The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษาสังฆรักษ์ 2565 ล่าสุด

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by view_me_it, 2022-06-23 01:57:12

หลักสูตรสถานศึกษา 2565

หลักสูตรสถานศึกษาสังฆรักษ์ 2565 ล่าสุด

๙๗

ผลการเรียนรู
๑. เห็นคุณคาและปฏบิ ัตติ นเปน ผมู ีมารยาทไทย
๒. แสดงออกถงึ ความกตัญูกตเวทตี อ ผูทําประโยชนใ นสังคม
๓. มีสวนรวมในขนบธรรมเนียมประเพณีไทย
๔. เหน็ ความสําคญั และแสดงออกถงึ ความรักชาตยิ ึดมนั่ ในศาสนาและเทิดทูนสถาบนั พระมหากษตั รยิ 
๕. ปฏิบัตติ นตามพระบรมราโชวาทหลกั การทรงงานและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๖. มสี วนรว มในการสรางและปฏบิ ตั ติ ามขอตกลงกตกิ าของหองเรยี น
๗. ปฏิบัติตนตามบทบาทหนา ที่มสี ว นรวมและรบั ผิดชอบในการตัดสนิ ใจในกิจกรรมของครอบครวั และ

หองเรียน
๘. ยอมรบั และอยรู ว มกับผูอนื่ อยางสันตแิ ละพึง่ พาซ่ึงกันและกัน
๙. วเิ คราะหป ญหาความขดั แยง ในทองถิน่ และเสนอแนวทางการแกปญหาโดยสันติวิธี
๑๐. ปฏบิ ัตติ นเปน ผมู วี นิ ัยในตนเอง

รวมท้ังหมด ๑๐ ผลการเรยี นรู

๙๘

ส ๑52๓๕ หนา ทพี่ ลเมือง ๕ คําอธบิ ายรายวชิ าเพิ่มเตมิ กลุมสาระการเรยี นรูสังคมศึกษาฯ

ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ี่ ๕ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง
...................................................................................................................................................................................

ศกึ ษาวธิ ีการปฏิบัตติ นเปน ผมู ีมารยาทไทยในการสนทนาการปฏิบัติตนตามกาลเทศะและการตอนรับผูมา
เยือนรูคุณคาใชอยางประหยัดคุมคาและบํารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมีสวนรวมใน
ศิลปวฒั นธรรมไทยปฏบิ ัตติ นเปนผมู ีวนิ ัยในตนเองในเรอื่ งความซอื่ สตั ยส จุ รติ ตง้ั ใจปฏิบตั หิ นาที่และยอมรับผลที่เกิด
จากการกระทําของตนเองเห็นคุณคาและแสดงออกถึงความรักชาติยึดม่ันในศาสนาและเทิดทูนสถาบัน
พระมหากษัตริยดวยการใชสินคาไทยดูแลรักษาโบราณสถานโบราณวัตถุและสาธารณสมบัติปฏิบัติตนเปนศาสนิก
ชนทด่ี ปี ฏบิ ัติตนตามพระราชจริยวัตรและพระจริยวัตรปฏิบัตติ นตามพระบรมราโชวาทในเรื่องความเอื้อเฟอเผ่ือแผ
และความสามัคคีหลักการทรงงานในเรื่องการทําตามลําดับข้ันและทํางานอยางมีความสุขและหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี งปฏบิ ัตติ นเปนผูมีวนิ ยั ในตนเองในเร่ืองความซื่อสัตยสุจริตขยันหม่ันเพียรอดทนใฝหาความรูต้ังใจ
ปฏิบัติหนาท่ีและยอมรับผลที่เกิดจากการกระทําของตนเองมีสวนรวมในการสรางและปฏิบัติตนตามกฎระเบียบ
ของโรงเรียนในการรักษาความสะอาดการรักษาของใชรวมกันและการดูแลพื้นที่ท่ีไดรับมอบหมายโดยใช
กระบวนการมีสวนรวมในการสรางกฎระเบียบดวยหลักเหตุผลและยึดถือประโยชนสวนรวมปฏิบัติตนตามบทบาท
หนาท่ีของการเปนสมาชิกที่ดีของหองเรียนและโรงเรียนในเรื่องการยึดถือหลักความจริงความดีงามความถูกตอง
และหลักเหตุผลการยึดถือประโยชนของสวนรวมเปนสําคัญการยึดหลักความเสมอภาคและความยุติธรรมมีสวน
รวมและรับผิดชอบในการตัดสินใจในกิจกรรมของหองเรียนและโรงเรียนปฏิบัติตนเปนผูมีวินัยในตนเองในเร่ือง
ความซ่ือสัตยสุจริตขยันหม่ันเพียรอดทนใฝหาความรูต้ังใจปฏิบัติหนาท่ีและยอมรับผลท่ีเกิดจากการกระทําของ
ตนเองยอมรบั ความหลากหลายทางสังคมวัฒนธรรมในทองถิ่นในเรื่องวิถีชีวิตวัฒนธรรมศาสนาและส่ิงแวดลอมอยู
รวมกบั ผูอื่นอยางสนั ติและพึ่งพากนั ดวยการเคารพซึง่ กันและกันไมแสดงกิริยาวาจาดูหม่ินผูอ่ืนชวยเหลือซ่ึงกันและ
กันและแบงปนวเิ คราะหปญหาความขัดแยงในภูมิภาคของตนเองในเร่ืองการจัดการทรัพยากรและการขัดแยงทาง
ความคดิ และเสนอแนวทางการแกปญ หาโดยสนั ตวิ ธิ ปี ฏบิ ัติตนเปนผมู วี นิ ยั ในตนเองในเรอื่ งความซ่ือสัตยสุจริตความ
อดทนและยอมรบั ผลทีเ่ กดิ จากการกระทําของตนเอง

โดยใชกระบวนการคิดกระบวนการกลุมกระบวนการปฏิบัติกระบวนการเผชิญสถานการณและ
กระบวนการแกป ญ หา

เพื่อใหผูเรียนมีลักษณะท่ีดีของคนไทยภาคภูมิใจ/เห็นคุณคาและรักษาไวซ่ึงความเปนไทยแสดงออกถึง
ความรักชาติยึดมั่นในศาสนาเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริยดําเนินชีวิตตามวิถีประชาธิปไตยอยูรวมกับผูอ่ืนอยาง
สันตสิ ามารถจดั การความขดั แยง ดวยสนั ตวิ ธิ ีและมวี นิ ยั ในตนเอง
ผลการเรยี นรู

๑. เหน็ คณุ คาและปฏบิ ตั ิตนเปน ผูมีมารยาทไทย
๒. รูค ณุ คาและบาํ รุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอม
๓. มีสว นรว มในศลิ ปวัฒนธรรมไทย
๔. เหน็ คุณคาและแสดงออกถึงความรกั ชาติยดึ มน่ั ในศาสนาและเทิดทนู สถาบันพระมหากษตั ริย
๕. ปฏบิ ัตติ นตามพระบรมราโชวาทหลกั การทรงงานและหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๖. มสี ว นรว มในการสรา งและปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบียบของโรงเรยี น
๗. ปฏบิ ตั ติ นตามบทบาทหนาท่มี ีสว นรว มและรับผดิ ชอบในการตดั สนิ ใจในกิจกรรมของหองเรยี นและ
โรงเรียน

๙๙

๘. ยอมรับความหลากหลายทางสังคมวฒั นธรรมในทองถ่นิ และอยรู ว มกบั ผูอ่นื อยางสันติและพงึ่ พาซ่ึงกัน
และกัน

๙. วิเคราะหป ญหาความขัดแยง ในภูมิภาคของตนเองและเสนอแนวทางการแกป ญหาโดยสนั ติวธิ ี
๑๐. ปฏบิ ัตติ นเปนผูม ีวนิ ัยในตนเอง
รวมท้ังหมด ๑๐ ผลการเรยี นรู

๑๐๐

ส ๑62๓๖ หนาท่ีพลเมอื ง ๖ คําอธบิ ายรายวชิ าเพ่ิมเติม กลมุ สาระการเรยี นรสู ังคมศึกษาฯ

ชัน้ ประถมศึกษาปท ี่ ๖ เวลา ๔๐ ชั่วโมง
...................................................................................................................................................................................

ศึกษาวิธีการปฏิบัติตนใหมีมารยาทไทยในเร่ืองการแสดงความเคารพการสนทนาการปฏิบัติตนตาม
กาลเทศะและการตอ นรับผมู าเยือนมีสว นรว มและชักชวนผอู ่นื ใหอ นรุ ักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมีสวน
รวมในขนบธรรมเนียมประเพณีศิลปวัฒนธรรมและภูมิปญญาไทยปฏิบัติตนเปนผูมีวินัยในตนเองในเร่ืองความ
ซ่ือสัตยสุจริตตั้งใจปฏิบัติหนาที่และยอมรับผลท่ีเกิดจากการกระทําของตนเองเห็นคุณคาและแนะนําผูอ่ืนให
แสดงออกถึงความรักชาติยึดมั่นในศาสนาและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริยดวยการใชสินคาไทยดูแลรักษา
โบราณสถานโบราณวัตถุและสาธารณสมบัติปฏิบัติตนเปนศาสนิกชนที่ดีปฏิบัติตนตามพระราชจริยวัตรและ
พระจริยวัตรปฏิบตั ติ นตามพระบรมราโชวาทในเรื่องความใฝร คู วามกตัญหู ลกั การทรงงานในเร่ืององครวมและทํา
ใหงายและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงปฏิบัติตนเปนผูมีวินัยในตนเองในเรื่องความซื่อสัตยสุจริต
ขยันหม่ันเพียรอดทนใฝหาความรูต้ังใจปฏิบัติหนาท่ีและยอมรับผลที่เกิดจากการกระทําของตนเองปฏิบัติตนและ
แนะนําผูอื่นใหปฏิบัติตามขอตกลงกติกากฎระเบียบของหองเรียนและโรงเรียนในการใชและดูแลรักษาส่ิงของ
เคร่ืองใชวัสดุอุปกรณและสถานท่ีของสวนรวมเห็นคุณคาและปฏิบัติตนตามบทบาทหนาท่ีของการเปนสมาชิกที่ดี
ของหอ งเรยี นและโรงเรียนดวยการเปนผูนาํ และการเปนสมาชิกท่ีดีการยึดถือประโยชนของสวนรวมเปนสําคัญการ
ใชส ทิ ธิและหนา ท่กี ารใชเ สรภี าพอยา งรับผดิ ชอบมีสวนรวมและรับผิดชอบในการตัดสินใจในกิจกรรมของหองเรียน
และโรงเรียนปฏิบัติตนเปนผูมีวินัยในตนเองในเรื่องความซื่อสัตยสุจริตขยันหมั่นเพียรอดทนใฝหาความรูต้ังใจ
ปฏิบัติหนาที่และยอมรับผลที่เกิดจากการกระทําของตนเองยอมรับความหลากหลายทางสังคมวัฒนธรรมใน
ประเทศไทยในเร่ืองวิถีชีวิตวัฒนธรรมศาสนาและสิ่งแวดลอมอยูรวมกับผูอื่นอยางสันติและพึ่งพากันในเร่ืองการ
เคารพซึ่งกันและกันไมแ สดงกิริยาวาจาดูหมิน่ ผอู นื่ ชว ยเหลือซึ่งกันและกันและแบงปนวิเคราะหปญหาความขัดแยง
ในประเทศไทยในเร่ืองการการละเมิดสิทธิการรักษาสิ่งแวดลอมและเสนอแนวทางการแกปญหาโดยสันติวิธีปฏิบัติ
ตนเปนผมู วี ินัยในตนเองในเรื่องความซ่ือสตั ยส จุ ริตอดทนและยอมรบั ผลท่เี กิดจากการกระทําของตนเอง

โดยใชกระบวนการคิดกระบวนการกลุมกระบวนการปฏิบัติกระบวนการเผชิญสถานการณและ
กระบวนการแกป ญ หา

เพอ่ื ใหผ ูเรียนมีลักษณะทดี่ ีของคนไทยภาคภูมใิ จและรกั ษาไวซ่ึงความเปนไทยแสดงออกถึงความรักชาติยึด
มั่นในศาสนาเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริยดําเนินชีวิตตามวิถีประชาธิปไตยอยูรวมกับผูอื่นอยางสันติสามารถ
จัดการความขัดแยงดวยสนั ติวิธีและมีวินยั ในตนเอง
ผลการเรยี นรู

๑. ปฏิบตั ิตนและชกั ชวนผูอืน่ ใหม มี ารยาทไทย
๒. มีสวนรวมและชกั ชวนผอู นื่ ใหอ นรุ กั ษท รพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอม
๓. มสี ว นรวมในขนบธรรมเนียมประเพณศี ลิ ปวัฒนธรรมและภมู ิปญ ญาไทย
๔. เหน็ คุณคาและแนะนาํ ผูอ่ืนใหแสดงออกถงึ ความรักชาติยดึ ม่นั ในศาสนาและเทดิ ทูนสถาบนั
พระมหากษัตรยิ 
๕. ปฏบิ ตั ิตนตามพระบรมราโชวาทหลักการทรงงานและหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
๖. ปฏิบัตติ นและแนะนําผูอนื่ ใหป ฏบิ ตั ิตามขอตกลงกติกากฎระเบียบของหอ งเรยี นและโรงเรยี น
๗. เหน็ คุณคาและปฏิบัตติ นตามบทบาทหนา ทม่ี สี ว นรว มและรบั ผิดชอบในการตัดสินใจในกจิ กรรมของ
หอ งเรียนและโรงเรยี น

๑๐๑

๘. ยอมรบั ความหลากหลายทางสงั คมวัฒนธรรมในประเทศไทยและอยรู ว มกับผูอน่ื อยา งสันตแิ ละพ่งึ พาซ่ึง
กนั และกัน

๙. วเิ คราะหป ญหาความขัดแยงในประเทศไทยและเสนอแนวทางการแกป ญ หาโดยสนั ติวิธี
๑๐. ปฏิบตั ติ นเปน ผมู วี นิ ัยในตนเอง
รวมทั้งหมด ๑๐ ผลการเรยี นรู

๑๐๒

คาํ อธิบายรายวชิ าเพิ่มเติม

รายวิชาภาษาอังกฤษเพ่อื
การส่อื สาร

๑๐๓

คาํ อธิบายรายวชิ าเพ่ิมเตมิ กลมุ สาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ
อ ๑๑๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพ่ือการสือ่ สาร ๑
ชั้นประถมศึกษาป ๑ เวลา ๘๐ ช่ัวโมง
...................................................................................................................................................................................

