สารบัญ
คํานาํ ๑
สารบญั ๒
คําอธบิ ายรายวชิ า อักขรธัมมล์ า้ นนา ๓
รายละเอยี ด คาํ อธิบายรายวิชา อักขรธมั มล์ ้านนา ๔
ความเปน็ มา อักขรธัมมล์ า้ นนา ๖
โครงสร้างเนื้อหาหลกั สูตร
หนงั สืออักขรธัมมล์ ้านนา ๘
บทที่ ๑ ๘
๘
พยัญชนะวรรค ๙
พยัญชนะอวรรค ๑๑
ขอ้ สงั เกตพยญั ชนะในภาษาลา้ นนา
การแบง่ ชนดิ ของสระในภาษาล้านนา ๑๓
ลักษณะพิเศษของสระล้านนาทคี่ วรรู้ ๑๗
บทที่ ๒
การผสมพยญั ชนะ สระและวรรณยุกต์ ๑๘
การใชห้ างของพยญั ชนะ
บทท่ี ๓ ๒๐
คําพเิ ศษภาษาลา้ นนา
บทท่ี ๔ ๒๕
ประโยคเรื่องราวท่ีใชฝ้ ึกอ่านและเขียน ๒๖
ภาคผนวก ๒๘
วธิ กี ารปรับ Microsoft Office Word 2003
วิธกี ารปรับ Microsoft Office Word 2007 เพือ่ ใช้กบั ฟอนท์ LN-Tilok
วธิ ีการพมิ พอ์ กั ขรธัมม์ล้านนา
คํานํา
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดป้ ระกาศใช้หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ วนั ที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๕๑ ซึง่ ได้กําหนดสาระวชิ าบังคับเเละวิชาเลือก ส่วน
วิชาเลือกให้สถานศึกษาเป็นผู้ดําเนินการพัฒนา โดยให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาความต้องการของ
ผ้เู รียน ชุมชน เเละสังคม
สถาบัน กศน. ภาคเหนือ ซ่ึงมีบทบาทหน้าท่ีในการพัฒนาหลักสูตร เเละจัดการเรียน
การสอนที่ตอบสนองนโยบายดงั กล่าว จงึ ไดด้ ําเนนิ การพฒั นารายวิชาเลือก หลกั สตู รอกั ขรธัมม์ล้านนา
และหนงั สอื ประกอบการเรียน เพื่อสนับสนนุ การจดั การเรยี นการสอนของ ครู กศน. และให้ผู้เรียนได้
ทราบถึงความเป็นมา และพัฒนาการของอักษรธรรมล้านนา หรือตัวเมือง ซ่ึงเป็นอักษรท่ีสําคัญและ
แพร่หลายในล้านนามาก การกําเนิดอักษรธรรมล้านนาก็คล้ายกับการกําเนิดอักษรท้ังหลาย คือ
ปรับปรุงจากอักษรมอญที่มีอยู่เป็นระบบมาแล้ว ซึ่งเนื้อหาของหลักสูตรประกอบด้วย ความเป็นมา
ของอักษรธรรมล้านนา ข้อสังเกตพยัญชนะในภาษาล้านนา การแบ่งชนิดของสระในภาษาล้านนา
ลักษณะพิเศษของสระล้านนาท่ีควรรู้ การผสมพยัญชนะ สระและวรรณยุกต์ การใช้หางของ
พยญั ชนะ และคําพเิ ศษภาษาล้านนา
สถาบัน กศน. ภาคเหนือ ขอขอบคุณคณะทํางานทุกท่านท่ีให้ข้อคิดเห็นอันเป็น
ประโยชน์ต่อการพัฒนาหลักสูตรดังกล่าว หวังว่าเอกสารรายวิชาเลือกฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อ
ผบู้ รหิ ารและครู กศน. และผู้เรยี น ตามสมควร
(นายประเสริฐ หอมด)ี
ผูอ้ ํานวยการสถาบนั กศน.ภาคเหนือ
คําอธบิ ายรายวิชา อกั ขรธัมม์ลา้ นนา รหัส สค 02022
สาระการพัฒนาสงั คม
ระดบั ประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาตอนต้น มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
จํานวน 3 หนว่ ยกิต ( 140 ช่วั โมง)
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานที่ 5.2 มีความรู้ ความเขา้ ใจ เห็นคณุ คา่ และสบื ทอดศาสนา วฒั ธรรม ประเพณี เพือ่
การ อยู่รวมกนั อยา่ งสันตสิ ขุ
ผลการเรยี นรทู้ ่ีคาดหวงั
1. รแู้ ละเข้าใจพยญั ชนะ สระ วรรณยกุ ต์ และ ตวั เลข อกั ขรธัมมล์ า้ นนา
2. อ่านและเขยี นพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และตวั เลข อักขรธมั มล์ ้านนา
3. รู้และเข้าใจคาํ พเิ ศษ อกั ขรธัมมล์ า้ นนา
4. สามารถอา่ น และ เขียนอักขรธมั ม์ล้านนาได้
ศกึ ษาและฝึกฝนทกั ษะ
1. ฝกึ การอา่ นและเขยี นพยญั ชนะ สระ วรรณยกุ ต์ และตัวเลข
2. ฝึกการอ่าน และเขียนการผสมอกั ขรธัมมล์ า้ นนา
3. ฝกึ การอ่าน และเขยี นคําพเิ ศษอักขรธัมม์ลา้ นนา
4. ฝกึ การอา่ น และเขยี นอักขรธัมม์ลา้ นนา ท่ีเป็นประโยคและเปน็ เรอื่ งราวได้
การจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้
1. ฝกึ การอ่านและเขยี นพยญั ชนะ สระ วรรณยุกต์ และตัวเลข จากบัตรคํา
2. ฝึกการอา่ นและเขยี นประโยคที่เปน็ เรอ่ื งราวจากสื่อเอกสารได้
3. ฝึกทักษะการอา่ นและเขยี นจากสอื่ อิเลคทรอนิคส์
การวดั และประเมนิ ผล
1. วัดและประเมินผลจากแบบฝกึ ทักษะ
2. วดั และประเมนิ จากแบบทดสอบ
-2-
รายละเอยี ด คาํ อธิบายรายวชิ า อกั ขรธัมมล์ ้านนา รหสั สค 02022
สาระ การพัฒนาสงั คม
ระดับประถมศกึ ษา ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
จาํ นวน 3 หน่วยกิต (140 ชว่ั โมง)
มาตรฐานที่
ที่ หวั เร่ือง ตัวชวี้ ัด เน้อื หา เวลา
1 พยญั ชนะ สระ วรรณยกุ ต์ (ชัว่ โมง)
1.1 สามารถอ่านและเขียนพยัญชนะได้ 1.1 พยัญชนะในวรรค 25 ตวั
และตัวเลข 40
1.2 สามารถอา่ นและเขยี นสระได้ พยัญชนะนอกวรรค 8 ตัว
2 การผสม อักขรธัมม์ลา้ นนา 40
1.3 สามารถอ่านและเขียนตวั เลขได้ พยญั ชนะเพ่ิม 11 ตวั
พยัญชนะพิเศษ 5 ตวั
1.2 สระ
• สระท่ีเปน็ ใหญ่ในตวั เอง
(สระลอย ) 8 ตวั
• สระเด่ียว 13 ตัว
• สระผสมสระ 4 ตวั
• สระผสมสระ 13 ตวั
• สระพเิ ศษ
– ลดรูป/ซ่อนรูป
– ไมก้ ง๋ั ไหล
