The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by The Master, 2022-05-28 12:35:48

SAR2564@TUPY_E-Book

SAR2564@TUPY_E-Book

Keywords: SAR2564@TUPY_E-Book

ประเด็นยอ่ ย 1.2 ความสามารถในการอ่าน การเขยี น การส่ือสารภาษาอังกฤษตามเกณฑ์การเรยี นรู้
1.2.1 ระดบั ผลการเรยี นรายวิชาภาษาองั กฤษ ตัง้ แต่ 2 ขึ้นไป
(นำ้ หนกั คะแนน 3 คะแนน)

วธิ ีคดิ คะแนน

ร้อยละของจำนวนนักเรียนท่ีมีระดบั ผลการเรยี นตั้งแต่ 2 ขึ้นไป X 3
100

1.2.2 ผลการประเมินการอา่ น คิดวเิ คราะห์และเขียนส่อื ความวชิ าภาษาองั กฤษ ระดบั ดขี ้ึนไป
(นำ้ หนกั คะแนน 2 คะแนน)

วธิ คี ดิ คะแนน

ร้อยละของจำนวนนกั เรยี นที่มีระดบั ผลการประเมินการอา่ นฯ ในระดับดี (2) ข้นึ ไป X 2
100

คะแนนทไี่ ดใ้ นประเด็นท่ี 1.2 วชิ าภาษาอังกฤษ (เต็ม 5 คะแนน)
คา่ คะแนนจาก 1.2.1 (3 คะแนน) + ค่าคะแนนจาก 1.2.2 (2 คะแนน) = 5 คะแนน

ประเด็นยอ่ ย 1.3 ความสามารถในการคำนวณตามเกณฑ์การเรยี นรู้ (5 คะแนน)
1.3.1 ระดบั ผลการเรียนรายวชิ าคณิตศาสตร์ ตง้ั แต่ 2 ขนึ้ ไป
(น้ำหนักคะแนน 3 คะแนน)

วธิ คี ดิ คะแนน

ร้อยละของจำนวนนักเรียนท่ีมรี ะดับผลการเรยี นตงั้ แต่ 2 ขึ้นไป X 3
100

1.3.2 ผลการประเมินการอ่าน คดิ วเิ คราะห์และเขียนสอื่ ความวชิ าคณติ ศาสตร์ ระดบั ดขี ึน้ ไป
(นำ้ หนักคะแนน 2 คะแนน)

วธิ ีคดิ คะแนน

รอ้ ยละของจำนวนนักเรียนที่มรี ะดบั ผลการประเมนิ การอา่ นฯ ในระดับดี (2) ขึน้ ไป X 2
100

คะแนนทีไ่ ดใ้ นประเด็นย่อยที่ 1.3 วิชาคณติ ศาสตร์ (เต็ม 5 คะแนน)
คา่ คะแนนจาก 1.2.1 (3 คะแนน) + คา่ คะแนนจาก 1.2.2 (2 คะแนน) = 5 คะแนน

สรุปคะแนนรวมประเด็นท่ี 1 จากประเด็นยอ่ ยทัง้ หมด (เตม็ 5 คะแนน)

วธิ คี ดิ คะแนน

ค่าคะแนนจากรายการประเด็นย่อย 1.1 + รายการประเด็นยอ่ ย 1.2 + รายการประเดน็ ย่อย 1.3 X 3
100

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หน้า 96

2) ประเด็นที่ 2 มคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คิดอย่างมวี จิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคดิ เหน็
และแก้ปญั หา (5 คะแนน)

วิธคี ิดคะแนน

ร้อยละของจำนวนนกั เรียนที่ผ่านเกณฑ์การประเมินความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คดิ อย่างมวี ิจารณญาณ
อภปิ รายแลกเปลย่ี นความคดิ เห็นและแกป้ ญั หาในระดับดขี ้ึนไป (2) X 5

100

3) ประเดน็ ท่ี 3 มีความสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม (5 คะแนน)

วิธคี ิดคะแนน

ร้อยละของจำนวนนักเรยี นที่ผ่านเกณฑ์การประเมินความสามารถในการสร้างนวัตกรรมในระดบั ดขี ้นึ ไป (2) X 5
100

4) ประเด็นที่ 4 มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร (5 คะแนน)
ประเด็นย่อย 4.1 ผลการจดั การเรียนรรู้ ายวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ ต้งั แต่ 2 ขึ้นไป
(น้ำหนักคะแนน 3 คะแนน)

วธิ ีคดิ คะแนน

ร้อยละของจำนวนนกั เรยี นท่ีมรี ะดบั ผลการเรียนตง้ั แต่ 2 ขึ้นไป X 2
100

ประเด็นยอ่ ย 4.2 ผลการใชแ้ หลง่ เรียนรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศ (นำ้ หนักคะแนน 2 คะแนน)

วธิ ีคดิ คะแนน

ร้อยละของจำนวนนกั เรยี นที่ใชแ้ หลง่ เรยี นรู้และเทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ การเรียนการสอน X 2
100

คะแนนทไี่ ดใ้ นประเด็นท่ี 4 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร
คา่ คะแนนจาก 4.1 (3 คะแนน) + คา่ คะแนนจาก 4.2 (2 คะแนน) = 5 คะแนน

5) ประเดน็ ที่ 5 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา (5 คะแนน)
ประเดน็ ยอ่ ย 5.1 ผลการจดั การเรียนรูต้ ามหลกั สตู รสถานศกึ ษาฯ ตงั้ แต่ 2 ขนึ้ ไป
(นำ้ หนกั คะแนน 2 คะแนน)

วิธคี ิดคะแนน

ร้อยละของจำนวนนกั เรียนที่มีระดบั ผลการเรียนต้ังแต่ 2 ข้ึนไป X 2
100

ประเด็นย่อย 5.2 การจบหลักสูตรการศึกษาของนักเรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 และ 6
(นำ้ หนกั คะแนน 1 คะแนน)

วิธีคิดคะแนน

รอ้ ยละของจำนวนนักเรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 และชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 จบหลักสตู ร X 2
100

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 97

ประเดน็ ย่อย 5.3 ผลการทดสอบวัดความร้รู ะดบั ชาติ (O-NET) ของนกั เรียนชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 3 และ 6
(น้ำหนกั คะแนน 2 คะแนน)

วิธคี ดิ คะแนน

ร้อยละของคะแนนพฒั นาการจากคะแนนผลการทดสอบวัดความรูร้ ะดับชาติ X 2
100

สรปุ คะแนนคะแนนทีไ่ ดใ้ นประเด็นท่ี 5 (เต็ม 5 คะแนน)
คา่ คะแนนจาก 5.1 (2 คะแนน) + ค่าคะแนนจาก 5.2 (1 คะแนน) + คา่ คะแนนจาก 5.3 (2 คะแนน) = 5 คะแนน

