The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 6112404001144, 2021-03-31 06:43:52

วามสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ระบบการเป็นพี่เลี้ยงกับประสิทธิภาพของเจ้าหน้าที่บริษัทกรีนเดย์ 2019 อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี

นางสาวกชามาส ทองเสมียน
รหัสนักศึกษา 6112404001144
กลุ่มเรียน 61056.121

รายงานการวจิ ยั
ความสมั พันธร์ ะหวา่ งการรบั รรู้ ะบบการเป็นพเี่ ล้ียงกบั ประสทิ ธภิ าพของเจา้ หนา้ ที่

บริษทั กรีนเดย์ 2019 อาเภอเมือง จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี

โดย
นางสาวกชามาส ทองเสมียน
รหสั นกั ศกึ ษา6112404001144 กลุ่มเรียน61056.121

คณะวิทยาการจดั การ แขนงวิชาการบริหารทรพั ยากรมนษุ ย์
มหาวิทยาลยั ราชภัฏสรุ าษฎร์ธานี ปกี ารศกึ ษา 2563



ชอ่ื การคน้ คว้า บทคัดย่อ

ผู้จดั ทา ความสัมพันธ์ระหว่างการรบั รรู้ ะบบการเปน็ พีเ่ ล้ยี งกบั
ชอื่ ปรญิ ญา ประสิทธภิ าพการทางานของเจา้ หน้าทบี่ ริษทั กรีนเดย์
สาขาวชิ า 2019 จากัด อาเภอเมอื ง จงั หวดั สุราษฎร์ธานี
ปีการศึกษา นางสาวกชามาส ทองเสมยี น
อาจารย์ท่ีปรึกษา บรหิ ารธุรกจิ มหาบัณฑิต
บรหิ ารทรัพยากรมนษุ ย์
2563
ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนายุ ภวู่ ทิ ยาธร

ก า ร วิ จั ย ค ร้ั ง น้ี มี วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ เ พื่ อ ศึ ก ษ า ร ะ บ บ ก า ร เ ป็ น พ่ี เ ล้ี ย ง กั บ
ประสิทธิภาพการทางานของเจา้ หน้าท่ีบรษิ ัทกรีนเดย์ 2019 จากัด อาเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี
เก็บรวบรวมข้อมูลโดยแบบสอบถามจานวน 59 คน สมุ่ กลุ่มตัวอย่างโดยตาราง Kreici and Morgan
และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย(Mean)ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน
(Standard deviation) การแจงแจงความถี่(frequency) และร้อยละ(Percentage) ใช้สถิติ
Independent Sampies Test และ One way ANOVA ผลการศึกษาวิจัยของข้อมูลปัจจัยส่วน
บุคคลพบว่า สว่ นใหญ่เป็นเพศหญิงร้อยละ81.4 และวุฒกิ ารศกึ ษาส่วนใหญ่เป็นปริญญาตรีร้อยละ
62.7

ผลจากการวิจยั พบว่า ผ้ตู อบแบบสอบถามมีความคิดเห็นเก่ียวกบั ระบบพี่เล้ยี งของเจ้าหน้าที่
โดยรวมพบวา่ อย่ใู นระดับมากทสี่ ุด เม่ือพจิ ารณารายด้านพบวา่ อยใู่ นระดับมากท่ีสุด จานวน 4 ด้าน
เรยี งตามลาดับจากมากท่ีสุดไปหาน้อยท่ีสุด ได้แก่ ด้านประสิทธิภาพการทางานเชิงบวกของพี่เล้ียง
ด้านการสอน ดา้ นการใหค้ าปรึกษา และดา้ นกระตนุ้ ใหเ้ กิดการเรียนรู้

ผลลัพธ์ที่ได้จากการวิจัยในครั้งนี้ สามารถข้อมูลท่ีได้จากการวิจัยในคร้ังนี้นาไปใช้ในการ
ปรับปรุงพัฒนาพนักงานบริษัทกรียเดย์ 2019 จากัด อาเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ให้สามารถ
ปฏบิ ัตงิ านไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ซึง่ จะมีสว่ นชว่ ยให้บริษัทประสบความสาเรจ็ ตามเปา้ หมาย

คาสาคัญ : ประสทิ ธิภาพในการทางานของพนักงานบริษัทกรีนเดย์ 2019 จากดั อาเภอเมือง จังหวัด
สรุ าษฎรธ์ านี



สารบัญ

เร่ือง หนา้

บทคดั ยอ่ ............................................................................................................................. ก
สารบญั ................................................................................................................................ ข
สารบัญตาราง .......................................................................................................................ง
สารบญั ภาพ......................................................................................................................... จ
บทที่ 1 บทนา...................................................................................................................... 1
ความสาคัญและความเปน็ มาของปญั หา............................................................................... 1
วัตถุประสงค์การวจิ ยั ........................................................................................................... 2
ประโยชน์การวจิ ัย................................................................................................................ 2
กรอบแนวคดิ ....................................................................................................................... 2
สมมุติฐานการวิจัย............................................................................................................... 2
นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ................................................................................................................. 3
บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม........................................................................................... 4

บรบิ ทบริษัทกรนี เดย2์ 019 จากัด................................................................................... 4
แนวคดิ และทฤษฎีคณุ ภาพในการทางาน........................................................................ 5

ระบบพเี่ ลยี้ งดา้ นการแนะนา.................................................................................... 6
ระบบพีเ่ ลย้ี งดา้ นการใหค้ าปรึกษา ........................................................................... 7
ระบบพี่เลยี้ งดา้ นประสิทธภิ าพการทางานเชงิ บวกของพี่เล้ยี ง................................... 8
ระบบพเ่ี ล้ียงด้านการสอน........................................................................................ 9
ระบบพ่ีเล้ียงดา้ นกระตนุ้ ให้เกิดการเรียนรู้.............................................................. 10
บทท่ี 3 วิธกี ารดาเนนิ การวจิ ัย............................................................................................ 11
ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง .......................................................................................... 11
เคร่ืองมือท่ใี ช้ในการวจิ ัย .............................................................................................. 12
การทดสอบคณุ ภาพเคร่ืองมอื ...................................................................................... 12
การเกบ็ รวบรวมข้อมูล ................................................................................................. 13



การวิเคราะหข์ ้อมลู ...................................................................................................... 13
บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู ........................................................................................... 14
บทท่ี 5 สรปุ อภิปรายผลการวจิ ัย ขอ้ เสนอแนะ................................................................. 19

สรปุ ผลการวจิ ยั ............................................................................................................ 19
อภปิ รายผลการวจิ ัย..................................................................................................... 19
ข้อเสนอแนะการวจิ ัย................................................................................................... 21
บรรณานกุ รม..................................................................................................................... 22
ภาคผนวก.......................................................................................................................... 24
ภาคผนวก ก เคร่ืองมือการวจิ ยั .......................................................................................... 24

แบบสอบถาม......................................................................................................... 28
ภาคผนวก ข เครื่องมอื การวิจัย.................................................................................... 29

แบบทดสอบความเท่ียงตรงเชงิ เนอ้ื หา IOC ของ แบบสอบถาม.............................. 29
ชื่อเรื่องงานวจิ ยั ความสมั พนั ธ์ระหว่างการรบั ร้รู ะบบการเปน็ พเี่ ลี้ยงกับประสทิ ธภิ าพ
ของเจ้าหนา้ ทบ่ี รษิ ทั กรนี เดย์ 2019 จากดั ........................................................................... 29
อาเภอเมอื ง จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี............................................................................ 29
วัถตปุ ระสงคก์ ารวิจัย ................................................................................................... 29
กรอบแนวคิด............................................................................................................... 29
ภาคผนวก ค ................................................................................................................ 31
ภาคผนวก ง................................................................................................................. 32



สารบญั ตาราง

ตารางท่ี 2. 1ตารางสังเคราะหค์ ุณภาพในการทางาน.......................................................................... 5
ตารางท่ี 3. 1 ตารางแสดงจานวนพนักงานบริษทั กรยี นเดย์2019 จากดั ............................................11
ตารางที่ 3. 2 ตารางรายชื่อกลุ่มตัวอยา่ ง.......................................................................................... 11
ตารางท่ี 4. 1จานวนและรอ้ ยละของปจั จัยส่วนบุคคลของผตู้ อบแบบสอบถาม..................................14
ตารางที่ 4. 2 ค่าเฉลย่ี และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานระบบพเ่ี ลยี้ งในการทางานบรษิ ัทกรนี เดย์ 2019

จากัด อาเภอเมือง จงั หวัดสุราษฎร์ธาน.ี ............................................................................... 15
ตารางที่ 4. 3 คา่ เฉล่ยี และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานของระบบพีเ่ ลีย้ งด้านประสทิ ธิภาพการทางานเชงิ

บวกของพเี่ ลี้ยงของบรษิ ัทกรนี เดย์ 2019 จากัด จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี ................................... 15
ตารางท่ี 4. 4 คา่ เฉลย่ี และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานของระบบพเี่ ลี้ยงด้านการสอนของบริษัทกรนี เดย์

2019 จากัด จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี......................................................................................... 16
ตารางที่ 4. 5 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานของระบบพเี่ ล้ียงด้านการให้คาปรกึ ษาของบรษิ ัท

กรนี เดย์ 2019 จากัด จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี ........................................................................... 17
ตารางที่ 4. 6คา่ เฉลย่ี และส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานของระบบพเี่ ลี้ยงด้านกระตุ้นให้เกิดการเรยี นรู้ของ

บริษัทกรนี เดย์ 2019 จากัด จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี ................................................................. 17
ตารางท่ี 4. 7การวิเคราะห์เปรียบเทียบระบบพ่ีเลย้ี งบรษิ ทั กรนี เดย์ จากดั อาเภอเมอื ง จงั หวัดสุ

ราษฎรธ์ านี จาแนกตามเพศ................................................................................................. 18
ตารางท่ี 4. 8การวิเคราะห์เปรียบเทยี บระบบพเี่ ลี้ยงบริษัทกรีนเดย์ จากดั อาเภอเมอื ง จงั หวดั สุ

ราษฎร์ธานี จาแนกตามวฒุ กิ ารศึกษา.................................................................................. 18



สารบญั ภาพ

ภาพท่ี 1 ตัวแปรตน้ และตวั แปรตาม................................................................................................... 2

บทท่ี 1 บทนา

ความสาคัญและความเป็นมาของปัญหา

เร่ิมต้นดว้ ยปัจจุบันองค์กรตา่ ง ๆ อยูใ่ นสภาพแวดล้อมท่ีมีการแข่งขันสูง มีการเปลี่ยนแปลง
เกิดข้ึนอย่างตอ่ เนอื่ ง เป็นเหตใุ ห้ทกุ หน่วยงานในองค์กรตา่ งไดร้ ับผลกระทบ องค์กรจึงต้องปรับตัวให้
สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม และต้อง เปล่ียนแปลงตนเองอยู่เสมอ ลงท้ายด้วย ท้ังนี้ เพ่ือความอยู่
รอดในโลกของการแขง่ ขันในปจั จุบัน (เนตรพ์ ณั ณา ยาวิราช, 2549 : 202) รวมทั้งหน่วยงานราชการ
ท่ีตอ้ งเร่งสร้างความเข้มแข็งและความมีประสทิ ธภิ าพให้เกดิ ขนึ้

