The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by The Master, 2022-05-28 12:35:48

SAR2564@TUPY_E-Book

SAR2564@TUPY_E-Book

Keywords: SAR2564@TUPY_E-Book

ประเดน็ พจิ ารณา ผลการประเมนิ

2. สถานศึกษามีระบบการจัดการคุณภาพที่ชัดเจนและมีประสิทธิภาพ
สง่ ผลดีต่อมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา โดยไดร้ บั ความร่วมมอื ท่ีดี
จากทกุ ฝา่ ยที่เกย่ี วข้อง มีการนำข้อมลู สะท้อนกลับ มาใช้ในการปรับปรุง
พัฒนางานอย่างตอ่ เนื่อง และมีการประชุมตดิ ตามงานอยา่ งสมำ่ เสมอ

3. การบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา มีคุณภาพและได้รับการ
ยอมรับโดยโรงเรยี นเตรียมอดุ มศกึ ษาพัฒนาการ ยานนาเวศเปน็ โรงเรยี น
ที่ได้รับการยกระดับเป็นโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ระดับ 2 ดาว จาก
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้รับโล่เกียรติยศ รางวัล
ขบั เคล่อื นศูนยค์ รอบครวั พอเพยี งดเี ด่น ระดับกรงุ เทพมหานคร “ระดับดี
เยี่ยม” จากมูลนิธิครอบครัวพอเพียง นอกจากนี้ นายปรเวธฎ์ เกษมโชค
ผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ได้รับ
เกียรติบัตรเชิดชูเกียรติ พร้อมเข็มกลัดทอง “ปิยชนน์ คนการศึกษา”
ประจำปีพุทธศักราช 2564 จากสำนักงานส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิ
ภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา กรุงเทพมหานคร นางสาวสุทธินี
แก้ววิไล รองผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ
ยานนาเวศ ได้รับรางวัลยกย่องเชิดชูเกียรติ “รองผู้อำนวยการ
สถานศึกษาผู้ปฏิบัติหน้าที่ดีเด่น” จากสมาคมรองผู้อำนวยการโรงเรียน
มัธยมศึกษาแหง่ ประเทศไทย และรางวัล “คุรุชน คนคณุ ธรรม” ประเภท
ผู้บริหารสถานศกึ ษา ประจำปี 2564 จากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มธั ยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต 2

3. ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้น ระดับคณุ ภาพ ยอดเยี่ยม

คุณภาพผู้เรียนรอบด้านตาม

หลักสูตรสถานศึกษาและทุก 1. มีการจดั ทำหลกั สตู รสถานศึกษา พทุ ธศักราช 2564 ตามมาตรฐานและ

กลุ่มเป้าหมาย ตัวชี้วัดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

2. มีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับผู้เรียนอย่างรอบด้าน

ทุกกลุ่มเป้าหมายตามความสนใจและความถนัดของผู้เรียน เชื่อมโยงกบั

ชีวิตจริง ในรายวิชาตามโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาและแผน

การเรียนที่มีความหลากหลาย และจัดประสบการณ์เสริม ผ่านโครงการ

และกิจกรรมของกลุ่มสาระการเรียนรู้ทัง้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้และ 1

กลมุ่ กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน เพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพของผูเ้ รียน

3. มีการพัฒนาด้านวชิ าการเพื่อยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียน

อยา่ งเป็นระบบ โดยมกี ารประกาศค่าเปา้ หมายความสำเร็จในแต่ละกลุ่ม

สาระการเรียนรู้และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน การนิเทศภายใน การวิจัย

เพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาผู้เรียน จัดโครงการและกิจกรรมเพื่อยกระดับ

ผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียน ได้แก่ โครงการปลอด 0, มส, “โครงการปันน้ำใจ

สานสายใจ เครือเตรียมพัฒน์” สอนเสริม เพิ่มโอกาส พัฒนาคุณภาพ

อย่างเท่าเทียม O-NET ม.3, “โครงการปันนำ้ ใจ สานสายใจเครือเตรยี ม

พัฒน์” สอนเสริม เพิ่มโอกาส พัฒนาคุณภาพ ส่งต่อมหาวิทยาลัย

(TCAS) GAT/PAT วิชาสามัญ ม.6, กิจกรรมการสอนเสริมเพิ่มความรู้

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 46

ประเดน็ พจิ ารณา ผลการประเมนิ

O-NET ม.6, กิจกรรมการสอนเสริมเพิ่มความรู้ GAT/PAT วิชาสามัญ
ม.6 เป็นต้น
4. มีการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพดา้ นวิชาการ โดยการทำบันทึกข้อตกลง
ความร่วมมือการจัดการศึกษา (MOU) ร่วมกับคณะวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ คณะวนศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคณุ
ทหารลาดกระบัง
5. มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์การพัฒนาด้านวิชาการในรายงาน
สารสนเทศประจำปี วารสารโรงเรียน เว็บไซต์โรงเรียน นิทรรศการ
ออนไลน์ ตลาดนัดวิชาการหลักสูตรสถานศึกษา เรียน เล่น เน้น
เทคโนโลยีและสรา้ งอาชพี ในอนาคต สหวทิ ยาเขตภาคีนพวัฒน์

4. พัฒนาครูและบุคลากรให้มี ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม
ความเช่ียวชาญทางวิชาชพี
1. มีการบริหารอัตรากำลังทรัพยากรทางการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ
จัดบุคลากร วางตำแหน่งครูผู้สอนที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญได้ตรง
สาขาวชิ า
2. ครูและบุคลากร มีการพัฒนาตนเองให้มีความรู้ ความสามารถ และ
ทักษะตามมาตรฐานตำแหน่งและจรรยาบรรณของวิชาชีพอยู่เสมอ
3. มกี ารขบั เคลื่อนกระบวนการดำเนินงานชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ
(Professional Learning Community : PLC)
4. สถานศึกษาส่งเสริมให้ครูมีการพัฒนานวัตกรรมและจัดการเรียนรู้ที่เนน้
ผู้เรียนเป็นสำคัญและสอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา โดยการจัด
ประกวดสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยกี ารเรียนรู้ที่สอดคล้องกับสถานการณ์
ในปัจจุบัน มีการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา-2019 (COVID-19) ในรูปแบบออนไลน์
ผ่านโปรแกรมไมโครซอฟต์ทีม (Ms. Teams) เพื่อความเป็นเลิศทาง
วิชาการ
5. มีการส่งเสริมการพัฒนาครูและบุคลากรอย่างต่อเนื่อง ทำให้ปรากฏผล
เชิงประจักษ์ ดังนี้ นายจักรพันธ์ พานสอาด ได้รับรางวัล "เป็นบุคคลรัก
ศรัทธา และเสียสละอุทิศตนในวิชาชีพ เพื่อประโยชน์ทางการศึกษา"
จากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร
เขต 2, นางสาวอรอนงค์ วงศา ได้รับโล่รางวัลเชิดชเู กียรติ “รางวัลครูดี
ศรแี ผ่นดนิ ” จากมูลนธิ คิ รอบครวั พอเพยี ง, การสำเร็จการศึกษาในระดับ
ปริญญาโทของบุคลากร จำนวน 4 คน, การขอมีวิทยฐานะของ
ข้าราชการครู จำนวน 10 คน, รางวัลประกวดสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี
การเรียนรู้ และรางวัลครูสอนดีที่ศิษย์รัก ของครูผู้สอน 8 กลุ่มสาระ
การเรียนรู้ และกิจกรรมพฒั นาผู้เรียน

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หน้า 47

ประเด็นพิจารณา ผลการประเมนิ

5. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ระดบั คุณภาพ ยอดเยี่ยม

และสังคมที่เอื้อต่อการจัดการ

เรียนรอู้ ย่างมีคณุ ภาพ 1. มีการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ โดยการปรับภูมิทัศน์ ปรับปรุง

และซ่อมบำรุงอาคารเรียน ห้องเรียน ระบบการจัดการขยะ การฉีดพ่น

ยากำจัดลูกน้ำยุงลาย มีการจัดแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอก เช่น

ห้องเรียนออนไลน์ไมโครซอฟต์ทีม (Ms. Teams), ห้อง IT City Bank,

ห้อง Knowledge Center, ห้องอาเซียน, ห้องเรียนรู้ GSP, ห้องสมุด

โรงเรียน, ห้องศูนย์การเรียนรู้ภาษาด้วยตนเอง (Self-Access

Language Learning Center), หอ้ งปฏบิ ัติการต่างๆ ของกล่มุ สาระการ

เรียนรู้ การปรับปรุงระบบเครือข่ายเทคโนโลยี การพัฒนาการสุขาภิบาล

อาหาร การใช้แนวทางตามแผนเผชิญเหตุและการจัดการความเสี่ยง

ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา-2019

(COVID-19) ที่เอ้ือต่อการจดั การเรยี นรูอ้ ย่างมีคณุ ภาพ

2. มีการจัดสภาพแวดล้อมทางสังคม โดยการจัดระบบดูแลช่วยเหลือ

นักเรียน, โครงการแรงบันดาลใจสู่ความสำเร็จ, กิจกรรมคืนคุณธรรมสู่

ห้องเรียน, Learning in Wonderland สนุกกับกิจกรรมห้องเรียน

ออนไลน์, โครงการพาน้องกลับมาเรียน, รางวัล "นักเรียนผู้มีความ

ประพฤติดี" และ "นักเรียนผู้มีจิตสาธารณะ" ที่เอื้อต่อการจดั การเรยี นรู้

อยา่ งมคี ุณภาพ

6. จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ระดับคุณภาพ ดเี ลิศ

เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการ

และการจดั การเรียนรู้ 1. สถานศึกษามีการจัดทำข้อมูลสารสนเทศอย่างเป็นระบบด้วยเทคโนโลยี

ที่มีคุณภาพสำหรับการจัดเก็บและการจัดการข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน

ทันสมัย สามารถนำข้อมูลมาใช้สนับสนุนการบริหารจัดการและ

ประกอบการตัดสินใจเพื่อการขับเคลื่อนการดำเนินงานของฝ่ายบริหาร

ท้ัง 4 ฝา่ ยอันประกอบดว้ ย กลมุ่ บริหารวิชาการ กล่มุ บรหิ ารงบประมาณ

กลุ่มบริหารงานบุคคล และกลุ่มบริหารทั่วไป ได้แก่ การประชุมวาง

แผนการดำเนินงาน การดำเนินงานตามภารกิจของแต่ละฝ่ายงาน

ในองค์กร รวมทั้งสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ ได้แก่ การจัดการเรียนรู้

รูปแบบออนไลน์ด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์ทีม (Ms. Teams)

การจัดกิจกรรมส่งเสรมิ ด้านวชิ าการของกลุม่ สาระการเรยี นรู้ทั้ง 8 กลุ่ม

สาระการเรียนรู้และ 1 กลุ่มกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนในรูปแบบออนไลน์

การรายงานการสอนของครผู ู้สอน การรายงานและประกาศผลการเรียน

ผ่านระบบ SGS ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน เช่น การจัดทำข้อมูล

นักเรียนรายบุคคลผ่านระบบ GIS และการเยี่ยมบ้านออนไลน์ เป็นต้น

โดยสามารถส่งต่อและเปลี่ยนผ่านข้อมูลสำหรับผู้ที่มีความต้องการ เพ่ือ

สนับสนุนการบริหารจัดการและการจดั การเรียนรู้ท่ีมเี หมาะสมกับบริบท

ของสถานศกึ ษาไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 48

3. จุดเดน่
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ มีกระบวนการบริหารและการจัดการอย่างเป็นระบบ

เพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา โดยมีการวางแผน กำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจของสถานศึกษา
ที่ชัดเจน มีการขับเคลื่อนภารกิจตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติการของสถานศึกษาสู่การปฏิบัติ
มีการติดตามตรวจสอบ และประเมินผล เพ่ือปรับปรุงพัฒนางานอย่างสม่ำเสมอ ด้วยเครื่องมือวงจรคุณภาพของเดมมิ่ง
(PDCA) มีกระบวนการบริหารและการจดั การที่ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของผู้มีสว่ นได้ส่วนเสียของสถานศึกษา
มุ่งพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพของผู้เรียนรอบด้าน ตามหลักสูตรสถานศึกษาและกลุ่มเป้าหมาย จัดสภาพแวดล้อม
ทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ มีการจัดทำข้อมูลสารสนเทศอย่างเป็นระบบ
ด้วยเทคโนโลยีที่มีคุณภาพสำหรับการจัดเก็บและการจัดการข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย สามารถนำข้อมูลมาใช้
เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ สามารถส่งต่อและเปลี่ยนผ่านข้อมูลสำหรับผู้ที่มีความต้องการ
เพอ่ื สนับสนุนการบรหิ ารจดั การและการจัดการเรียนรู้ทม่ี เี หมาะสมกบั บริบทของสถานศึกษาอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ สง่ ผล
ใหก้ ารดำเนนิ กจิ การของสถานศกึ ษาบรรลุตามวตั ถปุ ระสงค์ และมผี ลการประเมนิ มาตรฐานการศึกษาด้านกระบวนการ
บริหารและการจดั การ อยใู่ นระดับ ยอดเยี่ยม โดยมีจุดเดน่ จำแนกตามประเดน็ พจิ ารณาดงั ต่อไปนี้

1. มีเป้าหมาย วิสยั ทศั นแ์ ละพันธกจิ ที่สถานศึกษากำหนดชดั เจน ดงั จะเห็นได้จากแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา
แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ ประกาศค่าเป้าหมายความสำเร็จในแต่ละมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ประจำปกี ารศกึ ษา 2564

2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาที่มีประสิทธิภาพ ดังจะเห็นได้จากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
พัฒนาการ ยานนาเวศ เป็นโรงเรียนที่ได้รับการยกระดับเป็นโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ระดับ 2 ดาว จากสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้รับโล่เกียรติยศ รางวัลขับเคลื่อนศูนย์ครอบครัวพอเพียงดีเด่น ระดับ
กรุงเทพมหานคร “ระดับดีเยี่ยม” จากมูลนิธิครอบครัวพอเพียง นอกจากนี้ นายปรเวธฎ์ เกษมโชค ผู้อำนวยการ
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ได้รับเกียรติบัตรเชิดชูเกียรติ พร้อมเข็มกลัดทอง “ปิยชนน์
คนการศึกษา” ประจำปีพุทธศักราช 2564 จากสำนักงานส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการ
ศกึ ษา กรงุ เทพมหานคร และนางสาวสุทธินี แกว้ วไิ ล รองผอู้ ำนวยการโรงเรยี นเตรียมอดุ มศึกษาพฒั นาการ ยานนาเวศ
ได้รับรางวัลยกย่องเชิดชูเกียรติ “รองผู้อำนวยการสถานศึกษาผู้ปฏิบัติหน้าที่ดีเด่น” จากสมาคมรองผู้อำนวยการ
โรงเรียนมัธยมศึกษาแห่งประเทศไทย และรางวัลคุรุชน คนคุณธรรม ประเภทผู้บริหารสถานศึกษา ประจำปี 2564
จากสำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต 2

3. มีการดำเนินงานพฒั นาวิชาการท่เี นน้ คุณภาพของผู้เรียนรอบดา้ นตามหลักสูตรสถานศึกษาและกลมุ่ เป้าหมาย
ดังจะเห็นได้จากหลักสูตรสถานศึกษา พุทธศักราช 2564 ตามมาตรฐานและตัวชี้วัดหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) โครงการและกิจกรรมยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน
ได้แก่ โครงการปลอด 0, มส, “โครงการปันนำ้ ใจ สานสายใจ เครือเตรยี มพฒั น์” สอนเสริม เพิ่มโอกาส พฒั นาคุณภาพ
อย่างเท่าเทียม O-NET ม.3, “โครงการปันน้ำใจ สานสายใจเครือเตรียมพัฒน์” สอนเสริม เพิ่มโอกาส พัฒนาคุณภาพ
ส่งต่อมหาวิทยาลัย (TCAS) GAT, PAT วิชาสามัญ ม.6, กิจกรรมการสอนเสริมเพิ่มความรู้ O-NET ม.6, กิจกรรม
การสอนเสริมเพิ่มความรู้ GAT, PAT วิชาสามัญ ม.6 เป็นต้น บันทึกข้อตกลงความร่วมมือการจัดการศึกษา (MOU)
ร่วมกับคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ คณะวนศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง และรายงานสารสนเทศ
ประจำปี วารสารโรงเรียน เว็บไซต์โรงเรียน นิทรรศการออนไลน์ ตลาดนัดวิชาการหลักสูตรสถานศึกษา เรียน เล่น
เนน้ เทคโนโลยแี ละสรา้ งอาชีพในอนาคต สหวทิ ยาเขตภาคนี พวฒั น์

4. มีการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ ดังจะเห็นได้จากครูและบุคลากรมีความรู้
ความสามารถ และทักษะตามมาตรฐานตำแหน่ง และจรรยาบรรณของวิชาชีพ อาทิ นายจักรพันธ์ พานสะอาด ได้รับ
รางวัล "เป็นบุคคลรัก ศรัทธา และเสียสละอุทิศตน ในวิชาชีพเพื่อประโยชน์ทางการศึกษา" จากสำนักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 นางสาวอรอนงค์ วงศา ได้รับโล่รางวัลเชิดชูเกียรติ “รางวัลครูดีศรี
แผ่นดิน” จากมูลนิธิครอบครัวพอเพียง การสำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโทของบุคลากร จำนวน 4 คน การขอมี

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หน้า 49

วิทยฐานะของข้าราชการครู จำนวน 10 คน รางวัลประกวดสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีการเรียนรู้ และรางวัลครูสอนดี
ท่ีศิษย์รัก ของครูผูส้ อนทงั้ 8 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ และ 1 กลมุ่ กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี น

5. มีสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ ดังจะเห็นได้จาก
การดำเนินการปรับภูมิทัศน์ ปรับปรุงและซ่อมบำรุงอาคารเรียน ห้องเรียน ระบบการจัดการขยะ การฉีดพ่นยากำจัด
ลูกน้ำยุงลาย มีการจัดแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอก เช่น ห้องเรียนออนไลน์ (Ms. Teams), ห้อง IT City Bank,
ห้อง Knowledge Center, ห้องอาเซียน, ห้องเรียนรู้ GSP, ห้องสมุดโรงเรียน, ห้องศูนย์การเรียนรู้ภาษาด้วยตนเอง
(Self-Access Language Learning Center) และห้องปฏิบัติการต่างๆ ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ การปรับปรุงระบบ
เครือข่ายเทคโนโลยี การพัฒนาการสุขาภิบาลอาหาร การใช้แนวทางตามแผนเผชิญเหตุและการจัดการความเสี่ยง
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมี
คุณภาพ รวมทั้งการจัดสภาพแวดล้อมทางสังคม โดยการจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โครงการแรงบันดาลใจสู่
ความสำเร็จ กิจกรรมคนื คณุ ธรรมสู่ห้องเรียน Learning in Wonderland สนุกกับกิจกรรมห้องเรียนออนไลน์ โครงการ
พาน้องกลับมาเรียน รางวัล "นักเรียนผู้มีความประพฤติดี" และ "นักเรียนผู้มีจิตสาธารณะ" ที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้
อย่างมคี ุณภาพ

6. มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ ดังจะเห็นได้จากมี
การจัดทำข้อมูลสารสนเทศอย่างเปน็ ระบบดว้ ยเทคโนโลยีที่มีคุณภาพสำหรับการจดั เกบ็ และการจัดการข้อมลู ที่ถกู ต้อง
ครบถ้วน ทันสมัย สามารถนำข้อมูลมาใช้เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ ได้แก่
การจัดการเรียนรู้รูปแบบออนไลน์ด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์ทีม (Ms. Teams) การจัดกิจกรรมส่งเสริมด้านวิชาการ
ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้และ 1 กลุ่มกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนในรูปแบบออนไลน์ การรายงาน
การสอนของครูผู้สอน การรายงานและประกาศผลการเรียนผ่านระบบ SGS ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน เช่น
การจัดทำข้อมูลนักเรียนรายบุคคลผ่านระบบ GIS การเยี่ยมบ้านออนไลน์ เป็นต้น โดยสามารถส่งต่อและเปลี่ยนผ่าน
ข้อมูลสำหรับผู้ที่มีความต้องการ เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ที่มีเหมาะสมกับบริบท
ของสถานศึกษาได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

