The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บันทึกการเรียนรู้ อภิญญา 226 คบ.วิทย์ ปี 2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by apinya.poope43, 2021-05-06 09:36:15

บันทึกการเรียนรู้ อภิญญา 226 คบ.วิทย์ ปี 2

บันทึกการเรียนรู้ อภิญญา 226 คบ.วิทย์ ปี 2

แบบบันทึกการเรยี นร้นู เ้ี ปน็ สว่ นหนึ่งของ
รายวิชา การวัดและประเมนิ การศกึ ษาและการเรยี นรู้

รหสั วิชา 21042103
ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563

แบบบนั ทกึ การเรียนรู้ เรื่อง การวดั และประเมนิ การศึกษาและการเรยี นรู้
เปน็ ส่วนหน่งึ ของรายวิชาการวดั และประเมนิ การศึกษาและการเรยี นรู้ รหสั วชิ า
21042103 โดยเปน็ การบันทึกเนื้อหาการเรยี นท้งั หมดท่ีเก่ยี วกบั การวัดและ
ประเมินผลการเรียนร้ใู นแตล่ ะสปั ดาห์ ของภาคเรียนที่ 2/2563 ซึ่งเปน็ การสรปุ
ความรทู้ ไี่ ด้ เปน็ แผนผงั ความคดิ และบรรยายพอสงั เขปตามความเข้าใจของตนเอง

อภญิ ญา บุญสร้าง
ผจู้ ัดทา





เรื่อง หนา้

คานา ก

สารบัญ ข

แนะนาผู้จดั ทา 1

แนะนาอาจารย์ผสู้ อน 2

สัปดาหท์ ่ี 1 แนวคดิ เกีย่ วกบั การเรยี นรู้ 3

สปั ดาหท์ ี่ 2 แนวคดิ เบอื้ งต้นเกย่ี วกับการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 6

สปั ดาห์ที่ 3 ความสาคัญ ประเภท หลักการ และจุดม่งุ หมายของการวดั 9

และประเมินผลการเรยี นรู้

สปั ดาหท์ ี่ 4 การวดั และประเมนิ ผลโดยใชแ้ บบทดสอบอัตนยั 13

สปั ดาห์ท่ี 5 การวัดและประเมินผลโดยใชแ้ บบทดสอบปรนยั ชนดิ ถกู ผดิ 16

สัปดาหท์ ่ี 6 การวดั และประเมินผลโดยแบบทดสอบปรนัยชนดิ จับคู่ 19

สัปดาห์ที่ 7 การวดั และประเมินผลโดยแบบทดสอบปรนัยชนิดเตมิ คาและตอบสัน้ 22

สัปดาห์ที่ 8 การวดั และประเมินผลโดยแบบทดสอบปรนยั ชนดิ เลือกตอบ 25

สัปดาห์ท่ี 9 การตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบ 28

สัปดาห์ท่ี 10 การวิเคราะหค์ ณุ ภาพของแบบทดสอบและแบบสอบถามโดยใช้ SPSS 31

สัปดาห์ที่ 11 การออกแบบหน่วยการเรียนรอู้ งิ มาตรฐานโดยใชก้ ระบวนการออกแบบยอ้ นกลบั 34

สัปดาหท์ ี่ 12 การประเมินจากการส่อื สารระหว่างบคุ คล 37

สัปดาห์ที่ 13 การประเมินการปฏิบตั ิ 40

สัปดาห์ที่ 14 การประเมนิ ตามสภาพจรงิ ในชนั้ เรยี น 43

สัปดาห์ท่ี 15 การใชร้ ูบรกิ ส์ในการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ 46

สัปดาหท์ ี่ 16 การประเมินโดยใชแ้ ฟ้มสะสมผลงาน 49

บทส่งท้าย 52

สญั ญาการเรยี น 54



ชื่อ : นางสาวอภิญญา บญุ สร้าง ชือ่ เล่น : ปเู ป้
รหัส : 62115239226 สาขา : วิทยาศาสตร์ ชัน้ ปที ่ี 2
คณะ : ครุศาสตร์
ศาสนา : พุทธ สญั ชาติ : ไทย
เกิดเมือ่ : 28 กนั ยายน 2543
อายุ : 20 ปี กรุ๊ปเลือด : O
นา้ หนัก : 54 กก. สว่ นสูง : 168 ซม.
เบอรโ์ ทรศพั ท์ : 0647946940
Email : [email protected]
คตปิ ระจา้ ใจ : ไม่มีส่งิ ไหนท่ที าไมไ่ ด้ ถ้าเรามุ่งมน่ั และต้งั ใจ

1

รองศาสตราจารย์ ดร.สา้ ราญ ก้าจดั ภยั

2

ใบความรทู้ ่ี 1
แนวคดิ เกย่ี วกบั การเรียนรู้

1. ความหมายของการเรียนรู้
2. พฤตกิ รรมการเรยี นรู้ด้านพุทธพิ สิ ัย
3. พฤติกรรมการเรยี นรูด้ ้านจิตพสิ ัย
4. พฤตกิ รรมการเรียนรดู้ ้านทกั ษะพสิ ยั

