The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

008. พิพิธภัณฑ์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

008. พิพิธภัณฑ์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

008. พิพิธภัณฑ์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

สถาบันพพิ ธิ ภณั ฑ์การเรยี นรู้แห่งชาติ
เลขที่ 4 ถนนสนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200
National Discovery Museum Institute 4 Sanam Chai Road, Phra Nangkok 10200

Tel. : 66 (0) 2225 2777 Fax : 66 (0) 2225 2775
www.museumsiam.com/facebook.com/museumsiamfan

สถาบนั พิพิธภณั ฑก์ ารเรยี นรู้แห่งชาติ
National Discovery Museum Institute

พพิ ธิ ภัณฑภ์ าคตะวันออกเฉยี งเหนือ

พิพธิ ภณั ฑ์

ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื

หนงั สือ “แนะนำ�พพิ ิธภณั ฑ์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ”

สร้างสรรคแ์ ละเผยแพรโ่ ดย
ฝา่ ยเครอื ข่ายพิพิธภัณฑ์
สถาบนั พิพิธภณั ฑก์ ารเรยี นรู้แห่งชาติ
สำ�นักงานบรหิ ารและพฒั นาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน)
ส�ำ นกั นายกรฐั มนตรี
เลขท่ี 4 ถนนสนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร
กรงุ เทพมหานคร 10200
โทรศัพท์ : 0 2225 2777 โทรสาร : 0 2225 2775
Website : www.museumsiam.com

ค�ำ นำ�

สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ (สพร.) เป็นหน่วยงานภายใน
ของสำ�นักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน)
ในกำ�กับดูแลของสำ�นักนายกรัฐมนตรี มีพันธกิจหลักในการจัดต้ังพิพิธภัณฑ์เพื่อ
การเรียนรู้ในรูปแบบใหม่ที่ทันสมัย ตามแนวคิด “Discovery Museum” ซ่ึงเป็น
แนวคิดใหม่ของแหล่งเรียนรู้ที่เกิดขนึ้ ในยุคสงั คมแห่งการเรยี นรู้ และมีการน�ำ เสนอ
องค์ความรู้ทน่ี ่าสนใจ สนกุ สนาน และเพลดิ เพลิน
สพร. ได้เล็งเห็นความสำ�คัญและตระหนักถึงความจำ�เป็น ในการส่งเสริม
และพัฒนาพิพิธภัณฑ์ระดับท้องถ่ินให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชนอย่างแท้จริง
เพื่อสนับสนุนการสร้างและพัฒนาเครือข่ายพิพิธภัณฑ์ รวมถึงนโยบายส่งเสริม
การพฒั นาพพิ ธิ ภณั ฑร์ ะดบั ทอ้ งถนิ่ ของประเทศ และการสรา้ งเครอื ขา่ ยความรว่ มมอื
กับพิพิธภัณฑ์ต่างๆ เพื่อให้แนวคิดของพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แพร่ขยายออกไปสู่
ทกุ ภมู ภิ าคของประเทศ ผา่ นต้นแบบในระดบั ท้องถ่ิน และสนองตอบตอ่ ประชาชน
ในพื้นทอ่ี ยา่ งแท้จริง
หนงั สอื แนะน�ำ พพิ ธิ ภณั ฑใ์ นภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ไดจ้ ดั ท�ำ ขนึ้ เพอ่ื เปน็ การแนะน�ำ
พพิ ธิ ภณั ฑท์ อ้ งถนิ่ ทมี่ ใี นภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื โดยเนน้ พพิ ธิ ภณั ฑแ์ ละแหลง่ เรยี นรู้
ทมี่ เี รอื่ งราวเกยี่ วกบั “ขา้ ว เกลอื โลหะ” เพอื่ ใหส้ อดคลอ้ งกบั เนอื้ หาของงานเทศกาล
พิพธิ ภณั ฑท์ ้องถน่ิ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือ Museum Festival 2015
สพร. ขอขอบคณุ พพิ ธิ ภณั ฑแ์ ละแหลง่ เรยี นรทู้ กุ แหง่ ทสี่ นบั สนนุ ขอ้ มลู ส�ำ หรบั
การจัดพิมพ์ในคร้ังน้ี และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือแนะนำ�พิพิธภัณฑ์ในภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ จะเป็นส่วนหน่ึงในการประชาสัมพันธ์และสร้างความเข้าใจ
ในพิพธิ ภัณฑ์และแหล่งเรียนรขู้ องภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ได้

นายราเมศ พรหมเย็น
รองผอู้ ำ�นวยการสำ�นกั งานบริหารและพัฒนาองคค์ วามรู้

และผู้อำ�นวยการสถาบันพพิ ธิ ภัณฑ์การเรยี นรแู้ หง่ ชาติ

สารบญั

10 อสี านตอนเหนือ

11 จวนผูว้ ่าราชการจังหวัดนครพนม (หลงั เก่า)
12 ศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดสกลนคร
13 พพิ ิธภณั ฑสถานแหง่ ชาติ บ้านเชยี ง

14 อีสานตอนตะวันออก

15 พพิ ิธภัณฑช์ ุมชนนาอุดม – โนนหนองหอ
16 พิพธิ ภณั ฑพ์ ้นื บา้ นอีสานสองฝ่ังโขง บ้านเกวียนมุก
17 พพิ ิธภัณฑ์พน้ื บา้ นวัดบูรพาปะอาวเหนอื
18 พพิ ิธภัณฑสถานแหง่ ชาติ อบุ ลราชธานี
19 หอวฒั นธรรมอบุ ลนิทศั น์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี
20 พพิ ิธภณั ฑ์เมอื งเกษมสมี า
21 พิพธิ ภณั ฑพ์ น้ื บา้ น บา้ นทา่ ไห
22 พิพธิ ภัณฑ์ชมุ ชนวดั ถ�ำ้ พระศิลาทอง

23 อสี านตอนกลาง

24 พิพธิ ภัณฑว์ ัฒนธรรมพ้ืนบา้ นและภูมิปัญญาท้องถิน่

โรงเรยี นไตรรตั นวทิ ยาคม

25 พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแกน่
26 ส�ำ นกั วฒั นธรรม มหาวิทยาลัยขอนแกน่
27 โฮงมนู มงั เมืองขอนแก่น
28 พิพธิ ภณั ฑม์ หาวทิ ยาลยั มหาสารคาม
29 โฮงประวตั ิศาสตรย์ โสธร
30 พพิ ธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติ ร้อยเอ็ด
31 พิพิธภณั ฑ์เมอื งบวั
32 พิพิธภัณฑม์ รดกภูมิปญั ญาบ้านกกู่ าสงิ ห์
33 พพิ ธิ ภณั ฑเ์ มืองจ�ำ ปาขนั
34 พิพิธภณั ฑ์เมอื งนครราชสมี า
35 พิพธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ พิมาย
36 ห้องไทยศึกษานิทัศน์
37 พิพธิ ภณั ฑบ์ า้ นโนนวัด
38 Maloei พิพิธภัณฑศ์ ลิ ปวฒั นธรรมจังหวัดเลย

39 อีสานตอนใต้

40 พิพิธภณั ฑพ์ ื้นบา้ นหนองบัวโคก
41 ศูนยว์ ฒั นธรรมอสี านใต้
42 ศูนยบ์ รู ณาการวัฒนธรรมไทยสายใยชมุ ชน วัดครุ รุ าษฎร์ กระสัง
43 ห้องภาพเมืองสุรนิ ทร์

เกริน่ นำ�

ตามรอย ข้าว เกลือ โลหะ ค้นหาแรกเรม่ิ อีสานในพิพธิ ภณั ฑ์

เม่ือมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ
ประเทศไทย รู้จักการปลูกข้าวเป็นอาหาร นำ�ไปสู่การเกิดสังคม
เกษตรกรรมท่ีพัฒนามาเป็นเมืองขนาดใหญ่ และเกิดการแลกเปลี่ยนซื้อขาย
ข้าวและสงิ่ ของตา่ งๆ ทม่ี ีในทอ้ งถิ่น
ภายใตผ้ นื ดนิ ของภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ของประเทศไทยยงั เปน็ แหลง่
เกลอื สินเธาวข์ นาดใหญ่ จ�ำ นวนเกลอื ทีห่ าไดไ้ มม่ วี นั หมด ไดถ้ ูกน�ำ มาใชใ้ นการ
ปรงุ และถนอมอาหารนบั ตงั้ แตย่ คุ กอ่ นประวตั ศิ าสตรจ์ นถงึ ปจั จบุ นั โดยเฉพาะ
ปลารา้ ซง่ึ เป็นอาหารหลักของชาวภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื
ในการท�ำ การเกษตรกรรม เครอื่ งมอื โลหะถอื เปน็ อปุ กรณท์ สี่ �ำ คญั ในการ
ทำ�ไร่ไถนา โลหะไม่ได้เป็นเพียงนวัตกรรมเพ่ือสร้างผลผลิต แต่ยังเป็นเครื่อง
ประดับลำ้�ค่า บ่งบอกสถานะทางสังคม จากหลักฐานทางโบราณคดีท่ีพบใน
ชุมชนสมัยก่อนประวัติศาสตร์หลายแห่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้พบ
การผลิตเหล็กในเชิงกึ่งอุตสาหกรรม ซ่ึงอาจเป็นการผลิตใช้เองหรือผลิตเพ่ือ
แลกเปลยี่ นซอื้ ขาย ในขน้ั ตอนการผลติ เหลก็ เกลอื นบั เปน็ สว่ นสำ�คญั มาตงั้ แต่
ยคุ กอ่ นประวัติศาสตร์
ชมุ ชนกอ่ นประวตั ศิ าสตรท์ ม่ี อี ายอุ ยใู่ นยคุ โลหะกระจายตวั อยทู่ ว่ั ทงั้ ภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ โดยพบควบคไู่ ปกับแหล่งเกลือ และแหล่งปลูกขา้ ว บาง
แหง่ มกี ารอยอู่ าศยั อยา่ งตอ่ เนอ่ื งมาจนสมยั ประวตั ศิ าสตร์ โดยเฉพาะในยคุ ทม่ี ี
อทิ ธพิ ลเขมรเขา้ มา ชมุ ชนเหลา่ นยี้ งั พง่ึ พงิ ขา้ ว เกลอื และโลหะ ซงึ่ เปน็ ผลผลติ
หลกั ทใ่ี ช้ดำ�รงชีวติ และแลกเปล่ยี นซอ้ื ขาย

ปจั จบุ ันข้าวและเกลือยังคงเป็นส่วนส�ำ คญั ในสงั คมอสี าน เกลือสนิ เธาว์
ถกู ผลติ ด้วยวธิ กี ารแตกตา่ งกันไป และยงั คงเปน็ ปัจจยั หลักในการผลิตอาหาร
หลักคือ ปลาร้า ขณะทโี่ ลกอุตสาหกรรมได้พฒั นาโลหะไปสูก่ ารผลติ ขนาดใหญ่
แตก่ ารครอบครองโลหะยังเปรียบได้กบั การครอบครองอำ�นาจดงั เช่นอดีต
พิพิธภัณฑ์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือหลายแห่งเป็นตัวแทนท่ีสะท้อน
เร่อื งราวของ ข้าว เกลือ โลหะ ซ่งึ เปน็ จุดเริม่ ตน้ วัฒนธรรมอสี านได้เป็นอยา่ ง
ดี หากลองค้นควา้ ค้นหา จะพบรากลึกของวัฒนธรรมอสี านที่ซ่อนตัวอยตู่ าม
พพิ ธิ ภณั ฑต์ า่ งๆ เหลา่ นี้ [สงิ่ ทน่ี า่ สนใจ] ทอ่ี ยภู่ ายใตข้ อ้ มลู ของพพิ ธิ ภณั ฑต์ า่ งๆ
ในหนงั สอื เลม่ นี้ จะเปน็ ลกู กญุ แจหนงึ่ ดอกทวี่ างใหผ้ ชู้ มพพิ ธิ ภณั ฑไ์ ดล้ องไขประตู
ไปคน้ หาเร่อื งราววัฒนธรรมอีสาน ผา่ นขา้ ว เกลอื โลหะทซี่ ่อนอยูใ่ นเรอื่ งราว
ของวตั ถสุ ่งิ ของตา่ งๆ ท่จี ัดแสดงในพพิ ิธภัณฑ์

แผนที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื



อีสานตอนเหนอื

10 พพิ ธิ ภัณฑ์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

จวนผู้ว่าราชการจงั หวัดนครพนม (หลงั เกา่ ) อสี านตอนเหนอื

ถนนสุนทรวิจิตร อำ�เภอเมือง จังหวัดนครพนม 48000

042 511 287
042 511 287, 042 511 574
www.nakhonphanom.go.th
เปดิ บริการวันพธุ – วนั อาทิตย์ เวลา 10.00 – 19.30 น.


