึ งรษดะาาถปวมีททศ่ี่ี 22ึกษาป1ีท2่ี 25

1.4 ละคร หุ่นจําลอง
1.5 เพลง ดนตรี การเคลื่อนไหวตามจังหวะดนตรี หมายถงึ กิจกรรมที่เน้นการใช้ดนตรีเป็นสื่อ
ในการเรียนรู้ทัง้ ในแง่เนอื้ หาและความบนั เทงิ ผอ่ นคลาย และเข้าถงึ วฒั นธรรมต่าง ๆ
1.6 ศลิ ปะ แขนงอ่ืน ๆ เชน่ การวาดรปู การป้นั ดนิ เหนียว งานหัตถกรรม การรอ้ ยดอกไม้
1.7 การโต้วาที

ฯลฯ
2. กจิ กรรมการการสํารวจและการรายงาน เป็นกจิ กรรมที่เนน้ ให้ลูกเสือไดเ้ รียนรูจ้ ากความเป็น
จริง /เหตุการณ์จริง ในชีวิตประจําวัน ผ่านประสบการณ์ตรงด้วยตนเอง ซ่ึงเป็นรากฐานสําคัญของ
การศึกษา เช่น การทําแผนที่ การสํารวจ หมายถึง การเรียนรู้ผ่านสถานการณ์จริงด้วยการลงพื้นที่
สาํ รวจ และจําลองสิ่งที่ได้เรียนรู้สู่แผนที่ ภาพ หรือสัญลักษณ์ เพ่ือแสดงความคิดรวบยอดของสิ่งที่ได้
เรียนรู้นน้ั
ตัวอย่างกจิ กรรม เชน่
การสัมภาษณ์ การเปน็ ผู้สอ่ื ข่าว การทาํ สารคดี การศึกษานอกสถานท่ี ชุมชนศึกษา การผลติ ส่อื การทํา
ปูมชวี ิตบคุ คลตัวอยา่ ง การจัดนิทรรศการ การสอดแนม การสํารวจ การทําแผนท่ี การเขียนเรียงความ
การเล่าเร่ือง ฯลฯ
3. กิจกรรมการวเิ คราะหแ์ ละการประเมิน เป็นการเรียนรทู้ ่ีเกิดจากการแลกเปล่ยี นความคิดเห็น
และรว่ มกันวเิ คราะห/์ ประเมนิ สิง่ ตา่ งๆท่ีเกดิ ข้นึ
ตวั อยา่ งกจิ กรรม เชน่
การเปรียบเทยี บคณุ คา่ การประเมินความเส่ยี ง การทาํ แผนทค่ี วามคิด ฯลฯ
4. การเลน่ เกมและการแขง่ ขัน

4.1 เกม เป็น กิจกรรมท่ีมีกฎกติกา และลําดับข้ันตอน ท่ีเอื้อให้ลูกเสือเกิดการเรียนรู้
ผา่ นการเล่นเกม ให้ข้อคิดทีส่ อดคล้องกับผลการเรยี นรู้ทีต่ อ้ งการ เชน่ เกมกระซิบ เปน็ ต้น

4.2 การแข่งขัน เป็นกิจกรรมท่ีมีกติกาในการแข่งขัน และมีการตัดสินหาผู้ชนะ เช่น
การตอบปัญหาในเร่ืองต่าง ๆ เพ่อื กระตนุ้ ใหเ้ กดิ ความสนใจใฝรู มู้ ากข้นึ ฯลฯ

5. กิจกรรมบําเพ็ญประโยชน์ เป็นกิจกรรมสร้างสรรค์ท่ีเน้นการฝึกความเสียสละของลูกเสือ
ได้แก่ การจัดกจิ กรรมการกุศล การซอ่ มของเลน่ ให้น้อง การดูแลทําความสะอาดสถานที่ การปลูกและ
ดแู ลต้นไม้ การเกบ็ ผกั จากแปลงไปประกอบอาหารเล้ยี งน้อง ฯลฯ

หลกั การออกแบบกิจกรรม

1. การเลือกประเภทของกจิ กรรม ต้องสอดคลอ้ งกบั ผลการเรียนรทู้ ีต่ ้องการ เชน่

ผลการเรียนรู้ดา้ นพทุ ธิพิสยั มักเลือกใช้ กิจกรรมการวิเคราะห์และการประเมิน การรายงาน

และการแข่งขนั ตอบปัญหาในเรอ่ื งเนอ้ื หาท่ีต้องการใหเ้ รยี นรู้ เป็นต้น

ผลการเรยี นรู้ด้านจติ พสิ ัย มักเลือกกิจกรรมทสี่ ร้างความรู้สึกท่ีสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ท่ี
ตอ้ งการ เชน่ กจิ กรรมการแสดงออก เกม กิจกรรมบําเพ็ญประโยชน์ เป็นต้น

คู่มือส่งเสริมและพฒั นากิจกรรมลูกเสอื ทักษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสือสารอง ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 2 133
คูม่ ือสง่ เสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลกู เสือทกั ษะชีวิตในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสือสำ�รอง หลกั สตู รดวงดาวที่ 2
126 ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 2

ผลการเรยี นร้ดู า้ นทกั ษะพสิ ยั ถา้ เป็นทกั ษะทางสติปญั ญานิยมใช้กิจกรรมการวิเคราะห์ และ
ประเมินสว่ นทักษะทางกายภาพ เลอื กไดเ้ กือบทกุ ประเภท

2. การตั้งประเด็นอภิปราย เพื่อให้ลูกเสือได้ร่วมอภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็น ในเรื่องที่
สอดคล้องกับผลการเรยี นรู้ทตี่ อ้ งการ เช่น

ผลการเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัย ต้งั ประเดน็ ให้ วิเคราะห์ /สงั เคราะห์ /ประเมนิ เน้ือหาที่ต้องการ
ใหผ้ ู้เรียนเกดิ ความเขา้ ใจอยา่ งถอ่ งแท้ เกดิ ความคดิ รวบยอดท่ีชัดเจน และสามารถนําไปประยุกต์ใช้ได้
จรงิ

ผลการเรียนรู้ด้านจติ พิสยั ต้งั ประเด็นให้เกดิ การโตแ้ ยง้ กันดว้ ยเหตผุ ลในเรื่องความคิดความ
เชื่อ ท่เี กยี่ วข้องกับเจตคตทิ ่ีต้องการ เพอ่ื ให้สมาชกิ แต่ละคนไดม้ โี อกาสตรวจสอบความคิดความเช่ือของ
ตนเอง ท่ีแตกต่างจากคนอืน่ ทําใหเ้ กิดการปรบั เปลยี่ นความคิดความเชอ่ื จากการโต้แย้งกันด้วยเหตุผล
ในกระบวนการกลุ่ม

ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย ต้ังประเด็นให้เกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้ในขั้นตอนการทํา
ทกั ษะ นน้ั ๆ เชน่ การวเิ คราะห์ความครบถว้ นในการทาํ ตามขนั้ ตอนของทกั ษะ การวิเคราะห์จุดอ่อน
ท่มี กั จะทาํ ทักษะน้นั ๆ ไม่สําเรจ็ เป็นต้น

3. การสรุปความคิดรวบยอดและประยุกต์ใช้ ทุกกิจกรรมควรมีการสรุปความคิดรวบยอดที่
เกิดข้นึ ใหช้ ดั เจน และเปิดโอกาสใหไ้ ด้ลองประยุกต์ใช้ ได้แก่

ผลการเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัย ความคิดรวบยอดคือเนื้อหา องค์ความรู้ที่ต้องการให้เกิดข้ึน
ประยกุ ตใ์ ช้โดยผลติ ซ้ําความคดิ รวบยอดในรูปแบบทต่ี า่ งจากเดิม เชน่ การทํารายงาน ทําสรปุ ย่อ ฯลฯ

ผลการเรียนรู้ด้านจิตพิสัย ความคิดรวบยอดไม่มีเน้ือหา แต่เป็นความรู้สึกและความคิด
ความเชอ่ื ทีเ่ กิดขึ้นภายในตวั ผ้เู รียน ประยุกต์โดยการแสดงออกท่ีสอดคล้องกับเจตคติท่ีเกิด เช่น การ
กระทําท่แี สดงออกถึงความซอ่ื สตั ย์ การกระทําท่แี สดงออกถงึ ความเป็นสภุ าพบรุ ุษ สุภาพสตรี เปน็ ต้น

ผลการเรียนรูด้ า้ นทักษะพิสัย ความคิดรวบยอดท่ีเกิดคือ ความเข้าใจขั้นตอนและทําทักษะ
น้นั ๆ ได้ ประยกุ ต์โดยการฝึกฝนทกั ษะนั้นจนชาํ นาญ

134 คมู่ คือ่มู สอืง่ เสส่งรเิมสแรลมิ ะแพลัฒะนพาฒักิจนการรกมิจลกกู รเสรมอื ทลักกู ษเสะชอื ีวทิตกั ในษสะถชาวี นิตศใึกนษสาถปารนะเศภึกทษลกูาเสลือกู สเ�ำสรืออสงชาหรนั้ ลอปกั งรสะตู ถชรมนั้ดศวปึกงรษดะาาถปวมทีทศี่ี่ 22กึ ษาป1ีท2ี่ 27

ภาคผนวก ค

พธิ ีการทางลูกเสือ

ข้อบงั คบั คณะลกู เสอื แหง่ ชาติ วา่ ด้วยการปกครอง หลักสูตร และวชิ าพเิ ศษลกู เสอื พ.ศ. 2509
พธิ ลี ูกเสอื สารอง
ขอ้ 286 การทาแกรนด์ฮาวล์

การทําแกรนดฮ์ าวล์ ผู้กาํ กบั จะตอ้ งเลอื กท่ีให้เหมาะสมเสียก่อน และยนื อยใู่ นทา่ ตรง แล้วจึง
เรยี ก และใหป้ ฏบิ ตั ิต่อไปน้ี

1.1. ผู้กํากับลูกเสือ เรียก “แพ็ค – แพ็ค - แพ็ค” (แพ็คคําท้ายให้เน้นให้หนัก) พร้อมกับทํา
สญั ญาณมือแกว่งรอบตวั เป็นวงกลม (มรี องผูก้ าํ กับยนื อยู่นอกวงกลมและหลงั ผกู้ าํ กบั )