15 ธนั วาคม 2563

ความหมายของการเรียนรู้

การเรียนรู้ หมายถงึ การเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมทีค่ อ่ นขา้ งถาวร อันเน่ืองมาจากการ
ไดร้ บั ประสบการณ์

พทุ ธิพิสัย

เปน็ พฤตกิ รรมความสามารถทางสมอง
ความรู้ ความเขา้ ใจ

1. ความรู้ 4. การวเิ คราะห์
2. ความเข้าใจ 5. การสังเคราะห์
3. การนาไปใช้ 6. การประเมนิ คา่

แนวคิดเกี่ยวกบั การเรียนรู้

จิตพิสัย

เปน็ พฤตกิ รรมที่เกยี่ วขอ้ งกับความรู้สึก
ความเชือ่ เปน็ สงิ่ ท่ีทาใหเ้ กดิ ลักษณะนสิ ัย

1. ขั้นรับรู้ 4. ขน้ั จดั ระบบคา่ นิยม
2. ขนั้ ตอบสนอง 5. ขั้นสรา้ งลกั ษณะนสิ ัยจากคา่ นิยม
3. ขน้ั เห็นคณุ คา่

Simpson มี 7 ขั้น ทกั ษะพสิ ยั

1. การรับรู้ เปน็ พฤตกิ รรมทเี่ กี่ยวข้องกบั ความเคลอ่ื นไหว
2. การเตรียมความพร้อม
3. การตอบสนองตามแนวชีแ้ นะ ของรา่ งกายทที่ างานสมั พนั ธก์ ับอวยั วะ
4. การปฏิบัตไิ ด้ด้วยตนเอง
5. การตอบสนองทซ่ี ับซ้อน Dave มี 5 ขั้น 4. ปฏบิ ตั ไิ ด้อยา่ งชัดเจน
6. การดัดแปลง 1. รบั รแู้ ละเลยี นแบบ
7. การรเิ ร่มิ
2. ลงมือปฏบิ ัตแิ ละทาตามได้ 5. ปฏิบตั ิได้อยา่ งธรรมชาติ

3. ลดความผดิ พลาดจนทาถูกตอ้ ง

สรปุ องค์ความรู้
แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้

ในชีวิตประจาวันของเรามกี ารเปล่ียนแปลงพฤตกิ รรมมากมาย อาจจะเปลย่ี นแปลง
ช่ัวคราว หรือเปลี่ยนแปลงทถ่ี าวรก็ได้ แต่การเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมทคี่ อ่ นขา้ งมน่ั คง
ซงึ่ เป็นผลมาจากการได้รบั ประสบการณน์ ั้นเราเรยี กว่า การเรียนรู้ และคณะไดใ้ ห้
ความหมายของพฤติกรรมการเรยี นรู้ 3 ดา้ นใหญ่ ๆ ได้แก่

1. ด้านพทุ ธิพิสยั ความสามารถทางสมอง เกิดการเรยี นรู้ในตวั บุคคล ถา้ เรามี
ความรู้ กจ็ ะทาให้เรามีความเข้าใจ สามารถแปลความ ตคี วาม และขยายความได้ จากนน้ั
นาไปสกู่ ารนาไปใช้ การวเิ คราะห์ ก็จะสามารถวิเคราะหส์ ว่ นประกอบ วิเคราะห์
ความสัมพันธ์ และวเิ คราะห์หลักการได้ ถัดจากน้นั จะเปน็ การสังเคราะห์ กจ็ ะสามารถรวม
สง่ิ ยอ่ ย ๆ ใหเ้ ปน็ หนง่ึ เดียวได้ สดุ ทา้ ยการประเมินคา่ เปน็ การพจิ ารณาอยา่ งดใี นการ
ตดั สินใจอยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ

2. ด้านจติ พสิ ยั เปน็ พฤตกิ รรมที่เกย่ี วขอ้ งกบั ความรสู้ ึก ความเชอ่ื เจตคติ ค่านยิ ม
ซ่งึ กอ่ ให้เกดิ บคุ ลิกภาพหรอื ลกั ษณะนิสยั ของบคุ คล เป็นลาดบั ข้นั ข้ันแรกรับรู้ บคุ คลรับรู้
สิ่งเร้า หลงั จากทร่ี บั รใู้ นขั้นแรกแล้ว บุคคลจะมีพฤติกรรมการตอบสนองต่อสง่ิ เร้า จากน้นั
จะเกดิ ความร้สู กึ เห็นคณุ ค่าในสิง่ นน้ั เกิดการจดั ระบบคา่ นยิ ม สดุ ทา้ ยจะสรา้ งลกั ษณะนสิ ัย
ที่ค่อนข้างถาวร