จวนผวู้ า่ ราชการจงั หวดั
นครพนม (หลังเก่า)
ก่อสร้างขึ้นระหว่าง
ปี พ.ศ.2455 – 2457
โดยได้อิทธิพลรูปแบบ
สถาปัตยกรรมจาก
อาคารตะวันตก เดิม
เปน็ ทรพั ยส์ นิ สว่ นตวั ของ
พระยาอดุลยเดชสยาม
เมศวรภักดีพิริยพาหะ

(อยุ้ นาครทรรพ) เทศาภบิ าลมณฑลอดุ รธานี ซงึ่ เปน็ ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั นครพนมคนแรก
ตอ่ มาพระยาอดลุ ยเดชฯ ไดข้ ายอาคารหลงั นใี้ หก้ ระทรวงมหาดไทย เพอ่ื ใชเ้ ปน็ ทพี่ กั ของ
ผวู้ ่าราชการจงั หวดั นครพนม โดยมผี วู้ ่าราชการจงั หวัดพำ�นักในจวนแหง่ น้ี 24 คน
ปัจจุบันกรมศิลปากรได้ข้ึนทะเบียนเป็นโบราณสถาน ตัวอาคารภายในจวนฯ
มี 3 หลงั อาคารหลงั แรกมี 2 ชน้ั มกี ารจดั แสดงเกยี่ วกบั ประวตั ศิ าสตรเ์ มอื งนครพนม
วัฒนธรรมและประเพณีของเมืองนครพนม อาคารด้านหลังเป็นอาคารไม้ชั้นเดียว
จดั แสดงเรอื่ งประเพณไี หลเรอื ไฟ ซง่ึ เปน็ ประเพณที อ้ งถน่ิ ทส่ี �ำ คญั ของจงั หวดั นครพนม
ใกล้กนั เป็นอาคารชัน้ เดยี วจัดแสดงนิทรรศการชว่ั คราว

ส่ิงท่ีน่าสนใจ : แบบจำ�ลองเรือไฟด้ังเดิม ประเพณีไหลเรือไฟ พิธีกรรมเพื่อ
ความสมบรู ณ์

พิพิธภัณฑใ์ นภาคตะวันออกเฉียงเหนอื 11

ีอสานตอนเห ืนอ ศูนยว์ ัฒนธรรมจังหวัดสกลนคร

เลขท่ี 11 ถนนนิตโย ต�ำ บลธาตเุ ชิงชมุ อำ�เภอเมือง จงั หวัดสกลนคร 47000

042 711 274, 042 744 009

[email protected] http://lac.snru.ac.th/

เปิดบริการเวลา 08.30-16.30 น. ไม่เสียคา่ เขา้ ชม

สถาบันภาษา
ศิ ล ป ะ แ ล ะ
วั ฒ น ธ ร ร ม
มหาวิทยาลัย
ราชภฏั สกลนคร
เป็นหน่วยงานหลักตามโครงสร้างบริหารงานของ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
พ.ศ.2548 ตง้ั อยทู่ ่ีอาคาร 1 เปน็ อาคารคอนกรีต 2 ช้นั มกี ารจัดแสดงนทิ รรศการ
แบง่ เปน็ หอ้ งตา่ งๆ ดงั น้ี ชนั้ ลา่ งมหี อ้ งประวตั มิ หาวทิ ยาลยั หอ้ งนทิ รรศการกลมุ่ สนกุ
(ส-กลนคร น-นครพนม สระอุ-มกุ ดาหาร ก-กาฬสินธุ)์ ชัน้ บนจดั แสดงนิทรรศการ
โครงการพัฒนา ฟ้ืนฟู และเผยแพร่ภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน ประกอบดว้ ย เร่ืองศาสนา
เรื่องผ้าทอสกลนคร เร่ืองการท�ำ ปลารา้ ของชาวสกลนคร เรอ่ื งการปลูกพืชนอกฤดู
เรื่องสมนุ ไพรนํ้ามันวา่ น เรอ่ื งกลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ุ เรอื่ งกล่มุ อนิ แปง และเรือ่ งหตั ถกรรม
นอกจากนยี้ งั มหี อ้ งจดั แสดงวตั ถตุ า่ งๆ ไดแ้ ก่ หอ้ งเครอ่ื งปนั้ ดนิ เผา และหอ้ งเครอ่ื งโลหะ
ห้องผ้าย้อมคราม และห้องสกลนครซ่ึงจัดแสดงหุ่นจำ�ลองสถานท่ีสำ�คัญใน
จังหวดั สกลนคร และการจำ�ลองชวี ิตความเป็นอยู่ของชาวบา้ น

สงิ่ ทีน่ า่ สนใจ : ข้อมูลเกีย่ วกบั โพนดนิ และหลักฐานทคี่ น้ พบ โพนดนิ หลักฐานการ
ผลิตเกลอื ต้ังแตส่ มยั ก่อนประวัติศาสตรใ์ นสกลนคร

จังหวัดอดุ รธานี :12 พิพิธภัณฑ์ในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ

พพิ ิธภัณฑสถานแห่งชาติ บ้านเชียง อสี านตอนเหนอื

หมู่ที่ 13 ต�ำ บลบา้ นเชียง อ�ำ เภอหนองหาน จงั หวดั อดุ รธานี 41320
042 208 340 042 208 343

พิพธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาต ิ บ้านเชียง กรมศลิ ปากร

เปดิ บรกิ ารทกุ วัน เวลา 08.30 – 16.30 น. เสียคา่ เข้าชม

พพิ ิธภณั ฑสถานแห่งชาติ บ้านเชยี ง ก่อตง้ั ขน้ึ ในแหล่งโบราณคดีบ้านเชยี ง เพ่ือจัด
แสดงโบราณวตั ถทุ ขี่ ดุ คน้ ทบ่ี า้ นเชยี งตง้ั แตป่ ี พ.ศ.2503 และแหลง่ โบราณคดใี กลเ้ คยี ง
ประกอบดว้ ยกลมุ่ ภาชนะดนิ เผา เครอ่ื งมอื เครอื่ งใชแ้ ละสงิ่ อน่ื ๆ อกี มากมาย บรเิ วณ
ของพพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ บา้ นเชยี ง ยงั เชอ่ื มโยงถงึ หลมุ ขดุ คน้ ทางโบราณคดวี ดั
โพธ์ศิ รใี น และชมุ ชนบา้ นไทพวน จากคุณคา่ ของบ้านเชียงในยุคก่อนประวตั ศิ าสตร์
ซ่งึ ยังคงหลงเหลือหลักฐานท่แี สดงถงึ ชีวติ ความเปน็ อยู่ของคนยุคนั้น ใหค้ นรุ่นหลัง
ได้ศกึ ษาเรียนรู้เป็นอย่างดี เมอื่ ปี พ.ศ. 2535 คณะกรรมการมรดกโลกได้ข้นึ บัญชี
“แหล่งวัฒนธรรมบ้านเชียง” ไว้เป็นแหล่งหน่ึงในบรรดามรดกโลก เป็นอันดับที่ 4
ของประเทศไทย และเปน็ อนั ดบั ท่ี 359 ของโลก นทิ รรศการในพพิ ธิ ภัณฑ์แหง่ ชาติ
บา้ นเชียง ไดแ้ บง่ การจดั แสดงออกเปน็ เรอ่ื งราวต่าง ๆ ประกอบดว้ ย การสำ�รวจและ
ขดุ คน้ ทางโบราณคดี สมยั กอ่ นประวตั ศิ าสตรใ์ นภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื วฒั นธรรม
บ้านเชียง โบราณวัตถุประเภทต่างๆ ในวัฒนธรรมบ้านเชยี ง และนิทรรศการไทพวน
สงิ่ ทน่ี า่ สนใจ : เครอื่ งมอื เหลก็ ทมี่ รี อ่ งรอยของแกลบขา้ ว หลกั ฐานแสดงสงั คมกสกิ รรม
ที่บา้ นเชียงในยคุ กอ่ นประวตั ิศาสตร์

พิพธิ ภัณฑ์ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ 13

ีอสานตอนตะ ัวนออก อสี านตอนตะวนั ออก

14 พิพิธภัณฑใ์ นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

พิพิธภณั ฑช์ มุ ชนนาอดุ ม – โนนหนองหอ อสี านตอนตะวนั ออก

วัดนาอุดมวนาราม เลขท่ี 159 หมู่ 6 ตำ�บลนาอุดม อ�ำ เภอนคิ มคำ�สร้อย
จงั หวดั มุกดาหาร 49130

พระอธกิ ารธานินทร์ วิสุทธิสาโร 085-8699214
เปดิ บรกิ ารทุกวนั เวลา 08.30 – 16.00 น. ไม่เสียค่าเขา้ ชม /นดั หมายเพ่ือขอเขา้ ชม

เมื่อปี พ.ศ.2536 ได้มกี ารค้นพบโบราณวตั ถุในพ้นื ทบี่ ้านนาอดุ ม – โนนหนองหอ 15
และได้มีการลักลอบขุดหาโบราณวัตถุเพื่อจำ�หน่ายอย่างต่อเน่ือง จนทำ�ให้พ้ืนที่
ทมี่ คี ณุ คา่ ทางโบราณคดถี กู ขดุ ท�ำ ลายทว่ั ทง้ั บรเิ วณ ตอ่ มาพระอธกิ ารธานนิ ทร์ วสิ ทุ ธสิ าโร
วัดนาอุดมวนาราม ได้ขอรับบริจาคโบราณวัตถุและเคร่ืองมือเคร่ืองใช้พ้ืนบ้าน
โดยการจัดผ้าป่าขึ้น ซ่ึงได้รับความร่วมมือจากคนในชุมชนเป็นอย่างดี ในเดือน
กุมภาพันธ์ พ.ศ.2551 ได้มีการก่อสร้างอาคารพิพิธภัณฑ์ โดยใช้งบประมาณ
จากการบริจาคและการร่วมแรงของชาวบ้าน ภายในอาคารพิพิธภัณฑ์แบ่งการจัด
แสดงเป็น 3 ส่วน คือ ห้องพระประดิษฐานพระพุทธรูปหลายองค์ โดยรอบเป็น
ตจู้ ดั แสดงวตั ถมุ งคล หอ้ งแหลง่ โบราณคดโี นนหนองหอ จดั แสดงโบราณวตั ถทุ พี่ บใน
บริเวณชมุ ชน เช่น ภาชนะดนิ เผาแบบต่างๆ เครอื่ งมือและอปุ กรณโ์ ลหกรรมโบราณ
เครอื่ งประดับแก้ว เครอื่ งประดับสำ�รดิ เคร่ืองมือเหล็ก ก้อนโลหะ ชนิ้ ส่วนกระดูก
มนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์ ห้องวิถีชีวิตชุมชน จัดแสดงเคร่ืองมือเครื่องใช้พื้นบ้าน
เคร่อื งมอื ทอผ้า และเรือนครวั แบบอีสาน นอกจากนยี้ งั มกี ารจัดแสดงขอ้ มูลประวัติ
ชุมชน ประเพณี และความเช่อื ในชมุ ชน ตลอดจนการร่วมไม้รว่ มมือของคนในชมุ ชน
จนเกดิ การกอ่ สร้างพิพธิ ภณั ฑ์
ส่ิงที่น่าสนใจ : ช้ินส่วนของแม่พิมพ์กลองมโหระทึก หลักฐานการเป็นแหล่งผลิต
กลองมโหระทึกโบราณทพี่ บเพยี งแห่งเดียวในประเทศไทย

พิพธิ ภณั ฑ์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนอื

ีอสานตอนตะ ัวนออก พิพิธภัณฑ์พืน้ บ้านอีสานสองฝง่ั โขง บ้านเกวียนมกุ

เลขที่ 10 ถนนตาดแคน ซอย 18 (เยื้อง ร.พ.ช.) อำ�เภอเมอื ง จงั หวดั มกุ ดาหาร 49000

คณุ สมศักด์ิ ศรีบุญเรอื ง 042 613 647 042 613 647

เปดิ บรกิ ารทุกวัน เวลา 08.30 – 17.00 น. ไมเ่ สยี ค่าเขา้ ชม /นัดหมายเพื่อขอเข้าชม