2.2. ลูกเสือสํารอง เมื่อได้ยินเสียงเรียกของผู้กํากับ ทุกคนจะต้องขานรับพร้อมกันทันที
ว่า “แพ็ค” แล้ววิ่งมาเข้าแถวเป็นรูปวงกลมเล็ก ล้อมรอบผู้กํากับ (นายหมู่ของหมู่บริการอยู่
ตรงหนา้ ผ้กู าํ กับ จากน้ันก็เรยี งไปตามลําดับ ใหไ้ หลต่ ่อไหล่ชดิ กนั )

.33. ผู้กาํ กบั ลกู เสือผายมือทัง้ สองออกไปข้าง ๆ เลก็ น้อย น้ิวทง้ั ห้าชดิ กนั ฝาู มือแบหงาย (แล้ว
ลดมือลงเพ่อื ตรวจดคู วามเรยี บร้อย)

.44. ลูกเสือสาํ รอง เม่อื เหน็ สญั ญาณน้ี ทุกคนจับมอื กันขยายออกเปน็ รูปวงกลมใหญ่ จนแขน
ตงึ จงึ ปลอ่ ยมือ และจดั วงกลมใหเ้ รียบรอ้ ย

.55. ผู้กาํ กับลูกเสอื ตรวจดูเห็นวา่ วงกลมเรยี บร้อยดีแล้ว ให้กางแขนทั้งสองออกไปข้าง ๆ
เสมอไหล่ ขนานกับพ้ืน น้ิวทั้งห้าชิดกัน ฝูามือแบหงาย แล้วพลิกฝูามือคว่ําลงและงองุ้ม เป็น
สัญญาณให้ลกู เสอื นง่ั ลง

6.6. ลูกเสือสํารองทุกคนนั่งลงทันทีท่ีให้น่ังลงบนส้นเท้าท้ังสอง แขนท้ังสองเหยียดตรงอยู่
ระหว่างเขา่ มือทง้ั สองห่างกันพอควร แบะเข่าออกเล็กนอ้ ย นวิ้ ช้ีและน้ิวกลางท้ังสองมือเหยียดชิด
กัน และแตะพน้ื นิ้วอ่ืน ๆ งอไว้ในอุ้งมือ (คือนิ้วหัวแม่มอื กดนิว้ นางกบั นว้ิ ก้อยไว)้

.77. ผกู้ ํากับลูกเสอื พลกิ ฝาู มอื ทัง้ สองหงายข้นึ เปน็ สัญญาณให้ลูกเสือรอ้ ง
.88. ลกู เสอื สํารองทุกคนแหงนหน้าร้องข้ึนพร้อมกันว่า “อา-เค-ล่า-เรา-จะ-ทํา-ดี-ที่-สุด” พอ
ขาดคําว่า “สดุ ” ใหล้ กู เสือทกุ คนกระโดดยืนข้ึน เท้าทั้งสองชิดติดกัน พร้อมกับยกมือท้ังสองท่ีอยู่
ในท่านัง่ ไปไวเ้ หนือหูและชิดหู
.99. นายหมลู่ ูกเสอื ซงึ่ ทาํ หนา้ ทีเ่ ป็นหม่บู ริการในวนั นน้ั (ท่หี ันหน้าตรงกบั ผกู้ าํ กบั ) จะรอ้ งขึน้
ว่า “จงทาํ ดี – จงทําดี - จงทําดี” การร้องใหห้ ันหน้าไปทางซา้ ยก่อน-ตรงหนา้ -ขวา ทีละคร้ัง (เวลา
รอ้ งไม่ตอ้ งผงกศรี ษะ)
.10. เมอื่ สน้ิ คําทีส่ ามแล้วใหล้ ูกเสอื ทุกคนลดมอื ซ้ายลงมาแนบลาํ ตวั อยา่ งวอ่ งไว(แบมือออก)

คมู่ อื สง่ เสรมิ และพัฒนากิจกรรมลูกเสอื ทักษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสอื สารอง ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 135
ค่มู ือส่งเสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลูกเสือทักษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสือสำ�รอง หลกั สตู รดวงดาวท่ี 2
128 ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 2

ส่วนมือขวาลดลงมาทาํ ท่าวันทยหตั ถ์ แล้วรอ้ งขนึ้ พร้อมกันว่า “เราจะทําดี-จะทําดี-จะทําดี”
ขณะท่ีลกู เสอื ร้องนี้ ให้ผู้กํากับทําวันทยหัตถ์ตามแบบลูกเสือสํารอง (สองน้ิว) เป็นการรับ

การเคารพของลูกเสอื และอาจจะกล่าวคาํ ขอบใจหรอื คําอื่นใดที่สน้ั ๆ ก็ได้
รองผกู้ าํ กับอ่ืน ๆ ท่ีอยนู่ อกวงกลมอยใู่ นทา่ ตรง

พธิ เี ปิด – ปดิ ประชุมกองลูกเสือสารอง

(1) พธิ เี ปดิ (แกรนดฮ์ าวล์ ชกั ธงขนึ้ สวดมนต์ สงบน่งิ ตรวจ แยก)
1. แกรนด์ฮาวล์
1.1 ผู้กํากบั ลูกเสอื ยนื ตรงหนา้ เสาธง หา่ งจากเสาธงประมาณ 3 ก้าว เรียกแถว

“แพ็ค-แพ็ค-แพ็ค” (แพ็ค คําทา้ ยให้เนน้ ให้หนกั ) พร้อมกับทาํ สญั ญาณมอื แกว่งรอบตวั เปน็ รูปวงกลม
โดยมีรองผกู้ ํากับยนื อยนู่ อกวงกลมและหลังผกู้ าํ กับ

1.2 ลกู เสือสาํ รองเมื่อได้ยินเสียงเรียกของผ้กู าํ กับทกุ คนจะต้องขานรบั พร้อมกันทนั ทีวา่
“แพค็ ” แล้ววิ่งมาเขา้ แถวเปน็ รปู วงกลมเล็กลอ้ มผู้กาํ กบั โดยนายหม่บู ริการอยตู่ รงหนา้ ผกู้ ํากบั จากนน้ั
เรียงไปตามลาํ ดบั ใหไ้ หลต่ อ่ ไหล่ชดิ กัน

1.3 ผู้กํากบั ผายมือทัง้ สองขา้ งออกไปข้าง ๆ เล็กนอ้ ย นวิ้ ทง้ั ห้าชิดตดิ กัน ฝาู มอื แบหงาย
แล้วลดมอื ลงเพอ่ื ตรวจดูความเรยี บรอ้ ย

1.4 ลกู เสือสาํ รองเมอื่ เหน็ สัญญาณของผ้กู าํ กับซง่ึ ผายมอื ออกไปขา้ ง ๆ ให้ทกุ คนจบั
มอื กนั ขยายออกเป็นรูปวงกลมใหญ่ จนแขนตงึ จงึ ปลอ่ ยมอื และจัดวงกลมให้ เรยี บรอ้ ย

1.5 ผกู้ าํ กบั ตรวจดูเหน็ ว่าวงกลมเรียบร้อยดแี ล้ว ให้กางแขนทง้ั สองออกไปข้าง ๆ
เสมอไหลข่ นานกับพน้ื นวิ้ ทงั้ หา้ ชดิ กนั ฝูามอื แบหงาย แลว้ พลิกฝาู มือคว่าํ ลงและงอง้มุ เปน็ สญั ญาณให้
ลกู เสือนั่งลง

1.6 ลกู เสสําอื รสอ�งำรทอุกงคทนกุ นคนงั่ ลนงงัท่ ลนังทนัที ทเ่ี หที ็นเ่ี หสน็ัญสญญั าญณาจณากจาผกกู้ ผาํ กู้ �ับำกบั โดยใหน้ ง่ั ลงบนส้นเทา้ ทง้ั สอง
แขนท้งั สองเหยยี ดตรงอยรู่ ะหว่างเขา่ มือท้ังสองห่างกนั พอสมควรและเขา่ ออกเลก็ น้อย นิ้วชแ้ี ละนว้ิ กลาง
ท้ังสองมอื เหยยี ดชดิ กนั และแตะพื้น นว้ิ อืน่ ๆ งดไว้ในองุ้ มือ(นิว้ หัวแมม่ ือกดนวิ้ นางกบั นวิ้ กอ้ ยไว้)

1.7 ผูก้ ํากบั ลูกเสอื พลกิ ฝูามอื ทงั้ สองหงายขน้ึ เป็นสญั ญาณให้ลูกเสอื รอ้ ง
1.8 ลูกเสือสาํ รองทุกคนแหงนหนา้ ร้องขึน้ พรอ้ ม ๆ กันวา่ “อา-เคลา-เรา-จะ-ทา-ด-ี ท-ี่ สดุ ”
พอขาดคาํ วา่ “สุด” ใหล้ กู เสือทกุ คนกระโดดยนื ขน้ึ เทา้ ทงั้ สองชดิ ติดกนั พร้อมกบั ยกมอื ทง้ั สองที่อยู่
ในท่านัง่ ไปไวเ้ หนอื หูและชิดหู
1.9 นายหมูล่ กู เสอื ซ่ึงทาํ หนา้ ทเ่ี ปน็ หมู่บริการในวนั น้นั (ทหี่ ันหน้าตรงกบั ผกู้ าํ กับ)
จะร้องขึ้นว่า “จงทาด-ี จงทาด-ี จงทาดี” การรอ้ งใหห้ นั หนา้ ไปทางซ้ายก่อน-ตรงหน้า-ขวา ทีละคร้งั
(เวลาร้องไมร่ ้องผงกศีรษะ)
1.10 เมอ่ื สน้ิ คําทีส่ ามแล้วให้ลกู เสือทุกคนลดมือซา้ ยลงมาแนบลําตัวอย่างวอ่ งไว(มอื แบออก)

136 คูม่ คือมู่ สอื่งเสสง่รเิมสแรลิมะแพลฒั ะนพาัฒกจิ นการรกมจิ ลกกู รเสรมอื ทลกั กู ษเสะชอื ีวทติ ักในษสะถชาวี นิตศใึกนษสาถปารนะเศภกึ ทษลูกาเสลอืกู สเ�ำสรืออสงชาหร้นั ลอปักงรสะูตถชรมน้ัดศวปึกงรษดะาาถปวมทีทศี่ี่ 22ึกษาป1ที 2ี่ 29