– ไม้เก๋า (ห่อหน้ึง,จจู้ )้ี
– ไมก้ า๋ โวง้
• ระโฮง
1.3 วรรณยกุ ต์ 2 รปู ผนั 6 เสียง
1.4 ตวั เลข ธมั ม์ และโหรา
2.1 สามารถผสมพยัญชนะกับสระและ 2.1 การผสมพยญั ชนะกับสระและ
วรรณยกุ ต์ วรรณยุกต์
2.2 สามารถผสมพยญั ชนะกบั ตัวสะกด 2.2 การผสมพยญั ชนะกบั ตัวสะกด
ตัวเต็ม + หาง (ตนี /เชิง) 2.3 ใชส้ ระโอะลดรปู กบั พยัญชนะ
2.3 สามารถใช้สระโอะลดรูป กบั ตวั สะกด
พยญั ชนะตวั สะกด 2.4 การใชห้ าง (ตนี ,เชิง) ของ
พยัญชนะ
3 คาํ พเิ ศษอักขรธมั มล์ า้ นนา สามารถอ่านและเขียนคาํ พิเศษอกั ขรธัมม์ คาํ พิเศษอักขรธมั มล์ ้านนา 20
40
ล้านนาได้
4 การอา่ นและเขยี นอกั ขรธมั ม์ สามารถอา่ นและเขียนอักขรธัมม์ลา้ นนาที่ ประโยคเร่อื งราวทีใ่ ช้ฝกึ อา่ นและเขยี น
ล้านนาทเ่ี ป็นประโยค เปน็ ประโยคและเป็นเร่อื งราวได้
-3-
รายวชิ า อกั ขรธมั มล์ ้านนา รหัส สค 02022
สาระ การพัฒนาสงั คม
ระดบั ประถมศึกษา มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
จาํ นวน 3 หนว่ ยกิต (140ช่วั โมง)
ความเป็นมา
“อักขรธัมม์ล้านนา” หรือ “อักษรธรรมล้านนา” เป็นอักขระที่บ่งบอกถึงความเจริญรุ่งเรืองของ
ดินแดนอาณาจักรล้านนาในอดีต มีอาณาบริเวณกว้างขวางครอบคลุมพ้ืนที่ในปัจจุบันของภาคเหนือ
ประเทศไทย รัฐฉานสหภาพพม่า มณฑลยูนนานสาธารณรัฐประชาชนจีน สาธารณรัฐประชาธิปไตย
ประชาชนลาว ในดินแดนเหล่านี้ปรากฏการใช้อักษรธรรมบันทึกเร่ืองราวต่างๆ เป็นจํานวนมาก ในรูปของ
ใบลาน พับหนังสา(พับสา) จารึกต่างๆ ได้แก่ ศิลาจารึก จารึกฐานพระพุทธรูป เป็นต้น ส่วนใหญ่ใช้บันทึก
เรื่องราวเกย่ี วกบั พระพทุ ธศาสนา คติความเช่ือ ประวัตศิ าสตร์ กฏหมายโบราณ เอกสารตํารายาตา่ งๆ
อักษรธรรมล้านนาพบมีอายุเก่าท่ีสุด ได้แก่จารึกลานทองวัดมหาธาตุ จังหวัดสุโขทัย (สท. ๕๒)
จ.ศ. ๗๓๘ (พ.ศ. ๑๙๑๙) บันทึกด้วยอักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี และอักษรไทยสุโขทัย ภาษาไทย และ
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงหม้ัน อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. ๒๐๐๘ บันทึกด้วยอักษรธรรม
ล้านนา ภาษาบาลีและไทยยวน ส่วนคัมภีร์ใบลานอักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลีที่เก่าท่ีสุดท่ีพบในปัจจุบัน
ได้แก่ “คัมภีร์ชาตกฏฎฺกถาย ตึสตินิปาตตฺถสฺส วณฺณนา” จ.ศ. ๘๓๓ (พ.ศ. ๒๐๑๔) ในรัชสมัย
พระเจ้าติโลกราช [พ.ศ. ๑๙๘๔ - ๒๐๓๐]) ตรงกับรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ [พ.ศ. ๑๙๙๑ -
๒๐๓๑] ปจั จุบนั อย่ทู ่วี ดั ไหล่หนิ ตาํ บลไหลห่ ิน อําเภอเกาะคา จังหวดั ลําปาง1
ในสมัยของเจ้าแก้วนวรัฐ2 เจ้าหลวงเชียงใหม่องค์ท่ี ๙ (พ.ศ.๒๔๕๒-๒๔๘๒) แห่งราชวงศ์ทิพย์จัก
ราธิวงศ์ (เจ้าเจ็ดตน) อาณาจักรล้านนามีการเปลี่ยนแปลงด้านการเมืองการปกครอง ล้านนาได้ถูกผนวก
เข้ารวมกับราชอาณาจักรไทยกลายสภาพเป็นจังหวัดในประเทศไทย และใช้ภาษาไทยกลางเป็นภาษาทาง
ราชการแทน อักษรธรรมล้านนาจึงได้ลดบทบาทลงเป็นเพียงการสอนกันตามวัดเท่านั้น ความสามารถใน
การอ่านเขียนอักษรธรรมล้านนาของคนล้านนาจึงลดความสําคัญลงตามลําดับ ด้วยเหตุนี้จึงได้มีการ
พยายามฟ้ืนฟูอักษรธรรมล้านนาข้ึนหลายคร้ัง เมื่อปี พ.ศ.๒๔๓๕ Dr.Daniel McGilvary & D.G.Collins
ได้ต้ังโรงพิมพ์ที่บ้านวังสิงห์คํา ต่อมาได้ขายโรงพิมพ์ให้พ่อเล้ียงเมืองใจ ชัยนิลพันธ์ มีการพิมพ์คร่าวซอ
เรื่องแรกช่ือ “หงส์หิน” ด้วยอักษรธรรมล้านนา และจัดพิมพ์วรรณกรรมล้านนาออกมาอย่างต่อเน่ือง
แต่เม่ือล้านนาได้รับอารยธรรมสมัยใหม่มากขึ้นจากกระแสวัฒนธรรมภาษาไทยและภาษาวิทยาการของ
โลกที่ท่วมท้น อักษรธรรมล้านนาก็มิอาจต้านทานกระแสวัฒนธรรมหลักได้ ในที่สุดก็เสื่อมถอยความนิยม
ลงตามกาลเวลาท่ผี า่ นไป3
1 ชปั นะ ปิ่นเงนิ เรอื่ งยอ่ สรปุ “ติงฺสนบิ าต” ฐานขอ้ มลู ไมโครฟลิ ม์ เอกสารล้านนา สํานกั ส่งเสริมศลิ ปวัฒนธรรม มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่
http://202.28.27.140/src_intro/028.064.013%20%E0%B8%A5%E0%B8%9B010403002%20%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%AA
%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%95.pdf
2 เจา้ หลวงเชยี งใหม่ ฉบบั พ.ศ.๒๕๓๙ น.๑๖๐ - ๑๖๑
3 โครงการฐานขอ้ มลู ไมโครฟิลม์ เอกสารลา้ นนา สํานักสง่ เสรมิ ศิลปวฒั นธรรม มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ 2552 หนา้ 1
-4-
เหตุผลความจําเป็นในการเรียนอักษรธรรมล้านนานั้น เน่ืองจาก คติ คําสอน นิทาน หรือเรื่องราว
ต่างๆ ทไ่ี ด้รบั การถ่ายทอดโดยบันทึกไว้ในคัมภีร์โบราณ ซึ่งบันทึกด้วยอักษรธรรมล้านนา ดังนั้นการเรียนรู้
การอ่าน และการเขียนอักษรธรรมล้านนา จึงจําเป็นอย่างย่ิง เพ่ือที่จะเรียนรู้วิถีชีวิตของบรรพชนคน
ล้านนาโบราณ และยังสามารถนําองคค์ วามรมู้ าปรบั ใชใ้ ห้เกิดประโยชนไ์ ดใ้ นปจั จบุ ัน