บา้ นเกวยี นมกุ กอ่ ตงั้ โดย
คณุ สมศกั ดิ์ ศรบี ญุ เรอื ง
ผู้ช่ืนชอบในการสะสม
วัตถุส่ิงของและเคร่ือง
มือเคร่ืองใช้พื้นบ้าน
โดยใช้เวลามากกว่า
20 ปี ในการสะสม ซงึ่
วตั ถสุ งิ่ ของสว่ นใหญไ่ ด้
มาจากภาคตะวันออก
เฉยี งเหนอื ลาว กมั พชู า
เวียดนาม และจีน จึงเป็นสาเหตุท่ีมีการตั้งชื่อต่อท้ายว่าพิพิธภัณฑ์พื้นบ้านอีสาน
สองฝั่งโขง คุณสมศักดิ์ได้รับแรงบันดาลใจในการจัดแสดงนิทรรศการมาจากพิพิธ
ภัณฑม์ ง้ อำ�เภอหลม่ สกั จังหวัดเพชรบรู ณ์ ที่มกี ารสรา้ งแบบง่ายๆ คล้ายโรงนา จงึ
เริ่มจดั เป็นพพิ ิธภณั ฑ์แหง่ นี้ขึ้น โดยแบง่ เป็นอาคารตา่ งๆ จดั แสดงตามลักษณะของ
วัตถุ เพ่ือเป็นการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถ่ินไม่ให้สูญหายไป และ
เปน็ แหล่งเรียนร้ชู มุ ชน
สง่ิ ทน่ี า่ สนใจ : เครอ่ื งมอื เครอ่ื งใชข้ องนายฮอ้ ยววั ควาย เมอื งมกุ ในชว่ ง ร.4, เกวยี น
บ้านนาสะไมย์ จากยโสธร ทมี่ ีลกั ษณะบอบบางและสวยที่สุดในประเทศไทย

16 พพิ ิธภัณฑ์ในภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ

พพิ ิธภณั ฑ์พื้นบ้านวดั บรู พาปะอาวเหนอื อสี านตอนตะวนั ออก

วดั บูรพาปะอาวเหนือ เลขท่ี 87 หมู่ 5 บา้ นปะอาว ตำ�บลปะอาว อ�ำ เภอเมือง
จงั หวดั อบุ ลราชธานี 34000

พระมหาพยนต์ สนั ตจติ โต เจา้ อาวาสวดั บรู พาปะอาวเหนอื 045 344 454, 089 578 5763
เปิดบรกิ ารทุกวนั ไม่เสยี ค่าเขา้ ชม /นดั หมายเพอ่ื ขอเขา้ ชม

ชุมชนบา้ นปะอาวเป็นชมุ ชนทเี่ กา่ แก่ มปี ระวตั ิความเปน็ มาที่ยาวนาน กลมุ่ คนแรก
เรมิ่ ของชมุ ชนได้อพยพมาจากประเทศลาว ตอ่ มาพระมหาพยนต์ สันตจติ โต และ
ชาวบ้านได้มีแนวคิดในการรวบรวมวัตถุสิ่งของต่างๆ มาจัดแสดงเป็นพิพิธภัณฑ์
เพอ่ื รกั ษาภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ ทสี่ ง่ั สมมาจากบรรพบรุ ษุ เอาไว้ ในระยะแรกทางวดั ไดร้ บั
บรจิ าคและรวบรวมวตั ถสุ ง่ิ ของตา่ งๆ มาเกบ็ ไวท้ ศ่ี าลาทพี่ กั สงฆก์ อ่ นเปน็ การชวั่ คราว
โดยเริ่มดำ�เนินการมาต้ังแต่ปี พ.ศ.2537 และได้จัดแสดงแบบไม่เป็นทางการมา
ตงั้ แตป่ ี พ.ศ.2540 และเปดิ ตวั เปน็ พพิ ธิ ภณั ฑอ์ ยา่ งเปน็ ทางการเมอ่ื วนั ท่ี 19 เมษายน
พ.ศ.2541 ต่อมาได้มีการก่อสร้างอาคารพิพิธภัณฑ์หลังใหม่มีความสูง 3 ชั้น
ชน้ั ลา่ งจดั แสดงวตั ถตุ า่ งๆ โดยแยกเปน็ หมวดหมไู่ ว้ เชน่ เคร่อื งจกั สาน เคร่ืองโลหะ
ผนงั โดยรอบเขยี นภาพจติ รกรรมเลา่ เรอ่ื งประวตั คิ วามเปน็ มาของชมุ ชนบา้ นปะอาว
ท่มี ีการอพยพมาจากประเทศลาว และได้กอ่ รา่ งสร้างชมุ ชนขึ้นมา โดยมอี าชีพหลกั
คอื การหลอ่ ทองเหลอื ง และการคา้ ขายแบบนายฮ้อย คอื นายฮอ้ ยทองเหลอื ง และ
นายฮอ้ ยเกลอื ชนั้ บนจดั แสดงเกย่ี วกบั พทุ ธศาสนา ผนงั โดยรอบเขยี นภาพจติ รกรรม
เรื่องราวของฮตี สบิ สอง ซงึ่ เป็นประเพณี 12 เดือนของชาวอสี าน

สิ่งท่ีน่าสนใจ : เคร่ืองมือเคร่ืองใช้ของนายฮ้อยเกลือ, เครื่องมือแสดงการทำ�

ทองเหลอื งแบบดั้งเดมิ พิพธิ ภัณฑใ์ นภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ 17

ีอสานตอนตะ ัวนออก พพิ ิธภณั ฑสถานแห่งชาติ อุบลราชธานี

เลขท่ี 318 ถนนเข่ือนธานี ต�ำ บลในเมือง อ�ำ เภอเมืองอบุ ลราชธานี
จังหวดั อุบลราชธานี 34000

045 255 105, 045 255 071 045 255 105, 045 255 071 ต่อ 16
Ubon Ratchathani National Museum : พพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาต ิ อบุ ลราชธานี
เปิดบรกิ ารวนั พุธ – วันอาทติ ย์ เวลา 09.00 – 16.00 น. เสียค่าเข้าชม

อาคารพพิ ธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ อบุ ลราชธานี เดิมเป็นศาลากลางจงั หวัด สรา้ งขน้ึ
เมอื่ พ.ศ.2461 ในรชั กาลพระบาทสมเดจ็ พระมงกฏุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั บนทดี่ นิ ทส่ี มเดจ็
พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ทรงขอจากทายาทของราชบุตร
(สยุ่ บตุ รโลบล) คอื หมอ่ งเจยี งค�ำ ชมุ พล ณ อยธุ ยา ในปี พ.ศ.2526 จงั หวดั อบุ ลราชธานี
ไดม้ อบอาคารหลงั นใี้ หก้ รมศลิ ปากรบรู ณะ และใชเ้ ปน็ ทต่ี งั้ ของพพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ
โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำ�เนินทาง
เปดิ อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ.2532 ภายในจัดแสดงเก่ยี วกบั
ขอ้ มลู ทวั่ ไปของจงั หวดั อบุ ลราชธานี ภมู ศิ าสตร์ ธรณวี ทิ ยาภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื
สมยั กอ่ นประวตั ศิ าสตร์ สมยั ประวตั ศิ าสตรเ์ รม่ิ แรก วฒั นธรรมทวารวดี และวฒั นธรรม
เจนละ (ขอมหรือเขมรสมยั ก่อนเมอื งพระนคร) ระหวา่ งพุทธศตวรรษที่ 12 – 15
วัฒนธรรมขอมหรือเขมรสมัยเมืองพระนคร ระหว่างพุทธศตวรรษที่ 15 – 18
วฒั นธรรมไทย-ลาว ระหว่างพุทธศตวรรษท่ี 23 – 25 ผา้ โบราณและผ้าพน้ื เมือง
อุบลราชธานี ดนตรีพื้นเมือง ศิลปหัตถกรรมพ้ืนบ้าน และเครื่องใช้ในครัวเรือน
การปกครอง และงานประณตี ศิลปเ์ น่อื งในพทุ ธศาสนา
สิ่งท่ีน่าสนใจ : เคร่ืองมือเหล็ก, เครื่องสำ�รดิ และหลกั ฐานข้าวเปลือกในหมอ้ จาก
แหลง่ โบราณคดีสมัยก่อนประวตั ิศาสตร์ บ้านกา้ นเหลือง

18 พิพิธภณั ฑใ์ นภาคตะวันออกเฉียงเหนอื

หอวฒั นธรรมอบุ ลนทิ ศั น์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั อบุ ลราชธานี อสี านตอนตะวนั ออก

ส�ำ นกั ศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลยั ราชภฎั อุบลราชธานี
เลขที่ 2 ถนนราชธานี ตำ�บลในเมอื ง อ�ำ เภอเมือง จงั หวดั อบุ ลราชธานี 34000

045 352 094, 045 352 000 – 29 ตอ่ 1122 045 352 094

www.ubru.ac.th [email protected]

เปดิ บริการวันจันทร์ – วนั เสาร์ เวลา 08.30 – 16.00 น. ไม่เสยี ค่าเขา้ ชม /นัดหมาย

ลว่ งหนา้ ก่อน 3 วนั ทำ�การ

หอวฒั นธรรมอบุ ลนทิ ศั น์
ตง้ั อยชู่ น้ั ลา่ งของอาคาร
ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม
ก า ญ จ น า ภิ เ ษ ก
อุบลราชธานี โดยมี
จุดมุ่งหมายเพื่อเป็น
ศูนย์กลางการเรียนรู้
ท้องถ่ินของชุมชน
และจังหวัดใกล้เคียง
ท้ังยังเป็นศูนย์ส่งเสริมสร้างสำ�นึกท้องถ่ินในด้านภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ศาสนา
ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่นของอุบลราชธานี ภายในนิทรรศการแบ่ง
การจัดแสดงเป็น 4 ส่วน คือ ห้องภูมิเมือง จัดแสดงเรื่องภูมิศาสตร์ ธรณีวิทยา
และทรพั ยากรธรรมชาตขิ องพนื้ ทอี่ บุ ลราชธานี หอ้ งภมู ริ าชธานี จดั แสดงความเปน็ มา
ของเมืองอุบลราชธานี ต้ังแต่สมัยก่อนประวิศาสตร์ถึงยุคประวัติศาสตร์ การสร้าง
บ้านแปงเมอื ง เจ้าเมอื งในยุคตา่ งๆ การผนวกเขา้ กบั ราชอาณาจกั รสยาม และกบฏ
ผ้มู บี ญุ หอ้ งภูมปิ ัญญา จัดแสดงเร่ืองวิถชี ีวิตชาวอสี าน ไม่วา่ เป็นเรอื่ งอาหารการกนิ
ทอ่ี ยอู่ าศัย เครอื่ งนุ่งหม่ ยารกั ษาโรค ดนตรี ภาษา ประเพณใี นรอบปี หรอื เรยี กวา่
ฮีตสบิ สอง ตลอดจนเร่ืองราวของบคุ คลส�ำ คัญของเมืองอุบลราชธานี ห้องภูมธิ รรม
จดั แสดงเรอ่ื งราวของพทุ ธศาสนา ประวตั ขิ องพระสงฆร์ ปู ส�ำ คญั ในเมอื งอบุ ลราชธานี
รวมถงึ รูปแบบสถาปัตยกรรมในพทุ ธศาสนาท่พี บในอบุ ลราชธานี

สง่ิ ทีน่ า่ สนใจ : ขอ้ มูลการทำ�ฆ้องแบบดง้ั เดิม ทบี่ ้านทรายมลู อ�ำ เภอพิบลู มงั สาหาร

พพิ ิธภัณฑ์ในภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 19

ีอสานตอนตะ ัวนออก พิพิธภณั ฑ์เมอื งเกษมสีมา

วดั เกษมส�ำ ราญ บา้ นเกษม หมู่ 8 ตำ�บลเกษม อ�ำ เภอตระการพืชผล
จงั หวัดอุบลราชธานี 34130

พระครเู กษมธรรมานวุ ัตร เจา้ อาวาสวัดเกษมสำ�ราญ 087 255 6088
วัดเกษมส�ำ ราญ เปดิ บรกิ ารทุกวนั /ไม่เสียค่าเข้าชม