เร่ิมต้นด้วยการบริหารจัดการของหน่วยงานราชการจึงกาลังเผชิญความท้าทายเกี่ยวกับ
ประสิทธภิ าพ ความรวดเรว็ ในการปฏิบัติงาน เพื่อการขับเคลือ่ นยทุ ธศาสตร์ของหนว่ ยงานใหบ้ รรลผุ ล
สาเรจ็ ตามเปา้ หมายท่ตี ้งั ไว้ ให้สอดคล้อง กับพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร
กิจการบ้านเมอื งที่ดี พ.ศ. 2546 บัญญัติไว้ว่า ส่วนราชการ ต้องบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพ
และแสดงความคุ้มค่าในเชิงภารกิจภาครัฐ เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานภาครัฐ ทุกภาคส่วนจาเป็นต้อง
ได้รบั การพัฒนา ปรบั เปลย่ี นทัศนคติ วฒั นธรรม ค่านิยม พัฒนาความรู้ และทักษะในการปฏิบัติงาน
ลงท้ายด้วย เน่ืองจากการทางานรูปแบบใหม่มุ่งเน้นที่ผลงาน มีการกาหนดค่าเป้าหมาย ตัวชี้วัด
ผลงานทชี่ ดั เจน มกี ารปรบั ปรุงระบบการทางานโดยการการพฒั นาทรพั ยากรบุคคลให้มีประสิทธิภาพ
จึงถอื เปน็ กิจกรรมท่ีมีความสาคัญต่อการเพิ่มขีดความสามารถ และพัฒนาองค์กรให้เป็นองค์กรท่ีมี
ศกั ยภาพ ซงึ่ ต้องอยู่บนพื้นฐานความรู้ (Knowledge Based) ทีต่ ้องอาศัย ความสามารถของบคุ ลากร
องค์ความรู้ และการบรหิ ารจดั การองค์การที่ดี (สุจิตรา ธนานันท์, 2551 : 11) ระบบการเป็นพ่ีเลี้ยง
(Mentoring System) เป็นอกี รูปแบบหนงึ่ ของการพฒั นาบคุ ลากรในองคก์ ร โดยผู้ทม่ี ีระดบั ตาแหนง่
สูงกว่าเป็นผู้ให้คาปรึกษาแนะนา และความช่วยเหลือแก่ผู้ที่มีระดับตาแหน่งต่ากว่า เพ่ือให้มี
ความสามารถ ในการปฏบิ ัติงานสูงขึ้น โดยเรยี กผูท้ าหน้าท่นี ั้นวา่ พีเ่ ลย้ี ง (Mentor) และบคุ คลท่ไี ด้รับ
การดูแลจากผู้ท่ีเป็นพ่ีเล้ียง เรียกว่า น้องเล้ียง (Mentee) (อาภรณ์ ภู่วิทยพันธ์ุ, 2549 : 22) เป็น
วิธีการให้ความรู้ลงท้ายด้วยหรือถ่ายทอดความรู้จากบุคคลหนึ่งสู่อีกคนหน่ึงเพ่ือช่วยพัฒนาความรู้
ความสามารถของบุคลากรใหเ้ พ่ิมประสิทธิภาพและประสิทธผิ ล ตลอดจนเสริมสรา้ งขดี ความสามารถ
ในการทางานได้เป็นอย่างดี (พรธิดา วิเชียรปัญญา, 2547 : 75) อีกท้ังทาให้ ความรู้ที่มีค่ายังอยู่กับ
องคก์ รอีกด้วย

จากเหตุการณ์ที่กล่าวมาข้างต้น ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาวิจัยระบบการเป็นพี่เล้ียงกั บ
ประสทิ ธภิ าพการทางานของเจา้ หน้าท่ี บรษิ ทั กรนี เดย์ 2019 จากัด โดยมวี ตั ถุประสงคเ์ พอื่ ทดสอบว่า
ความสามารถในการปฏิบัตงิ านตามระเบียบมีความสัมพันธ์ระบบการเป็นพี่เลี้ยงกับประสิทธิภาพใน
การทางานหรือไม่อย่างไรซึ่งทาการเก็บรวบรวมข้อมูลจากพนักงาน บริษัทกรีนเดย์ 2019 จากัด
ผลลัพธ์ท่ีได้จากการวิจัยสามารถนาไปใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนกาหนดทิศทางการทางานของ

2

พนักงานในองคก์ รใหส้ อดคล้องกับความสามารถในการปฏิบัตงิ านตามระเบยี บเพ่ือให้มีประสิทธิภาพ
ในการทางานเพมิ่ ข้นึ

วตั ถุประสงค์การวจิ ยั

เพื่อทดสอบความสมั พันธร์ ะหว่างการรับรู้ระบบการเปน็ พเี่ ลย้ี งกบั ประสิทธิภาพการทางาน
ของเจา้ หน้าทบี่ ริษัทกรนี เดย์ 2019

ประโยชน์การวิจยั

เพ่ือใหเ้ จา้ หนา้ ที่มสี ัมพันธภาพทด่ี กี ับหวั หน้างาน มองเหน็ อนาคตและความกา้ วหนา้ ของ
ตนเอง พฒั นาตนเอง และพัฒนางานใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ

กรอบแนวคดิ

ตวั แปรอสิ ระ ตวั แปรตาม

ข้อมูลสว่ นบคุ คล ระบบพ่เี ลี้ยงกับ
- เพศ ประสิทธภิ าพการทางานของเจ้าหนา้ ท่ี
- วุฒกิ ารศึกษา
- ด้านประสทิ ธภิ าพการทางาน
ภาพท่ี 1 ตวั แปรตน้ และตัวแปรตา เชิงบวกของพ่เี ล้ียง

- ดา้ นการสอน
- ดา้ นการให้คาปรึกษา
- ด้านกระตนุ้ ใหเ้ กิดการเรยี นรู้

สมมุติฐานการวิจัย

ระบบพี่เล้ยี งและตาแหนง่ งานของเจ้าหนา้ ทท่ี ีแ่ ตกต่างกัน

3

นิยามศพั ท์เฉพาะ

ระบบพี่เลี้ยงหมายถึงทเี่ กิดจากความสัมพันธ์ระหว่างพนักงานที่มีประสบการณ์มากกว่ากับ
พนักงานที่มีประสบการณ์น้อย โดยพ่ีเล้ียงหรือผู้ท่ีมีประสบการณ์สูงจะทาหน้าที่ในการคาปรึกษา
แนะนา ผสู้ อนงาน และสนับสนุนการพฒั นาศักยภาพในการทางานให้กบั พนักงานที่อ่อนประสบการณ์
ระบบพเ่ี ลี้ยงถกู นามาใช้เป็นเครอ่ื งมือของการจดั การความรู้ในแง่ของการถ่ายทอดความรู้ระหว่างผู้ที่
ประสบการณ์มากกวา่ และเพือ่ นร่วมงานทมี่ ปี ระสบการณน์ ้อยกว่า เพือ่ ให้แน่ใจได้ว่า ความรู้ยังคงอยู่
ในองค์กร

ระบบพี่เลี้ยงด้านการแนะนา หมายถึงกระบวนการช่วยเหลือบุคคลให้เข้าใจตนเองและ
ส่ิงแวดลอ้ ม สร้างเสริมให้เขามคี ณุ ภาพเหมาะสมตามความแตกต่างระหว่างบุคคล ค้นพบและพัฒนา
ศักยภาพของตน มีทักษะการดาเนินชวี ิต มวี ฒุ ิภาวะทางอารมณ์ ศลี ธรรม จรยิ ธรรม รู้จักการเรยี นรู้ใน
เชิงพหุปัญหา รู้จักคิด ตัดสินใจ แก้ปัญหาในช่วงวิกฤติ วางแผนการศึกษาต่อ ประกอบอาชีพ และ
สามารถปรบั ตัวได้อย่างมีความสุขในชีวติ ไดพ้ ฒั นาตนเองใหถ้ งึ ขีดสุด ในทุกดา้ น

ระบบพเ่ี ล้ียงด้านการให้คาปรกึ ษา หมายถึงกระบวนการทมี่ ปี ฏสิ ัมพนั ธร์ ะหว่างบุคคล อาศัย
การสือ่ สารสองทาง ระหวา่ งบุคคลหน่ึงในฐานะผู้ให้การปรกึ ษา(counselor ) ซ่ึงทาหน้าท่ีเอื้ออานวย
ใหอ้ ีกฝ่ายหนึ่งซึ่งเปน็ ผู้รบั การปรึกษา ( client ) ได้สารวจและทาความเข้าใจ ส่ิงที่เป็นปัญหา และ
แสวงหาหนทางแกไ้ ขปญั หาเหล่านัน้ ไดด้ ว้ ยตนเอง

ระบบพเ่ี ลยี้ งดา้ นการสอน หมายถึง การใชว้ ิธกี ารสอนท่กี อ่ ใหเ้ กิดการพัฒนาด้านสติปัญญา
ขนั้ ตน้ เปน็ การพฒั นาทางสมองในการเกบ็ รกั ษาเรอ่ื งราว ขอ้ มูล เทจ็ จริง เนน้ ความสามารถในการจา
ความรตู้ า่ งๆ เช่น การจากฎ หลักเกณฑ์ ทฤษฎตี ่างๆ ได้

ระบบพี่เลยี้ งดา้ นกระต้นุ ให้เกดิ การเรยี นรู้ หมายถงึ การะบวนการทีเ่ กิดข้นึ ภายในตัวบคุ คลท่ี
กระตุน้ ใหแ้ สดงพฤตกิ รรมไปตามเปา้ หมายหรือจุดมุ่งหมายทีต่ ั้งไว้

บทท่ี 2 การทบทวนวรรณกรรม

บรบิ ทบริษัทกรนี เดย2์ 019 จากดั

บริษัท กรีนเดย์ 2019 จากัด
Green Day Company (2019) Co, Ltd.

บรษิ ัท กรนี เดย์ 2019 จากัด ประกอบกจิ การ ผลไม้กระป๋อง

วิสัยทศั น์ (Vison)
เรามงุ่ ม่ันสกู่ ารเป็นผผู้ ลติ ทางด้านการแปรรปู ผลิตผลทางการเกษตรช้นั นาที่มีคุณภาพและ
ปลอดภยั ตามมาตรฐานสากลโลก

พนั ธกิจ (Misson)
• ผลิตสนิ ค้าทีไ่ ด้มาตรฐานคณุ ภาพจดั สง่ สนิ ค้าตรงเวลาลูกคา้ พงึ พอใจ
• ดาเนนิ ธรุ กิจเพือ่ สรา้ งผลตอบแทนอย่างยุติธรรมให้แกค่ ณุ ผูล้ งทุน พนักงานและองคก์ ร
• สรา้ งความสามารถสมั พันธ์กบั ลกู คา้ เพอ่ื เป็นพันธมติ รทางการค้าท่ีไดร้ บั ความสามารถไวว้ างใจใน
บริษัทจากดั ระยะยาว
• พนกั งานมีส่วนรว่ มในบรษิ ัทในดา้ นการพัฒนาองคก์ รอย่างตอ่ เน่อื งเพอ่ื สรา้ งความมัน่ คง ก้าวหนา้
อยา่ งย่ังยนื
• ใหค้ วามสาคัญในบริษัทด้านการพัฒนาบุคลากรและเทคโนโลยีในการผลติ เพื่อม่งุ ส่รู ะดบั สากล

5

แนวคดิ และทฤษฎคี ณุ ภาพในการทางาน

ตารางที่ 2. 1ตารางสังเคราะห์คณุ ภาพในการทางาน

ดา้ น ดอกคณู ศรสี ุ ทัศนีย์ ธน ยุพร แกว้ แสน กณุ ฑรี า อาษาศร,ี อรวรรณ วิชา ผ้วู จิ ยั
ธรรม,ปพฤกษ์ อนนั ต,์ ปพ เมอื ง, นติ ิพงษ์ นภาภรณ์ พลนกิ ร ลยั , นภาภรณ์
ดา้ นการ อุตสาหะ ฤกษ์ อุตสาหะ ส่งศรโื รจน์ และ กจิ และ จรวย สา พลนิกรกจิ และ /
แนะนา วาณิชกจิ และ วาณิชกจิ และ เกสินี หมืน่ ไธสง วิถี (2553) จรวย สาวถิ ี /
สุธนา ธญั ญ นิตพิ งษ์ ส่งศรี (2553) (2553) /
ดา้ นการให้ ขันธ์(2553) โรจน์ (2553) /
คาปรกึ ษา / / /
/ / /
ดา้ นการ / /
สอน / /

ด้านกระตนุ้ /
ใหเ้ กิดการเรียนรู้
/
ดา้ น
ประสทิ ธภิ าพการ
ทางานเชงิ บวกของพี่
เล้ยี ง

6

ระบบพี่เลี้ยงดา้ นการแนะนา
(ศรืสุธรรม, อุตสาหะวาณิชกิจ, & ธัญญขันธ์, 2553)ได้ให้ความหมายของระบบพ่ีเลี้ยงด้าน
การแนะนา หมายถึงกระบวนการชว่ ยเหลอื บุคคลให้เขา้ ใจตนเองและสิ่งแวดล้อม สร้างเสริมให้เขามี
คณุ ภาพเหมาะสมตามความแตกต่างระหว่างบุคคล ค้นพบและพัฒนาศักยภาพของตน มีทักษะการ
ดาเนินชีวิต มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ ศีลธรรม จริยธรรม รู้จักการเรียนรู้ในเชิงพหุปั ญหา รู้จักคิด
ตดั สนิ ใจ แก้ปญั หาในชว่ งวกิ ฤติ วางแผนการศึกษาตอ่ ประกอบอาชีพ และสามารถปรับตัวได้อย่างมี
ความสุขในชีวิตไดพ้ ฒั นาตนเองใหถ้ ึงขีดสดุ ในทุกด้าน
ผู้วิจัย สรุปความหมายของระบบพี่เล้ียงด้านการแนะนา หมายถึง กระบวนการช่วยเหลือ
บุคคลใหเ้ ขา้ ใจตนเองและสง่ิ แวดล้อม สรา้ งเสรมิ ใหเ้ ขามีคณุ ภาพเหมาะสมตามความแตกต่างระหว่าง
บคุ คล ค้นพบและพัฒนาศักยภาพของตน มีทักษะการดาเนินชีวิต มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ ศีลธรรม
จรยิ ธรรม รจู้ ักการเรียนรใู้ นเชิงพหปุ ญั หา ร้จู ักคดิ ตดั สินใจ แก้ปัญหาในช่วงวกิ ฤติ วางแผนการศึกษา
ต่อ ประกอบอาชพี และสามารถปรับตัวได้อย่างมีความสุขในชีวิตได้พัฒนาตนเองให้ถึงขีดสุด ในทุก
ดา้ น

