วิเคราะหห์ ลกั สตู ร
การจัดการเรียนรู้
รายวชิ า ภาษาไทย ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 2
นางสาวนฤพร กนั สืบ
ตำแหน่ง ครู คศ.1
โรงเรยี นชมุ ชนบ้านเหมอื งหม้อ(เหมอื งหมอ้ สามคั คี)
สำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1
คำนำ
กระทรวงศึกษาธิการได้จัดทำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เพื่อมุ่ง
พัฒนาผู้เรยี นให้มีความรู้ คุณธรรม ทักษะพ้ืนฐานทีจ่ ำเป็นในการศกึ ษาต่อและประกอบอาชีพได้ โดยมุ่งเน้นให้
ผเู้ รียนสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้เตม็ ศกั ยภาพ
ดงั น้ันสถานศึกษาตอ้ งจดั การศึกษาที่เน้นใหผ้ ู้เรียนไดเ้ รียนรูจ้ ากประสบการณ์จริง กระตุ้นให้ผู้เรียนได้
ใช้กระบวนการคิด โดยผู้สอนจะต้องเปล่ียนบทบาทเป็นผู้จัดบรรยากาศเชิงบวก สร้างแรงจูงใจให้ผู้เรียน
ต้องการเรียนรู้ ฝึกให้ผู้เรียนคิดวิเคราะห์ ลงมือปฏิบัติและสรุปเป็นความรู้ฝังแน่น ซึ่งเป็นองค์ความรู้ที่
เกิดจากประสบการณ์ของตนเอง แลว้ นำไปใช้ในชวี ิตประจำวนั
สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) ตระหนักถึงความสำคัญของการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ จึงได้จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมง
ท่ปี ระกอบด้วย
๑. แบบบนั ทึกการออกแบบหนว่ ยการเรียนรตู้ ามแนวทางของ Backward Design
๒. การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ตามแนวทางของ Backward Design
๓. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น (Pre-Test)
๔. แบบทดสอบหลงั เรียน (Post-Test)
๕. แบบบันทึกสรุปผลการเรยี นร้สู ำหรบั ผเู้ รยี น
๖. แผนผังการเรยี นรู้แบบบรู ณาการ
๗. แผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมงท่ีเน้นการคิดวิเคราะห์ เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม
และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์
๘. กิจกรรมการเรียนรู้ที่พัฒนาศักยภาพสมอง BRAIN-BASED LEARNING (BBL) สร้างเสริม
สมรรถนะสำคัญ ๕ ด้าน ของผู้เรียน และฝึกให้ผู้เรียนสรุปความรู้หลังการเรียนการสอนตามหลักการ
Backward Design
๙. ใบงาน/ชิ้นงาน
๑๐.การประเมนิ คุณภาพโดยใชเ้ กณฑ์การใหค้ ะแนนตามสภาพจริง (Rubrics)
๑๑.แบบสงั เกตพฤตกิ รรม
๑๑.๑ แบบสังเกตพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกิจกรรม
๑๑.๒ แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลุ่ม
๑๒. ตัวอย่างโครงงานชนะเลศิ
สถาบันพัฒนาคณุ ภาพวชิ าการ (พว.) หวงั เปน็ อยา่ งยง่ิ ว่า แผนการจัดการเรียนรนู้ ี้
จะเป็นประโยชน์แก่ผู้สอนในการจดั การเรียนรู้และประเมินผลตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑
สถาบนั พฒั นาคณุ ภาพวชิ าการ (พว.)
สารบญั
แผนผงั แสดงสญั ลกั ษณแ์ ละสว่ นสำคญั ในแผนการจดั การเรยี นรรู้ ายชวั่ โมงประเมนิ ตรงตามตวั ชวี้ ัด
แผนผงั แสดงสญั ลกั ษณแ์ ละสว่ นสำคัญในแผนการจดั การเรยี นรรู้ ายชว่ั โมง
คำชแ้ี จง
ตารางมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชวี้ ดั กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๒
ตารางวเิ คราะหแ์ ผนการจดั การเรยี นรรู้ ายชว่ั โมงกบั มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชว้ี ดั
กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๒
คำอธบิ ายรายวชิ า
โครงสรา้ งรายวชิ าพน้ื ฐาน ภาษาไทย ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๒
โครงสรา้ งการจดั เวลาเรยี น
แบบบนั ทกึ การออกแบบหนว่ ยการเรยี นรตู้ ามแนวทางของ Backward Design
หลักภาษาและการใชภ้ าษาไทย
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ ตวั อกั ษรไทย
การออกแบบหนว่ ยการเรยี นรตู้ ามแนวทางของ Backward Design
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น (Pre - Test)
แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post - Test)
แบบบนั ทกึ สรปุ ผลการเรยี นรสู้ ำหรบั ผเู้ รยี น
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๑ พยญั ชนะไทยทม่ี รี ะดบั เสยี งอกั ษรสงู
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๒ พยญั ชนะไทยทม่ี รี ะดบั เสยี งอกั ษรกลาง
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๓ พยญั ชนะไทยทมี่ รี ะดบั เสยี งอักษรตำ่
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๔ อกั ษร ๓ หมู่
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๕ สระในภาษาไทย
แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ ๖ วรรณยกุ ตแ์ ละคำไทย
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๗ ตวั เลขไทย
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๒ มาตรา ก กา
การออกแบบหนว่ ยการเรยี นรตู้ ามแนวทางของ Backward Design
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น (Pre - Test)
แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post - Test)
แบบบนั ทกึ สรปุ ผลการเรยี นรสู้ ำหรบั ผเู้ รยี น
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๑ รจู้ ักมาตรา ก กา
แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ ๒ อา่ นสะกดคำในมาตรา ก กา
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๓ ความหมายของคำทอ่ี ยใู่ นมาตรา ก กา
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๔ เขยี นคำ มาตรา ก กา และบอกความหมาย
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๕ คดั ลายมอื มาตรา ก กา
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๖ สรปุ ความรู้มาตรา ก กา
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๓ มาตรา กง
การออกแบบหนว่ ยการเรยี นรตู้ ามแนวทางของ Backward Design
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น (Pre - Test)
แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post - Test)
แบบบนั ทกึ สรปุ ผลการเรยี นรสู้ ำหรบั ผเู้ รยี น
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๑ รจู้ ักมาตรา กง
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๒ อา่ นสะกดคำในมาตรา กง
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๓ อา่ นออกเสยี งคำ มาตรา กง
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๔ เขียนคำ มาตรา กง ตามความหมาย
แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี ๕ คดั ลายมอื คำในมาตรา กง
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๖ สรปุ ความรูม้ าตรา กง
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๔ มาตรา กม
การออกแบบหนว่ ยการเรยี นรตู้ ามแนวทางของ Backward Design
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น (Pre - Test)
แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post - Test)
แบบบนั ทกึ สรปุ ผลการเรยี นรสู้ ำหรบั ผเู้ รยี น
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๑ รจู้ ักมาตรา กม
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๒ อา่ นสะกดคำในมาตรา กม
แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ ๓ อา่ นออกเสยี งคำ มาตรา กม
แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ ๔ เขยี นคำ มาตรา กม ตามความหมาย
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๕ คดั ลายมอื คำในมาตรา กม
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๖ สรปุ ความร้มู าตรา กม
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๕ มาตรา เกย
การออกแบบหนว่ ยการเรยี นรตู้ ามแนวทางของ Backward Design
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น (Pre - Test)
แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post - Test)
แบบบนั ทกึ สรปุ ผลการเรยี นรสู้ ำหรบั ผเู้ รยี น
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๑ รจู้ ักมาตรา เกย
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๒ อา่ นสะกดคำในมาตรา เกย
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๓ เขยี นคำ มาตรา เกย ตามความหมาย
แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ ๔ คดั ลายมอื คำในมาตรา เกย
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๕ เขยี นคำ มาตรา เกย ตามเนอื้ เรอ่ื ง
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๖ สรปุ ความรู้มาตรา เกย
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๖ มาตรา เกอว
การออกแบบหนว่ ยการเรยี นรตู้ ามแนวทางของ Backward Design
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น (Pre - Test)
แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post - Test)
แบบบนั ทกึ สรปุ ผลการเรยี นรสู้ ำหรบั ผเู้ รยี น
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๑ รจู้ ักมาตรา เกอว
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๒ อา่ นสะกดคำในมาตรา เกอว
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๓ เขยี นคำ มาตรา เกอว ตามความหมาย
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๔ เขยี นคำ มาตรา เกอว ทใี่ ช้ในชวี ติ ประจำวัน
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๕ คดั ลายมอื คำในมาตรา เกอว
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๖ สรปุ ความรู้มาตรา เกอว
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๗ มาตรา กก
การออกแบบหนว่ ยการเรยี นรตู้ ามแนวทางของ Backward Design
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น (Pre - Test)
แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post - Test)