6) ประเด็นที่ 6 มีความรู้ ทักษะพ้นื ฐานและเจตคตทิ ี่ดตี อ่ งานอาชีพ (5 คะแนน)

วธิ ีคิดคะแนน

ร้อยละของจำนวนนักเรยี นที่มีความรทู้ กั ษะพ้ืนฐานและเจตคติท่ดี ตี อ่ งานอาชพี ในระดับดขี ึ้นไป (2) X 5
100

1.2 คุณลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์ของผ้เู รยี น มี 4 ประเด็น ดังน้ี
1) ประเด็นท่ี 1 การมคี ุณลกั ษณะและคา่ นยิ มทด่ี ีตามสถานศกึ ษากำหนด (5 คะแนน)

วธิ ีคิดคะแนน

รอ้ ยละของจำนวนนักเรยี นท่ีมคี ุณลักษณะและค่านิยมท่ดี ีตามสถานศึกษากำหนดในระดบั ดขี ึ้นไป (2) X 5
100

2) ประเดน็ ที่ 2 ความภูมิใจในท้องถ่ินและความเปน็ ไทย (5 คะแนน)

วธิ คี ดิ คะแนน

รอ้ ยละของจำนวนนักเรยี นทีเ่ ข้ารว่ มกจิ กรรมและมคี วามพึงพอใจในความภมู ใิ จในท้องถนิ่ และความเปน็ ไทย X 5
100

3) ประเดน็ ท่ี 3 การยอมรับทจี่ ะอยู่ร่วมกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย (5 คะแนน)

วิธีคดิ คะแนน

รอ้ ยละของจำนวนนกั เรยี นที่ยอมรบั ทจ่ี ะอยู่รว่ มกันบนความแตกต่างและหลากหลาย X 5
100

4) ประเดน็ ที่ 4 สุขภาวะทางรา่ งกายและลกั ษณะจิตสังคม (5 คะแนน)
ประเด็นยอ่ ย 4.1 สุขภาวะทางรา่ งกาย ที่มีผลการประเมินปกติ (นำ้ หนักคะแนน 2.5 คะแนน)

วิธีคิดคะแนน

ร้อยละของจำนวนนกั เรียนท่ีมสี ขุ ภาวะทางร่างกายปกติ X 2.5
100

ประเดน็ ย่อย 4.2 ลกั ษณะจิตสังคม (นำ้ หนักคะแนน 2.5 คะแนน)

วิธคี ดิ คะแนน

รอ้ ยละของจำนวนนักเรียนท่ีมีลักษณะจิตสังคมปกติ X 2.5
100

คะแนนทไี่ ด้ในประเดน็ ที่ 4 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร

ค่าคะแนนจาก 4.1 (2.5 คะแนน) + คา่ คะแนนจาก 4.2 (2.5 คะแนน) = 5 คะแนน

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หน้า 98

6. แหล่งขอ้ มลู / การเก็บรวบรวมข้อมูล
1. แบบรายงานการพฒั นาคุณภาพผเู้ รียนรายบุคคล (ปพ.5)
2. รายงานสรปุ การประเมนิ ผลการจดั การเรียนการสอนทุกรายวชิ า
3. รายงานสรปุ การประเมินผลด้านการอ่าน คิด วเิ คราะห์และเขียนส่ือความทุกรายวิชา
4. รายงานสรปุ การประเมินผลดา้ นคุณลักษณะท่ีพึงประสงคท์ กุ รายวิชา
5. ตรวจสอบแผนพฒั นาการจดั การศกึ ษา แผนปฏิบตั ิการประจำปี รายงานสรปุ ผลการดำเนินโครงการ
และกิจกรรมตา่ งๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมท้ังรางวัลของผู้เรียนสถานศกึ ษา
6. การสังเกต สอบถาม บันทึกข้อมลู
7. งานทะเบยี นโรงเรยี น กล่มุ บรหิ ารวิชาการ
8. อ่นื ๆ (ถา้ มี)

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
ประเดน็ ท่ี 1 การมีเปา้ หมาย วสิ ยั ทัศน์ และพนั ธกจิ ทีส่ ถานศกึ ษากำหนดชัดเจน

ระดับ คำอธบิ ายระดบั คุณภาพ
5 สถานศึกษามีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่กำหนดไว้ ตรงกับวัตถุประสงค์ของแผนการศึกษา

ยอดเย่ียม ชาติ และสอดคล้องกบั ความต้องการของชุมชนอยา่ งชดั เจน และมีส่วนร่วม
4 สถานศึกษามีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่กำหนดไว้ ตรงกับวัตถุประสงค์ของแผนการศึกษา
ดเี ลิศ ชาติ และสอดคล้องกับความต้องการของชมุ ชนอย่างชดั เจน และมสี ว่ นร่วมบ้าง
3 สถานศึกษามีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่กำหนดไว้ ตรงกับวัตถุประสงค์ของแผนการศึกษา
ดี ชาติ และสอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของชมุ ชนอย่างชดั เจน
2 สถานศึกษามีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่กำหนดไว้ ตรงกับวัตถุประสงค์ของแผนการศึกษา

ปานกลาง ชาติ และสอดคล้องกับความตอ้ งการของชมุ ชนขาดความชดั เจน
1 สถานศึกษามีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่กำหนดไว้ ตรงกับวัตถุประสงค์ของแผนการศึกษา

กำลังพัฒนา ชาติ และสอดคลอ้ งกับความต้องการของชุมชนขาดความชดั เจน และไม่มีส่วนร่วม

ประเด็นที่ 2 มีระบบบริหารจัดการคณุ ภาพของสถานศกึ ษา
ระดับ คำอธบิ ายระดบั คุณภาพ
5 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาที่ชัดเจนมีประสิทธิภาพ ส่งผลต่อคุณภาพตาม
ยอดเย่ยี ม มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา โดยความร่วมมือของผู้เก่ียวขอ้ งทกุ ฝ่ายมีการนำข้อมูลมาใช้ใน
การปรับปรงุ พฒั นางานอยา่ งตอ่ เน่อื งและเป็นแบบอย่างได้
4 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาที่ชัดเจนมีประสิทธิภาพ ส่งผลต่อคุณภาพตาม
ดีเลศิ มาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา โดยความรว่ มมอื ของผเู้ กยี่ วข้องทุกฝ่าย
3 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาที่ชัดเจนส่งผลต่อคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
ดี ของสถานศึกษา
2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
ปานกลาง ของสถานศกึ ษา
1 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาแต่ไม่ส่งผลต่อคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา

กำลังพฒั นา ของสถานศึกษา

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หน้า 99

ประเดน็ ที่ 3 ดำเนินงานพัฒนาวชิ าการทเ่ี น้นคณุ ภาพของผู้เรยี นรอบด้านตามหลกั สูตรสถานศึกษาและกล่มุ เปา้ หมาย
ระดับ คำอธิบายระดบั คุณภาพ
5 มีการวางแผนและดำเนนิ งานพัฒนาวชิ าการที่เนน้ คุณภาพผเู้ รียนรอบดา้ นตามหลักสูตรสถานศึกษา
ยอดเยยี่ ม และทุกกล่มุ เปา้ หมาย เช่ือมโยงกบั ชีวติ จริง และเป็นแบบอยา่ งได้
4 มกี ารวางแผนและดำเนนิ งานพัฒนาวชิ าการที่เนน้ คณุ ภาพผ้เู รียนรอบดา้ นตามหลักสูตรสถานศึกษา
ดีเลศิ และทกุ กลุ่มเป้าหมาย เชอ่ื มโยงกับชวี ติ จรงิ
3 มีการวางแผนและดำเนนิ งานพฒั นาวิชาการที่เนน้ คุณภาพผู้เรียนรอบดา้ นตามหลักสูตรสถานศึกษา
ดี และทุกกลุ่มเป้าหมาย
2 มกี ารวางแผนและดำเนนิ งานพฒั นาวิชาการทเ่ี น้นคุณภาพผู้เรยี นรอบดา้ นตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา
ปานกลาง
1 มีการวางแผนและดำเนินงานพฒั นาวชิ าการตามหลกั สตู รสถานศึกษา

กำลังพัฒนา

ประเด็นที่ 4 พัฒนาครูและบคุ ลากรให้มคี วามเช่ียวชาญทางวิชาชพี
ระดับ คำอธบิ ายระดับคุณภาพ
5 พัฒนาครูและบุคลากรทั้งหมดให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ มีความรู้ ความสามารถและทักษะ
ยอดเยย่ี ม ตามมาตรฐานตำแหนง่
4 พฒั นาครแู ละบุคลากรท้งั หมดให้มีความรู้ ความสามารถและทักษะตามมาตรฐานตำแหน่ง
ดีเลิศ
3 พัฒนาครูและบุคลากรทงั้ หมดใหม้ คี วามรู้ ความสามารถตามหนา้ ท่ี
ดี
2 ครูบางส่วนได้รับการพฒั นาครูและบุคลากรใหม้ คี วามรู้
ปานกลาง
1 ไม่มีการพฒั นาครแู ละบคุ ลากรใหม้ ีความรูแ้ ละความสามารถตามหนา้ ท่ี

กำลังพัฒนา

ประเด็นที่ 5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมทเ่ี ออื้ ตอ่ การจดั การเรียนรู้
ระดบั คำอธบิ ายระดบั คุณภาพ
5 จัดหรอื ปรับสภาพแวดล้อมทางกายภาพท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษา ใหป้ ลอดภยั และเอื้อต่อ
ยอดเยี่ยม การเรยี นรู้ จัดเทคโนโลยี สงิ่ อำนวยความสะดวก ส่ือ บริการและความช่วยเหลืออน่ื ใดทางการศึกษา
ใหผ้ ู้เรยี นไดเ้ ข้าถงึ และใชป้ ระโยชน์ได้จากแหลง่ เรยี นรตู้ ามศักยภาพและเปน็ แบบอยา่ งได้
4 จดั หรอื ปรบั สภาพแวดล้อมทางกายภาพทง้ั ภายในและภายนอกสถานศึกษาให้ปลอดภัยและเอ้ือต่อ
ดเี ลิศ การเรียนรู้ จัดเทคโนโลยี สง่ิ อำนวยความสะดวก สือ่ บรกิ ารและความช่วยเหลอื อ่นื ใดทางการศึกษา
ใหผ้ เู้ รียนไดเ้ ข้าถึงและใชป้ ระโยชน์ได้จากแหล่งเรยี นรู้ตามศักยภาพ
3 จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมท่ีปลอดภัยและเอ้ือต่อการจดั การเรยี นรู้อยา่ งมคี ุณภาพ
ดี
2 จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมทป่ี ลอดภัยและเอื้อตอ่ การจดั การเรียนรู้
ปานกลาง
1 มีการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คม

กำลงั พฒั นา

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หน้า 100

ประเดน็ ที่ 6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ สนับสนุนการบรหิ ารจดั การและการจัดการเรียนรู้
ระดบั คำอธบิ ายระดบั คุณภาพ
5 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีความถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย นำไปประยุกต์ใช้ใน
ยอดเยีย่ ม การดำเนินการอย่างเป็นระบบ และมีกระบวนการส่งต่อและเปลีย่ นผ่าน (Transition) สำหรับผ้ทู ่มี ี
ความต้องการใช้งาน เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพ
ของสถานศกึ ษา
4 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีความถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย นำไปประยุกต์ใช้ได้
ดเี ลศิ และมีกระบวนการส่งต่อและเปลี่ยนผ่าน (Transition) สำหรับผู้ที่มีความต้องการใช้งาน
เพ่อื สนับสนนุ การบริหารจัดการและการจดั การเรยี นร้ทู เี่ หมาะสมกบั สภาพของสถานศึกษา
3 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีความถูกต้อง หรือครบถ้วน หรือทันสมัย นำไปประยุกต์ใช้ได้
ดี และมีกระบวนการส่งต่อและเปลี่ยนผ่าน (Transition) สำหรับผู้ที่มีความต้องการใช้งาน
เพือ่ สนบั สนุนการบริหารจดั การและการจดั การเรยี นรู้
2 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีความถูกต้อง ครบถ้วน แต่ไม่ทันสมัย นำไปประยุกต์ใช้ได้
ปานกลาง ไม่มกี ระบวนการส่งตอ่ และเปลีย่ นผา่ น (Transition) สำหรับผ้ทู ี่มคี วามต้องการใชง้ าน
1 ไมม่ กี ารจดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

กำลงั พฒั นา

แหลง่ ข้อมลู / การเก็บรวบรวมข้อมลู
ประเด็นพิจารณาท่ี 1
๑. การสอบถามและสมั ภาษณ์ คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้บรหิ ารสถานศึกษา ครู และผูเ้ ก่ยี วข้อง
๒. การตรวจสอบเอกสาร หลักฐาน ร่องรอย เช่น แผนการพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา รายงานประจำปี

แผนปฏิบัตกิ ารประจำปี และรายงานผลการดำเนนิ งานโครงการและกิจกรรม
๓. สรุปผลความพึงพอใจของครูและผเู้ ก่ยี วข้องต่อการพฒั นาคณุ ภาพสถานศึกษา

ประเดน็ พิจารณาที่ 2
๑. การสอบถามและสัมภาษณ์ คณะกรรมการสถานศกึ ษา ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา ครู และผู้เก่ยี วข้อง
๒. การตรวจสอบเอกสาร หลักฐาน ร่องรอย เช่น แผนการพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา รายงานประจำปี

แผนปฏิบตั ิการประจำปี และรายงานผลการดำเนนิ งานโครงการและกจิ กรรม
๓. สรุปผลการความพึงพอใจของครูและผ้เู กี่ยวขอ้ งตอ่ การพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา

ประเดน็ พิจารณาท่ี 3
1. การสอบถามและสัมภาษณ์ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ผ้บู รหิ ารสถานศึกษา ครู นกั เรยี น และผู้ปกครอง
2. การตรวจสอบเอกสาร หลักฐาน ร่องรอย การบริหารจัดการสถานศึกษา เช่น แผนพัฒนาการจัดการศึกษา

แผนปฏิบัติการประจำปี รายงานประจำปี หลักสูตรสถานศึกษา แผนการจัดการเรียนรู้ การรายงานผลการสำเร็จ
ของการบริหารจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา ผลการประเมินความพึงพอใจของคณะกรรมการสถานศึกษา
ครู บุคลากรและผู้เก่ียวขอ้ ง เป็นตน้
3. ประเมินมาตรฐาน อาคารสถานที่ สภาพแวดล้อม ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ ห้องสมุด แหล่งเรียนรู้ และห้องพิเศษ
ตา่ งๆ ของสถานศกึ ษา

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 101

ประเด็นพิจารณาที่ 4
๑. การสงั เกตพฤตกิ รรมของครู และการสอบถามสัมภาษณ์ครู ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา ผเู้ รียน ผูป้ กครอง และชุมชน
๒. สรุปผลการประเมนิ และการพฒั นาครูตามมาตรฐานความรู้ของมาตรฐานความรู้ของวิชาชพี พ.ศ. ๒๕๕๖
๓. การตรวจสอบเอกสาร หลักฐาน ร่องรอย การพัฒนาตนเองของครู รายงานผลการปฏิบัติงานครูรายบุคคล เป็นต้น

ประเด็นพิจารณาท่ี 5
๑. การสอบถามและสมั ภาษณ์ คณะกรรมการสถานศกึ ษา ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา ครู และผเู้ ก่ยี วข้อง
๒. การตรวจสอบเอกสาร หลักฐาน ร่องรอย เช่น แผนการพัฒนาการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพของสถานศึกษา

รายงานประจำปี และสรุปรายงานผลการดำเนนิ งานโครงการและกิจกรรม

ประเด็นพจิ ารณาท่ี 6
๑. การสอบถามและสมั ภาษณผ์ บู้ ริหารสถานศึกษา ครูและผ้เู กี่ยวข้อง
๒. การตรวจสอบเอกสาร หลักฐาน ร่องรอย หรือข้อมูลเชิงประจักษ์ เช่น ระบบโครงสร้างการบริหารงานเทคโนโลยี

สารสนเทศของสถานศกึ ษา เปน็ ตน้

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผู้เรยี นเป็นสำคญั

1. ตารางแสดงนำ้ หนกั คะแนนย่อยและคะแนนเตม็ ในประเด็นการประเมนิ

มาตรฐานการศึกษา นำ้ หนกั คะแนน
คะแนน เต็ม
5
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเี่ น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ 25
5
3.1 จดั การเรียนรูผ้ ่านกระบวนการคิดและปฏิบตั ิจรงิ และสามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ในชีวิตได้ 5
5
1. มีแผนการจดั การเรยี นรู้ทเี่ น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญท่ีกระตุ้นใหผ้ เู้ รยี นได้รับกระบวนการคิดและได้ปฏิบัติจริง

2. มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่เนน้ ให้ผู้เรียนเกิดความคิด จนสามารถสรุปองค์ความรู้ด้วยตนเองและสามารถ

สอ่ื สาร ถา่ ยทอด นำเสนอองค์ความรู้ได้

3. มแี ผนการจัดการเรียนรทู้ ่ชี ว่ ยส่งเสริมหรือแกป้ ัญหานกั เรียนทมี่ ผี ลการเรยี นต่ำกวา่ เกณฑ์

4. มีแผนการจัดการเรยี นร้ทู ส่ี ามารถเชื่อมโยงและประยุกตใ์ ช้ในชีวิตประจำวนั

5. มรี ปู แบบหรอื วธิ กี ารจดั การเรยี นรู้ท่ีเฉพาะสำหรับนักเรยี นท่ีมปี ญั หาทางดา้ นการเรียน

6. มีรูปแบบหรือวิธีการจัดการเรียนรู้ที่เฉพาะสำหรับนักเรียน ที่มีผลการเรียนต่ำกว่าเกณฑ์ระดับดีขึ้นไป

7. มโี ครงการหรือกิจกรรมทีช่ ว่ ยสง่ เสริมหรือแก้ปัญหานักเรียนทม่ี ผี ลการเรยี นต่ำกวา่ เกณฑ์

8. มีรายงานและสรุปผลสำเร็จของโครงการหรือความพึงพอใจต่อกิจกรรมที่ช่วยส่งเสริมหรือแก้ปัญหา

นักเรยี นท่ีมผี ลการเรียนต่ำกวา่ เกณฑ์

3.2 ใช้สอ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรยี นร้ทู ่ีเอือ้ ตอ่ การเรยี นรู้ 5

1. จัดโครงสร้างหรือระบบการบริหารงานที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ที่มีคุณภาพ พิจารณาจากการสอนการใช้

เทคโนโลยสี ารสนเทศและแหล่งเรียนรู้

2. มีคณะกรรมการงานพัฒนาสือ่ นวัตกรรมและเทคโนโลยี เพอ่ื การศกึ ษาระดับสถานศึกษา

3. การขับเคลื่อนกลไกใหม้ ีการสร้างส่อื การใชส้ อื่ การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและแหลง่ เรียนรู้

4. การกำหนดผูร้ บั ผดิ ชอบงานทางด้านสอ่ื นวัตกรรม

5. การจัดระบบการบริการ สะดวกต่อการเขา้ ถึงและการให้บริการ

6. มขี อ้ มลู สารสนเทศทางด้านส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศและแหลง่ เรียนรู้

7. มีขอ้ มูลสารสนเทศของผูเ้ รยี น ครู และผบู้ ริหารเป็นรายบคุ คลถกู ตอ้ ง ครบถว้ นและเป็นปัจจบุ นั

8. การนำสือ่ การใชส้ ่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศและแหลง่ เรียนรู้มาใช้ในการพัฒนาการเรยี นการสอน

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หน้า 102

มาตรฐานการศึกษา น้ำหนัก คะแนน
คะแนน เต็ม
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่เี น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ 5
25
3.3 มีการบรหิ ารจดั การช้ันเรยี นเชิงบวก 5
1. การวิเคราะหห์ ลกั สูตรเพ่อื การจดั การเรยี นการสอนทีม่ ปี ระสิทธภิ าพ 5
2. การวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลและนำข้อมูลมาใช้ในการวางแผน การจัดการเรียนรู ้ และจัดทำ 5
5
โครงการสอนรายบุคคล เพ่อื พฒั นาผเู้ รยี นใหส้ อดคล้องกบั ความแตกตา่ งระหว่างบุคคล 5
3. การออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้และการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามโครงการสอน 5