7

ระบบพีเ่ ล้ยี งด้านการให้คาปรึกษา
(ศรสื ธุ รรม, อตุ สาหะวาณชิ กจิ , และ ธัญญขันธ,์ 2553)ไดใ้ หค้ วามหมายของระบบพ่เี ลี้ยงดา้ น
การใหค้ าปรกึ ษา หมายถงึ กระบวนการทม่ี ปี ฏิสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบุคคล อาศยั การสื่อสารสองทาง
ระหว่างบุคคลหนง่ึ ในฐานะผูใ้ หก้ ารปรึกษา(counselor ) ซ่งึ ทาหนา้ ทเี่ ออื้ อานวยใหอ้ กี ฝ่ายหน่ึงซง่ึ เป็น
ผรู้ บั การปรกึ ษา ( client ) ไดส้ ารวจและทาความเข้าใจ สงิ่ ทเี่ ปน็ ปญั หา และแสวงหาหนทางแกไ้ ข
ปัญหาเหล่าน้ันได้ด้วยตนเอง
(ธนอนันต์ตระกลู , อตุ สาหะวาณิชกจิ , & สง่ ศรโี รจน,์ 2553)ไดใ้ หค้ วามหมายของระบบพเี่ ล้ยี ง
ด้านการให้คาปรกึ ษา หมายถึง หมายถงึ วธิ กี ารแหง่ การสร้างความสัมพนั ธ์และการตอบสนองต่อผูอ้ น่ื
โดยมจี ดุ ประสงคเ์ พ่ือเปน็ โอกาสใหบ้ คุ คลได้สารวจตนเอง ทาชีวติ ให้ชัดเจนข้นึ และใชช้ วี ิตในทางที่น่า
พงึ พอใจและสร้างสรรค์
ผู้วิจัย สรุปความหมายของระบบพี่เลี้ยงด้านการให้คาปรึกษา หมายถึง กระบวนการท่ีมี
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล อาศัยการส่ือสารสองทาง ระหว่างบุคคลหนึ่งในฐานะผู้ให้การปรึกษา
(counselor ) ซง่ึ ทาหน้าท่ีเออ้ื อานวยใหอ้ ีกฝา่ ยหนึ่งซง่ึ เป็น ผู้รบั การปรึกษา ( client ) ได้สารวจและ
ทาความเขา้ ใจ ส่งิ ท่ีเปน็ ปัญหา และแสวงหาหนทางแก้ไขปญั หาเหลา่ น้ันไดด้ ว้ ยตนเอง วิธีการแห่งการ
สรา้ งความสมั พันธแ์ ละการตอบสนองตอ่ ผูอ้ ่นื โดยมีจดุ ประสงคเ์ พ่อื เปน็ โอกาส

8

ระบบพีเ่ ล้ยี งดา้ นประสทิ ธิภาพการทางานเชิงบวกของพ่ีเลยี้ ง
(ธนอนันตต์ ระกูล, อุตสาหะวาณชิ กิจ, และ ส่งศรีโรจน์, 2553)ได้ให้ความหมายของระบบพ่ี
เล้ียงด้านประสิทธิภาพการทางานเชิงบวกของพ่ีเล้ียงหมายถึงประสบการณ์ ความรู้ และความ
เชย่ี วชาญในงานที่ทา เต็มใจที่จะสอน ถ่ายทอดองค์ความรู้ท่ีมีและเต็มใจที่จะพัฒนาคนใหม่ๆอย่าง
เต็มที่ ให้คาปรึกษาและการสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนกล้าที่จะให้ feedback อย่าง
ตรงไปตรงมาอยา่ งจรงิ ใจเพ่ือใหเ้ กิดการพัฒนาอย่างตอ่ เนอื่ ง
(แก้วแสนเมือง, ส่งศรีโรจน์, & หม่ือไธสง, 2553)ได้ให้ความหมายของระบบพี่เลี้ยงด้าน
ประสิทธิภาพการทางานเชิงบวกของพี่เลี้ยงหมายถึงผู้ให้คาปรึกษาท่ีดีคือการให้คาแนะนาและ
ขอ้ เสนอแนะท่ีสรา้ งสรรค์ เพ่ือพนกั งานใหมจ่ ะสามารถเติบโตและพัฒนาได้มากท่ีสุด พี่เลี้ยงที่ดีควรมี
ทักษะการสื่อสารทด่ี ี จะชว่ ยใหผ้ รู้ บั คาปรกึ ษาเกดิ การพฒั นาอาชีพและความรู้สึกของความสาเร็จใน
การเรยี นรู้ในสนามการทางานจรงิ ได้
(อาษาศรี, พลนิกรกจิ , & สาวถิ ี, 2553)ให้ความหมายของระบบพ่เี ลย้ี งดา้ นประสิทธิภาพการ
ทางานเชงิ บวกของพ่ีเลยี้ งหมายถงึ ความเหน็ ในคณุ คา่ ขององคก์ ร เพ่ือที่จะสามารถถา่ ยทอดวฒั นธรรม
การทางานทส่ี อดคลอ้ งกับองค์กรให้กบั นอ้ งเล้ียง เพอ่ื มุง่ มนั่ ผลักดนั เปา้ หมายขององคก์ รให้สาเรจ็ ได้
(วิชาลัย, พลนกิ รกิจ, & สาวถิ ี, 2553)ไดใ้ ห้ความหมายของระบบพ่ีเลย้ี งด้านประสทิ ธภิ าพการ
ทางานเชิงบวกของพ่ีเลี้ยงหมายถึงมีความรู้ความสามารถท่ีแท้จริงในงานที่ทา ตลอดจนมีทักษะ
ชานาญการท่ีดีเย่ยี ม เพราะนอกจากจะสอนงานน้องเลี้ยงแลว้ ยงั ต้องเตรียมตัวในการตอบข้อสักถาม
รวมถึงเตรยี มตัวแก้ปญั หาท่ีจะเกดิ ข้ึนดว้ ย
ผู้วิจัย สรุปความหมายของระบบพี่เล้ียงด้านประสิทธิภาพการทางานเชิงบวกของพ่ีเลี้ยง
หมายถึง ความเหมาะสมกับการใช้งานการเป็นไปตามความต้องการ หรือสอดคล้องกับข้อกาหนด
คุณภาพของการออกแบบและความสอดคล้องในการดาเนินงาน ที่จะนามาซ่ึงความภาคภูมิใจแก่
เจ้าของผลงานการประหยัดท่สี ุด มปี ระโยชน์ในการใช้งานสงู สดุ และสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า
อยา่ งสม่าเสมอทด่ี ีทีส่ ุดสาหรบั เงอื่ นไขดา้ นการใชง้ าน ผลงาน ประสิทธิภาพ และความพอใจ

9

ระบบพี่เล้ยี งดา้ นการสอน
(ศรสื ุธรรม, อุตสาหะวาณิชกจิ , และ ธัญญขนั ธ์, 2553)ได้ให้ความหมายของระบบพี่เลีย้ งด้าน
การสอน หมายถงึ การใชว้ ิธกี ารสอนท่กี อ่ ใหเ้ กดิ การพัฒนาด้านสติปัญญาข้ันต้น เป็นการพัฒนาทาง
สมองในการเก็บรักษาเรื่องราว ขอ้ มลู เทจ็ จริง เนน้ ความสามารถในการจาความรู้ต่างๆ เช่น การจา
กฎ หลกั เกณฑ์ ทฤษฎตี ่างๆ ได้
(ธนอนันต์ตระกูล, อุตสาหะวาณิชกิจ, และ ส่งศรีโรจน์, 2553)ให้ความหมายของระบบพี่
เลย้ี งดา้ นการสอน หมายถึงการสอนใหเ้ กดิ ความเข้าใจในเนื้อหา ความรู้ สามารถอธิบาย แปลความ
หรือขยายความด้วยคาพูดของตนเองได้ การสอนระดบั นี้เป็นการเนน้ พัฒนาการ ความสามารถในการ
สอ่ื ความหมายระหว่างตนเองกบั ผอู้ ่ืน
(อาษาศรี, พลนิกรกิจ, และ สาวิถี, 2553)ได้ให้ความหมายของระบบพี่เลี้ยงด้านการสอน
หมายถงึ เป็นวิธีพัฒนาทรพั ยากรบุคคลในพน้ื ท่ีปฏบิ ัติงานจรงิ และเป็นหน้าทข่ี องผู้บงั คับบัญชาที่ต้อง
สอนงานผใู้ ตบ้ ังคับบญั ชา โดยมีเปา้ หมายเพือ่ พัฒนาศักยภาพของผู้ใต้บังคับบัญชาให้มีความรู้ทักษะ
และสมรรถนะท่ี เหมาะสม เพ่ือให้สามารถปลดปล่อยศักยภาพ และส่งมอบผลการปฏิบัติงานให้
สอดคล้องกับเป้าหมายของหน่วยงานได้
(แกว้ แสนเมือง, ส่งศรีโรจน์, และ หมื่อไธสง, 2553)ได้ให้ความหมายของระบบพ่ีเลี้ยงด้าน
การสอน หมายถงึ การที่หวั หน้างานไดส้ อนหรอื แนะนาใหล้ กู น้องไดเ้ รียนร้งู านทไ่ี ด้รับมอบหมาย ว่ามี
วตั ถุประสงคแ์ ละขอ้ ปฏบิ ัติอยา่ งไร จึงจะบรรลวุ ัตถปุ ระสงค์อย่างมีประสิทธภิ าพและประหยดั รวดเรว็
และเปน็ การพฒั นาขดี ความสามารถ รวมทง้ั เป็นการช่วยเหลือ การให้กาลังใจ และให้โอกาสในการ
ทาสง่ิ ต่างๆ ให้ดีข้ึน
(วิชาลัย, พลนิกรกิจ, และ สาวิถี, 2553)ได้ให้ความหมายของระบบพี่เลี้ยงด้านการสอน
หมายถึงการที่บคุ คลท่ตี าแหนง่ งานสงู กว่า ทาหนา้ ทชี่ ว่ ยบุคคลอกี คนหน่ึง ทีต่ ้องมาเรยี นรงู้ านในหนา้ ท่ี
ความรบั ผิดชอบ เพอ่ื กระจายอานาจการตดั สนิ ใจใหผ้ อู้ ่นื ไปปฏิบัตภิ ายในขอบเขตที่กาหนด
ผ้วู จิ ยั สรุปความหมายของระบบพีเ่ ลี้ยด้านการสอน ง หมายถึง ความสามารถในการปฏิบัติ
หน้าทตี่ ามบทบาทของแต่ละกลุ่มงาน การมีประสิทธิภาพในการทางานได้อย่างครบถ้วน และมีการ
ติดตอ่ ประสานงานกนั ระหว่างแตล่ ะกลมุ่ งานอยา่ งราบรน่ื เพ่ือใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐานการปฏบิ ัติงาน

10

ระบบพเ่ี ล้ียงดา้ นกระตุ้นใหเ้ กดิ การเรียนรู้
(ธนอนันตต์ ระกูล, อุตสาหะวาณชิ กจิ , และ สง่ ศรีโรจน์, 2553)ได้ให้ความหมายของระบบพ่ี
เลยี้ งดา้ นกระตุ้นให้เกดิ การเรยี นรู้ หมายถึง การะบวนการทเี่ กดิ ขน้ึ ภายในตัวบุคคลท่ีกระตุ้นให้แสดง
พฤติกรรมไปตามเปา้ หมายหรอื จุดมุ่งหมายทต่ี ั้งไว้
(แก้วแสนเมือง, ส่งศรีโรจน์, และ หม่ือไธสง, 2553)ได้ให้ความหมายของระบบพ่ีเลี้ยงด้าน
กระตนุ้ ให้เกดิ การเรยี นรู้ หมายถึง การเรยี นรู้จะมีประสิทธิภาพมากน้อยเพียงใดน้ันเก่ียวข้องโดยตรง
กับระดับและขนั้ ตอนของการประมวลผลข้อมลู หากผเู้ รยี นได้มีโอกาสร่วมคิด ร่วมกิจกรรมในส่วนท่ี
เก่ียวกับเน้ือหา และร่วมตอบคาถาม จะส่งผลให้มีความจาดีกว่าผู้เรียนที่ใช้วิธีอ่านหรือคัดลอก
ขอ้ ความจากผ้อู ่นื เพยี งอยา่ งเดียว บทเรียนคอมพิวเตอร์ มีข้อได้เปรียบกว่าโสตทัศนูปการอ่ืนๆ เช่น
วิดิทัศน์ ภาพยนตร์ สไลด์ เทปเสียง เป็นต้น ซึ่งสื่อการเรียนการสอนเหล่านี้จัดเป็นแบบปฏิสัมพันธ์
ไม่ได้ (Non-interactive Media) แตกต่างจากการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ผู้เรียน
สามารถมกี ิจกรรมรว่ มในบทเรียนได้หลายลักษณะ ไม่ว่าจะเป็นการตอบคาถาม แสดงความคิดเห็น
เลอื กกิจกรรม และปฏสิ มั พันธ์กบั บทเรยี น กจิ กรรมเหล่านี้เองท่ีไม่ทาให้ผู้เรียนรู้สึกเบื่อหน่าย เม่ือมี
ส่วนรว่ ม ก็มีสว่ นคดิ นาหรือติดตามบทเรียน ยอ่ มมสี ่วนผกู ประสานใหค้ วามจาดขี ้นึ
ผ้วู จิ ัย สรปุ ความหมายของระบบพเี่ ลยี้ งด้านกระต้นุ ให้เกิดการเรียนรู้ หมายถึงการพิจารณา
ว่าผลงานความสาเร็จและกระบวนการปฏิบัติงานท่ีใช้ นามาซึ่งความพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่างๆ
เพียงใด การทางานที่เปน็ ไปอย่างถกู ตอ้ งและครบถว้ น และมีการประสานงานกันอย่างถูกต้อง จึงทา
ใหเ้ กิดความพงึ พอใจกบั ผู้ทเ่ี กยี่ วข้องทกุ ฝา่ ย ได้แก่ เพอ่ื นร่วมงาน หวั หนา้ งาน ผบู้ รหิ าร และพนักงาน
ทกุ คนในองคก์ ร เป็นตน้

