The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by suban.sk45, 2020-04-09 05:07:08

แผนปฏิบัติการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการศึกษา

1

2




ื่
เรอง : รายงานการสรุปโครงการสนับสนุนการเตรียมความพร้อมและซักซ้อมการประเมิน

(Mock Assessment) สถานศึกษากลุ่มเปาหมายเพื่อพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
รอบสี่ ประจ าปีงบประมาณ 2562


หน่วยงาน : กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา


ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12


บทน า


ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเป็นกลไกส าคัญที่จะช่วยในการพฒนาคุณภาพและ
มาตรฐานการศึกษาของคนไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพประกอบกับสาระส าคัญในพระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ก าหนดให้หน่วยงานต้นสังกด

และสถานศึกษาจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาอันน าไปสู่การก าหนดให้มีมาตรฐาน

การศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบกับได้มีการใช้กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศกษา พ.ศ. 2561 และ
ื้
กระทรวงศึกษาธิการมีการประกาศให้ใช้มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพนฐาน
และระดับการศึกษาขั้นพนฐานศูนย์การศึกษาพเศษ พ.ศ. 2561 ลงวันที่ 6 สิงหาคม 2561 ส าหรับให้
ื้

ื่
สถานศึกษาใช้เป็นแนวทางการด าเนินงานเพอการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและเตรียมการ

ส าหรับการประเมินคุณภาพภายนอก เพื่อให้เกิดการพฒนาและสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
และสาธารณชนว่าสถานศึกษานั้นสามารถจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และ
บรรลุเป้าประสงค์ของหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่ก ากับดูแล

การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพอเข้ารับการประเมินคุณภาพภายนอก (Mock
ื่
Assesment) เป็นการสื่อสาร สร้างความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการประเมินและการประกัน

คุณภาพการศึกษา ตลอดจนแนวทางการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ตามกฎกระทรวงการประกัน

ื่
คุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ รวมทั้งแนวด าเนินการเกี่ยวกับระบบข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง เพอ
เตรียมความพร้อมในการประเมนคุณภาพภายนอกแก่หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาที่จะเข้ารับการ

ประเมินคุณภาพภายนอก
การประเมินคุณภาพภายนอก คือ การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา การติดตาม การ

ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยผู้ประเมินภายนอกที่ได้รับการรับรอง

จากส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา โดยผู้ประเมินภายนอกทได้รับการรับรอง
ี่
จากส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เพอมุ่งให้มี
ื่

คุณภาพดียิ่งขึ้น ผู้ประเมินภายนอกมีความเป็นอสระ และเป็นกลาง ไม่มีผลประโยชน์ขัดแย้งกับการ

3




ื่
ประเมินคุณภาพภายนอกจะน าไปสู่การเข้าถึงคุณภาพการศึกษาด้วยความเป็นกลาง เพอสร้างสรรค์
พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาอย่างแท้จริง
กลุ่มเป้าหมายของโครงการสนับสนุนการเตรียมความพร้อมและซักซ้อมการประเมิน (Mock

ื่
Assessment) สถานศึกษากลุ่มเป้าหมายเพอพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ประจ าปี
งบประมาณ 2562 ในครั้งนี้ คือ สถานศึกษาที่รับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ประจ าปี
งบประมาณ 2562 จ านวน 15 แห่ง

รูปแบบกิจกรรมในครั้งนี้ ประกอบด้วย กิจกรรมที่ 1 : ประชุมศึกษานิเทศก์ เพอวางแผน
ื่
ด าเนินการประชุมและเตรียมความพร้อมและซักซ้อมการประเมิน(Mock Assessment)

ื่
กิจกรรมที่ 2 : ประชุมเพอสร้างความรู้ ความเข้าใจ และเตรียมความพร้อมในการประเมินให้แก่
คณะกรรมการที่จะเตรียมความพร้อมและซักซ้อมการประเมิน (Mock Assessment) สถานศึกษา
กลุ่มเป้าหมาย กิจกรรมที่ 3 : ด าเนินการเตรียมความพร้อมและซักซ้อมการประเมิน(Mock

Assessment) สถานศึกษากลุ่มเป้าหมายเพอพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ และ
ื่
ื่
กิจกรรมที่ 4 : ประชุมเพอสรุปผลการเตรียมความพร้อมและซักซ้อมการประเมิน(Mock Assessment)
สถานศึกษากลุ่มเป้าหมาย เพื่อจัดท ารายงานให้ ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน


ข้อสรุป

ข้อค้นพบจากการเตรียมความพร้อมและซักซ้อมการประเมิน(Mock Assessment)

สถานศึกษากลุ่มเป้าหมาย ระหว่างวันที่ 20 กันยายน ถึงวันที่ 24 ตุลาคม 2562 ได้จากการสังเคราะห์
รายงานการประเมินตนเอง(SAR) ของสถานศึกษา และการได้ไปซักซอมการประเมินสถานศึกษาในแต่

ละโรงเรียนทั้ง 15 โรงเรียน โดยมีรายละเอียดการน าเสนอข้อค้นพบดังนี้

การก าหนดมาตรฐานของสถานศึกษา
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน

การให้ระดับคุณภาพ มีความเหมาะสม สอดคล้องกับผลการด าเนินงานของ

สถานศึกษา การก าหนดมาตรฐานของสถานศึกษา สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา เหมาะสม
เป็นไปได้

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ

การให้ระดับคุณภาพ เหมาะสม สอดคล้องกับผลการด าเนินงาน การก าหนดประเด็น
พิจารณา สะท้อนความมระบบ แต่ยังขาดคู่มือการนิเทศภายในสถานศึกษา มีความน่าเชื่อถือได้ ดูได้จาก

ื้
ร่องรอยเอกสาร ผลงานเชิงประจักษ์ การได้รับรางวัลจากองค์กรและสถาบันต่างๆ ทั้งระดับเขตพนที่
และระดับชาติ มีความเป็นไปได้ ต่อเนื่อง และมีนวัตกรรม

4




มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ

การให้ระดับคุณภาพ เหมาะสม สอดคล้อง กับผลการด าเนินงาน ร่องรอยเอกสาร มี

ความสอดคล้องเหมาะสมเป็นไปได้ การก าหนดประเด็นพจารณา สอดคล้องกับผลการด าเนินงาน แต่
ยังขาดร่องรอยหลักฐาน บันทึกชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)

การจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
มีการปรับปรุงแผนพฒนาคุณภาพการศึกษา และก าลังด าเนินการปรับปรุงให้

สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

ระบบขอมลสารสนเทศ

มีระบบการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศที่ครอบคลุมและชัดเจน

การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (SAR)

การรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษากับขอมูลสารสนเทศ อยู่ในฉบับ
เดี่ยวกัน โดยไม่ได้สังเคราะห์ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและประเด็นการ
พิจารณา ในแต่ละมาตรฐาน



ข้อเสนอแนะอื่นๆ
โรงเรียนในกลุ่มเป้าหมายควรพิจารณาด าเนินการดังนี้

1. ควรสร้างความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

ให้กับครูและผู้เกี่ยวข้องได้รับทราบร่วมกันอย่างต่อเนื่อง
2. ควรปรับปรุงมาตรฐานที่ 2 ด้านกระบวนการบริหารจัดการ ให้มีความชัดเจนเป็น

รูปธรรม สะท้อนนวัตกรรมด้านการบริหารจัดการที่ส่งผลให้โรงเรียนประสบความส าเร็จด้านการพัฒนา

คุณภาพ
3. ปรับปรุงการรายงานผลการประเมินตนเองให้กระชับ ตามแนวทางการประเมินตนเอง

ที่ ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานก าหนด
4. ประชาสัมพันธ์ผลการด าเนินงานให้แก่ผู้ที่เกี่ยวข้องรับทราบ อย่างต่อเนื่อง


ส านักงานเขตพื้นที่ควรพิจารณาด าเนินการดังนี้

1. ให้ความรู้ความเข้าใจแก่สถานศึกษาที่ยังไม่ได้รับการประเมินภายนอก ในเรื่องของ

ระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้กับครูและผู้เกี่ยวข้องได้รับทราบร่วมกันอย่างต่อเนื่อง



ก ากับ นิเทศ ติดตาม การด าเนินงานการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศกษา ของ
สถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง

5




ค าน า

การประกันคุณภาพการศึกษา เป็นการประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพตาม
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษา เป็นกลไกส าคัญที่จะช่วยในการ


พฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของคนไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพประกอบกับสาระส าคัญใน
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ก าหนดให้
ิ่
หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาอนน าไปสู่การ

ก าหนดให้มีมาตรฐานการศึกษาขั้นพนฐาน ประกอบกับได้มีการใช้กฎกระทรวงการประกันคุณภาพ
ื้
การศึกษา พ.ศ. 2561 และกระทรวงศึกษาธิการมีการประกาศให้ใช้มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย


ื้
ระดับการศึกษาขั้นพนฐาน และระดับการศึกษาขั้นพนฐานศูนย์การศึกษาพเศษ พ.ศ. 2561 ลงวันที่ 6
ื้
สิงหาคม 2561 ส าหรับให้สถานศึกษาใช้เป็นแนวทางการด าเนินงานเพอการประกันคุณภาพภายใน
ื่

สถานศึกษาและเตรียมการส าหรับการประเมินคุณภาพภายนอก เพอให้เกิดการพฒนาและสร้างความ
ื่
เชื่อมั่นให้แก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและสาธารณชนว่าสถานศึกษานั้นสามารถจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพ
ตามมาตรฐานการศึกษา และบรรลุเป้าประสงค์ของหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่ก ากับดูแล

ื้
ส านักงานเขตพนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 โดยกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัด
การศึกษา จึงด าเนินการโครงการเพอสนับสนุนการเตรียมความพร้อมและซักซ้อมการประเมิน(Mock
ื่
Assessment) สถานศึกษากลุ่มเป้าหมายเพอพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ประจ าปี
ื่
งบประมาณ 2562 โดยมีวัตถุประสงค์ เพอสร้างความรู้ ความเข้าใจ และเตรียมความพร้อม ซักซอมการ
ื่

ประเมิน (Mock Assessment) แก่คณะกรรมการคณะกรรมการที่จะซักซ้อมการประเมินและเพอ
ื่
สนับสนุนการเตรียมความพร้อมและซักซ้อมการประเมิน (Mock Assessment) สถานศึกษา

กลุ่มเป้าหมายเพื่อเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ประจ าปีงบประมาณ 2562 จ านวน 15

แห่ง
รายงานฉบับนี้เป็นผลการศึกษากระบวนการและข้อค้นพบที่เกิดขึ้น จากการด าเนินงาน

โครงการสนับสนุนการเตรียมความพร้อมและซักซ้อมการประเมิน (Mock Assessment) สถานศึกษา
กลุ่มเป้าหมายเพอพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ประจ าปีงบประมาณ 2562 ซึ่งข้อมูลที่
ื่

ได้จากการด าเนินการโครงการในครั้งนี้จะน าไปสู่การวางแผนและพฒนาการด าเนินการด าเนินงาน
โครงการให้มีประสิทธิภาพต่อไป ขอขอบพระคุณคณะท างานทุกท่านที่มีส่วนร่วมในการจัดท ารายงาน

ฉบับนี้ จนส าเร็จเรียบร้อยด้วยดี


กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา

ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12

6




สารบัญ

บทสรุป
ค าน า

ส่วนที่ 1 บทน า 1

หลักการและเหตุผล 2
วัตถุประสงค์ 3

เป้าหมายเชิงปริมาณ 3
เป้าหมายเชิงคุณภาพ 3

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 4

ส่วนที่ 2 กระบวนการเตรียมความพร้อมและซักซ้อมการประเมิน (Mock 6
Assessment) สถานศึกษากลุ่มเป้าหมายเพื่อพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอก

รอบสี่ ประจ าปีงบประมาณ 2562
กิจกรรมที่ 1 ประชุมศึกษานิเทศก์ เพื่อวางแผนด าเนินการประชุมและ 7

เตรียมความพร้อมและซักซอมการประเมิน(Mock Assessment)


กิจกรรมที่ 2 ประชุมเพื่อสร้างความรู้ ความเขาใจ และเตรียมความ 10
พร้อมในการประเมินให้แก่ คณะกรรมการที่จะเตรียมความพร้อมและ

ซักซ้อมการประเมิน (Mock Assessment) สถานศึกษากลุ่มเป้าหมาย

กิจกรรมที่ 3 ด าเนินการเตรียมความพร้อมและซักซอมการประเมิน 13

ื่
(Mock Assessment) สถานศึกษากลุ่มเป้าหมายเพอพร้อมรับการ
ประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่

กิจกรรมที่ 4 ประชุมเพื่อสรุปผลการเตรียมความพร้อมและซักซ้อมการ 43
ประเมิน(Mock Assessment) สถานศึกษากลุ่มเป้าหมาย เพื่อจัดท า

รายงานให้ ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ส่วนที่ 3 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 44