รายบุคคลด้วยกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัดการเรียน
การสอน
4. บริหารจัดการชั้นเรียนและจัดบรรยากาศการเรียนรู้ เพื่อให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ ผู้เรียน
เกิดการเรียนรอู้ ยา่ งมีความสขุ
5. การใช้สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีภูมปิ ัญญาท้องถิ่น และแหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกสถานศึกษา
6. การศึกษา ค้นคว้าวิจัยเพื่อพัฒนาสื่อการเรียนการสอน และกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคญั
โดยมีงานวิจยั หรือผลงาน หรือสื่อ นวตั กรรมอยา่ งนอ้ ยปลี ะ 1 ชิ้น
7. มีการประเมินผลและรายงานการจัดรายงานนิทรรศการ ทางวิชาการของโรงเรียน และรายงาน
กิจกรรม IS
3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รียนอยา่ งเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผ้เู รยี น
1. มีการวัดและประเมินผลผู้เรียนตามสมรรถนะสำคัญ ตามหลักสูตรโดยการประเมินผู้เรียนจากสภาพจริง
2. มีการกำหนดขนั้ ตอนการวัดและประเมินผลอย่างเปน็ ระบบ
3. ใชเ้ ครื่องมือและวธิ กี ารวดั และประเมนิ ผลท่ีเหมาะสมกับเป้าหมาย และการจัดการเรียนการสอน
4. ผูเ้ รยี นและผูเ้ กี่ยวขอ้ งมสี ่วนรว่ มในการวัดและประเมนิ ผล
5. ใหข้ อ้ มลู ย้อนกลบั แก่ผเู้ รยี นและผูเ้ รยี นนำไปใชป้ ระโยชน์
3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้และให้ข้อมูลสะทอ้ นกลบั เพ่ือพัฒนาและปรบั ปรงุ การจัดการเรยี นรู้
1. การสร้างเสริมแนวคดิ เรอ่ื งการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ เพื่อพฒั นาและปรับปรุงการจดั การเรยี นรู้ มุ่งการพัฒนา
คณุ ภาพจัดการเรียนร้อู ย่างต่อเนื่อง
2. การนำผลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจดั การเรียนรู้
3. การวเิ คราะห์ สังเคราะห์ วิจยั และเลือกสรรข้อมลู สารสนเทศไปใชพ้ ฒั นาคุณภาพการจัดการเรียนรู้
4. การสร้างวัฒนธรรมคุณภาพให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในสถานศึกษาเป็นการทำงานปกติ
ของสถานศกึ ษา
5. การจัดกิจกรรมแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ เพ่อื การพัฒนาคณุ ภาพการจดั การเรียนรู้อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
6. การพัฒนาสถานศกึ ษาให้เปน็ องคก์ รแห่งการเรยี นรู้
7. การจดั กจิ กรรมแลกเปล่ยี นเรียนรใู้ ห้สอดคลอ้ งกบั ภารกิจการปฏบิ ัตงิ านของสถานศึกษา
8. การเผยแพร่ ประชาสมั พันธ์ผลการดำเนนิ งานอยา่ งต่อเน่ือง

2. การกำหนดระดับคณุ ภาพของค่าเปา้ หมาย กำหนดเปน็ ระดบั คุณภาพ 5 ระดบั ดงั นี้
ระดับ 5 ยอดเยยี่ ม ระดับ 4 ดีเลศิ ระดับ 3 ดี ระดบั 2 ปานกลาง ระดับ 1 กำลังพฒั นา

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ
สถานศึกษาดำเนนิ การได้จรงิ 4.00 – 5.00 ยอดเยี่ยม (5)
3.50 – 3.99
จำนวน 8 ขอ้ 3.00 – 3.49 ดีเลศิ (4)
จำนวน 7 ข้อ 2.50 – 2.99 ดี (3)
จำนวน 6 ขอ้ 0.00 – 2.49 ปานกลาง (2)
จำนวน 4 – 5 ขอ้ กำลังพัฒนา (1)
จำนวน 1 – 3 ข้อ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 103

3. วิธีการคำนวณคะแนน
3.1 พจิ ารณาผลการปฏบิ ัตงิ านของโรงเรียนในแตล่ ะประเดน็ โดยพิจารณากจิ กรรมท่ีดำเนนิ การในประเด็นตวั ชวี้ ดั
3.2 นำไปเทียบกับเกณฑ์การให้คะแนน พิจารณาระดับคณุ ภาพ
3.3 หาคา่ รอ้ ยละของผลการประเมนิ โดยใช้สตู ร

จำนวนกิจกรรมที่ดำเนินการไดจ้ ริงในแต่ละประเดน็ ตวั ช้ีวัด X 100
จำนวนกิจกรรมทัง้ หมดในแตล่ ะประเด็นตัวชวี้ ัด

4. แหล่งขอ้ มลู / การเก็บรวบรวมข้อมลู
๑. การสอบถามและสัมภาษณผ์ ู้บรหิ ารสถานศึกษา ครูและผเู้ กยี่ วข้อง
๒. การตรวจสอบเอกสาร หลักฐาน รอ่ งรอย หรือข้อมูลเชงิ ประจักษ์ เช่น ระบบโครงสร้างการบริหารงาน
เทคโนโลยีสารสนเทศของสถานศึกษา เป็นต้น

5. ประเด็นพิจารณา
ตัวบ่งชี้ท่ี 3.1 จัดการเรยี นรผู้ ่านกระบวนการคดิ และปฏิบตั ิจริง และสามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ในการดำเนินชีวิต (5 คะแนน)

คำอธบิ าย
จัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษาที่เน้นให้ผู้เรียนได้
เรียนรู้โดยผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง มีแผนการจัดการเรียนรู้เชิงบวก ท่ีสามารถนำไปจัดกิจกรรมได้จริง
มรี ูปแบบการจัดการเรียนรู้เฉพาะสำหรับผู้ท่มี ีความจำเปน็ และต้องการความช่วยเหลือพิเศษ ผเู้ รียนได้รับการฝึกทักษะ
การแสดงออก การแสดงความคิดเห็น สรปุ องคค์ วามรู้ นำเสนอผลงานและความสามารถนำไปประยกุ ตใ์ ช้ได้จริง

เกณฑ์การพิจารณา
1. มแี ผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ีเนน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ ทกี่ ระตุน้ ให้ผูเ้ รียนไดร้ ับกระบวนการคิด และไดป้ ฏิบัตจิ ริง
2. มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนเกิดความคิด จนสามารถสรุปองค์ความรู้ด้วยตนเอง และสามารถสื่อสาร