พิพิธภัณฑ์เมืองเกษมสีมาเกิดจากแนวคิดของทางวัดและชาวบ้าน นำ�โดย พระครู
เกษมธรรมานุวตั ร หรือชาวบ้านเรียกวา่ ญาท่านเกษม โดยมีแนวคิดในการสรา้ งอา
คารกลางนาํ้ ตามความเชอื่ โบราณ เพอ่ื ปอ้ งกนั ปลวกเขา้ ไปกดั กนิ ขา้ วของ จงึ ไดม้ กี าร
ขดุ สระข้นึ ในปี พ.ศ.2537 และกอ่ สร้างอาคารในปี พ.ศ. 2544 แลว้ เสร็จในปี พ.ศ.
2552 และมกี ารบรจิ าควตั ถสุ ง่ิ ของตา่ งๆ จากชาวบา้ น สว่ นการตกแตง่ และออกแบบ
พิพธิ ภณั ฑไ์ ด้มี ผ.ศ.ดร.ศกั ด์ชิ าย สกิ ขา, ผ.ศ.ดร.ประทับใจ สกิ ขา และคณะทำ�งาน
จากคณะศลิ ปประยุกต์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยอบุ ลราชธานี จัดท�ำ โครงการ
การออกแบบและพฒั นาพพิ ธิ ภัณฑ์พ้นื บ้านในภาคอสี าน และไดท้ �ำ พธิ เี ปดิ อย่างเป็น
ทางการในวันท่ี 11 มกราคม พ.ศ.2553 ภายในพพิ ิธภณั ฑ์แบ่งเป็น 2 ชนั้ ชัน้ ลา่ ง
จัดแสดงเคร่อื งมือเคร่ืองใช้ของชาวบา้ น โดยแบง่ เปน็ ประเภทต่างๆ เชน่ เครื่องครัว
เครอื่ งโลหะ เปน็ ตน้ นอกจากนยี้ งั มกี ารจดั แสดงโบราณวตั ถสุ มยั กอ่ นประวตั ศิ าสตร์
จากแหล่งโบราณคดีโนนนาว่าน ซง่ึ อย่ใู นเขตรอยต่อระหวา่ ง บ้านเกษม – บ้านคำ�
สมงิ ในต�ำ บลเกษม สว่ นช้นั บนจัดแสดงเคร่ืองใชใ้ นพทุ ธศาสนา เชน่ หีบพระธรรม
และตพู้ ระธรรม โฮงฮด (รางรดสงฆ)์ โหง่ (ชอ่ ฟา้ ) พระพทุ ธรปู ไม้ ฯลฯ พระครเู กษม
ธรรมานุวัตรยังไดจ้ ดั สรรพ้นื ท่ีภายในวัดใหเ้ ปน็ ศูนยห์ ตั ถกรรมของหมู่บา้ น ซง่ึ มกี าร
อนุรักษ์วิธกี ารทำ�งานหตั ถกรรมแบบดง้ั เดมิ เอาไว้ เชน่ เมรุนกหสั ดลี ิงค์ และเครือ่ ง
จกั สานรปู แบบตา่ งๆ
สง่ิ ทนี่ า่ สนใจ : กอ่ งขา้ ว เครอ่ื งจกั สานในวฒั นธรรมขา้ วทม่ี กี ารจกั สานตามประโยชน์
ใช้สอย

20 พิพิธภณั ฑใ์ นภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื

พพิ ิธภณั ฑพ์ น้ื บ้าน บา้ นท่าไห อสี านตอนตะวนั ออก

วัดศรีโพธ์ชิ ัย บ้านท่าไห หมู่ 1 ตำ�บลท่าไห อ�ำ เภอเขอ่ื งใน จงั หวดั อบุ ลราชธานี 34150
พระครูปรยิ ตั ิธรรมจารี เจ้าอาวาสวัดศรีโพธ์ิชยั 085 778 5469
เปิดท�ำ การทุกวนั /ไมเ่ สียค่าเขา้ ชม

บ้านท่าไหต้ังอยู่ริมฝั่งแม่น้ําชี เดิมชาวบ้านท่าไหอพยพมาจากจังหวัดร้อยเอ็ดและ
จงั หวดั ยโสธร โดยมที กั ษะการท�ำ เครอ่ื งปน้ั ดนิ เผา ซง่ึ เปน็ ภมู ปิ ญั ญาทส่ี บื ทอดกนั มา
ตงั้ แตบ่ รรพบรุ ษุ พพิ ธิ ภณั ฑพ์ น้ื บา้ น บา้ นทา่ ไห เปน็ อาคาร 2 ชนั้ สรา้ งขนึ้ กลางสระนาํ้
ตัวอาคารสร้างด้วยไม้ยูงทั้งหลัง เริ่มก่อสร้างเมื่อวันท่ี 6 มิถุนายน พ.ศ. 2543
โดยพระครปู รยิ ตั ธิ รรมจารี เจา้ อาวาสวดั ศรโี พธช์ิ ยั ไดส้ ะสมวตั ถจุ ากการบรจิ าคของ
ชาวบ้านท่าไหท่ีมีจิตศรัทธานำ�มาถวายวัด เมื่อสิ่งของมีจำ�นวนมากข้ึน พระครูฯ
จึงได้ร่วมกับชาวบ้านสร้างอาคารพิพิธภัณฑ์สำ�หรับเก็บรักษาวัตถุต่างๆ ให้เป็น
ที่ศึกษาและเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน ภายในอาคารแบ่งเป็น 2 ช้ัน ช้ันล่าง
จดั แสดงวตั ถพุ น้ื บ้าน เชน่ เครอื่ งจักสาน เครื่องมือเคร่อื งใช้ในชีวิตประจ�ำ วนั สว่ น
ช้ันบนจัดแสดงเงินตราต่างประเทศ ภาชนะต่างๆ และงานพุทธศิลป์ ด้านนอกจัด
แสดงเกวียนท่เี คยใชส้ อยในหมูบ่ า้ น

สง่ิ ที่นา่ สนใจ : ไหปลาร้า เครอ่ื งป้ันดนิ เผาท่เี ปน็ สนิ คา้ สำ�คัญของบา้ นทา่ ไห

พิพิธภัณฑ์ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ 21

ีอสานตอนตะ ัวนออก พิพธิ ภัณฑช์ มุ ชนวัดภถู ำ้�พระศิลาทอง

บ้านนาหนองเชือก หมู่ 3 ตำ�บลเจยี ด อ�ำ เภอเขมราฐ จงั หวัดอบุ ลราชธานี 34170
พระอาจารยค์ ารม โอภาโส 083 126 9011 นายอารมณ์  ชนิ ณกะธรรม 089 280 1926
หรือที่ องค์การบรหิ ารส่วนตำ�บลเจียด
เปิดบริการทกุ วัน/ ไมเ่ สยี ค่าเขา้ ชม

เดิมพระอาจาย์คารม โอภาโส มีโครงการ
ก่อสร้างศาลาการเปรียญหลังใหม่ จึงได้ขอ
บรจิ าคดนิ จากชาวบา้ นทอี่ ยใู่ กลว้ ดั ภถู �้ำ พระศลิ าทอง 
นายบัวผัน  ชิณกะธรรม เจ้าของท่ีนาท่ี
ด้านหน้าวัดภูถ้ำ�พระศิลาทองได้บริจาคดิน
เพ่ือนำ�มาถมบริเวณอาคารหลังใหม่ และได้
พบเศษภาชนะดินเผา และเศษกระดูกมนุษย์
จำ�นวนมาก ชาวบ้านได้ช่วยกันนำ�ข้ึนมาและ
เก็บรักษาไว้ในวัด ต่อมาทางวัดจึงได้สร้าง
อาคารขึ้นมาเพื่อจัดแสดงโบราณวัตถุเพ่ือ
เป็นแหล่งศึกษาทางประวัติศาสตร์ของชุมชน
ในปี พ.ศ.2551  กรมศิลปากรได้มีโครงการ
เครือข่ายมรดกทางศิลปวัฒนธรรม เพื่อสร้าง
ความเข้มแข็งให้แก่เครือข่ายในการสนับสนุน
ดำ�เนินงานของกรมศลิ ปากร โดยสร้างความรู้
ดา้ นการศกึ ษาและอนรุ กั ษแ์ หลง่ โบราณคดบี า้ น
หนองเชอื ก ใหช้ ุมชนและองค์กรท้องถน่ิ ต่างๆ
เข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการศึกษาประวัติ
ความเป็นมาของชมุ ชน  วฒั นธรรม ประเพณี
และจัดตัง้ เปน็ พิพิธภัณฑ์ จดั แสดงโบราณวัตถุ
ต่างๆ เช่น เครื่องป้ันดินเผาภายในบรรจุโครงกระดูกมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์
สร้อยคอทำ�จากลกู ปัดแกว้ และหิน  กำ�ไลส�ำ รดิ  ขวานสำ�ริด นอกจากน้ีชาวบ้านยงั
ร่วมกนั บรจิ าคเคร่ืองใชพ้ ืน้ บ้าน เพื่อมาจัดแสดงในพิพธิ ภณั ฑแ์ หง่ น้ดี ว้ ย
ส่งิ ทน่ี ่าสนใจ : เครื่องส�ำ รดิ จากแหล่งโบราณคดวี ดั ภูถ้�ำ พระศิลาทอง  

22 พพิ ิธภัณฑใ์ นภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื

อสี านตอนตะวนั ออก

อสี านตอนกลาง

พิพธิ ภณั ฑ์ในภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ 23

ีอสานตอนกลาง พิพิธภัณฑว์ ัฒนธรรมพ้ืนบา้ นและภมู ิปญั ญาท้องถ่ิน
โรงเรยี นไตรรตั นวทิ ยาคม

โรงเรยี นไตรรัตนวทิ ยา ก่ิงอำ�เภอฆ้องชยั จังหวดั กาฬสินธ์ุ 46130
043 313 621, อาจารยท์ วี พรมมา 087 223 2185
เปิดบรกิ ารวันจันทร์ – วันศุกร์ เวลา 08.30 – 16.00 น. ไม่เสียคา่ เขา้ ชม

พพิ ธิ ภณั ฑแ์ หง่ นจี้ ดั ตง้ั ขนึ้ ตามพระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาปี พ.ศ. 2542 เพอื่ ใหเ้ ปน็ แหลง่
เรยี นรใู้ นชมุ ชน และสง่ เสรมิ กระบวนการเรยี นรวู้ ชิ าทอ้ งถนิ่ ของเรา และมวี ตั ถปุ ระสงค์
ในการอนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณี และโบราณวัตถุต่างๆ ของจังหวัดกาฬสินธุ์
และให้เป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้แก่คนรุ่นหลัง อาคารพิพิธภัณฑ์เป็นอาคารคอนกรีต
ช้ันเดียว ภายในแบ่งส่วนการจัดแสดงเป็นส่วนต่าง ๆ บอกเล่าเรื่องราวเก่ียวกับ
ประวตั ิศาสตร์ ศิลปะ โบราณคดี ประเพณี และวฒั นธรรมต่างๆ ของทอ้ งถิ่นอสี าน
เชน่ เครอ่ื งดนตรพี นื้ บา้ น เครอื่ งมอื ดกั จบั สตั ว์ ศาสนาความเชอื่ เครอ่ื งเรอื นพนื้ บา้ น
อสี าน สมนุ ไพรพน้ื บา้ น เครอ่ื งจกั สานพน้ื บา้ น ผา้ อสี าน ตลอดจนเรอ่ื งราวเกยี่ วกบั ขา้ ว
ตั้งแตเ่ ร่ืองราวของพันธุ์ขา้ วไปจนถึงวิธีตีขา้ ว ซงึ่ เป็นเรอ่ื งราวของทอ้ งถิ่นกาฬสินธ์ุ
สงิ่ ที่นา่ สนใจ : เครือ่ งมือเครื่องใชใ้ นการท�ำ นาในภาคอีสาน, เรื่องการเฮ็ดอยู่เฮ็ดกิน
การทำ�นาของชาวอสี านกลาง

24 พิพธิ ภณั ฑใ์ นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

พพิ ิธภณั ฑสถานแหง่ ชาติ ขอนแกน่ อสี านตอนกลาง

เลขที่ 193 ถนนหลังศูนยร์ าชการ ตำ�บลในเมือง อ�ำ เภอเมอื ง จังหวัดขอนแก่น 40000

043 246 170 043 246 170

[email protected]

Khonkaen National Museum : พิพธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น