3. ดา้ นทกั ษะพิสยั เป็นความสามารถในการใช้อวัยวะตา่ ง ๆ ของร่างกายทางาน
อย่างประสานสมั พันธ์กนั โดยจะมขี น้ั ตอนของการเกดิ พฤติกรรมไปตามลาดบั

ใบความรู้ท่ี 2 แนวคดิ เบ้อื งตน้ เกยี่ วกับ
การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้

1. แนวคิดเก่ยี วกบั การวัดผล
2. แนวคดิ เกี่ยวกับการประเมนิ ผล
3. แนวทางการนาผลการประเมินการเรยี นรู้ไปใช้ประโยชน์

22 ธนั วาคม 2563

Evaluation กบั Assessment 1. เพือ่ วางแผนการจดั การเรยี นรู้
คือ การเก็บรวบรวมข้อมูล และการ 2. เพอ่ื ปรับปรงุ พฒั นา
วเิ คราะหข์ ้อมลู ทง้ั ขณะทด่ี าเนนิ การ 3. เพ่อื สรปุ และตดั สินผลการเรียนรู้
จัดการเรียนการสอน (Formative) โดยการใหเ้ กรด ซงึ่ บง่ ชี้ถึงความรู้
และหาข้อสรุปในชว่ งท้าย (Summative) ความสามารถ และทักษะ
ซึ่งการวัดผลน้ัน เป็นองคป์ ระกอบในการ 4. เพ่ือการรายงานตอ่ ผู้ปกครอง
เก็บรวบรวมข้อมลู เพอ่ื ทาการประเมินผล และผทู้ ่เี กีย่ วขอ้ ง

แนวคิดเก่ยี วกับ แนวทางการนา้ ผลการประเมนิ
การประเมินผล การเรียนรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

แนวคดิ เบื้องต้นเกย่ี วกับการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้

แนวคดิ เก่ียวกบั
การวดั ผล

วิธกี ารวัดผล
1. การวัดผลทางตรง สงิ่ ท่วี ัดเปน็ รูปธรรม เช่น นา้ หนกั
2. การวดั ผลทางออ้ ม สงิ่ ทีว่ ัดเปน็ นามธรรม เชน่ ความมวี นิ ัย
องคป์ ระกอบของการวัดผล
1. ส่งิ ทต่ี อ้ งการวดั ผล
2. วิธีการและเครือ่ งมือท่ใี ชใ้ นการวัดผล
3. ข้อมลู ท่ไี ด้จากเครือ่ งมอื มี 4 ระดบั

3.1 ระดบั นามบัญญตั ิ เช่น เพศ อาชีพของบิดา หมเู่ ลือด
3.2 ระดับเรยี งอนั ดบั เช่น วฒุ กิ ารศกึ ษา ลาดบั ทส่ี อบได้
3.3 ระดบั อนั ตรภาค ไม่มศี นู ยแ์ ท้ เช่น คะแนนสอบ
3.4 ระดบั อัตราสว่ น มีศนู ยแ์ ท้ เช่น นา้ หนกั ความสูง

สรปุ องค์ความรู้
แนวคดิ เบื้องต้นเกยี่ วกบั การวดั และประเมินผลการเรียนรู้

การวัดผลการเรยี นรู้ เปน็ กระบวนการทคี่ รผู ้สู อนนาเคร่ืองมอื อยา่ งใดอย่างหนงึ่
ไปใชก้ บั ผู้เรียน ซง่ึ ในการวัดผลมี 2 วิธีใหญ่ ๆ คือ การวัดผลทางตรง และการวัดผล
ทางอ้อม

การวดั ผลทางตรง สามารถวดั สิ่งท่ีตอ้ งการวัดไดโ้ ดยตรงจริง ๆ เป็นรูปธรรม
เช่น วดั นา้ หนัก

การวัดผลทางอ้อม ไม่สามารถวัดส่ิงท่ตี อ้ งการวัดไดโ้ ดยตรง เปน็ นามธรรม
เช่น วดั ความมีวินยั

Evaluation เป็นกระบวนการตัดสินคุณภาพเกย่ี วกับการเรียนรขู้ องผเู้ รยี น
Assessment เป็นกระบวนการเก็บรวบรวมข้อมลู ทเ่ี ก่ยี วข้องกับพฤตกิ รรม
การเรียนรู้ของผ้เู รยี น
Formative ใช้ขณะดาเนินการจดั การเรยี นการสอนอย่างต่อเน่ือง
Summative ชว่ งท้ายการจัดการเรยี นการสอนเพื่อหาข้อสรปุ

ใบความรู้ท่ี 3
ความสา้ คญั ประเภท หลกั การ และจุดมุง่ หมาย

ของการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้

1. ความสาคญั ของการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้
2. ประเภทของการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้
3. หลักการของการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้
4. จุดมงุ่ หมายของการวัดและประเมินผลการเรยี นรู้