ส่วนมือขวาลดลงมาทําทา่ วันทยหัตถ์ แล้วร้องขน้ึ พรอ้ มกนั ว่า “เราจะทาด-ี จะทาด-ี จะทาดี” ขณะที่
ลกู เสอื รอ้ งนี้ ใหผ้ กู้ าํ กบั ทาํ วนั ทยหัตถต์ ามแบบลกู เสือสาํ รอง (สองนวิ้ ) เปน็ การรบั การเคารพของ
ลกู เสอื และอาจกลา่ วคําขอบใจ หรือคําอื่นใดท่ีสัน้ ๆ ก็ได้ เชน่ “ขอบใจ-แพ็ค” รองผกู้ าํ กับอน่ื ๆ ท่อี ยู่
นอกวงกลมอยใู่ นท่าตรง หลังจากผ้กู ํากบั และลูกเสือเอามอื ลงพรอ้ มกนั

2. ชักธงขึน้
2.1 ผกู้ ํากับสัง่ “ผแู้ ทนหมบู่ ริการชักธงชาติ” ลกู เสือทเ่ี ปน็ หม่บู รกิ ารหรอื ทาํ หนา้ ท่ีหมู่

บริการ 2 คน เป็นผชู้ ักธงชาติ วิ่งออกไปพรอ้ มกนั (ลกู เสอื วิง่ ออกดว้ ยเทา้ ซ้ายกอ่ น วางปลายเท้าลง
บนพ้ืน พร้อมกนั นน้ั ยกมอื ขนึ้ เสมอราวนม กาํ มอื และหนั ฝาู มอื เข้าหาตวั ยดื อกและศีรษะตั้งตรง
ขณะวิ่งแกว่งแขนท่งี อตามจงั หวะก้าวไดพ้ อสมควร

2.2 ลกู เสอื ผู้ชักธงชาตทิ ้งั สองวง่ิ ออกไปพรอ้ มกนั และหยดุ ยืนตรงหน้าเสาธง หา่ ง
เสาธงประมาณ 3 ก้าว ท้งั สองแสดงความเคารพท่าวันทยหัตถ์ และลดมอื ลงพรอ้ มกนั ลกู เสือคนทาง
ขวามอื กา้ วไปขา้ งหนา้ 2 ก้าว และชิดเท้า แก้เชอื กทผ่ี ูกธงออก แล้วถอยหลงั 2 กา้ ว กลับมายืนทเี่ ดมิ
และชิดเทา้ ยืนตรง แยกเชือกส่งให้ลกู เสอื คนทางซ้ายมอื (ให้ผนื ธงชาตอิ ยทู่ างขวามอื ของชกั ธงชาติเสมอ
อยา่ ใหส้ ว่ นหนงึ่ สว่ นใดของธงชาตแิ ตะพน้ื เป็นอนั ขาด) คนทางซ้ายมือเป็นคนชกั ธงชาติ คนทางขวามอื
เป็นคนปล่อยเชอื ก ลกู เสอื ทั้งสองคนยนื ตรงในขณะที่ชกั ธงชาติเชอื กทงั้ สองดา้ นตงึ ตลอดเวลาจนกวา่
ธงชาติจะขนึ้ สูย่ อดเสา

2.3 ผู้กํากบั สงั่ “แพค็ -วันทยหัตถ์” (คําสงั่ วนั ทยหัตถน์ ไ้ี มใ่ ช่คาํ บอกแบ่ง แตเ่ ป็นคาํ บอก
รวดวา่ “วนั ทยหัตถ์” ลกู เสอื ในวงกลมท้งั หมด รวมทัง้ ผกู้ าํ กบั และรองผกู้ าํ กับอ่นื ๆ ทาํ วนั ทยหตั ถ์
พรอ้ มกนั ผู้บงั คับบัญชาลกู เสือทาํ วนั ทยหตั ถ์ 3 นิ้ว

2.4 ลกู เสือหมูบ่ ริการคนหน่ึงนํารอ้ งเพลงชาติ “ประเทศไทยรวมเลอื ดเนื้อชาตเิ ชอ้ื
ไทย” ผบู้ ังคบั บัญชาลูกเสือและลูกเสอื ทุกคนรอ้ งเพลงพรอ้ มกนั “เป็นประชารัฐ ผไทของไทยทกุ
ส่วน…..” จนจบเพลง พอเร่มิ ร้องเพลงชาติใหล้ กู เสือคนทางซ้ายมอื ดึงเชอื กให้ ธงชาตขิ ้นึ สยู่ อดเสา
อย่างชา้ ๆ ใหเ้ ชอื กตงึ ส่วนคนทางขวามือคอ่ ย ๆ ผอ่ นเชอื กใหธ้ งชาตขิ ึ้นและเชือกตงึ เชน่ เดียวกนั ผู้
ชกั ธงชาตจิ ะต้องกะระยะวา่ พอเพลงชาตจิ บให้ธงชาตถิ งึ ปลายเสาพอดี เมอื่ ธงชาตขิ นึ้ ยอดเสาแลว้
ลูกเสอื คนทางขวามอื รบั เชือกจากลกู เสอื ทางซา้ ยมอื มารวมกัน แลว้ กา้ วออกไปขา้ งหนา้ 2 กา้ ว และ
ชิดเท้ายืนตรง ผกู เชอื กธง ก้าวถอยหลังและชดิ เท้า กลับมายนื ตรงท่เี ดิม ลกู เสือท้ังสองยนื ตรง ทํา
วันทยหัตถ์ และลดมือลงพรอ้ มกนั (ผู้บังคบั บญั ชาลูกเสือทกุ คนลดมอื ลง) ลกู เสอื ท้ังสองกลบั หลังหนั
ว่งิ กลบั มาเขา้ แถวในหมขู่ องตน แล้วทําวันทยหตั ถเ์ หมอื นลกู เสอื ในแถว

2.5 ผกู้ ํากบั ส่งั “มอื ลง” ลูกเสอื ทุกคนลดมือลงพรอ้ มกัน
3. สวดมนต์

3.1 ผกู้ าํ กบั ส่งั “ผแู้ ทนหมูบ่ ริการนาสวดมนต์” ลกู เสอื ทุกคนใชม้ อื ขวาจบั ทห่ี มวก
ดา้ นหนา้ แลว้ ถอดหมวก พรอ้ มกับยกมือซ้ายขึ้นมาประกบกบั มอื ขวาในทา่ พนมมือ ใหด้ า้ นในของ

คู่มอื ส่งเสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลกู เสือทักษะชวี ติ ในสถานศึกษา ลกู เสอื สารอง ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 2 137
คมู่ ือสง่ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลกู เสอื ทักษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสือสำ�รอง หลักสตู รดวงดาวที่ 2
130 ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2

หมวกหนั ไปทางซ้าย หน้าหมวกหนั เขา้ หาตวั ให้หมวกอยู่ในระหวา่ งฝูามอื ทัง้ สอง และหนบี หมวกไว้
ผู้บังคับบัญชาทกุ คนถอดหมวกดว้ ย

3.2 ลกู เสือหมูบ่ รกิ ารคนหนง่ึ ทไ่ี ดร้ ับมอบหมายนาํ สวดมนต์ยอ่ ผบู้ ังคับบญั ชาลกู เสอื
และลูกเสือทุกคนสวดมนตต์ ามพรอ้ มกนั (สวดนํา) “อรห สมมา สมพทุ โธ ภควา” (สวดตาม) “อรห
สมมา สมพทุ โธ ภควา” สวดนําและสวดตามจนจบ

4. สงบนงิ่
4.1 ผู้กํากับสัง่ “สงบนงิ่ ” (ผู้กํากับและลูกเสอื ทุกคนลดมือขวาทถ่ี ือหมวกไปอยกู่ ึง่ กลาง

ลําตวั แขนเหยยี ดตรง พรอ้ มกับวางฝูามอื ซ้ายทบั ลงบนหลงั มือขวา ก้มหน้าเลก็ นอ้ ย) สงบนิ่ง
ประมาณ 1 นาที

4.2 ผูก้ าํ กบั สง่ั “สวมหมวก” ผู้กาํ กับและลูกเสอื ทุกคนเงยหน้าขึน้ สวมหมวก และอยู่
ในทา่ ตรง

4.3 ผู้กาํ กับส่งั “แพค็ , ตามระเบยี บ-พัก” ผู้กํากับกา้ วเข้าไปยืนตรงท่ีหนา้ เสาธง
เชน่ เดิม

5. ตรวจ
การตรวจมี 2 ประเภท คอื รองผกู้ าํ กับตรวจ และนายหมู่ตรวจ โดยมขี อ้ เสนอแนะในการ

ตรวจ ดังน้ี
ก. ถา้ เป็นการตรวจในตอนเปดิ ประชุมกอง จะตรวจอะไรกไ็ ด้ เชน่ เครอ่ื งแบบ เล็บ

ฟัน ความสะอาดอ่นื ๆ สุขภาพของรา่ งกาย อปุ กรณท์ ่ีผกู้ าํ กับสั่งให้เอามาในการเรยี น การสอน
ข. ถ้าเปน็ การตรวจในตอนปิดประชุมกอง ใหต้ รวจเครอ่ื งแบบอยา่ งเดยี ว เพราะเหตุ

วา่ ลูกเสอื เรียนมาเป็นเวลานานแล้ว เครื่องแตง่ กายย่อมไม่เรยี บรอ้ ย และจะต้องแตง่ เครอื่ งแบบกลบั
บา้ น ผา่ นที่ชมุ นุมชนหลายแหง่ ถ้าไม่เรียบร้อยอาจจะนาํ ความเส่ือมเสยี มาสกู่ องลกู เสือของตนได้

5.1 รองผูก้ ํากับตรวจ
5.1.1 ผูก้ าํ กบั สั่ง “รองผกู้ ากับตรวจฟนั ” รองผู้กาํ กับทุกคนวิง่ ออกไปหาผกู้ ํากบั

ทําความเคารพ (วนั ทยหัตถ)์ ผูก้ าํ กับเสยี กอ่ น ผกู้ าํ กับรับการเคารพดว้ ยวนั ทยหัตถ์ และลดมือลง
แลว้ รองผกู้ ํากับรบี วงิ่ ไปตรวจหมลู่ กู เสอื ทนั ที