4. จดุ ควรพฒั นา
1. การดำเนินการจัดทำแผนผังทางเดินเอกสาร (Document Flowcharts) ที่สถานศึกษาควรให้ความสำคัญ

และจดั กระทำให้เปน็ ระบบระเบียบ
2. การส่งเสรมิ วฒั นธรรมดา้ นการอย่รู ่วมกันของคนในองคก์ รเรอื่ งคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและการเป็นแบบอย่างที่ดี

ทีค่ วรตอ้ งเขม้ ขน้ และเปน็ รูปธรรมมากข้ึน
3. การสร้างความตระหนักให้กับครูผู้สอนในเรื่องมาตรฐานการศึกษาและค่าเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพ

ของสถานศกึ ษาทคี่ วรมีระบบอย่างต่อเน่ืองมากขึ้น
4. การประชาสัมพันธ์กิจกรรมและผลงานต่างๆ ของสถานศึกษา รวมทั้งการสื่อสารการดำเนินงานทั้งภายใน

และภายนอกองคก์ ร ท่ีควรเพมิ่ ความชดั เจนและมีระบบมากขึ้น

มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เนน้ ผูเ้ รียนเป็นสำคญั

ระดับคุณภาพ ยอดเย่ียม

1. กระบวนการพัฒนา

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ดำเนินการวางแผนการทำงานอย่างเป็นระบบเพื่อสง่ เสรมิ ให้

ผู้เรียนมีความรู้คู่คุณธรรม และมีคุณภาพตามมาตรฐาน เน้นให้ครูจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยมี

การประชุมปฏิบัติการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยกำหนดให้ครูผู้สอนทุกรายวิชา

ดำเนินการออกแบบการจัดการเรยี นรู้ โดยผ่านกระบวนการวิเคราะห์ มาตรฐานการเรยี นรู้ และตัวชวี้ ัด เพ่อื ให้สอดคล้อง

กับหลักสูตรสถานศึกษา นำผลการวิเคราะห์มาออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และ

สามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ ทั้งนี้เพื่อพัฒนาและส่งเสริมให้ผู้เรียน มีความรู้คู่คุณธรรม และมีคุณภาพ

ตามมาตรฐานการศึกษา โดยการพิจารณาดำเนนิ การและใหค้ วามสำคัญกบั ประเด็นดังต่อไปนี้

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 50

1. จัดให้มีการประชุมปฏิบัติการเพื่อวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ให้สอดคล้องกับหลักสูตร
สถานศึกษา และนำผลที่ได้จากการวิเคราะห์ ไปใช้ในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอนที่เน้นผู้เรียน
เป็นสำคัญ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะและกระบวนการคิด จากการลงมือปฏิบัติจริง
รวมทั้งจัดประสบการณ์เรียนรู้ที่ใกล้เคียงกับสภาวะจริง ที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และสามารถนำความรู้ไปใช้ได้
ในชีวิตประจำวนั เชน่ การประกวดโครงงานวทิ ยาศาสตร์ และโครงการแขง่ ขนั ทกั ษะ เป็นต้น

2. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ทันสมัย
และน่าเชื่อถือ มาประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ทั้งนี้เพื่ออำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน
เชน่ โครงการประกวดสอ่ื นวัตกรรมการเรียนรู้ เปน็ ต้น

3. ดำเนินโครงการและกิจกรรมต่างๆ เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้ครูผู้สอนมีการบริหารจัดการชั้นเรียน
เชิงบวก สร้างบรรยากาศให้ผู้เรียนรู้สึกอยากเรียน และรักที่จะเรียนรู้อย่างมีความสุข เช่น โครงการอบรมพัฒนาครู
และบคุ ลากรทางการศกึ ษา และการจัดบอรด์ นิทรรศการหน้าชัน้ เรียน เปน็ ต้น

4. ดำเนินการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเปน็ ระบบ ด้วยวิธีการที่หลากหลายและเหมาะสมกับผู้เรยี น
มีการนำผลที่ได้จากการประเมิน มาวางแผนพัฒนาผู้เรียน ผ่านแผนการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน เช่น โครงการสอน
และเล่ม ปพ. เปน็ ต้น

5. ส่งเสริมให้ครูได้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผ่านโครงการต่างๆ เช่น การนิเทศการสอนที่เป็นระบบ
แบบกลั ยาณมิตร และกจิ กรรมชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ เป็นต้น

นอกจากน้ี สถานศึกษายังส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ด้วยการดำเนินงานและ
การจัดให้มีกิจกรรมเพิ่มเติมเพื่อการพัฒนาผู้เรียนอย่างหลากหลาย ได้แก่ งานหลักสูตรซึ่งมีการประชุมปฏิบัติการ
ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา พัฒนาสู่ประชาคมอาเซียนและมาตรฐานสากล รวมทั้งมีการบูรณาการภาระงานและ
ชิ้นงาน กิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการกำหนดกิจกรรมและวิเคราะห์ตนเอง มีการจัดการเรียนการสอน
ให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียนเป็นรายบุคคล มีกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติจรงิ
มีทักษะชีวิต กล้าคิดกล้าแสดงออก มีการนำเสนอผลงานโดยผ่านการจัดทำโครงงาน การทำงานเป็นกลุ่ม การสาธิต
มีการบูรณาการระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ มีการสืบค้นจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ทั้งในชุมชน จากภูมิปัญญา
ท้องถิ่นและจากการใช้เทคโนโลยี มีระบบการอ้างอิงที่ถูกวิธี รวมถึงกิจกรรมรักการอ่านเพื่อพัฒนาการคิดวิเคราะห์
โครงการแข่งขันทักษะและแสดงผลงานนักเรียน ตลอดจนมีกิจกรรมการนิเทศการศึกษาอย่างเป็นระบบ โดยอาศัย
กระบวนการในการพฒั นา ดงั น้ี

แผนภาพกระบวนการดำเนินงาน

1. แต่งตง้ั คณะกรรมการพัฒนาการจัดการเรยี น 1. ดำเนินการตาม โครงการและกจิ กรรม
การสอนทเี่ นน้ ผู้เรยี นเป็นสำคญั 2. ครูพัฒนาตนเองในการจดั การเรียนการสอน

2. สำรวจสภาพปัญหาในการจัดการเรียน
การสอนของครูผู้สอน

PLAN DO

ACTION CHECK

1. พัฒนา ขยายผลการนำไปใช้และสร้าง 1. ผลการพฒั นาการจดั การเรียนการสอนทเี่ นน้
เครอื ขา่ ยแลกเปลย่ี นเรยี นรูก้ ัน ผเู้ รียนเป็นสำคัญ (ผ่าน/ไม่ผ่าน)

2. สรปุ ผลการพฒั นา 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (เป็นไปตามค่า
เปา้ หมายในการพฒั นาของสถานศกึ ษา)

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หน้า 51

2. ผลการดำเนนิ งาน
จากกระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่มุ่งให้ครูจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ผ่านโครงการ

และกจิ กรรมอยา่ งหลากหลาย จงึ นำไปสผู่ ลการดำเนนิ งานทบ่ี รรลุตามวตั ถปุ ระสงค์ ดังน้ี

ประเดน็ พิจารณา ผลการประเมิน

1. จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิด ระดบั คณุ ภาพ ยอดเย่ียม

และปฏิบัติจริง และสามารถนำไป

ประยุกต์ใช้ในชวี ติ ได้ 1. นักเรียนได้เรียนรู้อย่างมีความสุขจากการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน

เปน็ สำคัญและคำนงึ ถงึ ความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล

2. มกี ารเรียนรูจ้ ากการไดค้ ิดและลงมือปฏบิ ตั ิจริง

3. จัดการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายทั้งในโรงเรียนและออนไลน์

4. มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่ช่วยส่งเสริมหรือแก้ปัญหานักเรียนที่มี

ผลการเรียนตำ่ กว่าเกณฑ์

5. ครูผู้สอนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด

ของหลกั สูตรสถานศึกษา เพ่อื เนน้ ให้ผเู้ รียนได้เรยี นรผู้ ่านกระบวนการคิด

และปฏบิ ัตจิ ริง

6. มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่สามารถนำไปจัดกิจกรรมได้จริง มีรูปแบบ

การจัดการเรียนรู้เฉพาะสำหรับผู้ที่มีความจำเป็น และต้องการ

ความช่วยเหลอื พเิ ศษ

7. ผู้เรียนได้รับการฝึกทักษะการแสดงความคิดเห็น กล้าแสดงออก และ

การนำเสนอผลงาน สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ เช่น การ

ประกวดโครงงานวทิ ยาศาสตร์ โครงการแขง่ ขันทกั ษะ เป็นต้น

2. ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศและ ระดับคณุ ภาพ ยอดเยี่ยม
แหล่งเรยี นร้ทู ่ีเอ้ือต่อการเรยี นรู้
1. โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้ สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยี เพื่อการศึกษา
ทั้งในห้องเรียน และภายในสถานศึกษา รวมทั้งมีห้องปฏิบัติการต่างๆ
ของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ พร้อมอำนวยความสะดวกให้แก่ครู
บคุ ลากร และผู้เรียน
2. ครูผ้สู อนใช้ส่ือ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้ รวมทั้งภูมปิ ัญญา
ท้องถิ่นมาช่วยในการจัดการเรียนรู้ โดยสร้างโอกาสให้ผู้เรยี นได้แสวงหา
ความรู้ดว้ ยตนเองจากสือ่ ทีห่ ลากหลาย
3. ครูมีการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์ด้วยโปรแกรมที่หลาก
หลายในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 ที่ผ่านมา เช่น Microsoft Teams, Google Classroom,
Google Meet, Line และ Facebook เปน็ ตน้
4. โรงเรียนมีการส่งเสริมให้ครูพัฒนาคุณภาพการสอนโดยการสื่อสมัยใหม่
เช่น จัดให้มีโครงการประกวดสื่อ นวัตกรรมการเรียนรู้ โดยงานพัฒนา
สื่อนวัตกรรม ที่เปิดโอกาสให้ครูได้พัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้
เหมาะสมกับการเรียนในรปู แบบออนไลน์ เปน็ ตน้