29 ธนั วาคม 2563

ความส้าคญั ประเภท หลักการ และจุดมงุ่ หมาย
ของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้

ความสา้ คัญของการวดั ประเภทของการวัด
และประเมนิ ผลการเรียนรู้ และประเมนิ ผลการเรยี นรู้

1. ต่อผู้เรียน 1. จาแนกตามข้นั ตอนการจดั การเรยี นการสอน
-รพู้ นื้ ฐานความรขู้ องตนเอง -เพ่ือจัดวางตาแหนง่ กอ่ นเร่มิ เรียนเพอื่ ดูความพรอ้ มของผเู้ รียน
-รู้วา่ ตนเองมจี ดุ บกพรอ่ งทคี่ วรปรบั ปรงุ อะไรบ้าง -เพอ่ื วินจิ ฉัย กอ่ นเรยี นเพอ่ื ดูพ้ืนฐานของผเู้ รยี น
-รู้วา่ ตนเองมพี ัฒนาการดขี นึ้ เพยี งใด -เพื่อการพัฒนา ดาเนินการตลอดการเรยี นการสอน
-เพื่อสรปุ ผลการเรยี นรู้ ทาหลังเรียนเสรจ็ เพ่อื ตดั สนิ ผลการเรียน
2. ตอ่ ผสู้ อน
-ได้ขอ้ มูลพ้นื ฐานของผูเ้ รยี นมาวางแผน 2. จาแนกตามการอ้างองิ
การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน -แบบองิ ตน เปรยี บเทียบกบั ความสามารถของตนเอง
-รูพ้ ฒั นาการของผเู้ รยี นแตล่ ะคนวา่ เป็นอย่างไร -แบบอิงกลุ่ม เปรยี บเทยี บกนั เองภายในกลุ่ม
-ร้วู า่ ผเู้ รียนแตล่ ะคนบรรลุเป้าหมายท่ีระบุไว้ -แบบองิ เกณฑ์ เปรยี บเทียบกับเกณฑ์ที่กาหนดขนึ้
ในบทเรยี นหรือไม่

หลักการของการวัด จุดมงุ่ หมายของการวัด
และประเมินผลการเรียนรู้ และประเมินผลการเรียนรู้

1. สถานศกึ ษาเปิดโอกาสใหผ้ ู้ทเ่ี กยี่ วข้องมีสว่ นร่วม 1.เพอ่ื ตรวจสอบผลการปฏิบัติทั้งในด้านผเู้ รียน
2. มจี ดุ มุ่งหมายเพอื่ พัฒนาผ้เู รยี นและตดั สินผลการเรียน และผสู้ อน
3. สอดคล้องและครอบคลมุ มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชวี้ ัด 2.เป็นสว่ นหนึ่งของกระบวนการเรียนการสอน
4. ดาเนนิ การด้วยเทคนคิ วธิ ีการทห่ี ลากหลาย 3.เปน็ เครอื่ งมือประกนั คณุ ภาพการศึกษา
5. การประเมินผเู้ รยี นพิจารณาจากพฒั นาการของผู้เรียน 4.ตรวจสอบผลการเรยี นรู้
6. เปดิ โอกาสให้ผูเ้ รยี นและผู้มสี ว่ นเกีย่ วข้องตรวจสอบผล 5.ใหข้ อ้ มลู เพือ่ การพัฒนา
การประเมินผลการเรยี นรู้
7. ใหม้ กี ารเทียบโอนผลการเรยี น
8. ให้สถานศกึ ษาจดั ทาและออกเอกสารหลกั ฐานการศกึ ษา

สรุปองค์ความรู้
ความส้าคัญ ประเภท หลกั การ และจุดม่งุ หมาย

ของการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้

ความสาคัญของการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ซึ่งมีทั้งความสาคัญต่อผเู้ รยี น
และผูส้ อน จะทาใหผ้ ู้เรยี นรพู้ นื้ ฐานความรขู้ องตนเอง รู้ว่าตนเองมจี ุดบกพรอ่ งทค่ี วร
ปรับปรงุ อะไรบ้าง สว่ นผสู้ อนกจ็ ะรขู้ ้อมลู พ้ืนฐาน พัฒนาการของผ้เู รยี นแตล่ ะคน

การแบง่ ประเภทของการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ จะช่วยให้ผู้สอนออกแบบ
การวดั และประเมินผลการเรยี นร้ไู ด้ตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ และเปน็ ประโยชน์ตอ่ การพัฒนา
ผู้เรียนมากยิง่ ขนึ้