5.1.2 รองผกู้ ํากับหยดุ ยนื ตรงหนา้ นายหมู่ ห่างจากนายหมปู่ ระมาณ 3 กา้ ว
นายหมูส่ ่งั “หม่สู ี……….ตรง” ลูกเสอื ทกุ คนตรง นายหมคู่ นเดยี วทําวนั ทยหตั ถ์ แล้วลดมอื ลง ก้าวไป
ขา้ งหนา้ 1 ก้าว ทําวนั ทยหัตถพ์ รอ้ มกลา่ วรายงานว่า “หมสู่ ี……….พร้อมท่ีจะรับตรวจแล้วครบั ” (รอง
ผกู้ ํากับรับการเคารพดว้ ยวนั ทยหัตถ์ เมื่อนายหม่รู ายงานและลดมอื ลงเมอื รายงานจบ) เมอื่ รายงาน
จบ ลดมอื ลง ถอยหลงั เขา้ ทีเ่ ดมิ

5.1.3 รองผูก้ ํากบั ออกไปข้างหน้า 1 ก้าว และชิดเท้า ตรวจนายหมเู่ ป็นคนแรก

138 คู่มคือ่มู สือ่งเสสง่รเมิ สแรลิมะแพลัฒะนพาฒักิจนการรกมิจลกูกรเสรมือทลักกู ษเสะชือวี ทติ ักในษสะถชาวี นติ ศใกึ นษสาถปารนะเศภึกทษลูกาเสลือกู สเำ�สรอื อสงชาหร้นั ลอปักงรสะูตถชรม้ันดศวปกึ งรษดะาาถปวมีททศ่ีี่ 22ึกษาป1ีท3่ี 21

5.1.4 รองผู้กํากบั สงั่ นายหมู่ “เดนิ ตามขา้ พเจา้ ” ตรวจลกู เสอื คนแรก และลกู เสอื
คนต่อ ๆ ไป การเดนิ ตรวจ รองผกู้ าํ กับกา้ วเท้าขวาไปทางขา้ งขวา 1 กา้ ว แล้วชักเทา้ ซ้ายไปชดิ อย่าง
แข็งแรงกอ่ น นายหมกู่ ้าวไปทางข้างขวา 1 กา้ ว แลว้ ชกั เทา้ ซา้ ยไปชิดอยา่ งแข็งแรง ยนื ในแนว
เดียวกบั รองผกู้ าํ กบั 1 กา้ ว ตรวจลกู เสอื 1 คน เมอื่ ตรวจลูกเสอื ถงึ คน สุดทา้ ยแลว้ ใหน้ ายหมู่ลกู เสอื
และรองผูก้ ํากบั เดนิ ยอ้ นกลบั ทเี่ ดมิ เหมือนตอนแรก นายหมู่ยนื ตรง ทําวนั ทยหตั ถ์ และกล่าววา่

“ขอบคณุ ครบั ” (ยนื อยู่กบั ทไ่ี มต่ อ้ งกา้ วออกไป) รองผู้กาํ กบั รบั การเคารพด้วยวันทยหตั ถ์ และลดมอื ลง
นายหมู่ลดมอื ลงแลว้ สง่ั ตอ่ ไป “ตามระเบียบ-พกั ”

5.2 นายหมู่ตรวจ
ในการประชุมกองลกู เสอื บางครง้ั รองผ้กู าํ กบั ไมอ่ ยูห่ รือมีนอ้ ย จาํ เป็นตอ้ งให้

นายหมูต่ รวจแทน แนวปฏบิ ตั ิคือ ผูก้ าํ กบั ส่ัง “นายหมู่ตรวจฟัน” นายหมทู่ ุกคนทาํ วันทยหัตถ์ ลดมือ

ลงแล้วกา้ วออกไปข้างหนา้ หมขู่ องตนเอง 3 กา้ ว แลว้ กลบั หลงั หนั รองนายหม่วู ิง่ อ้อมหลังหมูม่ ายนื
แทนที่ นายหมู่ และทาํ หน้าทน่ี ายหมู่ แล้วทาํ การตรวจแบบรองผู้กํากบั ในข้อ 5.1.4

5.3 การรายงานการตรวจ
5.3.1 รองผูก้ าํ กับรายงาน
เมือ่ นายหมู่ลกู เสอื ขอบคณุ รองผ้กู ํากบั ภายหลงั การตรวจเรยี บรอ้ ยแล้ว

รองผู้กาํ กบั กลบั หลงั หนั ก้าวออกไปขา้ งหนา้ 1 กา้ ว ทาํ วันทยหัตถ์ พรอ้ มกับกลา่ วรายงานตอ่ ผกู้ ํากบั

ว่า “ข้าพเจ้าไดร้ บั มอบหมายจากผกู้ ากบั ให้ไปตรวจฟนั หมู่สี…….ปรากฎว่า………..และไดต้ กั เตอื น
แล้ว, ครับ” เสรจ็ แลว้ วิ่งกลบั ที่เดมิ รองผู้กํากบั คนต่อไปก็รายงานต่อ ๆ ไป (รองผูก้ ํากบั เมอื่ ตรวจ
เสรจ็ แล้ว ให้รายงานผลการตรวจได้เลย ใครตรวจเสร็จก่อนให้รายงานก่อนโดยไมต่ อ้ งรอกัน)

5.3.2 นายหมลู่ กู เสอื รายงาน
เมือ่ นายหมลู่ ูกเสอื คนใดตรวจเสรจ็ แล้ว ใหย้ นื ตรงหนา้ หมู่ของตนเอง(อยู่

ในท่าตามระเบียบพกั ) โดยหันหนา้ ไปหาผกู้ าํ กบั และรอใหน้ ายหมูล่ กู เสือทกุ หมตู่ รวจเสรจ็ เรียบร้อย

เสียกอ่ น เมอ่ื นายหมูล่ กู เสือตรวจเสร็จเรยี บรอ้ ยทุกหมู่แล้ว นายหมู่ลกู เสือทกุ คนวิง่ ออกไปเขา้ แถว
หน้ากระดานแถวเดยี่ วตรงข้ามผกู้ ํากบั พรอ้ มกนั ห่างจากผกู้ าํ กับประมาณ 3 ก้าว นายหม่ลู กู เสอื หมู่
บรกิ ารยนื หัวแถว นายหมู่ลกู เสือหมูอ่ ่ืน ๆ เรยี งไปตามลาํ ดับ โดยอยู่ในท่าตามระเบียบพกั ผกู้ าํ กบั
ยืนอยกู่ ่ึงกลางของแถว

ผ้กู ํากบั ส่ัง “นายหมู่รายงาน” นายหม่ลู กู เสือหมู่บรกิ ารรายงานผลการตรวจเป็นคนแรก

โดยนายหมูล่ กู เสอื ยนื ตรง วันทยหัตถ์ และลดมอื ลง ก้าวออกไปขา้ งหนา้ 1 กา้ ว หนั หนา้ ไปหาผู้
กาํ กับ วันทยหตั ถ์ พรอ้ มกบั กลา่ วรายงาน “ข้าพเจา้ ได้รับมอบหมายจากผู้กากบั ใหไ้ ปตรวจฟนั หมู่
ส…ี …….ปรากฎว่า………. และได้แนะนาให้ปรบั ปรงุ แกไ้ ขแลว้ , ครบั ” เมอ่ื จบการรายงาน นายหมู่
ลกู เสอื ลดมือลง ถอยกลับเขา้ ทท่ี ําวนั ทยหัตถ์ ลดมอื ลง ตามระเบียบพัก นายหมู่คนตอ่ ไปทําท่าตรง
วันทยหัตถ์พรอ้ มกับนายหม่คู นแรก ลดมือลง ก้าวออกไปขา้ งหนา้ 1 กา้ ว หันหนา้ ไปหาผ้กู าํ กับ
วันทยหตั ถ์ พร้อมกบั กลา่ วรายงาน...... นายหมูค่ นอื่น ๆ ปฏิบตั ิ เช่นเดยี วกัน จนกระทงั่ การรายงาน

ผลการตรวจเสร็จเรียบรอ้ ย ผูก้ ํากบั สงั่ “กลบั ทเี่ ดมิ -วงิ่ ” นายหมู่ทุกคนทาํ วนั ทยหัตถ์และลดมอื ลง

คู่มอื ส่งเสริมและพฒั นากิจกรรมลูกเสอื ทักษะชีวิตในสถานศกึ ษา ลกู เสือสารอง ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 2 139
คมู่ อื สง่ เสริมและพัฒนากิจกรรมลกู เสือทักษะชีวิตในสถานศึกษา ประเภทลกู เสอื ส�ำ รอง หลักสตู รดวงดาวท่ี 2
132 ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 2

พรอ้ มกัน กลับหลงั หันว่ิงมายนื ในหมขู่ องตนเองในตําแหน่งเดิม รองนายหมู่ว่ิงอ้อมหลังหมูก่ ลบั มายนื
ทาํ หน้าท่ีรองนายหมู่ตามเดิม

6. แยก
ผกู้ ํากบั ส่ัง “แพ็ค-ตรง, แพค็ -แยก” ลกู เสือทุกคนขวาหนั แลว้ แยกไปปฏบิ ัติกจิ กรรม

อน่ื ตอ่ ไป

(2) เกม - เพลง

เกมหรอื การเลน่ ของลกู เสอื เป็นอปุ กรณท์ ่สี าํ คญั ทส่ี ดุ อยา่ งหนงึ่ ในการฝกึ อบรมลูกเสอื ทุก
ประเภท ทง้ั ใจทางจติ ใจและในการบรหิ ารรา่ งกาย เกมช่วยพฒั นาเดก็ ในเรอื่ งนิสยั ใจคอ อารมณด์ ี
นํา้ ใจนกั กีฬา การรักหมู่คณะ ความอดทน ระเบยี บวนิ ยั และความไมเ่ หน็ –แก่ตวั ทกุ ครั้งท่ีมกี าร
ประชมุ กองจะตอ้ งมีการจัดการให้เดก็ เล่นเกมเพอ่ื บรหิ ารรา่ งกายเปน็ การฝึกอบรมเดก็ ในทางจติ ใจไป
ในตัว เกมทใ่ี ช้จะตอ้ งเลอื กเกมทีเ่ หมาะสมตอ่ วัยของเดก็ ด้วย หรอื การร้องเพลงเพอ่ื เป็นการปลกุ ใจ
คลายอารมณ์ กอ่ ให้เกดิ ความร่าเรงิ บันเทงิ ใจ และการรอ้ งเพลงเปน็ เพลงหมหู่ รอื รอ้ งพรอ้ ม ๆ กนั
เพอ่ื เปน็ การสง่ เสรมิ ความสามคั คี