ศกึ ษาคําส่ังทีใ่ ชในหอ งเรียน ตัวอกั ษร เสียงตัวอกั ษร สระ การสะกดคํา ใหขอมูลเก่ียวกับตนเอง ประโยค
บอกความตองการเกยี่ วกับตนเอง ประโยค ใหข อมลู เก่ียวกับตนเอง คําส่ังที่ใชในหองเรียน ขอความที่ใชในการพูด
ใหขอมูลเก่ียวกับตนเอง และเรื่องใกลตัว คํา ท่ีมีความหมายสัมพันธกับส่ิงตางๆใกลตัว อาหาร เคร่ืองด่ืม
วัฒนธรรมเจาของภาษาแสดงกิรยิ า การขอบคุณ ขอโทษ การพูดแนะนําตนเอง การใชภาษาในการฟง พูด อานใน
สถานการณท เ่ี กิดขึน้ ในหองเรียน

โดยใชกระบวนการสืบเสาะหาความรู การสืบคนขอมูลและมีทักษะทางสังคม มีวิถีของระบอบ
ประชาธปิ ไตย ซ่ือสัตย ใฝเ รยี นรู แสดงออกถึงความเปนไทย

เพื่อใหเกดิ ความรู ความเขาใจ สามารถสื่อสารสิง่ ท่ีเรยี นรู และ นําความรไู ปใชประโยชน ในชวี ติ ประจําวัน

ผลการเรยี นรู
๑. ปฏิบตั ิตามคําสัง่ คาํ ขอรองท่ฟี ง
๒. อา นออกเสียงตัวอักษร คํา กลุมคํา ประโยคงายๆ และ บทพดู เขาจงั หวะงา ยๆ ถูกตอ งตามหลกั การ
อาน
๓. บอกความหมายของคําและกลุมคําท่ีฟง ตรงตามความหมาย ตอบคําถามจากการฟงหรอื อา นประโยค
บทสนทนาหรอื นิทานงายๆ
๔. พูดใหขอมูลเกีย่ วกบั ตนเองและเรือ่ งใกลต วั จดั หมวดหมูคําตามประเภทของบุคคล สัตว และสงิ่ ของ
ตามทีฟ่ ง หรืออาน

รวมทั้งหมด ๔ ผลการเรียนรู

๑๐๔

อ ๑๒๒๐๑ เสริมทกั ษะภาษาองั กฤษ ๒ คําอธิบายรายวิชาเพ่ิมเติม กลมุ สาระการเรียนรูภ าษาตา งประเทศ

ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ่ี ๒ เวลา ๘๐ ช่ัวโมง
...................................................................................................................................................................................

ศึกษาคาํ ส่ังท่ีใชใ นหองเรียน ตัวอักษร เสียงตัวอักษร สระ การสะกดคํา การอานออกเสียง คํา กลุมคํา
บทอาน บทสนทนา ประโยค ใหขอมูลเกี่ยวกับตนเองคํา ประโยคบทอาน บทสนทนา ประโยค ใหขอมูลเก่ียวกับ
ตนเอง ขอความที่ใชในการพูดใหขอ มลู เกี่ยวกบั ตนเอง และเร่ืองใกลตัว คํา ที่มีความหมายสัมพันธกับสิ่งตางๆใกล
ตัว อาหาร เครื่องดื่ม วัฒนธรรมเจาของภาษาแสดงกิริยา การขอบคุณ ขอโทษ การพูดแนะนําตนเอง กิจกรรม
ทางภาษาการรองเพลง การใชภ าษาในการฟง พูด อานในสถานการณท เี่ กดิ ขึน้ ในหองเรียน

โดยใชกระบวนการสืบเสาะหาความรู การสืบคนขอมูลและมีทักษะทางสังคม มีวิถีของระบอบ
ประชาธิปไตย ซือ่ สตั ย ใฝเ รียนรู แสดงออกถึงความเปนไทย

เพอ่ื ใหเ กดิ ความรู ความเขา ใจ สามารถสอ่ื สารสิ่งที่เรียนรู และ นาํ ความรูไปใชประโยชน ในชีวติ ประจําวัน

ผลการเรียนรู
๑. ปฏิบตั ิตามคาํ สั่ง คาํ ขอรองทีฟ่ ง
๒. อานออกเสียงตวั อักษร คํา กลมุ คํา ประโยคงา ยๆ และ บทพูดเขา จงั หวะงา ยๆ ถูกตอ งตามหลักการ
อา น
๓. บอกความหมายของคาํ และกลุมคําทฟี่ งตรงตามความหมาย ตอบคําถามจากการฟง หรอื อา นประโยค
บทสนทนาหรือนิทานงายๆ
๔. พูดโตต อบดวยคาํ สน้ั ๆ งายๆ ในการสอื่ สารระหวางบคุ คลตามแบบท่ฟี ง ใชคําสัง่ และคําขอรอ ง
งายๆ บอกความตองการงา ยๆ ของตนเอง พดู ขอและใหขอมูลเก่ียวกับตนเองและเพ่ือน บอกความรสู ึก
ของตนเองเกีย่ วกับส่ิงตา งๆ ใกลต วั หรอื กจิ กรรมตางๆ ตามแบบทีฟ่ ง
๕. พดู ใหขอ มูลเกี่ยวกบั ตนเองและเร่ืองใกลตัว จดั หมวดหมูคาํ ตามประเภทของบุคคล สัตว และสิง่ ของ
ตามทฟ่ี ง หรอื อาน
๖. พดู และทําทา ประกอบตามมารยาทสงั คม/วฒั นธรรมของเจาของภาษา บอกช่ือและคาํ ศัพทงายๆ
เกยี่ วกบั เทศกาล/วันสาํ คญั /งานฉลอง และชวี ติ ความเปน อยขู องเจา ของภาษา เขา รว มกิจกรรมทางภาษา
และวฒั นธรรมทีเ่ หมาะกบั วัย

รวมท้ังหมด ๖ ผลการเรยี นรู

๑๐๕

อ ๑๓๒๐๑ เสรมิ ทกั ษะภาษาอังกฤษ 3 คําอธบิ ายรายวชิ าเพิ่มเติม กลมุ สาระการเรียนรภู าษาตางประเทศ

ชั้นประถมศึกษาปท ่ี ๓ เวลา ๘๐ ช่ัวโมง
...................................................................................................................................................................................

ศกึ ษาคาํ ส่ังทใี่ ชใ นหอ งเรียน ตัวอักษร เสยี งตัวอักษร สระ การสะกดคํา การอานออกเสียง คํา กลุมคํา
บทอาน พูดเขาจังหวะ บทสนทนา ประโยค ใหขอมูลเก่ียวกับตนเองคํา เลือกระบุภาพ ตรงความหมาย บท
สนทนา ใหขอมลู เกีย่ วกับตนเอง ประโยคบอกความตองการเกี่ยวกับตนเองคํา คําสั่งท่ีใชในหองเรียน ขอความท่ี
ใชในการพูดใหขอมูลความรูสึกเกี่ยวกับตนเอง และเรื่องใกลตัว วัฒนธรรมเจาของภาษาแสดงกิริยา การขอบคุณ
ขอโทษ การพดู แนะนําตนเอง การใชภ าษาในการฟง พูด อานในสถานการณทเี่ กดิ ขน้ึ ในหอ งเรียน

โดยใชกระบวนการสืบเสาะหาความรู การสืบคนขอมูลและมีทักษะทางสังคม มีวิถีของระบอบ
ประชาธิปไตย ซ่อื สัตย ใฝเ รยี นรู แสดงออกถึงความเปนไทย

เพ่อื ใหเ กิดความรู ความเขาใจ สามารถส่ือสารสงิ่ ท่ีเรียนรู และ นาํ ความรไู ปใชป ระโยชน ในชีวิตประจาํ วัน

ผลการเรยี นรู
๑. ปฏิบตั ิตามคาํ สั่ง คําขอรองทฟี่ ง
๒. บอกความหมายของคาํ และกลมุ คําทีฟ่ งตรงตามความหมาย ตอบคาํ ถามจากการฟงหรอื อานประโยค
บทสนทนาหรอื นิทานงายๆ
๓. พูดโตต อบดว ยคําส้ันๆ งายๆ ในการสอื่ สารระหวางบคุ คลตามแบบทฟ่ี ง ใชคาํ ส่ังและคาํ ขอรอ งงา ยๆ
๔. บอกความตองการงายๆ ของตนเอง พูดขอและใหขอมูลเกี่ยวกับตนเองและเพ่ือน บอกความรูสึกของ
ตนเองเกี่ยวกับสิง่ ตางๆ ใกลตัวหรือกิจกรรมตา งๆ ตามแบบที่ฟง
๕. พูดใหขอมูลเก่ียวกับตนเองและเร่ืองใกลตัว จัดหมวดหมูคําตามประเภทของบุคคล สัตว และ
ส่งิ ของตามที่ฟงหรอื อา น
๖. พดู และทําทา ประกอบ ตามมารยาทสังคม/วัฒนธรรมของเจาของภาษา
๗. บอกช่ือและคําศัพทงายๆ เกี่ยวกับเทศกาล/วันสําคัญ/งานฉลอง และชีวิตความเปนอยูของเจาของ
ภาษาเขารว มกจิ กรรมทางภาษาและวัฒนธรรมทเี่ หมาะกับวัย
๘. บอกความแตกตา งของเสียงตวั อักษร คํา กลุมคาํ และประโยคงา ยๆ ของภาษาอังกฤษและภาษาไทย
๙. ฟง /พูดในสถานการณงา ยๆ ท่เี กดิ ขน้ึ ในหองเรยี น

รวมทั้งหมด ๙ ผลการเรยี นรู

๑๐๖

กิจกรรมพฒั นาผเู รยี น
กิจกรรมพัฒนาผเู รยี นเปนกิจกรรมทม่ี ุงใหผูเรียนพัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาการเรียนรูอยางรอบ

ดานเพ่ือความเปนมนุษยท่ีสมบูรณทั้งรางกาย สติปญญา อารมณ และสังคม เสริมสรางใหเปนผูมีศีลธรรม
จรยิ ธรรม มรี ะเบยี บวินัย ปลูกฝงใหสรางจิตสํานึกของการทําประโยชนเพื่อสังคม สามารถจัดการตนเองไดและอยู
รวมกับผูอ่ืนอยางมีความสุข โรงเรียนสังฆรักษบํารุง ไดจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน โดยแบงออกเปน ๓ ลักษณะ
ดงั นี้

๑. กจิ กรรมแนะแนว เปน กิจกรรมทีส่ ง เสรมิ และพฒั นาผูเรียนใหรูจักตนเอง รูรักษสิ่งแวดลอม สามารถ
ตัดสินใจ คิดแกปญหา กําหนดเปาหมาย วางแผนชีวิตทั้งดานการเรียน และอาชีพ สามารถปรับตนไดอยาง
เหมาะสม นอกจากน้ียังชวยใหครูรูจักและเขาใจผูเรียน ทั้งยังเปนกิจกรรมที่ชวยเหลือและใหคําปรึกษาแก
ผูปกครองในการมีสวนรวมพัฒนาผูเรียน โดยนักเรียนทุกคนตองเขารวมกิจกรรมแนะแนว ๔๐ ช่ัวโมงตอป
การศึกษา

๒. กิจกรรมนักเรียน เปนกิจกรรมท่ีมุงพัฒนาระเบียบวินัย ความเปนผูนํา ผูตามท่ีดี ความรับผิดชอบ
การทํางานรวมกัน รูจักแกปญหา การตัดสินใจที่เหมาะสม ความมีเหตุผล การชวยเหลือแบงปนเอื้ออาทรและ
สมานฉนั ท โดยจดั ใหส อดคลอ งกบั ความสามารถ ความถนดั และความสนใจของผูเรียน ใหไดปฏิบัติดวยตนเอง
ในทุกขั้นตอน ไดแก การศึกษาวิเคราะห วางแผน ปฏิบัติตามแผนประเมินและปรับปรุงการทํางานเนนการ
ทํางานรวมกันเปนกลุมตามความเหมาะสมและสอดคลองกับวุฒิภาวะของผูเรียนและบริบทของสถานศึกษาและ
ทอ งถน่ิ กิจกรรมนกั เรยี น ประกอบดว ย กิจกรรมลกู เสือ เนตรนารี นักเรียนทุกคนตองเขารวม กิจกรรมลูกเสือ
เนตรนารี ๔๐ ชั่วโมงตอปการศึกษา และกิจกรรมชุมนุม นักเรียนทุกคนตองเขารวมกิจกรรมชุมนุม ๓๐
ชวั่ โมงตอปก ารศึกษา

๓. กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน เปนกิจกรรมท่ีสงเสริมใหผูเรียนบําเพ็ญตนใหเปน
ประโยชนต อ สงั คม ชมุ ชนและทองถิ่นตามความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพ่ือแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดี
งาม ความเสียสละการมีจิตสาธารณะ เชน กิจกรรมอาสาพัฒนาตางๆ กิจกรรมสรางสรรคสังคม นักเรียนทุก
คนตอ งเขารวมกิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน ๑๐ ช่ัวโมงตอปก ารศึกษา