บทที่ 3 วิธกี ารดาเนนิ การวิจัย

ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง

ประชากรคือ พนักงานบริษัทกรนี เดย2์ 019 จากดั อาเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี จานวน

66 คน

กล่มุ ตวั อย่าง ขนาดกลุม่ ตัวอยา่ ง โดยใช้ตาราง Krejcie and morgan จานวน 59 คน

วธิ ีการสมุ่ ตัวอย่าง แบบอยา่ งง่าย โดยใชว้ ธิ กี ารจับฉลาก

ขนั้ ตอนท่ี 1 โดยการสุ่มตวั อยา่ งแบบสดั ส่วน

ตารางที่ 3. 1 ตารางแสดงจานวนพนกั งานบริษทั กรียนเดย์2019 จากัด

สาขา ประชากร กลมุ่ ตวั อยา่ ง

A 32 29

B 34 30

รวม 66 59

ขนั้ ตอนท่ี 2 ใช้การสมุ่ ตวั อย่างแบบอย่างง่าย โดยใชว้ ิธกี ารเลอื กสมุ่ กลมุ่ ตวั อยา่ ง

ตารางที่ 3. 2 ตารางรายช่อื กลุ่มตัวอยา่ ง

สาขา A สาขา B

นางสาวสจุ ินนั ท์ พษิ ครุฑ นางสาวอาภาพร ชนม์ทวี

นายวนั ชยั สมทอง นางสาวศิรริ ตั น์ ทองออ่ น

นางสาวประภสั สร ไตรมาศ นางสาวธนภรณ์ สวุ รรณมณี

นายกรณ์ดนัย ไชยพยนั ต์ นางสาวจารวุ รรณ ถวลั ธรรม

นางสาววรรณกานต์ หวานทอง นางสาวกิตติยา แสงศรี

นางสาวนฎา เล่ียนเซ่ง นางสาวอัญชรยี า พลับแก้ว

นางสาวณฐั รจุ ี แซล่ มิ่ นายณัฎฐนันท์ เขาทอง

นางสาวทิพทวิ า มากจติ นางสาวอนัดดา เพชรคง

นางสาวภาสนิ ี เกษสี ม นางสาวดวงกมล ภ่มู ณี

นางสาวเกศรา แกว้ เกดิ นางสาวสรุ ิยาพร กรุยะ

นางสาวนนั ทยิ า นมุ่ นวล นางสาวเกตุนภา สุขขวด

นางสาวรชั ฎาภรณ์ บวั อินทร์ นางสาวกติ ตวิ รา นุ่นชผู ล

นางสาวรตั นาพร ศรประดิษฐ นางสาวจฑุ ารัตน์ ถึงเสยี บญวน
นางสาวกนกกาญจน์ นนุ่ แก้ว นางสาวอมราวดี วิโรจน์
นายนฐั พล ลิ้มสวุ รรณ นางสาวศศนิ า เสืออินโท
นางสาวพรศริ ิ พลจรสั นายอาทติ ย์ ศริ ิลาภา

12

นางสาวนุชนาถ ทองสัมฤทธ์ิ นางสาวเบญจมาศ อาจหาญ
นางสาวรมณี โรมนิ ทร์ นางสาวศศิธร ฉิมรักษ์
นางสาวจิตมิ า ตันสกลุ นายจิรวัฒน์ ธรรมนาวาศ
นางสาวลดาภรณ์ ชูปัน นายสรรเพชร เพชรรกั ษ์
นางสาวศริ นิ ญา คงมาก นางสาวณฐั ภรณ์ มณเทียร
นางสาวรชั ชดิ า เจรญิ แพทย์ นางสาวรวงขา้ ว สุดตา
นางสาววิภารตั น์ เพง็ สวัสด์ิ นายกิตตศิ กั ด์ิ บา้ นนบ
นางสาวกนกวรรณ เรอื งวเิ ศษ นางสาวอาภาพร หอมร่นื
นางสาวกชามาส ทองเสมียน นายณฐพณ ทองรกั ทอง
นางสาวสุชานันท์ ชาวชีลอง นางสาวกาญจนา บุตรเลย่ี ม
นางสาวจันทมิ า คาเอียด นายสหสั วรรษ ศรสี วสั ดิ์
นางสาวธดิ ารัตน์ คาแหง นางสาวรตั นาวดี วิชัยดษิ ฐ์
นางาสาวเกศกนก มณรี ตั น์ นางสาวชมุ นุมพร แดงขาว
นายเจษฎา สมบรู ณ์

เคร่อื งมือทใ่ี ชใ้ นการวิจัย

เครอ่ื งมือการวิจัยครง้ั น้ี คอื แบบสอบถาม มี 2 ตอน ไดแ้ ก่

ตอนที่1 ขอ้ มูลสว่ นบคุ คลของพนักงานบรษิ ัทกรนี เดย์2019 จากัด ประกอบด้วย เพศ ระดับ

การศึกษา โดยใช้ระดบั การวดั ข้อมูลแบบตรวจสอบรายการ (Checklist)

ตอนที่2 ระบบพ่ีเลี้ยง มีลักษณะแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5ระดับ ดังนี้ 1

คะแนน หมายถงึ นอ้ ยท่ีสดุ 2 คะแนน หมายถงึ นอ้ ย 3 คะแนน หมายถงึ ปานกลาง

4 คะแนน หมายถงึ มาก 5 คะแนน หมายถึง มากท่ีสุด ยิง่ ประกอบด้วย ด้านประสทิ ธิภาพการทางาน

เชงิ บวกของพ่เี ลี้ยง ดา้ นการสอน ดา้ นการให้คาปรึกษา ด้านกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้โดยมีเกณฑ์วัด

ดังน้ี (บุญชม ศรสี ะอาด, 2556)

4.21 - 5.00 เกณฑก์ ารแปลความหมาย หมายถงึ มากทส่ี ุด

3.41 - 4.20 เกณฑ์การแปลความหมาย หมายถงึ มาก

2.61 - 3.40 เกณฑก์ ารแปลความหมาย หมายถึง ปานกลาง

1.81 - 2.60 เกณฑ์การแปลความหมาย หมายถึง น้อย

1.00 - 1.80 เกณฑ์การแปลความหมาย หมายถงึ น้อยทีส่ ดุ

การทดสอบคุณภาพเครื่องมอื

หาค่าความเท่ียงตรง
1.สรา้ งแบบสอบถามและนาเสนอคณะกรรมการที่ปรึกษาการวิจัยและเช่ียวชาญจานวน 3
คน (1.นางสาวอรอนงค์ เพชรคง 2.นางสาวกนกวรรณ เรืองวิเศษ 3.นางสาววลิ าวรรณ พรหมทองดี)

13

เพ่ือตรวจสอบความเท่ียงตรงของเนื้อหา ความสมบูรณ์ถูกต้อง ของเนื้อหาและการใช้ภาษา นา
แบบสอบถามมาปรับปรงุ แก้ไขตามขอ้ เสนอแนะ โดยมีค่า IOC เท่ากับ 0.67 – 1.00 ซึ่งมากกว่า 0.5
แสดงว่านาไปใช้ได้

หาค่าความน่าเช่ือถอื
ทดลองใช้ (Try-out) ทไ่ี ม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จานวน 30 ชุด เพอ่ื หาค่าความเช่อื มนั่ สมั ประสิทธ์ิ
แอลฟา่ ของครอนบาค มีคา่ เทา่ กับ .866 ซึ่งมีค่ามากกว่า 0.7 แสดงวา่ นาไปใช้ได้
หาคา่ อานาจจาแนกรายข้อ
คา่ อานาจจาแนกรายขอ้ มีค่าระหว่าง 0.433 –0.673 ซ่ึงมคี า่ มากกวา่ 0.2 แสดงว่านาไปใช้
ได้

การเกบ็ รวบรวมข้อมลู

วธิ ีการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู คือ
1.ทาแบบสอบถาม
2.ใหผ้ เู้ ชีย่ วชาญตรวจสอบคณุ ภาพของเคร่ืองมอื
3.ส่งแบบสอบถามใหก้ ับกลมุ่ ตัวอยา่ งโดยใช้ google form
4.นาข้อมูลมาวเิ คราะหแ์ ละสรปุ ผล

การวิเคราะหข์ อ้ มลู

1.ข้อมูลส่วนบุคคลโดยใชส้ ถิติความถ่ีและรอ้ ยละ
2.ประสิทธภิ าพการทางานใช้สถติ คิ วามถ่ี รอ้ ยละ คา่ เฉลย่ี และคา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน
3.ขอ้ มูลสว่ นบคุ คลด้านเพศกบั ประสิทธภิ าพการทางานใชส้ ถติ ิ Independent Sampies Test
4.ข้อมูลส่วนตัวด้านระดับการศึกษากับประสิทธิภาพในการทางานใช้สถิติ One way
ANOVA

บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู

การศึกษาระบบพ่ีเลี้ยงในการทางานบริษัท กรีนเดย์2019 จากัด อาเภอเมือง จังหวัดสุ
ราษฎรธ์ านี โดยแบง่ การวเิ คราะหข์ ้อมูลเปน็ 4 ข้นั ตอน ดังนี้

1.ขอ้ มลู สว่ นบุคคลโดยใชส้ ถิติความถแ่ี ละร้อยละ
2.ประสทิ ธภิ าพการทางานใชส้ ถติ ิความถ่ี ร้อยละ ค่าเฉลยี่ และคา่ เบ่ยี งเบนมาตรฐาน
3.ข้อมลู ส่วนบุคคลดา้ นเพศกับระบบพ่เี ลยี้ งการทางานใชส้ ถติ ิ Independent Sampies Test
4.ข้อมลู สว่ นตวั ด้านระดับการศึกษาระบบพ่เี ล้ยี งกับใช้สถติ ิ One way ANOVA

การเสนอผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล

เพือ่ ให้สอดคล้องกบั วัตถุประสงค์ของการวิจัยคร้ังนี้ ผู้วิจัยได้นาเสนอผลการวิเคราห์ข้อมูล
ตามลาดับดังนี้

ตอนท่ี 1 การวิเคราะห์ข้อมูลปัจจัยส่วนบุคคลบริษัทกรีนเดย์2019 จากัด อาเภอเมือง
จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี

การวิเคราะหข์ อ้ มลู ปจั จยั ส่วนบคุ คลบรษิ ทั กรีนเดย์2019 จากัด อาเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์
ธานี ประกอบด้วยเพศและระดับการศึกษา โดยการแจกแจงความถี่(frequency)และร้อยละ
(Percentage) แสดงผลการวเิ คราะห์ด้วยตารางท่ี 4.1

ตารางที่ 4. 1จานวนและร้อยละของปจั จยั สว่ นบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม

ปจั จยั ส่วนบุคล จานวน (N = 59) ร้อยละ

เพศ

ชาย 11 18.6

หญงิ 48 81.4

ปัจจัยสว่ นบุคคล จานวน(N = 59) ร้อยละ
วุฒกิ ารศกึ ษา
ต่ากว่าปริญญาตรี 2 3.4
20 33.9
ปรญิ ญาตรี 37 62.7

สูงกว่าปรญิ ญาตรี

จากตารางท่ี 4.1 ผลการศึกษาขอ้ มลู ปจั จัยสว่ นบคุ คลพบว่า ผ้ตู อบแบบสอบถามส่วนใหญ่
เป็นเพศหญงิ รอ้ ยละ 81.4 และวุฒิการศกึ ษาสว่ นใหญเ่ ป็นสงู กว่าปรญิ ญาตรี รอ้ ยละ 62.7

15

ตอนท่ี 2 การวเิ คราะห์ข้อมูลระบบพ่เี ล้ยี งการทางานบริษัท กรยี เดย2์ 019 จากัด อาเภอ
เมือง จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี

การวิเคราะห์ข้อมูลปัจจัยปัจจัยส่วนบุคคลการศึกษาการพัฒนา ระบบพ่ีเล้ียงของพนักงาน
บริษทั กรนี เดย์ 2019 จากดั อาเภอเมือง จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี โดยการหาค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วน
เบ่ยี งเบนมาตรฐาน (Standarddevison) แสดงผลการวิเคราะหต์ ารางที่ 4.2

ตารางท่ี 4. 2 คา่ เฉล่ียและสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานระบบพี่เลี้ยงในการทางานบริษัทกรีน
เดย์ 2019 จากดั อาเภอเมอื ง จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ระบบพี่เล้ยี ง ระดบั ประสิทธิภาพระบบพีเ่ ลี้ยง

1 ด้านประสิทธิภาพการทางานเชิงบวกของพเ่ี ลยี้ ง ̅ S.D. แปลผล
2 ดา้ นการสอน
3 ด้านการใหค้ าปรกึ ษา 4.60 .535 มากทส่ี ุด
4 ด้านกระต้นุ ใหเ้ กิดการเรียนรู้ 4.59 .547 มากท่ีสุด
4.57 .530 มากท่สี ุด
รวม 4.62 .499 มากที่สดุ
4.60 .527 มากที่สุด

จากตารางที่ 4.2 คา่ เฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของระดับประสิทธิภาพระบบพี่เลี้ยง
บรษิ ทั กรีนเดย์ 2019 จากัด อาเภอเมอื ง จงั หวัดสุราษฎร์ธานี โดยรวม พบว่า อยู่ในระดับ มากที่สุด
เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า อยู่ในระดับ มากท่ีสุด ได้แก่ด้านกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ ด้าน
ประสทิ ธภิ าพการทางานเชงิ บวกของพี่เล้ยี ง ดา้ นการสอน ดา้ นการให้คาปรึกษา

ตารางท่ี 4. 3 ค่าเฉลย่ี และสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐานของระบบพ่เี ล้ยี งดา้ นประสทิ ธิภาพการ
ทางานเชิงบวกของพีเ่ ลีย้ งของบรษิ ัทกรนี เดย์ 2019 จากดั จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี

ดา้ นประสทิ ธิภาพการทางานเชิงบวกของพเ่ี ล้ยี ง ระดบั คุณภาพระบบพเี่ ล้ียง
̅ S.D. แปลผล
1 ทา่ นสามารถทาใหพ้ นกั งานใหมจ่ ะสามารถเติบโต 4.80 .446 มากที่สดุ
และพฒั นาได้มากทส่ี ุด
4.41 .561 มากท่สี ุด
2 ท่านชว่ ยใหผ้ ้รู บั คาปรกึ ษาเกิดการพฒั นาอาชีพและ
ความร้สู กึ ของความสาเร็จในการเรียนรู้ในสนามการ
ทางานจรงิ ได้

16

3 ทา่ นสามารถถา่ ยทอดวัฒนธรรมการทางานท่ี 4.61 .526 มากทส่ี ุด
สอดคล้องกบั องค์กรให้กบั น้องเล้ียง เพ่ือมงุ่ มน่ั 4.60 .535 มากที่สดุ
ผลกั ดันเป้าหมายขององคก์ รใหส้ าเร็จได้

รวม

จากตารางที่ 4.3 ค่าเฉลย่ี และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานของประสิทธิภาพการทางานเชิงบวก
ของพ่เี ลีย้ งของบรษิ ทั กรีนเดย์ 2019 จากัด จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี โดยภาพรวม พบว่า อยใู่ นระดับ มาก
ที่สุด เม่ือพิจารณารายข้อ พบว่า อยู่ในระดับมากท่ีสุด จานวน 3 ข้อ ได้แก่ ท่านสามารถทาให้
พนกั งานใหม่จะสามารถเติบโตและพฒั นาได้มากที่สุด ท่านช่วยใหผ้ ู้รบั คาปรึกษาเกดิ การพฒั นาอาชีพ
และความรู้สึกของความสาเร็จในการเรียนรู้ในสนามการทางานจริงได้ ท่านสามารถถ่ายทอด
วัฒนธรรมการทางานท่สี อดคล้องกบั องคก์ รใหก้ บั น้องเลีย้ ง เพอื่ มุง่ มนั่ ผลกั ดนั เปา้ หมายขององค์กรให้
สาเรจ็ ได้

ตารางที่ 4. 4 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของระบบพี่เลี้ยงด้านการสอนของ
บรษิ ัทกรนี เดย์ 2019 จากัด จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี

ด้านการสอน ระดับคุณภาพระบบพเ่ี ล้ียง

̅ S.D. แปลผล

1 ท่านมีวิธีพัฒนาทรัพยากรบุคคลในพ้ืนท่ีปฏิบัติงาน 4.78 .457 มากท่ีสุด
จรงิ

2 ท่านส่งมอบผลการปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับ 4.51 .598 มากทส่ี ุด
เปา้ หมายของหน่วยงานได้

3 ท่านสามารถสอนบรรลุวัตถุประสงค์อย่างมี 4.49 .537 มากท่ีสดุ
ประสทิ ธภิ าพและประหยัด รวดเรว็

รวม 4.59 .547 มากทสี่ ุด

17

จากตารางท่ี 4.4 ค่าเฉล่ียและส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานของระบบพีเ่ ล้ียงในการทางานดา้ นการ
สอนของบรษิ ัทกรนี เดย์ 2019 จากัด จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับ มากที่สุด
เม่ือพิจารณารายข้อ พบว่า อยู่ในระดับเห็นด้วยมากที่สุด จานวน 3 ด้าน ได้แก่ ท่านมีวิธีพัฒนา
ทรพั ยากรบคุ คลในพ้ืนทีป่ ฏบิ ัติงานจริง ทา่ นสง่ มอบผลการปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับเป้าหมายของ
หนว่ ยงานได้ ท่านสามารถสอนบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์อย่างมปี ระสิทธิภาพและประหยดั รวดเรว็

ตารางท่ี 4. 5 ค่าเฉล่ยี และสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐานของระบบพเ่ี ล้ียงด้านการให้คาปรึกษา
ของบรษิ ัทกรีนเดย์ 2019 จากัด จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี

ด้านการใหค้ าปรึกษา ระดบั คุณภาพระบบพเ่ี ลี้ยง

1 ท่านมปี ฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งบุคคล ̅ S.D. แปลผล
4.58 .532 มากทส่ี ุด

2 ท่านได้สารวจและทาความเข้าใจ สิ่งที่เป็นปัญหา 4.53 .568 มากท่สี ุด

แสวงหาหนทางแก้ไขปญั หา

3 ทา่ นสามารถเปน็ ผู้รับการปรกึ ษาท่ยี ุติธรรม 4.61 .492 มากทส่ี ดุ

รวม 4.57 .530 มากท่ีสดุ

จากตารางท่ี 4.5 ค่าเฉลย่ี และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานของระบบพเ่ี ลีย้ งดา้ นการให้คาปรึกษา
ของบริษัทกรีนเดย์ 2019 จากดั จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับ มากท่ีสุด เมื่อ
พิจารณารายข้อ พบวา่ อยูใ่ นระดบั มากที่สดุ จานวน 3 ด้าน ได้แก่ ท่านมปี ฏิสัมพนั ธร์ ะหว่างบคุ คล
ท่านได้สารวจและทาความเขา้ ใจ ส่ิงทเ่ี ปน็ ปญั หา แสวงหาหนทางแก้ไขปัญหา ท่านสามารถเป็นผู้รับ

การปรึกษาท่ียุตธิ รรม
ตารางท่ี 4. 6ค่าเฉล่ียและสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานของระบบพเี่ ล้ียงด้านกระตุ้นให้เกิดการ

เรียนรขู้ องบริษัทกรีนเดย์ 2019 จากัด จังหวัดสุราษฎรธ์ านี

ด้านกระตนุ้ ใหเ้ กดิ การเรียนรู้ ระดับคุณภาพระบบพเ่ี ลยี้ ง

1 ท่านนามาซึง่ ความพอใจของผู้เก่ยี วข้องตา่ งๆ ̅ S.D. แปลผล
4.59 .529 มากที่สดุ

2 ทา่ นมีการทางานทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพไดอ้ ย่างครบถ้วน 4.66 .477 มากทีส่ ดุ
3 ท่านมีการติดต่อประสานงานกันระหว่างกลุ่มงาน 4.59 .495 มากที่สดุ

อย่างราบรื่น
รวม 4.62 .499 มากทสี่ ดุ

18

จากตารางที่ 4.6 ค่าเฉล่ียและสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานของระบบพเ่ี ลย้ี งดา้ นกระตุ้นให้เกิดการ
เรียนรู้ของบริษทั กรนี เดย์ 2019 จากัด จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี โดยภาพรวม พบวา่ อยใู่ นระดับ มากทสี่ ดุ
เม่ือพิจารณารายข้อ พบว่า อยู่ในระดับมากท่ีสุด จานวน 3 ด้าน ได้แก่ ท่านมีการทางานที่มี
ประสิทธิภาพได้อย่างครบถ้วน ท่านนามาซ่ึงความพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่างๆ ท่านมีการติดต่อ
ประสานงานกันระหว่างกลมุ่ งานอย่างราบรื่น

ตารางที่ 4. 7การวิเคราะห์เปรียบเทียบระบบพ่ีเล้ียงบริษัทกรีนเดย์ จากัด อาเภอเมือง

จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี จาแนกตามเพศ

(n=59)

เพศ N ̅ S.D. t p - value

ชาย 11 4.5833 .35551 -.155 .112

หญิง 48 4.5990 .28901 -.136

*มีนัยสาคญั ทางสถิติทรี่ ะดบั 0.05

จากตารางที่ 4.7 พบว่าพนกั งานบริษทั บริษทั กรนี เดย์ 2019 จากดั จังหวดั สรุ าษฎร์ธานีท่มี ี

เพศแตกต่างกันมรี ะบบพเ่ี ลยี้ งการทางานไม่แตกตา่ งกนั อย่างมีนยั สาคญั ทางสถติ ทิ ี่ระดับ 0.05

ตารางที่ 4. 8การวิเคราะห์เปรยี บเทียบระบบพเ่ี ล้ยี งบริษัทกรนี เดย์ จากัด อาเภอเมือง
จังหวัดสุราษฎร์ธานี จาแนกตามวฒุ กิ ารศกึ ษา

แหลง่ ความแปรรวน SS df MS F p - value

ระหว่างกลมุ่ .060 2 .030 .327 .723

ภายในกล่มุ 5.132 56 .092

รวม 5.192 58

*มนี ัยสาคัญทางสถติ ิทรี่ ะดบั 0.05

จากตารางท่ี 4.8 พบว่าพนงั งานบรษิ ัทบริษัทกรนี เดย์ 2019 จากัด จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านีท่ีมี

วุฒิการศกึ ษาแตกตา่ งกนั ระบบพเี่ ล้ียงไมแ่ ตกตา่ งกันอยา่ งมนี ยั สาคญั ทางสถติ ิทร่ี ะดบั 0.05

บทท่ี 5 สรุป อภปิ รายผลการวิจัย ขอ้ เสนอแนะ

ก า ร ศึ ก ษ า ค รั้ ง นี้ มี วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ เ พ่ื อ ศึ ก ษ า ร ะ บ บ ก า ร เ ป็ น พ่ี เ ลี้ ย ง กั บ
ประสิทธิภาพการทางานของเจา้ หน้าที่บริษัทกรีนเดย์2019 จากัด อาเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี
โดยกาหนดกลมุ่ ตัวอย่าง 59 คน และเกบ็ รวบรวมจากกลุ่มตัวอยา่ ง จากน้ันได้นาข้อมูลด้วยโปรแกรม
คอมพิวเตอร์สาเร็จรูป SPSS เพื่อหาค่าสถิติพ้ืนฐาน ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ส่วนเบ่ียงเบน
มาตรฐาน

สรปุ ผลการวจิ ยั

สรุปผลการศึกษาเชงิ ปรมิ าณ
ตอนท่ี1 ข้อมูลทั่วไป
จากการศึกษาขอ้ มูลท่วั ไปของผู้ตอบแบบสอบถามพบว่า กล่มุ ตัวอย่างสว่ นใหญ่

เป็นเพศหญิง จานวน 48 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 81.4 รองลงมาเป็นเพศชาย จานวน 11คน คิดเป็นร้อย
ละ 18.6 ผูต้ อบแบบสอบถามสว่ นใหญ่ได้รับการศึกษาในระดับสูงกว่าปริญญาตรีจานวน 37 คน คิด
เปน็ ร้อยละ 62.7 รองลงมา ปรญิ ญาตรี จานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 33.9 และต่ากว่าปริญญาตรี
จานวน 2คน คดิ เปน็ ร้อยละ3.4