แบบบนั ทกึ สรปุ ผลการเรยี นรสู้ ำหรบั ผเู้ รยี น
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๑ รจู้ ักมาตรา กก
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๒ อา่ นสะกดคำในมาตรา กก
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๓ เขยี นคำ มาตรา กก ตามความหมาย
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๔ มาตรา กก มตี วั สะกดหลายตวั
แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี ๕ คดั ลายมอื คำในมาตรา กก
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๖ สรปุ ความรู้มาตรา กก
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๘ มาตรา กด
การออกแบบหนว่ ยการเรยี นรตู้ ามแนวทางของ Backward Design
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น (Pre - Test)
แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post - Test)
แบบบนั ทกึ สรปุ ผลการเรยี นรสู้ ำหรบั ผเู้ รยี น
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๑ รจู้ กั มาตรา กด
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๒ อา่ นสะกดคำในมาตรา กด
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๓ การเขยี นสะกดคำในมาตรา กด
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๔ คดั ลายมอื คำในมาตรา กด
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๕ คำมาตรา กด ท่ีใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๖ สรปุ ความรมู้ าตรา กด
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๙ มาตรา กน
การออกแบบหนว่ ยการเรยี นรตู้ ามแนวทางของ Backward Design
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น (Pre - Test)
แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post - Test)
แบบบนั ทกึ สรปุ ผลการเรยี นรสู้ ำหรบั ผเู้ รยี น
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๑ รจู้ กั มาตรา กน
แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ ๒ อา่ นสะกดคำในมาตรา กน
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๓ การเขยี นสะกดคำในมาตรา กน
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๔ คดั ลายมอื คำในมาตรา กน
แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ ๕ คำมาตรา กน ท่ีใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๖ สรปุ ความรู้มาตรา กน
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๑๐ มาตรา กบ
การออกแบบหนว่ ยการเรยี นรตู้ ามแนวทางของ Backward Design
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น (Pre - Test)
แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post - Test)
แบบบนั ทกึ สรปุ ผลการเรยี นรสู้ ำหรบั ผเู้ รยี น
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๑ รจู้ ักมาตรา กบ
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๒ อา่ นสะกดคำในมาตรา กบ
แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี ๓ การเขยี นสะกดคำในมาตรา กบ
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๔ คดั ลายมอื คำในมาตรา กบ
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๕ คำมาตรา กบ ทใ่ี ชใ้ นชวี ติ ประจำวนั
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๖ สรปุ ความร้มู าตรา กบ
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๑๑ การผนั อกั ษร
การออกแบบหนว่ ยการเรยี นรตู้ ามแนวทางของ Backward Design
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น (Pre - Test)
แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post - Test)
แบบบนั ทกึ สรปุ ผลการเรยี นรสู้ ำหรบั ผเู้ รยี น
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๑ รจู้ กั การผนั อกั ษรสงู อกั ษรกลาง และอกั ษรตำ่
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๒ อา่ นสะกดคำ
แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี ๓ อา่ นออกเสยี งคำทีม่ วี รรณยกุ ตต์ า่ ง ๆ
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๔ เขยี นคำตามเสยี งวรรณยกุ ต์
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๕ การคดั ลายมอื
แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี ๖ สรปุ ความรู้การผนั อกั ษร
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๑๒ คำทม่ี ีพยญั ชนะควบกลำ้
การออกแบบหนว่ ยการเรยี นรตู้ ามแนวทางของ Backward Design
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น (Pre - Test)
แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post - Test)
แบบบนั ทกึ สรปุ ผลการเรยี นรสู้ ำหรับผเู้ รยี น
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๑ คำควบกลำ้ แท้
แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี ๒ คำควบกลำ้ ไม่แท้
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๓ การอา่ นสะกดคำควบกลำ้
แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ ๔ การเขยี นคำทมี่ พี ยญั ชนะควบกลำ้
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๕ อา่ นและเขยี นเรียนรคู้ วามหมาย
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๖ การคดั ลายมอื คำทมี่ ีพยญั ชนะควบกลำ้
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๗ สรปุ ความรูค้ ำทม่ี ีพยญั ชนะควบกลำ้
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๑๓ คำทม่ี อี ักษรนำ
การออกแบบหนว่ ยการเรยี นรตู้ ามแนวทางของ Backward Design
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น (Pre - Test)
แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post - Test)
แบบบนั ทกึ สรปุ ผลการเรยี นรสู้ ำหรบั ผเู้ รยี น
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๑ คำทมี่ อี กั ษรกลางนำอกั ษรตำ่
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๒ คำที่มอี กั ษรสงู นำอกั ษรตำ่
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๓ อา่ นสะกดคำทมี่ อี ักษรนำ
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๔ การอา่ นและเขา้ ใจความหมายคำทมี่ อี กั ษรนำ
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๕ การอา่ นและเขยี นคำทม่ี อี กั ษรนำ
แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ ๖ คำทีม่ อี กั ษรนำในชวี ติ ประจำวนั
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๗ การคดั ลายมอื คำทมี่ อี ักษรนำและสรปุ ความรู้
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๑๔ คำทมี่ ตี วั การนั ต์
การออกแบบหนว่ ยการเรยี นรตู้ ามแนวทางของ Backward Design
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น (Pre - Test)
แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post - Test)
แบบบนั ทกึ สรปุ ผลการเรยี นรสู้ ำหรับผเู้ รยี น
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๑ คำทมี่ ตี วั การนั ตเ์ ปน็ พยัญชนะ ๑ ตวั
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๒ คำที่มตี ัวการนั ต์เปน็ พยญั ชนะ ๒ ตวั และพยญั ชนะกบั สระ
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๓ ฝกึ อา่ นคำทมี่ ีตวั การนั ต์
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๔ การเขยี นคำทมี่ ตี วั การนั ต์
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๕ การอา่ นและเขยี นคำทม่ี ีตวั การนั ต์
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๖ การคดั ลายมอื
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๗ สรปุ ความรคู้ ำทมี่ ตี วั การนั ต์
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๑๕ คำทม่ี ี รร
การออกแบบหนว่ ยการเรยี นรตู้ ามแนวทางของ Backward Design
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น (Pre - Test)
แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post - Test)
แบบบนั ทกึ สรปุ ผลการเรยี นรสู้ ำหรับผเู้ รยี น
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๑ คำทม่ี ี รร ไม่มตี วั สะกด
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๒ คำทใี่ ช้ บรร
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๓ คำท่ีมี รร มีตวั สะกด
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๔ การอา่ นคำทมี่ ี รร
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๕ การเขยี นคำทม่ี ี รร
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๖ การใช้คำทม่ี ี รร
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๗ คดั ลายมอื และสรปุ ความรคู้ ำทม่ี ี รร
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๑๖ คำท่ีมพี ยญั ชนะและสระที่ไมอ่ อกเสยี ง
การออกแบบหนว่ ยการเรยี นรตู้ ามแนวทางของ Backward Design
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น (Pre - Test)
แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post - Test)
แบบบนั ทกึ สรปุ ผลการเรยี นรสู้ ำหรับผเู้ รยี น
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๑ คำทม่ี ีพยญั ชนะทไ่ี มอ่ อกเสยี ง
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๒ คำท่ีมสี ระท่ไี มอ่ อกเสยี ง
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๓ การอา่ นออกเสียงคำท่มี พี ยญั ชนะและสระทไี่ มอ่ อกเสยี ง
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๔ เขยี นคำและคำอา่ น
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๕ การใช้คำทมี่ ีพยญั ชนะและสระทไ่ี มอ่ อกเสยี ง