หลกั การ
เปน็ รายวิชาเลือก สาระการพฒั นาสังคม ทส่ี ามารถให้ผู้เรยี นเลอื กเรยี นไดต้ ามความสนใจ
จดุ ประสงคร์ ายวิชา
1. สามารถอา่ นพยญั ชนะ สระ วรรณยุกต์ และตวั เลขได้
2. สามารถเขยี นพยญั ชนะ สระ วรรณยกุ ต์ และตัวเลขได้
3. สามารถผสมอกั ขรธัมม์ล้านนาได้
4. สามารถอา่ นอกั ขรธัมมล์ า้ นนาทเี่ ปน็ ประโยค และเร่อื งราวได้
ระยะเวลาเรียนและจาํ นวนหน่วยกติ
จํานวน 140 ช่ัวโมง 3 หนว่ ยกติ
โครงสร้างเน้ือหาหลกั สตู ร
หลักสตู รอักขรธัมม์ล้านนา ประกอบดว้ ยเน้ือหาจํานวน 4 เรอ่ื ง โดยแยกเปน็ เน้ือหาดงั ตอ่ ไปนี้
รายละเอียดเนอื้ หา
1. พยญั ชนะ สระ วรรณยกุ ต์ และ ตวั เลขได้
2. การผสมอกั ขรธมั ม์ลา้ นนา
3. คาํ พิเศษอกั ขรธัมมล์ ้านนา
4. การอา่ นและเขียนอักขรธัมมล์ ้านนาท่ีเป็นประโยค
รายละเอียดหวั ขอ้ เนอ้ื หา
1. พยัญชนะ สระ วรรณยกุ ต์ และตวั เลข
1.1 พยัญชนะวรรค 25 ตวั พยญั ชนะอวรรค 8 ตวั พยัญชนะพิเศษ 10 ตัว
1.2 สระทเี่ ปน็ ใหญใ่ นตวั เอง (สระลอย ) 8 ตัว สระผสม 16 ตัว สระเด่ยี ว 12 ตัว
1.3 วรรณยกุ ต์ 2 รูป 6 เสียง
1.4 ตวั เลข
-5-
2. การผสมอกั ขรธัมมล์ า้ นนา
2.1 การผสมพยญั ชนะกับสระ และ วรรณยกุ ต์
2.2 การผสมพยญั ชนะกับตวั สะกด
3. คําพเิ ศษอกั ขรธัมม์ล้านนา
• คําพิเศษอกั ขรธัมมล์ า้ นนา
4. การอ่านและเขยี นอกั ขรธมั มล์ า้ นนาท่ีเปน็ ประโยค
• ประโยคและเรอ่ื งราวทใี่ ชฝ้ ึกอ่านและเขยี น
สื่อและแหล่งการเรยี นรู้
1. สือ่ และแบบเรยี นอักขรธมั มล์ า้ นนา
2. บัตรคํา
3. ส่อื อเิ ลคทรอนคิ ส์
4. แหลง่ เรยี นรู้ หอ้ งสมดุ วัด
5. ภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน
• ปราชญ์ชาวบา้ น
• องคค์ วามรู้
• บทความ/ผลงานของภูมิปัญญา
การวดั ผลประเมนิ ผล
1. วดั และประเมนิ จากแบบฝกึ ทักษะ
2. วัดและประเมินจากแบบทดสอบ
-6-
หนงั สอื อกั ขรธัมมล์ า้ นนา
“อักขรธัมม์ล้านนา” หรือ “อักษรธรรมล้านนา” เป็นอักขระที่บ่งบอกถึงความเจริญรุ่งเรืองของ
ดินแดนอาณาจักรล้านนาในอดีต มีอาณาบริเวณกว้างขวางครอบคลุมพื้นที่ในปัจจุบันของภาคเหนือ
ประเทศไทย รัฐฉานสหภาพพม่า มณฑลยูนนานสาธารณรัฐประชาชนจีน สาธารณรัฐประชาธิปไตย
ประชาชนลาว ในดินแดนเหล่านี้ปรากฏการใช้อักษรธรรมบันทึกเรื่องราวต่างๆ เป็นจํานวนมาก ในรูปของ
ใบลาน พับหนังสา(พับสา) จารึกต่างๆ ได้แก่ ศิลาจารึก จารึกฐานพระพุทธรูป เป็นต้น ส่วนใหญ่ใช้บันทึก
เรื่องราวเก่ียวกบั พระพทุ ธศาสนา คตคิ วามเชื่อ ประวัตศิ าสตร์ กฏหมายโบราณ เอกสารตํารายาต่างๆ
อักษรธรรมล้านนาพบมีอายุเก่าท่ีสุด ได้แก่จารึกลานทองวัดมหาธาตุ จังหวัดสุโขทัย (สท. ๕๒)
จ.ศ. ๗๓๘ (พ.ศ. ๑๙๑๙) บันทึกด้วยอักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลี และอักษรไทยสุโขทัย ภาษาไทย และ
จารึกฐานพระพุทธรูปวัดเชียงหมั้น อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. ๒๐๐๘ บันทึกด้วยอักษรธรรม
ล้านนา ภาษาบาลีและไทยยวน ส่วนคัมภีร์ใบลานอักษรธรรมล้านนา ภาษาบาลีท่ีเก่าท่ีสุดท่ีพบในปัจจุบัน
ได้แก่ “คัมภีร์ชาตกฏฺฐกถาย ฺตึสตินิปาตตฺถสฺส วณฺณนา” จ.ศ. ๘๓๓ (พ.ศ. ๒๐๑๔) ในรัชสมัย
พระเจ้าติโลกราช (พ.ศ. ๑๙๘๔ – ๒๐๓๐) ตรงกับรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ. ๑๙๙๑ -
๒๐๓๑) ปัจจบุ ันอยู่ท่วี ดั ไหล่หิน ตําบลไหลห่ นิ อําเภอเกาะคา จงั หวัดลําปาง4
ในสมัยของเจ้าแก้วนวรัฐ5 เจ้าหลวงเชียงใหม่องค์ที่ ๙ (พ.ศ.๒๔๕๒-๒๔๘๒) แห่งราชวงศ์ทิพย์
จักราธิวงศ์ (เจา้ เจด็ ตน) อาณาจกั รลา้ นนามีการเปล่ยี นแปลงด้านการเมืองการปกครอง ลา้ นนาไดถ้ กู ผนวก
เข้ารวมกับราชอาณาจักรไทยกลายสภาพเป็นจังหวัดในประเทศไทย และใช้ภาษาไทยกลางเป็นภาษาทาง
ราชการแทน อักษรธรรมล้านนาจึงได้ลดบทบาทลงเป็นเพียงการสอนกันตามวัดเท่าน้ัน ความสามารถใน
การอ่านเขียนอักษรธรรมล้านนาของคนล้านนาจึงลดความสําคัญลงตามลําดับ ด้วยเหตุน้ีจึงได้มีการ
พยายามฟื้นฟูอักษรธรรมล้านนาขึ้นหลายครั้ง เมื่อปี พ.ศ.๒๔๓๕ Dr.Daniel McGilvary & D.G.Collins
ได้ต้ังโรงพิมพ์ท่ีบ้านวังสิงห์คํา ต่อมาได้ขายโรงพิมพ์ให้พ่อเลี้ยงเมืองใจ ชัยนิลพันธ์ มีการพิมพ์คร่าวซอ
เรื่องแรกชื่อ “หงส์หิน” ด้วยอักษรธรรมล้านนา และจัดพิมพ์วรรณกรรมล้านนาออกมาอย่างต่อเนื่อง
แต่เมื่อล้านนาได้รับอารยธรรมสมัยใหม่มากขึ้นจากกระแสวัฒนธรรมภาษาไทยและภาษาวิทยาการของ
โลกที่ท่วมท้น อักษรธรรมล้านนาก็มิอาจต้านทานกระแสวัฒนธรรมหลักได้ ในที่สุดก็เสื่อมถอยความนิยม
ลงตามกาลเวลาทผี่ ่านไป6
4 ชปั นะ ปิ่นเงนิ เรื่องย่อสรุป “ติงสฺ นบิ าต” ฐานขอ้ มูลไมโครฟลิ ม์ เอกสารลา้ นนา สํานักส่งเสริมศลิ ปวฒั นธรรม มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่
http://202.28.27.140/src_intro/028.064.013%20%E0%B8%A5%E0%B8%9B010403002%20%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%AA