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หน้า 52

ประเด็นพจิ ารณา ผลการประเมิน

3. มีการบริหารจัดการชั้นเรียน ระดบั คณุ ภาพ ยอดเย่ียม

เชิงบวก

1. ครูบริหารจัดการชั้นเรียนในเชิงบวก สร้างบรรยากาศที่อบอุ่น สร้าง

แรงจูงใจที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน ทำให้ผู้เรียนมีความสุขใน

การเรียน เน้นการมีปฏสิ มั พนั ธเ์ ชิงบวก ใหผ้ เู้ รยี นทกุ คนได้มสี ่วนร่วมและ

รักท่ีจะเรยี นรู้ ตลอดจนสามารถเรียนรู้รว่ มกันไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ

2. มีการนิเทศ ติดตาม การจัดการเรียนการสอนของครูในทุกกลุ่มสาระ

การเรียนรู้ จากฝ่ายบริหารอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ รวมท้ัง

มีโครงการพัฒนาคุณภาพครูด้านการจัดการชั้นเรียนเชิงบวก เช่น

โครงการอบรมพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา และการจัดบอร์ด

นิทรรศการหนา้ ช้ันเรยี น เปน็ ต้น

4. ตรวจสอบและประเมินผู้เรียน ระดบั คุณภาพ ยอดเยี่ยม

อย่างเป็นระบบและนำผลมา

พัฒนาผู้เรียน 1. ครูใช้วิธีการวัดและประเมินผลผู้เรียนตามสมรรถนะสำคัญในหลักสูตร

และตามโครงสร้างรายวชิ าท่ีหลากหลาย มกี ารประเมนิ ผูเ้ รยี นจากสภาพ

จริงมีการกำหนดขั้นตอนการวัดและประเมินผลอย่างเป็นระบบมีเกณฑ์

การให้คะแนนที่ชัดเจน เหมาะกับผู้เรียน และให้ผู้เรียนได้ทราบผล

คะแนนในแต่ละขั้นเป็นระยะ เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาตนเองของ

ผู้เรียน

2. สถานศึกษามีการจัดทำหลักสูตรสาทรศึกษา ซึ่งเป็นหลักสูตรท้องถ่ิน

เพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอนที่เชื่อมโยงกับบริบทของชุมชน

และท้องถิ่น ตลอดจนการให้ผู้เรียนได้เข้าไปเรียนรู้ในแหล่งเรียนรู้ใน

ชุมชนท้องถิ่นอย่างต่อเนื่อง ดังมีปรากฏใน โครงการสอน และแผน

การจัดการเรียนรู้ เปน็ ต้น

3. ครูผู้สอนนำผลการประเมินมาใช้พัฒนาผู้เรียนโดยคำนึงถึงค่าเป้าหมาย

ในการพัฒนาของสถานศกึ ษาร่วมกบั ระบบดูแลช่วยนกั เรยี น ดังมปี รากฏ

ในโครงการสอน เล่มปพ. แบบรายงานสรุปผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

ของผู้เรียนในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ และเล่มรายงานการประเมิน

ตนเองของครผู สู้ อน (T-Sar) เปน็ ตน้

5. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ ระดบั คณุ ภาพ ยอดเย่ียม

ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและ

ปรบั ปรุงการจัดการเรยี นรู้ 1. สถานศกึ ษาสง่ เสริมให้ครูได้มีกระบวนการแลกเปลย่ี นข้อมลู ความรู้และ

ประสบการณ์ร่วมกัน เพื่อปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ดังมี

ปรากฏในคำสั่งแต่งตั้งกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)

เป็นต้น

2. สถานศึกษาให้ความสำคัญกับการให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและ

ปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน โดยอาศัยกิจกรรมการนิเทศ

ภายในแบบกัลยาณมิตรทั้งจากครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้และจาก

ผบู้ รหิ ารอยา่ งเป็นระบบและต่อเนอ่ื ง

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หน้า 53

3. จดุ เดน่
ครูโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ มีความตั้งใจและมุ่งมั่นในการพัฒนาการสอน โดยมีแผน

จัดการเรียนรู้ที่ตรงตามมาตรฐานและตัวชี้วัด นำใช้สื่อ เทคโนโลยีและนวัตกรรม มาเป็นตัวช่วยในการจัดกิจกรรม
การเรียนการสอน มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก สร้างบรรยากาศที่น่าเรียนให้กับชั้นเรียนของตน วัดและ
ประเมินผลตามสมรรถนะสำคัญในหลักสูตร ประเมินผู้เรียนด้วยวิธีที่หลากหลายจากสภาพจริง มีการส่งเสริมให้ครู
ไดพ้ ฒั นาการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน โดยจดั ให้มกี ารนิเทศการสอนอยา่ งเป็นระบบและต่อเน่ือง เน้นสง่ เสรมิ ให้ครู
จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้โดยการคิด การปฏิบัติจริงและรู้จักใช้เทคโนโลยีในการสืบค้น มีการใช้เทคนิคการสอน
ที่เหมาะสมสอดคล้องกับบริบทของผู้เรียน จัดแหล่งเรียนรู้ให้มีความหลากหลายท้ังจากในชุมชนและจากภูมิปัญญา
ท้องถิ่น

นอกจากนี้ ครูยังมีการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ค้นหาศักยภาพของตน
เช่น โครงการแข่งขันทักษะด้านภาษา กีฬา และดนตรี มีการจัดสภาพแวดล้อมให้ผู้เรียนได้มีโอกาสในการเรียนรู้
ผา่ นประสบการณ์ตรง จากการปฏิบตั ิจรงิ เช่น การจัดทำโครงงานและการจัดแสดงผลงานนักเรยี น การทำงานเป็นกลุ่ม
การสืบคน้ ขอ้ มลู จากห้องสมุด รวมถึงหอ้ งศนู ย์การเรียนร้ภู าษาด้วยตนเอง ห้อง Knowledge Center เปน็ ต้น ส่งผลให้
การดำเนินกิจการของสถานศึกษาบรรลุตามวัตถุประสงค์ และมีผลการประเมินมาตรฐานการศึกษาด้านกระบวนการ
จัดการเรียนการสอนที่เน้นผ้เู รียนเป็นสำคัญ อยู่ในระดบั ยอดเยีย่ ม โดยมีจุดเดน่ จำแนกตามประเดน็ พจิ ารณาดังต่อไปนี้

1. จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏบิ ัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ ดังจะเห็นได้จาก
การประกวดโครงงานวทิ ยาศาสตร์ และโครงการแขง่ ขันทกั ษะ เป็นต้น

2. ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ดังจะเห็นได้จาก โครงการประกวดส่ือ
นวัตกรรมการเรียนรู้ และแหล่งเรียนร้ตู ามสถานที่ต่างๆ เป็นต้น

3. มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก ดังจะเห็นได้จาก โครงการอบรมพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
การจดั บอรด์ นิทรรศการหน้าชั้นเรยี น และการจดั มมุ ใหเ้ กรด็ ความรู้ตา่ งๆ เปน็ ตน้

4. ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียน ดังจะเห็นได้จาก โครงการสอน
เลม่ ปพ. และแบบรายงานสรุปผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นของผู้เรยี นในแตล่ ะกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ เป็นต้น

5. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ ดังจะเห็น
ได้จาก การนิเทศติดตามการจัดการเรียนการสอนแบบกัลยาณมิตรทั้งจากครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้และจากผู้บริหาร
อยา่ งเปน็ ระบบและตอ่ เนอ่ื ง และกจิ กรรมชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ เปน็ ต้น

4. จุดควรพฒั นา
1. การวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนของครูผู้สอนที่ควรคำนึงถึงค่าเป้าหมายในการพัฒนา

คณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษาดงั ปรากฏในเลม่ รายงานการประเมินตนเองของครูผสู้ อน (T-SAR)
2. การสง่ เสรมิ และสนับสนุนให้ครใู ชว้ ิธีในการวัดและประเมินผลท่ีทนั สมัย น่าเชื่อถอื และสอดคล้องกับบริบท

ของผเู้ รยี นทม่ี ีความแตกต่างระหว่างบุคคล และเข้ากบั สถานการณ์การเรยี นในยคุ ปจั จุบนั
3. การสอดแทรกสาระสำคัญในการเรียนรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น และการเชิญชุมชนให้เข้ามามีส่วนร่วม

ในการจัดกิจกรรมเสรมิ เพิม่ เติมให้กับผู้เรยี น
4. การสอดแทรกคุณธรรมจริธรรมที่เกี่ยวข้องกับบทเรียนให้กับผู้เรียนในคาบเรียนของครูผู้สอนในแต่ละกลมุ่

สาระการเรียนรู้

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หน้า 54

สรุปผลการประเมนิ ในภาพรวม

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ มีผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ตามมาตรฐาน
การศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประจำปีการศึกษา 2564 ที่เป็นไปตามค่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ โดยมีผลการ
ประเมนิ ภาพรวมอยู่ใน ระดบั ยอดเยย่ี ม และมีผลการประเมินในแต่ละมาตรฐานจำแนกตามประเดน็ พจิ ารณา ดงั นี้

ตารางสรปุ ผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ประจำปกี ารศกึ ษา 2564

มาตรฐานการศกึ ษา ระดับการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน คา่ ผลการประเมิน
โรงเรยี นเตรยี มอดุ มศึกษาพฒั นาการ ยานนาเวศ เปา้ หมาย รอ้ ยละ คะแนน ระดับคุณภาพ

มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผ้เู รยี น ยอดเยี่ยม 91.01 4.55 ยอดเยยี่ ม

1.1 ผลสมั ฤทธทิ์ างวชิ าการของผู้เรียน ยอดเยี่ยม 87.25 4.36 ยอดเยี่ยม

1. มีความสามารถในการอ่าน การเขยี น การสอื่ สารและการคดิ คำนวณ ยอดเย่ยี ม 86.05 4.30 ยอดเยี่ยม