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๖ การคดั ลายมอื คำทม่ี พี ยญั ชนะและสระท่ไี มอ่ อกเสยี ง
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๗ สรปุ ความร้คู ำท่ีมีพยญั ชนะและสระท่ีไมอ่ อกเสยี ง
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๑๗ คำทมี่ คี วามหมายตรงขา้ มกนั
การออกแบบหนว่ ยการเรยี นรตู้ ามแนวทางของ Backward Design
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น (Pre - Test)
แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post - Test)
แบบบนั ทกึ สรปุ ผลการเรยี นรสู้ ำหรบั ผเู้ รยี น
แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ ๑ รจู้ กั คำทมี่ คี วามหมายตรงข้ามกัน
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๒ การอา่ นคำทม่ี คี วามหมายตรงขา้ มกนั
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๓ การเขยี นคำท่มี คี วามหมายตรงขา้ มกนั
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๔ ความหมายทแี่ ตกตา่ ง
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๕ การใช้คำท่ีมคี วามหมายตรงข้ามกนั
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๖ คำทีม่ คี วามหมายตรงขา้ มกนั ในขอ้ ความ
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๗ สรปุ ความร้คู ำทม่ี ีความหมายตรงขา้ มกนั
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๑๘ คำคลอ้ งจอง
การออกแบบหนว่ ยการเรยี นรตู้ ามแนวทางของ Backward Design
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น (Pre - Test)
แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post - Test)
แบบบนั ทกึ สรปุ ผลการเรยี นรสู้ ำหรบั ผเู้ รยี น
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๑ รจู้ กั คำคลอ้ งจอง
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๒ ตอ่ คำคลอ้ งจอง
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๓ การอา่ นออกเสียงคำคลอ้ งจอง
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๔ จดั กลมุ่ คำคลอ้ งจอง
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๕ จบั คคู่ ำคลอ้ งจอง
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๖ การคดั ลายมอื คำคลอ้ งจอง
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๗ สรปุ ความรคู้ ำคลอ้ งจอง
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๑๙ ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่นิ
การออกแบบหนว่ ยการเรยี นรตู้ ามแนวทางของ Backward Design
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น (Pre - Test)
แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post - Test)
แบบบนั ทกึ สรปุ ผลการเรยี นรสู้ ำหรับผเู้ รยี น
แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ ๑ รจู้ ักภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถน่ิ (๑)
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๒ รจู้ กั ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถนิ่ (๒)
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๓ ภาษาเดยี วกนั
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๔ การอา่ นออกเสียงภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถน่ิ
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๕ รู้จกั ความหมายของคำภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถน่ิ
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๖ เลอื กใชภ้ าษาไทยมาตรฐานและภาษาถน่ิ
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๗ สรปุ ความรภู้ าษาไทยมาตรฐานและภาษาถนิ่
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๒๐ การเขียน
การออกแบบหนว่ ยการเรยี นรตู้ ามแนวทางของ Backward Design
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น (Pre - Test)
แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post - Test)
แบบบนั ทกึ สรปุ ผลการเรยี นรสู้ ำหรบั ผเู้ รยี น
เรอ่ื งที่ ๑ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๑ สว่ นประกอบของประโยค
เรอ่ื งที่ ๑ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๒ ประโยคบอกเลา่ และประโยคปฏเิ สธ
เรอ่ื งที่ ๑ แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ ๓ ประโยคขอรอ้ งและประโยคแสดงความตอ้ งการ
เรอ่ื งที่ ๑ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๔ ประโยคคำถามและประโยคคำสงั่
เรอื่ งที่ ๒ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๑ เขยี นเลา่ ประสบการณเ์ กยี่ วกบั การชว่ ยเหลอื งานบา้ น
เรอื่ งท่ี ๒ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๒ เขยี นเลา่ ประสบการณเ์ กย่ี วกบั การไมเ่ ชอ่ื ฟงั ผใู้ หญ่
เรอื่ งที่ ๒ แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี ๓ เขยี นเลา่ ประสบการณ์เกย่ี วกบั การประกอบอาหาร
เรอื่ งที่ ๒ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๔ เขยี นเลา่ ประสบการณเ์ กยี่ วกบั บุคคลในครอบครวั
เรอื่ งท่ี ๓ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๑ จนิ ตนาการของเรา
เรอื่ งที่ ๓ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๒ จนิ ตนาการอยา่ งสรา้ งสรรค์
เรอื่ งที่ ๓ แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี ๓ จนิ ตนาการเกย่ี วกบั ความดี
เรอื่ งท่ี ๓ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๔ สนกุ กบั จนิ ตนาการ
เรอื่ งท่ี ๔ แผนการจดั การเรยี นรเู้ รอื่ ง มารยาทในการเขยี น
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๒๑ การฟัง การดู และการพดู
การออกแบบหนว่ ยการเรยี นรตู้ ามแนวทางของ Backward Design
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น (Pre - Test)
แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post - Test)
แบบบนั ทกึ สรปุ ผลการเรยี นรสู้ ำหรับผเู้ รยี น
เรอ่ื งที่ ๑ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๑ ปฏบิ ตั ติ นเปน็ ผฟู้ งั ทดี่ ี
เรอ่ื งที่ ๑ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๒ ผฟู้ งั ทดี่ ตี อ้ งมมี ารยาท
เรอื่ งท่ี ๑ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๓ จบั ประเดน็ จากการฟงั
เรอ่ื งท่ี ๑ แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ ๔ ฟงั แลว้ ปฏบิ ตั ิ
เรอื่ งท่ี ๒ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๑ เลา่ ให้เพอื่ นฟงั
เรอื่ งที่ ๒ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๒ ผลดั กนั เลา่
เรอื่ งที่ ๒ แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ ๓ ฟังเพอ่ื นเล่า
เรอื่ งท่ี ๒ แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี ๔ นทิ านเรอ่ื ง หมาปา่ กบั ลูกแกะ
เรอื่ งที่ ๒ แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ ๕ สนกุ กบั การต์ นู
เรอื่ งที่ ๒ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๖ เรอื่ งขบขนั
เรอ่ื งท่ี ๒ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๗ รายการสำหรบั เด็ก
เรอ่ื งที่ ๒ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๘ ข่าวและเหตกุ ารณป์ ระจำวนั
เรอื่ งที่ ๒ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๙ คำถามจากเพลง
เรอื่ งที่ ๒ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๑๐ สอื่ รกั จากเพลง
เรอ่ื งที่ ๓ แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี ๑ การพดู แนะนำตนเอง (๑)
เรอื่ งที่ ๓ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๒ การพูดแนะนำตนเอง (๒)
เรอื่ งที่ ๓ แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ ๓ เพอ่ื นทฉ่ี นั รจู้ กั
เรอ่ื งที่ ๓ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๔ การขอความชว่ ยเหลอื
เรอื่ งท่ี ๓ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๕ การกลา่ วคำขอบคณุ
เรอื่ งที่ ๓ แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี ๖ การกลา่ วคำขอโทษ
เรอ่ื งท่ี ๓ แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี ๗ การพดู ขอรอ้ ง
เรอื่ งท่ี ๓ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๘ การพดู สอื่ สาร
เรอ่ื งท่ี ๓ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๙ ไปเทยี่ วกนั เถอะ
เรอ่ื งที่ ๓ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๑๐ อาหารที่ฉนั รจู้ กั
เรอื่ งท่ี ๓ แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี ๑๑ ของเลน่ ของฉัน
เรอ่ื งท่ี ๓ แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี ๑๒ สตั วเ์ ลยี้ งน่ารกั
เรอ่ื งท่ี ๓ แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ ๑๓ การเลา่ ประสบการณ์
เรอื่ งที่ ๓ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๑๔ การเลา่ เรอื่ งประกอบภาพ
เรอ่ื งที่ ๓ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๑๕ การพดู สอ่ื สารในโอกาสตา่ ง ๆ
เรอ่ื งท่ี ๓ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๑๖ การพูดสอ่ื สารในชวี ติ ประจำวนั
เรอื่ งท่ี ๔ แผนการจดั การเรยี นรเู้ รอื่ ง มารยาทในการฟัง การดู และการพดู
วรรณคดแี ละวรรณกรรม
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ ครอบครวั ผาสกุ
การออกแบบหนว่ ยการเรยี นรตู้ ามแนวทางของ Backward Design
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น (Pre - Test)
แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post - Test)
แบบบนั ทกึ สรปุ ผลการเรยี นรสู้ ำหรับผเู้ รยี น