%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%95.pdf
5 เจ้าหลวงเเชยี งใหม่ ฉบบั พ.ศ.๒๕๓๙ น.๑๖๐ - ๑๖๑
6 โครงการฐานข้อมลู ไมโครฟิล์มเอกสารล้านนา สาํ นักส่งเสรมิ ศลิ ปวัฒนธรรม มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ 2552 หน้า 1
-7-
นักวชิ าการได้วิเคราะหต์ วั อย่างอักษรชนดิ ต่างๆ ดงั ท่กี รมศลิ ปากรจดั ทําเผยแพร่ ร่วมกบั หลักฐาน
แหล่งอ่นื ทาํ ให้สรุปได้ว่า อักษรธรรมลา้ นนานา่ จะมีการกําเนดิ มาตามข้ันตอน ดังนี้7
อักษรเฟนิเซียน
อกั ษรพราหมี อักษรฝร่ังตางๆ
อักษรปล ลวะ อกั ษรเทวนาครี
อกั ษรขอมโบราณ อักษรมอญโบราณ
อกั ษรขอมจารึก อักษรขอมหวัด อกั ษรธรรมลานนา อักษรมอญปจ จบุ นั อักษรพมา
อกั ษรของพอ ขนุ รามคําแหง อกั ษรไทยลอ้ื อักษรลวะ อกั ษรธรรมอสี าน อักษรไทยใหญ (เง้ยี ว)
อักษรลา นนาสมยั พระเมอื งแกว (ฝก ขาม) อักษรไทยนอย
อกั ษรรตั นโกสินทร อักษรไทยนิเทศ
7 สมเจตต์ วมิ ลเกษม แบบเรยี นภาษาล้านนา หนา้ 5
บทที ๑
บ฿ฯท ี 1
วค์ฯ ก พยญั ชนะ วรรค ๒๕ ตวั ง
วรรค ก๋ะ กขคฆ ง
วค์ฯ จ กขคฆ ญ
วรรค จ๋ะ จฉชฌ ญ
วค์ฯ ฏ จฉชฌ ณ
วรรค ระฏ๋ะ ฏฐดฒ ณ
วค์ฯ ต ฏ ฐ ฑดฎ ฒ น
ววรรคค ต์ฯ ะ๋ บ มน
ตถ ท ธ
วรรค ป๋ ะ บต ผถ พท ภธ ม
บผพภ
พยยญั ชนะรอวรรค ล(นอกวรรวค) ๘ ตวั
ยร ลว
ส ห ฬ อํ
ส ห ฬ อํ (องั )
พยญั ชนะเพิม ๑๑ ตวั
ฃ ฅ ซ ป ฝ ฟศษฮฤ ฦ
ฃ ฅ ซ ปฝ ฟศ ษฮ ฤ ฦ
พยญั ชนะพิเศษ ๕ ตวั (ล้านนา)
£ ¡ ª¦ ¢
อย ฺ สสฺ แล นา
ข้อสังเกต พยญั ชนะในภาษาล้านนา
๑. พยญั ชนะมเี สยี ง อะ กํากบั ทกุ ตวั เชน่ ก อา่ น “ก๋ะ” ข อา่ น “ขะ” เป็นต้น
๒. ด ใช้แทนพยญั ชนะ ฑ ฎ และ ด มีเสยี งเป็น “ดะ๋ ”
๓. วรรค ฏ อา่ น “ระ” นําหน้าเร็วๆ คอื ฏระฏะ๋ ฐระฐะ ดดะ๋ ฒระฒะ ณระณะ
๔. บ ใช้สาํ หรบั เขียนหนงั สือเป็นภาษาบาลี ออกเสยี ง “ป๋ ะ”
๕. £ อา่ น “อยะ” พยางค์เดียวเสียงสงู เชน่ £า่ อา่ นวา่ “อย่า”
๖. หฯ หฯ หฯ หฯ หฯ หฯ พยญั ชนะเสียงสงู คือมี ห-นํา
๗. ในคําไทย /ร/ ออกเสยี ง /ฮ/ เชน่ โรฯรรฯ อา่ น “โฮง-เฮียน” โดยไมต่ ้องใช้ ฮ
-9-
๘. ในคําบาลี /ร/ ออกเสียง /ล/ เชน่ สารีบตุ ร อา่ น “สา-ลี-บดุ ” (เข้าใจวา่ คนล้านนาไมถ่ นดั
การออกเสยี งรัวลนิ จงึ ได้ยนิ เสียงเป็น /ล/ )
๙. ฅ คือ ฅ-คน ในภาษาล้านนายงั มคี วามจําเป็นใช้อยมู่ าก เพราะวา่ มกี ารใช้ตา่ งกบั
ค ควาย ถ้าอา่ นเสยี ง ค-ควาย ต้อง ใช้ ฅ-คน เชน่ ฅวาย ฅน ฅา
๑๐. ¦ /และ/ กบั §ฯ /แล/ เป็นการเขียนลดรูปของ แล
๑๑. เดมิ พยญั ชนะมี ๓๓ ตวั ภายหลงั มกี ารเพิม พยญั ชนะพเิ ศษเข้ามาอีกคอื
ฃ ฅ ซ ป ฝ ฟ ศ ษ ฮ ฤ ฦ เพอื ให้เขยี นเสยี งคนกลมุ่ ไทยได้ครบ
การแบ่งชนิดของสระในภาษาล้านนาแบ่งแยกออกเป็ น
สระลอย (สระทเี ป็นใหญ่ในตวั เอง) สระเดียว สระผสม สระพเิ ศษ
สระทีเป็นใหญ่ในตวั เอง (สระ ลอย ) ๘ ตวั อ
อ อา ² ² ³ ´ µ
อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ
สระ ๓๐ ตวั (ผนั ตามกลมุ่ เสยี ง) ึ ื
ะ า ิ ี (ใชไ้ ม้ “”ิ ทกุ ตวั ห้ามใชไ้ ม้ “ื” เด็ดขาด)
เะ เ เะฯ เฯ
เะิฯ เิฯ เอฯิ ะ เอิฯ าํ เาั
โะ โ ฿ฯะ ฿ฯ
โํฯะ ํฯ แะ แ (เยฯ เา สองตวั นีใชใ้ นคําบาลี)
ไ ใ เยฯ เา
สระเดียว
คอื สระทีไมผ่ สมกบั สระหรือพยญั ชนะ ได้แก่
ะ า ิ ี ึ ื
เ แ โ ไ ใ
สระผสมสระ ได้แก่ สระผสม
สระผสมพยญั ชนะ ได้แก่
เะ แะ โะ เา
เฯะ เฯ เะิฯ เฯิ เฯอิ ะ เอิฯ
฿ฯะ ฿ฯ โฯะํ ฯํ ํา เัา เยฯ
ํา เัาข้อสงั เกตุ
เป็นเสยี งสนั ของ “อาม” และ เป็นเสียงสนั ของ “อาว” ถือเป็นสระผสมพยญั ชนะ
- 10 -
สระพเิ ศษ (ลดรูป/ซ่อนรูป)
โะ ลดรูปเป็น ฿ ใช้กบั มาตราแมส่ ะกด 6 มาตรา ก฿ฯ ก฿ฯ ก฿ฯ ก฿ฯ ก฿ฯ ก฿ฯ
฿ฯ ลดรูปเป็น ฯ กรณีมีตวั สะกด ตวั อย่างเชน่ สฯง รฯร ชรฯ
ํฯ ลดรูปเป็น ฯ กรณีมตี วั สะกด ตวั อย่างเช่น สฯง รฯร ชรฯ
เฯ ลดรูปเป็น ฯ กรณีมีตวั สะกด ตวั อยา่ งเชน่ สงฯ รรฯ ชฯร
สระพเิ ศษ (บางกล่มุ ชน)
๋ “ไม้เก๋าหอ่ หนึง” มีการพฒั นาใช้ในเอกสารของชาวเขนิ ลอื ยอง ออกเสียง “เอา”
ตวั อย่างเชน่ รฯง้ หฯ๋ อา่ นวา่ “ร้วงเหม้า” ในบางพืนทเี รียก “ไม้ก๋อหมวกเจ๊ก” ออกเสียง
“ออ” ตวั อยา่ งเช่น พฯ๋ หรือ พ๋ฯ อา่ นวา่ “พอ่ ” พงึ สงั เกตบุ ริบทเอกสารจึงจะอา่ นออกเสยี งได้
ถกู ต้อง
ฯูี “ไม้เก๋าจ้จู ี” มกี ารพฒั นาใช้ในบางพืนทีเท่านนั ไมค่ วรใช้เป็นไวยากรณ์หลกั พบในคาํ วา่
“เจ้า” เช่น /พระพทุ ธเจ้า/ เขยี น “ พุทจฯ ีฯู”
ข้อแตกต่าง ระหวา่ งสระภาษาล้านนากบั ภาษาไทยบ้าง มขี ้อสงั เกตดงั นี
๑. สระ ะ ไมน่ ิยมใช้เพราะพยญั ชนะล้านนา มีต้นแบบ ภาษาบาลี หรือ ภาษามคธ มีเสยี ง
สระ อะ กํากบั พยญั ชนะอย่แู ล้ว เชน่ อ อา่ น “อะ” ก อา่ นวา่ “กะ”
๒. สระ เา ต้องมไี ม้ซดั ( เาั ) มิฉะนนั จะอา่ นเป็น “โอ” ในภาษาบาลีไป เชน่
เราั อา่ น “เรา” เขาั อา่ น “เขา” เจาั อา่ น “เจ้า” พเุ ทฯา อา่ น “พทุ -โธ”