2. มคี วามสามารถในการวเิ คราะหแ์ ละคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ อภปิ ราย ยอดเยี่ยม 91.38 4.57 ยอดเย่ียม
แลกเปลย่ี นความคดิ เห็นและแก้ปญั หา

3. มคี วามสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม ยอดเยย่ี ม 86.52 4.33 ยอดเยี่ยม

4. มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร ยอดเยย่ี ม 91.28 4.56 ยอดเยย่ี ม

5. มีผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นตามหลักสูตรสถานศึกษา ยอดเยีย่ ม 72.36 3.62 ดี

6. มีความรู้ ทักษะพนื้ ฐานและเจตคตทิ ด่ี ตี อ่ งานอาชพี ยอดเยี่ยม 95.90 4.79 ยอดเยย่ี ม

1.2 คณุ ลักษณะท่พี งึ ประสงคข์ องผเู้ รียน ยอดเยี่ยม 94.78 4.74 ยอดเยี่ยม

1. มีคณุ ลกั ษณะและคา่ นิยมทด่ี ีตามทส่ี ถานศึกษากำหนด ยอดเย่ียม 92.91 4.65 ยอดเยีย่ ม

2. มคี วามภมู ิใจในทอ้ งถน่ิ และความเปน็ ไทย ยอดเยย่ี ม 95.77 4.79 ยอดเยีย่ ม

3. ยอมรับที่จะอยรู่ ว่ มกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย ยอดเยย่ี ม 98.50 4.93 ยอดเย่ยี ม

4. มีสุขภาวะทางรา่ งกายและลกั ษณะจิตสังคม ยอดเยย่ี ม 91.94 4.60 ยอดเยี่ยม

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ยอดเยย่ี ม ยอดเยย่ี ม 5.00 ยอดเยยี่ ม

1. มีเปา้ หมาย วิสยั ทศั น์ และพันธกจิ ท่สี ถานศึกษากำหนดชดั เจน ยอดเยี่ยม ยอดเยย่ี ม 5.00 ยอดเยี่ยม

2. มีระบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ยอดเยีย่ ม ยอดเยย่ี ม 5.00 ยอดเยย่ี ม

3. ดำเนนิ งานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพของผู้เรยี นรอบด้านตามหลกั สตู ร ยอดเยย่ี ม ยอดเย่ยี ม 5.00 ยอดเยย่ี ม
สถานศึกษา และกลุ่มเปา้ หมาย

4. พฒั นาครแู ละบุคลากรใหม้ คี วามเชีย่ วชาญทางวชิ าชีพ ยอดเยย่ี ม ยอดเยย่ี ม 5.00 ยอดเยย่ี ม

5. จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอ้อื ตอ่ การจดั การเรยี นรู้ ยอดเยี่ยม ยอดเยีย่ ม 5.00 ยอดเยย่ี ม

6. จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนับสนนุ การบรหิ ารจดั การและการจัดการเรียนรู้ ยอดเยย่ี ม ยอดเย่ยี ม 4.00 ยอดเยย่ี ม

มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผ้เู รยี นเป็นสำคญั ยอดเย่ียม 97.5 4.87 ยอดเยย่ี ม

1. จดั การเรยี นรู้ผา่ นกระบวนการคิดและปฏิบัติจรงิ และสามารถนำไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ได้ ยอดเยี่ยม 87.50 4.38 ยอดเยย่ี ม

2. ใช้ส่ือเทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรยี นรูท้ เ่ี อื้อตอ่ การเรียนรู้ ยอดเยี่ยม 100 5 ยอดเยี่ยม

3. มีการบริหารจดั การชน้ั เรียนเชงิ บวก ยอดเยย่ี ม 100 5 ยอดเยี่ยม

4. ตรวจสอบและประเมินผู้เรยี นอย่างเปน็ ระบบและนำผลมาพฒั นาผ้เู รยี น ยอดเยี่ยม 100 5 ยอดเยี่ยม

5. มกี ารแลกเปลยี่ นเรยี นรู้และใหข้ อ้ มลู สะท้อนกลบั เพื่อพฒั นาและปรบั ปรุงการจัดการเรยี นรู้ ยอดเยี่ยม 100 5 ยอดเยีย่ ม

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หน้า 55

ส่วนที่ 3 สรปุ ผล แนวทางการพัฒนา และความต้องการการช่วยเหลอื

จดุ เดน่
คณุ ภาพของผู้เรียน

จากผลการประเมินด้านคุณภาพของผู้เรียนโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ปีการศึกษา
2564 ทอ่ี ยใู่ นระดบั ยอดเย่ียม ท้ังด้านผลสมั ฤทธทิ์ างวชิ าการของผเู้ รยี น และด้านคณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ของผู้เรียน
แสดงใหเ้ หน็ ถึง จดุ เด่น ด้านคุณภาพของผู้เรียน ดังน้ี

1. นักเรียนมีความรู้ สามารถอ่าน เขียน สื่อสาร คิดคำนวณ วิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณผ่านกิจกรรม
ด้านวิชาการและสันทนาการได้เหมาะสมตามระดับชั้น รู้จักอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหา
ในสถานการณ์ต่างๆ ไดด้ ี เหน็ ความสำคัญของการสร้างนวัตกรรม รจู้ กั นำเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารมาใช้ได้
อย่างเหมาะสม ตลอดจนมีทักษะพื้นฐานที่จำเป็นและมีเจตคติที่ดีต่อการประกอบอาชีพในอนาคต นำไปสู่การมี
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สอดคล้องกับเป้าหมายในการพัฒนาการศึกษาและบริบทของสถานศึกษา ดังจะเห็นได้จาก
การส่งเสริมใหน้ ักเรยี นมโี อกาสในการพัฒนาตวั เองในระดบั ทส่ี ูงขน้ึ ดว้ ยการนำนักเรียนเข้ารว่ มการแข่งขันหลายรายการ
เช่น การแข่งขันเกมต่อสมการคณิตศาสตร์ (A – MATH ) ในรายการ “Max Ploys Crossword Game A-Math
Kumkom Sudoku Ed-Sport Challenge การประกวดแข่งขันโครงงานคุณธรรมเฉลิมพระเกียรติ “เยาวชนไทย ทำดี
ถวายในหลวง” ปีที่ 16 ปีการศึกษา 2564 และการแข่งขันตอบปัญหาเศรษฐศาสตร์ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
ประจำปี พ.ศ. 2565 ชงิ ถ้วยพระราชทานสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช
กุมารี การจัดกิจกรรมรักการอ่านของงานห้องสมุด กิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาวิทยาศาสตร์ กิจกรรมการเรียนรู้ใน
รายวชิ ากิจกรรมชมุ นุมต่างๆ และชุมนุมสะเตม็ ศึกษา การจัดกิจกรรมสง่ เสรมิ ความสามารถของนักเรียนในดา้ นการสร้าง
นวัตกรรมในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ การกิจกรรมการส่งนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขันเกมต่อสมการคณิตศาสตร์
(A-Math) แบบออนไลน์ของกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ กิจกรรมการตอบคำถามในวันสุนทรภู่และวันภาษาไทย
แห่งชาติแบบออนไลน์ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กิจกรรมการร่วมตอบคำถามและทดสอบความรู้ในวัน
วิทยาศาสตร์แห่งชาติแบบออนไลน์ของกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ กิจกรรมการทดสอบความรู้และร่วม
เวียนเทียนออนไลน์ในวันอาสาฬหบูชาของกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม กิจกรรมการวาด
ภาพระบายสีแบบออนไลน์ในวันมาฆบูชา กิจกรรมการตอบคำถามศิลปะเพื่อสุนทรียภาพและวันศิลป์ พีระศรี 15
กันยายน 2564 ในรูปแบบออนไลน์ กิจกรรมการจัดนิทรรศการศิลปะออนไลน์จากผลงานศิลปะของนักเรียนของกลมุ่
สาระการเรียนรู้ศิลปะ กิจกรรมพัฒนาศกั ยภาพทางด้านภาษาต่างประเทศในรูปแบบออนไลน์ กิจกรรมการแข่งขันเปิด
พจนานุกรมภาษาอังกฤษ (Dictionary Competition) แบบออนไลน์ กิจกรรมการแข่งขันสะกดคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
(Spelling Bee) แบบออนไลน์และกิจกรรมการแข่งขันเขียนตามคำบอกจากภาพภาษาอังกฤษ (Picture Dictation)
แบบออนไลน์ ของกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ กจิ กรรมสอนเสรมิ เพิ่มความรู้ โครงการปลอด 0, ร, มส เพ่ือ
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตลอดจนการจัดให้มีแผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ แผนการเรียน
วิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ (STEM) แผนการเรียนคณิตศาสตร์-ภาษาอังกฤษ (ธุรกิจ) แผนการเรียนคอมพิวเตอร์ดิจิทัล
แผนการเรียนกีฬาและนันทนาการ แผนการเรียนนิเทศศิลป์ แผนการเรียนภาษาอังกฤษ-ภาษาจีน แผนการเรียน
ภาษาอังกฤษ-ภาษาฝรั่งเศส แผนการเรียนภาษาอังกฤษ ภาษาไทย-สังคมศึกษา และแผนการเรียนด้านอุตสาหการ
โดยดำเนินกิจกรรมการเรียนการสอนท่ามกลางสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา-2019 ทั้งใน
รูปแบบ On-Site, Online และ On Hand โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทุกช่องทาง ผ่านโปรแกรม
การเรียนรู้และแอปพลิเคชันที่หลากหลาย เช่น โปรแกรม Ms. Teams, Google Classroom, Google Meet, Line
และ Facebook เปน็ ตน้

2. นักเรียนมีความประพฤติด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด รู้จักหน้าท่ี
และเคารพในสิทธิของผู้อื่น เข้าใจในความเป็นไทยและภาคภูมิใจในท้องถิ่น มีการเรียนรู้และยอมรับที่จะอยู่ร่วมกัน
บนความแตกต่างและหลากหลายอย่างมีเหตุผล ตลอดจนมีทักษะชีวิตและรู้จักดูแลตนให้มีสุขภาวะทางร่างกาย
และสุขภาวะทางจติ ใจท่ีเข้มแขง็ อย่รู ่วมกนั ในสังคมได้อย่างปกตสิ ุข ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากการจัดกจิ กรรมต่างๆ เพื่อส่งเสริม
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน เช่น กิจกรรมเนื่องในวันสำคัญทางศาสนา กิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียน

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หน้า 56

กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมและวินัยของนักเรียน กิจกรรมวันสถาปนาโรงเรียน กิจกรรมทำบุญตักบาตร
กิจกรรมส่งเสริมประชาธิปไตย กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารีและยุวกาชาด กิจกรรมเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จ
พระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว (ในหลวงรัชกาลที่ 10) กิจกรรมวันพ่อ
แห่งชาติ กิจกรรมระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน กิจกรรมคัดกรองและป้องกันโรคโควิด-19 และกิจกรรมฉีดวัคซีน
ปอ้ งกันโรคโควิด-19 เป็นต้น

กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ

จากผลการประเมินด้านกระบวนการบริหารและการจัดการของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ

ยานนาเวศ ปีการศึกษา 2564 ที่อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม บ่งบอกถึง จุดเด่น ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ

ของสถานศึกษา ท่ีมีประสิทธภิ าพ กลา่ วคือ สถานศึกษามีการประชุมวางแผนดำเนินการบริหารจัดการคุณภาพ

ของสถานศึกษาที่เป็นไปตามเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนด มีการนำแผนไปสู่การปฏิบัติ

มีการติดตามตรวจสอบและประเมินผล เพ่อื ปรับปรุงพัฒนางาน ตลอดจนมีการส่งเสริมและสนบั สนุนการนำเทคโนโลยี

มาใช้เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนการสอนทั้งแบบปกติและแบบออนไลน์ ดังจะเห็นได้จาก การมีภาวะของความ

เป็นผู้นำของผู้บริหาร การบริหารจัดการด้านการศึกษาที่บรรลุตามเป้าหมาย วิสัยทัศน์และจุดเน้นที่กำหนดใน

แผนปฏิบัติการ การส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมต่างๆ การใช้ระบบการบริหารงานตามวงจรคุณภาพ

ของเดมมิ่ง (PDCA) การที่โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ เป็นโรงเรียนที่ได้รับการยกระดับเป็น

โรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ. ระดับ 2 ดาว จากสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน การได้รับโล่เกียรติยศ รางวลั

ขบั เคลอ่ื นศนู ย์ครอบครวั พอเพยี งดเี ด่น ระดบั กรุงเทพมหานคร “ระดบั ดีเยีย่ ม” จากมูลนิธคิ รอบครวั พอเพยี ง การได้รับ

เกียรติบัตรเชิดชูเกียรติ พร้อมเข็มกลัดทอง “ปิยชนน์ คนการศึกษา” ประจำปีพุทธศักราช 2564 จากสำนักงาน

สง่ เสรมิ สวัสดิการและสวสั ดภิ าพครูและบุคลากรทางการศึกษา กรุงเทพมหานคร โดยนายปรเวธฎ์ เกษมโชค ผอู้ ำนวยการ

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ การได้รับรางวัลยกย่องเชิดชูเกียรติ “รองผู้อำนวยการสถานศึกษา

ผู้ปฏิบัติหน้าที่ดีเด่น” จากสมาคมรองผู้อำนวยการโรงเรียนมัธยมศึกษแห่งประเทศไทย และรางวัล “คุรุชน

คนคุณธรรม” ประเภทผู้บริหารสถานศึกษา ประจำปี 2564 จากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา

กรุงเทพมหานคร เขต 2 โดยนางสาวสุทธินี แก้ววิไล รองผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ

การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา พุทธศักราช 2564 การพัฒนาด้านวิชาการเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ

ผู้เรียนอย่างเป็นระบบ โดยมีการประกาศค่าเป้าหมายความสำเร็จในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้และกิจกรรมพัฒนา

ผูเ้ รียน การนิเทศภายใน การดำเนินการวิจัยเพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาผู้เรียน การจดั โครงการและกิจกรรมเพื่อยกระดับ

ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ได้แก่ โครงการปลอด 0, มส, “โครงการปันน้ำใจ สานสายใจ เครือเตรียมพัฒน์” การสอนเสริม

เพิ่มโอกาส พัฒนาคุณภาพอย่างเท่าเทียม O-NET ม.3, “โครงการปันน้ำใจ สานสายใจเครือเตรียมพัฒน์” สอนเสริม

เพิ่มโอกาส พัฒนาคุณภาพส่งต่อมหาวิทยาลัย (TCAS) GAT/PAT วิชาสามัญ ม.6, กิจกรรมการสอนเสริมเพิ่มความรู้

O-NET ม.6, และกิจกรรมการสอนเสริมเพิ่มความรู้ GAT/PAT วิชาสามัญ ม.6 เป็นต้น มีการส่งเสริมการพัฒนา

คุณภาพด้านวิชาการ โดยการทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือการจัดการศึกษา (MOU) ร่วมกับคณะวิทยาศาสตร์และ

เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และสถาบัน

เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์การพัฒนาด้านวิชาการในรายงาน

สารสนเทศประจำปี วารสารโรงเรียน เว็บไซต์โรงเรียน นิทรรศการ ออนไลน์ ตลาดนัดวิชาการหลักสูตรสถานศึกษา

การจัดโครงการประกวดสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีการเรียนรูท้ ีส่ อดคล้องกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้

ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) การส่งเสริมการพัฒนาครูและบุคลากรอย่างต่อเนื่อง เช่น การจัดอบรมการใช้

โปรแกรมไมโครซอฟต์ทีม (Ms. Teams) ให้กับคณะครู เป็นต้น การจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ โดยการปรับ

ภูมิทัศน์ ปรับปรุงและซ่อมบำรุงอาคารเรียน ห้องเรียน ระบบการจัดการขยะ การฉีดพ่นยากำจัดลูกน้ำยุงลาย การจัด

แหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอก เช่น ห้องเรียนออนไลน์ไมโครซอฟต์ทีม (Ms. Teams) ห้อง IT City Bank

หอ้ ง Knowledge Center ห้องอาเซยี น ห้องเรียนรู้ GSP ห้องสมุดโรงเรียน หอ้ งศูนย์การเรยี นร้ภู าษาด้วยตนเอง (Self-

Access Language Learning Center) ห้องปฏิบัติการต่างๆ ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ การปรับปรุงระบบเครือข่าย

เทคโนโลยี การพัฒนาการสุขาภบิ าลอาหาร การใชแ้ นวทางตามแผนเผชิญเหตแุ ละการจัดการความเสยี่ งในสถานการณ์

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 57

การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา-2019 (COVID-19) การจัดสภาพแวดล้อมทางสังคมโดยการจดั ระบบดูแล
ช่วยเหลือนักเรียน การจัดโครงการแรงบันดาลใจสู่ความสำเร็จ กิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียน การจัดกิจกรรม
“Learning in Wonderland” สนุกกับกิจกรรมห้องเรียนออนไลน์ โครงการพาน้องกลับมาเรียน การมอบรางวัล
"นักเรียนผู้มีความประพฤติดี" และ "นักเรียนผู้มีจิตสาธารณะ" การจัดการเรียนรู้รูปแบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม
ไมโครซอฟต์ทีม (Ms. Teams) การจดั กิจกรรมส่งเสริมด้านวชิ าการของกลุม่ สาระการเรียนรู้ท้ัง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
และ 1 กลุ่มกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนในรูปแบบออนไลน์ การรายงานการสอนของครูผู้สอน การรายงานและประกาศ
ผลการเรียนผ่านระบบ SGS การดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน เช่น การจัดทำข้อมูลนักเรียนรายบุคคล
ผ่านระบบ GIS และการเยี่ยมบ้านออนไลน์ เป็นต้น ตลอดจนการจัดประชุมประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
แบบออนไลนผ์ า่ นโปรแกรมไมโครซอฟต์ทมี (Ms. Teams) อนั เปน็ ภารกจิ สำคญั อยา่ งหนง่ึ ของสถานศึกษา

กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี น้นผเู้ รียนเปน็ สำคญั
จากผลการประเมินดา้ นกระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สำคัญของโรงเรยี นเตรียมอุดมศึกษา

พัฒนาการ ยานนาเวศ ปีการศึกษา 2564 ที่อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม สะท้อนถึง จุดเด่น ด้านกระบวนการจัดการเรียน
การสอนทเ่ี น้นผู้เรยี นเป็นสำคัญของสถานศึกษาอย่างมีประสิทธภิ าพ กล่าวคือ นกั เรยี นมคี วามรู้ ประสบการณ์ มีทักษะ
พื้นฐานที่จำเป็นและได้รับการปลูกฝังคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ด้วยวิธีการที่หลากหลายจากการลงมือปฏิบัติจริง
ผา่ นกระบวนการดำเนินงานและระบบการบริหารงานตามวงจรคุณภาพของเดมม่งิ (PDCA) ของคณะครูท่ีมคี วามมุ่งม่ัน
และตั้งใจในการพัฒนาการสอน จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการใช้สื่อ เทคโนโลยีและ
นวัตกรรม มาเป็นตัวช่วยในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เห็นความสำคัญของการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
สร้างบรรยากาศที่น่าเรียนให้กับชั้นเรียนของตน ใช้วิธีในการวัดและประเมินผู้เรียนที่หลากหลายจากสภาพจริง
ตลอดจนร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อช่วยให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับ ไปประยุกต์ใช้ในการดำเนิน
ชีวิตประจำวนั ได้ ดังปรากฏหลักฐานในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ เช่น การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์และโครงการ
แข่งขันทกั ษะทางภาษา การจดั โครงการประกวดส่ือ นวตั กรรมการเรียนรู้สมัยใหม่ การจดั โครงการอบรมพัฒนาครูและ
บุคลากรทางการศึกษา การจัดบอร์ดนิทรรศการหน้าชั้นเรียน การจัดมุมให้เกร็ดความรู้ต่างๆ ทั้งในและนอกห้องเรียน
การจดั ทำแบบรายงานสรุปผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียนในแตล่ ะกลุ่มสาระการเรียนรเู้ พื่อประโยชน์ในการพัฒนา
คุณภาพผู้เรียน การนิเทศติดตามการจัดการเรียนการสอนแบบกัลยาณมิตรทั้งจากครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้และจาก
ผู้บรหิ ารอย่างเปน็ ระบบและตอ่ เนื่อง รวมทั้งการจัดให้มีกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชพี เปน็ ต้น