(3) การสอนตามเนื้อหา

ผกู้ าํ กับลูกเสอื จะกาํ หนดเน้ือหาตามหลักสูตร ซ่ึงเขยี นเป็นแผนการสอนหรอื โครงการ
สอนในแตล่ ะคาบ จะกําหนดเนอื้ หาสาํ หรับเขยี นไว้ในการประชุมกอง การสอนอาจจะสอนเปน็ ฐาน
แล้วมกี ารเปลี่ยนฐาน โดยกาํ หนดเวลาให้ อาจจะมี 1 ฐาน หรือมากกว่ากไ็ ด้ ข้นึ อยกู่ ับลกู เสือและ
ความเหมาะสมตา่ ง ๆ ส่วนเทคนคิ การสอนอาจจะเป็นแบบบรรยาย อภิปราย สาธิต หรอื ปฏิบัติ
จรงิ แลว้ แต่เนอ้ื หาทกี่ าํ หนด หรอื อาจจะให้นายหมู่สอนภายในหม่ตู นเองกไ็ ด้

การรายงานเพอ่ื เข้าฝกึ ตามฐาน
การฝกึ ลกู เสอื ตามฐานตา่ ง ๆ นัน้ ใหจ้ ดั ฐานแตล่ ะฐานเป็นวงกลมหรอื รปู เหลย่ี ม มี
ศนู ยก์ ลาง ระยะทางระหวา่ งฐานควรเทา่ กนั เสน้ ทางการเดนิ ทางใหส้ ะดวก บางฐานอาจมเี สน้ ทางเข้า
สฐู่ านไมต่ รงตอ้ งออ้ มสงิ่ ปลูกสร้าง พุ่มไม้ หรอื บ่อน้ํา ก็จงคาํ นึงถึงเวลาเดนิ ทาง ใหเ้ ท่ากบั ฐานอนื่ ๆ
มิฉะนัน้ แล้ว ลูกเสือจะเสียเวลาเดนิ ทาง ไมไ่ ดร้ บั ความรู้ในฐานน้นั เตม็ ที่
การเคลือ่ นท่ีเขา้ ฐานนยิ มเคล่ือนโดยเวียนขวา คือ ไปตามเขม็ นาฬิกา ฉะนน้ั ผ้อู ยู่
ประจําฐาน (วิทยากร) จะตอ้ งหนั หน้าเขา้ สจู่ ดุ ศูนย์กลางของวงใหญ่ เมอ่ื ลูกเสอื ฝกึ ครบเวลามี
สัญญาณปลอ่ ยตวั แลว้ จะเขา้ แถวหนา้ กระดาน ทาํ ขวาหนั แลว้ เคล่อื นท่ีตามนายหมไู่ ดเ้ ลย
การเข้าฐานคร้งั ละหลายหมู่ แตล่ ะหม่นู น้ั นายหมู่ตอ้ งรายงานเองทกุ หมู่ ให้รายงานที
ละหมู่ มบิ ังควรท่จี ะให้หม่ใู ดหมหู่ นงึ่ รายงานรวมหนเดยี ว เพราะนายหมจู่ ะสั่งการไดเ้ ฉพาะลูกหมู่

140 คูม่ คือู่มสือง่ เสสง่รเมิ สแรลิมะแพลัฒะนพาฒักจิ นการรกมิจลกูกรเสรมอื ทลักกู ษเสะชือวี ทติ กั ในษสะถชาวี นิตศใึกนษสาถปารนะเศภกึ ทษลูกาเสลอืกู สเำ�สรืออสงชาหรน้ั ลอปกั งรสะตู ถชรมัน้ดศวปกึ งรษดะาาถปวมีททศ่ี่ี 22ึกษาป1ีท3่ี 23

ตนเองเท่าน้ัน หากมีการเข้าฐานมากหมจู่ นเกนิ ไปจะเสียเวลามาก ก็เปลี่ยนการเขา้ ฐานแบบวทิ ยากร
เคลอ่ื นทไี่ ปหาลกู เสอื ซึ่งแบบน้ีจะสามารถมีผ้แู ทนสั่งเคารพคนเดยี วไดเ้ สมอื นครูเขา้ หอ้ งสอน

1. การรายงานของลูกเสอื สาํ รองซง่ึ ไมม่ อี าวธุ
นายหมู่จะสงั่ “หมสู่ ี………ตรง” เฉพาะนายหมเู่ ม่ือตรงแลว้ ก็ทาํ วันทยหัตถ์ ลดมอื ลง

ก้าวเข้าไปรายงาน ขณะรายงานกท็ าํ วนั ทยหตั ถ์ รายงานว่า “หมสู่ ี……….พรอ้ มทีจ่ ะรับการฝึกแล้ว
ครบั ” รายงานแล้วลดมอื ลงถอยหลังเขา้ ไปในแถว อยู่ในท่าตรงเหมอื นลูกหมู่ แล้วสงั่ “ตามระเบยี บ-
พัก” (ถอยเขา้ ไปในแถวแลว้ ไม่ต้องทําวนั ทยหตั ถ์)

สําหรับผู้ประจําฐานใหร้ ับการเคารพดว้ ยวันทยหัตถ์ ตอนที่ลกู เสอื เคารพดว้ ย ทา่ ตรง
ทําวนั ทยหตั ถค์ ้างไว้จนกว่านายหมูจ่ ะรายงานจบและลดมอื ลง จงึ ลดมอื ลงพร้อมกบั นายหมู่

2. การเขา้ ฐานกรณผี ้ปู ระจาํ ฐานเคลอื่ นทีเ่ อง
การสอนแบบนีเ้ หมาะสาํ หรบั มลี กู เสอื จํานวนมาก เมื่อแบ่งฐานแล้วจะได้ฐานละหลาย

หมู่ หากจะใหล้ กู เสอื เคลอื่ นท่จี ะเสียเวลามาก จงึ ควรจดั ให้ลกู เสืออยเู่ ป็นกลมุ่ กลมุ่ ละหลาย ๆ หมู่
กรณีนไ้ี มต่ อ้ งมกี ารรายงาน ให้ทาํ เหมอื นครเู ดินเข้าหอ้ งสอน เมอ่ื ผู้ประจําฐานเขา้ ไป

ลกู เสอื กท็ ําความเคารพ โดยผกู้ าํ กับจะแตง่ ตง้ั หัวหน้านายหมชู่ ัว่ คราวไว้เปน็ ผูส้ ัง่ เคารพ โดยส่ังว่า
“ลูกเสือ-ตรง” หวั หนา้ ทาํ วันทยหัตถ์และลดมอื ลง แลว้ สงั่ “ตามระเบียบ, พกั ”
สาํ�ำหหรรับับผู้ปผูร้ปะรจําะฐจา�ำนฐาน เม่ือเข้าไปเมเขื่อเาขสา้ ังไ่ ปเคเขาารสพ่ังเกค็ารรับพกกา็รับรเกคาราเรคพารตพาตมามธธรรรรมมดา
(วันทยหัตถ์ ลดมอื ลงเลย เพราะไม่มกี ารรายงาน) จะเหมอื นกบั ครูเข้าสอนในหอ้ งเรยี น)

3. การลาฐานเมอื่ หมดเวลา
นายหมู่เป็นผูส้ ่งั โดยออกคาํ สง่ั ว่า “หมูส่ ี……….ตรง” นายหม่ทู าํ วันทยหัตถ์ และ

กลา่ ววา่ “ขอบคุณ-ครับ” นายหมู่ลดมือลง แล้วสั่ง “ขวาหนั , ตามขา้ พเจา้ ”

(4) ผกู้ ํากบั เล่าเร่อื งส้ันทเ่ี ปน็ ประโยชน์
ผู้กาํ กับควรจะหาเรื่องสนั้ หรือนทิ านมาเลา่ ใหล้ กู เสอื ฟงั เพอื่ แทรกคตธิ รรมตา่ ง ๆ โดยท่ี

ลกู เสือได้รับไปปฏิบัติโดยไม่รตู้ ัว ทงั้ นี้ เพ่อื ให้เกดิ ความนับถอื ความสนิทสนม ความเปน็ กันเอง
เพอ่ื ใหล้ กู เสอื เกดิ ความกล้า ความสามคั คี เกิดความรักชาติ เสยี สละ กตญั ํู

(5) พธิ ีปดิ (นัดหมาย ตรวจเคร่อื งแบบ แกรนดฮ์ าวล์ ชักธงลง เลิก)

1. นดั หมาย
1.1 ผกู้ าํ กบั ยืนตรงหน้าเสาธง หา่ งจากเสาธงประมาณ 3 ก้าว เรียกแถว “แพค็ -

แพค็ -แพค็ ” (แพค็ คาํ ท้ายให้เนน้ ให้หนกั ) พรอ้ มกบั ทําสญั ญาณเมือแกวง่ รอบตวั เป็นรปู วงกลม โดยมี
รองผู้กํากบั ยืนอยนู่ อกวงกลมและหลงั ผู้กาํ กับ

คูม่ ือสง่ เสริมและพฒั นากจิ กรรมลูกเสอื ทกั ษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสือสารอง ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 2 141
คู่มอื ส่งเสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลูกเสือทกั ษะชีวิตในสถานศึกษา ประเภทลูกเสือสำ�รอง หลักสตู รดวงดาวที่ 2
134 ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 2

1.2 ลูกเสือสาํ รองเม่ือไดย้ ินเสียงเรยี กของผูก้ าํ กบั ทกุ คนจะตอ้ งขานรับพร้อมกนั
ทันทีว่า “แพค็ ” แลว้ วงิ่ มาเขา้ แถวเปน็ รปู วงกลมเล็กลอ้ มผู้กาํ กบั โดยนายหมู่บรกิ ารอยูต่ รงหน้าผู้
กํากบั จากนน้ั เรียงไปตามลาํ ดบั ใหไ้ หลต่ อ่ ไหลช่ ดิ กัน

1.3 ผู้กํากับนดั หมายกับลกู เสอื เร่ืองทนี่ ดั หมาย คอื เร่อื งทจี่ ะตอ้ งใหล้ ูกเสอื เตรยี ม
อปุ กรณใ์ นการฝึกอบรมคร้ังตอ่ ไป เชน่ ครัง้ ต่อไปจะฝกึ อบรมเรอื่ งเงื่อน ลกู เสือเตรยี มเชือก