๓. ล้านนาเรียกสระและเครืองหมายกํากบั วา่ “ไม้” เชน่ เรียกวา่ า เรียก “ไม้กา๋ ”
ี เรียก “ไม้กี” โ เรียก “ไม้โก”๋ ํ เรียก “ไม้กงั มน”
ในการออกเสยี งภาษาล้านนาให้ถกู ต้องตามสาํ เนียง ล้านนา อย่างแท้จริง จะมีสระทีกําหนด
ความ สนั - ยาว สงู - ตํา ของเสยี ง ถ้าออกเสยี งผิดอาจทาํ ให้ความหมายเปลยี นหรือผดิ ไปได้
- 11 -
ลักษณะพเิ ศษของสระล้านนาทคี วรรู้
ไม้ก๋าหลวง หรือ ไม้กา๋ โว้ง ( ¶ฯ ) คอื สระ อา ( า ) ในภาษาล้านนา ปัจจบุ นั ใช้กบั พยญั ชนะเพียง
๕ ตวั เทา่ นนั คือ ค ท ธ บ ว
ค¶ฯ ท¶ฯ ธ¶ฯ บ¶ฯ ว¶ฯ
สาเหตทุ ีใช้เพราะวา่ ถ้าใช้ไม้ก๋าธรรมดา ( า ) ผสมกบั พยญั ชนะ ๕ ตวั ถ้าเขยี นตดิ กนั จะคล้ายเป็น
พยญั ชนะตวั อนื ไป เช่น
คา คล้ายตวั ก ทา คล้ายตวั ต ธา คล้ายตวั ต
บา คล้ายตวั ห วา คล้ายตวั ต
สระ เาั (เ า) ตามไวยากรณห์ ลกั ใช้ เาั แตม่ ีการใช้สระ “เอา” ในบางกลมุ่ (ไมค่ วรใช้เป็น
ไวยากรณ์หลกั ) อยู่ ๒ ตวั คอื
๑. ๋ เรียกวา่ ไม้เก๋าหอ่ หนงึ เช่น ข-๋ เขา ม-๋ เมา
๒. ฯูี เรียกวา่ ไม้เก๋าจ้จู ี เช่น จูฯ-ี เจ้า
ไม้กังไหล (องั ) = · ใช้ในภาษาบาลกี รณี /ง/ สะกด เชน่ สºเฆา - สงฺโฆ ม¸คล - มงฺคลใน
คาํ ไทยยวนพบการใช้ไม้กงั ไหลในคํา ท· ฯาฯ ลดรูปเป็น ท·าฯ (ทงั หลาย อา่ น ตงั หลาย) สว่ นไทยลอื -
เขนิ ใช้รูป ทฯั ฯาฯ ลดรูปเป็น ทฯั าฯ และไทยลือ(สบิ สองพนั นา) เรียก ฯ ฯ วา่ “ละทงั หลาย”
ระโฮงหรือระโว้ง ( ) คอื /ร/ ใช้ในคาํ ยืมบาลีสนั กฤต ใช้เขียนหน้าพยญั ชนะ และทําให้พยญั ชนะ
ทีมรี ะโฮง เสยี งเปลยี นไป คอื ออกเสยี งถดั ไปหนึงวรรค เชน่
(กร) ออกเสียงเป็น ข (ขะ) เชน่ ฯ /โกรธ/ อา่ นวา่ “โขด” ีฯา อา่ นวา่ “ขียา”แปลวา่ สนิ แล้ว,จบแล้ว
(คร) ออกเสยี งเป็น ฆ (ฆะ) เชน่ ฯู /ครู/ อา่ นวา่ “ฆ”ู ฯํะ อา่ นวา่ “เฆาะ” (เคราะห)์
(ตร) ออกเสียงเป็น ถ (ถะ) เชน่ าฯ /ตราบ/1 อา่ นวา่ “ถาบ”
(ปร) ออกเสยี งเป็น ถ (ถะ) เชน่ าฯ /ปราบ/2 อา่ นวา่ “ผาบ”
1 อดุ ม รุงเรอื งศรี พจนานุกรมลา นนา-ไทย ฉบบั แมฟา หลวง หนา 269 าฯ ตราบ อา น “ถะหลาบ/ถาบ” น. ขาง,ฝาย,ฟาก,ริม ว.ตราบ-จน
กระท่ัง,ท่ีสดุ ถงึ (ขอม-ฏราบ) ถะหลาบ ก็วา
2 เรอื่ งเดียวกัน หนา 411 าฯ ก.ทาํ ใหอยใู นอาํ นาจ ผาบ ก็วา (ขอม-ปรฺ าบ, เทียบ, ส.ปฺราปตฺ ิ)
- 12 -
วรรณยกุ ต์ ๒ รูปผนั ได้ ๖ เสียง
รูปวรรณยกุ ต์ ในภาษาล้านนา มอี ยู่ ๒ รูป คือ
๑. ่ เรียกวา่ ไม้เหยาะ หรือไม้เอก เชน่
ก่า(กา่ ) ขา่ (ขา่ ) ค¶(ฯ คา่ ) จา่ (จ่า) ท¶ ฯ (ท่า)
๒. ้ เรียกวา่ ไม้ขอช้าง หรือไม้โท เชน่
ก้า(ก้า) ขา้ (ข้า) ค¶(ฯ ค้า) จา้ (จ้า) ท¶(ฯ ท้า)
เสยี งวรรณยกุ ต
เสียงวรรณยกุ ตในภาษาลา นนา จะผนั ได 6 เสยี ง โดยใช
พยญั ชนะวรรค 1 (เสียงสงู ) คูพ ยญั ชนะวรรค 3 (เสียงต่าํ ) กํากบั ดวยวรรณยุกต 2 รปู ผนั ได 6 เสียง
พยัญชนะวรรค 2 (เสียงสงู ) คูพยญั ชนะวรรค 4 (เสียงต่ํา) กาํ กบั ดว ยวรรณยกุ ต 2 รปู ผนั ได 6 เสยี ง
พยญั ชนะวรรค ห-นาํ (เสยี งสงู ) คพู ยญั ชนะวรรค 5 (เสยี งตาํ่ ) กาํ กบั ดวยวรรณยุกต 2 รูป ผนั ได 6 เสียง
ดงั นี้ เสียงสงู เสียงตํา
กาก๋า ก่าก่า กา้ กา้ ค¶ฯคา ค¶ ฯค่า ค¶ ฯคา้
ขาขา ข่าข่า ขา้ ขา้ ฆาฆา ฆาฆา่ ฆ้าฆา้
¶ฯครา ¶ฯคร่า ¶ ฯ คร้า เสียงเดียวกนั
ฅา ฅา ฅา่ ฅ่า ฅา้ ฅา้
หาฯ หงา หฯา่ หง่า หฯ้า หงา้ งา งา งา่ งา่ งา้ งา้
ข้อสงั เกตุ พยญั ชนะวรรคที 5 ไมม่ ีคูเ่ สียงสงู นกั ปราชญ์โบราณจึงใช้ ห-นํา เพือใหไ้ ดค้ เู่ สียงสงู
ตัวเลข
ตวั เลข ในภาษาล้านนามี ๒ แบบ
เลขในธรรม สําหรับใช้เขยี นในคมั ภรี ์ทางพระพทุ ธศาสนา
๑. ๘ ๙๐
๑๒ ๓๔๕๖๗
๑๒๓๔๕๖๗๘ ๙๐
๒. เลขโหราศาสตร์ สาํ หรับใช้คํานวณและเขยี นทวั ไป 7 89 0
1 1 3456 89 10
1234567
บทที่ ๒
บ฿ฯที 2
การผสมพยัญชนะ สระและวรรณยุกต
การผสมพยัญชนะกับสระท่ีเปนใหญในตัวเอง (สระลอย) ๘ ตัว สระประเภทนี้ไมตอง
อาศยั พยัญชนะ เพยี งแตม พี ยัญชนะเปนตวั ตาม เพอื่ ใหไ ดใ จความ สว นใหญเปน คาํ ทีม่ าจากภาษาบาลี เชน
อ = อะ อหํ - อหํ (ขา ) อนน์ฯ–อนนั ต (ไมสนิ้ สดุ )
อา = อา อน฿ง์ฯ - อนงค (นางสาว) อตาฯ - อัตตา (ตน)
± = อิ อากาฯ - อาการ (กริ ยิ า) อากรฯ - อากร (บอ เกิด)
² = อี อาวธุ - อาวธุ อาทิตฯ์ - อาทิตย
³ = อุ ±ฯ ี์ฯ - อินทรีย ±ริยาบ฿ฯ - อิริยาบท
´ = อู ±¢ฯ - อนิ ตา ±ทํ สตุ ํ - อิทํ สุตํ (พระสูตรน)้ี
µ = เอ ²สาฯ - อสี าน ²สา - อสี า (งอนไถ)
โอ = โอ ²มู - อีมู (นก) ²เหฯ - อีเหน
³ท¶หฯ รฯ ณ์ - อทุ าหรณ ³ณาโล฿ฯ - อุณาโลม
³ตริ - อุตริ ³ณฯกาฯ - อณุ หฺ การ
³กา - อูกา (เล็น,เหา) ³หา - อสู า (ตรกึ ตรอง)
´รุ - อรู ุ (ขาออน) ´หติ – อูหติ (วติ ก)
µกา - เอกา (หนงึ่ ) µตทคฯ - เอตทคั คะ
µกทวิ สํ - เอกทิวสํ (ในวันหน่งึ ) µวํ - เอวํ
โอกา – โอกาส (ชอ งทาง) โอภา - โอภาส (แสงสวา ง)
โอตรณ - โอตรณะ (หยง่ั ลง) โอสถ - โอสถ (ยา)