หลกั การของการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้กค็ ือ สถานศกึ ษาเป็นผูร้ บั ผดิ ชอบ
การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ของผเู้ รยี น โดยเปิดโอกาสให้ผู้ทีเ่ กยี่ วขอ้ งมสี ่วนรว่ ม
มจี ุดมุ่งหมายเพอื่ พัฒนาผเู้ รยี นและตัดสินผลการเรียน ซ่งึ การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้
จะต้องสอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชีว้ ดั ตามกลมุ่ สาระการเรยี นรูท้ ่ีกาหนด
ในหลกั สูตรสถานศกึ ษา

การวดั และประเมินผลการเรยี นรมู้ จี ุดม่งุ หมายเพื่อตรวจสอบผลการปฏิบตั ิ
ทัง้ ในด้านผเู้ รียนและผู้สอน เป็นเคร่ืองมือประกนั คุณภาพการศึกษา ตรวจสอบผล
การเรยี นร้แู ละใหข้ ้อมูลเพือ่ การพัฒนา

การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้โดยใชแ้ บบทดสอบ

29 ธันวาคม 2563

เขยี นตอบ

ภาคปฏิบตั ิ ตอบปากเปล่า

จ้าแนกตาม
ลกั ษณะการตอบ

ประเภทของแบบทดสอบ

จ้าแนกตาม จา้ แนกตาม
จุดมุ่งหมายในการสร้าง การอ้างอิง

อตั นัย องิ เกณฑ์ อิงขอบขา่ ย
ปรนัย

-แบบถกู ผดิ องิ กลุ่ม
-แบบเตมิ คา,ตอบส้นั
-แบบจับคู่
-แบบเลอื กตอบ

ใบความร้ทู ี่ 4
การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้โดยใช้
แบบทดสอบความเรยี ง หรือแบบทดสอบอตั นยั

1. ความหมายของแบบทดสอบความเรยี ง
2. หลักการหรือแนวทางในการสร้างแบบทดสอบความเรยี ง
3. แนวทางการตรวจให้คะแนนขอ้ สอบความเรยี ง

29 ธนั วาคม 2563

ความหมายของแบบทดสอบความเรยี ง

“แบบทดสอบความเรยี ง” เป็นชดุ ของข้อคาถามท่ผี ู้สอน
กาหนดข้นึ เพ่ือให้ผ้เู รียนเขยี นเรียบเรียงคาตอบอย่างอิสระ
โดยใชค้ วามรู้ ความสามารถในการคดิ ระดับสูง

การวดั และประเมินผลการเรียนรู้
โดยใชแ้ บบทดสอบความเรียง

หรือแบบทดสอบอัตนยั

แนวทางในการสรา้ ง แนวทางการ
แบบทดสอบความเรียง ตรวจให้คะแนน

1. กาหนดผลการเรยี นรู้ 1. สร้างเกณฑ์การใหค้ ะแนน
ซงึ่ ตอ้ งเป็นเรอ่ื งที่ใชค้ วามคดิ ขัน้ สงู (Rubrics) อย่างละเอียดชดั เจน
2. ควรระมัดระวงั เกี่ยวกับความลาเอียง
2. กาหนดจานวนข้อ และถามท่ีจุดเน้นสาคญั ๆ 3. ควรตรวจใหค้ ะแนนคาตอบของทกุ คนใหเ้ สรจ็
3. คาถามชดั เจน เป็นคาถามโดยตรง และประโยคคาสง่ั ทลี ะข้อคาถาม ค่อยตรวจขอ้ ต่อไป
4. ระบคุ ะแนน ความยาวของคาตอบ เวลาท่ใี ช้ 4. ถ้าตรวจหลายคน ใหแ้ บ่งขอ้ ตรวจ
5. ระบุเกณฑ์ในการใหค้ ะแนน 5. บนั ทึกสง่ิ ทีห่ ักคะแนนไว้
6. ตรวจสอบคณุ ภาพของข้อสอบก่อนนาไปใช้ 6. ไม่ควรเอาประเดน็ ไวยากรณม์ าเปน็ เกณฑ์
7. ปรับปรงุ คาถามไว้ใชโ้ อกาสตอ่ ไป

สรุปองคค์ วามรู้
การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรโู้ ดยใชแ้ บบทดสอบความเรยี ง

หรอื แบบทดสอบอัตนยั

แบบทดสอบความเรียงหรือแบบทดสอบอตั นัย
เป็นชดุ ของขอ้ คาถามท่ีผู้สอนกาหนดข้นึ เพือ่ ให้ผู้เรยี นเรยี บเรยี งคาตอบ

อย่างอสิ ระ โดยใชค้ วามรู้ ความสามารถในการคดิ ระดับสูง ซ่งึ แบบทดสอบความเรยี ง
สามารถวดั สง่ิ ท่ีตอ้ งการวัดไดล้ กึ ซึง้
แนวทางในการสรา้ งแบบทดสอบความเรยี ง