ตอนที่2 แบบสอบถามเร่ือง ความสมั พนั ธ์ระหว่างการรับรู้ระบบการเป็นพี่เล้ียงกับ
ประสิทธิภาพของเจา้ หน้าทบี่ รษิ ทั กรีนเดย์ 2019 จากัด อาเภอเมอื ง จงั หวดั สุราษฎร์ธานี

ดา้ นการสอนผู้ตอบแบบสอบถามสว่ นใหญ่มสี ว่ นร่วมในการตัดสินใจมากที่สุดใน
คาถามข้อคาถามที่ 1ทา่ นมวี ิธพี ัฒนาทรัพยากรบคุ คลในพ้ืนที่ปฏิบตั งิ านจรงิ ( X =4.78, S.D = .45 )

ด้านการให้คาปรกึ ษาผตู้ อบแบบสอบถามสว่ นใหญ่มีส่วนร่วมในการตัดสินใจมาก
ท่สี ุดในคาถามขอ้ คาถามที่ 3ท่านสามารถเป็นผู้รับการปรกึ ษาทย่ี ตุ ธิ รรม( X =4.61, S.D = .49 )

ด้านกระตุน้ ใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ตอบแบบสอบถามสว่ นใหญม่ ีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
มากทส่ี ุดในคาถามข้อคาถามท่ี 2ท่านมกี ารทางานทมี่ ีประสิทธภิ าพไดอ้ ย่างครบถว้ น( X =4.66, S.D =
.47 )

ด้านประสิทธภิ าพการทางานเชงิ บวกของพเ่ี ลย้ี งผตู้ อบแบบสอบถามสว่ นใหญ่มสี ว่ น
รว่ มในการตดั สินใจมากที่สุดในคาถามขอ้ คาถามท่ี 1ทา่ นสามารถทาให้พนกั งานใหม่จะสามารถเติบโต
และพัฒนาได้มากทสี่ ดุ ( X =4.80, S.D = .46 )

อภิปรายผลการวจิ ยั

จากการศกึ ษาเรื่องความสมั พันธร์ ะหวา่ งการรบั รู้ระบบการเป็นพ่ีเล้ียงกับประสิทธิภาพของ
เจ้าหนา้ ทบ่ี ริษทั กรนี เดย์ 2019 อาเภอเมอื ง จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี

ในด้านท่ี 1 ด้านการสอนด้านการสอนผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีส่วนร่วมในการ
ตัดสินใจมากท่ีสุดในคาถามข้อคาถามที่ 1ท่านมีวิธีพัฒนาทรัพยากรบุคคลในพื้นที่ปฏิบัติงานจริง(

20

=4.78, S.D = .45 ) ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ ศรืสุธรรม ได้กล่าวไว้ว่า การทางานจะประสบ
ผลสาเรจ็ ได้ตอ้ งมวี ิธีมแี ผนการทางานที่รอบคอบและพฒั นาได้จากการลงพ้ืนท่ีปฏบิ ตั งิ านจริง

ในด้านที่ 2ด้านการให้คาปรึกษาผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีส่วนร่วมในการ
ตัดสินใจมากท่ีสุดในคาถามขอ้ คาถามท่ี 3ท่านสามารถเป็นผรู้ ับการปรึกษาท่ียุติธรรม( =4.61, S.D =
.49 ) ซ่ึงสอดคล้องกับงานวิจัยของ แก้วแสนเมือง ได้กล่าวไว้ว่า การเป็นพี่เลี้ยงนั้นหากมีแต่
ความสามารถสอนผคู้ นให้สาเรจ็ ไดแ้ ตห่ ากมที ง้ั ความยตุ ธิ รรมไวว้ างใจไดน้ าพาซง่ึ เป็นผู้เคียงข้างและผู้
ปรกึ ษาทีด่ ี

ในด้านท่ี3ด้านกระตนุ้ ให้เกิดการเรยี นรูต้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีส่วนร่วมในการ
ตัดสนิ ใจมากท่สี ดุ ในคาถามขอ้ คาถามท่ี 2ท่านมกี ารทางานท่มี ปี ระสิทธภิ าพได้อยา่ งครบถ้วน( =4.66,
S.D = .47 )ซึ่งได้สอดคลอ้ งกับงานวิจัยของ ธนอนนั ต์ตระกลู ไดก้ ลา่ วไว้ว่า คนเก่งไปท่ีใดก็มีคนชื่นชม
แต่คนท่มี ีประสทิ ธิภาพครบถว้ นไปทใ่ี ดย่อมมแี ตค่ นอยากได้เขา้ ทางานเป็นแน่

ในดา้ นที่4ด้านประสทิ ธภิ าพการทางานเชิงบวกของพเี่ ลยี้ งผตู้ อบแบบสอบถามสว่ นใหญ่
มีส่วนร่วมในการตดั สนิ ใจมากทีส่ ดุ ในคาถามขอ้ คาถามที่ 1ท่านสามารถทาใหพ้ นกั งานใหม่จะสามารถ
เติบโตและพฒั นาได้มากทสี่ ดุ ( =4.80, S.D = .46 ) ซง่ึ สอดคล้องกบั งานวิจยั ของ อาษาศรี ได้กล่าวไว้
ว่า พนกั งานใหมก่ เ็ หมอื นต้นหญา้ อ่อนหากบม่ เพราะไปด้วยปยุ๋ ย่อมเจริญเติบโตได้ยิ่งแน่ แต่หากเป็น
พนกั งานใหม่ถกู บม่ เพาะฝกึ หัด ตอ้ งเตบิ โตและพฒั นาไปได้ไกลท่ีสดุ

21

ขอ้ เสนอแนะการวิจยั

การวิจัยครงั้ นผ้ี ู้สนใจสามารถนาไปศึกษาวิจัยความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ระบบการเป็นพ่ี
เลี้ยงกบั ประสทิ ธิภาพการทางาน กับกลุ่มตัวอย่างอ่ืน ๆ ควรศึกษาปญั หาและอปุ สรรคการรับรู้ระบบ
พเ่ี ลย้ี งและประสทิ ธภิ าพการทางานใหเ้ ปน็ แนวทางในการปรับปรงุ แก้ไขใหต้ รงประเดน็ เพ่อื สามารถนา
ข้อมลู จากการประยุกต์ใช้ในงานส่งเสริมประสิทธิภาพการทางานเพ่ือความสาเร็จขององค์กรต่อไป

22

บรรณานกุ รม

แก้วแสนเมอื ง, ย., สง่ ศรีโรจน,์ น., & หม่อื ไธสง, เ. (2553). ผลกระทบของคณุ ลกั ษณะส่วนบุคลทมี่ ีตอ่
ประสทิ ธิผลการทางานของบุคลากรสานกั งานคลงั จงั หวดั กรมบญั ชกี ลาง. วารสารการบัญชแี ละ
การจดั การ.

แท่นคา, ช., ฉวีรักษ,์ อ., & รอบคอบ, ไ. (2555). ผลกระทบของมนุษยส์ มั พนั ธท์ ่ดี ที่มตี อ่ ประสทิ ธิภาพการ
ทางานของนกั บัญชธี ุรกจิ ยางงในประเทศไทย. วารสารการบญั ชแี ละการจัดการ.

จันทรกั ษ์, ว., ฉวีรกั ษ์, อ., & นลิ ผาย, ส. (2560). ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งความสามารถในการปฏบิ ตั งิ าน
ตามระเบียบกบั ประสทิ ธภิ าพในการทางานของพนักงานบญั ชีและการเงินของการไฟฟ้าสว่ น
ภูมิภาคในเขตภาคตะวนั ออกเฉยี วเหนือ. วารสารการบญั ชีและการจดั การ, 157-166.

ธนอนนั ต์ตระกลู , ท., อตุ สาหะวาณิชกิจ, ป., & ส่งศรีโรจน,์ น. (2553). ความสัมพนั ธร์ ะหว่างการ
พัฒนาการบัญชสี ิง่ แวดล้อม ความรบั ผิดชอบต่อสงั คมและภาพลกั ษณอ์ งคก์ รของธรุ กิจกระดาษ
ในประเทศไทย. วารสารการบญั ชีและการจดั การ.

ปน่ิ ทอง, ณ., ปานศภุ วชั ร, อ., & วรานนั ตกุล, ว. (2560). ผลกระทบของการสอื่ สารภายในองค์กรท่ีดีทีม่ ี
ตอ่ ประสิทธิภาพการดาเนินงานของธรุ กจิ สง่ ออกสินค้าเกษตรในประเทศไทย. วารสารการบญั ชี
และการจัดการ, 39-50.

ผดงุ กจิ , จ., หวังเจรญิ เดช, ส., & คาพิชิต, อ. (2560). ความสัมพันธร์ ะหว่างความศรทั ธาในการทางานกับ
ประสิทธภิ าพการทางานของเจา้ หนา้ ที่การเงนิ บัญชี และพสั ดุมหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม.
วารสารการบญั ชแี ละการจดั การ, 13-24.

วชิ าลยั , อ., พลนิกรกจิ , น., & สาวิถี, จ. (2553). ผลกระทบของประสทิ ธิภาพการบรหิ ารคุณภาพท่ีมตี อ่
ความสาเรจ็ ในการดาเนินงานของสานกั งานบญั ชใี นเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารการ
บญั ชแี ละการจดั การ.

ศรืสุธรรม, ด., อุตสาหะวาณิชกิจ, ป., & ธัญญขนั ธ์. (2553). ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งการรบั รรู้ ะบบการเปน็
พ่เี ลยี้ งกบั ประสทิ ธิภาพการทางานของเจ้าหนา้ ทตี่ รวจสอบภาษสี านกั งานสรรพากรพื้นที่
กรงุ เทพมหานคร. วารสารการบัญชแี ละการจัดการ, 93-101.

อาษาศรี, ก., พลนกิ รกจิ , น., & สาวิถี, จ. (2553). ผลกระทบของวิสัยทศั นอ์ งค์กรทมี่ ีต่อประสทิ ธิภาพการ
กากับดูแลกิจการท่ดี ีของบรษิ ทั จะทะเบยี นในตลาดหลกั ทรัพยแ์ ห่งประเทศไทย. วารสารการ
บัญชแี ละการจัดการ.

อุทการ, เ. (2559). ความสมั พนั ธ์ระหว่างความรดู้ า้ นการบรหิ ารงานพัสดุกบั ประสทิ ธิภาพการปฏิบตั ิงาน
ของบุคลากรทางดา้ นพสั ดใุ นมหาวิทยาลยั สารคาม. วารสารการบญั ชแี ละการจดั การ, 24-33.

23

24

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก เครื่องมอื การวจิ ยั

ระบบพ่ีเล้ียงด้านประสิทธิภาพการทางานเชิงบวกของพี่เลี้ยง หมายถึงการให้คาแนะนาและ
ข้อเสนอแนะที่สร้างสรรค์ เพ่ือพนักงานใหม่จะสามารถเติบโตและพัฒนาได้มากท่ีสุด พ่ีเล้ียงท่ีดีควรมี
ทกั ษะการสื่อสารที่ดี จะช่วยใหผ้ ู้รับคาปรกึ ษาเกิดการพัฒนาอาชีพและความรู้สึกของความสาเร็จในการ
เรียนรใู้ นสนามการทางานจริงได้

ทา่ นให้คาแนะนาและข้อเสนอแนะท่ีสรา้ งสรรค์
ทา่ นสามารถทาให้พนักงานใหม่จะสามารถเตบิ โตและพัฒนาไดม้ ากทสี่ ดุ
ท่านช่วยให้ผู้รับคาปรึกษาเกิดการพัฒนาอาชีพและความรู้สึกของความสาเร็จในการเรียนรู้ใน
สนามการทางานจริงได้
ท่านสามารถถ่ายทอดวัฒนธรรมการทางานท่ีสอดคล้องกับองค์กรให้กับน้องเล้ียง เพื่อมุ่งม่ัน
ผลกั ดันเปา้ หมายขององคก์ รให้สาเร็จได้
การตงั้ คาถามในแบบสอบถามมี2แนวทาง 1.เปน็ ประโยคบอกเลา่ (ประธาน+กรยิ า+กรรม)

2.เป็นประโยคคาถาม

ด้านประสทิ ธภิ าพการทางานเชิงบวกของพเี่ ล้ียง มาก มาก ปาน นอ้ ย น้อย

ทส่ี ดุ กลาง ท่สี ดุ

ท่านใหค้ าแนะนาและข้อเสนอแนะท่สี รา้ งสรรค์

ท่านสามารถทาให้พนกั งานใหมจ่ ะสามารถเติบโตและพฒั นา

ไดม้ ากที่สดุ

ท่านช่วยให้ผ้รู บั คาปรกึ ษาเกิดการพฒั นาอาชพี และความรสู้ กึ

ของความสาเร็จในการเรียนรู้ในสนามการทางานจรงิ ได้

ท่านสามารถถ่ายทอดวฒั นธรรมการทางานทส่ี อดคล้องกับ

องค์กรให้กบั นอ้ งเลยี้ ง เพอื่ มงุ่ มนั่ ผลกั ดนั เปา้ หมายขององค์กร

ใหส้ าเร็จได้

ระบบพเี่ ล้ียงด้านการสอนหมายถึงหมายถงึ เปน็ วิธีพฒั นาทรัพยากรบคุ คลในพน้ื ทป่ี ฏบิ ัติงานจริง
และเปน็ หนา้ ท่ีของผบู้ งั คับบญั ชาท่ตี อ้ ง สอนงานผ้ใู ต้บงั คบั บัญชา โดยมีเป้าหมายเพือ่ พัฒนาศกั ยภาพของ
ผใู้ ตบ้ ังคบั บัญชาใหม้ ีความรู้ทกั ษะ และสมรรถนะที่ เหมาะสม เพอื่ ให้สามารถปลดปล่อยศักยภาพ และสง่
มอบผลการปฏบิ ัตงิ านให้สอดคล้องกับเปา้ หมายของหน่วยงานได้