เปดิ บรกิ ารวนั พุธ – วันอาทิตย์ เวลา 09.00 – 16.00 น. เสยี คา่ เขา้ ชม

อาคารพพิ ิธภัณฑสถานแหง่ ชาติ ขอนแก่น เริม่ ก่อสร้างต้ังแต่ พ.ศ. 2510 จนถึง 25
ปี พ.ศ. 2515 จึงได้ดำ�เนินการจัดแสดงแล้วเสร็จ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
เสดจ็ พระราชด�ำ เนนิ ทรงเปดิ พพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ ขอนแกน่ เมอ่ื วนั ท่ี 20 ธนั วาคม
พ.ศ.2515 พพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ ขอนแกน่ จดั แสดงโบราณวตั ถทุ พ่ี บในพนื้ ทหี่ นว่ ย
ศิลปากรที่ 7 หรอื บรเิ วณภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ตอนบน คอื ขอนแกน่ อุดรธานี
สกลนคร กาฬสนิ ธ์ุ หนองคาย มหาสารคาม และบงึ กาฬ อาคารจดั แสดงประกอบดว้ ย
อาคารดา้ นหนา้ 2 ชน้ั ชนั้ ลา่ งจดั แสดงโบราณวตั ถสุ มยั กอ่ นประวตั ศิ าสตรท์ พี่ บในพน้ื ท่ี
จงั หวดั ขอนแกน่ และใกลเ้ คยี ง โบราณวตั ถสุ มยั ทวารวดใี นภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื
มโี บราณวตั ถทุ ่ีสำ�คัญ คือ ใบเสมาจำ�หลกั จากเมอื งฟ้าแดดสงู ยาง จงั หวดั กาฬสินธ์ุ
ช้ันบนจัดแสดงโบราณวัตถุในศิลปะเขมร ศิลปะล้านช้าง และโบราณวัตถุใน
สมัยรัตนโกสินทร์ท่ีพบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อาคารด้านหลังมีช้ันเดียว
จดั แสดงเครอื่ งมือเครอ่ื งใชพ้ ืน้ บ้านของชาวขอนแกน่ ในอดีต

ส่ิงท่นี า่ สนใจ : เครื่องส�ำ รดิ ประเภทตา่ งๆ เช่น กระดึงสำ�ริด วัวสำ�รดิ ที่แสดงถงึ
วฒั นธรรมข้าวท่ีควบคู่กับงานโลหกรรมในยคุ กอ่ นประวัตศิ าสตรข์ องภาคตะวันออก
เฉยี งเหนือ

พพิ ิธภัณฑใ์ นภาคตะวันออกเฉียงเหนอื

ีอสานตอนกลาง หอศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ส�ำ นกั วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น อ�ำ เภอเมือง จังหวดั ขอนแก่น 40002

043 332 035 043 332 760

http://cac.kku.ac.th

เปิดบริการทุกวัน เวลา 10.00 – 19.00 น. ไม่เสียค่าเข้าชม /นดั หมายเพื่อขอเข้าชม

เปน็ เวลา 7 วัน

ในปี พ.ศ. 2541 มหาวิทยาลัยขอนแก่นได้รับงบประมาณในการก่อสร้างหอศิลป
วัฒนธรรม เพื่อเป็นศนู ยก์ ลางในการส่งเสรมิ และสนบั สนนุ กจิ กรรมดา้ นวัฒนธรรม
เชน่ นิทรรศการ การจัดทำ�พิพธิ ภัณฑเ์ พ่อื การศึกษา “ห้องอีสานนิทศั น”์ ซ่ึงเป็นการ
ส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเองตามจุดมุ่งหมายของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ง
ชาติ พ.ศ. 2542 อาคารหอศลิ ปวัฒนธรรมออกแบบโดย รศ.ดร.วโิ รฒ ศรีสโุ ร และ
รศ.ธติ ิ เฮงรศั มี โดยให้มรี ปู ทรงแบบ “เลา้ ขา้ ว” ของอสี าน อนั หมายถงึ การเกบ็ ออม
อาหารการกินไว้อย่างอุดมสมบูรณ์ ภายในพิพิธภัณฑ์เพ่ือการศึกษา “ห้องอีสาน
นทิ ศั น”์ แสดงถงึ เรอื่ งราวของภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ทง้ั ในเรอื่ งภมู ศิ าสตรก์ ายภาพ
ประวตั ศิ าสตรแ์ ละโบราณคดี ชาตพิ นั ธว์ุ ทิ ยา ประเพณวี ฒั นธรรมและสถาปตั ยกรรม
อีสาน ดนตรีและการแสดง ภูมิปญั ญาพ้ืนบา้ นอีสาน ตลอดจนอสี านในยคุ ปจั จบุ ัน

สง่ิ ที่น่าสนใจ : ภาพจำ�ลองประเพณีพน้ื บา้ นอีสาน โดยเฉพาะประเพณีบ้ังไฟ เพ่อื
ส่งสัญญาณถงึ พญาแถน

26 พพิ ิธภณั ฑใ์ นภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ

โฮงมนู มงั เมืองขอนแกน่ อสี านตอนกลาง

โฮงมนู มงั เมอื งขอนแกน่ ถนนรอบบงึ ตำ�บลในเมอื ง อ�ำ เภอเมืองจังหวัดขอนแก่น 40000
โฮงมูนมังเมืองขอนแก่น 043 271 173,
ส�ำ นกั การศึกษา เทศบาลนครขอนแก่น 043 224 031 ตอ่ 1601 – 1604
043 271 173 http://www.kkmuni.org/hong-title.htm
เปดิ บริการวนั จันทร์ - เสาร์ เวลา 09.00 – 17.00 น. เสียค่าเข้าชม

เม่อื พ.ศ. 2541 เทศบาล
นครขอนแก่นได้มีการทำ�
ประชาพิจารณ์เรื่องเมือง
นา่ อยู่ ไดเ้ กดิ แนวความคดิ
ที่จะทำ�ให้ชาวขอนแก่น
รักบ้านเกิดของตนเอง จึงเร่ิมมีการตั้งคณะสืบค้น
ประวัติศาสตร์เมืองขอนแก่นขึ้น และนำ�ข้อมูลท้ังหมด
มาจัดแสดงในพิพิธภัณฑ์ “โฮงมูนมังเมืองขอนแก่น”
โดยเปดิ ทำ�การเมอื่ วนั ท่ี 9 ตลุ าคม พ.ศ. 2546 คำ�วา่
“โฮงมนู มัง” เปน็ ภาษาอสี าน โฮง หมายถงึ หอ้ งโถงหรอื
หอทมี่ ขี นาดกว้างใหญ่ มูนมัง หมายถึง ทรพั ย์สมบัต,ิ
มรดก ดงั นนั้ “โฮงมนู มงั เมอื งขอนแกน่ ” จงึ มคี วามหมาย
วา่ หอ้ งทเ่ี กบ็ รวบรวมทรพั ยส์ มบตั ิ อนั สอ่ื ถงึ ความเปน็ มา
และเรอ่ื งราวของเมอื งขอนแกน่ ซงึ่ เปน็ สง่ิ ทส่ี ะทอ้ นใหผ้ คู้ น
ได้สัมผัสถงึ สภาพชีวติ ความเปน็ อยขู่ องชาวขอนแกน่ นับตงั้ แต่อดีตจนถงึ ปัจจุบนั
ภายในพิพิธภัณฑ์จัดแสดงเรื่องราวเก่ียวกับสมัยก่อนประวัติศาสตร์ในขอนแก่น
การก่อตั้งเมืองขอนแก่น วิถีชีวิตชาวขอนแก่นในอดีต ประเพณีและวัฒนธรรม
ของชาวขอนแกน่ บุคคลส�ำ คัญ และศิลปกรรมในขอนแกน่
สิ่งที่นา่ สนใจ : แบบจำ�ลองฮีตสบิ สอง แสดงเร่อื งราวงานบญุ ตามวัฏจกั รขา้ ว

พิพิธภณั ฑ์ในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื 27

ีอสานตอนกลาง พิพิธภัณฑม์ หาวทิ ยาลยั มหาสารคาม

มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม ต�ำ บลขามเรียง อ�ำ เภอกนั ทรวิชยั จงั หวัดมหาสารคาม 44150

043 754 380 ตอ่ 1384 043 754 380 ต่อ 1384

www.museum.msu.ac.th

เปิดบริการวันจนั ทร์ – วนั ศกุ ร์ เวลา 08.00 – 16.30 น.ไมเ่ สยี คา่ เขา้ ชม

พิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัยมหาสารคามก่อตั้งข้ึนเม่ือวันท่ี 1 มิถุนายน พ.ศ.2542
เพ่ือส่ือสารถึงอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม รวมท้ังเป็นศูนย์กลางของ
การพัฒนาองค์ความรู้ด้านพิพิธภัณฑ์ เพื่อส่งเสริมให้สังคมได้รับผลประโยชน์จาก
กิจการพิพิธภัณฑ์ ท้ังในด้านการปลูกจิตสำ�นึกให้รู้จักคุณค่าและความสำ�คัญของ
ท้องถิ่น พรอ้ มทง้ั สนบั สนนุ การจัดการเรียนการสอน และการวิจัยในสาขาวิชาตา่ งๆ
ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง ภายในพพิ ิธภณั ฑจ์ ดั แสดงเรอื นอีสานในรูปแบบตา่ งๆ ได้แก่ เรอื นอสี าน
ประยกุ ตท์ ีใ่ ชเ้ ป็นสำ�นักงาน ห้องประชุม คลังพพิ ิธภณั ฑ์ หอจดหมายมหาวิทยาลยั
มหาสารคาม และนิทรรศการพัฒนาการมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เรือนโข่งเป็น
ที่ตั้งของชมรมนาฏศิลป์และดนตรพี ื้นเมือง เรือนเกยเป็นที่ตงั้ ของโครงการอนุรักษ์
ใบลานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เล้าข้าวและเรือนตูบต่อเล้าจัดแสดงเครื่องมือ
เครื่องใช้ในวิถีชีวิตชาวลุ่มแม่นํ้าชี เรือนผู้ไทจัดแสดงนิทรรศการภูมิปัญญาชาวลุ่ม
แม่นา้ํ ชี อีกทง้ั ยงั มลี านกิจกรรม และสถานศี กึ ษาสัตวอ์ ีกดว้ ย
สง่ิ ที่น่าสนใจ : อาคารเลา้ ข้าวและเครือ่ งมอื เคร่ืองใชใ้ นวิถชี ีวติ ชาวลุ่มแม่น้าํ ชี

28 พพิ ธิ ภณั ฑใ์ นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

โฮงประวตั ศิ าสตรย์ โสธร อสี านตอนกลาง

เลขที่ 17-19 ถนนนครปทมุ ต�ำ บลในเมอื ง อำ�เภอเมอื ง จงั หวัดยโสธร 35000

คณุ สมพงษ์ อย่คู ง 045 720 095, 045 711 278, 082 482 6084

[email protected] http://yasothonhcc.blogspot.com/

เปดิ บรกิ ารทุกวนั เวลา 08.00-18.00 น. ไม่เสียค่าเข้าชม

โฮงประวัติศาสตร์ยโสธรเป็นพพิ ิธภัณฑเ์ อกชน ตง้ั อย่ทู ีช่ มรมอนุรักษม์ รดกยโสธรซงึ่
เปน็ ทพี่ กั ของคณุ สมพงษ์ อยคู่ ง โดยจดั แสดงวตั ถตุ า่ งๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั ประวตั ศิ าสตร์
ของยโสธรและอสี านในอดตี  คณุ สมพงษ์ อยคู่ ง ยงั ไดเ้ รยี บเรยี งประวตั ศิ าสตรจ์ งั หวดั
ยโสธรขนึ้ ตามเอกสารโบราณ และเรอื่ งเลา่ ของชมุ ชนตา่ งๆ จนเปน็ หนงั สอื “เลา่ เรอื่ ง
ยโสธร” นอกจากนโี้ ฮงประวตั ศิ าสตร์ยโสธรยงั ต้งั อยู่ในย่านเมอื งเกา่ บา้ นสงิ ห์ทา่ ซึง่
เปน็ ชมุ ชนเกา่ แกข่ องเมอื งยโสธรทมี่ กี ารท�ำ บงั้ ไฟเปน็ อาชพี ชมรมอนรุ กั ษม์ รดกยโสธร
ยงั ไดม้ กี ารรว่ มกบั เทศบาลเมอื งยโสธรจดั กจิ กรรมทางวฒั นธรรมตา่ ง ๆ ภายในชมุ ชน
เพอ่ื อนรุ ักษว์ ถิ ชี ีวิตในชุมชนเกา่ แก่