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๑ บทดอกสรอ้ ยสอนใจ “ไกแ่ จ้ ไก่แกว้ ”
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๒ เพลงคา่ นำ้ นม
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๓ เดก็ ดหี นูทำได้
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๒ สนุกกบั นทิ าน
การออกแบบหนว่ ยการเรยี นรตู้ ามแนวทางของ Backward Design
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น (Pre - Test)
แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post - Test)
แบบบนั ทกึ สรปุ ผลการเรยี นรสู้ ำหรบั ผเู้ รยี น
แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี ๑ ยายสอนหลาน
แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี ๒ นทิ านยายกะตา
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๓ สนกุ กับการตง้ั และตอบคำถาม
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๔ แสดงความคดิ เหน็ ดว้ ยเหตผุ ล
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๕ นทิ านนานาชาติ
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๓ ทนั ขา่ วเหตกุ ารณ์
การออกแบบหนว่ ยการเรยี นรตู้ ามแนวทางของ Backward Design
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น (Pre - Test)
แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post - Test)
แบบบนั ทกึ สรปุ ผลการเรยี นรสู้ ำหรับผเู้ รยี น
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๑ กา้ วทนั ขา่ วและเหตกุ ารณ์
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๒ ขา่ วนน้ั สำคญั ไฉน
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๓ อยากรตู้ อ้ งอา่ น
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๔ ทอ่ งอาขยาน “กาดำ”
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๕ กจิ กรรมเสริม “การละเลน่ กาฟกั ไข”่
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๔ สบื สานมรรยาทไทย
การออกแบบหนว่ ยการเรยี นรตู้ ามแนวทางของ Backward Design
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น (Pre - Test)
แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post - Test)
แบบบนั ทกึ สรปุ ผลการเรยี นรสู้ ำหรบั ผเู้ รยี น
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๑ บนั ทกึ ประจำวนั
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๒ นทิ านอสี ป เรอ่ื ง ราชสหี ์กบั หนู
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๓ ยอดนกั อา่ น
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๔ อา่ นเสริมเติมปญั ญา
แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี ๕ การใชส้ ถานทส่ี าธารณะ
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๖ ปลอดภยั ไวก้ อ่ น
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๗ มารยาทในการใชห้ อ้ งสมดุ
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๕ ธรรมชาตแิ สนงาม
การออกแบบหนว่ ยการเรยี นรตู้ ามแนวทางของ Backward Design
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น (Pre - Test)
แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post - Test)
แบบบนั ทกึ สรปุ ผลการเรยี นรสู้ ำหรบั ผเู้ รยี น
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๑ สมั ผสั ธรรมชาติ
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๒ เกษตรอนิ ทรยี ์ดตี อ่ สงิ่ แวดลอ้ ม
แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี ๓ รว่ มดว้ ยชว่ ยกนั “ประหยดั พลังงาน”
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๔ ทอ่ งอาขยาน “รักษาปา่ ”
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๖ เมอื งไทยเมอื งทอง
การออกแบบหนว่ ยการเรยี นรตู้ ามแนวทางของ Backward Design
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น (Pre - Test)
แบบทดสอบหลงั เรยี น (Post - Test)
แบบบนั ทกึ สรปุ ผลการเรยี นรสู้ ำหรับผเู้ รียน
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๑ ปรศิ นาพาเพลนิ
แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี ๒ มอญซอ่ นผา้
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๓ สนกุ กับบทรอ้ งเลน่ รรี ขี ้าวสาร
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๔ รจู้ กั บทรอ้ งเลน่
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๕ ปริศนาสนกุ นกึ
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๖ เด็กไทย เลน่ แบบไทย
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๗ มารู้จกั บทสักวากนั เถอะ
แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี ๘ สกั วาหวานอน่ื มหี มนื่ แสน
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๙ สกั วาดาวจระเขก้ เ็ หหก
ภาคผนวก
แบบสงั เกตพฤตกิ รรม
๑. แบบสังเกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรม
๒. แบบสงั เกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลุ่ม
ตวั อยา่ งโครงงานชนะเลศิ
ใบงาน ชิ้นงาน การประเมินผล ขอ้ เสนอแนะของ แผ
โดยใช้ Rubrics ผบู้ ริหารสถานศึกษา แ
ความรู้เพ่มิ เติม แผนการจดั ก
สาหรับครู รายชั่วโ
กิจกรรมเสนอแนะ
การวดั และประเมินผล
การเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้ การจดั บรรยากาศ รอบรู้อาเซียน การ
เชิงบวก ก
ผนผงั การเรียนรู้ ตวั ช้ีวดั มาตรฐานการเรียนรู้/ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
ตวั ช้ีวดั สู่ตวั ช้ีวดั
แบบบูรณาการ
การเรียนรู้ สาระสาคญั
โมง สาระการเรียนรู้
สมรรถนะสาคญั
ของผเู้ รียน
รจดั กิจกรรม คาถามทา้ ทาย ชิ้นงานหรือภาระงาน คุณลกั ษณะอนั -
การเรียนรู้ (หลกั ฐาน ร่องรอย พึงประสงค์
แสดงความรู้)
คำชแี้ จง
แผนการจัดการเรยี นรรู้ ายชวั่ โมงมแี นวทางการจดั การเรียนรู้ท่ีเน้นผเู้ รยี นเปน็ สำคญั โดยมงุ่ ให้ผูเ้ รยี น
พฒั นาตามศักยภาพ คำนงึ ถึงความแตกตา่ งระหว่างบุคคล เพ่อื ให้บรรลุมาตรฐานการเรียนรทู้ ี่กำหนดไว้ใน
หลักสูตร รวมทั้งเสรมิ สรา้ งคุณลักษณะอันพึงประสงค์และพัฒนาทักษะต่าง ๆ อันเป็นสมรรถนะสำคญั ใหผ้ ู้เรียน
บรรลุเป้าหมาย ซ่ึงในแตล่ ะแผนมอี งค์ประกอบ ดังนี้
องคป์ ระกอบ รายละเอยี ด
๑. การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ ภาพรวมของการจัดการเรยี นรรู้ ายหนว่ ยสอดคล้องกบั ตัวชวี้ ดั
มีสาระสำคญั กระบวนการเรียนรู้ ช้ินงานหรอื ภาระงานและ
ตามแนวทางของ Backward การประเมินผล
Design เปน็ แบบทดสอบก่อนการสอนในแตล่ ะเรื่อง เพื่อให้เห็นถึงพัฒนาการ
๒. แบบทดสอบก่อนเรียน การเรยี นรู้ของผเู้ รยี น
(Pre-Test)
๓. แบบทดสอบหลังเรยี น เปน็ แบบทดสอบหลังการสอนในแตล่ ะเรื่อง เพื่อใหเ้ ห็นถึงพัฒนาการ
(Post-Test) การเรยี นรูข้ องผเู้ รยี น
๔. แบบบนั ทกึ สรปุ ผลการเรยี นรู้
สำหรบั ผู้เรยี น ใช้เป็นขอ้ มลู ในการพฒั นาการเรียนร้ขู องผู้เรียนและสะท้อนการจดั กจิ กรรม
๕. แผนผงั การเรียนรแู้ บบบรู ณาการ การเรียนรู้ของผู้สอน
๖. มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ชีว้ ัด แสดงให้เห็นถงึ การจดั กิจกรรมการเรียนรทู้ ี่เช่อื มโยงกับกลมุ่ สาระ การ
เรยี นรูอ้ นื่ ๆ
๗. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ส่ตู วั ชีว้ ดั
๘. สาระสำคญั เป็นคณุ ภาพผเู้ รียนที่หลักสตู รกำหนดเพื่อให้ผ้สู อนจดั การเรียนรู้
๙. ความเขา้ ใจทค่ี งทน และประเมินผลผเู้ รยี นใหบ้ รรลุผลตามตวั ชีว้ ัด
เปน็ ระดบั การเรียนรู้ทจี่ ะให้ผู้เรยี นบรรลุตวั ช้วี ดั ครอบคลมุ K,P,A
(Enduring Understanding) เป็นการสรุปความคิดรวบยอดและหลกั การสำคญั
ผู้เรียนสามารถสรุปความรู้ท่ีสำคญั หลงั จากจบกระบวนการเรยี นรู้
๑๐. สาระการเรยี นรู้ เปน็ ความรู้ที่ฝังแนน่
เป็นการเสนอหัวข้อเน้อื หาท่ีเรยี น ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด
และคณุ ลักษณะอันพึงประสงคท์ ผ่ี เู้ รยี นจะได้จากการจดั กจิ กรรม
การเรียนรู้
องคป์ ระกอบ รายละเอยี ด
๑๑. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน กำหนดสมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียนทสี่ อดคล้องกับการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้
๑๒. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ กำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์และตัวชี้วัดที่สอดคล้อง
กับการจดั การเรยี นรู้
๑๓. ช้ินงานหรอื ภาระงาน เปน็ ผลงานทเี่ กดิ จากผู้เรยี น เชน่ ชิน้ งาน ใบงาน การบันทึก
(หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้) แผนภาพความคิด
๑๔. คำถามทา้ ทาย เปน็ คำถามทกี่ ระตุน้ ให้ผูเ้ รยี นได้คิดวเิ คราะห์
๑๕. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ เปน็ ขน้ั ตอนการสอนรายช่ัวโมงทค่ี รอบคลุมต้ังแต่ข้นั นำเขา้ สูบ่ ทเรยี น เพื่อ
กระตนุ้ ความคดิ ของผ้เู รียน ขนั้ สอน ข้ันสรปุ ความรู้
๑๖. รอบรู้อาเซยี น เป็นขน้ั ตอนการสอนทเ่ี สรมิ ความรู้หรอื กจิ กรรมเกยี่ วกับกลุ่มประเทศ
ในประชาคมอาเซียน เพ่ือเตรียมตัวกา้ วสู่ประชาคมอาเซยี น
๑๗. การจดั บรรยากาศเชิงบวก เป็นแนวทางการจัดกจิ กรรมท่ีใหผ้ ูเ้ รียนมอี ิสระในการแสดงความคิดเห็น
กระตนุ้ ใหผ้ ้เู รียนมีความสนใจและกระตือรือร้นในการเรียน
๑๘. สอื่ การเรยี นรู้ เป็นสือ่ และอปุ กรณ์ที่ใชป้ ระกอบการจดั การเรยี นรู้ทผี่ ูส้ อนสามารถจัดเตรยี ม
ได้ง่าย โดยผูส้ อนสามารถใช้ภาพจากชุดกจิ กรรมการเรียนรู้ และหาได้
ง่ายตามท้องถิ่น ผสู้ อนสามารถปรบั เปล่ียนให้เหมาะสมกับสภาพท้องถิน่
๑๙. การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ ประกอบด้วยวิธกี ารวัดและประเมินผล และเคร่อื งมือวดั และประเมนิ ผล