ถ่ายทอด นำเสนอองค์ความร้ไู ด้
3. มแี ผนการจัดการเรียนรทู้ ่ีชว่ ยสง่ เสรมิ หรอื แกป้ ญั หานกั เรียนท่ีมีผลการเรียนต่ำกว่าเกณฑ์
4. มีแผนการจัดการเรียนรทู้ ี่สามารถเชือ่ มโยงและประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจำวนั
5. มรี ูปแบบหรือวิธีการจดั การเรียนรูท้ ีเ่ ฉพาะสำหรับนกั เรยี นท่มี ปี ัญหาทางดา้ นการเรยี น
6. มรี ปู แบบหรอื วิธกี ารจดั การเรยี นรู้ทเ่ี ฉพาะสำหรบั นกั เรียน ทมี่ ีผลการเรยี นต่ำกวา่ เกณฑ์
7. มีโครงการหรือกิจกรรมท่ีช่วยส่งเสรมิ หรือแกป้ ัญหานกั เรียนท่มี ีผลการเรียนต่ำกว่าเกณฑ์
8. มีรายงานและสรุปผลสำเร็จของโครงการหรือความพึงพอใจต่อกิจกรรมที่ช่วยส่งเสริมหรือแก้ปัญหานักเรียน

ทมี่ ผี ลการเรียนต่ำกวา่ เกณฑ์

เกณฑ์การให้คะแนน ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ
สถานศึกษาดำเนินการได้จรงิ 4.00 – 5.00 ยอดเยย่ี ม (5)
3.50 – 3.99
จำนวน 8 ขอ้ 3.00 – 3.49 ดเี ลศิ (4)
จำนวน 7 ข้อ 2.50 – 2.99 ดี (3)
จำนวน 6 ขอ้ 0.00 – 2.49 ปานกลาง (2)
จำนวน 4 – 5 ขอ้ กำลงั พฒั นา (1)
จำนวน 1 – 3 ขอ้

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หน้า 104

แหลง่ ข้อมูล / การเก็บรวบรวมข้อมลู
1. แผนการจดั การเรียนรทู้ เ่ี น้นผู้เรยี นเป็นสำคัญของทุกกลุ่มสาระ
2. แผนการจัดการเรียนร้ทู ช่ี ว่ ยสง่ เสริมหรอื แกป้ ัญหานักเรียนท่มี ีผลการเรียนต่ำกว่าเกณฑ์
3. บนั ทึกการจัดการเรยี นรเู้ ฉพาะสำหรับนักเรยี นทมี่ ปี ัญหาทางดา้ นการเรียน
4. โครงการหรือกจิ กรรมท่ชี ่วยสง่ เสริมหรือแกป้ ัญหานักเรียนทม่ี ีผลการเรียนตำ่ กวา่ เกณฑ์
5. เอกสารประกอบการสอน ร่องรอย รูปภาพ

ตัวบง่ ชีท้ ี่ 3.2 ใชส้ ื่อ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ทเ่ี ออ้ื ตอ่ การเรยี นรู้ (5 คะแนน)
คำอธบิ าย
มีการใช้สอื่ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรยี นรู้ รวมทั้งภมู ิปญั ญาท้องถิ่นมาใชใ้ นการจัดการเรียนรู้ โดยสร้าง

โอกาสให้ผู้เรียนไดแ้ สวงหาความรู้ดว้ ยตนเองจากสอื่ ทห่ี ลากหลาย

เกณฑ์การพิจารณา
1. จัดโครงสร้างหรือระบบการบริหารงานที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ที่มีคุณภาพ พิจารณาจากการสอน การใช้เทคโนโลยี

สารสนเทศและแหล่งเรยี นรู้
2. มคี ณะกรรมการงานพัฒนาสอ่ื นวตั กรรมและเทคโนโลยี เพ่อื การศึกษาระดบั สถานศึกษา
3. การขบั เคลอ่ื นกลไกใหม้ กี ารสร้างสือ่ การใช้ส่ือ การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและแหลง่ เรยี นรู้
4. การกำหนดผรู้ บั ผิดชอบงานทางดา้ นสอ่ื นวัตกรรม
5. การจัดระบบการบริการ สะดวกต่อการเข้าถึงและการให้บรกิ าร
6. มขี ้อมูลสารสนเทศทางดา้ นส่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรยี นรู้
7. มีข้อมลู สารสนเทศของผูเ้ รยี น ครู และผู้บรหิ ารเปน็ รายบคุ คลถกู ตอ้ ง ครบถ้วนและเป็นปจั จบุ ัน
8. การนำส่ือ การใช้ส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศและแหลง่ เรียนรู้มาใชใ้ นการพฒั นาการเรียนการสอน

เกณฑ์การให้คะแนน ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ
สถานศึกษาดำเนนิ การได้จรงิ
4.00 – 5.00 ยอดเยี่ยม (5)
จำนวน 8 ข้อ
3.50 – 3.99 ดีเลิศ (4)
จำนวน 7 ข้อ 3.00 – 3.49 ดี (3)
จำนวน 6 ขอ้ 2.50 – 2.99 ปานกลาง (2)
จำนวน 4 – 5 ข้อ 0.00 – 2.49 กำลงั พัฒนา (1)
จำนวน 1 – 3 ขอ้

แหล่งข้อมูล / การเก็บรวบรวมข้อมลู
1. ข้อมูลสารสนเทศทางด้านเทคโนโลยี การใช้อินเทอร์เน็ต และแหล่งเรียนรู้
2. ขอ้ มูลสารสนเทศทางดา้ นสอ่ื การเรียนการสอนของครู การให้บริการทางด้านเทคโนโลยี
3. สรปุ ผลความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีและการสอื่ สารของผเู้ รยี น

ตัวบง่ ช้ีท่ี 3.3 มีการบรหิ ารจดั การชั้นเรียนเชิงบวก (5 คะแนน)
คำอธิบาย
ครูผู้สอนมีการบริหารจัดการชั้นเรียน โดยการเน้นปฏิสัมพันธ์เชิงบวกให้เด็กรักครู ครูรักเด็กและเด็กรักเด็ก

เด็กรกั ทจี่ ะเรยี นรู้อย่างมคี วามสุข

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หน้า 105

เกณฑ์การพิจารณา
1. การวิเคราะห์หลกั สูตรเพ่อื การจดั การเรยี นการสอนทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพ
2. การวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลและนำข้อมูลมาใช้ในการวางแผน การจัดการเรียนรู้ และจัดทำโครงการสอน

รายบคุ คล เพ่อื พัฒนาผู้เรยี นใหส้ อดคล้องกบั ความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล
3. การออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้และการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามโครงการสอนรายบุคคลด้วย

กระบวนการเรยี นร้ทู ่ีหลากหลาย เปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รยี นมีส่วนร่วมในการจัดการเรยี นการสอน
4. บริหารจัดการชั้นเรียนและจัดบรรยากาศการเรียนรู้ เพื่อให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้

อย่างมคี วามสุข
5. การใชส้ ือ่ นวตั กรรมและเทคโนโลยภี ูมปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ และแหลง่ เรียนรู้ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา
6. การศึกษา ค้นคว้าวิจัยเพื่อพัฒนาสื่อการเรียนการสอน และกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน เป็นสำคัญ