สิ่งทีน่ า่ สนใจ : การท�ำ บัง้ ไฟยโสธร

พพิ ิธภณั ฑ์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 29

ีอสานตอนกลาง พพิ ิธภณั ฑสถานแหง่ ชาติ รอ้ ยเอด็

ถนนเพลนิ จติ ต�ำ บลในเมือง อ�ำ เภอเมือง จังหวัดร้อยเอด็ 45000

043 514 456 043 514 456

Roi-Et National Museum : พพิ ิธภณั ฑสถานแห่งชาต ิ ร้อยเอด็

เปิดบรกิ ารวนั พุธ – วันอาทิตย์ เวลา 09.00 – 16.00 น. เสยี ค่าเข้าชม

เดิมจัดตั้งขึ้นเพ่ีอเป็นพิพิธภัณฑ์ศิลป
หัตถกรรมอีสาน โดยเน้นผ้าไหมและ
ผา้ พน้ื เมอื ง ตอ่ มากรมศลิ ปากรมนี โยบาย
จั ด ตั้ ง พิ พิ ธ ภั ณ ฑ ส ถ า น แ ห่ ง ช า ติ
ประจ�ำ เมอื ง จงึ ไดท้ �ำ การปรบั ปรงุ เพม่ิ เตมิ
เน้ือหาในการจัดแสดงให้ครอบคลุม
เร่ืองราวของจังหวัดร้อยเอ็ดในทุกด้าน
ทงั้ ดา้ นภมู ศิ าสตร์ ทรพั ยากรธรณี โบราณคดี
ประวตั ศิ าสตร์ บคุ คลส�ำ คญั วถิ ชี วี ติ ประเพณี
และศิลปหัตถกรรม ภายในพิพิธภัณฑ์
แบ่งเป็น 3 ชั้น ช้ันท่ี 1 จัดแสดงเรื่อง
ภูมศิ าสตรแ์ ละธรณีวทิ ยา แนะนำ�จังหวัด
รอ้ ยเอ็ด ประวัติบุคคลสำ�คัญของจังหวัด
และศลิ ปนิ แหง่ ชาติ ชนั้ ท่ี 2 จดั แสดงเรอ่ื ง
โบราณคดีและประวัติศาสตร์ ตั้งแต่ยุค
กอ่ นประวตั ศิ าสตรถ์ งึ ยคุ รตั นโกสนิ ทร์ และ
ศลิ ปะพน้ื บา้ นตา่ งๆ ชนั้ ท่ี 3 จดั แสดงเรอ่ื ง
วิถชี ีวติ ประเพณี และงานศิลปหัตถกรรม
โดยเฉพาะผ้าไหม ซ่ึงเป็นภูมิปญั ญาท้อง
ถ่ินของจงั หวดั ร้อยเอ็ด

สง่ิ ท่ีน่าสนใจ : โบราณวตั ถุในศลิ ปะเขมร
และรอ่ งรอยวฒั นธรรมเขมรทพ่ี บในบรเิ วณ
ทุง่ กลุ าร้องไห้

30 พิพธิ ภัณฑใ์ นภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ

พพิ ิธภัณฑ์เมอื งบวั อสี านตอนกลาง

หมู่ 6 ถนนเกษตรวสิ ยั – ทา่ ตมู ต�ำ บลเมอื งบวั อ�ำ เภอเกษตรวสิ ยั จงั หวดั รอ้ ยเอด็ 45150
ส�ำ นักงานเทศบาลตำ�บลเมอื งบวั 043 672 004 – 5
043 672 199, 043 672 005
เปดิ บริการเวลา 09.00-16.30 น. ไม่เก็บค่าเขา้ ชม

พิพิธภัณฑ์เมืองบัวก่อตั้งขึ้นเพ่ือจัดแสดงโบราณวัตถุท่ีได้จากการขุดค้น
ทางโบราณคดใี นพนื้ ทช่ี มุ ชนโบราณเมอื งบวั ชมุ ชนแหง่ นม้ี คี นู า้ํ คนั ดนิ ลอ้ มรอบเปน็ รปู วงรี
ภายในเมืองมีเนินดินขนาดใหญ่ ซ่ึงเป็นท่ีตั้งของโบราณสถานในศิลปะเขมร
แบบบายน จากการขุดค้นทางโบราณคดีในชุมชนแห่งน้ีได้พบหลุมฝังศพ
จำ�นวนมากตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ (3,000 – 2,000 ปีมาแล้ว)
ต่อเนื่องมาถึงยุคร่วมสมัยกับทวารวดี (2,000 – 1,300 ปีมาแล้ว) และยุค
ท่ีได้รับอิทธิพลวัฒนธรรมเขมรสมัยเมืองพระนคร (1,000 – 700 ปีมาแล้ว)
รูปแบบการฝังศพของชุมชนโบราณแถบนี้มีลักษณะพิเศษที่แตกต่างจากชุมชน
โบราณแห่งอ่ืนๆ คือ พิธีการฝังศพครั้งที่ 2 ในหม้อทรงแคปซูล ซ่ึงมีการขุดพบ
เป็นบริเวณกว้าง นิทรรศการจัดแสดงภายในอาคารชั้นเดียว ภายในห้องจัดแสดง
มีการแสดงตัวอย่างของหม้อท่ีใช้ฝังศพรูปทรงต่างๆ พร้อมข้อมูลทางโบราณคดี
ท่นี ่าสนใจ

สงิ่ ทนี่ า่ สนใจ : ภาชนะดนิ เผาบรรจกุ ระดกู พธิ กี รรมหลงั ความตายทแ่ี หลง่ โบราณคดี
บ้านเมืองบัว

พิพิธภัณฑใ์ นภาคตะวันออกเฉียงเหนอื 31

ีอสานตอนกลาง พพิ ธิ ภัณฑม์ รดกภมู ปิ ัญญา บา้ นกู่กาสิงห์

วดั สว่างอารมณ์ (กู่) เลขที่ 79 หมู่ 2 บ้านกู่กาสิงห์ ต�ำ บลกู่กาสงิ ห์ อำ�เภอเกษตรวสิ ัย

จังหวดั ร้อยเอ็ด 45150

ดร.อ�ำ คา แสงงาม 084 7897006 [email protected]

http://kukasing.blogspot.com/

เปิดท�ำ การทกุ วัน ไมเ่ กบ็ คา่ เข้าชม /นัดหมายเพ่ือขอเขา้ ชม

พิพิธภัณฑ์มรดกภูมิปัญญา บ้านกู่กาสิงห์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันท่ี 15 กันยายน
พ.ศ. 2548 โดยสภาวฒั นธรรมต�ำ บลกกู่ าสงิ ห์ เพอื่ เปน็ สถานทเี่ กบ็ รวบรวมศลิ ปวตั ถุ
ซ่ึงเป็นมรดกภูมิปัญญาชาวบ้าน เพื่อเป็นแหล่งแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวัฒนธรรม
ของชาวตำ�บลกู่กาสิงห์ และบุคคลทั่วไป เพ่ืออนุรักษ์วัฒนธรรมพ้ืนบ้านของ
ชาวตำ�บลกู่กาสิงห์ และเพื่อส่งเสริมศักยภาพการท่องเท่ียวทางวัฒนธรรมของ
ชาวทงุ่ กลุ ารอ้ งไห้ ใหเ้ ดก็ เยาวชนเขา้ ศกึ ษาภมู ปิ ญั ญาชาวบา้ น โดยมผี ใู้ หญบ่ า้ น ก�ำ นนั
ในตำ�บลกู่กาสิงห์ พร้อมด้วยผู้มีภูมิปัญญาสาขาต่าง ๆ ในตำ�บลกู่กาสิงห์ให้การ
สนบั สนนุ และบริจาคส่ิงของเครอ่ื งใชเ้ พอ่ื จดั แสดง พพิ ธิ ภณั ฑ์ตงั้ อย่ใู นอาคารศาลา
การเปรยี ญชนั้ บน มกี ารแบง่ หมวดหมขู่ องวตั ถตุ า่ ง ๆ และจดั แสดงแบบเรยี บงา่ ย ไดแ้ ก่
เครอื่ งมอื เครอื่ งใชพ้ น้ื บา้ น เครอ่ื งจกั สาน เครอ่ื งใชใ้ นพทุ ธศาสนา เอกสารตา่ งๆ เปน็ ตน้

ส่งิ ทีน่ ่าสนใจ : เคร่อื งมือเคร่ืองใชเ้ ก่ียวกับวฒั นธรรมข้าวในทุง่ กุลารอ้ งไห้

32 พพิ ิธภณั ฑใ์ นภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื

พพิ ิธภัณฑ์เมืองจำ�ปาขัน อสี านตอนกลาง

โนนอีกา บา้ นหนองจาน หมู่ 7 ต�ำ บลจ�ำ ปาขนั อ�ำ เภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอด็
ส�ำ นักงานปลัดเทศบาลจำ�ปาขัน 043 501 082, 043 588 505
043 501 082
เปดิ บริการทกุ วนั ไม่เสยี คา่ ใช้จา่ ย /นดั หมายเพ่ือขอเข้าชม

พพิ ธิ ภณั ฑเ์ มอื งจ�ำ ปาขนั ตง้ั อยใู่ นบรเิ วณเมอื งโบราณ
บ่อพันขัน ที่มีอายุต้ังแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์
จนถงึ สมยั วฒั นธรรมเขมรในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื
ปัจจุบันมีชื่อเรียกว่า “เมืองจำ�ปาขัน” ซึ่งมี
โบราณสถานท่ีสำ�คัญคือ พระธาตุบ่อพันขัน
แหล่งเกลือโบราณบ่อพันขัน และแหล่งโบราณคดี
เนินขนั หมาก พพิ ธิ ภัณฑ์เมืองจ�ำ ปาขนั ได้กอ่ ตัง้ ขนึ้ ตามแนวคิดของผู้บรหิ ารเทศบาล
ตำ�บลจำ�ปาขัน และความร่วมมือจากชุมชน โดยก่อสร้างข้ึนในราวปี พ.ศ.2553
บริเวณโนนอีกาห่างจากเขตหมู่บ้านประมาณ 1 กิโลเมตร อาคารพิพิธภัณฑ์
เป็นเรือนไม้ยกพื้นสูงตามแบบเรือนอีสาน ภายในจัดแสดงเครื่องมือเครื่องใช้
ของชาวบา้ น เช่น ขนั หมาก ก่องขา้ ว กระติบ และพระพทุ ธรูปไมแ้ กะสลกั

ส่งิ ท่นี ่าสนใจ : เครื่องมอื เครื่องใชเ้ ก่ยี วกับการท�ำ เกลอื ทุ่งกลุ า

พพิ ธิ ภัณฑใ์ นภาคตะวันออกเฉียงเหนอื 33

ีอสานตอนกลาง พพิ ธิ ภัณฑเ์ มืองนครราชสีมา

อาคาร 10 ส�ำ นกั ศิลปะและวัฒนธรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎนครราชสมี า
เลขที่ 340 ถนนสรุ นารายณ์ ต�ำ บลในเมอื ง อำ�เภอเมือง จังหวดั นครราชสีมา 30000

044 009 009 ต่อ 1013,1020
http://www.koratculture.com พพิ ิธภณั ฑเ์ มอื งนครราชสีมา Korat Museum
เปิดบรกิ ารทกุ วนั เวลา 09.00 -15.00 น. ไม่เสียค่าเข้าชม

เมอื่ พ.ศ. 2523 ศนู ยศ์ ลิ ปวฒั นธรรมของวทิ ยาลยั
ครนู ครราชสมี า ไดม้ กี ารจดั ตงั้ “หอวฒั นธรรม” ขน้ึ
เพ่ือเป็นสถานที่เก็บรวบรวมโบราณวัตถุ
ศิลปวัตถุและสิ่งอื่นๆ ที่ได้รับจากการบริจาค
และขอซ้ือเพ่ิมเติม ต่อมาในปี พ.ศ. 2529
ได้ย้ายหอวัฒนธรรมไปอยู่ที่อาคาร 2 ซึ่งเป็นอาคารไม้ด้ังเดิมของสถาบันฯ  
และมกี ารยา้ ยไปตง้ั ทอี่ าคาร 1 ในระยะตอ่ มา ในปี พ.ศ. 2555 ไดม้ กี ารรอื้ ถอนอาคาร 1
เพ่ือดำ�เนินการก่อสร้างศูนย์รวมกิจการนักศึกษาและหอประชุมนานาชาติ
ในปี พ.ศ. 2556 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เศาวนิต เศาณานนท์ อธิการบดี
ในขณะน้ัน ได้อนุมัติงบประมาณจำ�นวน 4.5 ล้านบาท เพ่ือดำ�เนินการออกแบบ
และจัดสร้างนิทรรศการที่อาคาร 10 ซ่ึงเป็นอาคารเดิมของคณะวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี โดยได้ปรับปรุงบทและเนื้อหาการจัดแสดงโดยใช้รูปแบบเดิม
ทเ่ี คยจดั แสดงมา และสรา้ งความเชอ่ื มโยงของเรอ่ื งราวรว่ มกบั โบราณวตั ถทุ จ่ี ดั แสดง
และพัฒนาเน้ือหาด้านความเจริญของจังหวัดนครราชสีมาในด้านต่างๆ เพิ่มเติม
โดยใช้ช่ือ “พิพิธภัณฑ์เมืองนครราชสีมา” ภายใต้แนวคิด “บรรยากาศย้อนอดีต
เพลนิ พนิ จิ นครราชสมี า” กอ่ สร้างแล้วเสร็จในเดือนเมษายน พ.ศ. 2557
สงิ่ ทน่ี า่ สนใจ : ยุคโลหะในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ของนครราชสมี า