๑๐๗

โครงสรางการจดั กจิ กรรมพัฒนาผเู รียน

กิจกรรมพัฒนาผูเรียน ป.๑ ระดับประถมศึกษา ป.๖
ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕
๑. กิจกรรมแนะแนว ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
๒. กจิ กรรมนักเรียน
๒.๑ ลูกเสอื -เนตรนารี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
๒.๒ กจิ กรรมชมุ นุม ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐
๓. กิจกรรมเพอ่ื สงั คม ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐
และสาธารณประโยชน
เวลาเรยี นรวม ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐

๑. กิจกรรมแนะแนว
วตั ถปุ ระสงค

๑. เพอื่ ผูเรยี นคน พบความถนัด ความสามารถ ความสนใจของตนเอง รักละเหน็ คุณคา ในตนเองและผอู น่ื
๒. เพื่อใหผเู รียนแสวงหาความรูจ ากขอมลู ขาวสาร แหลง เรยี นรู ท้ังดานการศึกษา อาชีพสวนตัว สังคม
๓. เพ่ือนําไปใชในการวางแผน เลือกแนวทางการศึกษาอาชีพไดอยางเหมาะสมสอดคลองกับศักยภาพของ

ตนเอง
๔. เพ่อื ใหผเู รียนไดพัฒนาบคุ ลกิ ภาพ และรบั ตัวอยใู นสังคมไดอ ยา งมีความสุข
๕. เพือ่ ใหผ ูเรยี นมคี วามรู มที ักษะ มีความคดิ สรา งสรรค ในงานอาชีพและมีเจตคตทิ ด่ี ตี ออาชีพสุจรติ
๖. เพื่อใหผเู รยี นมีคา นิยมทีด่ ีงามในการดําเนินชีวิต สรางเสรมิ วินยั คุณธรรมและจริยธรรมแกน ักเรยี น
๗. เพื่อใหผเู รียนมีจิตสาํ นกึ ในการรบั ผดิ ชอบตอ ตนเอง ครอบครัว สงั คม และประเทศชาติ

แนวการจดั กิจกรรม โรงเรียนสงั ฆรักษบาํ รงุ ไดจ ัดกิจกรรมแนะแนวเพ่อื ชว ยเหลือและพัฒนาผูเรยี น ดงั น้ี
๑. จัดกจิ กรรมเพ่อื ใหค รูไดรจู ักและชวยเหลือผเู รียนมากขึ้น โดยใชก ระบวนการทางจติ วิทยา การจดั บรกิ าร

สารสนเทศ โดยใหมีเอกสารเพ่ือใชในการสํารวจขอมูลเก่ียวกับตัวผูเรียน ดวยการสังเกต สัมภาษณ การใช
แบบสอบถาม การเขียนประวัติ การพบผูปกครองกอนและระหวางเรียน การเย่ียมบานนักเรียน การใหความ
ชวยเหลือผูเรียนเร่ืองสุขภาพจิต เศรษฐกิจ การจัดทําระเบียนสะสม สมุดรายงานประจําตัวนักเรียน และบัตร
สขุ ภาพ

๒. การจัดกจิ กรรมพฒั นาวุฒิภาวะทางอารมณ โดยทําแบบทดสอบเพื่อรูจกั และเขา ใจตนเอง มีทกั ษะในการ
ตดั สินใจ การปรับตัว การวางแผนเพื่อเลอื กศึกษาตอ เลือกอาชพี

๓. การจัดบรกิ ารใหคําปรกึ ษาแกผ ูเรียนรายบคุ คล และรายกลมุ ในดานการศึกษา อาชพี และสว นตัว
โดยมีผูใหคําปรึกษาที่มีคุณวุฒิ และมีความเช่ียวชาญในเรื่องการใหคําปรึกษา ตลอดจนมีหองใหคําปรึกษาท่ี
เหมาะสมชวยเหลือผูเรียนที่ประสบปญหาดานการเงิน โดยการใหทุนการศึกษาแกผูเรียนติดตามเก็บขอมูลของ
นักเรียนท่สี ําเร็จการศึกษา

๑๐๘

๒. กิจกรรมนกั เรยี น
2.1 กิจกรรมลูกเสอื - เนตรนารี
นักเรียนชายและนักเรียนหญิงในระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี ๑-๖ ทุกคน ไดฝกอบรมวิชาลูกเสือ เพื่อ

สงเสริมหลักการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข สงเสริมความสามัคคี มีวินัย
และบาํ เพ็ญประโยชนต อ สังคม โดยดําเนนิ การจัดกจิ กรรมตามขอ กาํ หนดของคณะกรรมการลูกเสือแหงชาติ

วตั ถปุ ระสงค
พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ.๒๕๕๑ มาตรา ๘ ไดกําหนดวัตถุประสงคของการฝกอบรม เพ่ือพัฒนา
ลกู เสือทั้งทางกาย สติปญ ญา จิตใจ และศลี ธรรมใหเปน พลเมืองดี มคี วามรับผิดชอบ และชวยสรางสรรคสังคม
เพ่ือใหเกิดความสามัคคี และความเจริญกาวหนา ท้ังนี้เพ่ือความสงบสุข และความมั่งคงของประเทศชาติตาม
แนวทางดงั ตอไปน้ี
๑. ใหม นี ิสัยในการสังเกต จดจํา เช่อื ฟง และพง่ึ ตนเอง
๒. ใหมีความซื่อสตั ยสจุ ริต มีระเบียบวนิ ัย และเหน็ อกเหน็ ใจผอู ื่น
๓. ใหรูจักบําเพญ็ ตนเพือ่ สาธารณประโยชน
๔. ใหรูจักทาํ การฝม อื และฝก ฝนการทาํ กิจกรรมตางๆตามความเหมาะสม
๕. ใหรูจ กั รักษาและสง เสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรม และความมง่ั คงชองชาติ
แนวการจัดกิจกรรม
กิจกรรมลกู เสือ - เนตรนารี ชั้นประถมศกึ ษาปที่ ๑-๓
เปดประชุมกอง ดําเนินการตามกระบานการของลูกเสือ และจัดกิจกรรมใหศึกษาวิเคราะห วางแผน
ปฏบิ ตั ิกิจกรรมตามมาตรฐาน โดยเนน ระบบหมู สรุปผลการปฏิบัตกิ ิจกรรม ปดประชุมกอง โดยใหผูเรียนศึกษา
และฝกปฏบิ ตั ิดงั นี้
๑. เตรยี มลูกเสอื สํารอง นิยายเรอื่ เมาคลี ประวัตกิ ารเร่มิ กจิ กรรมลูกเสือสํารอง การทาํ ความเคารพ
เปน หม(ู แกรนดฮ าวล) การทําความเคารพเปนรายบุคคล การจับมือซาย ระเบียบแถวเบ้ืองตน คําปฏิญาณ กฎ
และคตพิ จนข องลูกเสือสํารอง
๒. ลกู เสอื สํารองดาวดวงท่ี ๑ , ๒ และ ๓ อนามัย ความสามารถเชิงทักษะ การสาํ รวจ การคน หา
ธรรมชาติ ความปลอดภัย บริการ ธง และประเทศตางๆ การฝมือ กิจกรรมกลางแจง การบันเทิง การผูก
เงือ่ น คําปฏญิ าณ และกฎของลูกเสอื สาํ รองโดยใชก ระบานการทาํ งาน กระบวนการแกปญ หา กระบวนการกลุม
กระบวนการจัดการ กระบวนการคิดริเร่ิม สรางสรรค กระบวนการฝกปฏิบัติ ทางลูกเสือ กระบวนการทาง
เทคโนโลยี และภูมิปญญาทองถ่ินไดอยางเหมาะสมเพื่อใหมีความรู ความเขาใจในกิจกรรมลูกเสือ สามารถ
ปฏิบัติตามคําปฏิญาณ กฎ และคติพจนของลูกเสือสํารอง มีนิสัยในการสังเกต จดจํา เช่ือฟง และพึ่งตนเอง
ซื่อสัตย สุจริต มีระเบียบวินัย และเห็นอกเห็นใจผูอื่น บําเพ็ญตนเพ่ือสาธารณประโยชน รูจักทําการฝมือ
พัฒนากาย จิตใจ และศีลธรรม ทั้งนี้โดยไมเกี่ยวของกับลัทธิทางการเมืองใดๆ สนใจและอนุรักษธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม นําไปใชใ นชวี ติ ประจาํ วันไดอ ยางมีประสทิ ธิภาพ

๑๐๙

กจิ กรรมลูกเสอื - เนตรนารี ช้นั ประถมศึกษาปท่ี ๔-๖
เปดประชุมกอง ดําเนินการตามกระบวนการของลูกเสือ และจัดกิจกรรมใหศึกษา วิเคราะห วางแผน

ปฏิบัติกิจกรรมตามมาตรฐาน โดยเนนระบบหมู สรุปการปฏิบัติกิจกรรม ปดประชุมกอง โดยใหผูเรียนศึกษา
และปฏบิ ตั ิในเรอื่ ง

๑. ลกู เสือตรี ความรูเกีย่ วกบั ขบวนการลูกเสือ คาํ ปฏิญาณและกฎของลูกเสอื สามัญ กจิ กรรม
กลางแจงระเบียบแถว

๒. ลกู เสอื โท การรจู ักดูแลตนเอง การชวยเหลือผอู ่ืน การเดนิ ทางไปยงั สถานที่ตา งๆ ทกั ษะทางวชิ า
ลูกเสือ งานอดิเรกและเรอ่ื ทน่ี า สนใจ คําปฏิญาณ และกฎของลกู เสอื ระเบียบแถว

๓. ลูกเสอื เอก การพึง่ พาตนเอง การบริการ การผจญภัย วิชาการของลูกเสือ ระเบยี บแถว โดยใช
กระบวนการทํางาน กระบวนการแกปญหา ระบวนการกลุม กระบวนการจัดการ กระบวนการคิดริเร่ิม
สรางสรรค กระบวนการฝกปฏิบัติทางลูกเสือ กระบวนการทางเทคโนโลยี และภูมิปญญาทองถ่ินไดอยาง
เหมาะสมเพ่ือใหมีความรูความเขาใจในกิจกรรมลูกเสือ สามารถปฏิบัติตามคําปฏิญาณ กฎ และคติพจนของ
ลูกเสือสามัญ มีนิสัยในการสังเกต จดจํา เชื่อฟง และพ่ึงตนเอง ซ่ือสัตย สุจริต มีระเบียบวินัย และเห็นอก
เห็นใจผูอื่น บําเพ็ญตนเพื่อสารธารณประโยชน รูจักทําการฝมือ พัฒนากาย จิตใจ และศีลธรรม ท้ังนี้โดยไม
เก่ียวของกับลัทธิทางการเมืองใดๆ สนใจและอนุรักษธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และนําไปใชในชีวิตประจําวันได
อยางมีประสิทธภิ าพ
หมายเหตุ ผูเรียนไดปฏิบัติกิจกรรม และผานการทดสอบแลว จะไดรับเครื่องหมายลูกเสือตรี ลูกเสือโท และ

ลูกเสือเอก
๒.๒ กิจกรรมตามความสนใจ (กจิ กรรมชุมนมุ )

วตั ถุประสงค
๑. เพื่อใหผ ูเรยี นไดป ฏิบัตกิ จิ กรรมตามความสนใจ ความถนดั และความตอ งการของตน
๒. เพอื่ ใหผ ูเรียนไดพ ฒั นาความรู ความสามารถดานการคดิ วเิ คราะห สังเคราะห ใหเ กดิ ประสบการ

ทั้งทางวชิ าการและวิชาชีพตามศกั ยภาพ
๓. เพื่อสงเสริมใหผูเ รียนใชเ วลาใหเ กิดประโยชนตอ ตนเองและสวนรวม
๔. เพ่อื ใหผ ูเรยี นทํางานรว มกบั ผอู นื่ ไดต ามวิถปี ระชาธปิ ไตย
แนวการจัดกจิ กรรม
การจดั กจิ กรรมตามความสนใจ(กจิ กรรมชมุ นมุ ) ผเู รยี นสามารถเลอื กเขา เปน สมาชิกชุมนุม วางแผนการ
ดําเนินกิจกรรมรวมกัน โดยมีชมรมท่ีหลากหลาย เหมาะสมกับเพศ วัย และความสนใจของผูเรียน
ประกอบดว ยกิจกรรมดานคุณธรรม จริยธรรม วัฒนธรรม อนุรักษส่ิงแวดลอม สงเสริมประชาธิปไตย สงเสริม
การเรยี นรู และคา ยวิชาการ การศึกษาดงู าน การฝกปฏบิ ตั ิ การบรรยายพเิ ศษดังตัวอยา งพอสังเขปตอไปน้ี
๑. กิจกรรมกฬี าและนันทนาการจัดกิจกรรมแขงขันกีฬาสีทุกชวงช้ัน โดยผูเรียนไดฝกทักษะการทํางาน

และการแกป ญหาทุกขน้ั ตอน
๒. กิจกรรมสงเสริมนสิ ยั รักการอา น จัดกจิ กรรมการอานหนงั สอื และฝกทักษะการการอานคลอง เขียน

คลอง
๓. กจิ กรรมคณิตคิดเรว็ จดั กิจกรรมการคดิ เลขเร็วโดยใชโปรแกรม GSP และฝกทักษะการบวก ลบ คูณ