2. ตรวจ
2.1 ผูก้ าํ กบั ผายมอื ทง้ั สองขา้ งออกไปขา้ ง ๆ เลก็ นอ้ ย น้ิวทัง้ หา้ ชดิ ติดกนั ฝาู มือแบ

หงาย แลว้ ลดมือลง เพอ่ื ตรวจดคู วามเรยี บร้อย แลว้ ส่ัง “แพ็ค-ตามระเบียบ, พัก”
สาํ หรับการตรวจตอนปดิ ประชุมกองจะตรวจเครอ่ื งแบบ เครื่องแต่งกาย เพราะลกู เสือ

จะตอ้ งเดนิ ผา่ นชุมชน ตลาด ถ้าหากแต่งตัวไม่เรียบรอ้ ยอาจจะถูกตําหนิแกผ่ ูท้ พ่ี บเห็นได้

2.2 รองผ้กู าํ กบั ตรวจ
2.2.1 ผูก้ ํากบั สงั่ “รองผกู้ ากับตรวจเครื่องแบบ” รองผ้กู ํากับทกุ คนวงิ่ ออกไปหา

ผู้กํากับ ทําวนั ทยหัตถ์และลดมอื ลง ผกู้ าํ กบั รับการเคารพด้วยวนั ทยหัตถ์และลดมอื ลงเมอื่ รองผกู้ าํ กบั
ลดมือลง รองผูก้ าํ กบั วง่ิ ไปตรวจหมู่ลูกเสอื ทนั ที

2.2.2 รองผูก้ ํากบั หยุดยนื ตรงขา้ มนายหมู่ หา่ งจากนายหมปู่ ระมาณ 3 ก้าว
นายหมู่สงั่ “หมสู่ ี……….ตรง” ลกู เสือทกุ คนยนื ตรง นายหมทู่ าํ วันทยหตั ถ์ และลดมอื ลง กา้ วออกไป
ขา้ งหนา้ 1 ก้าว ทําวนั ทยหัตถ์ พรอ้ มกับกลา่ ววา่ “หมู่สี…….…….พร้อมที่จะรับการตรวจแลว้ ครบั ”
(รองผ้กู ํากบั รบั การเคารพด้วยวนั ทยหัตถเ์ มือ่ นายหม่รู ายงาน และลดมอื ลงเมอื่ นายหม่รู ายงานจบ)
นายหมู่ลดมอื ลง ก้าวถอยหลงั 1 ก้าว และชิดเท้ากลับมายนื ในท่าตรง

2.2.3 รองผู้กํากับกา้ วออกไปขา้ งหนา้ 1 ก้าว และชดิ เทา้ ตรวจนายหมเู่ ปน็ คน
แรก โดยมขี ้อเสนอแนะในการตรวจ ดงั น้ี

การตรวจเครื่องแบบนายหมู่เปน็ คนแรก จะตอ้ งถกู ตรวจดา้ นหนา้ ซ่งึ จะตอ้ งตรวจใน
เรือ่ งตอ่ ไปน้ี

1) หมวก
หมวกทรงกลมมกี ะบังหนา้ หมวก ทําด้วยผา้ สกี รมท่า ตวั หมวกเยบ็ ด้วยผา้ 6 ช้นิ

แนวตะเข็บระหวา่ งชน้ิ และขอบหมวกโดยรอบทาบด้วยดา้ ยหรือไหมถกั สีเหลอื ง เม่อื เขา้ พธิ ปี ระจํา
กองแล้ว มตี ราหนา้ หมวกรปู หน้าเสอื และอักษรใตห้ นา้ เสอื วา่ “ลกู เสือ” สีเหลอื ง บนผ้าสกี รมทา่ ขลบิ
รมิ สีกรมท่ารูปไข่ ยาว 4 ซม. กว้าง 3.5 ซม. หมวกตอ้ งมขี นาดเหมาะสมกบั ศีรษะ และสวมปดิ ไรผม
ทง้ั หมด

2) เสอ้ื
เปน็ เสื้อเช้ติ แขนสนั้ สีขาว คอมีปก ผ่าอกตลอด มดี มุ ตดิ ตลอด มสี าบที่ หนา้ อก ปฺาย

ชอื่ โรงเรยี นเปน็ ผา้ โคง้ ไปตามตะเข็บไหล่ ตดิ ตา่ํ กว่าไหล่ขา้ งขวา 1 เซนตเิ มตร แผ่นปฺายบอกชื่อกลมุ่

142 คูม่ คือมู่ สือ่งเสส่งรเิมสแรลิมะแพลัฒะนพาฒักจิ นการรกมจิ ลกูกรเสรมอื ทลกั ูกษเสะชือีวทติ กั ในษสะถชาีวนติ ศใึกนษสาถปารนะเศภกึ ทษลูกาเสลอืกู สเำ�สรืออสงชาหรั้นลอปกั งรสะตู ถชรม้ันดศวปกึ งรษดะาาถปวมีททศี่ี่ 22กึ ษาป1ที 3่ี 25

กอง ติดอยกู่ ลางปฺายช่อื โรงเรยี น (ตวั ขาว พนื้ แดง) ส่วนเครือ่ งหมายหม่ทู ําดว้ ยผา้ สามเหลย่ี มดา้ น
เท่า ยาวดา้ นละ 3.5 เซนติเมตร ตดิ ท่ีแขนเสือ้ ใต้ตะเขบ็ ไหลซ่ ้าย 1 เซนติเมตร ใหม้ มุ แหลมขึ้น
เคร่อื งหมายนายหมมู่ แี ถบผา้ สีเหลือง กวา้ ง 1.5 เซนตเิ มตรา ติดรอบแขนเสอ้ื ข้างซา้ ย สงู กวา่ แขนเสอื้
1 เซนตเิ มตร 2 แถบ ห่างกัน 1 เซนติเมตร

3) ผา้ ผกู คอ

ผา้ ผูกคอเปน็ รูปสามเหลย่ี มหน้าจ่วั ดา้ นฐาน 100 เซนตเิ มตร ดา้ นต้ัง 75 เซนตเิ มตร
ม้วนพับตามแนวทะแยงใหเ้ รยี บเหลือชายประมาณ 1 ฝาู มือให้รอยพับอยู่ดา้ นใน รวบชายผ้าผกู คอไว้
ด้านหน้า แล้วสวมปลอกตราคณะลกู เสอื แหง่ ชาติ ใหป้ ลอกหา่ งจากคางระยะ 1 กํามอื ของตนเอง

4) กางเกง
กางเกงสตี ามที่ผู้บังคบั บัญชาลูกเสอื แต่ละโรงเรยี นกําหนด ขาส้นั เหนอื เขา่ ประมาณ

5 เซนติเมตร สว่ นกวา้ งของขากางเกงเมอื่ ยืนตรงห่างจากขาตง้ั แต่ 8-12 เซนติเมตร ปลายขาพับเข้า
กว้าง 5 เซนติเมตร ผ่าตรงส่วนหน้า มซี ปิ ซอ่ นไวข้ ้างใน มีกระเป฼าตามแนวตะเขบ็ ข้างละ 1 กระเป฼า
และมหี ูรอ้ ยเขม็ ขดั ยาวไมเ่ กนิ 6 เซนตเิ มตร กวา้ ง 1 เซนตเิ มตร

5) เขม็ ขดั
เข็มขดั หนงั สีนา้ํ ตาล กว้างไม่เกนิ 3 เซนตเิ มตร หวั ชนดิ หัวขดั ทาํ ด้วยโลหะ สีทอง มี

ลายดุนรปู ตราคณะลูกเสือแห่งชาตภิ ายในกรอบช่อชยั พฤกษ์ ตรงสว่ นลา่ งของกรอบมคี ตพิ จน์ว่า

“เสียชพี อยา่ เสียสัตย์” เวลาคาดเขม็ ขดั ทับขอบกางเกง ไมป่ ลอ่ ยใหห้ วั เขม็ ขดั ห้อยยาน
6) ถุงเทา้
ชนดิ และสตี ามท่ีผบู้ งั คบั บญั ชาแตล่ ะโรงเรยี นกาํ หนด
7) รองเทา้
ชนิดและสีตามทผี่ ู้บังคบั บัญชาลกู เสือแตล่ ะโรงเรยี นกําหนด จะทาํ ด้วยหนงั หรอื ผา้ ใบ

กไ็ ด้ แตไ่ มม่ ีลวดลาย หมุ้ สน้ มเี ชอื กผกู แขง็ แรง และผกู ด้วยเงือ่ นพริ อด ถา้ เป็น รองเทา้ หนังใหข้ ดั ให้

เงางาม
2.2.4 เม่ือรองผกู้ ํากับตรวจดา้ นหน้าเสรจ็ เรยี บรอ้ ยแลว้ สัง่ “กลับหลังหนั ” เพ่อื

ตรวจด้านหลงั อีกคร้ังหน่งึ นายหมกู่ ลบั หลงั หนั รองผู้กํากับตรวจความเรียบรอ้ ยดา้ นหลัง เชน่ ผ้า
ผกู คออย่ตู รงกลางเส้ือ เสื้อออกนอกกางเกงหรอื ไม่

2.2.5 เม่ือรองผกู้ าํ กับตรวจนายหม่ดู ้านหลงั เสรจ็ เรยี บร้อยแลว้ รอง – ผู้กาํ กบั

ส่งั “กลับหลังหนั ” รองผู้กาํ กับสัง่ ตอ่ ไป “เดินตามขา้ พเจ้า” ตรวจลกู เสอื ดา้ นหนา้ ตรวจลูกเสอื คนแรก
และคนต่อ ๆ ไป การเดินตรวจ รองผู้กาํ กับก้าวเทา้ ขวาไปทางข้างขวา 1 ก้าว แล้วชักเท้าซา้ ยไปชิด
อยา่ งแขง็ แรง นายหมกู่ ้าวเท้าขวาไปทางขา้ งขวา 1 ก้าว แล้วชกั เทา้ ซา้ ยไปชิดอยา่ งแข็งแรง ยืนใน
แนวเดียวกับรองผกู้ าํ กบั ก้าว 1 กา้ วตรวจลูกเสอื 1 คน การตรวจเหมอื นกบั การตรวจนายหมู่
ด้านหน้าทุกประการ ถ้าเป็นการตรวจในตอนเปิดประชมุ กอง ตรวจสขุ ภาพรา่ งกาย หรืออปุ กรณ์การ
เรยี นการสอน จะไมเ่ ดนิ อ้อมหลัง