34 พพิ ิธภณั ฑใ์ นภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย อสี านตอนกลาง

เลขท่ี 8 หมู่ 2 ถนนท่าสงกรานต์ ต�ำ บลในเมอื ง อำ�เภอพมิ าย จงั หวัดนครราชสมี า 30110

044 471 167, 044 481 269 044 471 167

[email protected]

Phimai National Museum:พิพธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ พิมาย

เปดิ บรกิ ารวนั พธุ – วนั อาทติ ย์ เวลา 09.00 – 16.00 น. เสยี คา่ เขา้ ชม

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
พิมาย กอ่ ตัง้ ขึ้นใน พ.ศ.2507
เป็นพิพิธภัณฑ์กลางแจ้งที่จัด
แสดงโบราณวัตถุที่ค้นพบจาก
การขุดแต่งบูรณะปราสาทพิมาย การขุดแต่งบูรณะโบราณสถานและการขุดค้น
ทางโบราณคดีในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ต่อมาใน พ.ศ. 2532
กรมศลิ ปากรเขา้ มาพัฒนาและปรับปรงุ พพิ ิธภณั ฑสถานแหง่ ชาติ พมิ าย ให้ถูกตอ้ ง
ตามหลกั วชิ าการ โดยไดร้ บั งบประมาณสนบั สนนุ จากโครงการนาํ้ พระทยั จากในหลวง
(โครงการอีสานเขียว) เสร็จสมบูรณ์ในปี พ.ศ.2536 และเม่ือวันที่ 4 สิงหาคม
ปเี ดียวกนั สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เสด็จพระราชดำ�เนิน
ทรงเปิดพิพธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติ พิมาย ภายในอาคารแบ่งเป็น 3 ส่วน สว่ นท่ี 1
จดั แสดงเรอื่ งพฒั นาการทางสงั คมในดนิ แดนอสี านตอนลา่ ง แสดงรากฐานการก�ำ เนดิ
อารยธรรม จง้ั แต่สมยั กอ่ นประวัตศิ าสตร์ถึงปจั จบุ นั สว่ นท่ี 2 จดั แสดงโบราณวัตถุ
ศิลปะเขมรในประเทศไทย โบราณคดีและประวัติศาสตร์ของพิมาย ส่วนที่ 3 เป็น
อาคารจัดแสดงกลางแจ้ง จัดแสดงโบราณวัตถุท่ีเป็นส่วนประกอบสถาปัตยกรรม
ปราสาทหนิ เชน่ ทับหลัง หนา้ บนั เสาประดบั กรอบประตู ที่พบจากโบราณสถาน
ในเขตภาคตะวันออกเฉยี งเหนือตอนลา่ ง

สงิ่ ทน่ี า่ สนใจ : เครอ่ื งโลหะในวฒั นธรรมเขมรทพี่ บในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ตอนลา่ ง

พิพธิ ภณั ฑใ์ นภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ 35

ีอสานตอนกลาง ห้องไทยศกึ ษานทิ ัศน์

หอ้ งไทยศึกษานิทัศน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี อำ�เภอเมอื ง จงั หวัดนครราชสีมา 30000

044 224 856, 044 224 258 044 224 212, 044 224 205

[email protected] ห้องไทยศกึ ษานิทัศน์

เปิดบริการทกุ วนั จนั ทร์ - วนั ศกุ ร์ เวลา 08.30 - 16.30 น. ไม่เสยี คา่ เขา้ ชม

เดมิ หอ้ งไทยศึกษานิทัศน์ เป็นสว่ นหน่งึ ของภาควชิ าสงั คมศกึ ษา และมานษุ ยวิทยา
มหาวิทยาลัยขอนแก่น เรียกว่า “ห้องปฏิบัติการทางมานุษยวิทยาของอีสาน” ซ่ึง
เปน็ การสะสมรวบรวมและจดั แสดงวสั ดทุ างวฒั นธรรม จากความสนใจทางวชิ าการ
และความประทบั ใจสว่ นตวั ของ อาจารยส์ รุ ยิ า สมทุ คปุ ติ์ ทม่ี ตี อ่ วฒั นธรรมพนื้ บา้ นของ
อสี าน มาตง้ั แตป่ ลายปี พ.ศ.2525 ซงึ่ เปน็ ปแี รกทอี่ าจารยเ์ รมิ่ ท�ำ งานทม่ี หาวทิ ยาลยั
ขอนแก่น เมื่อย้ายมาท�ำ งานท่มี หาวิทยาลัยเทคโนโลยสี ุรนารี ในปี พ.ศ.2536 หอ้ ง
ปฏบิ ตั กิ ารทางมานษุ ยวทิ ยาของอสี านจงึ ไดย้ า้ ยมาทม่ี หาวทิ ยาลยั แหง่ น้ี และไดร้ บั การ
ปรบั ปรงุ ใหเ้ ปน็ “หอ้ งไทยศกึ ษานทิ ศั น”์ เพอ่ื ใหส้ อดคลอ้ งกบั ภารกจิ ของมหาวทิ ยาลยั
แหง่ ใหมน่ ี้ ภายในหอ้ งไดม้ กี ารจดั นทิ รรศการวตั ถทุ างวฒั นธรรมในภาคอสี านและวตั ถุ
ทางวฒั นธรรมของประเทศเพือ่ นบา้ น ไมว่ ่าจะเป็นเคร่อื งจกั สาน เครอื่ งมือเคร่ืองใช้
พ้ืนบ้านต่างๆ และระหดั วดิ นํ้าทใ่ี ชใ้ นพื้นท่ลี �ำ ตะคอง  

สิ่งทีน่ ่าสนใจ : ว่าวสนู วา่ วอีสานท่ใี ชส้ ่งสารถงึ พญาแถน

36 พิพธิ ภัณฑใ์ นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ศูนยก์ ารเรยี นรทู้ อ้ งถิ่นสมัยกอ่ นประวตั ศิ าสตร์ อสี านตอนกลาง
แหล่งโบราณคดีบ้านโนนวัด

หมู่ 11 บ้านโนนวดั ตำ�บลพลสงคราม อ�ำ เภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา 30160

องคก์ ารบริหารสว่ นต�ำ บลพลสงคราม 044 756 400 044 756 401

แหล่งโบราณคดบี า้ นโนนวดั

เปดิ บรกิ ารทกุ วัน ไม่เสียค่าเข้าชม /นัดหมายเพอ่ื ขอเขา้ ชม

ศนู ยก์ ารเรยี นรทู้ ้องถ่ินสมัยก่อนประวตั ิศาสตร์ แหลง่ โบราณคดีบา้ นโนนวัด ต้ังอยู่
ในแหล่งโบราณสมัยก่อนประวัติศาสตร์บ้านโนนวัด ก่อต้ังขึ้นโดยสำ�นักศิลปะและ
วฒั นธรรม มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสมี า  พร้อมการสนบั สนนุ งบประมาณจาก
รฐั บาล โดยส�ำ นกั งานการทอ่ งเทยี่ วและกฬี า จงั หวดั นครราชสมี า องคก์ ารบรหิ ารสว่ น
ต�ำ บลพลสงคราม ชมุ ชนบา้ นโนนวดั และมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า ภายในจดั
แสดงเรือ่ งราวความส�ำ คญั ของอารยธรรมลุ่มแมน่ ้ํามูลตอนตน้ ในเขตอ�ำ เภอโนนสงู
นครราชสมี าท่ีมคี วามต่อเนื่องยาวนานกว่า 3000 ปี โดยเฉพาะในพ้นื ที่บา้ นโนนวดั
ท่ีมีการศึกษาตามแนวทางโบราณคดี โดยนักโบราณคดีจากต่างประเทศ ตลอดจน
แบบจ�ำ ลองของบ้านในชุมชนปจั จบุ นั

ส่งิ ที่นา่ สนใจ : เรือ่ งราวของวฒั นธรรมยคุ เหล็กในแอง่ โคราช

พพิ ธิ ภณั ฑใ์ นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 37

ีอสานตอนกลาง Maloei พพิ ธิ ภณั ฑศ์ ลิ ปวฒั นธรรมจงั หวัดเลย

ส�ำ นกั ศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย อ�ำ เภอเมือง จงั หวดั เลย 42000

042 835 224 ถงึ 8 ตอ่ 5128

http://www.maloei.com Maloei museum

เปิดทำ�การทกุ วัน เวลา 08.30 – 16.00 น. (เว้นวนั หยดุ นกั ขัตฤกษ์) ไม่เสียค่าเข้าชม

ในปี พ.ศ.2529 ได้มีประกาศใชร้ ะเบียบกระทรวงศกึ ษาธิการวา่ ดว้ ยศนู ยว์ ัฒนธรรม
ใหจ้ งั หวัดมศี ูนยว์ ัฒนธรรม 2 ระดบั คอื ศนู ย์วฒั นธรรมจงั หวัดและศนู ยว์ ฒั นธรรม
อำ�เภอ โดยใช้องค์กรในท้องถ่ินเป็นหลัก เช่น สถาบันราชภัฎ โรงเรียน สถาบัน
เทคโนโลยี และอาชีวศกึ ษา เป็นต้น มหาวิทยาลยั ราชภัฎเลยจงึ ได้รับเกียรติให้เปน็
ทตี่ งั้ ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นาวฒั นธรรม และไดเ้ ปลยี่ นชอ่ื เปน็ ศนู ยว์ ฒั นธรรมจงั หวดั
เลย โดยเดมิ ใช้อาคารโรงเรยี นสาธติ เปน็ สถานทด่ี �ำ เนินการ ตอ่ มาในปี พ.ศ.2533
ไดร้ บั อนมุ ตั งิ บประมาณการจดั ตงั้ พพิ ธิ ภณั ฑท์ อ้ งถนิ่ จากการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ประเทศไทย
จ�ำ นวน 3.75 ลา้ นบาท ได้สรา้ งอาคารแล้วเสรจ็ ในปี พ.ศ.2535 และใชเ้ ปน็ อาคาร
พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นจังหวัดเลยจนปัจจุบัน ภายในอาคารพิพิธภัณฑ์จัดแสดงประวัติ
และวิวัฒนาการทางด้านโบราณคดีและประวัติศาสตร์ รวมถึงวัฒนธรรมประเพณี
ของจังหวัดเลย โดยใช้เทคนคิ การจดั แสดงท่นี ่าสนใจ
ส่ิงท่ีน่าสนใจ : วัฒนธรรมของจังหวัดเลยท่ีแตกต่างจากจังหวัดอื่นๆ เช่น
ผตี าโขน ผีขนนาํ้

38 พพิ ิธภณั ฑ์ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ

อสี านตอนกลาง

อสี านตอนใต้

พิพิธภัณฑ์ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 39

ีอสานตอนใ ้ต พพิ ธิ ภณั ฑพ์ ื้นบา้ นหนองบัวโคก

เลขท่ี 172 หมู่ 6 ถนนบุรีรัมย์ - ล�ำ ปลายมาศ ต�ำ บลหนองบวั โคก

อ�ำ เภอล�ำ ปลายมาศ จังหวดั บุรรี ัมย์

085 774 8773 [email protected]