จดุ ควรพัฒนา
คุณภาพของผ้เู รียน

1. การสร้างความตระหนักรู้เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพการสอนของครูในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้
เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้มีค่าการพัฒนาที่สูงขึ้นและสอดคล้องกับค่าเป้าหมาย
ในการพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา

2. การสง่ เสรมิ ให้นกั เรยี นได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพของตนและบรรลตุ ามเปา้ หมายของสถานศึกษา
ทั้งด้านความรู้ ด้านทักษะ และด้านเจตคติ รวมถึงด้านทักษะพื้นฐานในการสร้างสรรค์นวัตกรรม ความชํานาญในการ
ฉลาดใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การทำงานอย่างสร้างสรรค์ ความเป็นพลเมืองดิจิทัล (Digital Citizenship) และการมี
วินยั ในการพฒั นาตนเองอย่างสมำ่ เสมอ

3. การจัดอบรมคุณธรรมจริยธรรมอย่างจริงจัง เพื่อปลูกฝังความดีงามให้กับผู้เรียนในทุกระดับชั้น ให้เท่าทัน
ต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเทคโนโลยีในปัจจุบัน ตลอดจนการพัฒนารูปแบบและเครื่องมือในการประเมินด้าน
คณุ ลกั ษณะทีพ่ ึงประสงคแ์ ละค่านิยมท่ีดี ให้มมี าตรฐาน และน่าเชือ่ ถอื มากขึ้น

4. การจัดโครงการส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักใช้ประโยชน์จากสื่อสังคมออนไลน์ หลีกเลี่ยงสื่อที่ไม่พึงประสงค์
รวมทงั้ รู้จักเลือกบริโภคข้อมูลข่าวสาร ทเี่ ปน็ ประโยชน์ต่อการดำเนินชวี ติ และไมต่ กเป็นเคร่อื งมอื ของสื่อท่ีไม่พึงประสงค์

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 58

กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
1. การเร่งดำเนินการจัดทำแผนผงั ทางเดินเอกสาร (Document Flowcharts) โดยเฉพาะในสว่ นงานที่จำเป็น

ที่สถานศึกษาควรให้ความสำคญั และจดั กระทำให้เป็นระบบระเบยี บ
2. การสง่ เสรมิ วฒั นธรรมด้านการอยู่ร่วมกันของคนในองค์กรเรื่องคณุ ธรรมจริยธรรมและการเป็นแบบอย่างท่ีดี

ให้จรงิ จงั เข้มข้น และเปน็ รูปธรรมมากขึ้น
3. การวางแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้านการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอย่างจริงจัง เพื่อให้ครู

ตระหนกั และให้ความสำคัญในเรอ่ื งการพฒั นาคุณภาพการสอนของตนมากยิ่งข้ึน
4. การประชาสัมพันธ์กิจกรรมและผลงานต่างๆ ของสถานศึกษา รวมทั้งการสื่อสารการดำเนินงานทั้งภายใน

และภายนอกองค์กร ที่ควรเพิม่ ความชดั จน มีระบบ ทนั สมัยและทันตอ่ สถานการณม์ ากขึน้

กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ีเน้นผูเ้ รยี นเป็นสำคญั
1. การวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนของครูผู้สอนที่ควรคำนึงถึงค่าเป้าหมายในการพัฒนา

คุณภาพการศึกษาและบรบิ ทของสถานศึกษาดงั ปรากฏในเล่มรายงานการประเมินตนเองของครผู ู้สอน (T-SAR)
2. การส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูใช้วิธีในการวัดและประเมินผลที่หลากหลาย ทันสมัย น่าเชื่อถือ และ

สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของผ้เู รียนทมี่ ีความแตกต่างระหวา่ งบุคคล และเขา้ กับสถานการณ์การเรียนในยคุ ปัจจุบัน
3. การสอดแทรกสาระสำคัญในการเรียนรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น และการเชิญชุมชนให้เข้ามามีส่วนร่วม

ในการจดั กจิ กรรมเสรมิ เพ่ิมเติมให้กับผู้เรียน
4. การสอดแทรกข้อคิดสำคัญด้านคุณธรรมจริธรรมที่เกี่ยวข้องกับบทเรียนให้กับผู้เรียนในคาบเรียน

ของครผู สู้ อนในแต่ละกลมุ่ สาระการเรยี นรู้

แนวทางการพัฒนาในอนาคต

1. การวางแผนยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้มีค่าพัฒนาท่ีสูงขึ้นและสอดคล้องกับค่าเป้าหมายในการพัฒนาการ
จัดการศึกษาของสถานศึกษา

2. การสร้างความตระหนักรู้เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพการสอนของครูในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ควรคำนึงถึงค่า
เปา้ หมายในการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาและบรบิ ทของสถานศึกษา

3. การจัดโครงการอบรมดา้ นคุณธรรมจรยิ ธรรมอย่างจรงิ จงั ให้กับผูเ้ รียนในทุกระดบั ชัน้ ให้เท่าทันตอ่ การเปลีย่ นแปลง
ทางสงั คมและเทคโนโลยีในปจั จุบนั เพ่อื สร้างภมู ิคมุ้ กันไม่ตกเปน็ เครื่องมือของสื่อที่ไม่พึงประสงค์

4. การดำเนินการจัดทำแผนผังทางเดินเอกสาร (Document Flowcharts) ในส่วนงานที่จำเป็นอย่างมีระบบระเบียบ
5. การให้ความสำคัญกับการกระตนุ้ และส่งเสริมเรื่องคุณธรรมจรยิ ธรรมและการเป็นแบบอย่างที่ดีให้คงอยู่กับสังคมครู
6. การประชาสัมพันธ์กิจกรรมและผลงานตา่ งๆ ของสถานศึกษาทม่ี ีความชัดจน มรี ะบบ ทันสมัยและทนั ต่อสถานการณ์
7. การกระตนุ้ และส่งเสรมิ ให้ครูใช้วธิ ีในการวัดและประเมนิ ผลท่ีหลากหลาย ยดื หยนุ่ ทนั สมัย นา่ เชอ่ื ถอื และสอดคลอ้ ง

กับบรบิ ทของผู้เรียนท่มี ีความแตกต่างระหวา่ งบุคคลและเขา้ กับสถานการณ์ในปจั จบุ นั
8. การสอดแทรกสาระสำคัญในการเรียนรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นและการเชิญชุมชนให้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัด

กิจกรรมการเรียนรู้เสริมเพ่ิมเติมให้กับผู้เรยี น
9. การจัดโครงการสนับสนุนและสง่ เสริมให้ครูได้พัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้หลากหลาย ทนั สมัย และสอดคล้องกับ

ความเปลีย่ นแปลงทางสังคมและเทคโนโลยี

ความตอ้ งการการชว่ ยเหลอื
1. การสนับสนุนและความร่วมมือจากผู้ปกครองและชุมชน ในการร่วมกันสอดส่องดูแลพฤติกรรมนักเรียน ให้รู้จัก

รับผิดชอบต่อการเรียนของตนเอง รู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และฉลาดเลือกบริโภคข่าวสารในยุคดิจิทัล
2. การขอรบั การสนบั สนุนด้านแหล่งเงนิ ทนุ เพื่อการศกึ ษาให้กบั นักเรียนท่ีมคี วามประพฤตดิ ี เรียนดี แตด่ อ้ ยโอกาสหรือ

ยากจนเปน็ พเิ ศษ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 59

ส่วนท่ี 4 ภาคผนวก

1. ประกาศมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา เพ่ือการประกันคุณภาพภายใน ปีการศึกษา ๒๕๖4
2. ประกาศค่าเปา้ หมายการพัฒนาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ปกี ารศึกษา ๒๕๖4
3. คำสง่ั แต่งตงั้ คณะกรรมการดำเนนิ งานประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖4
4. คำสั่งแต่งตง้ั คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมนิ คณุ ภาพการศึกษา ปีการศกึ ษา 2564
5. คำสัง่ แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบและรับรองรายงานการประเมินตนเองของครผู ู้สอน (T-SAR)
6. เครอื่ งมอื การประเมินผลและตรวจสอบคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา
7. เกณฑส์ ำหรับการประเมนิ มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
8. ภาพประกอบการดำเนนิ งานประกนั คุณภาพภายใน
9. คำรบั รองรายงานการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 60

ประกาศมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา เพ่อื การประกนั คุณภาพภายใน ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖4

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 61

มาตรฐานการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน ของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ
แนบทา้ ยประกาศโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพฒั นาการ ยานนาเวศ

เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศกึ ษา ระดับการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน ของสถานศกึ ษา
เพื่อการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ประจำปกี ารศึกษา ๒๕๖4
_________________________________________________

มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน เพ่อื การประกนั คณุ ภาพภายใน ของโรงเรยี นเตรียมอุดมศึกษา
พัฒนาการ ยานนาเวศ มจี ำนวน 3 มาตรฐาน โดยแต่ละมาตรฐาน มีรายละเอียดดงั ต่อไปนี้

มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผู้เรียน

1.1 ผลสมั ฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรยี น
1) มีความสามารถในการอา่ น การเขยี น การส่ือสาร และการคดิ คำนวณ
2) มคี วามสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมวี ิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปลีย่ นความคิดเห็น

และแกป้ ัญหา
3) มคี วามสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม
4) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร
5) มีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นตามหลกั สูตรสถานศึกษา
6) มีความรู้ ทักษะพน้ื ฐาน และเจตคติที่ดีตอ่ งานอาชีพ

1.2 คุณลักษณะทพ่ี งึ ประสงคข์ องผู้เรียน
1) การมีคุณลกั ษณะและค่านิยมที่ดีตามทส่ี ถานศึกษากำหนด
2) ความภมู ใิ จในท้องถนิ่ และความเป็นไทย
3) การยอมรบั ทจ่ี ะอย่รู ่วมกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย
4) สุขภาวะทางรา่ งกาย และจิตสังคม