๒๐. กิจกรรมเสนอแนะ เป็นกิจกรรมทส่ี อดคล้องกับสาระการเรยี นรู้ ซง่ึ ผสู้ อนสามารถใชเ้ ป็น
แนวทางในการจัดกจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี นและพัฒนาเป็นโครงงานได้
๒๑. ความรู้เพมิ่ เติมสำหรับครู เป็นเกร็ดความรู้ทผ่ี ้สู อนใช้สอดแทรกในกจิ กรรมการเรียนรเู้ พอ่ื เพม่ิ พูน
ความรู้ใหก้ ับผเู้ รียน
๒๒. ใบงาน/ชนิ้ งาน เป็นกิจกรรมทผี่ ู้เรยี นจะบนั ทึกผลการเรียนรู้ ใช้เปน็ หลักฐานในการ
ประเมินผลการเรียนรู้ได้ และสามารถเก็บในแฟม้ สะสมงาน (Portfolio)
๒๓. การประเมนิ ผลตามสภาพจริง
(Rubrics) เปน็ การกำหนดระดับคุณภาพผเู้ รยี นเพอื่ ใช้ประเมินชนิ้ งาน
๒๔. ขอ้ เสนอแนะของผบู้ ริหาร เป็นการบันทึกความคิดเหน็ เกี่ยวกบั การจดั กิจกรรมการเรียนร้ใู นแผนเพ่ือให้
สถานศึกษา
ผสู้ อนใชเ้ ปน็ แนวทางการปรับการสอนก่อนที่จะนำไปใช้ ในการ
๒๕. บันทกึ หลังการสอน
สอนจริง
ให้ครไู ด้บนั ทึกสิง่ สำคัญทเ่ี กิดขนึ้ ในการสอน เชน่ ความสำเร็จทีเ่ กิดข้นึ
ปัญหาระหวา่ งการสอน เพื่อใชใ้ นการปรบั ปรงุ และพัฒนาการสอน
ในคร้งั ต่อไป
ตารางมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชว้ี ดั
กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๒
สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชว้ี ดั
สาระที่ ๑ การอา่ น
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่าน ๑. อา่ นออกเสยี งคำ คำคล้องจอง ข้อความ
สร้างความรู้และความคิดเพ่ือนำไปใช้ตัดสนิ ใจ และบทรอ้ ยกรองง่าย ๆ ได้ถกู ต้อง
แก้ปัญหาในการดำเนนิ ชีวิต และมนี สิ ัย ๒. อธิบายความหมายของคำและข้อความทอ่ี า่ น
รักการอ่าน ๓. ตง้ั คำถามและคำตอบเกย่ี วกบั เรือ่ งท่ีอา่ น
๔. ระบใุ จความสำคัญและรายละเอยี ดจากเร่อื งท่ีอา่ น
๕. แสดงความคดิ เหน็ และคาดคะเนเหตุการณ์จากเร่อื งท่ีอ่าน
๖. อ่านหนังสือตามความสนใจอยา่ งสมำ่ เสมอ
และนำเสนอเรื่องท่ีอา่ น
๗. อา่ นขอ้ เขียนเชงิ อธบิ าย และปฏิบตั ติ ามคำส่งั
หรอื ข้อแนะนำ
๘. มีมารยาทในการอ่าน
สาระท่ี ๒ การเขยี น
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชก้ ระบวนการเขียน ๑. การคดั ลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
เขยี นสื่อสาร เขยี นเรียงความ ย่อความ และเขยี น ๒. เขยี นเร่อื งสนั้ ๆ เก่ียวกบั ประสบการณ์
เร่ืองราวในรูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานขอ้ มูล ๓. เขยี นเรอื่ งสนั้ ๆ ตามจินตนาการ
สารสนเทศ และรายงานการศึกษาค้นควา้ อยา่ งมี ๔. มมี ารยาทในการเขียน
ประสิทธิภาพ
สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชวี้ ดั
สาระที่ ๓ การฟงั การดู และการพดู
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลอื กฟงั และดอู ยา่ งมี ๑. ฟงั คำแนะนำ คำสงั่ ทีซ่ ับซ้อน และปฏิบตั ิตาม
วิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคดิ และ ๒. เลา่ เรอื่ งท่ฟี ังและดูทงั้ ทเี่ ป็นความรแู้ ละความบันเทงิ
ความรสู้ กึ ในโอกาสต่าง ๆ อย่างมวี จิ ารณญาณ ๓. บอกสาระสำคัญของเร่ืองท่ฟี งั และดู
และสร้างสรรค์ ๔. ตั้งคำถามและตอบคำถามเก่ยี วกับเรอ่ื งทฟ่ี ังและดู
๕. พดู แสดงความคิดเหน็ และความรสู้ ึกจากเร่ืองที่ฟังและดู
สาระท่ี ๔ หลกั การใชภ้ าษาไทย ๖. พูดส่ือสารไดช้ ดั เจนตรงตามวตั ถุประสงค์
มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาติของภาษา ๗. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
และหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา
และพลังของภาษา ภูมิปญั ญาทางภาษา ๑. บอกและเขียนพยญั ชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย
และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบตั ิของชาติ ๒. เขยี นสะกดคำและบอกความหมายของคำ
๓. เรยี บเรียงคำเปน็ ประโยคได้ตรงตามเจตนาของการส่อื สาร
๔. บอกลักษณะคำคลอ้ งจอง
๕. เลอื กใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถนิ่ ได้เหมาะสม
กบั กาลเทศะ
สาระท่ี ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม ๑. ระบขุ อ้ คดิ ท่ีไดจ้ ากการอา่ นหรือการฟงั วรรณกรรมสำหรับ
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเหน็ เด็ก เพ่ือนำไปใชใ้ นชีวติ ประจำวัน
วิจารณว์ รรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอยา่ งเหน็
คณุ คา่ และนำมาประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตจรงิ ๒. รอ้ งบทร้องเล่นสำหรบั เด็กในท้องถิน่
๓. ทอ่ งจำบทอาขยานตามท่ีกำหนด และบทรอ้ ยกรองท่มี ี
คุณคา่ ตามความสนใจ
ท่มี า : หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ตารางวเิ คราะหแ์ ผนการจัดการเรยี นรรู้ า
กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษ
มาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ ๑ การอ่าน สา
และตวั ชี้วดั กา
แผนการจดั การเรียนรู้ ท ๑.๑ ท
๑ ๒๓๔๕๖ ๗๘ ๑๒
หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย
หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑
ตวั อกั ษรไทย
(แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๑ - ๗)
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒
มาตรา ก กา
(แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ ๑ - ๖)
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓
มาตรา กง
(แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ ๑ - ๖)
หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๔
มาตรา กม
(แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๑ - ๖)
ายชว่ั โมงกบั มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชว้ี ดั
ษาไทย ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๒
าระที่ ๒ สาระที่ ๓ การฟัง การดู สาระท่ี ๔ หลักการใช้ สาระท่ี ๕
ารเขียน และการพูด ภาษาไทย วรรณคดแี ละ
วรรณกรรม
ท ๒.๑ ท ๓.๑ ท ๔.๑ ท ๕.๑
๒๓๔๑ ๒๓๔๕๖ ๗๑ ๒๓๔๕๑ ๒๓
มาตรฐานการเรียนรู้ สาระท่ี ๑ การอ่าน สา
และตัวชี้วัด กา
แผนการจัดการเรียนรู้ ท ๑.๑ ท
๑ ๒๓๔๕๖ ๗๘ ๑๒
หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๕
มาตรา เกย
(แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี ๑ - ๖)
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
มาตรา เกอว
(แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ ๑ - ๖)
หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๗
มาตรา กก
(แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๑ - ๖)
หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๘
มาตรา กด
(แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ ๑ - ๖)
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๙
มาตรา กน
(แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี ๑ - ๖)
าระที่ ๒ สาระท่ี ๓ การฟัง การดู สาระที่ ๔ หลักการใช้ สาระที่ ๕
ารเขยี น และการพดู ภาษาไทย วรรณคดแี ละ
วรรณกรรม
ท ๒.๑ ท ๓.๑ ท ๔.๑ ท ๕.๑
๒๓๔๑ ๒๓๔๕๖ ๗๑ ๒๓๔๕๑ ๒๓
มาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ ๑ การอ่าน สา
และตวั ชีว้ ัด กา
แผนการจดั การเรียนรู้ ท ๑.๑ ท
๑ ๒๓๔๕๖ ๗๘ ๑๒
หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑๐
มาตรา กบ
(แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๑ - ๖)
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๑
การผนั อกั ษร
(แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๑ - ๖)
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๒
คาท่ีมีพยญั ชนะควบกล้า
(แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี ๑ - ๗)
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๓
คาท่ีมีอกั ษรนา
(แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๑ - ๗)
หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑๔
คาท่ีมีตวั การันต์
(แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ ๑ - ๗)
าระที่ ๒ สาระท่ี ๓ การฟัง การดู สาระที่ ๔ หลักการใช้ สาระที่ ๕
ารเขยี น และการพดู ภาษาไทย วรรณคดแี ละ
วรรณกรรม
ท ๒.๑ ท ๓.๑ ท ๔.๑ ท ๕.๑
๒๓๔๑ ๒๓๔๕๖ ๗๑ ๒๓๔๕๑ ๒๓
มาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ ๑ การอ่าน สา
และตัวชี้วัด กา
แผนการจัดการเรียนรู้ ท ๑.๑ ท
๑ ๒๓๔๕๖ ๗๘ ๑๒
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๕
คาท่ีมี รร
(แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ ๑ - ๗)
หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑๖
คาท่ีมีพยญั ชนะและสระ
ท่ีไม่ออกเสียง
(แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๑ - ๗)
หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑๗
คาที่มีความหมายตรงขา้ มกนั
(แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ ๑ - ๗)
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๘
คาคลอ้ งจอง
(แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ ๑ - ๗)
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๙
ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่ิน
(แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ ๑ - ๗)
าระท่ี ๒ สาระท่ี ๓ การฟัง การดู สาระท่ี ๔ หลักการใช้ สาระท่ี ๕
ารเขยี น และการพดู ภาษาไทย วรรณคดแี ละ
วรรณกรรม
ท ๒.๑ ท ๓.๑ ท ๔.๑ ท ๕.๑
๒๓๔๑ ๒๓๔๕๖ ๗๑ ๒๓๔๕๑ ๒๓
มาตรฐานการเรียนรู้ สาระท่ี ๑ การอ่าน สา
และตวั ชี้วัด กา
แผนการจดั การเรียนรู้ ท ๑.๑ ท
๑ ๒๓๔๕๖ ๗๘ ๑๒
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒๐
การเขียน
เร่ืองท่ี ๑ การแตง่ ประโยค
(แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๑ - ๔)