1. กาหนดผลการเรยี นรู้ ซงึ่ ตอ้ งเป็นเรือ่ งที่ใช้ความคิดขั้นสงู
2. กาหนดจานวนข้อ และถามท่จี ุดเนน้ สาคัญ ๆ
3. เขยี นข้อคาถามโดยใชถ้ ้อยคาทีช่ ัดเจน สอดคลอ้ งกับผลการเรยี นรูท้ ี่ตอ้ งการวดั
4. ระบุน้าหนกั คะแนน ความยาวของคาตอบ
5. ระบุเกณฑ์การใหค้ ะแนนข้อสอบให้ผู้เรียนได้ทราบ
6. ตรวจสอบคณุ ภาพของขอ้ สอบก่อนนาไปใช้
7. ปรับปรงุ คาถามไวใ้ ชโ้ อกาสต่อไป
แนวทางการตรวจใหค้ ะแนนขอ้ สอบความเรยี ง
1. สร้างเกณฑ์การใหค้ ะแนน (Rubrics) อยา่ งละเอยี ดชดั เจน
2. ควรระมดั ระวังเกีย่ วกับความลาเอียง
3. ควรตรวจใหค้ ะแนนคาตอบของทกุ คนใหเ้ สร็จทลี ะขอ้ คาถาม ค่อยตรวจขอ้ ต่อไป
4. ถ้าตรวจหลายคน ให้แบ่งข้อตรวจ
5. บนั ทึกสิ่งทห่ี ักคะแนนไว้
6. ไม่ควรเอาประเด็นไวยากรณม์ าเป็นเกณฑ์

ใบความรทู้ ี่ 5
แบบทดสอบปรนัยชนิดถกู ผิด

1. ความหมายและลกั ษณะของแบบทดสอบปรนัยชนิดถกู ผิด
2. หลกั การหรอื แนวทางในการสร้างแบบทดสอบปรนัยชนดิ ถูกผดิ

5 มกราคม 2564

ความหมายและลกั ษณะ เขียนคาชี้แจงให้ชัดเจน
ของแบบทดสอบปรนยั ชนิดถกู ผดิ
ข้อคาถามจะต้องถกู หรือผดิ
เป็นชดุ ของข้อความ ซึ่งอาจเขียนอย่ใู นรปู อยา่ งแท้จริง ไมม่ ีขอ้ ยกเวน้
ประโยคบอกเลา่ หรือประโยคคาถามก็ได้ ให้พิจารณา ใช้ภาษาทีเ่ รยี บง่าย
ว่าถกู หรือผดิ ตามหลักของวิชาน้ัน มีสองทางเลอื ก
ระหวา่ ง ถูก-ผดิ จริง-ไม่จริง ใช่-ไม่ใช่ กไ็ ด้ ในแต่ละขอ้ ควรถามเพยี ง
ประเดน็ เดยี ว
แบบทดสอบปรนยั ชนดิ ถูกผดิ ในแตล่ ะข้อควรให้ขอ้ มูล
ที่เพยี งพอ
แนวทางในการสรา้ ง หลกี เลย่ี งการลอกข้อความ
แบบทดสอบปรนัยชนดิ ถกู ผดิ จากหนงั สอื
ถ้าเขยี นขอ้ ความทเี่ ปน็
การเขียนข้อคาถามสาหรับขอ้ สอบถูกผิด ประโยคปฏเิ สธ ให้ขดี เส้นใต้
ใหด้ ี ควรใช้ข้อคาถามทไ่ี ม่คลุมเครือ หลกี เล่ียงคาท่ีนักเรยี นไมค่ นุ้
ไมค่ วรถามในรายละเอียดปลีกยอ่ ยจนเกินไป
หลีกเลยี่ งคาที่ชแ้ี นะคาตอบ

ไม่ควรใชข้ ้อความปฏเิ สธซ้อน

คาตอบของขอ้ คาถามควรถกู
หรอื ผดิ ตามหลกั วิชา
สง่ิ ทก่ี าหนดว่าถกู หรือผดิ
เป็นส่วนสาคญั ของขอ้ ความ
ขอ้ คาถามแตล่ ะข้อควรเป็น
อิสระต่อกัน
ผดิ -ถูก 40%-60%

ผิด-ถกู กระจายกนั อยู่

ควรเอาขอ้ สอบถูกผดิ ไวต้ น้ ๆ

สรุปองคค์ วามรู้
แบบทดสอบปรนัยชนิดถกู ผดิ

แบบทดสอบปรนยั ชนิดถกู ผดิ (True or false test)
เป็นชดุ ข้อความ อาจอยใู่ นรปู ประโยคบอกเล่าหรอื ประโยคคาถามกไ็ ด้ ให้พจิ ารณาวา่

ถกู หรอื ผิดตามหลักของวิชานัน้ ให้เลือกระหว่าง ถกู -ผิด จริง-ไม่จรงิ หรอื ใช่-ไม่ใช่
แบบทดสอบนี้สามารถวดั ได้วา่ นักเรยี นสามารถแยกแยะขอ้ เทจ็ จรงิ เหลา่ นัน้ ไดต้ ามหลกั วชิ าหรือไม่
แนวทางในการสรา้ งแบบทดสอบปรนัยชนดิ ถกู ผิด