หาร
๔. กิจกรรมของเลนวิทยาศาสตร จัดกิจกรรมการประดิษฐของเลนวิทยาศาสตร และฝกทักษะ

กระบวนการแกปญ หาทางวิทยาศาสตร
๕. กิจกรรมชมุ นมุ คอมพิวเตอร ฝกทักษะพืน้ ฐานการใชโ ปรแกรมคอมพวิ เตอร ในสบื คน ขอมูล

๑๑๐

๓. กิจกรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน
วตั ถปุ ระสงค
๑. เพอ่ื ใหผเู รียนบาํ เพ็ญตนใหเ ปน ประโยชนตอครอบครัว โรงเรยี น ชุมชน และประเทศชาติ
๒. เพื่อใหผูเรียนออกแบบกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารประโยชนอยางสรางสรรคตามความถนัดและ
ความสนใจในลักษณะอาสาสมคั ร
๓. เพื่อใหผูเรียนพัฒนาศักยภาพในการจัดกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชนไดอยางมี
ประสิทธภิ าพ
๔. เพ่ือใหผูเรียนปฏิบัติกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชนจนเกิดคุณธรรม จริยธรรมตาม
คุณลกั ษณะอันพึงประสงค
๕. เพ่อื ใหผ เู รียนมจี ิตสาธารณะและใชเวลาวางใหเกดิ ประโยชน

แนวการจดั กิจกรรม
การจัดกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน เปนกิจกรรมที่สงเสริมใหผูเรียนไดทําประโยชนตาม

ความสามารถ ความถนดั และความสนใจในลกั ษณะอาสาสมัคร เพ่ือแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความ
เสียสละตอสังคม มีจิตใจมุงทําประโยชนตอครอบครัว ชุมชนและสังคมกิจกรรมสําคัญไดแก กิจกรรมบําเพ็ญ
ประโยชน กิจกรรมสรางสรรคสังคม กิจกรรมดํารงรักษา สืบสาน ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม กิจกรรม
พฒั นานวัตกรรมและเทคโนโลยี

เ ว ล า เ รี ย น สํ า ห รั บ กิ จ ก ร ร ม เ พื่ อ สั ง ค ม แ ล ะ ส า ธ า ร ณ ป ร ะ โ ย ช น ใ น ส ว น กิ จ ก ร ร ม เ พื่ อ สั ง ค ม แ ล ะ
สาธารณประโยชน จัดสรรเวลาใหผูเรียนระดับประถมศึกษาปท่ี ๑-๖ รวม ๖ ป จํานวน ๖๐ ช่ัวโมง (เฉลี่ย
ปล ะ ๑๐ ช่ัวโมง)

การจัดกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน ในระดับประถมศึกษาปที่ ๑-๖ เปนการจัดกิจกรรม
ภายในเวลาเรยี น โดยใหผูเรียนรายงานแสดงการเขารวมกิจกรรมลงในสมุดบันทึก และมีผูรับรองผลการเขารวม
กิจกรรมทุกครัง้
แนวทางการประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น

โรงเรียนสงั ฆรักษบ าํ รงุ กําหนดแนวทางในการประเมนิ กจิ กรรมพัฒนาผเู รียนดังน้ี
๑. การประเมินกจิ กรรมพัฒนาผเู รยี นรายกจิ กรรม มแี นวทางปฏิบัติดังน้ี

๑.๑ การตรวจสอบเวลาเขารวมกิจกรรมของผูเรียน ไมนอยกวารอยละ ๘๐ ของเวลาเรียนตลอดป
การศึกษา

๑.๒ ประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเรียนจากการปฏิบัติกิจกรรมและผลงาน/ช้ินงานของผูเรียน ผูเรียน
ตอ งไดร บั การประเมินทกุ ผลการเรยี นรู และผานทกุ ผลการเรียนรู โดยแตละผลการเรียนรูผานไมนอยกลารอยละ
๕๐ หรือมีคณุ ภาพในระดบั ๑ ขน้ึ ไป

๑.๓ ผูเรยี นมีเวลาเขา รวมกิจกรรม การปฏิบตั กิ ิจกรรมและผลงาน/ช้ินงานของผูเรียนตามเกณฑ ขอ
๑.๑ และขอ ๑.๒ ถอื วา ผเู รยี นมผี ลการเรียน “ผ” ผา นการประเมินกจิ กรรมและนาํ ผลการประเมินไปบันทึกใน
ระเบียนแสดงผลการเรียน

๑.๔ ผูเรียนมีเวลาเขารวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียน การปฏิบัติกิจกรรมและผลงานไมเปนไปตามเกณฑ
ขอ ๑.๑ และขอ ๑.๒ ถือวา ผูเรียนมผี ลการเรียน “มผ” โรงเรยี นตอ งจัดซอ มเสริมใหผูเรียนทํากิจกรรมในสวน
ท่ีผูเรียนไมไ ดเขา รวมหรอื ไมไดทําจนครบถวน แลวจึงเปล่ียนผลการเรียนจาก “มผ” เปน “ผ” และนําผลการ
ประเมินไปบนั ทึกในระเบียนแสดงผลการเรียน

๑๑๑

๒. การประเมินกจิ กรรมพัฒนาผเู รียนเพือ่ การตัดสิน มแี นวปฏบิ ตั ดิ ังนี้
๒.๑ กําหนดใหผูรับผิดชอบในการรวบรวมขอมูลเก่ียวกับการรวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียนของผูเรียน

ทุกคนตลอดระดบั การศึกษา
๒.๒ ผรู บั ผิดชอบสรปุ และตัดสนิ การรวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียนของผเู รียนเปนรายบคุ คลตามเกณฑท่ี

โรงเรียนกาํ หนด ผูเรยี นจะตองผา นกิจกรรม ๓ กิจกรรมสําคญั ดงั น้ี
๒.๒.๑ กจิ กรรมแนะแนว
๒.๒.๒ กิจกรรมนกั เรยี น ไดแ ก
๑. กจิ กรรมลกู เสือ - เนตรนารี
๒. กิจกรรมชุมนุม
๒.๒.๓ กิจกรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน

๒.๓ การนาํ เสนอผลการประเมินตอ คณะกรรมการกลมุ สาระการเรยี นรูและกจิ กรรมพัฒนาผเู รยี น
๒.๔ เสนอผูบริหารโรงเรียนพิจารณาอนุมัติผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเรียนผานเกณฑการจบ
แตละระดับการศกึ ษา

๑๑๒

คําอธบิ ายรายวิชากจิ กรรมพัฒนาผูเรียน

กจิ กรรมพัฒนาผเู รยี น กิจกรรมแนะแนว
ช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ ๑ - ๖ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง/ป
...................................................................................................................................................................................
รูจ ักและเขาใจตนเอง รักและเห็นคณุ คาในตนเองและผูอื่น มีวุฒิภาวะทางอารมณ มีเจตคติท่ีดีตอการ
มีชีวิตที่ดีมีคุณภาพ มีทักษะในการดําเนินชีวิต มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการแยกแยะผลประโยชนสวนตน
และผลประโยชนสวนรวม ความละอาย และไมทนตอการทุจริต STRONG : จิตพอเพียงตานทุจริตทุกรูปแบบ
หนาที่พลเมือง และมีความรับผิดชอบตอสังคมในการปองกันการทุจริตสามารถปรับตัวใหดํารงชีวิตอยูในสังคมได
อยา งมีความสุข รจู กั ตนเองในทกุ ดาน รูความถนดั ความสนใจ และบุคลิกภาพของตนเอง รูและเขาใจโลกของ
งานอาชีพอยางหลากหลาย มีเจตคติท่ีดีตออาชีพสุจรติ รูขอมูลอาชีพ สามารถเลือกตนแนวทางในการประกอบ
อาชีพไดอยางเหมาะสม มีการเตรยี มตวั สอู าชีพ สามารถวางแผนเพ่อื ประกอบอาชีพตามท่ีตนเองมีความถนัดและ
สนใจ มีคุณลักษณะพ้ืนฐานที่จําเปนในการประกอบอาชีพและพัฒนางานใหประสบความสําเร็จเพื่อสรางฐานะ
ทางเศรษฐกจิ ใหกับตนเอง ครอบครวั ชมุ ชนและประเทศชาติ

พัฒนาตนเองในดานการเรียนอยางเต็มศักยภาพ รูจักแสวงหาความรูใฝรูใฝเรียนใหเปนคนดีมีความรู
และทักษะทางวิชาการ รูจักแสวงหาและใชขอมูลประกอบการวางแผนการเรียนหรือการศึกษาตอไดอยางมี
ประสทิ ธิภาพ มวี ิธีการเรยี นรู มีทักษะการคดิ แกปญ หาอยา งสรางสรรค คดิ เปน ทาํ เปน มคี ณุ ธรรม จริยธรรม
เอ้อื อาทรและสมานฉนั ท เพื่อดํารงชีวติ อยูร วมกนั อยางสงบสุขตามวิถชี ีวิตเศรษฐกิจพอเพียง

เพ่ือใหผูเรียนเกิดการเรียนรู รูจัก เขาใจ รักและเห็นคุณคาในตนเองและผูอ่ืน เกิดการเรียนรูสามารถ
วางแผนการเรียนรู อาชีพ รวมทั้งการดําเนินชีวิตและมีทักษะทางสังคม เกิดการเรียนรูสามารถปรับตัวไดอยาง
เหมาะสม อยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข พึ่งตนเองไดมีทักษะในการเลือกแนวทางการศึกษา การงานและ
อาชีพ ชีวิตและสังคม มีความตระหนักและเห็นความสําคัญของการตอตาน และปองกันทุจริต มีสุขภาพจิตที่ดี
และจิตสํานึกในการทําประโยชนตอ ครอบครวั สังคมและประเทศชาติตามวถิ ชี วี ติ เศรษฐกิจพอเพยี ง

ผลการเรยี นรู
1.เพื่อใหผูเ รยี นเกิดการเรียนรู รูจัก เขาใจ รัก และเหน็ คณุ คาในตนเองและผูอนื่
2.เพอื่ ใหผูเรียนมีความรคู วามเขาใจ สามารถปฏิบัติตน ตระหนักและเหน็ ความสาํ คญั ของการแยกแยะ

ผลประโยชนส ว นตน และผลประโยชนสวนรวม ความละอาย และไมทนตอการทุจริต STRONG : จติ พอเพยี ง
ตา นทจุ รติ ทุกรูปแบบ หนาทพี่ ลเมือง และมคี วามรบั ผดิ ชอบตอสงั คมในการปองกนั การทจุ รติ

3.เพอ่ื ใหผ เู รียนเกดิ การเรียนรู สามารถวางแผนการเรียน การศึกษาตอ อาชีพ รวมทั้งการดาํ เนินชวี ิต
และมที ักษะทางสังคม

4.เพอ่ื ใหผ ูเ รยี นเกิดการเรยี นรู สามารถปรับตัวไดอยา งเหมาะสม ตระหนักและเหน็ ความสําคญั ของการ
ตอ ตา น และปอ งกนั ทุจริต อยรู วมกบั ผอู นื่ ไดอ ยา งเหมาะสม

5.สามารถประยกุ ตใชป รัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งได
รวม ๕ ขอ

๑๑๓

คาํ อธบิ ายรายวชิ ากจิ กรรมพัฒนาผเู รยี น
กจิ กรรมนักเรยี น ลกู เสอื (เตรยี มลูกเสอื สํารองและลูกเสอื สาํ รองดาวดวงที่ ๑)
ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๑ เวลา ๔๐ ชวั่ โมง/ป
...................................................................................................................................................................................

เปด ประชมุ กอง ดาํ เนินการตามกระบวนการของลูกเสือและจัดกิจกรรมโดยใหศึกษา วิเคราะหวางแผน
ปฏิบัติกจิ กรรมตามฐานการเรยี นรู โดยเนนระบบหมแู ละปฏิบัติกิจกรรมตามคําปฏิญาณและกฎของลูกเสือสํารอง
เรียนรูจากการคิดและปฏิบตั ิจรงิ ใชส ญั ลักษณสมาชกิ ลูกเสอื สาํ รองท่มี คี วามเปนเอกลักษณร ว มกัน ศึกษาธรรมชาติ
ในชุมชนดวยความสนใจ ใฝรูตามวิถีเศรษฐกิจพอเพียง สรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม ปดประชุมกอง ในเร่ือง
ตอไปนี้

1.เตรียมลูกเสือสํารอง นิยายเมาคลี ประวัติการเร่ิมกิจการลูกเสือ การทําความเคารพหมู (แกรนด
ฮาวล) การทําความเคารพเปนรายบุคคล การจับมือซาย ระเบียบแถว เบ้ืองตน คําปฏิญาณ กฎและคติพจน
ของลกู เสอื สํารอง

2.ลูกเสือสํารองดาวดวงที่ ๑ อนามัย ความสามารถเชิงทักษะ การสํารวจ การคนหาธรรมชาติ
ความปลอดภัย บริการ ธงและประเทศตาง ๆ การฝมือ กิจกรรมกลางแจง การบันเทิง การผูกเง่ือน คํา
ปฏิญาณและกฎของลูกเสือสํารองเพ่ือใหมีความรู ความเขาใจในกิจกรรมลูกเสือสํารองดาวดวงท่ี ๑ สามารถ
ปฏิบัติตามคําปฏิญาณ กฎ และคติพจนของลูกเสือสํารอง มีนิสัยในการสังเกต จดจํา เช่ือฟงและพึ่งตนเอง มี
ความซ่ือสัตย สุจริต มีระเบียบวินัย และเห็นอกเห็นใจผูอื่น รูจักบําเพ็ญตนเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน
รูจักทําการฝมือและฝกฝนทํากิจกรรมตาง ๆ ตามความเหมาะสม รักษาและสงเสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรม
และความมั่นคงของชาติ และสามารถประยุกตใ ชป รชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ผลการเรยี นรู
๑. มีนิสัยในการสงั เกต จดจาํ เช่อื ฟงและพ่ึงพาตนเองได
๒. มคี วามซ่ือสตั ย สจุ รติ มีระเบยี บวินัยและเหน็ อกเห็นใจผูอืน่
๓. บาํ เพ็ญตนเพ่ือสังคมและสาธารณะประโยชน
๔. ทาํ การฝมือและฝกฝนการทํากจิ กรรมตา ง ๆ ตามความเหมาะสม
๕. รกั ษาและสง เสริมจารีตประเพณี วฒั นธรรมประเพณี ภมู ปิ ญญาทองถ่ินและ ความมัน่ คง
๖. อนรุ ักษทรพั ยากรธรรมชาติ สงิ่ แวดลอมและลดภาวะโลกรอ น
๗. สามารถประยุกตใชป รัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งได

รวม ๗ ขอ

๑๑๔

คาํ อธบิ ายรายวิชากิจกรรมพัฒนาผูเรยี น

กจิ กรรมนักเรียน ลกู เสือ (ลกู เสือสาํ รองดาวดวงที่ ๒)
ช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ป
...................................................................................................................................................................................