โดยมงี านวิจัยหรือผลงาน หรอื สือ่ นวัตกรรมอย่างน้อยปีละ 1 ช้นิ
7. มีการประเมนิ ผลและรายงานการจดั รายงานนิทรรศการ ทางวชิ าการของโรงเรียน และรายงานกจิ กรรม IS

เกณฑ์การให้คะแนน ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ
สถานศึกษาดำเนนิ การได้จรงิ 4.00 – 5.00 ยอดเยี่ยม (5)
3.50 – 3.99
จำนวน 7 ข้อ 3.00 – 3.49 ดเี ลิศ (4)
จำนวน 6 ข้อ 2.50 – 2.99 ดี (3)
จำนวน 5 ขอ้ 0.00 – 2.49 ปานกลาง (2)
จำนวน 4 – 5 ข้อ กำลงั พฒั นา (1)
จำนวน 1 – 3 ข้อ

แหลง่ ข้อมลู / การเกบ็ รวบรวมข้อมลู
1. การตรวจสอบเอกสาร หลักฐาน รอ่ งรอยการปฏบิ ตั ิงานของครู เช่น แผนการจดั การเรยี นการสอน ส่อื นวตั กรรม
2. การสงั เกตการจดั การเรียนการสอนของครู
3. การสอบถามและการสัมภาษณ์ครู ผู้เรียน ผู้บริหารสถานศกึ ษาและผู้ทเี่ กยี่ วข้อง

ตวั บ่งชีท้ ่ี 3.4 ตรวจสอบและประเมินผเู้ รียนอย่างเปน็ ระบบ และนำผลมาพฒั นาผูเ้ รยี น (5 คะแนน)
คำอธิบาย
มีการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรู้ตามสมรรถนะสำคัญตามหลักสูตร โดยการประเมิน

ผู้เรียนจากสภาพจริง มีขั้นตอนการประเมินอย่างเป็นระบบ ใช้เครื่องมือและวิธีการวัดและประเมินผลที่เหมาะสม
โดยผู้เรียนและผู้ที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการประเมิน และมีการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียน และผู้เรียนนำไปใช้
ประโยชน์

เกณฑก์ ารพิจารณา
1. มีการวัดและประเมนิ ผลผู้เรียนตามสมรรถนะสำคัญตามหลักสตู รโดยการประเมินผเู้ รยี นจากสภาพจริง
2. มีการกำหนดขนั้ ตอนการวัดและประเมนิ ผลอย่างเปน็ ระบบ
3. ใช้เคร่อื งมือและวธิ ีการวัดและประเมนิ ผลท่ีเหมาะสมกับเปา้ หมาย และการจดั การเรียนการสอน
4. ผูเ้ รยี นและผู้เก่ยี วข้องมสี ว่ นร่วมในการวัดและประเมินผล
5. ให้ขอ้ มูลยอ้ นกลบั แก่ผ้เู รียนและผู้เรยี นนำไปใชป้ ระโยชน์

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หน้า 106

เกณฑก์ ารให้คะแนน ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ
สถานศึกษาดำเนินการได้จรงิ 4.00 – 5.00 ยอดเยีย่ ม (5)
3.50 – 3.99
จำนวน 5 ขอ้ 3.00 – 3.49 ดเี ลิศ (4)
จำนวน 4 ขอ้ 2.50 – 2.99 ดี (3)
จำนวน 3 ข้อ 0.00 – 2.49 ปานกลาง (2)
จำนวน 2 ขอ้ กำลังพฒั นา (1)
จำนวน 1 ข้อ

แหลง่ ข้อมลู / การเกบ็ รวบรวมข้อมูล
1. การสอบถามและสมั ภาษณ์ผู้บริหารสถานศกึ ษา ครู และผู้ท่ีเกยี่ วข้อง
2. การตรวจสอบเอกสาร หลักฐาน ร่องรอย รายงานการวัดและประเมนิ
3. การตรวจสอบจากแผนการจัดการเรียนรู้
4. การประเมินสมรรถนะสำคัญตามหลกั สูตร
5. การสังเกตสภาพบรรยากาศในการจดั การเรยี นรู้

ตัวบ่งช้ีที่ 3.5 มกี ารแลกเปลี่ยนเรียนรู้และใหข้ อ้ มลู สะทอ้ นกลับเพื่อพฒั นาและปรบั ปรุงการจดั การเรยี นรู้ (5 คะแนน)
คำอธิบาย
สถานศึกษามีกระบวนการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง โดยการจัดให้บุคลากร

มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ มุ่งพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ให้เกิด
ขึ้นกับครูและบุคลากรทุกคน และพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้จนเป็นวัฒนธรรมในการทำงาน
มกี ารนำผลการดำเนนิ งานมาวเิ คราะห์ สังเคราะห์ หรอื การมวี ิจยั และเลือกสรรข้อมลู สารสนเทศมาใช้พฒั นาการจัดการ
เรยี นรมู้ กี ารเผยแพรแ่ ละการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้เพ่ือให้เกดิ การพฒั นาอยา่ งต่อเน่ือง

เกณฑก์ ารพจิ ารณา
1. การสร้างเสริมแนวคิดเรื่องการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ มุ่งการพัฒนาคุณภาพ

จัดการเรยี นรอู้ ย่างต่อเน่ือง
2. การนำผลการแลกเปลยี่ นเรียนรู้ เพอ่ื พฒั นาและปรบั ปรงุ การจดั การเรียนรู้
3. การวเิ คราะห์ สังเคราะห์ วิจัย และเลือกสรรขอ้ มลู สารสนเทศไปใชพ้ ัฒนาคณุ ภาพการจัดการเรียนรู้
4. กาสรา้ งวัฒนธรรมคุณภาพใหม้ ีการแลกเปลย่ี นเรยี นร้ภู ายในสถานศกึ ษาเป็นการทำงานปกติของสถานศึกษา
5. การจดั กจิ กรรมแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพการจดั การเรียนร้อู ย่างตอ่ เนือ่ ง
6. การพัฒนาสถานศกึ ษาใหเ้ ป็นองค์กรแห่งการเรยี นรู้
7. การจดั กิจกรรมแลกเปล่ยี นเรยี นร้ใู ห้สอดคลอ้ งกับภารกิจการปฏิบัติงานของสถานศึกษา
8. การเผยแพร่ ประชาสัมพนั ธผ์ ลการดำเนนิ งานอย่างตอ่ เน่ือง

เกณฑก์ ารให้คะแนน ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ
สถานศึกษาดำเนนิ การได้จรงิ 4.00 – 5.00 ยอดเยีย่ ม (5)
3.50 – 3.99
จำนวน 8 ขอ้ 3.00 – 3.49 ดเี ลิศ (4)
จำนวน 7 ข้อ 2.50 – 2.99 ดี (3)
จำนวน 6 ขอ้ 0.00 – 2.49 ปานกลาง (2)
จำนวน 4 – 5 ขอ้ กำลงั พฒั นา (1)
จำนวน 1 – 3 ขอ้