พิพธิ ภณั ฑ์พ้ืนบ้านหนองบวั โคก

เปิดทุกวนั เวลา 08.00 - 18.00 น. ไม่เกบ็ คา่ เขา้ ชม

พพิ ธิ ภณั ฑพ์ นื้ บา้ นหนองบวั
โคก จงั หวดั บรุ รี มั ยก์ อ่ ตงั้ ขนึ้
โดย อาจารยท์ �ำ นุ วรธงไชย
อาจารยส์ อนศลิ ปะพน้ื บา้ น
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บรุ รี มั ย์
โดยมแี รงบนั ดาลใจจากในชว่ งปี พ.ศ. 2531 ขณะทอ่ี าจารยศ์ กึ ษาตอ่ ระดบั ปรญิ ญาโท
สาขาไทยคดีศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ จังหวัดมหาสารคาม ซ่ึงอาจารย์
ทำ�นุได้เลือกทำ�วิทยานิพนธ์เร่ือง “เคร่ืองมือดักสัตว์ของชาวชนบท ในเขตอำ�เภอ
ล�ำ ปลายมาศ จงั หวดั บรุ รี ัมย์” อกี ทงั้ ในการสอนศลิ ปะพน้ื บา้ น  ทำ�ใหส้ นใจเสาะหา
เครื่องใช้พ้ืนบ้านมาเป็นตัวอย่างให้นักศึกษาเรียนรู้ จึงเก็บสะสมรวบรวมเครื่องมือ
เคร่ืองใช้พ้ืนบ้านอีสาน ที่ชาวบ้านทำ�ขึ้นใช้เองในชีวิตประจำ�วัน อาจารย์ได้ลงเก็บ
ขอ้ มูลภาคสนาม บันทึกภาพ ร่างภาพเขยี นภาพ สัมภาษณ์สอบถามผใู้ ช้ รวมทงั้ น�ำ
เครื่องมือเหล่านั้นมาทดลองการใช้งาน ในปี พ.ศ. 2540 อาจารย์ได้สร้างอาคาร
หลังแรกในบริเวณบ้านพัก เพื่อจัดเก็บผลงานศิลปหัตถกรรมพื้นท่ีบ้านท่ีสะสมไว้
เพ่ือให้นักเรียน นักศึกษา และผู้สนใจ เข้ามาศึกษาดูงาน  ต่อมาในเดือนมีนาคม
พ.ศ.2548 ไดส้ รา้ งอาคารขนึ้ อกี หนง่ึ หลงั   เพอื่ จดั ท�ำ พพิ ธิ ภณั ฑอ์ ยา่ งเตม็ รปู แบบ และ
จดั แสดงเครอ่ื งมอื เครอ่ื งใชพ้ นื้ บา้ นทร่ี วบรวมไวก้ วา่ 1,000 ชนิ้  โดยไดแ้ ยกหมวดหมู่
เครื่องมือเครื่องใช้ตามแต่ละประเภท ได้แก่ อาวุธและเครื่องมือล่าสัตว์ เคร่ืองมือ
ดกั จบั สตั วน์ าํ้ สตั วบ์ ก สตั วป์ กี เครอื่ งใชใ้ นครวั เรอื น  เครอื่ งมอื เครอ่ื งใชใ้ นการเกษตร
เปน็ ตน้ พพิ ิธภณั ฑไ์ ดเ้ ปดิ อยา่ งเป็นทางการเมอ่ื วนั ท่ี 28 พฤศจิกายน พ.ศ.2548
สิ่งทนี่ ่าสนใจ : เคร่อื งมอื ดักจับสัตวใ์ นภาคอสี าน

40 พพิ ิธภัณฑ์ในภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื

ศูนยว์ ฒั นธรรมอสี านใต้ อสี านตอนใต้

เลขที่ 439 มหาวิทยาลยั ราชภฎั บุรรี ัมย์ ถนนจิระ ต�ำ บลในเมอื ง อำ�เภอเมอื ง

จงั หวดั บุรีรมั ย์ 31000

044 612 221 ต่อ 159 044 612 858

www.bru.ac.th ศูนย์วัฒนธรรมอีสานใต้จังหวัดบรุ รี ัมย์

เปดิ บรกิ ารวันจนั ทร์ – วันอาทติ ย์ เวลา 08.30 – 17.00 น. ไมเ่ สียค่าเขา้ ชม

ศูนย์วัฒนธรรมอีสานใต้ก่อต้ังข้ึนเพื่อเป็นแหล่งรวบรวมและจัดแสดงหลักฐานทาง 41
ประวัติศาสตร์ และโบราณคดใี นแถบอสี านใต้ โดยมีที่มาจากในปี พ.ศ.2525 ไดม้ ี
การจดั ประชมุ สมั มนาทางวชิ าการ เรอ่ื ง “ประวตั ศิ าสตรแ์ ละวฒั นธรรมอสี านใต”้ จาก
นน้ั จงึ มโี ครงการสรา้ งหอวฒั นธรรมในแผนหลกั ของจงั หวดั และเกดิ การกอ่ ตงั้ “ศนู ย์
วฒั นธรรมอีสานใต”้ ขน้ึ อาคารศูนยว์ ัฒนธรรมอีสานใต้มีการกอ่ สรา้ งโดยจำ�ลองรูป
แบบสถาปัตยกรรมแบบปราสาทหิน ผสมผสานกับสถาปัตยกรรมสมยั ใหม่ ภายใน
มี 2 ชนั้ ช้ันล่างจัดแสดงนทิ รรศการภูมศิ าสตร์บรเิ วณอสี านใต้ และจังหวัดบรุ รี ัมย์
แหล่งท่ีต้ังชุมชนโบราณของจังหวัดบุรีรัมย์ โบราณวัตถุสมัยต่างๆ ตั้งแต่สมัยก่อน
ประวัติศาสตร์ สมัยทวารวดี สมัยวัฒนธรรมเขมร เร่ืองช้างและชาวกูยในบุรีรัมย์
ส่วนชั้นบนจดั แสดงวิถีชีวติ ของชาวบุรรี ัมย์ในอดีต เช่น แบบจำ�ลองบา้ นเรือน ครวั
อีสาน เคร่อื งดนตรีอีสาน เครือ่ งมือดักจบั สัตวใ์ นอีสาน นอกจากนย้ี ังมีการจัดแสดง
โบราณวตั ถทุ ขี่ ดุ พบในบรุ รี มั ย์ เชน่ เครอ่ื งปนั้ ดนิ เผา เทวรปู ในศลิ ปะเขมร และเครอื่ ง
ถว้ ยในรปู แบบต่างๆ

สิ่งท่ีน่าสนใจ : ภาพถ่ายของเมืองในวัฒนธรรมเขมร แสดงการกักเก็บนํ้าเพื่อ
เกษตรกรรมในวัฒนธรรมเขมร

พพิ ธิ ภัณฑ์ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื

ีอสานตอนใ ้ต ศูนย์บูรณาการวฒั นธรรมไทยสายใยชมุ ชนสามเผ่า

วัดคุรุราษฎรบ์ �ำ รุง หมู่ 17 ตำ�บลหนองเตง็ อ�ำ เภอกระสัง จงั หวดั บุรรี มั ย์ 31160

081 3699555 เปดิ ทกุ วัน ไมเ่ สียค่าเขา้ ชม

ศูนย์บูรณาการวัฒนธรรมไทยสายใยชุมชนสามเผ่า ก่อต้ังขึ้นโดยการนำ�ของพระ
อธิการบญุ เลยี บ จันทสทุ โธ เจ้าอาวาสวัดครุ รุ าษฎ์บ�ำ รุง พรอ้ มท้ังองคก์ รในท้องถ่นิ
ต่าง ๆ เพื่อเป็นการจัดแสดงการรวมกลุ่มทางสังคมและวัฒนธรรมท่ีแตกต่างกัน
ในชมุ ชนเดยี ว ประกอบดว้ ย ชมุ ชนเขมร ชมุ ชนสว่ ย และชมุ ชนลาว ในต�ำ บลหนองเตง็
โดยมปี ระเพณี ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ศลิ ปะและวฒั นธรรมในการด�ำ เนนิ ชวี ติ ทคี่ ลา้ ยคลงึ กนั
เช่น ลาวมีประเพณีบุญบั้งไฟ บุญข้าวจี่ บุญข้าวปุ้น เขมรมีประเพณีโดนตา
สาดใหญ่ ตักบาตรเทโว บวช แต่งงาน ขึ้นบ้านใหม่ ส่วยมีประเพณีปันโจล
หรอื แกลวมอ ฯลฯ แตช่ มุ ชนเหลา่ นแ้ี ตกตา่ งกนั ในเรอื่ งการใชภ้ าษา ภายในพพิ ธิ ภณั ฑ์
จัดแสดงวตั ถุเครือ่ งมอื เครอ่ื งใชพ้ นื้ บ้านของชมุ ชนสามเผ่า โดยจัดแบง่ ตามประเภท
ของการใช้งาน เช่น เคร่ืองมือในการเกษตร เครอ่ื งจักสาน เป็นตน้          

ส่งิ ทน่ี า่ สนใจ : วฒั นธรรมของชมุ ชนสามเผา่ ท่ีอยู่ร่วมกัน

42 พพิ ธิ ภณั ฑใ์ นภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื

หอ้ งภาพเมืองสรุ ินทร์ อสี านตอนใต้

อาคารห้องภาพเมอื งสุรนิ ทร์ มหาวทิ ยาลยั ราชมงคลอสี าน วทิ ยาเขตสุรนิ ทร์
เลขท่ี 65 ถนนสรุ ินทร์-ปราสาท ตำ�บลนอกเมอื ง อำ�เภอเมือง จงั หวดั สุรนิ ทร์ 32000

คณุ พัทธนันท์ โอษฐเ์ จษฎา 044 518 786, 085 860 2056
[email protected], [email protected]
http://suringallery.blogspot.com
เปดิ บริการวนั พธุ – วนั เสาร์ เวลา 10.00 – 18.00 น. ไม่เสยี คา่ เข้าชม

ห้องภาพเมืองสุรินทร์ เกิดจากความร่วมมือของ 43
สำ�นักงานจังหวัดสุรินทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลอสี าน วทิ ยาเขตสุรินทร์ และสำ�นกั สุรนิ ทร์
สโมสร ซึ่งเปน็ การรวมตวั ของกลุม่ คนทมี่ คี วามสนใจ
ศึกษาเร่ืองราวของเมืองสุรินทร์ในอดีต ในแง่มุม
ตา่ ง ๆ ท้ังด้านประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ประเพณี
พิธีกรรม ความเชื่อ วิถีชีวิตของผู้คน ฯลฯ โดยเฉพาะประวัติศาสตร์ท้องถ่ินจาก
ค�ำ บอกเลา่ หอ้ งภาพเมอื งสรุ นิ ทรก์ อ่ ตงั้ ขน้ึ โดยมที มี่ าจากการจดั งานภาพเกา่ เลา่ เรอื่ ง
เมืองสุรินทร์ ของสำ�นักสุรินทร์สโมสร จำ�นวน 21 ครั้ง ตามสถานที่ต่างๆ เช่น
สถาบันการศึกษา อาคารห้องรับรองพิเศษของสถานีรถไฟ ตลอดจนวัดวาอาราม
ต่างๆ โดยเปลยี่ นหวั ข้อการเสวนาไปตามสถานท่ีต่าง ๆ ในการจัดงานทุกครัง้ จะมี
การจดั เสวนาเลา่ เรือ่ งเมืองสุรินทรใ์ นอดตี โดยเชญิ ผู้มีความรู้ ผ้อู าวโุ ส มาบอกเลา่
ประสบการณ์และเรื่องราวตา่ งๆ ซงึ่ ได้รับความสนใจเปน็ อย่างมาก ต่อมาได้มีการใช้
อาคารด้านหน้ามหาวิทยาลัยจัดเป็นห้องภาพเมืองสุรินทร์ เพื่อใช้เป็นแหล่งเรียนรู้
เร่ืองราวต่างๆ ของเมืองสุรินทร์ในอดีต อาคารห้องภาพเมืองสุรินทร์เป็นอาคาร
ขนาดเล็ก จดั แสดงภาพถา่ ยทัง้ เก่าและใหม่ทีเ่ กีย่ วเนอ่ื งกบั เมืองสุรนิ ทร์ ใหผ้ ูเ้ ขา้ ชม
ไดเ้ รียนร้เู รื่องราวเมืองสุรินทร์ไดอ้ ยา่ งนา่ สนใจ

ส่ิงท่ีน่าสนใจ : ภาพถ่ายเก่าเก่ียวกับการปลูกและขายข้าวในเมืองสุรินทร์ ซึ่งเป็น
แหลง่ ข้าวแหง่ อสี านใต้

พพิ ิธภณั ฑใ์ นภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ

บนั ทกึ

บนั ทกึ

บนั ทกึ

บนั ทกึ


Click to View FlipBook Version