เปด ประชุมกอง ดําเนินการตามกระบวนการของลูกเสือ และจัดกิจกรรมใหศึกษา วิเคราะห วางแผน
ปฏิบัติกิจกรรมตามฐานการเรียนรู โดยเนนระบบหมู และปฏิบัติตามคําปฏิญาณ คติพจนและกฎของลูกเสือ
สํารอง ศึกษาเรียนรูจากการคิดและปฏิบัติจริงใชสัญลักษณสมาชิกลูกเสือสํารองที่มีความเปนเอกลักษณรวมกัน
ศึกษาธรรมชาตใิ นชมุ ชนดว ยความสนใจใฝรูตามวิถีเศรษฐกิจพอเพียง สรุปผลและปฏิบัติกิจกรรม ปดประชุมกอง
ในเรอ่ื งตอ ไปน้ี

ลูกเสือสาํ รองดาวดวงท่ี ๒ นิยายเมาคลี ประวัติการเร่มิ กจิ การลูกเสอื การทําความเคารพหมู (แกรน
ฮาวล) การทําความเคารพเปนรายบุคคล การจับมือซาย ระเบียบแถว คําปฏิญาณ กฎ และคติพจนของลูกเสือ
สํารอง อนามัย ความสามารถเชิงทักษะ การสํารวจ การคนหาธรรมชาติการอนุรักษทรัพยากรในชุมชนทองถิ่น
ความปลอดภัย บริการ การผูกเง่ือน ธง และประเทศตาง ๆ การฝมือท่ีใชวัสดุเหลือใชในทองถิ่น กิจกรรม
กลางแจง การบันเทิงท่ีสงเสริมสุขภาพกายสุขภาพจิตและอนุรักษภูมิปญญาทองถิ่น อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ
สิง่ แวดลอมลดภาวะโลกรอ น

เพ่อื ใหม ีความรู ความเขาใจในกิจกรรมลูกเสือสํารองดาวดวงท่ี ๒ สามารถปฏิบัติตามคําปฏิญาณ กฎ
และคติพจนของลูกเสือสํารอง มีนิสัยในการสังเกต จดจํา เช่ือฟงและพึ่งตนเอง มีความซื่อสัตยสุจริต มี
ระเบียบวินัย และเห็นอกเห็นใจ รูจักบําเพ็ญเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน รูจักทําการฝมือและฝกฝนทํา
กิจกรรมตาง ๆ ตามความเหมาะสม รักษาและสงเสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่ิน อนุรักษ
ทรพั ยากรธรรมชาตสิ ่ิงแวดลอม ความมั่นคงของชาติ และสามารถประยุกตใชป รัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ผลการเรยี นรู
๑. มีนิสัยในการสังเกต จดจาํ เชอ่ื ฟง และพึ่งตนเองได
๒. มคี วามซ่ือสัตย สจุ ริต มรี ะเบยี บวินัย และเห็นอกเห็นใจผูอ่ืน
๓. บาํ เพ็ญตนเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน
๔. ทาํ การฝม ือและฝกฝนทาํ กจิ กรรมตา ง ๆ ตามความเหมาะสม
๕. รักษาและสงเสรมิ จารีตประเพณี วฒั นธรรมภูมิปญญาทองถิ่นและความมั่นคงของชาติ
๖. อนรุ กั ษทรพั ยากรธรรมชาติ และสงิ่ แวดลอม ลดภาวะโลกรอน สามารถประยุกตใชปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงได

รวม ๖ ขอ

๑๑๕

คาํ อธิบายรายวชิ ากจิ กรรมพัฒนาผเู รยี น

กิจกรรมนกั เรียน ลกู เสอื (ลูกเสือสาํ รองดาวดวงท่ี ๓)
ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ี่ ๓ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง/ป
...................................................................................................................................................................................

เปด ประชุมกอง ดําเนินการตามกระบวนการของลกู เสือ และจัดกิจกรรมใหศึกษา วิเคราะห วางแผน
ปฏิบัติกิจกรรมตามฐานการเรียนรู โดยเนนระบบหมู และปฏิบัติตามคําปฏิญาณ คติพจนและกฎของลูกเสือ
สํารอง ศึกษาเรียนรูจากการคิดและปฏิบัติจริงใชสัญลักษณสมาชิกลูกเสือสํารองท่ีมีความเปนเอกลักษณรวมกัน
ศึกษาธรรมชาติในชุมชนดวยความสนใจใฝรูตามวิถีเศรษฐกิจพอเพียง สรุปผลและปฏิบัติกิจกรรม ปดประชุมกอง
ในเรื่องตอไปน้ี

ลกู เสอื สํารองดาวดวงท่ี ๓ นิยายเมาคลี ประวัตกิ ารเรมิ่ กจิ การลกู เสอื การทําความเคารพหมู (แกรน
ฮาวล) การทําความเคารพเปน รายบุคคล การจับมือซาย ระเบียบแถว คําปฏิญาณ กฎ และคติพจนของลูกเสือ
สํารอง อนามัย ความสามารถเชิงทักษะ การสํารวจ การคนหาธรรมชาติการอนุรักษทรัพยากรในชุมชนทองถ่ิน
ความปลอดภัย บริการ การผูกเง่ือน ธง และประเทศตาง ๆ การฝมือที่ใชวัสดุเหลือใชในทองถิ่น กิจกรรม
กลางแจง การบันเทิงท่ีสงเสริมสุขภาพกายสุขภาพจิตและอนุรักษภูมิปญญาทองถ่ิน อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ
สง่ิ แวดลอมลดภาวะโลกรอน

เพอื่ ใหม ีความรู ความเขาใจในกิจกรรมลูกเสือสํารองดาวดวงที่ ๓ สามารถปฏิบัติตามคําปฏิญาณ กฎ
และคติพจนข องลูกเสอื สํารอง มีนสิ ัยในการสังเกต จดจาํ เช่อื ฟง และพงึ่ ตนเอง มีความซื่อสัตยสุจริต มีระเบียบ
วินยั และเห็นอกเห็นใจ รจู ักบาํ เพ็ญเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน รูจักทําการฝมือและฝกฝนทํากิจกรรมตาง
ๆ ตามความเหมาะสม รักษาและสงเสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่ิน อนุรักษ
ทรพั ยากรธรรมชาติสิ่งแวดลอม ความมั่นคงของชาติ และสามารถประยกุ ตใ ชปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ผลการเรยี นรู
๑. มนี ิสัยในการสังเกต จดจํา เชื่อฟง และพ่ึงตนเองได
๒. มีความซื่อสตั ย สุจริต มรี ะเบียบวนิ ยั และเห็นอกเห็นใจผอู น่ื
๓. บาํ เพญ็ ตนเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน
๔. ทําการฝม ือและฝกฝนทํากิจกรรมตา ง ๆ ตามความเหมาะสม
๕. รกั ษาและสง เสรมิ จารีตประเพณี วฒั นธรรมภมู ปิ ญญาทองถิ่นและความม่ันคงของชาติ
๖. อนุรักษทรพั ยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดลอ ม ลดภาวะโลกรอ น สามารถประยุกตใ ชป รชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี งได

รวม ๖ ขอ

๑๑๖

กิจกรรมนกั เรียน คาํ อธบิ ายรายวชิ ากิจกรรมพัฒนาผูเ รยี น ลกู เสือสามัญ (ลกู เสือตร)ี

ช้นั ประถมศึกษาปท่ี ๔ เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ป
...................................................................................................................................................................................

เปดประชุมกอง ดําเนินการตามกระบวนการของลูกเสือ และจัดกิจกรรมโดยใหศึกษา วิเคราะห
วางแผน ปฏบิ ตั ิกิจกรรมตามฐานการเรยี นรู โดยเนน ระบบหมู และปฏบิ ัตกิ ิจกรรมตามคําปฏิญาณ คติพจน และ
กฎของลกู เสือสามญั เรยี นรจู ากการคิดและปฏิบัติจริง ใชสัญลักษณสมาชิกลูกเสือสามัญที่มีความเปนเอกลักษณ
รวมกัน ศึกษาธรรมชาติในชุมชนดวยความสนใจ ใฝรูและมีจิตสํานึกในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ
วัฒนธรรมประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่น ลดภาวะโลกรอนและประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ความรู
เกี่ยวกับกระบวนการลูกเสือ ประวัติของ Load Baden Powell พระราชประวัติสังเขปของพระบาทสมเด็จ
พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว วิวัฒนาการของกระบวนการ ลูกเสือไทยและลูกเสือโลก การทําความเคารพ การ
แสดงรหัส การจับมือซาย กิจกรรมกลางแจง ระเบียบแถวทามือเปลา ทามือไมพลวง การใชสัญญามือและ
นกหวีด การต้งั แถวและการเรยี นแถว

เพ่ือใหมีความรู ความเขาใจในกิจกรรมลูกเสือสามัญ สามารถปฏิบัติตามคําปฏิญาณ กฎ และคติพจน
ของลูกเสือสามัญ มีนิสัยในการสังเกต จดจํา เช่ือฟง และพึ่งตนเอง มีความซื่อสัตย สุจริต มีระเบียบวินัย
และเห็นอกเหน็ ใจผูอน่ื บําเพ็ญตนเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน ทําการฝมือและฝกฝนการทํากิจกรรมตาง ๆ
ตามความเหมาะสม ความถนัด และความสนใจ รักษาและสงเสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรมและความมั่นคง
ประโยชนแ ละสามารถประยุกตใชปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ผลการเรยี นรู
๑. มนี ิสัยในการสังเกต จดจํา เชอ่ื ฟง และพ่ึงตนเองได
๒. มีความซื่อสตั ยสุจรติ มรี ะเบียบ วินยั และเห็นอกเห็นใจผูอ ื่น
๓. บาํ เพ็ญตนเพื่อสงเสริมและสาธารณะประโยชน
๔. ทําการฝม ือและฝกฝนทาํ กจิ กรรมตา ง ๆ ตามความถนดั และความสนใจ
๕. รกั ษาและสง เสรมิ จารีตประเพณี วฒั นธรรม ภมู ิปญ ญาทองถิ่น และความม่ันคงของชาติ
๖. อนุรักษทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอม ลดภาวะโลกรอน
๗. สามารถประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

รวม ๗ ขอ

๑๑๗

คาํ อธบิ ายรายวิชากิจกรรมพัฒนาผูเรียน

กิจกรรมนกั เรยี น ลกู เสือสามัญ (ลูกเสอื โท)
ชั้นประถมศึกษาปท ่ี ๕ เวลา ๔๐ ช่วั โมง/ป
...................................................................................................................................................................................
เปดประชุมกองดําเนินการตามกระบวนการของลูกเสือ และจัดกิจกรรมโดยใหศึกษา วิเคราะห
วางแผน ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมตามฐานการเรยี นรู โดยเนนระบบหมู และปฏิบตั ิกจิ กรรมตามคําปฏิญาณ คติพจนและ
กฎของลูกเสือสามัญ เรียนรูจากคิดและปฏิบัติจริง ใชสัญลักษณสมาชิกลูกเสือสามัญที่มีความเปนเอกลักษณ
รวมกนั ศกึ ษาธรรมชาติในชมุ ชนดวยความสนใจ ใฝร ู มีจติ สํานึกในการอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติ วัฒนธรรม
ภูมิปญญาทองถ่ิน ลดภาวะโลกรอนและการประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใชทักษะในทางวิชา
ลกู เสือ การรูจักดูแลตนเอง การชวยเหลอื ผอู ื่น การเดนิ ทางไปยังสถานท่ีตา ง ๆ ทาํ งานอดเิ รก และเร่อื งท่สี นใจ
เพ่ือใหมีความรู ความเขาใจในกิจกรรมลูกเสือสามัญ สามารถปฏิบัติตามคําปฏิญาณ กฎ และคติพจน
ของลูกเสือสามัญ มีนิสัยในการสังเกต จดจํา เช่ือฟง และพ่ึงตนเอง มีความซื่อสัตย สุจริต มีระเบียบวินัย
และเหน็ อกเหน็ ใจผูอน่ื บําเพญ็ ตนเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน ทําการฝมือและฝกฝนการทํากิจกรรมตาง ๆ
ตามความเหมาะสม ความถนัด และความสนใจ รักษาและสงเสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรมและความม่ันคง
ประโยชนและสามารถประยุกตใ ชปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ผลการเรยี นรู
๑. มนี ิสัยในการสังเกต จดจํา เช่อื ฟง และพึ่งตนเองได
๒. มีความซื่อสัตยส ุจรติ มรี ะเบียบ วนิ ยั และเห็นอกเหน็ ใจผูอื่น
๓. บําเพญ็ ตนเพอ่ื สงเสรมิ และสาธารณะประโยชน
๔. ทําการฝม ือและฝกฝนทาํ กิจกรรมตาง ๆ ตามความถนดั และความสนใจ
๕. รักษาและสง เสริมจารตี ประเพณี วัฒนธรรม ภมู ปิ ญญาทองถนิ่ และความมั่นคงของชาติ
๖. อนรุ ักษทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอม ลดภาวะโลกรอน
๗. สามารถประยุกตใ ชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