โอ฿ฯกาฯ - โองการ (คาถาหรืออาคม) โอ฿หฯ ฯํ - โอยหนอ (คาํ อทุ าน)
- ๑๔ -
การผสมพยญั ชนะ สระและวรรณยกุ ต
การผสมพยัญชนะและสระ พยัญชนะผสมกบั สระ ๑๒ ตวั (สระเด่ยี ว) จะไดรปู ดังนี้
ะ = ะ มลู (มูละ) ราค (ราคะ)
า = า ราค¶ฯ (ราคา) มาหา (มาหา)
ิ = ิ ติ (ติ) สริ ิ (สริ )ิ
ี = ี มีสี (มีส)ี กณฯี (กณั ฐี = คอ)
ึ = ึ สตึ (สตึ) อึฯอฯั (อึดอดั )
ื = ื หฯังสื (หนังสอื ) มมี ื (มมี ือ)
ุฯ = ุ กสุ ุมา (กสุ มุ า) บรุ เตา (ปรุ โต)
ฯู = ู ลูร (ลูน) สญู (สูญ)
เ = เ เหเห (เหเห) เสว¢ (เสวนา)
แ = แ แลตา (แลตา) มาแน่ (มาแน)
ไ = ไ ไพไหฯ (ไปไหน) ไกฯตา (ไกลตา)
โ = โ โมโห (โมโห) โกธ¶ฯ (โกธา)
พยัญชนะผสมกบั สระประสม ๔ ตัว จะไดร ปู ดงั นี้
เา = โ ใชส ําหรบั ตามหลงั พยญั ชนะตน และนยิ มใชใ นภาษาบาลีเปน พื้น เชน พุเท¶ฯ ฯ
(พุทโธ) ลเท¶ฯ ฯ (ลทฺโธ) กªเบ¶ฯ (กสฺสโป)
เาั = เา ถา ตอ งการใหออกเสยี งเปน “เอา” ใหใ สไ ม ั (ไมซ ดั ) ขา งบน เชน
เมัาเหัาฯ (เมาเหลา ) เสาั เรรฯิ (เสาเรอื น) ดังไดก ลา วมาแลว
อํ = อํ ใชเปน นิคหิต เชน พทุ ฯํ (พุทธฺ )ํ ธมํฯ (ธมมฺ ํ)
- ๑๕ -
วรรณยกุ ต
วรรณยกุ ตใ นภาษาลา นนามี ๒ รปู ผันได 6 เสยี ง ดังไดก ลาวมาแลว ในบทที่ ๑ แตเม่ือ
นําคําทีม่ ีพยัญชนะผสมกบั สระไปผนั แลว จะได ๓ เสยี ง เชน
กา ก่า กา้ คา ค¶ฯ ค¶ ฯ
ขา ขา่ ขา้ ฅา ฅา่ ฅา้
จา จ่า จา้ ชา ช่า ช้า
ขอ สังเกตในการใชส ระและลกั ษณะพิเศษของภาษาลา นนา
๑. ไมห นั อากาศ, ไมโ ท, ไมไตคู มีรูปลกั ษณะใกลเ คียงกนั มีการใชเ หมือนกนั สวนไมซัด ( ั ) นน้ั มี
ลกั ษณะขมวดหวั เลก็ นอ ย เชน วฯันัฯ (วนั น้นั ) ดฯ่วนี (เด่ียวน)้ี เปนตน
๒. ไมตรี และไมจตั วา ไมม ใี ชในอักษรธรรมลานนา เพราะมเี สยี งครบวรรณยกุ ตอ ยูแลว
๓. ไมทณั ฑฆาต (์) ลานนาเรยี ก ระหาม มีการใชเหมือนกัน เชน สรุ ิ ์ (สรุ ินทร) อน฿ง์ฯ (อนงค)
๔. ไมซํา้ คาํ (ยมก) ใชเลขสองในธรรมนน่ั เอง หมายถงึ อา นซํ้าคาํ สองครงั้ หรืออานคาํ สองพยางค เชน
ไจๆ้ (ไจๆ) ตา่ ฯๆ (ตางๆ) ¢ๆ (นานา) สฯดๆ (สมดุ ) สฯๆง (สนอง) เปนตน
การผสมพยญั ชนะกบั ตัวสะกด
ตวั สะกดในภาษาลา นนา มลี ักษณะสะกดแบบเดียวกับภาษาไทยกลาง ตางแตการเรียง
สระและพยัญชนะเทาน้ัน ตัวหนังสือไทยกลางนิยมเขียนตัวสะกดถัดไปจากพยัญชนะตน แตลานนา
ตวั สะกดเขียนไวด านลางพยัญชนะตนในคําไทย และเขียนถดั ไปจากพยัญชนะตน ในคําบาลี จงึ จาํ เปน ตอ ง
ทําความเขาใจวิธกี ารผสมสระ และตวั สะกดอยางละเอียด
มาตรา หรอื แม ท่ีเปน ตว สะกดมี ๘ แม โดยอาศัยแม ก กา (กะ กา) เปนหลกั
ก฿ฯ กก หรือ ตัว ก สะกด
ก฿ฯ กง หรอื ตวั ง สะกด
ก฿ฯ กด หรือ ตัว ด สะกด
ก฿ฯ กน หรอื ตัว น หรือ ฯ สะกด
ก฿ฯ กบ หรอื ตัว บ หรือ ฯ สะกด
ก฿ฯ กม หรอื ตวั ม หรอื ฯสะกด
เกิฯ เกย หรอื ตัว ย หรือ ฯ สะกด
เกฯ เกอว หรือ ตัว ว สะกด
- ๑๖ -
ตวั อยา งการผสมพยญั ชนะกบั ตวั สะกด
แม ก฿ฯ เชน ค฿ฯ ง฿ฯ ปฯ฿ จ฿ฯ
ก฿ฯ เชน ข฿ฯ จ฿ฯ ม฿ฯ ร฿ฯ
ก฿ฯ เชน จ฿ฯ น฿ฯ ฅ฿ฯ ร฿ฯ
ก฿ฯ เชน จ฿ฯ ตฯ฿ ฅ฿ฯ ห฿ฯ
ก฿ฯ เชน ข฿ฯ ผฯ฿ ล฿ฯ ว฿ฯ
ก฿ฯ เชน ข฿ฯ ผฯ฿ ล฿ฯ ช฿ฯ
เกิฯ เชน เขิฯ เผิฯ เลิฯ เหิฯ
เกฯิ เชน เหฯ ขฯว หฯ ว หฯวฯ
การใช ฿ (โอะลดรปู ) กบั พยัญชนะตัวสะกด
฿ “ไมกง ” หรือ เคร่ืองหมายท่ใี ชแทนสระ โะ (โอะ) ลดรปู ในภาษาลา นนา แตใ นภาษาไทย
กลางไมป รากฏรูปใหเ ห็น
แม ก฿ฯ = หาฯ ฯค฿ฯ (หลายกก ) ตัเฯ ชกฯิ (ตดั เชือก) เผฯิกต฿ฯ (เผอื กตก)
ก฿ฯ = หฯ฿ท¶ฯ (หลงทาง) หาดฯ ฿ฯ (หางดง) ฅ฿£ฯ ่ฯู (คงอยู)
ก฿ฯ = ก฿ฯหาฯ ฯ (กฏหมาย) ไมค้ ฿ฯ (ไมคด) ล฿ลฯ ะ (ลดละ)
ก฿ฯ = ฝฯ฿ตฯ฿ (ฝนตก) ฅ฿ลฯ ้ฯ฿ (คนลม ) ว¶ หฯ ฿รฯ่ (วาวหลน )
ก฿ฯ = ผ฿ ลฯ ฿ฯ (ผลลบ) น฿ไฯ หฯ้ (นบไหว) ไม้ต฿ฯ (ไมตบ)
ก฿ฯ = ล฿ฯพ ัฯ (ลมพดั ) ดผัฯ ฿ฯ (ดดั ผม) ขีจ ่ฯ฿ (ขจ้ี ม = ชอบบน )
เกิฯ = เนฯเิ ิฯ ฯ (เนอ้ื เปอย) เมิฯ ไฯ ข้ (เมอ่ื ไข = ไข) อฯรหฯ ฯ (ออนหลวย)
เกิฯ = ดา้ ฯหฯว (ดายเหนยี ว) หฯฯวผํฯ (เหลยี วผอ = มอง) ขคํฯ ฯว (ขอเคยี ว)
- ๑๗ -
การใชห าง (ตีน,เชิง) ของพยัญชนะ
การผสมพยัญชนะกบั ตวั สะกดของอกั ษรธรรมลานนาและภาษาไทยกลางมขี อ แตกตางกนั คอื พยญั ชนะ
ตวั สะกดบางตัว ใชบ างสว นของพยัญชนะ หรอื มกี ารเปลย่ี นรูปมาสะกด เชน
ญ ใช ฯ เรียกวา “หางญะ” ตรงกับตวั /ญ/ เชน า – พระญา ใหฯ่ – ใหญ
ฐ ใช ฯ เรยี กวา “หางฐะ” (ระฐะ) ตรงกบั ตัว /ฐ/ เชน รฏฯ – รฏั ฐะ อฏฯ – อัฏฐะ
ถ ใช ฯ เรยี กวา “หางถะ” ตรงกบั ตัว /ถ/ เชน สตาฯ หรือ สตาฯ – สตั ถา
พ ใช ฯ เรียกวา “หางปะ” ตรงกับตวั /พ/ เชน นพิ าฯ ฯ – นพิ พาน
น ใช ฯ เรียกวา “หางนะ” ตรงกับตัว /น/ เชน ก฿ฯ – กน กัฯ – กนั กฯิ – กนิ
บ ใช ฯ เรยี กวา “หางปะ ” ตรงกับตวั /บ/ หรอื ป เชน นั ฯ – นบั กัฯ – กบั ขัฯ – ขบั
ม ใช ฯ เรยี กวา “หางมะ” ตรงกับตวั /ม/ เชน ข฿ฯ – ขม ผฯ฿ – ผม ล฿ฯ – ลม
ย ใช ฯ เรียกวา “หางยะ” ตรงกับตัว /ย/ เชน เกิฯ – เกย เขิฯ – เขย เลิฯ – เลย