เร่ืองท่ี ๒ การเขยี นเร่ืองส้ัน ๆ
เก่ียวกบั ประสบการณ์
(แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี ๑ - ๔)
เรื่องท่ี ๓ การเขียนเรื่องส้นั ๆ
ตามจินตนาการ
(แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๑ - ๔)
เร่ืองที่ ๔ มารยาทในการเขยี น
(แผนการจดั การเรียนรูเ้ ร่ือง
มารยาทในการเขียน)
าระท่ี ๒ สาระที่ ๓ การฟัง การดู สาระท่ี ๔ หลักการใช้ สาระท่ี ๕
ารเขียน และการพูด ภาษาไทย วรรณคดแี ละ
วรรณกรรม
ท ๒.๑ ท ๓.๑ ท ๔.๑ ท ๕.๑
๒๓๔๑ ๒๓๔๕๖ ๗๑ ๒๓๔๕๑ ๒๓
มาตรฐานการเรียนรู้ สาระท่ี ๑ การอ่าน สา
และตวั ชีว้ ดั กา
แผนการจัดการเรียนรู้ ท ๑.๑ ท
๑ ๒๓๔๕๖ ๗๘ ๑๒
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒๑
การฟัง การดู และการพดู
เรื่องท่ี ๑ การฟังและปฏิบตั ิตาม
คาแนะนา คาสงั่ ที่ซบั ซอ้ น
(แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๑ - ๔)
เร่ืองที่ ๒ การจบั ใจความ และพดู
แสดงความคิดเห็น
ความรู้สึก จากเร่ืองท่ีฟัง
และดูท้งั ท่ีเป็นความรู้
และความบนั เทิง
(แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๑ - ๑๐)
เร่ืองท่ี ๓ การพดู ส่ือสาร
ในชีวิตประจาวนั
(แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๑ - ๑๖)
าระที่ ๒ สาระที่ ๓ การฟัง การดู สาระที่ ๔ หลักการใช้ สาระที่ ๕
ารเขยี น และการพูด ภาษาไทย วรรณคดแี ละ
วรรณกรรม
ท ๒.๑ ท ๓.๑ ท ๔.๑ ท ๕.๑
๒๓๔๑ ๒๓๔๕๖ ๗๑ ๒๓๔๕๑ ๒๓
มาตรฐานการเรียนรู้ สาระท่ี ๑ การอ่าน สาระที่ ๒
และตวั ชีว้ ัด การเขยี น
แผนการจัดการเรียนรู้ ท ๑.๑ ท ๒.๑
๑ ๒๓๔๕๖ ๗๘๑ ๒๓
เรื่องที่ ๔ มารยาทในการฟัง
การดู และการพูด
(แผนการจดั การเรียนรู้เรื่อง มารยาท
ในการฟัง การดู และการพดู )
วรรณคดแี ละวรรณกรรม
หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑
ครอบครัวผาสุก
(แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๑ - ๓)
หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๒
สนุกกบั นิทาน
(แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ ๑ - ๕)
หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๓
ทนั ข่าวเหตุการณ์
(แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๑ - ๕)
๒ สาระท่ี ๓ การฟัง การดู สาระท่ี ๔ หลกั การใช้ สาระท่ี ๕
น และการพูด ภาษาไทย วรรณคดแี ละ
วรรณกรรม
๑ ท ๓.๑ ท ๔.๑ ท ๕.๑
๓๔๑ ๒๓๔๕๖ ๗๑ ๒๓๔๕๑ ๒๓
มาตรฐานการเรียนรู้ สาระท่ี ๑ การอ่าน สา
และตวั ชี้วดั กา
แผนการจดั การเรียนรู้ ท ๑.๑ ท
๑ ๒๓๔๕๖ ๗๘ ๑๒
หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๔
สืบสานมรรยาทไทย
(แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๑ - ๗)
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕
ธรรมชาติแสนงาม
(แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๑ - ๔)
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
เมืองไทยเมืองทอง
(แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๑ - ๙)
สรุป
าระที่ ๒ สาระท่ี ๓ การฟัง การดู สาระที่ ๔ หลักการใช้ สาระท่ี ๕
ารเขยี น และการพูด ภาษาไทย วรรณคดแี ละ
วรรณกรรม
ท ๒.๑ ท ๓.๑ ท ๔.๑ ท ๕.๑
๒๓๔๑ ๒๓๔๕๖ ๗๑ ๒๓๔๕๑ ๒๓
คำอธบิ ายรายวชิ า
ท ๑๒๑01 ภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๒ เวลาเรียน ๒๐๐ ชวั่ โมง
ศึกษาและฝึกอ่านออกเสียงและบอกความหมายของคำพ้ืนฐาน คำที่ใช้เรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
คำคล้องจอง ข้อความ และบทร้อยกรองง่าย ๆ อ่านจับใจความจากสื่อต่าง ๆ แล้วสามารถ ต้ังคำถาม ตอบคำถาม
ระบุใจความสำคัญ และรายละเอียดแสดงความคิดเห็น และคาดคะเนเหตุการณ์จากเร่ืองท่ีอ่าน อ่านหนังสือตาม
ความสนใจอยา่ งสม่ำเสมอ และนำเสนอเร่ืองท่ีอ่าน อ่านข้อเขียนเชิงอธิบายและปฏบิ ัติตามคำส่ังหรอื ข้อแนะนำและ
มีมารยาทในการอ่าน คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย เขียนเร่ืองส้ัน ๆ เก่ียวกับ
ประสบการณ์และเรื่องสั้น ๆ ตามจินตนาการ และมีมารยาทในการเขียน ฟังคำแนะนำ คำสั่งท่ีซับซ้อน และปฏิบัติ
ตาม จบั ใจความจากเร่อื งท่ีฟังและดูทงั้ ทเี่ ป็นความรแู้ ละความบันเทงิ โดยเลา่ เรือ่ ง บอกสาระสำคญั
ตั้งคำถาม และตอบคำถาม พดู แสดงความคิดเห็นและความร้สู ึกจากเร่ืองท่ีฟัง และดู พูดแนะนำตนเอง
ขอความช่วยเหลือ กล่าวคำขอบคุณ กล่าวคำขอโทษ พูดขอร้องในโอกาสต่าง ๆ เล่าประสบการณ์ในชีวิตประจำวัน
และมีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย เขียนสะกดคำ
และบอกความหมายของคำ แต่งประโยค และเรียบเรียงประโยคเป็นข้อความสั้น ๆ ได้ตรงตามเจตนาของการ
สื่ อสาร บอกลั กษณ ะของคำคล้ องจอง และเลื อกใช้ ภาษาไทยมาตรฐานภาษาถิ่ นได้ เหมาะสม
กับกาลเทศะและบุคคล ระบุข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรอง สำหรับเด็กเพ่ือ
นำไปใชใ้ นชีวิตประจำวัน ร้องบทร้องเล่นสำหรับเด็กในท้องถ่ิน และท่องจำบทอาขยานตามท่ีกำหนด และ
บทร้อยกรองที่มีคุณคา่ ตามความสนใจ
กิจกรรมการเรียนรู้เน้นให้ผู้เรียนฝึกทักษะการอ่านและการเขียน อ่านเรื่องส้ัน ๆ แข่งขันเขียนคำ รวมทั้ง
สอดแทรกการฝึกทักษะอื่นควบคู่กนั ไป ซึ่งกิจกรรมจะอยู่ในลักษณะของบทบาทสมมตุ ิ เกม ร้องเพลง
ทายปรศิ นา การอภปิ ราย การระดมสมอง และการวาดภาพสื่อจินตนาการ
เพื่อให้เกิดความเข้าใจหลักภาษา เกิดทักษะในการใช้ภาษาเพื่อการส่ือสารสามารถนำไปใชใ้ น
ชวี ติ ประจำวนั ได้ มีความชื่นชม เห็นคุณค่าภมู ิปัญญาไทยและภมู ใิ จในภาษาประจำชาติ
รหสั ตวั ชวี้ ดั
ท ๑.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/๒, ป. ๒/๓, ป. ๒/๔, ป. ๒/๕, ป. ๒/๖, ป. ๒/๗, ป. ๒/๘
ท ๒.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/๒, ป. ๒/๓, ป. ๒/๔
ท ๓.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/๒, ป. ๒/๓, ป. ๒/๔, ป. ๒/๕, ป. ๒/๖, ป. ๒/๗
ท ๔.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/๒, ป. ๒/๓, ป. ๒/๔, ป. ๒/๕
ท ๕.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/๒, ป. ๒/๓
รวมทัง้ หมด ๒๗ ตวั ชว้ี ดั
โครงสรา้ งรายวชิ าพน้ื ฐาน ภาษาไทย
ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๒ เวลาเรยี น ๒๐๐ ชวั่ โมง
ลำดบั ท่ี ชอ่ื หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นร/ู้ สาระสำคญั เวลาเรียน นำ้ หนกั
ตวั ชว้ี ดั (ชวั่ โมง) คะแนน
หลกั ภาษา
และการใชภ้ าษาไทย ท ๔.๑ ป. ๒/๑ ตวั อักษรไทยประกอบด้วย พยญั ชนะ ๗
๑ ตัวอกั ษรไทย สระ วรรณยกุ ต์ และเลขไทย ซึ่ง ๖
ท ๑.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/ สามารถนำมาประกอบเปน็ คำเพอ่ื ใช้ ๖
๒ มาตรา ก กา ๒ ในการสือ่ สาร ๖
ท ๒.๑ ป. ๒/๑ ๖
๓ มาตรา กง ท ๔.๑ ป. ๒/๒ มาตรา ก กา เป็นคำทไ่ี มม่ ตี วั สะกด ๖
การอ่าน การเขยี น และรคู้ วามหมาย
๔ มาตรา กม ท ๑.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/ ของคำทีถ่ ูกต้องทำให้สามารถนำคำไป
๒ ใช้ในชวี ิตประจำวนั ได้
๕ มาตรา เกย ท ๒.๑ ป. ๒/๑
ท ๔.๑ ป. ๒/๒ มาตรา กง เปน็ คำท่ีมี ง เปน็ ตัวสะกด
๖ มาตรา เกอว การอา่ น การเขียน และรคู้ วามหมาย
ท ๑.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/ ของคำท่ีถูกต้องทำใหส้ ามารถนำคำไป
๒ ใช้ในชวี ติ ประจำวนั ได้
ท ๒.๑ ป. ๒/๑
ท ๔.๑ ป. ๒/๒ มาตรา กม เป็นคำทีม่ ี ม เป็นตัวสะกด
การอ่าน การเขียน และรคู้ วามหมาย
ท ๑.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/ ของคำท่ถี ูกต้องทำใหส้ ามารถนำคำไป
๒ ใช้ในชีวิตประจำวนั ได้
ท ๒.๑ ป. ๒/๑
ท ๔.๑ ป. ๒/๒ มาตรา เกย เปน็ คำทมี่ ี ย เป็นตัวสะกด
การอ่าน การเขยี น และรคู้ วามหมาย
ท ๑.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/ ของคำท่ีถูกตอ้ งทำใหส้ ามารถนำคำไป
๒ ใช้ในชีวติ ประจำวันได้
ท ๒.๑ ป. ๒/๑
ท ๔.๑ ป. ๒/๒ มาตรา เกอว เป็นคำท่ีมี ว
เป็นตัวสะกด การอา่ น การเขยี น
และรคู้ วามหมายของคำท่ถี ูกต้อง
ทำใหส้ ามารถนำคำไปใช้
ในชวี ติ ประจำวันได้
ลำดับที่ ชอ่ื หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นร/ู้ สาระสำคญั เวลาเรียน นำ้ หนกั
ตวั ชว้ี ดั (ชว่ั โมง) คะแนน
๗ มาตรา กก
ท ๑.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/ มาตรา กก เปน็ คำทม่ี ี ก ข ค ฆ ๖
๘ มาตรา กด
๒ เป็นตวั สะกด ซง่ึ ออกเสยี งเหมอื น ๖
๙ มาตรา กน
ท ๒.๑ ป. ๒/๑ ก สะกด การอา่ น การเขียน ๖
๑๐ มาตรา กบ
ท ๔.๑ ป. ๒/๒ และรคู้ วามหมายของคำท่ีถูกตอ้ ง ๖
๑๑ การผนั อกั ษร
ทำใหส้ ามารถนำคำไปใช้ ๖
ในชวี ิตประจำวนั ได้
ท ๑.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/ มาตรา กด เปน็ คำท่มี ีพยญั ชนะ
๒ ท่เี ปน็ ตวั สะกดได้หลายตวั ซง่ึ
ท ๒.๑ ป. ๒/๑ ออกเสียงเหมอื น ด สะกด การอา่ น
ท ๔.๑ ป. ๒/๒ การเขียน และรู้ความหมายของคำ
ที่ถกู ต้อง ทำใหส้ ามารถนำคำไปใช้ใน
ชีวิตประจำวนั ได้
ท ๑.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/ มาตรา กน เปน็ คำที่มี น ญ ณ ร ล ฬ
๒ เปน็ ตวั สะกด ซง่ึ ออกเสียงเหมือน
ท ๒.๑ ป. ๒/๑ น สะกด การอ่าน การเขียน
ท ๔.๑ ป. ๒/๒ และรู้ความหมายของคำทถ่ี กู ตอ้ ง
ทำให้สามารถนำคำไปใช้
ในชวี ติ ประจำวันได้
ท ๑.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/ มาตรา กบ เปน็ คำทีม่ ี บ ป พ ฟ ภ
๒ เปน็ ตวั สะกด ซง่ึ ออกเสียงเหมือน
ท ๒.๑ ป. ๒/๑ บ สะกด การอ่าน การเขยี น
ท ๔.๑ ป. ๒/๒ และรูค้ วามหมายของคำที่ถกู ต้อง
ทำให้สามารถนำคำไปใช้
ในชีวิตประจำวนั ได้
ท ๑.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/ การผนั อกั ษร เป็นการเปลย่ี นเสียง
๒ คำตา่ ง ๆ ตามเสยี งวรรณยกุ ต์
ท ๒.๑ ป. ๒/๑ ใหไ้ ดค้ ำใหมท่ ม่ี คี วามหมายแตกตา่ ง
ท ๔.๑ ป. ๒/๒ จากคำเดมิ การเข้าใจอกั ษรสูง
อกั ษรกลาง และอกั ษรตำ่ จะทำให้
ผันอักษรได้ถกู ตอ้ งและสามารถ
นำคำไปใชใ้ นชีวิตประจำวันได้