25

ทา่ นมวี ธิ ีพัฒนาทรัพยากรบุคคลในพน้ื ทป่ี ฏิบัติงานจรงิ

ทา่ นส่งมอบผลการปฏิบตั งิ านใหส้ อดคล้องกบั เปา้ หมายของหน่วยงานได้

ทา่ นสามารถสอนบรรลุวตั ถปุ ระสงค์อย่างมีประสทิ ธิภาพและประหยดั รวดเร็ว

ดา้ นการสอน มาก มาก ปาน น้อย น้อย

ท่สี ุด กลาง ที่สดุ

ท่านมวี ิธพี ัฒนาทรพั ยากรบุคคลในพ้ืนทป่ี ฏบิ ตั งิ านจริง

ทา่ นส่งมอบผลการปฏบิ ัตงิ านให้สอดคล้องกับเปา้ หมายของ

หน่วยงานได้

ท่านสามารถสอนบรรลุวัตถปุ ระสงค์อยา่ งมปี ระสิทธิภาพและ

ประหยัด รวดเรว็

26

ระบบพเ่ี ลี้ยงด้านกระตนุ้ ให้เกิดการเรยี นรู้หมายถงึ การพจิ ารณาวา่ ผลงานความสาเรจ็ และ
กระบวนการปฏบิ ตั งิ านทใี่ ช้ นามาซึง่ ความพอใจของผเู้ ก่ียวขอ้ งตา่ งๆเพียงใด การทางานทเ่ี ป็นไปอย่าง
ถกู ตอ้ งและครบถ้วน และมกี ารประสานงานกันอย่างถกู ตอ้ ง จึงทาใหเ้ กิดความพึงพอใจกบั ผทู้ ่ีเก่ยี วข้องทุก
ฝา่ ย ได้แก่ เพ่ือนร่วมงาน หวั หน้างาน ผบู้ รหิ าร และพนักงานทกุ คนในองค์กร

ท่านนามาซ่งึ ความพอใจของผู้เก่ียวขอ้ งตา่ งๆ

ทา่ นมกี ารทางานทม่ี ีประสทิ ธิภาพไดอ้ ยา่ งครบถว้ น

ท่านมีการติดต่อประสานงานกนั ระหว่างกลมุ่ งานอย่างราบรนื่

ด้านกระต้นุ ใหเ้ กิดการเรยี นรู้ มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย
ที่สดุ กลาง ท่ีสดุ
ทา่ นนามาซงึ่ ความพอใจของผู้เก่ียวข้องต่างๆ
ท่านมกี ารทางานทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพไดอ้ ย่างครบถว้ น

ท่านมีการตดิ ต่อประสานงานกนั ระหว่างกล่มุ งานอยา่ งราบรนื่

27

ระบบพเ่ี ลี้ยงดา้ นการให้คาปรึกษาหมายถึงหมายถึง กระบวนการท่ีมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล

อาศัยการส่ือสารสองทาง ระหว่างบุคคลหนึ่งในฐานะผู้ให้การปรึกษา(counselor ) ซึ่งทาหน้าท่ี

เอ้อื อานวยใหอ้ กี ฝา่ ยหน่ึงซึง่ เป็น ผ้รู บั การปรกึ ษา ( client ) ได้สารวจและทาความเขา้ ใจ ส่ิงที่เป็นปัญหา

และแสวงหาหนทางแก้ไขปัญหาเหล่านั้นได้ด้วยตนเอง วิธีการแห่งการสร้างความสัมพันธ์และการ

ตอบสนองตอ่ ผู้อื่นโดยมีจดุ ประสงคเ์ พ่อื เป็นโอกาส

ทา่ นมีปฏิสัมพันธร์ ะหว่างบคุ คล

ท่านได้สารวจและทาความเขา้ ใจ สิ่งที่เปน็ ปญั หา แสวงหาหนทางแกไ้ ขปญั หา

ทา่ นสามารถเปน็ ผ้รู ับการปรกึ ษาท่ียตุ ิธรรมทา่ นมีการประสานงานกันได้อย่างถูกต้อง ทาให้เกิด

ความพึงพอใจกับผู้ทเ่ี ก่ียวข้องทุกฝา่

ด้านการใหค้ าปรึกษา มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย

ทส่ี ดุ กลาง ทส่ี ดุ

ท่านมปี ฏิสมั พันธร์ ะหวา่ งบคุ คล

ทา่ นไดส้ ารวจและทาความเขา้ ใจ สงิ่ ทเี่ ป็นปัญหา แสวงหา

หนทางแก้ไขปญั หา

ท่านสามารถเปน็ ผรู้ บั การปรกึ ษาท่ียุติธรรม

28

แบบสอบถาม
คาชี้แจง

แบบสอบถามนจี้ ัดทาขึ้นเพอื่ หาข้อมูลประกอบการวิจยั เร่อื ง ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งการรบั รู้ระบบ
การเปน็ พี่เลี้ยงกบั ประสทิ ธภิ าพของเจ้าหน้าที่บริษัทกรีนเดย์ 2019 จากัด อาเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์
ธานี ผ้วู จิ ยั จึงใครข่ อความร่วมมือมายังท่านเพ่ือตอบแบบสอบถามฉบับนี้ตามความเป็นจริง ท้ังน้ีเพื่อนา
ขอ้ มูลมาวิเคราะห์ซ่ึงจะเป็นประโยชน์เชิงวิชาการแก่ผู้สนใจต่อไปแบบสอบถามนี้ประกอบด้วย 3 ตอน
จานวน 2หนา้ คอื

ตอนที่ 1 ขอ้ มูลส่วนบคุ คลจานวน 2 ข้อ
ตอนที่ 2 ระบบพเี่ ลย้ี ง 4 ขอ้
ตอนที่ 3 ขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเตมิ
สาหรับข้อมูลที่ท่านได้ตอบในแบบสอบถามฉบับนี้ใช้สาหรับการศึกษาวิจัยเท่าน้ัน การตอบ
แบบสอบถามนจี้ ะไมม่ ผี ลกระทบตอ่ ท่านแต่อย่างใด แต่จะเป็นประโยชน์ในทางวิชาการเชิงสังคมศาสตร์
และนาไปใช้ประโยชน์เชิงวิชาการ โดยผู้วิจัยจะใช้ข้อมูลเพื่อการศึกษาวิจัย และขอบคุณทุกท่านมา ณ
โอกาสนี้

นางสาว กชามาส ทองเสมยี น

29

ภาคผนวก ข เคร่ืองมอื การวจิ ัย

แบบทดสอบความเทย่ี งตรงเชิงเนื้อหา IOC ของ แบบสอบถาม

ชื่อเร่ืองงานวจิ ัย ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งการรบั รรู้ ะบบการเปน็ พ่ีเลยี้ งกับประสทิ ธภิ าพของ
เจ้าหนา้ ทีบ่ รษิ ัทกรีนเดย์ 2019 จากัด
อาเภอเมือง จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี
ชอ่ื ผวู้ จิ ัย นางสาวกชามาส ทองเสมยี น
รหสั ประจาตัว 6112404001144
นักศกึ ษาหลกั สตู ร คณะวิทยาการจดั การ หลักการบรหิ ารธรุ กิจ แขนงการบรหิ ารทรัพยากรมนษุ ย์
หมายเลขโทรศัพท์ 0921451624 Email [email protected]
อาจารย์ผสู้ อน ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ธนายุ ภู่วิทยาธร

วถั ตุประสงคก์ ารวิจัย

ระบบพ่ีเล้ียงของพนักงานบรษิ ทั กรีนเดย์ 2019 จากดั อาเภอเมือง จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี

กรอบแนวคดิ

ข้อมูลสว่ นบคุ คล ระบบพเี่ ล้ยี งประสทิ ธิภาพการ
- เพศ ทางานของเจา้ หนา้ ที่
- ระดับการศึกษา
- ด้านประสิทธภิ าพการทางาน
เชิงบวกของพี่เลย้ี ง

- ดา้ นการสอน
- ด้านการให้คาปรึกษา
- ด้านกระตุ้นใหเ้ กดิ การเรยี นรู้

30

31

ภาคผนวก ค คนท

สมรรถนะ 1
1
ดา้ นประสิทธภิ าพการทางานเชงิ บวกของพ่เี ลย้ี ง 1
ท่านสามารถทาให้พนกั งานใหม่จะสามารถเติบโตและพัฒนาไดม้ ากท่ีสุด
ท่านช่วยให้ผู้รับคาปรึกษาเกิดการพัฒนาอาชีพและความรู้สึกของความสาเร็จในการเรียนรู้ใน 1
สนามการทางานจรงิ ได้ 1
ท่านสามารถถ่ายทอดวฒั นธรรมการทางานท่ีสอดคลอ้ งกบั องค์กรให้กบั น้องเลี้ยง เพื่อมุ่งมนั่ 0
ผลักดันเปา้ หมายขององคก์ รให้สาเรจ็ ได้
ดา้ นการสอน 1
ทา่ นมีวิธพี ฒั นาทรพั ยากรบุคคลในพืน้ ทปี่ ฏิบัติงานจรงิ 1
ท่านส่งมอบผลการปฏบิ ตั ิงานให้สอดคล้องกบั เป้าหมายของหน่วยงานได้ 1
ท่านสามารถสอนบรรลุวัตถุประสงค์อยา่ งมปี ระสิทธิภาพและประหยัด รวดเร็ว
ดา้ นการใหค้ าปรกึ ษา
ทา่ นมปี ระสิทธภิ าพในการทางานดา้ นผลงานได้มาตรฐานมากเพียงใด
ทา่ นทางานได้คุณภาพตามมาตรฐานถูกตอ้ งครบถ้วน
ทา่ นคิดว่างานท่ไี ดร้ บั มอบหมายบรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์

31

ความคิดเห็น รวม IOC ผล
ที่ 1 คนท่ี 2 คนท่ี 3

111 3 1 ใชไ้ ด้
111 3 1 ใช้ได้

1 0 1 2 0.67 ใชไ้ ด้

111 3 1 ใช้ได้

111 3 1 ใช้ได้

0 1 1 2 0.67 ใชไ้ ด้

1 0 1 2 0.67 ใชไ้ ด้

1 11 3 1 ใช้ได้

1 11 3 1 ใช้ได้

32

ภาคผนวก ง

Case Processing Summary

Cases Valid N %
30 100.0

Excludeda 0 .0
Total 30 100.0

a. Listwise deletion based on all variables
in the procedure.