สรุปและอภิปรายผล 45
ข้อเสนอแนะอื่นๆ 46

ภาคผนวก 47

7

































ส่วนที่ 1


บทน า

8



ส่วนที่ 1




บทน า


หลักการและเหตุผล

กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561

ก าหนดให้มีการประกนคุณภาพการศึกษา เป็นการประเมินและติดตามตรวจสอบคุณภาพตามมาตรฐาน

การศึกษาของสถานศึกษาและแต่ละระดับและประเภทการศึกษา โดยมีกลไกในการควบคุมตรวจสอบ
ื่
ระบบการบริหารคุณภาพการศึกษาที่สถานศึกษาจัดขึ้น เพอให้เกิดการพฒนา และสร้างความเชื่อมั่น

ให้แก่หน่วยมีส่วนเกี่ยวข้องและสาธารณชน ว่าสถานศึกษานั้นสามารถจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพ

ตามมาตรฐานการศึกษา
ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการด าเนินการ

ปฏิรูประบบการประเมินและการประกันคุณภาพทั้งภายในและภายนอกของสถานศึกษาทุกระดับ ก่อน
จะด าเนินการประเมินคุณภาพต่อไป โดยให้มีการปรับปรุงมาตรฐานและตัวชี้วัดให้น้อยลง กระชับ

สะท้อนถึงคุณภาพอย่างแท้จริง เน้นการประเมินตามสภาพจริง ไม่ยุ่งยาก สร้างมาตรฐานระบบประเมิน

เพอลดภาระการจัดเก็บข้อมูล ลดการจัดท าเอกสารที่ใช้ในการประเมิน ปรับกระบวนทัศน์ในการ
ื่
ประเมินที่มีเป้าหมายเพื่อการพัฒนาบนพื้นฐานบริบทของสถานศึกษา

การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพตามมาตรฐานของสถานศึกษาโดยมี

ระบบและกลไกในการควบคุม ตรวจสอบระบบการบริหารคุณภาพการศึกษาที่สถานศึกษาจัดขึ้นเพอให้
ื่

เกิดการพฒนาและสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและสาธารณชนว่าสถานศึกษานั้น สามารถ
จัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษาและบรรลุเป้าประสงค์ของหน่วยงานต้นสังกัด
หน่วยงานต้นสังกัดจึงมีหน้าที่ก ากับดูแล ให้ค าปรึกษา ช่วยเหลือ แนะน าสถานศึกษา ติดตามผลการ

ด าเนินงาน ปรับปรุงพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานและเพื่อให้


การประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาพฒนาอย่างต่อเนื่อง กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล
ื่
การจัดการศึกษา ส านักงานเขตพนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 จึงด าเนินการเพอสนับสนุนการ
ื้
ื่
เตรียมความพร้อมและซักซ้อมการประเมิน(Mock Assessment) สถานศึกษากลุ่มเป้าหมายเพอพร้อม
รับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ประจ าปีงบประมาณ 2562

9




วัตถุประสงค์

1. เพอสร้างความรู้ ความเข้าใจ และเตรียมความพร้อม ซักซ้อมการประเมิน (Mock
ื่
Assessment) แก่คณะกรรมการคณะกรรมการที่จะซกซอมการประเมิน



2. เพื่อสนับสนุนการเตรียมความพร้อมและซักซอมการประเมิน (Mock
Assessment) สถานศึกษากลุ่มเป้าหมายเพื่อเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ประจ าปี

งบประมาณ 2562 จ านวน 15 แห่ง


เป้าหมายเชิงปริมาณ

1. คณะกรรมการประเมินจ าลอง(Mock Assessment) จ านวน 18 คน มีความรู้มี

ความเข้าใจจุดมุ่งหมายในการซักซ้อมการประเมิน (Mock Assessment) ประกอบด้วย
- ศึกษานิเทศก์ จ านวน 10 คน

- ผู้บริหารสถานศึกษาที่ผ่านการพัฒนาเป็นผู้ประเมินแล้ว จ านวน 8 คน

2. สถานศึกษาที่พร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ประจ าปีงบประมาณ
2562 จ านวน 15 แห่ง ได้รับการสนับสนุนการเตรียมความพร้อมและซักซ้อมการประเมิน (Mock

Assessment)

เป้าหมายเชิงคุณภาพ

1. คณะกรรมการประเมินจ าลอง (Mock Assessment) จ านวน 18 คน มีความรู้มี
ความเข้าใจจุดมุ่งหมายในการซักซ้อมการประเมิน (Mock Assessment) สามารถสังเคราะห์รายงาน

การประเมินตนเองของสถานศึกษาที่จะเข้ารับการประเมินพร้อมทั้งให้ข้อเสนอแนะเพอเป็นแนวทางใน
ื่
การพัฒนาสถานศึกษาต่อไปได้
2. สถานศึกษาที่พร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ประจ าปีงบประมาณ

2562 จ านวน 15 แห่ง มีความพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ระดับ ดี ขึ้นไป


กิจกรรมและการด าเนินงาน

กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจงและก าหนดกรอบการด าเนินงาน
ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์การด าเนินการ ตามโครงการ ในวันที่ 2 กันยายน

2562

กลุ่มเป้าหมาย : ศึกษานิเทศก สพม.12 จ านวน 10 คน

สถานที่ : ห้องประชุมส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12

10




ื่
กิจกรรมที่ 2 ประชุมเพอ สร้างความรู้ ความเข้าใจ และเตรียมความพร้อมในการประเมิน

ให้แก่ คณะกรรมการที่จะเตรียมความพร้อมและซักซอมการประเมิน (Mock Assessment) วันที่ 13
กันยายน 2562


กลุ่มเป้าหมาย : ศึกษานิเทศก สพม.12และคณะกรรมการประเมิน
สถานที่ : โรงเรียนทวินโลตัส จังหวัดนครศรีธรรมราช



กิจกรรมที่ 3 ด าเนินการเตรียมความพร้อมและซักซอมการประเมิน(Mock Assessment)
สถานศึกษากลุ่มเป้าหมายเพอพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ จ านน 15โรงเรียน ในวันที่
ื่
16-27 กันยายน 2562

กลุ่มเป้าหมาย : คณะกรรมการประเมินเพื่อเตรียมความพร้อม และโรงเรียนที่เข้ารับการ
ประเมิน

สถานที่ : โรงเรียนในสังกัดที่เข้ารับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ 15 โรงเรียน


กิจกรรมที่ 4 ประชุมเพอสรุปผลการเตรียมความพร้อมและซักซ้อมการประเมิน(Mock
ื่
Assessment) สถานศึกษากลุ่มเป้าหมาย เพอจัดท ารายงานให้ ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
ื่
พื้นฐาน ในวันที่ 17-18 ตุลาคม 2562

กลุ่มเป้าหมาย : คณะกรรมการประเมินเพื่อเตรียมความพร้อม

สถานที่ : โรงแรมขนอมโกลด์เด้นบีช รีสอร์ท จังหวัดนครศรีธรรมราช


ผลที่คาดว่าจะได้รับ

คณะกรรมการประเมินจ าลอง(Mock Assessment) จ านวน 18 คน มีความรู้มีความเข้าใจ

จุดมุ่งหมายในการซักซ้อมการประเมิน (Mock Assessment) สามารถสังเคราะห์SAR ของสถานศึกษา

ที่จะเข้ารับการประเมินพร้อมทั้งให้ข้อเสนอแนะเพอเป็นแนวทางในการพฒนาสถานศึกษาต่อไปได้
ื่

เพื่อให้สถานศึกษาพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาตามบริบทของสถานศึกษาได้ด้วย
ตนเองและพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ประจ าปีงบประมาณ 2562 จ านวน 15
โรงเรียน มีความพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ระดับ ดี ขึ้นไป


งบประมาณ



จากเงินงบประมาณ ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จ านวน 30,000 บาท

11






ผู้รับผิดชอบโครงการ
นายสุบรรณ์ เกราะแก้ว ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ

กลุ่มงานส่งเสริมพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา

กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา

ส านักงานเขตพื้นที่การศกษามัธยมศึกษา เขต 12

12




























ส่วนที่ 2


กระบวนการเตรียมความพร้อมและซักซ้อมการประเมิน



(Mock Assessment) สถานศึกษากลุ่มเป้าหมายเพื่อ


พร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่




ประจ าปีงบประมาณ 2562

13




กิจกรรมที่ 1

ประชุมศึกษานิเทศก์ เพื่อวางแผนด าเนินการประชุมและเตรียมความพร้อมและซักซ้อมการประเมิน
(Mock Assessment)




ในการประชุมศึกษานิเทศก์ ส านักงานเขตพนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 เพอวางแผน
ื้
ื่
ด าเนินการประชุมและเตรียมความพร้อมและซักซ้อมการประเมิน(Mock Assessment) ในครั้งนี้ มี

ระเบียบวาระการการประชุม ดังนี้
ระเบียบวาระการประชุม

สนับสนุนการเตรียมความพร้อมและซักซอมการประเมิน(Mock Assessment) สถานศึกษา

กลุ่มเป้าหมายเพื่อเตรียมพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ประจ าปีงบประมาณ 2562
ครั้งที่ 1/2562

วันที่ 2 กันยายน 2562 เวลา 09.30 น.

ณ ห้องประชุมส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 12
-------------------------------

ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ


ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องการรับรองรายงานการประชุมครั้งทแล้ว
ี่
- ไม่ม ี

ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องสืบเนื่อง
ื้
3.1 ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนฐาน โดยส านักส านักทดสอบ
ทางการศึกษา ได้แจ้งจัดสรรงบประมาณประจ าปี 2562 สนับสนุนการเตรียมพร้อมรับการประเมิน

คุณภาพภายนอก รอบสี่ ให้แก่ศึกษานิเทศก์งานประกันคุณภาพของส านักงานเขตพนที่การศึกษาทั้ง
ื้
ื่
225 เขตพนที่การศึกษา ๆ ละ 30,000 บาท เพอซักซ้อมการประเมิน (Mock Assessment) ให้แก่
ื้
สถานศึกษาที่สมัครใจและพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอก รอบสี่ รุ่นที่ 1 จ านวน 444 แห่ง และ
รุ่นที่ 2 จ านวน 3,375 แห่ง ส านักงานเขตพนที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 12 มีโรงเรียนที่ต้องรับการ
ื้
ประเมิน 15 โรงเรียน (เอกสารหมายเลข 1)

ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องที่เสนอให้ที่ประชุมทราบ

4.1 นายสุบรรณ์ เกราะแกว ศึกษานิเทศก์ สพม.12 ได้เสนอโครงการแก่ทาน


ผู้อานวยการส านักงานเขตพนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 และได้รับการอนุมัติให้ด าเนินการ
ื้
เรียบร้อยแล้ว

14




ระเบียบวาระที่ 5 เรื่องที่เสนอให้ที่ประชุมพิจารณา


5.1 ก าหนดรูปแบบการประชุมเพื่อ สร้างความรู้ ความเขาใจ และเตรียม
ความพร้อมในการประเมินให้แก่ คณะกรรมการที่จะเตรียมความพร้อมและซักซ้อมการประเมิน (Mock

Assessment)


5.2 ด าเนินการเตรียมความพร้อมและซักซอมการประเมิน(Mock
Assessment) สถานศึกษากลุ่มเป้าหมายเพื่อพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ จ านน 15

โรงเรียน
5.3 คณะกรรมการประเมิน ประกอบด้วย (ผู้อ านวยการสถานศึกษาที่ผ่าน

การพัฒนาผู้ประเมิน และศึกษานิเทศก์ สพม.12) ดังนี้

1. นายสุรพงศ์ เอื้อศิริพรฤทธิ์ ผอ.โรงเรียนท่าศาลาประสิทธิ์ศึกษา

2. นาย ส. สมบัติ มีสุนทร ผอ.โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราช

3. นางมาลี แก้วละเอียด ผอ.โรงเรียนสตรีพัทลุง

4. นายคีรี มากสังข์ ผอ.โรงเรียนหัวไทรบ ารุงราษฎร์

5. นายอรรถพร อักษรน า ผอ.โรงเรียนขอนหาดประชาสรรค์

6. นายพีระพงษ์ สองวิหค ผอ.โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาภาคใต้

7. นายสุนันท์ กลับขันธ์ ผอ.โรงเรียนทุ่งสง



8. นายปรีชา มากมณ ผอ.โรงเรียนปากพะยูนพทยาคาร
9. นายพิชัย บุษรารัตน์ ผอ.โรงเรียนป่าพะยอมพทยาคาร

10. นางละอองทิพย์ บุณยเกียรติ ศึกษานิเทศก์ สพม.12

11. นายไตรรงค์ สาดแว ผู้อ านวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ

12. นางสุรัชนี อยู่สบาย ศึกษานิเทศก์ สพม.12

13. นายชาญณรงค์ รัตนบุรี ศึกษานิเทศก์ สพม.12

14. นายวิเชียร ปาณะพงศ์ ศึกษานิเทศก์ สพม.12

15. นางปทิตตา จันทร์สว่าง ศึกษานิเทศก์ สพม.12

16. นางจิรา ชูช่วย ศึกษานิเทศก์ สพม.12

17. นางยินดี คงทน ศึกษานิเทศก์ สพม.12

18. นางสาวจรีรัตน์ สามารถ ศึกษานิเทศก์ สพม.12

19. นายสุบรรณ์ เกราะแก้ว ศึกษานิเทศก์ สพม.12

15






ระเบียบวาระที่ 6 เรื่องอื่นๆ (ถ้ามี)
6.1 ................................................................