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
2.1 มีเปา้ หมายวสิ ัยทัศน์และพันธกจิ ทีส่ ถานศกึ ษากำหนดชัดเจน
2.2 มรี ะบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษา
2.3 ดำเนินงานพัฒนาวชิ าการทเี่ นน้ คุณภาพผู้เรยี นรอบดา้ นตามหลกั สตู รสถานศึกษา
และทุกกลุม่ เปา้ หมาย
2.4 พฒั นาครูและบคุ ลากรใหม้ คี วามเช่ยี วชาญทางวิชาชพี
2.5 จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมท่ีเออื้ ตอ่ การจัดการเรยี นรูอ้ ยา่ งมคี ุณภาพ
2.6 จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบรหิ ารจัดการและการจดั การเรยี นรู้

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคญั
3.1 จัดการเรียนรผู้ ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ได้
3.2 ใชส้ อ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ท่เี อ้ือต่อการเรียนรู้
3.3 มีการบรหิ ารจดั การชั้นเรยี นเชงิ บวก
3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรยี นอย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผูเ้ รียน
3.5 มีการแลกเปล่ียนเรยี นรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพ่ือพัฒนาและปรบั ปรุงการจดั การเรยี นรู้

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หน้า 62

ประกาศค่าเป้าหมายการพัฒนาตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ปีการศกึ ษา ๒๕๖4

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 63

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 64

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 65

คำสัง่ แตง่ ต้งั คณะกรรมการดำเนนิ งานประกันคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ปีการศึกษา 2564

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 66

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 67

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 68

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 69

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 70

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 71

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 72

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 73

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 74

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 75

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 76

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 77

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 78

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 79

คำส่งั แต่งตงั้ คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินคณุ ภาพการศกึ ษา ปีการศกึ ษา ๒๕๖4

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 80

คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบและรบั รองรายงานการประเมนิ ตนเองของครผู ้สู อน (T-Sar)

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 81

เครื่องมอื การประเมนิ ผลและตรวจสอบคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 82

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 83

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 84

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 85

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 86

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 87

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 88

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 89

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 90

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 91

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 92

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 93

เกณฑ์สำหรับการประเมนิ มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา

มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้เรยี น คะแนน
1. ตารางแสดงน้ำหนักคะแนนย่อยและคะแนนเต็มในประเดน็ การประเมนิ เตม็
5
มาตรฐานการศึกษา
5
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพผเู้ รยี น
5
1.1 ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผ้เู รียน 5
5
1. มีความสามารถในการอ่าน การเขยี น การสื่อสารและการคดิ คำนวณ
1.1 ความสามารถในการอา่ น การเขยี น การสอ่ื สารภาษาไทยตามเกณฑ์การเรียนรู้ 5
1.1.1 ระดับผลการเรยี นรายวชิ าภาษาไทย ตั้งแต่ 2 ขึ้นไป
1.1.2 ผลการประเมนิ การอ่าน คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขียนส่ือความวชิ าภาษาไทยระดบั ดขี น้ึ ไป 5
1.2 ความสามารถในการอา่ น การเขียน การสอ่ื สารภาษาองั กฤษตามเกณฑ์การเรยี นรู้
1.2.1 ระดบั ผลการเรยี นรายวิชาภาษาอังกฤษ ตั้งแต่ 2 ขึ้นไป 5
1.2.2 ผลการประเมนิ การอ่าน คิดวิเคราะหแ์ ละเขยี นสื่อความวชิ าภาษาองั กฤษระดับดขี ึน้ ไป
1.3 ความสามารถในการคำนวณตามเกณฑก์ ารเรยี นรู้ 5
1.3.1 ระดับผลการเรยี นรายวิชาคณติ ศาสตร์ตง้ั แต่ 2 ขน้ึ ไป 5
1.3.2 ผลการประเมินการอา่ น คิดวเิ คราะห์และเขียนสือ่ ความวชิ าคณิตศาสตรร์ ะดบั ดขี ึน้ ไป 5
5
2. มีความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คดิ อย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลีย่ นความคิดเห็นและแกป้ ัญหา

3. มคี วามสามารถในการสร้างนวตั กรรม

4. มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร
4.1 ผลการจดั การเรียนร้รู ายวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศระดบั ผลการเรยี นตั้งแต่ 2 ขนึ้ ไป
4.2 ผลการใชแ้ หล่งเรยี นรแู้ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ

5. มผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นตามหลักสูตรสถานศึกษา
5.1 ผลการเรยี นรตู้ ามหลกั สตู รสถานศกึ ษาระดับผลการเรยี นตั้งแต่ 2 ขน้ึ ไป
5.2 การจบหลักสตู รของนักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 และ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6
5.3 ผลการทดสอบวดั ความรู้ระดบั ชาติ (O-NET) ของนักเรียน ม.3 และ ม.6

6. มีความรู้ ทกั ษะพืน้ ฐานและเจตคตทิ ่ีดตี ่องานอาชีพ

1.2 คุณลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์ของผูเ้ รียน

1. การมคี ุณลกั ษณะและค่านยิ มที่ดีตามสถานศกึ ษากำหนด

2. ความภูมิใจในทอ้ งถ่นิ และความเปน็ ไทย

3. การยอมรับท่ีจะอยรู่ ว่ มกันบนความแตกต่างและความหลากหลาย

4. สุขภาวะทางร่างกายและลกั ษณะจิตสังคม

2. การกำหนดระดบั คณุ ภาพของค่าเป้าหมาย กำหนดเปน็ ระดับคณุ ภาพ 5 ระดับ ดงั น้ี
ระดับ 5 ยอดเยี่ยม ระดับ 4 ดเี ลิศ ระดบั 3 ดี ระดับ 2 ปานกลาง ระดบั 1 กำลังพฒั นา

3. การกำหนดเกณฑ์การใหค้ ะแนน กำหนดเปน็ ช่วงคะแนน ดังนี้

ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ

4.00 – 5.00 ยอดเย่ยี ม (5)

3.50 – 3.99 ดีเลศิ (4)

3.00 – 3.49 ดี (3)

2.50 – 2.99 ปานกลาง (2)

0.00 – 2.49 กำลงั พัฒนา (1)

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หน้า 94

4. ขัน้ ตอนการคำนวณคะแนน คำนวณคะแนนตามลำดับดังนี้
4.1 คำนวณคะแนนดา้ นผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผเู้ รียน มี 6 ประเดน็ พจิ ารณา คือ
- มีความสามารถในการอา่ น การเขียน การสื่อสารและการคดิ คำนวณ
- มีความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คดิ อย่างมีวิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปลย่ี นความคิดเห็นและแก้ปญั หา
- มคี วามสามารถในการสร้างนวตั กรรม
- มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร
- มผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
- มคี วามรู้ ทกั ษะพ้นื ฐานและเจตคติที่ดีต่องานอาชพี
4.2 คำนวณคะแนนดา้ นคณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ของผู้เรียน มี 4 ประเด็นพจิ ารณา คือ
- การมคี ุณลักษณะและคา่ นยิ มท่ดี ีตามสถานศึกษากำหนด
- ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเปน็ ไทย
- การยอมรับที่จะอยูร่ ว่ มกันบนความแตกตา่ งและความหลากหลาย
- สขุ ภาวะทางร่างกายและลักษณะจติ สงั คม
4.3 คำนวณคะแนนรวมดา้ นผลสมั ฤทธิ์ทางวชิ าการ
4.4 คำนวณคะแนนรวมดา้ นคณุ ลกั ษณะที่พึงประสงคข์ องผ้เู รียน
4.5 คำนวณคะแนนรวมท้ัง 2 ดา้ น เป็นคะแนนรวมของมาตรฐานท่ี 1

5. วิธกี ารคำนวณคะแนน
5.1 คำนวณคา่ รอ้ ยละของผลการดำเนินงานตามประเด็นการประเมนิ
5.2 ประเดน็ ท่มี ีคะแนนย่อยจากหลายส่วนใช้น้ำหนกั คะแนนคำนวณตามสัดสว่ น
5.3 นำค่าร้อยละของผลการดำเนนิ งานคณู นำ้ หนกั คะแนนแต่ละประเด็นเทียบบัญญัตไิ ตรยางศ์
5.4 รวมคะแนนแตล่ ะประเด็น (หากมปี ระเดน็ ย่อย)

1.1 ผลสัมฤทธิท์ างวชิ าการของผู้เรยี น มี 6 ประเดน็ ดงั น้ี
1) ประเดน็ ที่ 1 มีความสามารถในการอา่ น การเขยี น การสอ่ื สารและการคิดคำนวณ (5 คะแนน)
ประเด็นยอ่ ย 1.1 ความสามารถในการอ่าน การเขยี น การสอื่ สารภาษาไทยตามเกณฑ์การเรียนรู้
1.1.1 ระดับผลการเรียนรายวชิ าภาษาไทย ตง้ั แต่ 2 ขน้ึ ไป
(น้ำหนกั คะแนน 3 คะแนน)

วธิ คี ดิ คะแนน

รอ้ ยละของจำนวนนกั เรียนท่ีมีระดับผลการเรียนตั้งแต่ 2 ขึ้นไป X 3
100

1.1.2 ผลการประเมนิ การอ่าน คดิ วเิ คราะห์และเขยี นส่ือความวิชาภาษาไทย ระดบั ดีข้ึนไป
(น้ำหนักคะแนน 2 คะแนน)

วิธคี ิดคะแนน

รอ้ ยละของจำนวนนักเรียนที่มรี ะดบั ผลการประเมนิ การอ่านฯ ในระดับดี (2) ขน้ึ ไป X 2
100

คะแนนท่ไี ด้ในประเดน็ ย่อยที่ 1.1 วชิ าภาษาไทย (เตม็ 5 คะแนน)
ค่าคะแนนจาก 1.1.1 (3 คะแนน) + ค่าคะแนนจาก 1.1.2 (2 คะแนน) = 5 คะแนน

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หน้า 95


Click to View FlipBook Version