รวม ๗ ขอ

๑๑๘

คาํ อธบิ ายรายวชิ ากจิ กรรมพัฒนาผูเรยี น

กิจกรรมนกั เรียน ลกู เสือสามัญ (ลูกเสือเอก)
ชน้ั ประถมศึกษาปที่ ๖ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง/ป
...................................................................................................................................................................................
เปดประชุมกองดําเนินการตามกระบวนการของลูกเสือ และจัดกิจกรรมโดยใหศึกษา วิเคราะห
วางแผน ปฏิบัติกิจกรรมตามฐานการเรียนรู โดยเนนระบบหมู และปฏิบัติตามคําปฏิญาณ คติพจน และกฎ
ของลูกเสือสามัญ วิชาการของลูกเสือ ระเบียบแถว การพ่ึงตนเอง การผจญภัย การใชสัญลักษณ สมาชิก
ลูกเสือสามัญ ท่ีมีความเปนเอกลักษณรวมกัน เรียนรูจากการคิดและปฏิบัติจริง ศึกษาธรรมชาติ วัฒนธรรม
ประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่นดวยความสนใจ ใฝรู และประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการ
ปฏิบตั กิ ิจกรรมเพ่อื การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาตแิ ละลดภาวะโลกรอ น
เพ่ือใหมคี วามรู ความเขาใจในกจิ กรรมลูกเสอื สามัญ สามารถปฏิบัตติ ามคําปฏิญาณ กฎ และคติพจน
ของลูกเสือสามัญ มีนิสัยในการสังเกต จดจํา เชื่อฟง และพ่ึงตนเอง มีความซื่อสัตย สุจริต มีระเบียบวินัย
และเห็นอกเห็นใจผอู นื่ บําเพ็ญตนเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน ทําการฝมือและฝกฝนการทํากิจกรรมตาง ๆ
ตามความเหมาะสม ความถนัด และความสนใจ รักษาและสงเสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรมและความมั่นคง
ประโยชนและสามารถประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ผลการเรยี นรู
๑. มีนสิ ัยในการสังเกต จดจาํ เชอ่ื ฟง และพึ่งตนเองได
๒. มีความซื่อสตั ยสุจรติ มีระเบียบ วินัยและเห็นอกเห็นใจผูอ ่ืน
๓. บําเพญ็ ตนเพอื่ สงเสริมและสาธารณะประโยชน
๔. ทาํ การฝมือและฝกฝนทํากิจกรรมตาง ๆ ตามความถนดั และความสนใจ
๕. รกั ษาและสงเสรมิ จารตี ประเพณี วัฒนธรรม ภูมิปญ ญาทองถ่ิน และความมั่นคงของชาติ
๖. อนุรกั ษทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ลดภาวะโลกรอน
๗. สามารถประยุกตใ ชปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

รวม ๗ ขอ

๑๑๙

คาํ อธบิ ายรายวิชากจิ กรรมพัฒนาผเู รยี น

กิจกรรมพัฒนาผเู รียน กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน
ช้ันประถมศึกษาปที่ ๑ - ๖ เวลา ๑๐ ชัว่ โมง/ป
...................................................................................................................................................................................
ฝกปฏิบัติกิจกรรมดวยความสมัครใจผานกิจกรรมที่หลากหลาย ฝกการทํางานที่สอดคลองกับชีวิตจริง
ตลอดจนสะทอนความรู ทักษะ และประสบการณ สํารวจและใชขอมูลประกอบการวางแผนอยางเปนระบบ
เนนทักษะการคิดวิเคราะห และใชความคิดสรางสรรค การบริการดานตาง ๆ ท่ีเปนประโยชนตอตนเองและ
สวนรวม เสริมสรางความมีน้ําใจ เอื้ออาทร ความเปนพลเมืองดีและความรับผิดชอบตอตนเอง ครอบครัวและ
สังคม คิดออกแบบกิจกรรมบําเพ็ญประโยชนในลักษณะอาสาสมัคร จิตอาสา เพื่อแสดงความรับผิดชอบตอ
สงั คมตามแนวทางวถิ ชี วี ติ เศรษฐกิจพอเพียง
เพื่อใหผูเรียนบําเพ็ญตนใหเปนประโยชนตอครอบครัว โรงเรียน ชุมชน สังคมและประเทศชาติ
สามารถออกแบบการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชนอยางสรางสรรคตามความถนัดและความสนใจ
ในลักษณะอาสาสมัคร พัฒนาศักยภาพตนเองในการจัดกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชนไดอยางมี
ประสิทธิภาพเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชนจนเกิดคุณธรรม จริยธรรม ตามคุณลักษณะอันพึงประสงค มีจิต
สาธารณะและใชเ วลาวางใหเกิดประโยชน และสามารถประยุกตใชปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงได

ผลการเรยี นรู
๑. บาํ เพ็ญตนใหเ ปนประโยชนตอครอบครัว โรงเรยี น ชมุ ชน สังคมและประเทศชาติ
๒. ออกแบบการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชนอ ยา งสรา งสรรค ตามความถนัดและ
ความสนใจในลักษณะอาสาสมคั ร
๓. สามารถพัฒนาศักยภาพในการจดั กจิ กรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชนไ ดอยางมีประสิทธิภาพ
๔. ปฏิบัติกจิ การเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชนจนเกิดคุณธรรม จรยิ ธรรมตามคุณลกั ษณะอนั พึง
ประสงค
๕. สามารถประยุกตใชปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งได

รวม ๕ ขอ

๑๒๐

คําอธบิ ายรายวิชากิจกรรมพัฒนาผเู รยี น

กิจกรรมนกั เรียน กิจกรรมชุมนุม
ช้นั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๑ - ๖ เวลา ๓๐ ชั่วโมง
...................................................................................................................................................................................
ปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ ความถนัด และความตองการ เพื่อพัฒนาความรู ความสามารถดาน
การคิดวิเคราะห สังเคราะหใหเกิดประสบการณทั้งดานวิชาการ และพ้ืนฐานอาชีพ ทักษะชีวิตและสังคมตาม
ศกั ยภาพอยางรอบดา น เพื่อความเปนมนุษยที่สมบูรณ มีความสามารถในการสื่อสาร มีทักษะการคิด แกปญหา
ความสามารถในการใชเทคโนโลยี พัฒนาทักษะในการทํางานและการอยูรวมกับผูอ่ืนในสังคมไดอยางมีความสุข
รกั ชาติ ศาสน กษัตริย ซอ่ื สตั ยสุจริต มีวินัย ใฝเ รียนรู อยูอยางพอเพียง มุงม่ันในการทํางานรักความเปนไทย
มจี ติ สาธารณะ
เพอื่ ใหผเู รยี นไดปฏบิ ตั กิ ิจกรรมตามความสนใจ ความถนัด และความตองการของตน ไดพัฒนาความรู
ความสามารถดานการคิดวิเคราะห สังเคราะห ใหเกิดประสบการณทั้งทักษะทางวิชาการ ทักษะอาชีพ ทักษะ
ชีวิตและสังคมตามศักยภาพ ใชเวลาวางใหเกิดประโยชนตอตนเองและสวนรวม คิดเปน ทําได ทํางานรวมกับ
ผูอนื่ ไดต ามวิถีประชาธปิ ไตย และประยุกตป รัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไดอยางเหมาะสม

ผลการเรยี นรู
๑. ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมตามความสนใจ ความถนดั และความตองการของตน
๒. มคี วามรู ความสามารถดานการคิดวเิ คราะห สังเคราะหใหเกิดประสบการณท ้ังทางวิชาการ

และวชิ าชพี ตามศักยภาพ
๓. ใชเ วลาวา งใหเ กดิ ประโยชนตอตนเองและสว นรวม
๔. มงุ ม่ันในการทาํ งานและทํางานรวมกบั ผอู ืน่ ไดตามวิถปี ระชาธิปไตย
๕. ประยุกตใชป รัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไดอยางเหมาะสม

รวม ๕ ขอ

๑๒๑

เกณฑก ารจบการศกึ ษา
หลักสูตรโรงเรียนสังฆรักษบํารุง พุทธศักราช ๒๕๖3 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กาํ หนดเกณฑส ําหรับการจบการศกึ ษา ดังนี้
เกณฑการจบระดับประถมศึกษา
๑. ผูเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี ๑-๓ เรียนรายวิชาพ้ืนฐาน จํานวน ๙๒๐ ช่ัวโมง และรายวิชาเพ่ิมเติม
จาํ นวน ๑๒๐ ช่วั โมง ผูเ รียนช้ันประถมศึกษาปที่ ๔-๖ เรียนรายวิชาพ้ืนฐาน จํานวน ๘๘๐ ช่ัวโมง และรายวิชา
เพม่ิ เตมิ จาํ นวน ๘๐ ชวั่ โมง และมผี ลการประเมินรายวชิ าผา นทกุ รายวิชา
๒. ผเู รียนตอ งมีผลการประเมินการอา น คิดวเิ คราะห และเขียน ระดบั “ผาน” ข้นึ ไป
๓. ผเู รียนมีผลการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค ระดับ “ผา น” ขน้ึ ไป
๔. ผเู รยี นตองเขารวมกิจกรรมพัฒนาผูเ รียนและไดรบั การตัดสินผลการเรยี น “ผา น” ทุกกจิ กรรม
การจัดการเรยี นรู
การจดั การเรียนรเู ปนกระบวนการสําคัญในการนําหลักสูตรสูการปฏิบัติ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน เปนหลักสูตรท่ีมีมาตรฐานการเรียนรู สมรรถนะสําคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงคของผูเรียน เปน
เปา หมายสาํ หรบั พัฒนาเด็กและเยาวชน
ในการพัฒนาผูเรียนใหมีคุณสมบัติตามเปาหมายหลักสูตร ผูสอนพยายามคัดสรรกระบวนการเรียนรู
จัดการเรียนรูโดยชวยใหผูเรียนเรียนรูผานสาระท่ีกําหนดไวในหลักสูตร ๘ กลุมสาระการเรียนรู รวมทั้งปลูกฝง
เสริมสรางคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค พฒั นาทักษะตางๆ อนั เปนสมรรถนะสําคัญใหผ ูเรยี นบรรลุตามเปาหมาย
๑. หลักการจดั การเรยี นรู
การจัดการเรียนรูเพ่ือใหผูเรียนมีความรูความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรูสมรรถนะสําคัญและ
คุณลักษณะอันพึงประสงคตามที่กําหนดไวในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน โดยยึดหลักวา ผูเรียนมี
ความสําคัญที่สุด เชื่อวาทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได ยึดประโยชนท่ีเกิดกับผูเรียน
กระบวนการจัดการเรยี นรูตองสงเสริมใหผ เู รียน สามารถพฒั นาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ คํานึงถึงความ
แตกตางระหวา งบคุ คลและพัฒนาการทางสมองเนน ใหความสําคญั ท้ังความรู และคณุ ธรรม
๒. กระบวนการเรียนรู
การจัดการเรียนรูท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ ผูเรียนจะตองอาศัยกระบวนการเรียนรูที่หลากหลาย เปน
เครื่องมือที่จะนําพาตนเองไปสูเปาหมายของหลักสูตร กระบวนการเรียนรูท่ีจําเปนสําหรับผูเรียน อาทิ
กระบวนการเรยี นรูแบบบูรณาการ กระบวนการสรางความรู กระบวนการคิด กระบวนการทางสังคม กระบวนการ
เผชิญสถานการณและแกปญหา กระบวนการเรียนรูจากประสบการณจริง กระบวนการปฏิบัติ ลงมือทําจริง
กระบวนการจัดการ กระบวนการวิจยั กระบวนการเรยี นรกู ารเรียนรขู องตนเอง กระบวนการพัฒนาลักษณะนสิ ยั
กระบวนการเหลานี้เปนแนวทางในการจัดการเรียนรูที่ผูเรียนควรไดรับการฝกฝน พัฒนา เพราะจะ
สามารถชว ยใหผเู รียนเกิดการเรยี นรไู ดด ี บรรลุเปาหมายของหลักสูตร ดังนั้น ผูสอน จึงจําเปนตองศึกษาทําความ
เขาใจในกระบวนการเรียนรตู า ง ๆ เพ่อื ใหสามารถเลือกใชใ นการจดั กระบวนการเรียนรไู ดอยา งมปี ระสทิ ธิภาพ
๓. การออกแบบการจัดการเรยี นรู
ผูสอนตองศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาใหเขาใจถึงมาตรฐานการเรียนรู ตัวช้ีวัด สมรรถนะสําคัญของ
ผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค และสาระการเรียนรูที่เหมาะสมกับผูเรียน แลวจึงพิจารณาออกแบบการ
จัดการเรียนรูโดยเลือกใชวิธีสอนและเทคนิคการสอน สื่อ/แหลงเรียนรู การวัดและประเมินผล เพื่อใหผูเรียนได
พัฒนาเต็มตามศักยภาพและบรรลตุ ามเปา หมายท่ีกําหนด

๑๒๒

๔. บทบาทของผสู อนและผเู รียน
การจัดการเรียนรูเพ่ือใหผูเรียนมีคุณภาพตามเปาหมายของหลักสูตร ทั้งผูสอนและผูเรียนควรมีบทบาท
ดงั น้ี