6.2 .................................................................

6.3 ................................................................

16




กิจกรรมที่ 2

ประชุมเพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ และเตรียมความพร้อมในการประเมินให้แก่ คณะกรรมการ
ที่จะเตรียมความพร้อมและซกซ้อมการประเมิน (Mock Assessment) สถานศึกษากลุ่มเป้าหมาย





ในการประชุมเพอสร้างความรู้ ความเข้าใจ และเตรียมความพร้อมในการประเมินให้แก่
ื่
คณะกรรมการที่จะเตรียมความพร้อมและซักซ้อมการประเมิน (Mock Assessment) สถานศึกษาใน
กลุ่มเป้าหมาย เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงของระบบการประเมินคุณภาพการศึกษา ตามนโยบายการ
ปฏิรูปการศึกษาเป็นระบบการประเมินแนวใหม่ที่มุ่งเน้นการประเมินคุณภาพสถานศึกษาในภาพรวม

(holistic rubrics) ของการจัดการศึกษาของสถานศึกษา โดยจะไม่แยกส่วนหรือแยกองค์ประกอบใน
การประเมินผลงานหรือกระบวนการ แต่เป็นการประเมินในภาพรวมของผลงานหรือภาพรวมของ
กระบวนการด าเนินงานนั้นๆ ต้องอาศัยความรู้ ความสามารถ และทักษะในการประเมินของผู้ประเมิน โดย

ผู้ประเมินต้องศึกษาและรวบรวมข้อมูลในภาพรวมทั้งหมด ซึ่งเป็นการประเมนและตัดสินผลการประเมิน
คุณภาพการศึกษาโดยอาศัยความเชี่ยวชาญ (expert judgment) ผู้ประเมินต้องมีความรู้อย่างรอบด้าน
ื่
อาศัยการวิเคราะห์ข้อมูลร่วมกันในคณะผู้ประเมิน เพอการตัดสินระดับคุณภาพผู้ประเมินจ าเป็นต้องท า
ื่
ความเข้าใจร่วมกันเพอการประเมินที่มีประสิทธิภาพ ดังนั้น ผู้ประเมินจึงมีความส าคัญและจ าเป็นอย่าง
ยิ่ง ที่จะต้องมีทักษะในการประเมินและบทบาทหน้าที่ของผู้ประเมิน และสามารถสังเคราะห์รายงานการ
ประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ที่จะเข้ารับการประเมินพร้อมทั้งให้ข้อเสนอแนะเพอเป็น
ื่
แนวทางในการพัฒนาสถานศึกษา ก่อนวันประเมินจริง
การประชุมในครั้งนี้ มีหัวข้อในการประชุม ดังนี้


1.1 สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบประกันคุณภาพภายในสถานศกษาแนวใหม่
1.2 แนวทางการสังเคราะห์รายงานประเมินตนเอง(SAR) ของสถานศึกษา

1.3 ออกแบบวางแผนการประเมิน

1.4 พัฒนาเครื่องมือสอดคล้องกับประเมินภายนอก
1.5 ก าหนดปฏิทินการประเมินจ าลอง

คณะกรรมการเตรียมความพร้อม
คณะกรรมการเตรียมความพร้อมและซักซ้อมการประเมิน (Mock Assessment) สถานศึกษา

กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย 1. ผู้บริหารสถานศึกษาที่ผ่านการพฒนามาตรฐานผู้ประเมินคุณภาพ

การศึกษาตามรูปแบบแนวทางการประเมินแนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา

พ.ศ. 2561 จ านวน 9 คน ศึกษานิเทศก์ ส านักงานเขตพื้นที่การศกษามัธยมศึกษา เขต 12 จ านวน 10
คน

17




การสร้างความรู้ความเข้าใจ


ในการสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ การให้ระดับคุณภาพ และประเด็นพจารณาการให้
ระดับคุณภาพ ทั้ง 3 มาตรฐาน ประกอบด้วย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน มาตรฐานที่ 2 กระบวนการ

บริหารและการจัดการ และมาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ

รูปแบบการประเมินและวัฒนธรรมการประเมินแนวใหม่ รวมทั้งแนวทางการสังเคราะห์รายงานการ

ประเมินตนเอง (SAR) ของสถานศึกษา การให้ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาคุณภาพของสถานศกษา

แนวทางการสังเคราะห์รายงานประเมินตนเอง(SAR) ของสถานศึกษา

คณะกรรมการเตรียมความพร้อมและซักซ้อมการประเมิน (Mock Assessment) สถานศึกษา


กลุ่มเป้าหมาย ร่วมกนก าหนดแนวทางการสังเคราะห์รายงานประเมินตนเอง(SAR) ของสถานศึกษา โดย
ใช้รูปแบบการสังเคราะห์ เป็นกลุ่มสหวิทยาเขต โดยใช้ศึกษานิเทศก์ประจ า สหวิทยาเขตเป็นฐาน และ

พัฒนาเครื่องมือสอดคล้องกับประเมินภายนอก ดังตาราง

มาตรฐานการศึกษา /ประเด็น มาตรฐานการศึกษาของ ผลการด าเนินการของ การตรวจสอบหลักฐาน การให้ข้อเสนอแนะ

พิจารณาของ สพฐ. สถานศึกษา/ประเด็น สถานศึกษา และสัมภาษณ์เพิ่มเติม ของกรรมการ
พิจารณา ต่ ากว่า/เป็นไปตามเป้าหมาย/ ตามระดับคุณภาพท ี่ ประเมิน
สูงกว่า สถานศึกษาประเมิน
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน
1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของ

ผู้เรียน
1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการ

บริหารและการจัดการ

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการ

จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน
เป็นส าคัญ


คณะกรรมการเตรียมความพร้อมและซักซ้อมการประเมิน ร่วมกันสังเคราะห์รายงานการ

ประเมินตนเอง (SAR) ของสถานศึกษา และให้ข้อเสนอแนะเพอการพฒนาสถานศึกษา และน าไป
ื่
ประเมินจ าลองสถานศึกษาในกลุ่มเป้าหมาย ตามปฏิทิน

18




ออกแบบวางแผนการประเมิน

คณะกรรมการได้ร่วมกันออกแบบวางแผนการประเมินโดยใช้รูปแบบและแนวทางของ
ื้
ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนฐาน ในการซักซ้อมเสมือนจริง เพื่อรองรับการประเมินคุณภาพ
ภายนอก จาก สมศ. ที่ มุ่งเน้นการประเมินคุณภาพสถานศึกษาในภาพรวม (holistic rubrics) การ

ประเมินและตัดสินผลการประเมินคุณภาพการศึกษาโดยอาศัยความเชี่ยวชาญ (expert judgment)
ของผู้ประเมิน และตรวจทานผลการประเมินโดยคณะกรรมการระดับเดียวกัน (peer review) รวมทั้ง

การประเมินตามหลักฐานเชิงประจักษ์ที่เกิดจากการปฏิบัติงานตามสภาพจริงของสถานศึกษา
(evidence based)



ก าหนดปฏิทินการประเมินจ าลอง
คณะกรรมการร่วมกันก าหนดปฏิทินการเตรียมความพร้อมและซักซ้อมการประเมิน (Mock

Assessment) สถานศึกษากลุ่มเป้าหมาย ดังนี้

ที่ โรงเรียน วัน เดือน ปี

1 โรงเรียนท่าศาลาประสิทธิ์ศึกษา 20 กันยายน 2562

2 โรงเรียนคีรีราษฎร์พัฒนา 23 กันยายน 2562

3 โรงเรียนทุ่งสง 25 กันยายน 2562

4 โรงเรียนชะอวดวิทยาคาร 25 กันยายน 2562

5 โรงเรียนทุ่งใหญ่เฉลิมราชอนุสรณ์รัชมังคลาภิเษก 2 ตุลาคม 2562

6 โรงเรียนนาบอน 3 ตุลาคม 2562

7 โรงเรียนโยธินบ ารุง 4 ตุลาคม 2562

8 โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราช 8 ตุลาคม 2562

9 โรงเรียนนบพิต าวิทยา 24 ตุลาคม 2562

10 โรงเรียนป่าพะยอมพิทยาคม 24 กันยายน 2562

11 โรงเรียนตะโหมด 2 ตุลาคม 2562

12 โรงเรียนปากพะยูนพิทยาคาร 3 ตุลาคม 2562

13 โรงเรียนเขาชัยสน 4 ตุลาคม 2562

14 โรงเรียนดอนศาลาน าวิทยา 8 ตุลาคม 2562

15 โรงเรียนพัทลุง 9 ตุลาคม 2562

19




กิจกรรมที่ 3

ด าเนินการเตรียมความพร้อม และซกซ้อมการประเมิน(Mock Assessment)

สถานศึกษากลุ่มเป้าหมายเพื่อพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบส ี่



ชื่อสถานศึกษา : โรงเรียนท่าศาลาประสิทธิ์ศึกษา
วันที่ ด าเนินการ Mock Assessment : วันที่ 20 กันยายน 2562

คณะกรรมการซักซ้อมการประเมิน

1. นายสุนันท์ กลับขันธ์ ผู้อ านวยการโรงเรียนทุ่งสง
2. นายอรรถพร อักษรน า ผู้อ านวยการโรงเรียนขอนหาดประชาสรรค์

3. นางละอองทิพย์ บุณยเกียรติ ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ

4. นายวิเชียร ปาณะพงศ์ ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ
5. นางจิรา ชูช่วย ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ

6. นางยินดี คงทน ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ


รูปแบบการซักซ้อมการประเมิน : เป็นการซักซ้อมเสมือนจริง เพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก

จาก สมศ. ที่ มุ่งเน้นการประเมินคุณภาพสถานศึกษาในภาพรวม (holistic rubrics) การประเมินและ
ตัดสินผลการประเมินคุณภาพการศึกษาโดยอาศัยความเชี่ยวชาญ (expert judgment) ของผู้ประเมิน

และตรวจทานผลการประเมินโดยคณะกรรมการระดับเดียวกัน (peer review) รวมทั้ง การประเมินตาม

หลักฐานเชิงประจักษ์ที่เกิดจากการปฏิบัติงานตามสภาพจริงของสถานศึกษา (evidence based)


ข้อค้นพบประเด็นที่เตรียมความพร้อมและซักซ้อมการประเมิน (Mock Assessment)
1. การก าหนดมาตรฐานของสถานศึกษา

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน

การก าหนดระดับคุณภาพ ด้านคุณภาพผู้เรียน มีความเหมาะสมเป็นไปได้ มีร่อยรอย
เอกสาร หลักฐานที่เกิดจากผลการด าเนินงาน มีความน่าเชื่อถือ ผลการด าเนินงานเป็นไปตามเป้าหมาย

มีความต่อเนื่องและมีนวัตกรรมด้านผู้เรียนที่เป็นแบบอย่างได้ โรงเรียนมีการก าหนดความสามารถของ

ผู้เรียนค่อนข้างถูกต้อง
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ

การก าหนดระดับคุณภาพเหมาะสม มีความเป็นไปได้ มีระบบ บริหารจัดการคุณภาพ

ที่เป็นอย่างได้ มีร่องรอยเอกสารจากผลการด าเนินงานมีความน่าเชื่อได้ เป็นไปตามเป้าหมาย สอดคล้อง
กับนโยบายและต่อเนื่อง โรงเรียนมีเป้าหมายวิสัยทัศน์ พนธกิจ ชัดเจน มีรูปแบบของระบบการบริหาร


20






จัดการ การพฒนางานวิชาการ ที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านทุกกลุ่มเป้าหมาย มีแผนพฒนา
สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมแห่งการเรียนรู้ พฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ มีความชัดเจน

และเหมาะสม

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ

การให้ระดับคุณภาพได้เหมาะสม กับผลการด าเนินงานของสถานศึกษา การก าหนด
ประเด็นพจารณา มีความเหมาะสม มีระบบ เป็นไปได้ มีร่องรอยเอกสารเชื่อถือได้ ครูมีนวัตกรรมที่เป็น

แบบอย่างได้


2. การจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

โรงเรียนด าเนินการ ปรับปรุงพฒนาแผนพฒนาคุณภาพการศึกษา ใหม่ ให้สอดคล้องกับ


มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และก าหนดโครงการกิจกรรม ให้สอดคล้องกับมาตรฐานของ
สถานศึกษา
3. ระบบขอมลสารสนเทศ


โรงเรียนมีการวางแผนการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ ตามมาตรฐานการศึกษา ของ

สถานศึกษา ชัดเจนและสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
4. การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (SAR)

โรงเรียนได้ปรับปรุงการรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ตามข้อเสนอแนะของ