คมู่ ือส่งเสรมิ และพัฒนากิจกรรมลกู เสือทกั ษะชีวิตในสถานศกึ ษา ลกู เสอื สารอง ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 2 143
ค่มู อื สง่ เสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลกู เสอื ทักษะชีวิตในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสอื ส�ำ รอง หลกั สูตรดวงดาวท่ี 2
136 ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 2

เมอื่ ตรวจด้านหนา้ เสรจ็ ทกุ คน แล้วจงึ เดินตรวจดา้ นหลงั ต่อไป (เดนิ ออ้ มหลัง) การเดนิ
ตรวจดา้ นหลงั ใหป้ ฏบิ ตั ิเชน่ เดยี วกบั การเดนิ ตรวจด้านหนา้ การตรวจปฏบิ ตั เิ ช่นเดยี วกบั การตรวจ
นายหมู่ เมอื่ ตรวจดา้ นหลังเสรจ็ ทุกคนแล้ว รองผู้กาํ กบั และนายหมกู่ ลบั มายนื ทเ่ี ดมิ อกี ครง้ั หนงึ่ นาย
หมูย่ ืนตรง ทาํ วันทยหตั ถ์ และกลา่ ววา่ “ขอบคณุ ครับ” (ยืนอยกู่ บั ที่ ไมต่ อ้ งกา้ วออกไป) รองผ้กู ํากบั
รับการเคารพด้วยวันทยหัตถแ์ ละลดมอื ลง นายหมู่ส่ังตอ่ ไป “ตามระเบยี บ-พัก”

2.3 นายหมตู่ รวจ
ในการประชมุ กองลูกเสอื ในบางครัง้ รองผู้กํากับไมม่ า จาํ เป็นตอ้ งให้นายหมู่

ตรวจแทน แนวปฏิบตั ิ คือ ผู้กาํ กบั ส่งั “นายหมตู่ รวจ” นายหม่ทู กุ หมกู่ ้าวออกไปข้างหน้าหมู่ของ
ตนเอง 3 กา้ ว รองนายหมู่วิง่ ออ้ มหลังมายืนแทนท่ีนายหมู่ และทาํ หน้าทีน่ ายหมู่ โดยทาํ การตรวจ
แบบรองผ้กู าํ กับทกุ ประการ

2.4 การรายงานการตรวจ
2.4.1 รองผูก้ ํากับรายงาน
เม่ือนายหมู่ขอบคณุ รองผู้กํากับภายหลงั การตรวจเรยี บรอ้ ยแล้ว รองผู้

กํากับกลับหลงั หนั ก้าวออกไปดา้ นหนา้ 1 ก้าว ทาํ วนั ทยหัตถ์ พรอ้ มกับกล่าวรายงานว่า “ข้าพเจา้ ได้รบั
มอบหมายจากผกู้ ากับให้ไปตรวจ……….หมู่ส…ี ……ปรากฎวา่ …………..และได้ตักเตอื นเรียบรอ้ ย,
ครบั ” เสรจ็ แล้ววิ่งกลับเข้าท่ีเดิม (โดยไม่วงิ่ ไปตดั หนา้ ผอู้ นื่ ) รองผกู้ าํ กับคนต่อไปกร็ ายงานตอ่ ๆ ไป

2.4.2 นายหมรู่ ายงาน
เม่อื นายหมูล่ กู เสอื คนใดตรวจเสรจ็ แล้ว ใหย้ ืนตรงหน้าหมขู่ องตนเอง(อยู่

ในท่าตามระเบียบพัก) โดยหนั หน้าไปหาผกู้ าํ กบั และรอใหน้ ายหมู่ลกู เสือทุกหมู่ตรวจเสรจ็ เรียบร้อย
เสยี กอ่ น เมอ่ื นายหมลู่ กู เสอื ตรวจเสรจ็ เรยี บรอ้ ยทุกหมแู่ ลว้ นายหมลู่ กู เสือทกุ คนวงิ่ ออกไปเข้าแถว
หน้ากระดานแถวเดย่ี วตรงขา้ มผกู้ าํ กบั พรอ้ มกนั ห่างจากผู้กาํ กับประมาณ 3 กา้ ว นายหมู่ลกู เสอื หมู่
บริการยนื หวั แถว นายหมลู่ ูกเสอื หมอู่ ื่น ๆ เรยี งไปตามลาํ ดับ โดยอยู่ในท่าตามระเบยี บพกั ผกู้ ํากบั
ยืนอยกู่ งึ่ กลางของแถว

ผกู้ ํากับสงั่ “นายหมรู่ ายงาน” นายหมลู่ กู เสอื หมบู่ รกิ ารรายงานผลการตรวจเปน็ คนแรก
โดยนายหมู่ลกู เสือยนื ตรง วันทยหตั ถ์ และลดมือลง ก้าวออกไปขา้ งหน้า 1 ก้าว หนั หน้าไปหา
ผกู้ ํากบั วันทยหตั ถ์ พรอ้ มกับกล่าวรายงาน “ข้าพเจา้ ได้รับมอบหมายจากผกู้ ากับใหไ้ ปตรวจฟนั
หมู่สี……….ปรากฎว่า………. และได้แนะนาใหป้ รับปรุงแกไ้ ขแลว้ , ครับ” เมือ่ จบการรายงาน
นายหมลู่ กู เสอื ลดมอื ลง ถอยกลับเขา้ ท่ีทําวันทยหัตถ์ ลดมอื ลง ตามระเบยี บพกั นายหมคู่ นตอ่ ไป
ทาํ ทา่ ตรง วันทยหัตถ์พรอ้ มกบั นายหมคู่ นแรก ลดมือลง ก้าวออกไปข้างหน้า 1 ก้าว หนั หนา้ ไปหาผู้
กาํ กบั วันทยหัตถ์ พรอ้ มกบั กลา่ วรายงาน...... นายหมคู่ นอน่ื ๆ ปฏบิ ตั ิ เชน่ เดียวกนั จนกระทงั่ การ
รายงานผลการตรวจเสร็จเรยี บรอ้ ย ผ้กู ํากับส่งั “กลับท่เี ดมิ -วิ่ง” นายหมทู่ ุกคนทาํ วันทยหตั ถแ์ ละลด
มือลงพรอ้ มกนั กลับหลงั หันวง่ิ มายนื ในหม่ขู องตนเองในตาํ แหนง่ เดิม รองนายหมู่วงิ่ ออ้ มหลังหมู่
กลบั มายนื ทาํ หนา้ ท่ีรองนายหมตู่ ามเดมิ

144 คู่มคือมู่ สอืง่ เสสง่รเิมสแรลิมะแพลัฒะนพาฒักิจนการรกมจิ ลกกู รเสรมือทลักูกษเสะชือีวทิตักในษสะถชาวี นิตศใึกนษสาถปารนะเศภึกทษลูกาเสลือกู สเ�ำสรืออสงชาหรั้นลอปักงรสะูตถชรมัน้ดศวปกึ งรษดะาาถปวมีททศ่ีี่ 22ึกษาป1ที 3ี่ 27

3. แกรนด์ฮาวล์
3.1 ผกู้ ํากับสั่ง “แพค็ -ตรง” ผกู้ าํ กบั กางแขนท้ังสองออกไปขา้ ง ๆ เสมอไหล่ ขนาน

กบั พืน้ น้ิวทง้ั ห้าชิดกัน ฝูามือแบหงาย แลว้ พลกิ ฝูามอื ควํ่าลงและงองมุ้ เป็นสญั ญาณใหล้ ูกเสอื นงั่ ลง
3.2 ลูกเสือทกุ คนนัง่ ลงทันทีเมอื่ เห็นสัญญาณจากผกู้ าํ กับ โดยใหน้ ่งั ลงบนสน้ เทา้ ท้งั

สอง แขนทัง้ สองเหยยี ดตรงอยูร่ ะหวา่ งเข่า มอื ทั้งสองหา่ งกันพอสมควร แบะเขา่ ออกเล็กนอ้ ย นวิ้ ช้ี

แลจะน้ิวกลางทงั้ สองมอื เหยียดชดิ กันและแตะพน้ื นิ้วอื่น ๆ งอไว้ในองุ้ มอื (นวิ้ หวั แมม่ อื กดทบั นิว้ นาง
กบั น้วิ ก้อยไว้)

3.3 ผูก้ าํ กบั ลกู เสอื พลกิ ฝาู มอื ทง้ั สองหงายขน้ึ เปน็ สญั ญาณใหล้ กู เสอื รอ้ ง
3.4 ลูกเสอื สาํ รองทกุ คนแหงนหน้าร้องข้ึนพรอ้ ม ๆ กนั วา่ “อา-เคล่า-เรา-จะ-ทา-ด-ี ท-ี่ สุด”
พอขาดคาํ วา่ “สุด” ให้ลูกเสอื ทกุ คนกระโดดยนื ข้ึน เท้าทัง้ สองชดิ ติดกนั พร้อมกบั ยกมอื ทงั้ สองท่ีอยู่

ในท่าน่ังไปไว้เหนอื หูและชิดหู
3.5 นายหมู่ลูกเสอื ซงึ่ ทาํ หนา้ ทเ่ี ป็นหมูบ่ ริการในวนั นั้น (ทห่ี นั หนา้ ตรงกบั ผ้กู าํ กบั )

จะร้องขึน้ ว่า “จงทาด-ี จงทาด-ี จงทาดี” การรอ้ งใหห้ นั หนา้ ไปทางซา้ ยกอ่ น-ตรงหนา้ -ขวา ทลี ะครัง้
(เวลารอ้ งไม่รอ้ งผงกศีรษะ)

3.6 เมอ่ื ส้นิ คาํ ทสี่ ามแลว้ ให้ลูกเสือทกุ คนลดมอื ซ้ายลงมาแนบลําตัวอยา่ งว่องไว (มอื
แบออก) สว่ นมือขวาลดลงมาทําทา่ วนั ทยหตั ถ์ แล้วร้องข้ึนพร้อมกันวา่ “เราจะทาด-ี จะทาด-ี จะทาดี”