1. เขียนคาชแ้ี จงให้ชัดเจน วา่ ตอ้ งตอบ ถูก-ผดิ จรงิ -ไมจ่ รงิ หรอื ใช่-ไมใ่ ช่
2. ขอ้ คาถามจะตอ้ งถกู หรอื ผิดอย่างแทจ้ รงิ ไม่มีขอ้ ยกเวน้
3. ใช้ภาษาทเ่ี รยี บง่าย ทกุ คนอา่ นแล้วเข้าใจตรงกนั
4. ในแต่ละข้อคาถามควรถามเพยี งประเดน็ เดียว
5. ในขอ้ คาถามควรมีขอ้ มลู ในการตดั สนิ ใจทเ่ี พยี งพอ
6. หลีกเลยี่ งการลอกข้อความจากหนงั สือ
7. ถ้าเขยี นขอ้ คาถามใหเ้ ป็นประโยคปฏเิ สธ ให้ขีดเสน้ ใต้
8. หลกี เล่ียงคาท่นี ักเรยี นไมค่ ุ้นเคย
9. หลกี เล้ียงคาทช่ี ้แี นะคาตอบ เชน่ ทกุ ๆ ทงั้ หมด บ่อย ๆ
10. ไม่ควรใช้ขอ้ ความปฏิเสธซ้อน
11. คาตอบของขอ้ คาถามควรถูกหรือผิดตามหลักวชิ า ไม่ใชต่ ามความคดิ เห็น
12. ไม่ควรสรา้ งข้อสอบแบบ สะกดช่ือคนผิด หรอื สถานท่ีผดิ
13. ข้อคาถามแต่ละขอ้ ควรเปน็ อสิ ระตอ่ กัน
14. ควรใหม้ จี านวนขอ้ ถูกข้อผิดใกล้เคียงกัน
15. ข้อถูก-ผดิ กระจายกนั อยู่
16. จดั ข้อสอบถูก-ผดิ ไวต้ อนตน้ ๆ ของแบบทดสอบ

ใบความรทู้ ี่ 6
แบบทดสอบปรนัยชนดิ จบั คู่

1. ความหมายและลักษณะของแบบทดสอบปรนัยชนิดจับคู่
2. หลักการหรือแนวทางในการสรา้ งแบบทดสอบปรนยั ชนิดจบั คู่

5 มกราคม 2564

แบบทดสอบปรนยั ชนดิ จับคู่

ความหมายและลักษณะ แนวทางในการสร้าง
ของแบบทดสอบปรนัยชนดิ จบั คู่ แบบทดสอบปรนยั ชนิดจบั คู่

เป็นรปู แบบหนง่ึ ของแบบทดสอบ 1. คา วลี ที่อย่ใู นคอลัมนซ์ า้ ยและขวา
ปรนัย ซ่งึ ลกั ษณะโดยท่วั ไปมกั จะวางกลุ่ม ควรเป็นเนอ้ื หาเดยี วกัน
ของคา วลี ตัวเลข หรอื สัญลกั ษณไ์ ว้เปน็ 2. เขยี นคาช้แี จงในการจบั คใู่ ห้ชดั เจน
2 คอลมั น์ คอลมั น์ซา้ ยและคอลมั นข์ วา 3. ทบทวนรายการคาถามและคาตอบอย่างรอบคอบ
คอลัมนซ์ า้ ย เรยี กว่า กลมุ่ ข้อคาถาม 4. เพิ่มจานวนรายการขอ้ คาตอบใหม้ ากกวา่
ส่วนคอลัมนข์ วา เรยี กว่า กลุ่มคาตอบ รายการขอ้ คาถาม
5. ขอ้ คาถามไมค่ วรมากหรือนอ้ ยเกินไป
6. เรียงลาดบั ของแตล่ ะคอลัมนใ์ หเ้ ป็นระเบยี บ
7. ขอ้ สอบควรอยู่ในหนา้ เดยี วกัน

สรปุ องคค์ วามรู้
การวดั และประเมินผลการเรียนร้โู ดยใช้แบบทดสอบปรนัยชนิดจบั คู่

แบบทดสอบปรนยั ชนดิ จบั คู่ (Matching test)
เปน็ แบบทดสอบท่มี กั สรา้ ง ตวั เลข วลี หรอื กล่มุ คาไว้ 2 คอลมั น์ คือ

ขอ้ คาตอบและข้อคาถาม เพือ่ จับคู่ขอ้ ที่มีความสัมพันธก์ ัน ซ่งึ ขอ้ คาถามจะจัดไว้
ทค่ี อลมั น์ซ้าย และขอ้ คาตอบอยคู่ อลัมน์ขวา
แนวทางในการสรา้ งแบบทดสอบปรนยั ชนิดจบั คู่