คณะกรรมการติดตามตรวจสอบ
5. ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา

5.1 ให้โรงเรียนจัดระบบข้อมูลสารสนเทศในแต่ละมาตรฐานซึ่งเกิดจากการปฏิบัติงานจริง

ให้เป็นปัจจุบัน ทั้ง 3 มาตรฐาน
5.2 ก ากับติดตามตรวจสอบผลการด าเนินงานอย่างต่อเนื่องและน าผลการก ากับติดตาม มา

ใช้ในการปรับปรุงพัฒนา
5.3 ส่งเสริมสนับสนุนให้ครูมีส่วนร่วมในการด าเนินงานพฒนาคุณภาพของสถานศึกษา

โดยประชาสัมพันธ์ผลการด าเนินงานพัฒนาคุณภาพ ของสถานศึกษา ให้ครูและผู้เกี่ยวข้องได้รับทราบ
5.4 ให้ผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการวางแผนพฒนานวัตกรรมการพฒนาคุณภาพของ


สถานศึกษา

21




ชื่อสถานศึกษา : โรงเรียนคีรีราษฎร์พัฒนา

วันที่ ด าเนินการ Mock Assessment : วันที่ 23 กันยายน 2562
คณะกรรมการซักซ้อมการประเมิน

1. นายสุนันท์ กลับขันธ์ ผู้อ านวยการโรงเรียนทุ่งสง

2. นายคีรี มากสังข์ ผู้อ านวยการโรงเรียนหัวไทรบ ารุงราษฎร์
3. นางละอองทิพย์ บุณยเกียรติ ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ

4. นายสุบรรณ์ เกราะแก้ว ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ
5. นางจิรา ชูช่วย ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ

6. นายวิเชียร ปาณะพงศ์ ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ



รูปแบบการซักซอมการประเมิน : เป็นการซักซ้อมเสมือนจริง เพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก
จาก สมศ. ที่ มุ่งเน้นการประเมินคุณภาพสถานศึกษาในภาพรวม (holistic rubrics) การประเมินและ
ตัดสินผลการประเมินคุณภาพการศึกษาโดยอาศัยความเชี่ยวชาญ (expert judgment) ของผู้ประเมิน

และตรวจทานผลการประเมินโดยคณะกรรมการระดับเดียวกัน (peer review) รวมทั้ง การประเมินตาม


หลักฐานเชิงประจักษ์ที่เกิดจากการปฏิบัติงานตามสภาพจริงของสถานศกษา (evidence based)


ข้อค้นพบประเด็นที่เตรียมความพร้อมและซักซ้อมการประเมิน (Mock Assessment)

1. การก าหนดมาตรฐานของสถานศึกษา
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน

การให้ระดับคุณภาพด้านคุณภาพผู้เรียน มีความเหมาะสม แต่การก าหนดประเด็น



พจารณาในมาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน ยังไม่สอดคล้องกบร่องรอยเอกสาร เช่น ความสามารถในการ
คิดวิเคราะห์ ฯ โรงเรียนก าหนดว่า “นักเรียนทุกคนเข้าร่วมกิจกรรมสภานักเรียน”, “นักเรียนร้อยละ 80
เข้าร่วมกิจกรรมการแข่งขันทักษะทางวิชาการ”เป็นต้น โรงเรียนไม่ได้น าสารสนเทศ มาก าหนดค่า
เป้าหมายความส าเร็จ เช่นผลการด าเนินงานร้อยละ 70 มีทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ

สื่อสาร แต่ก าหนดค่าเป้าหมายไว้ที่ ร้อยละ 80 มีทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เป็น

ต้น ในประเด็นพจารณา เรื่องความสามรถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โรงเรียนได้
ก าหนดไว้ว่า “นักเรียนร้อยละ 80 มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เกิดประโยชน์

ต่อการเรียน” ผลการประเมินพบว่า “นักเรียนร้อยละ 70 มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ

การสื่อสารที่เกิดประโยชน์ต่อการเรียน ซึ่งกว่าเป้าหมาย” แต่เมื่อดูจากประเด็นการพจารณาการให้
ระดับคุณภาพ ในระดับดีเลิศ ตามแนวทางการให้ระดับคุณภาพของ สพฐ. นั้น ไม่ได้เปรียบเทียบว่าสูง

กว่า,เป็นไปตามเป้าหมาย,หรือต่ ากว่าเป้าหมาย แต่ต้องระบุความสามารถของทักษะในการใช้เทคโนโลยี

22




ื่
สารสนเทศและการสื่อสารเพอพฒนาตนเอง และสังคมในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การท างาน ส่วน

การก าหนดประเด็นพิจารณา ด้านคุณลักษณะทึ่งประสงค์ มีความสอดคล้องและเป็นไปได้


มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ


การให้ระดับคุณภาพ เหมาะสม มีความเป็นไปได้ การด าเนินงานพฒนาวิชาการที่เน้น
คุณภาพผู้เรียนรอบด้าน ยังไม่ครอบคลุม มีระบบในการบริหารจัดการ มีระบบการนิเทศภายในโดยใช้

รูปแบบการนิเทศแบบคู่สัญญา แต่ไม่ได้น าข้อมูลมาใช้ในการวางแผนเพื่อพัฒนาคุณภาพของบุคลากร


มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ

การให้ระดับคุณภาพมีความเหมาะสม การก าหนดประเด็นพิจารณายังไม่สอดคล้องกับ
การด าเนินงาน

2. การจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
แผนพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษายังไม่สอดคล้องกับมาตรฐานของสถานศึกษา



3. ระบบขอมลสารสนเทศ
ระบบข้อมูลสารสนเทศยังไม่เป็นปัจจุบัน และยังไม่เป็นระบบ
4. การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (SAR)

การรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ไม่ได้น ากระบวนการพัฒนาของ

สถานศึกษามาเขียนให้สอดคล้องกับการด าเนินงานที่แท้จริง และสอดคล้องกับระดับคุณภาพ
5. ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา


5.1 ควรจัดระบบขอมูลสารสนเทศของสถานศึกษา ให้เป็นปัจจุบัน
5.2 น าข้อมูลสารสนเทศมาใช้ในการก าหนดมาตรฐานและค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
5.3 น ามาตรฐานของสถานศึกษาไปทบทวนแผนการพัฒนาคุณภาพของสถานศกษาและ

แผนปฏิบัติการประจ าปีของโรงเรียน
5.4 ควรน านโยบายรัฐบาลมาตรฐานการศึกษาชาติ 2561 มาใช้ในการวางแผนในการ

พัฒนาคุณภาพ
5.5 ปรับปรุงการเขียนรายงานการประเมินตนเองโดยน าผลการปฏิบัติงานมาเขียน

กระบวนการพัฒนาให้ชัดเจน

23




ชื่อสถานศึกษา : โรงเรียนทุ่งสง

วันที่ ด าเนินการ Mock Assessment : วันที่ 25 กันยายน 2562
คณะกรรมการซักซ้อมการประเมิน

1. นาย ส. สมบัติ มีสุนทร ผู้อ านวยการโรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราช

ื้
2. นายสุรพงศ์ เออศิริพรฤทธิ์ ผู้อ านวยการโรงเรียนท่าศาลาประสิทธิ์ศึกษา
3. นางสุรัชนี อยู่สบาย ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ

4. นายสุบรรณ์ เกราะแก้ว ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ
5. นายไตรรงค์ สาดแว ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ

6. นางสาวจรีรัตน์ สามารถ ศึกษานิเทศก์ช านาญการ



รูปแบบการซักซอมการประเมน : เป็นการซักซ้อมเสมือนจริง เพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก

จาก สมศ. ที่ มุ่งเน้นการประเมินคุณภาพสถานศึกษาในภาพรวม (holistic rubrics) การประเมินและ
ตัดสินผลการประเมินคุณภาพการศึกษาโดยอาศัยความเชี่ยวชาญ (expert judgment) ของผู้ประเมิน

และตรวจทานผลการประเมินโดยคณะกรรมการระดับเดียวกัน (peer review) รวมทั้ง การประเมินตาม

หลักฐานเชิงประจักษ์ที่เกิดจากการปฏิบัติงานตามสภาพจริงของสถานศกษา (evidence based)



ข้อค้นพบประเด็นที่เตรียมความพร้อมและซักซ้อมการประเมิน (Mock Assessment)

1. การก าหนดมาตรฐานของสถานศึกษา
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน

การให้ระดับคุณภาพไม่สอดคล้องกับผลการด าเนินงาน และประเมินตนเองตามกรอบ



ประเด็นพจาณาการให้ระดับคุณภาพของ กระทรวงศึกษาธิการ การก าหนดประเด็นพจารณาของ
มาตรฐานของสถานศึกษา มีความเหมาะสม การก าหนดคุณลักษณะของผู้เรียนมีความเหมาะสม
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ

การให้ระดับคุณภาพ ไม่สอดคล้องกับผลการด าเนินงาน การก าหนดประเด็นพจารณา

ในมาตรฐานที่ 2 สะท้อนความมระบบ มีความน่าเชื่อถือได้ ดูได้จากร่องรอยเอกสาร ผลงานเชิงประจักษ์
ื้
การได้รับรางวัลจากองค์กรและสถาบันต่างๆ ทั้งระดับเขตพนที่ และระดับชาติ มีความเป็นไปได้
ต่อเนื่อง และมีนวัตกรรม

24




มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ

การให้ระดับคุณภาพ เหมาะสม สอดคล้อง กับผลการด าเนินงาน ร่องรอยเอกสาร มี

ความสอดคล้องเหมาะสมเป็นไปได้ การก าหนดประเด็นพจารณา สอดคล้อง ครูมีนวัตกรรมที่เป็น
แบบอย่างได้

2. การจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ได้ปรับปรุงให้มีความสอดคล้อง กับมาตรฐานการศึกษาของ

สถานศึกษา

3. ระบบขอมลสารสนเทศ


มีระบบจัดการขอมูลสารสนเทศ ที่มีประสิทธิภาพ เป็นความเป็นปัจจุบัน ถูกต้อง
4. การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (SAR)

การเขียนรายงานประเมินตนเอง เขียนกระบวนการพฒนาแต่ละมาตรฐานของสถานศึกษา
ให้ชัดเจนและเป็นรูปธรรม


5. ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา

5.1 ปรับปรุงการให้ระดับคุณภาพในมาตรฐานที่ 1 และมาตรฐานที่ 2
5.2 ปรับปรุงการเขียนรายงานประเมินตนเอง เขียนกระบวนการพัฒนาแต่ละมาตรฐานของ

สถานศึกษาให้จัดเจนและเป็นรูปธรรม

25




ชื่อสถานศึกษา : โรงเรียนชะอวดวิทยาคาร

วันที่ ด าเนินการ Mock Assessment : วันที่ 25 กันยายน 2562
คณะกรรมการซักซ้อมการประเมิน

1. นายคีรี มากสังข์ ผู้อ านวยการโรงเรียนหัวไทรบ ารุงราษฎร์

2. นายอรรถพร อักษรน า ผู้อ านวยการโรงเรียนขอนหาดประชาสรรค์
3. นางละอองทิพย์ บุณยเกียรติ ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ

4. นายวิเชียร ปาณะพงศ์ ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ
5. นางยินดี คงทน ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ

6. นางจิรา ชูช่วย ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ



รูปแบบการซักซอมการประเมิน : เป็นการซักซ้อมเสมือนจริง เพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก
จาก สมศ. ที่ มุ่งเน้นการประเมินคุณภาพสถานศึกษาในภาพรวม (holistic rubrics) การประเมินและ
ตัดสินผลการประเมินคุณภาพการศึกษาโดยอาศัยความเชี่ยวชาญ (expert judgment) ของผู้ประเมิน

และตรวจทานผลการประเมินโดยคณะกรรมการระดับเดียวกัน (peer review) รวมทั้ง การประเมินตาม

หลักฐานเชิงประจักษ์ที่เกิดจากการปฏิบัติงานตามสภาพจริงของสถานศกษา (evidence based)

ข้อค้นพบประเด็นที่เตรียมความพร้อมและซักซ้อมการประเมิน (Mock Assessment)

1. การก าหนดมาตรฐานของสถานศึกษา

การก าหนดมาตรฐานของสถานศึกษา ทั้ง 3 มาตรฐาน ยังไม่สอดคล้องกับบริบทของ

สถานศึกษา ประกาศตามกรอบของกระทรวงศึกษาธิการ โดยไม่ปรับปรุง การด าเนินงานพฒนาระบบ
ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ไม่เป็นไปตามกฎกระทรวงฯ ปี 2561

2. การจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ยังไม่ได้พัฒนาปรับปรุงแผนพัฒนาคุณภาพการศกษา ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศกษา


ของสถานศึกษา


3. ระบบขอมลสารสนเทศ

ระบบการจัดเก็บขอมูลสารสนเทศไม่เป็นระบบ
4. การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (SAR)

ยังใช้รูปแบบการรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ในรูปแบบเดิม ไม่ได้ตรงตาม

กรอบแนวทางการรายงานการประเมินตนเองที่ต้องมุ่งตอบค าถาม 3 ข้อ ตามแนวทางการประเมิน
คุณภาพตามมาตรฐานการศกษาแนวใหม่