ลำดับที่ ชอื่ หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นร/ู้ สาระสำคญั เวลาเรยี น นา้ หนกั
ตวั ชวี้ ดั (ชว่ั โมง) คะแนน
๑๒ คำที่มีพยัญชนะ คำทม่ี ีพยัญชนะควบกลำ้ เปน็ คำ
ควบกล้ำ ท ๑.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/๒ ท่มี ีพยญั ชนะตน้ ๒ ตวั ๗
ท ๒.๑ ป. ๒/๑ ประสมสระตัวเดียวกนั พยญั ชนะ
ท ๔.๑ ป. ๒/๒ ทม่ี าควบคือ ร ล ว บางคำ ๗
ออกเสยี งพยัญชนะตน้ ๒ ตัว
๑๓ คำทมี่ ีอกั ษรนำ ท ๑.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/๒ กล้ำกัน บางคำออกเสยี งเฉพาะ ๗
ท ๒.๑ ป. ๒/๑ พยญั ชนะตัวแรก และบางคำ
ท ๔.๑ ป. ๒/๒ ออกเสียง ทร เป็นเสียง ซ
การอา่ น การเขยี น และรู้
๑๔ คำท่ีมีตวั การนั ต์ ท ๑.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/๒ ความหมายของคำทีถ่ ูกต้อง
ท ๒.๑ ป. ๒/๑ ทำให้สามารถนำคำไปใช้
ท ๔.๑ ป. ๒/๒ ในชีวิตประจำวันได้
คำทม่ี ีอกั ษรนำ เปน็ คำท่ีมี
พยัญชนะต้น ๒ ตวั ประสมสระ
เดียวกัน พยญั ชนะต้นตัวแรก
จะเปน็ อักษรสูงหรืออักษรกลาง
สว่ นพยัญชนะตวั ทส่ี องจะเปน็
อกั ษรต่ำ บางคำออกเสียง
พยางค์เดียว บางคำออกเสยี ง
๒ พยางค์ โดยพยางค์แรกออก -
เสยี ง อะ กึ่งเสียง สว่ นพยางคห์ ลัง
ออกเสยี งเหมอื นมี ห นำ การอา่ น
การเขียน และรู้ความหมายของคำ
ท่ถี ูกตอ้ งทำใหส้ ามารถนำคำ
ไปใช้ในชวี ิตประจำวนั ได้
คำทม่ี ีตัวการันต์ เปน็ คำทมี่ ี
ไม้ทณั ฑฆาต ( - ์) ก์ ำกับอยบู่ น
พยญั ชนะที่ไมต่ ้องการออกเสียง
ตวั การันตม์ ที ้งั พยญั ชนะตวั เดยี ว
พยัญชนะ ๒ ตัว พยญั ชนะและ
สระ การอา่ นจะไมอ่ ่านออกเสยี ง
พยญั ชนะและสระน้ัน การเขยี น
และรคู้ วามหมายของคำทถี่ กู ต้อง
ทำให้สามารถนำคำไปใช้
ในชวี ิตประจำวนั ได้
ลำดบั ท่ี ชอื่ หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นร/ู้ สาระสำคญั เวลาเรยี น นา้ หนัก
ตวั ชว้ี ดั (ชว่ั โมง) คะแนน
๑๕ คำทม่ี ี รร คำที่มี รร อ่านออกเสยี งเหมือน
ท ๑.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/๒ พยัญชนะต้นประสมสระ อะ ถ้าคำ ๗
ท ๒.๑ ป. ๒/๑ น้นั ไมม่ ตี ัวสะกดจะออกเสยี ง
ท ๔.๑ ป. ๒/๒ เหมือนมี น เปน็ ตวั สะกด ๗
แตถ่ ้าคำนั้นมตี ัวสะกดจะ
๑๖ คำที่มีพยญั ชนะ ท ๑.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/๒ ออกเสียงตามเสยี งตวั สะกด ๗
ของคำ การเขียน และรู้
และสระทไ่ี มอ่ อกเสยี ง ท ๒.๑ ป. ๒/๑ ความหมายของคำท่ีถูกตอ้ ง ๗
ทำใหส้ ามารถนำคำไปใช้
๑๗ คำท่มี คี วามหมาย ท ๔.๑ ป. ๒/๒ ในชีวติ ประจำวนั ได้
ตรงขา้ มกัน คำบางคำมพี ยัญชนะและสระที่
ไมอ่ อกเสยี ง บางคำไม่ออกเสียง ร
๑๘ คำคลอ้ งจอง ท ๑.๑ ป. ๒/๑ ซึง่ เป็นตัวสะกดตัวท่สี อง บางคำ
ท ๒.๑ ป. ๒/๑ ไมอ่ อกเสยี ง ห และบางคำ
ท ๔.๑ ป. ๒/๔
ซไม่ึงอ่ปอรกะสเสมยี องยสู่กรับะต์วั-สิหะรกือดสระ ์ุ
คำในภาษาไทยมีคำท่มี ีความหมาย
ตรงขา้ มกัน
ใช้เปรยี บเทียบเพ่ือสื่อความหมาย
ใหช้ ดั เจน การเข้าใจความหมาย
ของคำ ทำใหส้ ามารถนำไปใช้
ในชวี ติ ประจำวนั ไดถ้ ูกตอ้ ง
คำคล้องจองเป็นคำทมี่ เี สียงสระ
และเสยี งตวั สะกดเหมอื นกัน
ทำให้ภาษาไทยมคี วามไพเราะ
และจดจำไดง้ า่ ย
๑๙ ภาษาไทยมาตรฐาน ท ๔.๑ ป. ๒/๕ ภาษาไทยมาตรฐานเป็นภาษาท่ใี ช้ ๗
และภาษาถนิ่ ติดตอ่ ส่ือสารกนั ท่ัวไป
ส่วนภาษาถนิ่ เป็นภาษาท่ใี ช้
ติดตอ่ ส่อื สารกันภายใน
ทอ้ งถิ่นใดทอ้ งถ่นิ หนึง่ การเรียนรู้
ภาษาถนิ่ ทำใหเ้ ข้าใจการส่ือสาร
ของคนกลมุ่ ตา่ ง ๆ และเลอื กใช้
ภาษา
ลำดับที่ ชอ่ื หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นร/ู้ สาระสำคญั เวลาเรยี น นา้ หนัก
ตวั ชว้ี ดั (ชวั่ โมง) คะแนน
๒๐ การเขยี น ๑. การแตง่ ประโยคไดต้ รงตาม
ท ๒.๑ ป. ๒/๒, ป. ๒/๓, จุดประสงค์จะทำใหก้ ารส่ือสาร ๑๓
ป. ๒/๔ ชดั เจน
๒. การเขยี นเรื่องส้ัน ๆ เกย่ี วกับ ๓๑
ท ๔.๑ ป. ๒/๓ ประสบการณเ์ ปน็ การเขียน
เรอ่ื งราวท่เี กดิ จากการกระทำ หรอื
๒๑ การฟัง การดู ท ๓.๑ ป. ๒/๑, ไดพ้ บเห็นมาดว้ ยตนเอง
และการพดู ป. ๒/๒, ถา่ ยทอดใหผ้ ู้อ่นื รบั รู้
ป. ๒/๓, เพอ่ื แลกเปลย่ี นประสบการณ์
ป. ๒/๔, ซึ่งกันและกัน
ป. ๒/๕, ๓. การเขยี นเรอื่ งส้นั ๆ ตาม
ป. ๒/๖, จินตนาการ ทำใหม้ ีความคดิ
ป. ๒/๗ สรา้ งสรรค์
๔. การมมี ารยาทในการเขียน
จะทำให้งานเขยี นมคี ณุ ภาพ
เปน็ ทช่ี น่ื ชมของผูท้ ไี่ ดอ้ ่าน
งานเขยี นนนั้
๑. การฟงั คำแนะนำหรอื คำสง่ั
อยา่ งต้ังใจและคดิ ตามจะทำให้
เข้าใจและสามารถปฏิบตั ติ าม
ได้ถูกต้อง
๒. การฟังและดเู รือ่ งราวต่าง ๆ
อย่างตัง้ ใจจะทำให้สามารถ
จบั ใจความของเร่ืองได้ สามารถ
นำไปถ่ายทอดแสดงความคดิ เห็น
และความรู้สกึ ได้อยา่ งถกู ต้อง
๓. การพูดสอื่ สารในชีวิตประจำวนั
ตอ้ งเลอื กใช้ถ้อยคำและแสดง
กริ ยิ าทา่ ทาง
ให้เหมาะสมกบั กาลเทศะและ
บุคคล
๔. การมมี ารยาทในการฟงั การดู
และการพดู เกดิ ข้นึ จากความตง้ั ใจ
ทำให้ผู้อืน่ ชนื่ ชม และการสอื่ สาร
ประสบความสำเรจ็
ลำดับที่ ชอื่ หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นร/ู้ สาระสำคญั เวลาเรียน นา้ หนัก
ตวั ชว้ี ดั (ชวั่ โมง) คะแนน
วรรณคดี
และวรรณกรรม ท ๑.๑ ป. ๒/๑, ๑. บทดอกสร้อย ไก่แจ้ และไกแ่ กว้ ๓
๑ ครอบครัวผาสุก ป. ๒/๒, สอนให้ขยนั มวี ินัย รจู้ กั หน้าท่ี
ป. ๒/๔, ของตนเอง และเหน็ คณุ ค่าของเวลา ๕
๒ สนุกกับนทิ าน ป. ๒/๕, ๒. เพลงค่านำ้ นม ปลูกฝัง
ป. ๒/๘ ความกตัญญูกตเวทใี หร้ ะลกึ ถงึ พระคณุ ๕
๓ ทนั ข่าวเหตกุ ารณ์ อนั ยง่ิ ใหญข่ องแม่
ท ๕.๑ ป. ๒/๑, ทล่ี กู ทุกคนตอ้ งทดแทน
ป. ๒/๓ ๓. เพลงหนา้ ที่เดก็ สอนให้ร้จู ักหนา้ ท่ี
ทต่ี ้องทำและปลกู ฝังคุณธรรม
ท ๑.๑ ป. ๒/๑, จรยิ ธรรมทดี่ งี าม
ป. ๒/๒, นิทานเรอ่ื ง ยายกะตา ให้ขอ้ คดิ
ป. ๒/๓, ในเร่อื งความรบั ผิดชอบตอ่ หนา้ ที่
ป. ๒/๔, ทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย รูจ้ กั ชว่ ยทำงาน
ป. ๒/๕, ในบ้านเท่าทีจ่ ะทำได้และไม่ใหเ้ กิด
ป. ๒/๘ ความเสยี หาย
ท ๕.๑ ป. ๒/๑ ๑. ขา่ วเป็นเร่อื งราวรอบตัวทีม่ ี
ท ๑.๑ ป. ๒/๑, ประโยชนใ์ นการดำเนนิ ชวี ติ การรบั รู้
ขา่ วจากส่ือตา่ ง ๆ อาจเปน็ การอ่าน
ป. ๒/๒, จากหนงั สอื พิมพ์ การฟังและดูจาก
ป. ๒/๔, โทรทศั น์หรือวิทยุอยูเ่ สมอ ทำให้
ป. ๒/๖, เปน็ ผู้ทนั เหตุการณ์ ไดร้ บั ความรู้และ
ป. ๒/๘ ข้อคดิ ที่สามารถนำมาใช้
ท ๕.๑ ป. ๒/๑, ในชีวติ ประจำวนั
ป. ๒/๒, ๒. บทอาขยาน กาดำ ปลกู ฝัง
ป. ๒/๓ การมีน้ำใจเอ้ือเฟือ้ เผอ่ื แผ่
แก่คนรอบข้าง
ลำดับที่ ชอ่ื หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นร/ู้ สาระสำคญั เวลาเรยี น นำ้ หนกั
ตวั ชวี้ ดั (ชวั่ โมง) คะแนน
๔ สบื สานมรรยาทไทย ๑. นิทานอีสปเรอื่ ง ราชสีห์กับหนู
ท ๑.๑ ป. ๒/๑, ให้ข้อคิดว่า อย่าดถู กู ผู้อืน่ แตล่ ะคนมี ๗
๕ ธรรมชาติแสนงาม ป. ๒/๒, ความสามารถแตกตา่ งกนั ซึง่ สามารถ
๖ เมืองไทยเมอื งทอง ป. ๒/๓, อยรู่ ่วมกนั และชว่ ยเหลอื กนั ได้ ๔
ป. ๒/๔, ๒. สถานทีแ่ ละเคร่ืองใชท้ เี่ ปน็ ของ
ป. ๒/๕, สว่ นรวม ทกุ คนตอ้ งชว่ ยกัน ๙
ป. ๒/๖, ดูแลรกั ษา และเคารพสิทธิ
ป. ๒/๗, ซ่ึงกันและกัน ๒๐๐
ป. ๒/๘
บทอาขยาน รักษาปา่ ปลูกฝังจติ สำนกึ
ท ๕.๑ ป. ๒/๑ ใหช้ ่วยกันรักษาปา่ ไม้
ท ๕.๑ ป. ๒/๓ เพราะปา่ ไม้เปน็ ต้นกำเนดิ ของ
แหลง่ น้ำ ทำใหอ้ ากาศบรสิ ทุ ธิ์และ
ท ๕.๑ ป. ๒/๑, ดนิ ชุ่มชื้น ทกุ ชีวติ ไมว่ ่าคนหรอื สตั ว์
ป. ๒/๒ ลว้ นตอ้ งพึ่งพาป่าไม้
ปริศนาคำทาย บทรอ้ งเล่น และสกั วา
รวม เป็นรปู แบบของการใช้ภาษาที่ไพเราะ
มเี สยี งสมั ผัสคล้องจอง ใชร้ อ้ งหรือ
ประกอบการละเล่นทส่ี นกุ สนาน
สะทอ้ นความเปน็ ไทย บางบท
สอดแทรกข้อคิดทดี่ ี
โครงสรา้ งการจดั เวลาเรยี น
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๒
ภาคเรยี นที่ ๑ เวลาเรียน ๑๐๐ ชั่วโมง
หนว่ ยการเรยี นร/ู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ เวลาเรียน (ชวั่ โมง)
หลกั ภาษาและการใชภ้ าษาไทย ๑
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๑ ตวั อกั ษรไทย ๑
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๑ พยัญชนะไทยท่ีมีระดับเสยี งอักษรสูง ๑
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๒ พยัญชนะไทยทีม่ ีระดบั เสยี งอักษรกลาง ๑
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๓ พยญั ชนะไทยท่ีมรี ะดับเสยี งอักษรต่ำ ๑
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๔ อักษร ๓ หมู่ ๑
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๕ สระในภาษาไทย ๑
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๖ วรรณยกุ ตแ์ ละคำไทย ๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๗ ตัวเลขไทย
๑
รวม ๑
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๒ มาตรา ก กา ๑
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๑ ร้จู ักมาตรา ก กา ๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ อา่ นสะกดคำในมาตรา ก กา ๑
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๓ ความหมายของคำที่อย่ใู นมาตรา ก กา ๑
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๔ เขียนคำ มาตรา ก กา และบอกความหมาย ๖
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๕ คัดลายมือ มาตรา ก กา
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๖ สรปุ ความรมู้ าตรา ก กา
รวม
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๓ มาตรา กง ๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑ รจู้ ักมาตรา กง ๑
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๒ อ่านสะกดคำในมาตรา กง ๑
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๓ อา่ นออกเสยี งคำ มาตรา กง ๑
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๔ เขียนคำ มาตรา กง ตามความหมาย ๑
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๕ คดั ลายมอื คำในมาตรา กง ๑