Reliability Statistics

Cronbach's Alpha N of Items
.866 11

ระบบพีเ่ ล้ยี งดา้ นประสิทธภิ าพ Item Statistics Std. Deviation N
การทางานเชิงบวกของพี่เล้ยี ง หมายถงึ .568 30
การให้คาแนะนาและข้อเสนอแนะที่ Mean
4.43
สรา้ งสรรค์ เพ่ือพนกั งานใหมจ่ ะสามารถ
เติบโตและพฒั นาไดม้ ากทส่ี ุด พเ่ี ล้ยี งทีด่ ี
ควรมที ักษะการสอื่ สารที่ดี จะชว่ ยใหผ้ ้รู บั

คาปรึกษาเกิดการพฒั นาอาชีพและ
ความรู้สกึ ของความสาเร็จในการเรียนร้ใู น
สนามการทางานจรงิ ได้ [ทา่ นสามารถทา

ใหพ้ นกั งานใหมจ่ ะสามารถเตบิ โตและ
พฒั นาไดม้ ากทสี่ ุด]

33

ระบบพเ่ี ลี้ยงด้านประสิทธภิ าพ 4.67 .479 30
การทางานเชงิ บวกของพ่ีเลีย้ ง หมายถงึ 4.83 .379 30
4.57 .568 30
การใหค้ าแนะนาและข้อเสนอแนะที่
สรา้ งสรรค์ เพื่อพนกั งานใหมจ่ ะสามารถ
เตบิ โตและพฒั นาได้มากทส่ี ดุ พีเ่ ลย้ี งทดี่ ี

ควรมีทักษะการสอื่ สารทีด่ ี จะช่วยใหผ้ รู้ บั
คาปรกึ ษาเกดิ การพฒั นาอาชีพและ
ความรู้สกึ ของความสาเรจ็ ในการเรยี นร้ใู น

สนามการทางานจรงิ ได้ [ทา่ นชว่ ยให้ผูร้ ับ
คาปรึกษาเกดิ การพฒั นาอาชพี และ
ความรู้สึกของความสาเรจ็ ในการเรยี นรู้ใน

สนามการทางานจรงิ ได้]

ระบบพเ่ี ลี้ยงด้านประสทิ ธิภาพ

การทางานเชิงบวกของพเ่ี ล้ียง หมายถงึ
การให้คาแนะนาและข้อเสนอแนะที่
สรา้ งสรรค์ เพื่อพนักงานใหมจ่ ะสามารถ

เติบโตและพฒั นาไดม้ ากทส่ี ดุ พี่เล้ยี งทดี่ ี
ควรมีทักษะการสอื่ สารทีด่ ี จะชว่ ยใหผ้ ู้รบั
คาปรกึ ษาเกิดการพฒั นาอาชพี และ

ความรสู้ ึกของความสาเร็จในการเรียนรู้ใน
สนามการทางานจรงิ ได้ [ทา่ นสามารถ
ถา่ ยทอดวัฒนธรรมการทางานสอดคลอ้ ง

กบั องคก์ รใหก้ ับนอ้ งเลยี้ งเพอื่ มงุ่ ม่นั
ผลกั ดนั เป้าหมายขององค์กรใหส้ าเร็จได]้

ระบบพ่เี ลี้ยงดา้ นการสอน

หมายถงึ เป็นวธิ ีพัฒนาทรพั ยากรบุคคล
ในพื้นท่ีปฏบิ ัติงานจรงิ และเป็นหนา้ ท่ี
ของผู้บงั คับบัญชาท่ตี อ้ ง สอนงาน

ผู้ใตบ้ งั คบั บัญชา โดยมเี ป้าหมายเพื่อ
พัฒนาศักยภาพของผูใ้ ต้บังคบั บญั ชาใหม้ ี
ความรทู้ ักษะ และสมรรถนะท่ี เหมาะสม

เพ่อื ใหส้ ามารถปลดปลอ่ ยศักยภาพ และ
สง่ มอบผลการปฏบิ ัติงานใหส้ อดคลอ้ งกบั
เป้าหมายของหนว่ ยงานได้ [ท่านมีวิธี

พัฒนาทรัพยากรบุคคลในพน้ื ท่ีปฏิบตั งิ าน
จริง]

34

ระบบพ่เี ล้ียงด้านการสอน 4.50 .572 30
หมายถึง เปน็ วธิ พี ัฒนาทรพั ยากรบุคคล 4.47 .571 30
4.53 .629 30
ในพนื้ ท่ปี ฏิบัติงานจรงิ และเปน็ หนา้ ที่
ของผบู้ งั คบั บัญชาท่ีตอ้ ง สอนงาน
ผู้ใตบ้ ังคบั บัญชา โดยมเี ป้าหมายเพื่อ

พัฒนาศกั ยภาพของผใู้ ตบ้ ังคบั บัญชาใหม้ ี
ความรู้ทกั ษะ และสมรรถนะท่ี เหมาะสม
เพอ่ื ใหส้ ามารถปลดปลอ่ ยศกั ยภาพ และ

ส่งมอบผลการปฏบิ ัติงานใหส้ อดคลอ้ งกบั
เปา้ หมายของหน่วยงานได้ [ท่านส่งมอบ
ผลการปฏบิ ัตงิ านใหส้ อดคลอ้ งกบั

เปา้ หมายของหน่วยงานได้]

ระบบพี่เลย้ี งดา้ นการสอน

หมายถึง เป็นวธิ พี ฒั นาทรพั ยากรบคุ คล
ในพ้ืนที่ปฏิบตั งิ านจรงิ และเป็นหนา้ ที่
ของผบู้ งั คบั บญั ชาท่ีตอ้ ง สอนงาน

ผู้ใต้บงั คบั บัญชา โดยมเี ปา้ หมายเพ่อื
พฒั นาศักยภาพของผ้ใู ตบ้ งั คบั บัญชาใหม้ ี
ความรทู้ กั ษะ และสมรรถนะที่ เหมาะสม

เพื่อใหส้ ามารถปลดปลอ่ ยศกั ยภาพ และ
ส่งมอบผลการปฏบิ ัติงานใหส้ อดคลอ้ งกบั
เปา้ หมายของหนว่ ยงานได้[ทา่ นสามารถ

สอนบรรลุวตั ถปุ ระสงค์อยา่ งมี
ประสทิ ธภิ าพและประหยัดรวดเร็ว]

ระบบพี่เลย้ี งด้านการให้

คาปรึกษาหมายถงึ กระบวนการทมี่ ี
ปฏสิ ัมพนั ธร์ ะหว่างบุคคล อาศยั การ
ส่อื สารสองทาง ระหว่างบคุ คลหน่ึงใน

ฐานะผ้ใู หก้ ารปรกึ ษา(counselor ) ซ่ึงทา
หน้าท่เี ออื้ อานวยให้อีกฝา่ ยหนงึ่ ซง่ึ เปน็
ผรู้ บั การปรกึ ษา ( client ) ได้สารวจและ

ทาความเข้าใจ สิ่งทเี่ ปน็ ปัญหา และ
แสวงหาหนทางแกไ้ ขปญั หาเหล่าน้นั ได้
ดว้ ยตนเอง วธิ ีการแหง่ การสร้าง

ความสมั พนั ธแ์ ละการตอบสนอง[ทา่ นมี
ปฏิสมั พันธร์ ะหวา่ งบุคคล]

35

ระบบพี่เลี้ยงดา้ นการให้ 4.67 .479 30
คาปรึกษางหมายถึง กระบวนการท่ีมี 4.63 .556 30

ปฏสิ มั พันธร์ ะหว่างบุคคล อาศยั การ
สอ่ื สารสองทาง ระหว่างบุคคลหนง่ึ ใน
ฐานะผู้ใหก้ ารปรกึ ษา(counselor ) ซง่ึ ทา

หน้าทเี่ ออื้ อานวยให้อกี ฝา่ ยหนงึ่ ซง่ึ เปน็
ผูร้ บั การปรกึ ษา ( client ) ได้สารวจและ
ทาความเขา้ ใจ สง่ิ ท่ีเปน็ ปัญหา และ

แสวงหาหนทางแกไ้ ขปญั หาเหลา่ น้นั ได้
ด้วยตนเอง วิธีการแหง่ การสร้าง
ความสมั พันธ์และการตอบสนอง[ท่านได้

สารวจและทาความเขา้ ใจสงิ่ ทีเ่ ปน็ ปญั หา
แสวงหาหนทางแกไ้ ขปญั หา]

ระบบพ่เี ลยี้ งด้านการให้
คาปรึกษาหมายถึง กระบวนการทีม่ ี
ปฏิสัมพันธร์ ะหว่างบคุ คล อาศยั การ

สอ่ื สารสองทาง ระหว่างบุคคลหนงึ่ ใน
ฐานะผู้ใหก้ ารปรกึ ษา(counselor ) ซ่งึ ทา
หน้าท่ีเออื้ อานวยใหอ้ ีกฝา่ ยหนง่ึ ซง่ึ เปน็

ผรู้ บั การปรกึ ษา ( client ) ไดส้ ารวจและ
ทาความเข้าใจ สิ่งที่เปน็ ปัญหา และ
แสวงหาหนทางแก้ไขปญั หาเหลา่ นนั้ ได้

ดว้ ยตนเอง วธิ ีการแหง่ การสรา้ ง
ความสมั พันธ์และการตอบสนอง[ท่าน
สามารถเปน็ ผรู้ บั การปรกึ ษาทีย่ ตุ ธิ รรม]

36

ระบบพี่เลยี้ งด้านกระตนุ้ ให้เกิด 4.67 .479 30
การเรียนรหู้ มายถงึ การพจิ ารณาว่า

ผลงานความสาเร็จและกระบวนการ
ปฏิบัติงานท่ีใช้ นามาซ่งึ ความพอใจของ
ผเู้ ก่ียวข้องต่างๆเพยี งใด การทางานที่

เปน็ ไปอย่างถกู ตอ้ งและครบถว้ น และมี
การประสานงานกนั อย่างถกู ต้อง จงึ ทาให้
เกิดความพึงพอใจกบั ผทู้ ีเ่ กย่ี วขอ้ งทุกฝา่ ย

ไดแ้ ก่ เพอ่ื นร่วมงาน หวั หน้างาน
ผ้บู รหิ าร และพนกั งานทุกคนในองค์กร
[ทา่ นนามาซึ่งความพอใจของผูเ้ กี่ยวข้อง

ต่างๆ]

37

Item-Total Statistics Scale Scale Item
Variance if Item Corre
ระบบพเ่ี ลย้ี งดา้ น Mean if Item
ประสิทธิภาพการทางานเชงิ บวก Deleted
ของพเี่ ลี้ยง หมายถึงการให้ Deleted 11.995
คาแนะนาและข้อเสนอแนะท่ี
สร้างสรรค์ เพื่อพนกั งานใหมจ่ ะ 46.27
สามารถเตบิ โตและพฒั นาได้มาก
ท่สี ุด พี่เล้ยี งท่ดี คี วรมีทักษะการ
สอ่ื สารทดี่ ี จะชว่ ยให้ผู้รบั
คาปรึกษาเกิดการพฒั นาอาชีพ
และความรสู้ กึ ของความสาเรจ็ ใน
การเรยี นรูใ้ นสนามการทางาน
จริงได้ [ทา่ นสามารถทาให้
พนักงานใหม่จะสามารถเติบโต
และพัฒนาได้มากทส่ี ดุ ]

37

Corrected Cronbach'
m-Total s Alpha if Item

elation Deleted
.587 .853

38

ระบบพ่เี ลยี้ งด้าน 46.03 12.723

ประสทิ ธภิ าพการทางานเชงิ บวก

ของพ่ีเลย้ี ง หมายถึงการให้

คาแนะนาและขอ้ เสนอแนะที่

สร้างสรรค์ เพื่อพนกั งานใหมจ่ ะ

สามารถเติบโตและพฒั นาได้มาก

ท่สี ดุ พี่เลย้ี งทีด่ ีควรมที ักษะการ

สื่อสารทีด่ ี จะช่วยให้ผู้รบั

คาปรกึ ษาเกดิ การพฒั นาอาชพี

และความรสู้ กึ ของความสาเรจ็ ใน

การเรียนรใู้ นสนามการทางาน

จรงิ ได้ [ท่านชว่ ยใหผ้ รู้ บั

คาปรกึ ษาเกิดการพฒั นาอาชพี

และความรสู้ กึ ของความสาเร็จใน

การเรียนรู้ในสนามการทางาน

จริงได]้

38

.491 .860

39

ระบบพีเ่ ล้ยี งด้าน 45.87 12.671

ประสทิ ธภิ าพการทางานเชงิ บวก

ของพเี่ ลยี้ ง หมายถึงการให้

คาแนะนาและขอ้ เสนอแนะท่ี

สร้างสรรค์ เพื่อพนกั งานใหมจ่ ะ

สามารถเตบิ โตและพฒั นาไดม้ าก

ที่สุด พีเ่ ลี้ยงทด่ี ีควรมที ักษะการ

สื่อสารทดี่ ี จะช่วยให้ผ้รู บั

คาปรึกษาเกดิ การพฒั นาอาชพี

และความรสู้ กึ ของความสาเร็จใน

การเรียนรู้ในสนามการทางาน

จรงิ ได้ [ท่านสามารถถ่ายทอด

วัฒนธรรมการทางานที่

สอดคล้องกบั องคก์ รใหน้ อ้ งเล้ียง

เพอื่ มงุ่ ม่ันผลักดนั เป้าหมายของ

องคก์ รใหส้ าเรจ็ ได้]

39

.673 .851

40

ระบบพเ่ี ลีย้ งดา้ นการ 46.13 11.913
สอนหมายถงึ หมายถึง เปน็ วิธี

พฒั นาทรพั ยากรบคุ คลในพ้ืนที่
ปฏิบตั ิงานจริง และเป็นหน้าท่ี
ของผ้บู งั คับบญั ชาทีต่ อ้ ง สอน

งานผใู้ ต้บงั คบั บญั ชา โดยมี
เป้าหมายเพอ่ื พัฒนาศกั ยภาพ
ของผูใ้ ต้บงั คับบญั ชาใหม้ คี วามรู้

ทกั ษะ และสมรรถนะท่ี
เหมาะสม เพือ่ ใหส้ ามารถ
ปลดปลอ่ ยศกั ยภาพ และส่งมอบ

ผลการปฏบิ ัติงานใหส้ อดคลอ้ ง
กับเปา้ หมายของหนว่ ยงานได้
[ทา่ นมวี ธิ พี ฒั นาทา่ นมวี ิธีพฒั นา

ทรัพยากรบุคคลในพนื้ ที่
ปฏบิ ตั ิงานจรงิ ]


Click to View FlipBook Version