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 107

แหล่งข้อมลู / การเก็บรวบรวมข้อมลู
1. การสอบถามและสมั ภาษณ์ผู้บริหารสถานศกึ ษา ครู และผู้ทเ่ี ก่ยี วข้อง
2. การตรวจสอบเอกสาร หลักฐาน ร่องรอย หรือข้อมลู เชิงประจักษ์ เชน่ การใช้ผลการแลกเปล่ยี นเรยี นรู้
3. การพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลการพัฒนาคุณภาพการจัด

การเรยี นรู้ เป็นตน้

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 108

ภาพประกอบการดำเนินงานประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา

การประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หน้า 109

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 110

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 111

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 112

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 113

การประชมุ ประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษา วนั พฤหัสบดีท่ี 7 เมษายน พ.ศ. 2565

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 114

มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพผูเ้ รียน
1.1 ผลสัมฤทธท์ิ างวชิ าการของผู้เรยี น

ภาพประกอบประเดน็ ที่ 1 มคี วามสามารถในการอ่าน การเขยี น การสื่อสารและการคิดคำนวณ

ภาพประกอบประเด็นท่ี 2 มคี วามสามารถในการวเิ คราะหแ์ ละคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคดิ เห็นและแกป้ ญั หา

ภาพประกอบประเดน็ ท่ี 3 มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม

ภาพประกอบประเด็นที่ 4 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หน้า 115

ภาพประกอบประเด็นที่ 5 มผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสตู รสถานศึกษา

ภาพประกอบประเดน็ ที่ 6 มีความรู้ ทักษะพ้ืนฐานและเจตคตทิ ดี่ ตี ่องานอาชพี

1.2 คณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงคข์ องผู้เรยี น
ภาพประกอบประเดน็ ท่ี 1 มีคณุ ลกั ษณะและคา่ นยิ มท่ดี ีตามทสี่ ถานศกึ ษากำหนด

ภาพประกอบประเดน็ ท่ี 2 มีความภูมใิ จในทอ้ งถน่ิ และความเปน็ ไทย

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 116

ภาพประกอบประเด็นท่ี 3 ยอมรบั ทีจ่ ะอยูร่ ่วมกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย

ภาพประกอบประเด็นที่ 4 มสี ุขภาวะทางร่างกายและลกั ษณะจติ สงั คม

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
ภาพประกอบประเดน็ ที่ 1 มีเปา้ หมาย วิสัยทัศน์ และพนั ธกจิ ทสี่ ถานศึกษากำหนดชัดเจน

ภาพประกอบประเด็นที่ 2 มรี ะบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษา

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หน้า 117

ภาพประกอบประเดน็ ท่ี 3 ดำเนนิ งานพฒั นาวิชาการทเี่ นน้ คณุ ภาพของผูเ้ รียนรอบดา้ นตามหลกั สูตรสถานศกึ ษาและกลมุ่ เปา้ หมาย
ภาพประกอบประเดน็ ที่ 4 พัฒนาครูและบุคลากรใหม้ คี วามเชย่ี วชาญทางวชิ าชีพ

ภาพประกอบประเดน็ ที่ 5 จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมทเ่ี อ้อื ตอ่ การจัดการเรยี นรู้
ภาพประกอบประเด็นที่ 6 จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื สนบั สนนุ การบรหิ ารจดั การและการจดั การเรยี นรู้

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 118

มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่เี น้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ภาพประกอบประเด็นท่ี 1 จดั การเรียนรผู้ ่านกระบวนการคดิ และปฏิบัติจรงิ และสามารถนำไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตได้

ภาพประกอบประเดน็ ที่ 2 ใชส้ อื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรยี นร้ทู ีเ่ อ้อื ต่อการเรียนรู้

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หน้า 119

ภาพประกอบประเดน็ ท่ี 3 มกี ารบริหารจดั การชน้ั เรยี นเชิงบวก

ภาพประกอบประเดน็ ท่ี 4 ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรียนอย่างเปน็ ระบบและนำผลมาพฒั นาผูเ้ รยี น
ภาพประกอบประเด็นที่ 5 มีการแลกเปลยี่ นเรยี นรู้และให้ข้อมลู สะทอ้ นกลับเพื่อพฒั นาและปรับปรงุ การจัดการเรยี นรู้

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หน้า 120

คำรับรองรายงานการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศึกษา ระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
โรงเรียนเตรียมอุดมศกึ ษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ปกี ารศกึ ษา 2564

สังกดั สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต 2
-----------------------------------------------------------------------------------

คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษา ตามระบบการประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษา ไดด้ ำเนนิ การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษาข้นั พื้นฐานของสถานศกึ ษา และ
รับรองรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ประจำปีการศึกษา 2564 ของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
พัฒนาการ ยานนาเวศ สหวิทยาเขตภาคีนพวัฒน์ แขวงทุ่งวัดดอน เขตสาทร กรุงเทพมหานคร เมื่อวันพฤหัสบดี
ที่ 7 เมษายน 2565 โดยได้ตรวจสอบพจิ ารณาความถกู ตอ้ งของรายงาน ในประเดน็ ตอ่ ไปน้ี เรยี บร้อยแลว้

1. ตรวจสอบคำผดิ
2. ตรวจสอบรูปแบบใหเ้ ป็นไปตามท่ี สพม.กท 2 กำหนด
3. ตรวจสอบความถูกต้องของผลการติดตามตรวจสอบ ตลอดจนความสอดคล้อง ตั้งแต่เนื้อหา จุดเด่น
จุดที่ควรพฒั นา ขอ้ เสนอแนะ และแนวทางในการพัฒนาของสถานศกึ ษาในอนาคต

ลงชอ่ื คณะกรรมการ

ลงชอ่ื ………………………………………........ ลงช่ือ ………………………………………........
(นายธนพล พรมโอก) (นางสาวสุทธนิ ี แกว้ วไิ ล)

หัวหน้างานประกนั คุณภาพการศึกษา รองผอู้ ำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ

ลงชือ่ ………………………………………........
(นายปรเวธฎ์ เกษมโชค)

ผอู้ ำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพฒั นาการ ยานนาเวศ

ลงชื่อ ………………………………………........
(นางสาวขนิษฐา พุ่มสงวน)
ผทู้ รงคุณวฒุ ิ

ลงชอ่ื ………………………………………........
(นายวีระชยั คลา้ ยทอง)

ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พืน้ ฐานโรงเรยี นเตรียมอดุ มศึกษาพฒั นาการ ยานนาเวศ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หน้า 121

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR 2564) หนา้ 122


Click to View FlipBook Version