26




5. ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา

5.1 โรงเรียนต้องร่วมกันก าหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ตามกรอบการ



ด าเนินงานประกันคณภาพของกฏกระทรวงฯ สอดคล้องกบบริบทของสถานศกษา
5.2 พัฒนาระบบสารสนเทศให้เป็นปัจจุบัน
5.3 ก ากับติดตามผลการด าเนินงานอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ
5.4 ส่งเสริมให้ครูและบุคลากร ผู้เกี่ยวข้องทุกคนมีส่วนร่วม รับรู้ การด าเนินงานตามระบบ

ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
5.5 ควรจัดท ารายงานการรายงานประเมินตนเองของสถานศึกษา ให้มี และมีความ

น่าเชื่อถือได้ มุ่งตอบค าถาม 3 ข้อ ตามแนวทางประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาแนวใหม่

27





ชื่อสถานศึกษา : โรงเรียนทุ่งใหญ่เฉลิมราชอนุสรณ์รัชมงคลาภิเษก
วันที่ ด าเนินการ Mock Assessment : วันที่ 2 ตุลาคม 2562
คณะกรรมการซักซ้อมการประเมิน

1. นายสุรพงศ์ เออศิริพรฤทธิ์ ผู้อ านวยการโรงเรียนท่าศาลาประสิทธิ์ศึกษา
ื้

2. นายพีระพงษ์ สองวิหค ผู้อ านวยการโรงเรียนเตรียมอดมศึกษาภาคใต้
3. นางสุรัชนี อยู่สบาย ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ

4. นายสุบรรณ์ เกราะแก้ว ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ
5. นายไตรรงค์ สาดแว ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ

6. นางสาวจรีรัตน์ สามารถ ศึกษานิเทศก์ช านาญการ



รูปแบบการซักซอมการประเมิน : เป็นการซักซ้อมเสมือนจริง เพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก
จาก สมศ. ที่ มุ่งเน้นการประเมินคุณภาพสถานศึกษาในภาพรวม (holistic rubrics) การประเมินและ
ตัดสินผลการประเมินคุณภาพการศึกษาโดยอาศัยความเชี่ยวชาญ (expert judgment) ของผู้ประเมิน

และตรวจทานผลการประเมินโดยคณะกรรมการระดับเดียวกัน (peer review) รวมทั้ง การประเมินตาม


หลักฐานเชิงประจักษ์ที่เกิดจากการปฏิบัติงานตามสภาพจริงของสถานศกษา (evidence based)


ข้อค้นพบประเด็นที่เตรียมความพร้อมและซักซ้อมการประเมิน (Mock Assessment)

1. การก าหนดมาตรฐานของสถานศึกษา
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน

การให้ระดับคุณภาพ ทั้ง 3 มาตรฐานมีความเหมาะสม สอดคล้องกับผลการ

ด าเนินงานร่องรอยเอกสาร มีความน่าเชื่อถือ มีความเป็นไปได้ในการปฏิบัติ
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ

การให้ระดับคุณภาพ ไม่สอดคล้องกับผลการด าเนินงาน การก าหนดประเด็นพจารณา


ในมาตรฐานที่ 2 สะท้อนความมระบบ มีความน่าเชื่อถือได้ ดูได้จากร่องรอยเอกสาร ผลงานเชิงประจักษ์
การได้รับรางวัลจากองค์กรและสถาบันต่างๆ ทั้งระดับเขตพนที่ และระดับชาติ มีความเป็นไปได้
ื้
ต่อเนื่อง และมีนวัตกรรม

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ

การให้ระดับคุณภาพ เหมาะสม สอดคล้อง กับผลการด าเนินงาน ร่องรอยเอกสาร มี
ความสอดคล้องเหมาะสมเป็นไปได้ การก าหนดประเด็นพิจารณา สอดคล้องกับผลการด าเนินงาน

28




2. การจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา


สถานศึกษามการปรับปรุงแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ที่สอดคล้องคล้องกับมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา


3. ระบบขอมลสารสนเทศ

มีระบบการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศในบางมาตรฐาน ยังไม่เป็นปัจจุบัน เช่น มาตรฐานที่ 2
ในเรื่องของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารและการจัดการเรียนรู้ ยังไม่ชัดเจน ควรเพิ่มเติม

บางประเด็น
4. การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (SAR)

ควรเพิ่มเติมร่องรอยหลักฐาน ผลการด าเนินงานด้านผู้เรียนเพิ่มเติมกระบวนการพัฒนายัง

เป็นนามธรรม
5. ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา

5.1 สารสนเทศด้านคุณภาพผู้เรียนควรรวบรวมให้เป็นปัจจุบัน
5.2 ควรก าหนดแผนการพัฒนาให้ครอบคลุมในด้านการบริหารการจัดการและการจัดการ

เรียนรู้

ปรับปรุงการเรียนรายงานการประเมินตนเอง กระบวนการพัฒนาในแต่ละมาตรฐานให้สอดคล้องกับการ
ด าเนินงานข้อมูลหลักฐานเอกสารเชิงประจักษ์

29




ชื่อสถานศึกษา : โรงเรียนนาบอน

วันที่ ด าเนินการ Mock Assessment : วันที่ 3 ตุลาคม 2562
คณะกรรมการซักซ้อมการประเมิน

ื้
1. นายสุรพงศ์ เออศิริพรฤทธิ์ ผู้อ านวยการโรงเรียนท่าศาลาประสิทธิ์ศึกษา

2. นายพีระพงษ์ สองวิหค ผู้อ านวยการโรงเรียนเตรียมอดมศึกษาภาคใต้
3. นางสุรัชนี อยู่สบาย ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ

4. นายสุบรรณ์ เกราะแก้ว ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ
5. นายไตรรงค์ สาดแว ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ

6. นางสาวจรีรัตน์ สามารถ ศึกษานิเทศก์ช านาญการ


รูปแบบการซักซ้อมการประเมิน : เป็นการซักซ้อมเสมือนจริง เพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก

จาก สมศ. ที่ มุ่งเน้นการประเมินคุณภาพสถานศึกษาในภาพรวม (holistic rubrics) การประเมินและ
ตัดสินผลการประเมินคุณภาพการศึกษาโดยอาศัยความเชี่ยวชาญ (expert judgment) ของผู้ประเมิน

และตรวจทานผลการประเมินโดยคณะกรรมการระดับเดียวกัน (peer review) รวมทั้ง การประเมินตาม

หลักฐานเชิงประจักษ์ที่เกิดจากการปฏิบัติงานตามสภาพจริงของสถานศกษา (evidence based)



ข้อค้นพบประเด็นที่เตรียมความพร้อมและซักซ้อมการประเมิน (Mock Assessment)

1. การก าหนดมาตรฐานของสถานศึกษา
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน

การให้ระดับคุณภาพยังไม่สอดคล้องกับผลการด าเนินงาน การก าหนดประเด็น

พิจารณา มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ในมาตรฐานที่ 1 และ 3 ไม่สอดคล้องกับบริบทของ
สถานศึกษา

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
การให้ระดับคุณภาพ ไม่สอดคล้องกับผลการด าเนินงาน การก าหนดประเด็นพจารณา

ในมาตรฐานที่ 2 สะท้อนความมีระบบ มีความน่าเชื่อถือได้ ดูได้จากร่องรอยเอกสาร ผลงานเชิงประจักษ์
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ

การให้ระดับคุณภาพยังไม่เหมาะสม สอดคล้อง กับผลการด าเนินงาน มีร่องรอย

เอกสาร มีความสอดคล้องเหมาะสมเป็นไปได้ ครูมีผลงานนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้
2. การจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา



สถานศึกษามการปรับปรุงและพัฒนาการจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศกษา และแผน
ปฏิบัติงานประจ าปี ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

30





3. ระบบขอมลสารสนเทศ


ระบบการจัดเก็บขอมูลสารสนเทศ ยังไม่เป็นปัจจุบัน ขาดความน่าเชื่อถือ
4. การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (SAR)

การเขียนรายงานประเมินตนเอง ขาดผลการด าเนินงานข้อมูลหลักฐานเชิงประจักษ์ ตาม

ประเด็นพิจารณา
5. ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา

5.1 การเขียนรายงานประเมินตนเอง ควรปรับปรุงในผลการด าเนินงานข้อมูลหลักฐานเชิง
ประจักษ์ ตามประเด็นพิจารณาให้เหมาะสมและมีความน่าเชื่อถือ

5.2 ควรปรับปรุงและพัฒนาการจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และแผนปฏิบัติงาน

ประจ าปี ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
5.3 ควรปรับปรุงระบบการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ ยังไม่เป็นปัจจุบัน ให้มีประสิทธิภาพ

5.4 ควรให้ครูและผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมรับรู้และร่วมกันก าหนดมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษา


5.5 ควรประชาสัมพนธ์การด าเนินงานและผลการด าเนินงานตามระบบประกันคุณภาพ
ภายในสถานศึกษาให้ครูและผู้เกี่ยวข้องได้รับทราบอย่างต่อเนื่อง

31




ชื่อสถานศึกษา : โรงเรียนโยธินบ ารุง

วันที่ ด าเนินการ Mock Assessment : วันที่ 4 ตุลาคม 2562
คณะกรรมการซักซ้อมการประเมิน

ื้
1. นายสุรพงศ์ เออศิริพรฤทธิ์ ผู้อ านวยการโรงเรียนท่าศาลาประสิทธิ์ศึกษา

2. นายพีระพงษ์ สองวิหค ผู้อ านวยการโรงเรียนเตรียมอดมศึกษาภาคใต้
3. นางสุรัชนี อยู่สบาย ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ

4. นายสุบรรณ์ เกราะแก้ว ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ
5. นายไตรรงค์ สาดแว ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ

6. นางสาวจรีรัตน์ สามารถ ศึกษานิเทศก์ช านาญการ



รูปแบบการซักซอมการประเมิน : เป็นการซักซ้อมเสมือนจริง เพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก
จาก สมศ. ที่ มุ่งเน้นการประเมินคุณภาพสถานศึกษาในภาพรวม (holistic rubrics) การประเมินและ
ตัดสินผลการประเมินคุณภาพการศึกษาโดยอาศัยความเชี่ยวชาญ (expert judgment) ของผู้ประเมิน

และตรวจทานผลการประเมินโดยคณะกรรมการระดับเดียวกัน (peer review) รวมทั้ง การประเมินตาม

หลักฐานเชิงประจักษ์ที่เกิดจากการปฏิบัติงานตามสภาพจริงของสถานศกษา (evidence based)



ข้อค้นพบประเด็นที่เตรียมความพร้อมและซักซ้อมการประเมิน (Mock Assessment)

1. การก าหนดมาตรฐานของสถานศึกษา
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน

การให้ระดับคุณภาพ เหมาะสม สอดคล้องกับผลการด าเนินงานการก าหนดมาตรฐาน

การศึกษาของสถานศึกษา สอดคล้อง เหมาะสม เป็นไปได้ มีหลักฐานร่องรอยจากผลการด าเนินงาน ที่
เชื่อถือได้ นักเรียนมีนวัตกรรมและน าไปใช้ มีการเผยแพร่ในเวทีต่างๆ

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
การให้ระดับคุณภาพ สอดคล้องกับผลการด าเนินงาน การก าหนดประเด็นพจารณาใน

สะท้อนความมีระบบ มีความน่าเชื่อถือได้ ดูได้จากร่องรอยเอกสาร ผลงานเชิงประจักษ์ การได้รับรางวัล
จากองค์กรและสถาบันต่างๆ ทั้งระดับเขตพนที่ และระดับชาติ มีความเป็นไปได้ ต่อเนื่อง และมี
ื้
นวัตกรรม

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ
การให้ระดับคุณภาพ เหมาะสม สอดคล้อง กับผลการด าเนินงาน ร่องรอยเอกสาร มี

ความสอดคล้องเหมาะสมเป็นไปได้ การก าหนดประเด็นพิจารณา สอดคล้องกับผลการด าเนินงาน ครูมี

32




ผลงานมีนวัตกรรมที่เกิดจากการจัดการเรียนการสอน มีการน าภูมิปัญญาท้องถิ่นมาบูรณาการการ

จัดการเรียนการสอน
2. การจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และ

แผนปฏิบัติการประจ าปี เป็นแบบอย่างได้
3. ระบบขอมลสารสนเทศ


การจัดท าข้อมูลสารสนเทศเป็นระบบ น่าเชื่อถือ มีนวัตกรรมด้านคุณภาพผู้เรียน
ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ และด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น

ส าคัญ

4. การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (SAR)
การเขียนรายงานการประเมินตนเองมีความสอดคล้องเหมาะสมทั้ง 3 มาตรฐาน

5. ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา
5.1 ควรปรับกระบวนการพัฒนาในการส่งเสริมให้ครูท าแผนการจัดการเรียนรู้แบบ Active