๔.๑ บทบาทของผูสอน
๑) ศึกษาวิเคราะหผูเรียนเปนรายบุคคล แลวนําขอมูลมาใชในการวางแผนการจัดการเรียนรู

ความสามารถของผูเรยี น
๒) กําหนดเปาหมายท่ีตองการใหเกิดขึ้นกับผูเรียน ดานความรูและทักษะกระบวนการ ท่ีเปน

ความคิดรวบยอด หลกั การ และความสมั พันธ รวมทง้ั คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค
๓) ออกแบบการเรียนรูและจัดการเรียนรูที่ตอบสนองความแตกตางระหวางบุคคลและ

พัฒนาการทางสมอง เพอ่ื นําผูเรียนไปสเู ปาหมาย
๔) จดั บรรยากาศที่เอ้ือตอการเรยี นรู และดแู ลชวยเหลือผูเรียนใหเ กดิ การเรยี นรู
๕) จัดเตรียมและเลือกใชส่ือใหเหมาะสมกับกิจกรรม นําภูมิปญญาทองถ่ิน เทคโนโลยีท่ี

เหมาะสมมาประยุกตใ ชใ นการจัดการเรยี นการสอน
๖) ประเมนิ ความกา วหนาของผูเรียนดวยวิธีการที่หลากหลาย เหมาะสมกบั ธรรมชาตขิ องวิชา

และระดับพฒั นาการของผูเรยี น
๗) วิเคราะหผลการประเมินมาใชในการซอมเสริมและพัฒนาผูเรียน รวมทั้งปรับปรุงการจัดการ

เรยี นการสอนของตนเอง
๔.๒ บทบาทของผูเรียน
๑) กาํ หนดเปาหมาย วางแผนและรับผิดชอบการเรียนรูของตนเอง
๒) เสาะแสวงหาความรู เขาถึงแหลงการเรียนรู วิเคราะห สังเคราะหขอความรู ตั้งคําถาม คิดหา

คาํ ตอบหรอื หาแนวทางแกปญหาดวยวธิ ีการตางๆ
๓) ลงมือปฏบิ ตั ิจรงิ สรุปส่งิ ท่ีไดเ รยี นรูดว ยตนเอง และนําความรูไปประยุกตใชในสถานการณตางๆ
๔) มปี ฏสิ มั พันธ ทาํ งาน ทํากิจกรรมรวมกบั กลมุ และครู
๕) ประเมนิ และพัฒนากระบวนการเรยี นรขู องตนเองอยางตอ เนอ่ื ง

ส่ือการเรยี นรู
ส่ือการเรียนรูเปนเครื่องมือสงเสริมสนับสนุนการจัดการกระบวนการเรียนรู ใหผูเรียนเขาถึงความรู

ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะตามมาตรฐานของหลกั สูตรไดอยา งมีประสิทธิภาพ สื่อการเรียนรูมีหลากหลาย
ประเภท ทั้งส่ือธรรมชาติ ส่ือสิ่งพิมพ ส่ือเทคโนโลยี และเครือขาย การเรียนรูตางๆ ท่ีมีในทองถ่ิน การเลือกใชส่ือ
ควรเลือกใหม ีความเหมาะสมกบั ระดับพัฒนาการ และลลี าการเรียนรทู ี่หลากหลายของผูเรยี น

การจัดหาส่ือการเรียนรู ผูเรียนและผูสอนสามารถจัดทําและพัฒนาขึ้นเอง หรือปรับปรุงเลือกใชอยางมี
คุณภาพจากสื่อตางๆ ที่มีอยูรอบตัวเพ่ือนํามาใชประกอบในการจัดการเรียนรูท่ีสามารถสงเสริมและส่ือสารให
ผูเรียนเกิดการเรียนรู โดยสถานศึกษาควรจัดใหมีอยางพอเพียง เพ่ือพัฒนาใหผูเรียน เกิดการเรียนรูอยางแทจริง
สถานศึกษา เขตพื้นท่กี ารศึกษา หนวยงานทเี่ ก่ยี วของและผมู ีหนา ที่จดั การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน ควรดาํ เนนิ การดังน้ี

๑. จัดใหมีแหลงการเรียนรู ศูนยส่ือการเรียนรู ระบบสารสนเทศการเรียนรู และเครือขาย
การเรยี นรูท ่มี ีประสิทธิภาพท้งั ในสถานศึกษาและในชุมชน เพื่อการศึกษาคนควาและการแลกเปล่ียนประสบการณ
การเรียนรู ระหวา งสถานศึกษา ทองถน่ิ ชมุ ชน สงั คมโลก

๒. จัดทําและจัดหาส่ือการเรียนรูสําหรับการศึกษาคนควาของผูเรียน เสริมความรูใหผูสอน รวมท้ังจัดหา
สง่ิ ทม่ี ีอยใู นทอ งถ่ินมาประยกุ ตใชเปนสอื่ การเรยี นรู

๑๒๓

๓. เลือกและใชสื่อการเรียนรูที่มีคุณภาพ มีความเหมาะสม มีความหลากหลาย สอดคลอง กับวิธีการ
เรียนรู ธรรมชาติของสาระการเรียนรู และความแตกตางระหวางบคุ คลของผูเ รียน

๔. ประเมินคณุ ภาพของสอ่ื การเรยี นรทู ่ีเลอื กใชอยางเปน ระบบ
๕. ศึกษาคน ควา วิจัย เพอื่ พัฒนาส่ือการเรยี นรูใหสอดคลองกับกระบวนการเรียนรขู องผเู รยี น
๖. จัดใหมีการกํากับ ติดตาม ประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพเกี่ยวกับสื่อและการใชส่ือการเรียนรูเปน
ระยะๆ และสมาํ่ เสมอ
ในการจดั ทาํ การเลอื กใช และการประเมนิ คณุ ภาพสื่อการเรียนรูที่ใชในสถานศึกษา ควรคํานึงถึงหลักการ
สําคัญของส่ือการเรียนรู เชน ความสอดคลองกับหลักสูตร วัตถุประสงคการเรียนรู การออกแบบกิจกรรมการ
เรยี นรู การจัดประสบการณใหผูเรียน เนื้อหามีความถูกตองและทันสมัย ไมกระทบความม่ันคงของชาติ ไมขัดตอ
ศลี ธรรม มีการใชภาษาทถ่ี ูกตอ ง รปู แบบการนาํ เสนอท่ีเขาใจงา ย และนา สนใจ
การวัดและประเมินผลการเรยี นรู
การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรูของผูเรียนตองอยูบนหลักการพื้นฐานสองประการ คือ การประเมินเพื่อ
พัฒนาผูเรียนและเพ่ือตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรูของผูเรียน ใหประสบผลสําเร็จนั้น
ผูเรียนจะตองไดรับการพัฒนาและประเมินตามตัวช้ีวัดเพ่ือใหบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู สะทอนสมรรถนะ
สําคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงคของผูเรียนซึ่งเปนเปาหมายหลักในการวัดและประเมินผลการเรียนรูในทุก
ระดับไมวาจะเปนระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับชาติ การวัดและ
ประเมินผลการเรียนรู เปนกระบวนการพัฒนาคุณภาพผูเรียนโดยใชผลการประเมินเปนขอมูลและสารสนเทศท่ี
แสดงพัฒนาการ ความกาวหนา และความสําเร็จทางการเรียนของผูเรียน ตลอดจนขอมูลที่เปนประโยชนตอการ
สง เสรมิ ใหผ ูเรียนเกดิ การพัฒนาและเรยี นรอู ยา งเตม็ ตามศักยภาพ
การวัดและประเมินผลการเรียนรู แบงออกเปน ๔ ระดับ ไดแก ระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับ
เขตพื้นที่การศึกษา และระดับชาติ มรี ายละเอยี ด ดังน้ี
๑. การประเมินระดับชั้นเรียน เปนการวัดและประเมินผลท่ีอยูในกระบวนการจัดการเรียนรู ผูสอน
ดําเนินการเปนปกติและสม่ําเสมอ ในการจัดการเรียนการสอน ใชเทคนิคการประเมินอยางหลากหลาย เชน การ
ซกั ถาม การสังเกต การตรวจการบาน การประเมินโครงงาน การประเมินชิ้นงาน/ ภาระงาน แฟมสะสมงาน การ
ใชแบบทดสอบ ฯลฯ โดยผูสอนเปนผูประเมินเองหรือเปดโอกาสใหผูเรียนประเมินตนเอง เพื่อนประเมินเพ่ือน
ผปู กครองรว มประเมิน ในกรณีทไี่ มผานตัวชี้วดั ใหมีการสอนซอมเสรมิ

การประเมินระดับชั้นเรียนเปนการตรวจสอบวา ผูเรียนมีพัฒนาการความกาวหนาในการเรียนรู อัน
เปนผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม และมากนอยเพียงใด มีส่ิงท่ีจะตองไดรับการพัฒนา
ปรบั ปรุงและสงเสริมในดา นใด นอกจากนี้ยังเปนขอมูลใหผูสอนใชปรับปรุงการเรียนการสอนของตนดวย ทั้งน้ีโดย
สอดคลอ งกบั มาตรฐานการเรยี นรูและตัวช้วี ัด

๒. การประเมนิ ระดับสถานศึกษา เปนการประเมินทีส่ ถานศึกษาดาํ เนินการเพื่อตัดสินผล การเรียนของ
ผูเรียนเปนรายป/รายภาค ผลการประเมินการอาน คิดวิเคราะหและเขียน คุณลักษณะ อันพึงประสงค และ
กิจกรรมพัฒนาผูเรียน นอกจากนี้เพื่อใหไดขอมูลเก่ียวกับการจัดการศึกษา ของสถานศึกษา วาสงผลตอการ
เรียนรูของผูเรียนตามเปาหมายหรือไม ผูเรียนมีจุดพัฒนาในดานใด รวมท้ังสามารถนําผลการเรียนของผูเรียนใน
สถานศึกษาเปรียบเทียบกับเกณฑระดับชาติ ผลการประเมินระดับสถานศึกษาจะเปนขอมูลและสารสนเทศเพ่ือ
การปรับปรุงนโยบาย หลักสูตร โครงการ หรือวิธีการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเพื่อการจัดทําแผนพัฒนา
คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาและการรายงานผลการจัด
การศึกษาตอคณะกรรมการสถานศึกษา สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน
พ้นื ฐาน ผูปกครองและชุมชน

๑๒๔

๓. การประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา เปนการประเมินคุณภาพผูเรียนในระดับเขตพื้นที่การศึกษา
ตามมาตรฐานการเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เพื่อใชเปนขอมูลพื้นฐานในการพัฒนา
คุณภาพการศึกษาของเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ตามภาระความรับผิดชอบ สามารถดําเนินการโดยประเมินคุณภาพ
ผลสมั ฤทธ์ขิ องผเู รียนดว ยขอสอบมาตรฐานทจ่ี ดั ทําและดาํ เนินการโดยเขตพนื้ ที่การศกึ ษา หรอื ดวยความรวมมือกับ
หนวยงานตนสังกัด ในการดําเนินการจัดสอบ นอกจากน้ียังไดจากการตรวจสอบทบทวนขอมูลจากการประเมิน
ระดับสถานศกึ ษาในเขตพน้ื ท่ีการศึกษา

๔. การประเมินระดบั ชาติ เปน การประเมนิ คณุ ภาพผเู รยี นในระดับชาติตามมาตรฐานการเรียนรตู าม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน สถานศึกษาตองจัดใหผูเรยี นทกุ คนทีเ่ รียน ในชัน้ ประถมศึกษาปท ี่ ๓
ชัน้ ประถมศึกษาปท ี่ ๖ เขา รับการประเมนิ ผลจากการประเมนิ ใชเปน ขอมลู ในการเทยี บเคยี งคุณภาพการศึกษา
ในระดบั ตา ง ๆ เพอื่ นําไปใชในการวางแผนยกระดับคณุ ภาพการจดั การศึกษา ตลอดจนเปน ขอ มลู สนบั สนุนการ
ตดั สินใจในระดบั นโยบายของประเทศ

ขอ มูลการประเมนิ ในระดับตา งๆ ขา งตน เปนประโยชนตอ สถานศึกษาในการตรวจสอบทบทวนพฒั นา
คุณภาพผเู รียน ถอื เปน ภาระความรับผดิ ชอบของสถานศกึ ษาทจ่ี ะตองจัดระบบดูแลชวยเหลอื ปรับปรงุ แกไข
สง เสริมสนับสนนุ เพ่ือใหผ เู รยี นไดพ ฒั นาเต็มตามศกั ยภาพบนพ้ืนฐานความแตกตา งระหวางบุคคลทจี่ าํ แนกตาม
สภาพปญหาและความตองการ ไดแ ก กลุม ผเู รยี นท่ัวไป กลมุ ผูเรยี นทมี่ คี วามสามารถพเิ ศษ กลุมผูเรยี นท่ีมี
ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนตํ่า กลมุ ผูเ รยี นทีม่ ปี ญ หาดานวนิ ัยและพฤติกรรม กลมุ ผูเรียนทป่ี ฏเิ สธโรงเรยี น กลุมผเู รยี น
ท่ีมีปญ หาทางเศรษฐกิจและสังคม กลุมพิการทางรางกายและสติปญญา เปนตน ขอมูลจากการประเมินจึงเปน
หวั ใจของสถานศกึ ษาในการดําเนนิ การชวยเหลอื ผเู รียนไดทันทว งที ปดโอกาสใหผเู รยี นไดรับการพัฒนาและ
ประสบความสาํ เร็จในการเรียน