ขอสังเกต ผเู รียนสามารถสังเกต ฯ ไดวา เปน ตวั ฐ ถ พ ไดโ ดยสงั เกต พยญั ชนะตวั ขม บนตวั ซอ น
หรอื หาง วาอยใู นวรรคใด เชน
รฏฯ แสดงวา ฯ คือ ฐ
สตาฯ แสดงวา ฯ คอื ถ
สพฯ แสดงวา ฯ คือ พ
บทที ๓
บ฿ทฯ ี 3
คําพเิ ศษภาษาล้านนา
ในภาษาล้านนา คําพิเศษ หรือคาํ ทีอา่ นยากอย่หู ลายคํา คาํ เหลา่ นีนกั ปราชญ์เมืองเหนือนิยม
เขียนสืบตอ่ กนั มา ผู้ศึกษา ควรจดจําไว้ เพือสะดวกในการเขียนและการอา่ น ซึงจะได้แยกเป็ นคําๆ
พร้อมคาํ อา่ นดงั ตอ่ ไปนี
คาํ ศัพท์ อ่านว่า คาํ ศัพท์ อ่านว่า คาํ ศัพท์ อ่านว่า
กบ็ ่ กม็ ี บ่มี
คํฯ ก็ดี คฯี บม่ า บฯี อนั วา่
คฯี ไปมา บํ าฯ ไปหา รื จกั วา่
ไพฯา มกั วา่ ไพฯา จกั มา จฯัา ก็วา่
มาฯั และ , แล จัฯา แล้ว ค¶ฯํ ฯ และนา ,แลนา
¦,§ฯ เอา ¦ฯ ตงั หลาย ¦ฯา ,¦ฯา ดกู รา
´า ดรู า ทัาฯ ,ท·ฯา ขยี า ดู า ชือวา่
กะตาํ คือวา่ ชฯืา เวต๊ะนา
าฯู เทสะนา ีาฯ สวรรค์ เวทาๆฯ สะหยอง
กฯํา ผาถะนา คาฯื สงั ขะหยา สๆ ฯง เสมอ
เทสฯๆา สะเหวย สฯรั ฯ์ สวสั สะดี เสๆฯิ สหาย
สะหยบุ ทา่ ว ส¸ขฯา รือ,ฤา สๆาฯ ฯ ฤกษ์
าถาๆฯ ดีหลี สฯªีฯ ผาสะจาก รฤกฯ์ อศั จรรย์1
เสฯิ ฯ หอมหยบั รฤ เฮย อªจัรฯ์ นาน
สๆฯบท่าฯ อินทรีย์ ผะโยชน์ ¢ฯ แมน่ วา่
ดีฯ ริศหนา าªจาฯ ดงั นี แมาฯั ชมพทู วปี
หฯมหับฯ เ£ิฯ ช฿มฯท ีฯบ
± ฯ์
รªิ ๆาฯ โยช์ฯ
ดฯัน ี , ดงั ฯี
1 อดุ ม รงุ เรืองศรี, พจนานุกรมลานนา-ไทย ฉบับแมฟาหลวง หนา 882
- ๑๙ -
คาํ ศัพท์ อ่านว่า คาํ ศัพท์ อ่านว่า คาํ ศัพท์ อ่านว่า
หิมพาน สะหรี
เวเชยฯนฯ์ เวชยั ยนั ต์ หมิ ฯาฯ อาสะไหล ี สะหนํา
อา กนั ตวฺ า๋ สๆฯํา สงสาร
ัรู้ ตรสั รู้ ค¢ฯ อนตราย ส฿ๆาฯ ฯ พีน้อง
อ฿ ฯ องั คาร พงฯี สะหรม
ส฿มาฯ ฯ สมปาน อ¸คาฯ นาย นาง
¢ฯ สญชยั ฿ฯ เข้าของ
อรห¢ฯ อรหนั ตา สเญยฯ ฯ์ ขวาํ เขอื ก ¢ฯ เสดจ็
ขฯาํ เขฯกิ จกั รวาฬ เขๆฯัา ฯ ตรองไตร
เจาั พระเจ้า จ วาฯ มยั หงั มงั คละ
ไมยํฯ เงิน เดะฯ กญุ ชร
¢ นา เงิฯ เชยยฺ ์เบงชร ฯง วทิ รู ไอศวร
เสฎฐี มค¸ ฯ กราบเกล้า
อาชฯา อาชญา เชยฯ์เบงรฯ เนมินธร กุญฯร สิรินธร
อาราธ¢ อาราธนา เสฏฯี วิทรู ไอศรฯ
กสฯั กษัตริย2์ เนมนิ ฯร
าฯเกฯาั
ศ ฯู ศตั รู(สตั ถ)ู สิรนิ ฯร
หํ ฯ หย้อ (ย่อ)
เบงฯร เบงชร
บุ¡าธกิ าฯ บญุ ญาธกิ าร
อ฿ง์ฯ พุทฯ์ องคพ์ ระพทุ ธ
2 อดุ ม รงุ เรอื งศรี, พจานานุกรมลานนา-ไทย ฉบบั แมฟ าหลวง หนา 5
บทที ๔
บ฿ทฯ ี 4
ประโยคเรืองราวทีใช้ฝึกอา่ นและเขยี น
ในการอา่ นและเขียนภาษาล้านนา จําเป็ นทีจะต้องฝึ กอ่านและฝึ กเขียนให้มากๆ เพราะเป็ น
วิชาทีเกียวกบั ทกั ษะทางภาษา ก่อนทีจะอา่ นและเขยี นในรูปของประโยคหรือเรืองราวตา่ งๆนนั ผ้ศู กึ ษา
ควรทีจะฝึกอา่ นและเขียนคําศพั ท์ตา่ งๆให้ได้เสยี กอ่ น จึงขอแยกเป็น ๒ ลกั ษณะคอื
๑. ฝึกอา่ นและเขยี นคาํ ทเี ป็นภาษาบาลี
๒. ฝึกอา่ นและเขียนคําทีเป็นภาษาพดู แบบล้านนา
๑. ฝึกอา่ นและเขยี นคําทเี ป็นภาษาบาลี
คําศพั ท์ คําอา่ น คาํ แปล
อานนั ต๊ะ อานนั ทะ, อานนท์
อานนฯ โกณฑญั ญะ พระโกญฑญั ญะ
เกาณ¡ฯ วปั ปะ พระวปั ปะ
วบฯ ภทั ทิยะ พระภทั ทิยะ
ภทฯิย มหานามะ พระมหานามะ
มหา¢ม อสั สะชิ พระอสั สะชิ
อªชิ อาวโุ ส ผ้มุ อี ายุ
อาวุเสา ภนั เต ผ้เู จริญ
ภเนฯ เถโร พระเถระ
เถเรา สามเณโร สามเณร
สามเณเรา พทุ ธงั พระพทุ ธเจ้า
พุทํฯ ธมั มงั พระธรรม
ธมฯํ สงั ฆงั พระสงฆ์
สฆ· ํ สรณงั ทีพึง
สรณํ คจั ฉามิ ถึง
คจาฯ มิ อบุ าสโก อบุ าสก
³บ¶ฯสเกา
- ๒๑ -
อุบ¶ฯสกา อบุ าสกา อบุ าสกิ า
วªา วสั สา ปี
ตªฯา ตสั สมา เพราะเหตนุ นั
±มªิฯ๊ อมิ สั สมิง นี
³บชฯ าฯ เยา อปุ ัชฌาโย พระอปุ ัชฌาย์
นพิ าฯ นํ นิปปานงั พระนิพพาน
บรมํ ปรมงั อย่างยิง
สขุ ํ สขุ งั ความสขุ
เมตฯา เมตตา ปรารถนาให้มีสขุ
กรณุ า กรุณา ปรารถนาให้พ้นทกุ ข์
๒.ฝึ กอ่านและเขยี นคาํ ศัพท์ทเี ป็ นภาษาพูดแบบล้านนา คาํ แปล
พ่อแม่
คาํ ศพั ท์ คําอา่ น พีน้อง
ป้ อแม่ แมป่ ้ า
พํ ฯแม่ ปี น้อง น้าอา
พฯี ฯง แมป่ ้ า ป่ ยู า่
แม่า้ น้าอา ตายาย
¢อ้ า ป่ ยู า่ ลกู หลาน
ปูย่ า่ ตายาย กินข้าว
ตายาฯ ลกู หลาน ข้าวเช้า
ลกู หฯาฯ กินเข้า ข้าวกลางวนั
กฯิเ ขัา เข้างาย ข้าวเย็น
เขาั งาฯ เข้าตอน ไปไหน
เขัาทรฯ เข้าแลง ไปเทียว
เขัาแลฯ ไปไหน ใครมา
ไพไหฯ ไปแอว่ มากบั ใคร
ไพแอฯ่ ไผมา
ไผมา มากบั ไผ
มากั ฯผ
- ๒๒ -
ไพจได ไปจะใด ไปอย่างไร
มฯร่ แทๆ้ มว่ นแต้ๆ สนกุ จริงๆ
พีรสู้ ฯง ปี ฮ้สู อง พีรู้สอง
น้ งฯ รู้นฯึ น้องรู้นงึ น้องรู้หนงึ
อู้หืเพฯริ ัฯ อ้หู ือเปิ นฮกั พดู ให้เขารัก
ยานฯ จฯั ัฯหังฯ ยากนกั จกั หวงั ยากนกั ทีหวงั ได้
อหู้ ืเพฯิชฯั อ้หู ือเปิ นจงั พดู ให้เกลยี ด
คํ¶ฯดฯวคํ ด้ กําเดียวก็ได้ ใช้คําๆเดยี วเทา่ นนั
พริกมีบ้านเหนือ พริกมีบ้านเหนือ
ิฯมีบา้ เฯ หิฯ อฯ เกือมบี ้านใต้ เกลอื มบี ้านใต้
เกิอฯ มีบา้ ฯใต้ อยา่ หล๊วกกอ่ นหมอ อยา่ ฉลาดก่อนหมอ
£่าหฯกก่ รฯ หํฯ ฯ อย่าซอกอ่ นปี อยา่ ซอก่อนปี
£า่ ซ กฯ ่ฯรี เกาั อดสบิ ยนั อดทนอดกลนั