Leaning ให้ครูมีแผนทุกคนและน าแผนลงไปปฏิบัติจริง

5.2 ควรส่งเสริมให้ครูแก้ปัญหาให้มีรูปแบบวิธีการสอนที่สามารถเผยแพร่ได้
5.3 จัดท าแผนการวัดและประเมินผล ที่สอดคล้องกับมาตรฐานตัวชี้วัดของหลักสูตร

5.4 ควรระบุในแผนการกิจกรรมการเรียนรู้ ถึงการใช้สื่อที่หลากหลายทันสมัยเหมาะสมกับ

เป้าหมาย และวัตถุประสงค์
5.5 การท า PLC ควรมีร่องรอยบันทึกการประชุมเรื่องที่น ามาแก้ปัญหา

33




ชื่อสถานศึกษา : โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราช

วันที่ ด าเนินการ Mock Assessment : วันที่ 8 ตุลาคม 2562
คณะกรรมการซักซ้อมการประเมิน

1. นายสุนันท์ กลับขันธ์ ผู้อ านวยการโรงเรียนทุ่งสง

2. นายนายคีรี มากสังข์ ผู้อ านวยการโรงเรียนหัวไทรบ ารุงราษฎร์
3. นางละอองทิพย์ บุณยเกียรติ ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ

4. นายวิเชียร ปาณะพงศ์ ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ
5. นางยินดี คงทน ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ

6. นางจิรา ชูช่วย ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ



รูปแบบการซักซอมการประเมิน : เป็นการซักซ้อมเสมือนจริง เพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก
จาก สมศ. ที่ มุ่งเน้นการประเมินคุณภาพสถานศึกษาในภาพรวม (holistic rubrics) การประเมินและ
ตัดสินผลการประเมินคุณภาพการศึกษาโดยอาศัยความเชี่ยวชาญ (expert judgment) ของผู้ประเมิน

และตรวจทานผลการประเมินโดยคณะกรรมการระดับเดียวกัน (peer review) รวมทั้ง การประเมินตาม


หลักฐานเชิงประจักษ์ที่เกิดจากการปฏิบัติงานตามสภาพจริงของสถานศกษา (evidence based)


ข้อค้นพบประเด็นที่เตรียมความพร้อมและซักซ้อมการประเมิน (Mock Assessment)

1. การก าหนดมาตรฐานของสถานศึกษา
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน


การให้ระดับคุณภาพ มีความเหมาะสม การก าหนดประเด็นพจารณาของสถานศึกษา
ยังไม่สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา เช่น ด้านคุณภาพผู้เรียน นักเรียนมีผลงาน ยอดเยี่ยม และ
ได้รับการเผยแพร่ แต่ไม่น ามาก าหนดเป็นประเด็นการพจารณาให้สอดคล้องกับร่อยรอยหลักฐาน ด้าน

กระบวนการบริหารและการจัดการ และด้านการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ มี
นวัตกรรม และมีการเผยแพร่ แต่ไม่น ามาก าหนดหรือเขียนให้สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของ

สถานศึกษา
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ

การให้ระดับคุณภาพ ยังไม่สอดคล้องกับผลการด าเนินงาน ด้านกระบวนการบริหาร

และการจัดการ มีนวัตกรรม และมีการเผยแพร่ แต่ไม่น ามาก าหนดหรือเขียนให้สอดคล้องกับมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา

34




มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ

การให้ระดับคุณภาพ เหมาะสม แต่ยังสอดคล้อง กับผลการด าเนินงาน ร่องรอย
เอกสาร มีความสอดคล้องเหมาะสมเป็นไปได้ ด้านการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ มี

นวัตกรรม และมีการเผยแพร่ แต่ไม่น ามาก าหนดหรือเขียนให้สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของ

สถานศึกษา
2. การจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ยังไม่สอดคล้องกับการก าหนดมาตรฐานการศกษาของ

สถานศึกษาสถานศึกษายังไม่มีการปรับปรุงแผนพัฒนาคุณภาพการศกษา ที่สอดคล้องคล้องกับ


มาตรฐานการศกษาของสถานศึกษา

3. ระบบขอมลสารสนเทศ


ระบบการจัดเก็บขอมูลสารสนเทศ ยังไม่เป็นปัจจุบัน
4. การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (SAR)
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง ขาดการน าข้อมูลสารสนเทศ หลักฐานเอกสารที่เกิด


จากผลการด าเนินงานมายืนยัน และไม่ตรงกับประเด็นการพจารณาของมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษา
5. ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา

5.1 ควรมีการทบทวนการก าหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยให้ครูและ

ผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการก าหนดมาตรฐานการศึกษาและประเด็นการพิจารณาให้สอดคล้องกับบริบท
ของสถานศึกษา

5.2 ควรปรับปรุงแผนพฒนาคุณภาพการศึกษา ให้สอดคล้องกับการก าหนดมาตรฐาน

การศึกษาของสถานศึกษา
5.3 ปรับปรุงพัฒนาระบบการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ ให้เป็นปัจจุบัน

5.4 ควรเขียนรายงานการประเมินตนเอง โดยการน าข้อมูลสารสนเทศ หลักฐานเอกสารที่

เกิดจากผลการด าเนินงานมายืนยัน และให้ตรงกับประเด็นการพจารณาของมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษา
5.5 ควรสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวการด าเนินงานระบบประกันคุณภาพภายใน

สถานศึกษาให้ครูและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายได้รับรู้ร่วมกันสารสนเทศด้านคุณภาพผู้เรียนควรรวบรวมให้เป็น

ปัจจุบัน

5.6 ควรก าหนดแผนการพฒนาให้ครอบคลุมในด้านการบริหารการจัดการและการจัดการ
เรียนรู้ปรับปรุงการเรียนรายงานการประเมินตนเอง กระบวนการพฒนาในแต่ละมาตรฐานให้สอดคล้อง

กับการด าเนินงานข้อมูลหลักฐานเอกสารเชิงประจักษ์

35




ชื่อสถานศึกษา : โรงเรียนนบพิต าวิทยา

วันที่ ด าเนินการ Mock Assessment : วันที่ 24 ตุลาคม 2562
คณะกรรมการซักซ้อมการประเมิน

1. นาย ส. สมบัติ มีสุนทร ผู้อ านวยการโรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราช


2. นายพีระพงษ์ สองวิหค ผู้อ านวยการโรงเรียนเตรียมอดมศึกษาภาคใต้
3. นางสุรัชนี อยู่สบาย ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ

4. นายสุบรรณ์ เกราะแก้ว ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ
5. นายไตรรงค์ สาดแว ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ

6. นางสาวจรีรัตน์ สามารถ ศึกษานิเทศก์ช านาญการ



รูปแบบการซักซอมการประเมิน : เป็นการซักซ้อมเสมือนจริง เพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก
จาก สมศ. ที่ มุ่งเน้นการประเมินคุณภาพสถานศึกษาในภาพรวม (holistic rubrics) การประเมินและ
ตัดสินผลการประเมินคุณภาพการศึกษาโดยอาศัยความเชี่ยวชาญ (expert judgment) ของผู้ประเมิน

และตรวจทานผลการประเมินโดยคณะกรรมการระดับเดียวกัน (peer review) รวมทั้ง การประเมินตาม


หลักฐานเชิงประจักษ์ที่เกิดจากการปฏิบัติงานตามสภาพจริงของสถานศกษา (evidence based)


ข้อค้นพบประเด็นที่เตรียมความพร้อมและซักซ้อมการประเมิน (Mock Assessment)

1. การก าหนดมาตรฐานของสถานศึกษา
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน

การให้ระดับคุณภาพ ทั้งสามมาตรฐาน เหมาะสม การก าหนดมาตรฐานการศึกษาของ

สถานศึกษา และประเด็นการพิจารณา ทั้งสามมาตรฐาน สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา
มีร่อยรอยหลักฐาน เอกสารที่เกิดจากผลการด าเนินงาน มีความเหมาะสม เป็นไปได้ มีความน่าเชื่อถือ

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ

การให้ระดับคุณภาพ สอดคล้องกบผลการด าเนินงาน การก าหนดประเด็นพจารณา มี

ความน่าเชื่อถือได้ ดูได้จากร่องรอยเอกสาร ผลงานเชิงประจักษ์ มีความเป็นไปได้ ต่อเนื่อง
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ

การให้ระดับคุณภาพ เหมาะสม สอดคล้อง กับผลการด าเนินงาน ร่องรอยเอกสาร มี

ความสอดคล้องเหมาะสมเป็นไปได้ การก าหนดประเด็นพิจารณา สอดคล้องกับผลการด าเนินงาน
2. การจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

สถานศึกษาปรับปรุงแผนพัฒนาคุณภาพสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

36





3. ระบบขอมลสารสนเทศ

มีระบบจัดเก็บขอมูลสารสนเทศ ที่มีประสิทธิภาพ

4. การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (SAR)

การเขียนรายงานการประเมินตนเองถูกต้อง สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของ


สถานศึกษา มีข้อมูลเอกสาร หลักฐานผลงานเชิงประจักษ ในการสนับสนุนผลการด าเนินงานและการ
ให้ระดับคุณภาพ

5. ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา
5.1 ควรมีการก ากับติดตามผลการด าเนินงานอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ

5.2 ส่งเสริมให้ครูและบุคลากร ผู้เกี่ยวข้องทุกคนมีส่วนร่วม รับรู้ การด าเนินงานตามระบบ

ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาสารสนเทศด้านคุณภาพผู้เรียนควรรวบรวมให้เป็นปัจจุบัน
5.3 ประชาสัมพันธ์ผลการด าเนินงานให้แก่ผู้ที่เกี่ยวข้องรับทราบ อย่างต่อเนื่อง

37




ชื่อสถานศึกษา : โรงเรียนป่าพะยอมพิทยาคม

วันที่ ด าเนินการ Mock Assessment : วันที่ 24 กันยายน 2562
คณะกรรมการซักซ้อมการประเมิน


1. นายปรีชา มากมณ ผู้อ านวยการโรงเรียนปากพะยูนพิทยาคาร
2. นางมาลี แก้วละเอียด ผู้อ านวยการโรงเรียนสตรีพัทลุง
3. นายชาญณรงค์ รัตนบุรี ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ

4. นางปทิตตา จันทร์สว่าง ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ
5. นางสุรัชนี อยู่สบาย ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ

6. นายสุบรรณ์ เกราะแก้ว ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ

7. นางสาวจรีรัตน์ สามารถ ศึกษานิเทศก์ช านาญการ


รูปแบบการซักซอมการประเมิน : เป็นการซักซ้อมเสมือนจริง เพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก

จาก สมศ. ที่ มุ่งเน้นการประเมินคุณภาพสถานศึกษาในภาพรวม (holistic rubrics) การประเมินและ

ตัดสินผลการประเมินคุณภาพการศึกษาโดยอาศัยความเชี่ยวชาญ (expert judgment) ของผู้ประเมิน

และตรวจทานผลการประเมินโดยคณะกรรมการระดับเดียวกัน (peer review) รวมทั้ง การประเมินตาม

หลักฐานเชิงประจักษ์ที่เกิดจากการปฏิบัติงานตามสภาพจริงของสถานศกษา (evidence based)


ข้อค้นพบประเด็นที่เตรียมความพร้อมและซักซ้อมการประเมิน (Mock Assessment)
1. การก าหนดมาตรฐานของสถานศึกษา

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน

การให้ระดับคุณภาพ มีความเหมาะสมทั้ง 3 มาตรฐาน การก าหนดประเด็นพจารณา

ในแต่ละมาตรฐานยังไม่สอดคล้องกบบริบทของสถานศึกษา ขาดการมีส่วนร่วมของครูและผู้เกี่ยวข้อง ใน

การร่วมกันก าหนดมาตรฐาน ประเด็นการพิจาณาในแต่ละมาตรฐาน
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ


การให้ระดับคุณภาพ ไม่สอดคล้องกับผลการด าเนินงาน การก าหนดประเด็นพจารณา
ในมาตรฐานที่ 2 ยังไม่สะท้อนความมีระบบ มีความน่าเชื่อถือได้ ยังคงยึดรูปแบบการประกันคุณภาพ

ภายในสถานศึกษา รอบสามอยู่

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ
การให้ระดับคุณภาพ เหมาะสม แต่ไม่สอดคล้องกับผลการด าเนินงาน มีร่องรอย

เอกสาร มีความสอดคล้องเหมาะสมเป็นไปได้ การก าหนดประเด็นพจารณา ไม่สอดคล้องกับผลการ

ด าเนินงาน

38




2. การจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา


การจัดท าแผนพฒนาคุณภาพการศึกษา ยังไม่มีการปรับปรุงพฒนาให้สอดคล้องกับ

มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา


3. ระบบขอมลสารสนเทศ
การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศยังไม่เป็นระบบ และไม่เป็นปัจจุบันโดยเฉพาะผลการประเมิน
ในด้านคุณภาพผู้เรียน มีเฉพาะปี 2559 เอกสารสารสนเทศ ร่องรอย หลักฐาน ยังไม่มีความน่าเชื่อถือ

มีระบบการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศในบางมาตรฐาน ยังไม่เป็นปัจจุบัน เช่น มาตรฐานที่ 2 ในเรื่องของ
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารและการจัดการเรียนรู้ ยังไม่ชัดเจน ควรเพิ่มเติมบางประเด็น

4. การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (SAR)

กระบวนการพัฒนาทั้งสามมาตรฐาน ไม่สะท้อนถึงการด าเนินงานของโรงเรียน ระบบการ
บริหารจัดการที่ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ไม่สอดคล้องกับแนวทางการประเมินคุณภาพ

ตามมารตรฐานการศึกษา
5. ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา


5.1 ควรทบทวนการก าหนดประเด็นพิจารณาในแต่ละมาตรฐานให้สอดคล้องกบบริบทของ
สถานศึกษา โดยการมีส่วนร่วมของครูและผู้เกี่ยวข้อง ร่วมกันก าหนดมาตรฐาน ประเด็นการพจาณาใน

แต่ละมาตรฐาน

5.2 ปรับปรุงการจัดท าแผนพฒนาคุณภาพการศึกษา ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษา

ของสถานศึกษา
5.3 พัฒนาระบบการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศให้เป็นปัจจุบัน

5.4 ควรเขียนปรับปรุงการเขียนรายงานการประเมินตนเอง ทั้งสามมาตรฐาน


กระบวนการพฒนา ที่สะท้อนถึงการด าเนินงานของโรงเรียน ระบบการบริหารจัดการที่ส่งผลต่อการ
พัฒนาคุณภาพสถานศึกษา

5.5 ควรสร้างความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
ให้กับครูและผู้เกี่ยวข้องได้รับทราบร่วมกัน สารสนเทศด้านคุณภาพผู้เรียนควรรวบรวมให้เป็นปัจจุบัน


5.6 ควรก าหนดแผนการพฒนาให้ครอบคลุมในด้านการบริหารการจัดการและการจัดการ
เรียนรู้


ปรับปรุงการเรียนรายงานการประเมนตนเอง กระบวนการพฒนาในแต่ละมาตรฐานให้สอดคล้องกับการ

ด าเนินงานข้อมูลหลักฐานเอกสารเชิงประจักษ์

39




ชื่อสถานศึกษา : โรงเรียนตะโหมด

วันที่ ด าเนินการ Mock Assessment : วันที่ 2 ตุลาคม 2562
คณะกรรมการซักซ้อมการประเมิน


1. นายปรีชา มากมณ ผู้อ านวยการโรงเรียนปากพะยูนพิทยาคาร
2. นางมาลี แก้วละเอียด ผู้อ านวยการโรงเรียนสตรีพัทลุง
3. นางละอองทิพย์ บุณยเกียรติ ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ

4. นายชาญณรงค์ รัตนบุรี ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ
5. นางปทิตตา จันทร์สว่าง ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ

6. นายวิเชียร ปาณะพงศ์ ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ

7. นางยินดี คงทน ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ



รูปแบบการซักซอมการประเมิน : เป็นการซักซ้อมเสมือนจริง เพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก
จาก สมศ. ที่ มุ่งเน้นการประเมินคุณภาพสถานศึกษาในภาพรวม (holistic rubrics) การประเมินและ

ตัดสินผลการประเมินคุณภาพการศึกษาโดยอาศัยความเชี่ยวชาญ (expert judgment) ของผู้ประเมิน

และตรวจทานผลการประเมินโดยคณะกรรมการระดับเดียวกัน (peer review) รวมทั้ง การประเมินตาม

หลักฐานเชิงประจักษ์ที่เกิดจากการปฏิบัติงานตามสภาพจริงของสถานศกษา (evidence based)


ข้อค้นพบประเด็นที่เตรียมความพร้อมและซักซ้อมการประเมิน (Mock Assessment)
1. การก าหนดมาตรฐานของสถานศึกษา

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน

การให้ระดับคุณภาพมีความเหมาะสม สอดคล้องกับผลการด าเนินการ การก าหนด

ประเด็นการพจาณา มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ด้านคุณภาพผู้เรียนยังไม่ได้ก าหนดค่า
เป้าหมายความส าเร็จ
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ

การให้ระดับคุณภาพ เหมาะสม สอดคล้องกับผลการด าเนินงาน การก าหนดประเด็น
พิจารณามีความเป็นไปได้ในการปฏิบัติ

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ

การให้ระดับคุณภาพ เหมาะสม สอดคล้อง กับผลการด าเนินงาน ร่องรอยเอกสาร มี
ความสอดคล้องเหมาะสมเป็นไปได้ การก าหนดประเด็นพิจารณา สอดคล้องกับผลการด าเนินงาน

40




2. การจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา


สถานศึกษามการปรับปรุงแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา


3. ระบบขอมลสารสนเทศ

มีระบบขอมูลสารสนเทศ เอกสาร ร่องรอยที่เกิดจากผลการด าเนินงานที่น่าเชื่อถือได้ มี

ระบบที่มีประสิทธิภาพ

4. การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (SAR)
กระบวนการพัฒนาและผลการด าเนินงานเป็นรูปธรรม ระบุข้อมูลหลักฐานเอกสาร เชิง


ประจักษที่ชัดเจน น่าเชื่อถือ
5. ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา
5.1 ควรก าหนดประเด็นการพิจาณาเป้าหมายความส าเร็จ มาตรฐานการศึกษาของ

สถานศึกษา ด้านคุณภาพผู้เรียนให้ชัดเจน
5.2 ควรพัฒนาระบบนิเทศภายใน การด าเนินงานของสถานศึกษาให้มีประสิทธิภาพ

5.3 ควรสร้างความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

ให้กับครูและผู้เกี่ยวข้องได้รับทราบร่วมกันควรก าหนดแผนการพัฒนาให้ครอบคลุมในด้านการบริหาร
การจัดการและการจัดการเรียนรู้

5.4 ปรับปรุงการเรียนรายงานการประเมินตนเอง กระบวนการพัฒนาในแต่ละมาตรฐานให้

สอดคล้องกับการด าเนินงานข้อมูลหลักฐานเอกสารเชิงประจักษ์

41




ชื่อสถานศึกษา : โรงเรียนปากพะยูนพิทยาคาร

วันที่ ด าเนินการ Mock Assessment : วันที่ 3 ตุลาคม 2562
คณะกรรมการซักซ้อมการประเมิน

1. นายสุนันท์ กลับขันธ์ ผู้อ านวยการโรงเรียนทุ่งสง

2. นางมาลี แก้วละเอียด ผู้อ านวยการโรงเรียนสตรีพัทลุง
3. นางละอองทิพย์ บุณยเกียรติ ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ

4. นายชาญณรงค์ รัตนบุรี ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ
5. นางปทิตตา จันทร์สว่าง ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ

6. นายวิเชียร ปาณะพงศ์ ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ

7. นางยินดี คงทน ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ



รูปแบบการซักซอมการประเมิน : เป็นการซักซ้อมเสมือนจริง เพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก
จาก สมศ. ที่ มุ่งเน้นการประเมินคุณภาพสถานศึกษาในภาพรวม (holistic rubrics) การประเมินและ

ตัดสินผลการประเมินคุณภาพการศึกษาโดยอาศัยความเชี่ยวชาญ (expert judgment) ของผู้ประเมิน

และตรวจทานผลการประเมินโดยคณะกรรมการระดับเดียวกัน (peer review) รวมทั้ง การประเมินตาม

หลักฐานเชิงประจักษ์ที่เกิดจากการปฏิบัติงานตามสภาพจริงของสถานศกษา (evidence based)


ข้อค้นพบประเด็นที่เตรียมความพร้อมและซักซ้อมการประเมิน (Mock Assessment)
1. การก าหนดมาตรฐานของสถานศึกษา

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน

การให้ระดับคุณภาพ เหมาะสม สอดคล้องกับผลการด าเนินงานของสถานศึกษา การ
ก าหนดประเด็นพจาณาในแต่ละมาตรฐาน สอดคล้องกบบริบทของ โรงเรียนการให้ระดับคุณภาพ ทั้ง 3


มาตรฐานมีความเหมาะสม สอดคล้องกับผลการด าเนินงานร่องรอยเอกสาร มีความน่าเชื่อถือ มีความ
เป็นไปได้ในการปฏิบัติ

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
การให้ระดับคุณภาพ เหมาะสม สอดคล้องกับผลการด าเนินงาน การก าหนดประเด็น

พิจารณาในมาตรฐานที่ 2 สะท้อนความมีระบบ มีความน่าเชื่อถือได้ ดูได้จากร่องรอยเอกสาร ผลงานเชิง

ื้
ประจักษ การได้รับรางวัลจากองค์กรและสถาบันต่างๆ ทั้งระดับเขตพนที่ และระดับชาติ มีความเป็นไป

ได้ ต่อเนื่อง

42




มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ

การให้ระดับคุณภาพ เหมาะสม สอดคล้อง กับผลการด าเนินงาน ร่องรอยเอกสาร มี
ความสอดคล้องเหมาะสมเป็นไปได้ การก าหนดประเด็นพิจารณา สอดคล้องกับผลการด าเนินงาน



2. การจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
มีการปรับปรุงแผนพฒนาคุณภาพที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา มี


ระบบการก ากับติดตาม จัดเก็บข้อมูลสอดคล้องกับมาตรฐานและประเด็นการพจารณาในและ
ผู้รับผิดชอบในแต่ละด้านชัดเจน



3. ระบบขอมลสารสนเทศ
มีระบบข้อมูลสารสนเทศที่ชัดเจน สอดคล้องกับผลการด าเนินงานในระบบประกันคุณภาพ
ภายในสถานศึกษา

4. การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (SAR)

การรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ระบุระดับคุณภาพกระบวนการพฒนาที่
เป็นรูปธรรม ผลการด าเนินงานมีข้อมูล หลักฐานเอกสารเชิงประจักษ์ชัดเจน

5. ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา
5.1 ควรสร้างความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

ให้กับครูและผู้เกี่ยวข้องได้รับทราบร่วมกันอย่างต่อเนื่อง

5.2 ประชาสัมพันธ์ผลการด าเนินงานให้แก่ผู้ที่เกี่ยวข้องรับทราบ อย่างต่อเนื่องสารสนเทศ
ด้านคุณภาพผู้เรียนควรรวบรวมให้เป็นปัจจุบัน

43




ชื่อสถานศึกษา : โรงเรียนเขาชัยสน

วันที่ ด าเนินการ Mock Assessment : วันที่ 4 ตุลาคม 2562
คณะกรรมการซักซ้อมการประเมิน


1. นายปรีชา มากมณ ผู้อ านวยการโรงเรียนปากพะยูนพิทยาคาร

2. นางมาลี แก้วละเอยด ผู้อ านวยการโรงเรียนสตรีพัทลุง
3. นางละอองทิพย์ บุณยเกียรติ ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ

4. นายชาญณรงค์ รัตนบุรี ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ
5. นางปทิตตา จันทร์สว่าง ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ

6. นายวิเชียร ปาณะพงศ์ ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ

7. นางยินดี คงทน ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ



รูปแบบการซักซอมการประเมิน : เป็นการซักซ้อมเสมือนจริง เพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก
จาก สมศ. ที่ มุ่งเน้นการประเมินคุณภาพสถานศึกษาในภาพรวม (holistic rubrics) การประเมินและ

ตัดสินผลการประเมินคุณภาพการศึกษาโดยอาศัยความเชี่ยวชาญ (expert judgment) ของผู้ประเมิน

และตรวจทานผลการประเมินโดยคณะกรรมการระดับเดียวกัน (peer review) รวมทั้ง การประเมินตาม

หลักฐานเชิงประจักษ์ที่เกิดจากการปฏิบัติงานตามสภาพจริงของสถานศกษา (evidence based)


ข้อค้นพบประเด็นที่เตรียมความพร้อมและซักซ้อมการประเมิน (Mock Assessment)
1. การก าหนดมาตรฐานของสถานศึกษา

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน

การก าหนดมาตรฐานของสถานศึกษา ยังไม่สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา
ประกาศตามกรอบของกระทรวงศึกษาธิการ โดยไม่ปรับปรุง การด าเนินงานพฒนาระบบประกัน

คุณภาพภายในสถานศึกษา ไม่เป็นไปตามกฎกระทรวงฯ ปี 2561
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ


การให้ระดับคุณภาพ ไม่สอดคล้องกับผลการด าเนินงาน การก าหนดประเด็นพจารณา
ในยังไม่สะท้อนความมีระบบ และความน่าเชื่อถือได้

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ

การให้ระดับคุณภาพ เหมาะสม แต่ยังสอดคล้องกับผลการด าเนินงาน ร่องรอยเอกสาร
มีความเหมาะสมเป็นไปได้ การก าหนดประเด็นพิจารณายังไม่สอดคล้องกับผลการด าเนินงาน

44




2. การจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา


ยังไม่ได้พฒนาปรับปรุงแผนพฒนาคุณภาพการศึกษา ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษา

ของสถานศึกษา
3. ระบบขอมลสารสนเทศ


มีระบบการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศไม่เป็นระบบ
4. การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (SAR)