สถานศึกษาในฐานะผูรับผิดชอบจัดการศึกษา จะตองจัดทําระเบียบวาดวยการวัดและประเมินผลการ
เรียนของสถานศึกษาใหสอดคลองและเปนไปตามหลักเกณฑและแนวปฏิบัติท่ีเปนขอกําหนดของหลักสูตร
แกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน เพอ่ื ใหบุคลากรทเ่ี ก่ียวขอ งทุกฝายถือปฏบิ ตั ริ วมกนั
เกณฑการวดั และประเมินผลการเรยี น

๑. การตัดสนิ การใหร ะดับและการรายงานผลการเรยี น
๑.๑ การตัดสินผลการเรยี น
ในการตัดสนิ ผลการเรียนของกลุมสาระการเรยี นรู การอาน คดิ วิเคราะหแ ละเขียน คุณลกั ษณะ

อนั พงึ ประสงค และกิจกรรมพัฒนาผูเรยี นนั้น ผูส อนตอ งคํานึงถงึ การพฒั นาผเู รียนแตล ะคนเปนหลกั และตองเก็บ
ขอ มลู ของผเู รยี นทุกดานอยา งสม่าํ เสมอและตอเนื่องในแตละภาคเรยี น รวมท้ังสอนซอมเสริมผูเรียนใหพ ฒั นาจนเตม็
ตามศักยภาพ

ระดบั ประถมศึกษา
(๑) ผูเรียนตอ งมเี วลาเรียนไมนอ ยกวารอ ยละ ๘๐ ของเวลาเรยี นท้งั หมด
(๒) ผูเ รยี นตองไดรับการประเมินทกุ ตวั ชีว้ ัด และผานตามเกณฑทสี่ ถานศกึ ษากําหนด
(๓) ผูเรียนตองไดรบั การตัดสินผลการเรียนทุกรายวิชา
(๔) ผูเรียนตองไดรับการประเมนิ และมีผลการประเมนิ ผา นตามเกณฑท ีส่ ถานศึกษากาํ หนด ใน
การอา น คิดวเิ คราะห และเขียน คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค และกจิ กรรมพฒั นาผูเรยี น
การพิจารณาเลื่อนช้ัน ถาผูเรียนมีขอบกพรองเพียงเล็กนอย และสถานศึกษาพิจารณาเห็นวา
สามารถพัฒนาและสอนซอมเสริมได ใหอยูในดุลพินิจของสถานศึกษาท่ีจะผอนผันใหเล่ือนช้ันได แตหากผูเรียนไม
ผานรายวิชาจํานวนมาก และมีแนวโนมวาจะเปนปญหาตอการเรียนในระดับชั้นท่ีสูงข้ึน สถานศึกษาอาจตั้ง
คณะกรรมการพิจารณาใหเ รียนซาํ้ ชน้ั ได ทั้งนใี้ หค ํานึงถงึ วฒุ ภิ าวะและความรูค วามสามารถของผเู รียนเปน สําคัญ

๑๒๕

๑.๒ การใหระดบั ผลการเรยี น
ระดับประถมศึกษาในการตัดสินเพื่อใหระดับผลการเรียนรายวิชาสถานศึกษาสามารถใหระดับผล

การเรยี นหรือระดับคุณภาพการปฏิบัติของผูเรียน เปนระบบตัวเลข ระบบตัวอักษรระบบรอยละ และระบบที่ใช
คาํ สาํ คัญสะทอ นมาตรฐาน

การประเมินการอาน คิดวิเคราะหและเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงคนั้น ใหระดับผล การ
ประเมินเปน ดเี ยี่ยม ดี และผา น

การประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเรียน จะตองพิจารณาทั้งเวลาการเขารวมกิจกรรม การปฏิบัติกิจกรรม
และผลงานของผูเ รียน ตามเกณฑท ีส่ ถานศกึ ษากาํ หนด และใหผ ลการเขารว มกิจกรรมเปน ผา น และไมผา น

๑.๓ การรายงานผลการเรยี น
การรายงานผลการเรียนเปนการส่ือสารใหผูปกครองและผูเรียนทราบความกาวหนาในการเรียนรู

ของผูเรียน ซ่ึงสถานศึกษาตองสรุปผลการประเมินและจัดทําเอกสารรายงานใหผูปกครองทราบเปนระยะๆ หรือ
อยางนอยภาคเรยี นละ ๑ คร้ัง

การรายงานผลการเรยี นสามารถรายงานเปน ระดบั คุณภาพการปฏบิ ตั ิของผูเรยี นทสี่ ะทอนมาตรฐาน
การเรยี นรูกลุมสาระการเรียนรู
๒. เกณฑก ารจบการศึกษา

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน กําหนดเกณฑกลางสําหรับการจบการศึกษาเปน ๑ ระดับ คือ
ระดับประถมศกึ ษา

๒.๑ เกณฑก ารจบระดับประถมศึกษา
(๑) ผูเรียนเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน และรายวิชา/กิจกรรมเพ่ิมเติมตามโครงสรางเวลาเรียนท่ี

หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐานกําหนด
(๒) ผูเรียนตองมีผลการประเมินรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม ผานเกณฑการประเมินตามที่

สถานศึกษากาํ หนด
(๓) ผูเรยี นมีผลการประเมนิ การอา น คิดวเิ คราะห และเขยี นในระดบั ผา นเกณฑการประเมนิ

ตามทส่ี ถานศกึ ษากําหนด
(๔) ผูเรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคในระดับผานเกณฑการประเมินตามที่

สถานศึกษากําหนด
(๕) ผูเรียนเขารวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียนและมีผลการประเมินผานเกณฑการประเมินตามที่

สถานศกึ ษากําหนด
สําหรับการจบการศึกษาสําหรับกลุมเปาหมายเฉพาะ เชน การศึกษาเฉพาะทาง การศึกษาสําหรับผูมี

ความสามารถพิเศษ การศึกษาทางเลือก การศึกษาสําหรับผูดอยโอกาส การศึกษาตามอัธยาศัย ใหคณะกรรมการ
ของสถานศกึ ษา เขตพ้ืนท่ีการศึกษา และผูท่ีเกี่ยวของ ดําเนินการวัดและประเมินผล การเรียนรูตามหลักเกณฑใน
แนวปฏบิ ตั กิ ารวดั และประเมินผลการเรียนรูของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานสําหรับกลุมเปาหมาย
เฉพาะ
เอกสารหลักฐานการศึกษา

เอกสารหลักฐานการศึกษา เปนเอกสารสําคัญที่บันทึกผลการเรียน ขอมูลและสารสนเทศท่ีเก่ียวของกับ
พฒั นาการของผูเ รยี นในดานตาง ๆ แบงออกเปน ๒ ประเภท ดงั น้ี

๑. เอกสารหลกั ฐานการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธกิ ารกําหนด
๑.๑ ระเบียนแสดงผลการเรียน เปนเอกสารแสดงผลการเรียนและรับรองผลการเรียนของ

ผเู รยี นตามรายวิชา ผลการประเมนิ การอาน คิดวิเคราะหและเขียน ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคของ

๑๒๖

สถานศึกษา และผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผเู รยี น สถานศกึ ษาจะตองบันทกึ ขอ มลู และออกเอกสารนี้ใหผูเรียน
เปนรายบคุ คล เมอื่ ผูเ รยี นจบการศึกษาระดับประถมศกึ ษา (ช้นั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖)

๑.๒ แบบรายงานผูสําเร็จการศึกษา เปนเอกสารอนุมัติการจบหลักสูตรโดยบันทึกรายช่ือและ
ขอ มลู ของผจู บการศกึ ษาระดบั ประถมศึกษา (ช้ันประถมศกึ ษาปที่ ๖)

๒. เอกสารหลักฐานการศกึ ษาทสี่ ถานศึกษากําหนด
เปนเอกสารที่สถานศึกษาจัดทําขึ้นเพื่อบันทึกพัฒนาการ ผลการเรียนรู และขอมูลสําคัญ เก่ียวกับผูเรียน
เชน แบบรายงานประจําตัวนกั เรยี น แบบบันทกึ ผลการเรยี นประจํารายวิชา ระเบียนสะสม ใบรับรองผลการเรียน
และ เอกสารอ่ืนๆ ตามวตั ถุประสงคของการนําเอกสารไปใช
การเทยี บโอนผลการเรียน
สถานศกึ ษาสามารถเทียบโอนผลการเรียนของผูเรียนในกรณีตางๆไดแก การยายสถานศึกษา การเปลี่ยน
รปู แบบการศึกษา การยายหลักสูตร การออกกลางคันและขอกลับเขารับการศึกษาตอ การศึกษาจากตางประเทศ
และขอเขาศึกษาตอในประเทศ นอกจากน้ี ยังสามารถเทียบโอนความรู ทักษะ ประสบการณจากแหลงการเรียนรู
อน่ื ๆ เชน สถานประกอบการ สถาบันศาสนา สถาบนั การฝกอบรมอาชีพ การจัดการศึกษาโดยครอบครวั
การเทียบโอนผลการเรียนควรดําเนินการในชวงกอนเปดภาคเรียนแรก หรือตนภาคเรียนแรก ท่ี
สถานศึกษารับผูขอเทียบโอนเปนผูเรียน ท้ังนี้ ผูเรียนที่ไดรับการเทียบโอนผลการเรียนตองศึกษาตอเน่ืองใน
สถานศึกษาท่ีรับเทียบโอนอยางนอย ๑ ภาคเรียน โดยสถานศึกษาที่รับผูเรียนจากการเทียบโอนควรกําหนด
รายวชิ า/จาํ นวนหนวยกติ ทจ่ี ะรับเทียบโอนตามความเหมาะสม
การพจิ ารณาการเทียบโอน สามารถดาํ เนนิ การได ดังนี้
๑. พจิ ารณาจากหลกั ฐานการศกึ ษา และเอกสารอืน่ ๆ ทใ่ี หข อมูลแสดงความรู ความสามารถของผูเ รียน
๒. พิจารณาจากความรู ความสามารถของผูเรยี นโดยการทดสอบดว ยวิธีการตางๆ ทั้งภาคความรแู ละ
ภาคปฏิบัติ
๓. พจิ ารณาจากความสามารถและการปฏบิ ัติในสภาพจรงิ
การเทียบโอนผลการเรยี นใหเ ปนไปตาม ประกาศ หรือ แนวปฏิบัติ ของกระทรวงศกึ ษาธิการ
การบริหารจัดการหลกั สตู ร
ในระบบการศึกษาที่มีการกระจายอํานาจใหทองถิ่นและสถานศึกษามีบทบาทในการพัฒนาหลักสูตรนั้น
หนวยงานตางๆ ที่เก่ียวขอ งในแตละระดบั ตั้งแตระดับชาติ ระดับทองถิ่น จนถึงระดับสถานศึกษา มีบทบาทหนาท่ี
และความรับผิดชอบในการพัฒนา สนับสนุน สงเสริม การใชและพัฒนาหลักสูตรใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ
เพอ่ื ใหการดาํ เนินการจัดทาํ หลกั สูตรสถานศกึ ษาและการจดั การเรยี นการสอนของสถานศึกษามีประสิทธิภาพสูงสุด
อันจะสง ผลใหก ารพัฒนาคุณภาพผเู รียนบรรลตุ ามมาตรฐานการเรียนรทู ก่ี ําหนดไวใ นระดบั ชาติ
ระดับทองถิ่น ไดแก สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา หนวยงานตนสังกัดอ่ืน ๆ เปนหนวยงานที่มีบทบาทใน
การขับเคล่ือนคุณภาพการจัดการศึกษา เปนตัวกลางที่จะเช่ือมโยงหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานท่ี
กําหนดในระดับชาติใหสอดคลองกับสภาพและความตองการของทองถ่ิน เพื่อนําไปสูการจัดทําหลักสูตรของ
สถานศึกษา สงเสริมการใชและพัฒนาหลักสูตรในระดับสถานศึกษา ใหประสบความสําเร็จ โดยมีภารกิจสําคัญ
คอื กาํ หนดเปาหมายและจุดเนนการพฒั นาคุณภาพผเู รยี น ในระดบั ทอ งถน่ิ โดยพิจารณาใหสอดคลองกับส่ิงที่เปน
ความตองการในระดับชาติ พัฒนาสาระ การเรียนรูทองถ่ิน ประเมินคุณภาพการศึกษาในระดับทองถิ่น รวมทั้ง
เพ่ิมพูนคุณภาพการใชหลักสูตรดวยการวิจัยและพัฒนา การพัฒนาบุคลากร สนับสนุน สงเสริม ติดตามผล
ประเมินผล วเิ คราะห และรายงานผลคุณภาพของผูเ รยี น

๑๒๗

สถานศกึ ษามหี นาท่ีสําคญั ในการพัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษา การวางแผนและดําเนินการใชห ลักสูตร การ
เพ่ิมพนู คุณภาพการใชห ลักสูตรดวยการวจิ ยั และพฒั นา การปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรจัดทําระเบียบการวัดและ
ประเมินผล ในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาตองพิจารณาใหสอดคลอง กับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พืน้ ฐาน และรายละเอียดท่เี ขตพ้ืนที่การศึกษา หรอื หนวยงาน สังกดั อื่นๆ ในระดับทองถ่ินไดจัดทําเพิ่มเติม รวมท้ัง
สถานศึกษาสามารถเพิ่มเตมิ ในสวนท่เี ก่ียวกับสภาพปญ หาในชมุ ชนและสังคม ภูมิปญ ญาทองถน่ิ และความตองการ
ของผูเรียน โดยทุกภาคสวนเขามามีสวนรวมในการพฒั นาหลักสูตรสถานศกึ ษา

๑๒๘

๑๒๙

๑๓๐

๑๓๑

๑๓๒

๑๓๓

๑๓๔

๑๓๕

๑๓๖

๑๓๗

๑๓๘

๑๓๙

๑๔๐

๑๔๑

๑๔๒

โรงเรียนสังฆรกั ษบาํ รุง


Click to View FlipBook Version