ขณะทล่ี ูกเสอื รอ้ งนี้ ใหผ้ ูก้ ํากบั ทาํ วนั ทยหัตถ์ตามแบบลกู เสือสาํ รอง (สองนวิ้ ) เปน็ การรบั การเคารพ
ของลูกเสอื และอาจกล่าวคาํ ขอบใจ หรอื คําอ่ืนใดท่ีส้นั ๆ กไ็ ด้ เชน่ “ขอบใจ-แพ็ค” รองผูก้ าํ กบั อื่น ๆ
ทอ่ี ยู่นอกวงกลมอยใู่ นท่าตรง หลังจากนนั้ ผกู้ ํากบั และลกู เสือเอามอื ลงพรอ้ มกนั

4. ชักธงลง
4.1 ผกู้ ํากบั สั่ง “ผู้แทนหมูบ่ ริการชักธงลง” ลกู เสอื ที่เปน็ หมบู่ รกิ ารหรือทาํ หนา้ ทห่ี มู่

บรกิ าร 2 คน เปน็ ผชู้ กั ธงชาตวิ ่ิงออกไป (ลกู เสือวงิ่ ออกดว้ ยเทา้ ซ้ายกอ่ น วางปลายเท้าลงพน้ื พรอ้ ม

กันนน้ั ยกมอื ขน้ึ เสมอราวนม กํามอื และหนั ฝาู มอื เขา้ หาตวั ยดื อก และศีรษะตั้งตรง ขณะว่งิ แกว่งแขน
ท่ีงอตามจงั หวะกา้ วไดต้ ามสมควร

4.2 ลูกเสือผู้ชักธงชาติวง่ิ ออกไปพรอ้ มกนั และหยุดยนื ตรงหนา้ เสาธงหา่ งเสาธง
ประมาณ 3 กา้ ว ทัง้ สองแสดงความเคารพทา่ วันทยหตั ถ์ และลดมอื ลงพร้อมกนั ลูกเสือคนทาง
ขวามอื กา้ วไปขา้ งหลงั 2 กา้ ว และชิดเทา้ แก้เชือกที่ผูกธงออก แลว้ ถอยหลงั 2 กา้ ว กลับมายนื ทีเ่ ดมิ

และชดิ เทา้ ยืนตรง แยกเชอื กสง่ ใหล้ กู เสือคนทางซา้ ยมือ (ให้ผืนธงชาติอยทู่ างขวามือของคนชักธง
ชาตเิ สมอ) คนทางขวามอื เป็นคนชักธงชาตลิ ง คนทางซา้ ยมอื เปน็ คนปล่อยเชอื ก ลกู เสอื ท้ังสองคน
ยนื ตรงในขณะท่ชี กั ธงชาติลง เชือกทั้งสองด้านตึงตลอดเวลา

4.3 ผกู้ าํ กับสั่ง “แพค็ -วันทยหัตถ์” ลูกเสือในวงกลมทัง้ หมด รวมทงั้ ผกู้ าํ กับและรองผู้
กาํ กบั อน่ื ๆ ทาํ วนั ทยหัตถพ์ รอ้ มกนั (ผบู้ งั คบั บัญชาลกู เสอื ทาํ วนั ทยหตั ถ์ 3 นวิ้ ) ในการปิดประชุมน้ี
ไมต่ ้องรอ้ งเพลงชาติ เมอื่ ผู้กาํ กับส่งั “แพค็ -วันทยหัตถ์” จบ ใหผ้ ้ชู ักธงชาติชกั ธงชาตไิ ดท้ นั ที

ค่มู อื สง่ เสริมและพฒั นากิจกรรมลกู เสอื ทักษะชวี ติ ในสถานศึกษา ลกู เสอื สารอง ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 2 145
คูม่ อื ส่งเสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลูกเสือทักษะชีวิตในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสือส�ำ รอง หลกั สตู รดวงดาวท่ี 2
138 ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 2

เมือ่ ธงชาตลิ งจากยอดเสามาถึงดา้ นล่างแล้ว ใหล้ ูกเสอื คนท่ีอยูท่ างขวามอื รวบเชือกธง
แลว้ ก้าวออกไปขา้ งหน้า 2 กา้ ว และเท้าชดิ กัน พรอ้ มกับผกู เชอื กธงชาติกับเสาธง แลว้ ถอยหลงั 2 กา้ ว
และเทา้ ชดิ กลับมายนื ตรงท่ีเดิม ลกู เสือทัง้ สองยนื ตรงแลว้ ทาํ วนั ทยหตั ถ์ และลดมอื ลงพรอ้ มกัน
(ผู้บังคบั บัญชาลกู เสือทกุ คนลดมือลง) ลกู เสือท้งั สองคนกลับหลงั หัน วิง่ กลับมาเข้าแถวในหมขู่ องตน
แล้วทาํ วันทยหัตถ์เหมือนลกู เสอื ในแถว

4.4 ผ้กู าํ กับส่ัง “มอื ลง” ลกู เสอื ทุกคนลดมือลงพรอ้ มกัน
5. เลิก

5.1 ผกู้ ํากับส่ัง “แพค็ -เลกิ ” ลกู เสอื ทกุ คนทาํ วันทยหัตถ์และลดมอื ลงพร้อมกัน และ
ทําขวาหนั และแยกออกจากวงกลมไดท้ ันที (ผูก้ ํากบั ทําวนั ทยหัตถร์ ับการเคารพของลูกเสือและลด
มือลง)

146 คู่มคือู่มสือ่งเสสง่รเมิ สแรลิมะแพลัฒะนพาัฒกจิ นการรกมจิ ลกูกรเสรมือทลกั กู ษเสะชือวี ทติ ักในษสะถชาวี นติ ศใึกนษสาถปารนะเศภึกทษลูกาเสลือกู สเ�ำสรืออสงชาหรั้นลอปกั งรสะูตถชรมัน้ดศวปึกงรษดะาาถปวมีททศี่ี่ 22กึ ษาป1ีท3่ี 29

คูม่ อื ฝึกอบรมวิชาผู้กากบั ลูกเสือสารอง ข้ันความรู้เบ้ืองต้น
วิธีการเขา้ ฐาน

การฝึกอบรมไดแ้ บ่งลูกเสอื – เนตรนารีเป็นหมู่อยู่แลว้ การเขา้ ฐานใหจ้ ดั สมาชกิ แต่ละหมู่ ได้
หมุนเวยี นไปไดท้ ุกฐานๆ ละ 1 หมู่ หรือ 2 หมู่

เมื่อได้ยินสัญญาณเริ่มการฝึกตามระบบฐาน (ใช้สัญญาณนกหวีดเปูายาว คร้ัง หรือจุด 1

ประทัด 1 คร้ัง ไม่ควรใช้อาวุธปืน เพราะอาจเกิดอันตรายและไม่ประหยัด) ว่ิงไปเข้าฐานตามที่
กําหนด เข้าแถวรูปหน้ากระดาน โดยนายหมู่ยืนอยู่หน้าวิทยากรผู้ประจําฐาน ห่างจากวิทยากร
ประมาณ 3 กา้ ว เมือ่ เขา้ แถวเรยี บรอ้ ยแลว้ นายหมูส่ ั่ง “หมู่สี....ตรง” (บอกช่ือหมู่) เฉพาะนายหมู่ทํา
วันทยหัตถ์ ลดมือลง แล้วก้าวไปข้างหน้า 1 ก้าว (ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า 1 ก้าว เท้าขวาชิด) ทํา
วันทยหัตถ์และรายงานว่า “หมู่สี...พร้อมท่ีจะได้รับการฝึกแล้วครับ (ค่ะ)” จากนั้น นายหมู่ลดมือลง
ถอยหลังเข้าท่ีเดิม ( ก้าวเท้าซ้าย ถอยหลัง 1 ก้าว เท้าขวาชิด) ทําวันทยหัตถ์อีกครั้งและลดมือลง
แลว้ สง่ั ตามระเบียบ พัก”

เริ่มฝึกอบรมในฐาน ตามคําแนะนําของวิทยากรประจําฐาน เม่ือหมดเวลาจะได้ยินเสียง
สัญญาณนกหวดี หรือประทดั (เปูายาว 1 คร้งั หรือเสียงประทดั ครงั้ ) ใหท้ ุกคนเข้าแถวใหเ้ รียบรอ้ ย 1
เมื่อได้ยนิ เสยี งสญั ญาณนกหวีดเปาู ยาว2 ครั้ง หรือเสียงประทัด 2 คร้ัง ให้นายหมู่ส่ัง “หมู่สี....ตรง”
ตรง นายหมู่ทําวันทยหตั ถ์ กลา่ วขอบคุณวิทยากรผู้ประจาํ ฐานด้วยคําว่า “หมู่สี.... ขอขอบคุณครับ
(ค่ะ)” (นายหมู่ไม่ต้องก้าวออกไปข้างหน้า) จากน้ันนายหมู่ลดมือลง แล้วส่ัง “ขวา - หัน ตาม
ข้าพเจ้า” แลว้ เคล่อื นไปฐานต่อไป

หมายเหตุ
1. ในกรณีทเ่ี ข้าฐานมากกว่าหน่ึงหมู่ ใหม้ กี ารรายงานทกุ หมู่
2. วิทยากรประจําฐานรับความเคารพโดยการทําวันทยหัตถ์ตอบโดยตลอด รอจนกระทั่งนายหมู่

กลบั เข้าที่ ทําวันทยหตั ถ์ ลดมอื ลง วทิ ยากรประจาํ ฐานจึงเลิกรับความเคารพ

คมู่ อื ส่งเสริมและพัฒนากจิ กรรมลกู เสอื ทกั ษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสือสารอง ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 2 147
คูม่ อื สง่ เสรมิ และพัฒนากิจกรรมลกู เสือทักษะชวี ติ ในสถานศึกษา ประเภทลูกเสือส�ำ รอง หลกั สตู รดวงดาวท่ี 2
140 ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 2

ผลการเรียนลกู เสือสาํ รอง โรงเรียน....................................................... ปกี ารศึกษา ......................................

เตรยี มลูกเสอื สาํ รอง

ค่มู อื ส่งเสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลกู เสอื ทักษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสอื ส�ำ รอง หลกั สตู รดวงดาวท่ี 2 ท่ี ชื่อ ๑ ๒๓๔ สอบได้เมื่อ หมายเหตุ
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 2

141 ลงฃอ่ื ..................................................................ผกู้ าํ กับกอง ลงฃือ่ .....................................................................ผู้อํานวยการลูกเสอื โรงเรยี น
148 คู่มอื ส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสอื ทักษะชีวิตในสถานศกึ ษา ลกู เสอื สารอง ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 2


Click to View FlipBook Version