สถานศึกษายังใช้รูปแบบการรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ในรูปแบบเดิม
เช่นเดียวกับการประเมินคุณภาพการศึกษารอบสาม

5. ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา

5.1 โรงเรียนต้องร่วมกันก าหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ตามกรอบการ
ด าเนินงานประกันคุณภาพของกฏกระทรวงฯ สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา

5.2 พัฒนาระบบสารสนเทศให้เป็นปัจจุบัน
5.3 ก ากับติดตามผลการด าเนินงานอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ

5.4 ส่งเสริมให้ครูและบุคลากร ผู้เกี่ยวข้องทุกคนมีส่วนร่วม รับรู้ การด าเนินงานตามระบบ

ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
5.5 จัดท ารายงานการรายงานประเมินตนเองของสถานศึกษา ให้มีความชัดเจน และมี

ความน่าเชื่อถือได้ สารสนเทศด้านคุณภาพผู้เรียนควรรวบรวมให้เป็นปัจจุบัน

5.6 ควรก าหนดแผนการพฒนาให้ครอบคลุมในด้านการบริหารการจัดการและการจัดการ

เรียนรู้ปรับปรุงการเรียนรายงานการประเมินตนเอง กระบวนการพฒนาในแต่ละมาตรฐานให้สอดคล้อง

กับการด าเนินงานข้อมูลหลักฐานเอกสารเชิงประจักษ์

45




ชื่อสถานศึกษา : โรงเรียนดอนศาลาน าวิทยา

วันที่ ด าเนินการ Mock Assessment : วันที่ 8 ตุลาคม 2562
คณะกรรมการซักซ้อมการประเมิน


1. นายปรีชา มากมณ ผู้อ านวยการโรงเรียนปากพะยูนพิทยาคาร
2. นางมาลี แก้วละเอียด ผู้อ านวยการโรงเรียนสตรีพัทลุง
3. นางสุรัชนี อยู่สบาย ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ

4. นายสุบรรณ์ เกราะแก้ว ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ
5. นายชาญณรงค์ รัตนบุรี ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ

6. นางปทิตตา จันทร์สว่าง ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ

7. นางสาวจรีรัตน์ สามารถ ศึกษานิเทศก์ช านาญการ


รูปแบบการซักซอมการประเมิน : เป็นการซักซ้อมเสมือนจริง เพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก

จาก สมศ. ที่ มุ่งเน้นการประเมินคุณภาพสถานศึกษาในภาพรวม (holistic rubrics) การประเมินและ

ตัดสินผลการประเมินคุณภาพการศึกษาโดยอาศัยความเชี่ยวชาญ (expert judgment) ของผู้ประเมิน

และตรวจทานผลการประเมินโดยคณะกรรมการระดับเดียวกัน (peer review) รวมทั้ง การประเมินตาม

หลักฐานเชิงประจักษ์ที่เกิดจากการปฏิบัติงานตามสภาพจริงของสถานศกษา (evidence based)


ข้อค้นพบประเด็นที่เตรียมความพร้อมและซักซ้อมการประเมิน (Mock Assessment)
1. การก าหนดมาตรฐานของสถานศึกษา

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน

การให้ระดับคุณภาพของสถานศึกษา มีความเหมาะสม สอดคล้องกับผลการ

ด าเนินงานของสถานศึกษา การก าหนดมาตรฐานการศกษาของสถานศึกษา และค่าเป้าหมาย สอดคล้อง
กับบริบทของสถานศึกษา เหมาะสมเป็นไปได้
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ

การให้ระดับคุณภาพ เหมาะสม สอดคล้องกับผลการด าเนินงาน การก าหนดประเด็น
พิจารณาในมาตรฐานที่ 2 สะท้อนความมีระบบ มีความน่าเชื่อถือได้ ดูได้จากร่องรอยเอกสาร ผลงานเชิง

ื้
ประจักษ การได้รับรางวัลจากองค์กรและสถาบันต่างๆ ทั้งระดับเขตพนที่ และระดับชาติ มีความเป็นไป

ได้ ต่อเนื่อง
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ

การให้ระดับคุณภาพ เหมาะสม สอดคล้อง กับผลการด าเนินงาน ร่องรอยเอกสาร มี

ความสอดคล้องเหมาะสมเป็นไปได้ การก าหนดประเด็นพิจารณา สอดคล้องกับผลการด าเนินงาน

46




2. การจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา





สถานศึกษามการปรับแผนพฒนาคุณภาพการศกษา ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศกษา
ของสถานศึกษา


3. ระบบขอมลสารสนเทศ
มีระบบข้อมูลสารสนเทศที่ครบถ้วนและมีประสิทธิภาพ
4. การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (SAR)

การรายงานผลการประเมินตนเองมีการอธิบายกระบวนการท างานอย่างเป็นรูปธรรม
ชัดเจน แต่ผลการด าเนินงานทางโรงเรียนได้น าไปใส่ไว้ในภาคผนวก มีขอมูล หลักฐานเอกสารที่เกิดจาก

ผลการด าเนินการประกอบในแต่ละประเด็นพิจารณาชัดเจน

5. ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา
5.1 ควรสร้างความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

ให้กับครูและผู้เกี่ยวข้องได้รับทราบร่วมกันอย่างต่อเนื่อง
5.2 ประชาสัมพันธ์ผลการด าเนินงานให้แก่ผู้ที่เกี่ยวข้องรับทราบ อย่างต่อเนื่อง

47




ชื่อสถานศึกษา : โรงเรียนพัทลุง

วันที่ ด าเนินการ Mock Assessment : วันที่ 9 ตุลาคม 2562
คณะกรรมการซักซ้อมการประเมิน


1. นายปรีชา มากมณ ผู้อ านวยการโรงเรียนปากพะยูนพิทยาคาร
2. นางมาลี แก้วละเอียด ผู้อ านวยการโรงเรียนสตรีพัทลุง
3. นางละอองทิพย์ บุณยเกียรติ ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ

4. นางสุรัชนี อยู่สบาย ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ
5. นายสุบรรณ์ เกราะแก้ว ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ

6. นายชาญณรงค์ รัตนบุรี ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ

7. นางปทิตตา จันทร์สว่าง ศึกษานิเทศก์ช านาญการพิเศษ
8. นางสาวจรีรัตน์ สามารถ ศึกษานิเทศก์ช านาญการ



รูปแบบการซักซอมการประเมิน : เป็นการซักซ้อมเสมือนจริง เพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก
จาก สมศ. ที่ มุ่งเน้นการประเมินคุณภาพสถานศึกษาในภาพรวม (holistic rubrics) การประเมินและ

ตัดสินผลการประเมินคุณภาพการศึกษาโดยอาศัยความเชี่ยวชาญ (expert judgment) ของผู้ประเมิน
และตรวจทานผลการประเมินโดยคณะกรรมการระดับเดียวกัน (peer review) รวมทั้ง การประเมินตาม


หลักฐานเชิงประจักษ์ที่เกิดจากการปฏิบัติงานตามสภาพจริงของสถานศกษา (evidence based)

ข้อค้นพบประเด็นที่เตรียมความพร้อมและซักซ้อมการประเมิน (Mock Assessment)

1. การก าหนดมาตรฐานของสถานศึกษา

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน

การให้ระดับคุณภาพ มีความเหมาะสม สอดคล้องกบผลการด าเนินงานของ
สถานศึกษา การก าหนดมาตรฐานของสถานศึกษา สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา เหมาะสม
เป็นไปได้

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
การให้ระดับคุณภาพ เหมาะสม สอดคล้องกับผลการด าเนินงาน การก าหนดประเด็น

พิจารณา สะท้อนความมระบบ แต่ยังขาดคู่มือการนิเทศภายในสถานศึกษา มีความน่าเชื่อถือได้ ดูได้จาก

ื้
ร่องรอยเอกสาร ผลงานเชิงประจักษ์ การได้รับรางวัลจากองค์กรและสถาบันต่างๆ ทั้งระดับเขตพนที่
และระดับชาติ มีความเป็นไปได้ ต่อเนื่อง และมีนวัตกรรม

48




มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ

การให้ระดับคุณภาพ เหมาะสม สอดคล้อง กับผลการด าเนินงาน ร่องรอยเอกสาร มี

ความสอดคล้องเหมาะสมเป็นไปได้ การก าหนดประเด็นพจารณา สอดคล้องกับผลการด าเนินงาน แต่
ยังขาดร่องรอยหลักฐาน บันทึกชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)


2. การจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา


มีการปรับปรุงแผนพฒนาคุณภาพการศึกษา และก าลังด าเนินการปรับปรุงให้สอดคล้องกับ
มาตรฐานการศกษาของสถานศึกษา



3. ระบบขอมลสารสนเทศ
มีระบบการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศที่ครอบคลุมและชัดเจน
4. การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (SAR)

การรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษากับข้อมูลสารสนเทศ อยู่ในฉบับเดี่ยวกัน
โดยไม่ได้สังเคราะห์ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและประเด็นการพิจารณา ในแต่

ละมาตรฐาน

5. ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา
5.1 ควรปรับปรุงมาตรฐานที่ 2 ด้านกระบวนการบริหารจัดการ ให้มีความชัดเจนเป็น

รูปธรรม สะท้อนนวัตกรรมด้านการบริหารจัดการที่ส่งผลให้โรงเรียนประสบความส าเร็จด้านการพัฒนา

คุณภาพ
5.2 ควรสร้างความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

ให้กับครูและผู้เกี่ยวข้องได้รับทราบร่วมกันอย่างต่อเนื่อง

5.3 ประชาสัมพันธ์ผลการด าเนินงานให้แก่ผู้ที่เกี่ยวข้องรับทราบ อย่างต่อเนื่อง
5.4 ปรับปรุงการรายงานผลการประเมินตนเองให้กระชับ ตามแนวทางการประเมินตนเอง

ที่ ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานก าหนด

49




กิจกรรมที่ 4

ประชุมเพื่อสรุปผลการเตรียมความพร้อมและซักซ้อมการประเมิน(Mock Assessment)
สถานศึกษากลุ่มเป้าหมาย เพื่อจัดท ารายงานให้ ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน



ในการประชุมเพอสรุปผลการเตรียมความพร้อมและซักซ้อมการประเมิน(Mock Assessment)
ื่
สถานศึกษากลุ่มเป้าหมาย เพอสรุปผลและจัดท ารูปเล่มรายงานการเตรียมความพร้อมและซักซ้อมการ
ื่
ื่
ประเมิน(Mock Assessment) สถานศึกษากลุ่มเป้าหมายเพอพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
รอบสี่ ประจ าปีงบประมาณ 2562 ในวันที่ 17-18 ตุลาคม 2562 ณ ห้องประชุม โรงแรมขนอมโกลด์เด้น
บีช จังหวัดนครศรีธรรมราช มีขั้นตอนดังนี้

1. ประชุมวางแผน (P)

ศึกษานิเทศก์ส านักงานเขตพนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 ร่วมกันวางแผนการสรุปผลการ
ื้
เตรียมความพร้อมและซักซ้อมการประเมิน(Mock Assessment) สถานศึกษากลุ่มเป้าหมาย

2. ด าเนินการสรุปผลการประเมิน (D)

ศึกษานิเทศก์ส านักงานเขตพนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 ร่วมกันรวบรวมแบบสังเคราะห์
ื้
รายงานการประเมินตนเอง (SAR) ของสถานศึกษา ทั้ง 15 โรงเรียน

ก าหนดรูปแบบการรายงานสรุปผลการเตรียมความพร้อมและซักซ้อมการประเมิน(Mock
Assessment) สถานศึกษากลุ่มเป้าหมาย

ร่วมกันสรุปผลการเตรียมความพร้อมและซักซ้อมการประเมิน(Mock Assessment)

สถานศึกษากลุ่มเป้าหมาย ตามแบบสังเคราะห์รายงานการประเมินตนเอง (SAR) ของสถานศึกษา การ
ให้ข้อมูลสะท้อนกลับรวมทั้งข้อเสนอแนะเพอการพัฒนาในแต่ละสถานศึกษา
ื่
3. ตรวจสอบผลการสรุปผลการด าเนินงาน (C)
ศึกษานิเทศก์ร่วมกันตรวจสอบการสรุปผลการเตรียมความพร้อมและซักซอมการประเมิน

(Mock Assessment) สถานศึกษากลุ่มเป้าหมาย ระหว่างคณะกรรมการประเมินกับโรงเรียน

4. พัฒนาปรับปรุงการจัดท ารูปเล่มรายงาน(A)
ศึกษานิเทศก์ร่วมประเมินโครงการและร่วมกันหาแนวทางปรับปรุงและพัฒนาผลการด าเนินการ

โดยน าข้อค้นพบจากการที่ได้ไปซักซ้อมการประเมิน(Mock Assessment) สถานศึกษากลุ่มเป้าหมาย

และข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการประเมิน ไปก าหนดเป็นแผนการนิเทศ ติดตามและประเมินผล ใน
ื้
เรื่องของระบบงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาของส านักงานเขตพนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต
12 ต่อไป

50

























ส่วนที่ 3



สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ


Click to View FlipBook Version