เกาั อ฿ฯสิยฯ ฯั จะได้นงั แตน่ คาํ เหลือง จะได้นงั แทน่ ทอง
จะได้นแฯั ทฅ่ฯ า เหฯงิ
ฝึ กอ่านและเขยี นประโยคเรืองราวต่อไปนี
C พ้ีฯ ฯงผิฯกเฯั หฯิ รฯ า้ ฟ¢ฯั ฯํ £า่ กําผกู หฯรั ทืเวฯ เิ ฯะเนฯิ ¢ฯั หฯํ าฯพาเปฯ ´า¢ฯํไสเ£ฯซฯ่ ฯ
เิะฯ จิฯส้ งฯ ใ๚ห้ฯเขยี นเป็นคําอา่ น
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
C พ้ฯี ฯงผฯิกฯเั หิฯ รฯ เห็กฯ ขหี ฯฯ้ง ฝ฿¦ฯ ฯหาฯทึดฯ ี เจัาน้ งฯ รัฯ จงุ่ อ฿ฯขนีฯ หแื ปใฯ จดเี หิฯ ฯร¢ฯทํ ฯหั า้ ๚
ให้เขยี นเป็นภาษาล้านนา
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
- ๒๓ -
C ร้าฯปาฯ ฯก ่ ฯรชา่ ฯดีปาฯ หฯ ฯัง ชา่ ฯหูมมมี าป่ ฯาล้า £า่ ถไื ผดี £า่ ทืไผชา้ ชา่ ฯเปเฯ มฯ
ฝ้าพาม฿ฯ £ูฯ่ตาฯ¢ทฯํ ¶ํ ไฯ พตาฯตฯ฿ ¢ฯพํ งฯ ฮืดกฯ บ฿พฯ งฯ อั๚ฯ ใฯ๚ห้ฯเขยี นเป็นคาํ อา่ น
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
C งฯฅ฿ ฯา ชฯ ้าฯมา้ฯ ตาฯ¦ฯเหฯอิ หังฯ ดูกเขาั ข฿ยฯ ´ัฯ าไช้กาฯไ ด้ จาลงฯ สดุ แมป้ มุ ¦
ไส้ ฅ฿ยฯ ฯกั ฯลิ ําอิฯท้ฯง มนุª์เราั ตาฯ สๆาฯ ฯพฯี้งฯ ไผบห่ ง่ฯ ข้งฯ อาไลฯ สดุ แต่ดกู ภ฿ฯะ
ย´ฯั าขฯา้ ฯไกฯ ก฿ฯจัฯเปฯไ ภฯ ผีจหัฯ กฯ บา้ ฯ๚ฯ๚ฯ ให้เขยี นเป็นคาํ อา่ น
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
C บฐมํ ดาฟัฯรฯบร้ ฯ ฯ จัฯริราํ ถ้ฯฯหเื ปวฯ ิฐาฯ เมิ อฯ 2 หฯํ ฯ ทฯวโล฿ฯสๆ฿ฯาฯ แม่ยิฯสามาฯ
่ปงฯ ฅา ขา้ ลําดัฯมาเถฯิ เปฯบ฿ทฯ ี 5 จาเถรฯิ าชาหํฯไฯ ธ้ ฯ เมิ ฯอเจาั สงฯ ต฿เฯ ดิฯด฿ปฯ ่ฯาไม้ เปฯ
กฯาฯป่ฯากฯ้าฯไ กฯฅ฿ฯ เมิ ฯอสงฯ หํฯ ฯท¶ฯแก้ฯแก่ฯทฯมห฿ฯ สุริฯว฿งฯ์ห฿งฯ์อามาฯเจัา เสฯิอาหาฯ ฉ
งาฅฯ าฯเขัา ¦ฯหาฯ ฯไ฿ พย้ ฯมโยํ ฯะ ทตี าฯเหฯผ า มคฯาลบฯ โลํะฯ เปฯป ่าฯ กฯ้ แฯ กบฯ รฯ ขฯิขา่ คกุ
จฯ ฅถงุ ถงฯ พูน฿ฯผ ฯทั ฯง กุรํอ้ ฯ เฯ หม้ฯ หฯาฯมฯง่ หฯาฯผาฯ หฯาฯลาฯปุมเ้ฯ ผัฯชีทฯมด่ฯรน้ฯฯ £ู่ฯสัฯ
สูรกฯั อ่าฯพอัฯ า่ รฯ ้ฯฯ จ฿จฯ าํ บ่ ดเ้ นิ¢ฯ ฯ มีสารภกฯั ฯ้ ฯเทฯก ฯ้ฯสาฯ แวฯล้ฯม£ํ£าฯ£ู่ฯ 2 ฝ่าฯห้ฯฯ เป
ฯป่ าฯ ตาฯตาฯ ป่ฯาลานป่ าฯ ก้ฯฯ ผฯั ัฯพ ูเลิมฯ านฯ ัฯ ตาฯไจจัฯกฯผิ ้อู ัฯจฯัมัฯ เกฯหาฯ´ฯาไพ ไนห้ฯฯตาฯ
เลฯิะ ¢ํฯเ ผดฯิ ไู ส ฝงู สฯั น ต่ากฯ ฯิต ่าเฯ หฯ้ร เนิฯ ๚ใฯ๚ห้ฯเขียนเป็นคําอา่ น
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
- ๒๔ -
ให้เขยี นเป็ นภาษาล้านนา (จากค่าวเจ้าสุริยวงศ์หงษ์อาํ มาตย์)
C วา่ ปี ภาตา๋ ไปหลบั จะก้ววย ลกุ มาววยลาพําน้อง เป๋ นผีอาสงั มนั มารําร้อง เสยี งสนนั ก้องเมา
มวั ปันข้านาถน้อง นาต้านหย้านกัว ขนหัวเยียกปอง ลุกเสียงกู้เส้น ฟังเสียงเปิ บป๋ าว ไปบนวิงเต้น
เหมือนปังลงซ้าวซ้าว ปี สรุ ิยะ ลกุ มาค้มก๊าว กบั กีบด้นุ หลวั ไฟ ซะแวนข้วางฟื น สอ่ งแจ้งแสงใส อคั คเรือง
ไร ทวั ไปยา่ นห้อง ซําเทวดา รักษาล้อมป้ อง เจ๊าะตา๋ มไพเรืองเรือเล้า ฝงู สตั ย์ทงั หลาย เดือดนนั อดึ เอ้า ก็
ลกุ จากหนั หนีไป ยามนนั และ หน่อพระบวั ไข ก้อยยีบหลบั ไป เถิงตลอดแจ้ง ปี สรุ ิยา นําตาปอแห้ง ก็ลกุ
ดงั ไฟก่อนน้อง เจ้าแตง่ ทํากิน เมยี นเสยี งแล้วพร้อม เรียกเอาน้องเจ้านวลแปง วา่ ลกุ มาเต๊อะ น้องนาถ
คาํ แสง ตา๋ วนั กแ็ ดง แดดล้วงทวั ห้อง หนอ่ พระสตั ถา ทีแปงใจข๋ ้อง กล็ กุ มาววยบจ่ ๊า c
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................
บรรณานุกรม
คาํ มูล มนุ วิ โิ ฮ. เอกสารการสอนอกั ษรลา้ นนา. (ม.ป.ป.) ม.ป.ท. : ม.ป.พ.
มณี พยอมยงค์. ตําราเรยี นหนงั สอื ลา้ นนาไทย. (ม.ป.ป.) ม.ป.ท. : ม.ป.พ.
ร่งุ รพ สริ ิมงคล. เรียนงา่ ยๆ อกั ษรลา้ นนา. (2546) ม.ป.ท. : ม.ป.พ.
วงค์ ขุนชนะ. ค่าวซอเรื่องเจ้าสรุ ยิ วงศ์ หงสอ์ มาตย์ (อกั ษร ล้านนา) (ม.ป.ป.) ม.ป.ท. : ม.ป.พ.
อินจันทร์ คเณสโก. หนงั สอื เรยี นภาษาลา้ นนา. (2555) ม.ป.ท. : ม.ป.พ.
ความเป็นมาอกั ขรธัมมล์ า้ นนา เข้าถงึ ได้จาก http://artculture.cmu.ac.th/th/fontlanna/
ln-tilok (วนั ทคี่ น้ ข้อมลู : 2 สิงหาคม 2555).
คณะผู้จัดทํา
ทป่ี รกึ ษา
นายประเสริฐ หอมดี ผู้อํานวยการสถาบนั กศน. ภาคเหนอื
นางนาถยา ผวิ ม่ันกิจ รองผู้อํานวยการสถาบนั กศน. ภาคเหนอื
พฒั นาหลักสูตร
นายนิพัทธ์ สตั ตรตั นขจร ขา้ ราชการบาํ นาญ
นายบุญส่ง ภวู งั หมอ้ ข้าราชการบาํ นาญ
นายนพิ นธ์ ณ จันตา ครชู าํ นาญการพิเศษ สถาบนั กศน. ภาคเหนอื
นางกรรณกิ าร์ ยศต้อื ครูชํานาญการ สถาบนั กศน. ภาคเหนอื
นางวราพรรณ พลู สวสั ดิ์ ครูชาํ นาญการ สถาบนั กศน. ภาคเหนอื
ผู้เขยี น
นายบญุ สง่ ภวู งั หมอ้ ข้าราชการบํานาญ
บรรณาธกิ าร
นายพชิ ยั แสงบญุ พนักงาน สํานกั ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมหาวิทยาลยั เชียงใหม่
ผู้พิมพ์
นายอภริ กั ษ์ ตาเสน ลกู จา้ ง สาํ นกั สง่ เสรมิ ศลิ ปวฒั นธรรมมหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่
พมิ พท์ ่ี
งานการพิมพ์ สถาบัน กศน.ภาคเหนือ