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๖ สรปุ ความร้มู าตรา กง ๖
รวม
หนว่ ยการเรยี นร/ู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ เวลาเรยี น (ชวั่ โมง)
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๔ มาตรา กม ๑
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๑ รจู้ กั มาตรา กม ๑
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๒ อา่ นสะกดคำในมาตรา กม ๑
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๓ อา่ นออกเสยี งคำ มาตรา กม ๑
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๔ เขยี นคำ มาตรา กม ตามความหมาย ๑
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๕ คัดลายมือคำในมาตรา กม ๑
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๖ สรปุ ความรู้มาตรา กม ๖
รวม ๑
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๕ มาตรา เกย ๑
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๑ รจู้ ักมาตรา เกย ๑
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๒ อ่านสะกดคำในมาตรา เกย ๑
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๓ เขยี นคำ มาตรา เกย ตามความหมาย ๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔ คัดลายมือคำในมาตรา เกย ๑
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๕ เขยี นคำ มาตรา เกย ตามเนื้อเร่ือง ๖
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๖ สรปุ ความร้มู าตรา เกย
๑
รวม ๑
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๖ มาตรา เกอว ๑
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๑ รจู้ ักมาตรา เกอว ๑
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๒ อา่ นสะกดคำในมาตรา เกอว ๑
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๓ เขยี นคำ มาตรา เกอว ตามความหมาย ๑
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๔ เขยี นคำ มาตรา เกอว ที่ใชใ้ นชีวติ ประจำวนั ๖
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๕ คัดลายมือคำในมาตรา เกอว
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๖ สรปุ ความรู้มาตรา เกอว
รวม
หนว่ ยการเรยี นร/ู้ แผนการจดั การเรยี นรู้ เวลาเรียน (ชวั่ โมง)
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๗ มาตรา กก ๑
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๑ รจู้ ักมาตรา กก ๑
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๒ อา่ นสะกดคำในมาตรา กก ๑
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๓ เขียนคำ มาตรา กก ตามความหมาย ๑
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๔ มาตรา กก มีตวั สะกดหลายตัว ๑
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๕ คดั ลายมอื คำในมาตรา กก ๑
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๖ สรปุ ความรู้มาตรา กก ๖
รวม ๑
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๘ มาตรา กด ๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑ รู้จักมาตรา กด ๑
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๒ อา่ นสะกดคำในมาตรา กด ๑
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๓ การเขียนสะกดคำในมาตรา กด ๑
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๔ คัดลายมือคำในมาตรา กด ๑
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๕ คำมาตรา กด ท่ีใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน ๖
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๖ สรุปความรู้มาตรา กด
๑
รวม ๑
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๙ มาตรา กน ๑
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๑ รูจ้ กั มาตรา กน ๑
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๒ อา่ นสะกดคำในมาตรา กน ๑
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๓ การเขยี นสะกดคำในมาตรา กน ๑
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๔ คัดลายมอื คำในมาตรา กน ๖
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๕ คำมาตรา กน ที่ใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๖ สรปุ ความรู้มาตรา กน
รวม
หนว่ ยการเรยี นร/ู้ แผนการจดั การเรยี นรู้ เวลาเรยี น (ชว่ั โมง)
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๑๐ มาตรา กบ ๑
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๑ รู้จกั มาตรา กบ ๑
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๒ อา่ นสะกดคำในมาตรา กบ ๑
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๓ การเขยี นสะกดคำในมาตรา กบ ๑
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๔ คดั ลายมือคำในมาตรา กบ ๑
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๕ คำมาตรา กบ ท่ีใช้ในชีวิตประจำวัน ๑
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๖ สรปุ ความรู้มาตรา กบ ๖
รวม ๑
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๑๑ การผนั อกั ษร ๑
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๑ รจู้ ักการผนั อักษรสงู อกั ษรกลาง และอักษรตำ่ ๑
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๒ อา่ นสะกดคำ ๑
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๓ อ่านออกเสียงคำท่ีมวี รรณยุกต์ต่าง ๆ ๑
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๔ เขยี นคำตามเสียงวรรณยุกต์ ๑
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๕ การคัดลายมอื ๖
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๖ สรุปความรู้การผันอักษร
๑
รวม ๑
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๒๐ การเขยี น
เร่อื งท่ี ๑ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๑ สว่ นประกอบของประโยค ๑
เรื่องที่ ๑ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๒ ประโยคบอกเลา่ และประโยคปฏเิ สธ ๑
เรอ่ื งที่ ๑ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓ ประโยคขอร้องและประโยค ๑
แสดงความต้องการ ๕
เร่อื งท่ี ๑ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๔ ประโยคคำถามและประโยคคำสง่ั
เรื่องท่ี ๔ แผนการเรียนรู้เร่ือง มารยาทในการเขียน
รวม
หนว่ ยการเรยี นร/ู้ แผนการจดั การเรยี นรู้ เวลาเรยี น (ชวั่ โมง)
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๒๑ การฟงั การดู และการพดู
เรอ่ื งท่ี ๑ แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๑ ปฏบิ ัตติ นเป็นผ้ฟู ังที่ดี ๑
เร่ืองท่ี ๑ แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๒ ผู้ฟังที่ดตี อ้ งมมี ารยาท ๑
เรื่องที่ ๑ แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ ๓ จับประเดน็ จากการฟงั ๑
เรอ่ื งที่ ๑ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๔ ฟังแล้วปฏิบัติ ๑
เร่ืองที่ ๒ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๑ เลา่ ให้เพือ่ นฟงั ๑
เรื่องที่ ๒ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๒ ผลัดกันเล่า ๑
เรื่องท่ี ๒ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๓ ฟงั เพ่ือนเลา่ ๑
เรื่องท่ี ๒ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๔ นทิ านเรื่อง หมาปา่ กับลกู แกะ ๑
เรื่องท่ี ๒ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๕ สนกุ กับการต์ นู ๑
เรื่องท่ี ๒ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๖ เรอื่ งขบขนั ๑
เรื่องที่ ๒ แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๗ รายการสำหรบั เด็ก ๑
เรอ่ื งที่ ๒ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๘ ข่าวและเหตุการณป์ ระจำวนั ๑
เรอ่ื งท่ี ๒ แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๙ คำถามจากเพลง ๑
เรื่องท่ี ๒ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๑๐ สอื่ รักจากเพลง ๑
เรื่องท่ี ๔ แผนการจดั การเรียนรู้เรอ่ื ง มารยาทในการฟงั การดู และการพดู ๑
รวม ๑๕
หนว่ ยการเรยี นร/ู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ เวลาเรยี น (ชว่ั โมง)
วรรณคดีและวรรณกรรม ๑
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ ครอบครวั ผาสุก ๑
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๑ บทดอกสรอ้ ยสอนใจ “ไก่แจ้ ไก่แกว้ ” ๑
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๒ เพลงค่าน้ำนม ๓
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๓ เดก็ ดีหนูทำได้
๑
รวม ๑
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๒ สนุกกับนิทาน ๑
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๑ ยายสอนหลาน ๑
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๒ นทิ านยายกะตา ๑
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๓ สนกุ กับการตัง้ และตอบคำถาม ๕
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๔ แสดงความคดิ เหน็ ด้วยเหตผุ ล
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๕ นิทานนานาชาติ ๑
๑
รวม ๑
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๓ ทนั ขา่ วเหตกุ ารณ์ ๑
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๑ กา้ วทนั ข่าวและเหตกุ ารณ์ ๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ ข่าวน้ันสำคญั ไฉน ๕
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๓ อยากรูต้ ้องอ่าน ๑๐๐
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๔ ทอ่ งอาขยาน “กาดำ”
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๕ กจิ กรรมเสริม “การละเล่นกาฟักไข่”
รวม
รวมทัง้ หมด