1. คา วลี ตัวเลข ในขอ้ คาถามและข้อคาตอบ ควรเป็นเนอื้ หาเดยี วกัน
2. เขียนคาช้แี จงในการจับคู่ เชน่ เนื้อหาในคอลัมนเ์ ก่ียวกบั อะไร
ใหป้ ฏิบตั ิอยา่ งไรในการตอบ เลอื กมาตอบไดก้ ่ีครง้ั
3. ตรวจสอบว่าไมไ่ ด้ช้ีแนะคาตอบ
4. ควรเพ่ิมจานวนข้อคาตอบเพื่อลดโอกาสในการเดา
5. ขอ้ คาถามไมค่ วรมากหรือนอ้ ยเกนิ ไป
6. เรยี งลาดบั ของแตล่ ะคอลัมนใ์ ห้เปน็ ระเบยี บ
7. ข้อสอบควรจดั ให้อยู่ในหนา้ เดียวกัน

ใบความรทู้ ่ี 7
แบบทดสอบปรนัยชนิดเติมค้าและชนิดตอบแบบสนั้

1. ความหมายและลักษณะของแบบทดสอบปรนัยชนดิ เตมิ คา
และชนดิ ตอบแบบส้นั

2. หลกั การหรือแนวทางการสรา้ งแบบทดสอบปรนัยชนิดเติมคา
และชนดิ ตอบแบบสน้ั

12 มกราคม 2564

เป็นแบบทดสอบปรนยั ขนิดหนึ่งทีม่ ่งุ ใหผ้ ู้เรียน เปน็ แบบทดสอบปรนัยขนดิ หนงึ่

คิดหาคาตอบด้วยตนเอง ซึง่ อาจเป็นคา วลี หรือประโยค ทมี่ ุง่ ให้ผเู้ รยี นตอบข้อสอบซ่งึ อยู่ในรูปประโยค
คาถามหรอื ประโยคคาส่งั โดยการเขยี น
แลว้ เขียนคาตอบนน้ั ลงในชอ่ งวา่ งต่อจากขอ้ ความ
ทีไ่ ด้เขยี นค้างไว้ เพื่อให้เป็นข้อความทถี่ กู ตอ้ งสมบูรณ์ คาตอบขนึ้ มาเองสนั้ ๆ กระชบั ตรงตาม
เช่น 1) เมืองหลวงของประเทศไทยม่ชี อ่ื ว่า........... ความเป็นจรงิ
เชน่ 1) เมืองหลวงของประเทศไทยมีชือ่ วา่ อะไร

ลักษณะของแบบทดสอบ ลกั ษณะของแบบทดสอบ
ปรนยั ชนดิ เตมิ คา้ ปรนัยชนดิ ตอบแบบสน้ั

แบบทดสอบปรนยั ชนดิ เตมิ คา้
และชนิดตอบแบบสั้น

แนวทางการสร้าง แนวทางการสร้าง
แบบทดสอบปรนยั ชนิดเตมิ คา้ แบบทดสอบปรนยั ชนิดตอบแบบสนั้

1) ใหข้ อ้ แนะนาในการตอบขอ้ สอบอยา่ งชัดเจน 1) ให้ข้อแนะนาในการตอบข้อสอบอย่างชัดเจน
2) เขียนประโยคข้อความที่เป็นข้อคาถามใหช้ ดั เจน 2) เขยี นข้อคาถามให้ชดั เจนในรปู ของ
และสมบูรณเ์ พียงพอ ประโยคคาถาม หรือประโยคคาส่ัง
3) ควรสรา้ งคาถามขนึ้ ใหม่ ไมค่ วรนามาจากบทเรยี น 3) ข้อคาถามควรใหม้ ีคาตอบถูกตอ้ ง
หนังสือเพอ่ื มาตัดคาบางคาออก เพียงคาตอบเดียวเทา่ นัน้ ที่เปน็ ไปได้
4) ควรเว้นชอ่ งว่างสาหรบั เติมคาตอบใหเ้ หมาะสม 4) ควรประยกุ ตข์ อ้ คาถามใหว้ ัดสตปิ ัญญา
5) ขอ้ คาถามควรสอดคลอ้ งกับวัตถุประสงค์ ในระดับสูงกว่าความรู้ความจา

สรุปองค์ความรู้
แบบทดสอบปรนยั ชนิดเตมิ คา้ และชนดิ ตอบแบบสน้ั

แบบทดสอบชนิดเติมคา้ (Completion test)
เปน็ แบบทดสอบปรนยั ขนดิ หน่งึ ทม่ี งุ่ ใหผ้ ้เู รยี นคิดหาคาตอบ

ดว้ ยตนเอง ซง่ึ อาจเปน็ คา วลี หรอื ประโยค แล้วเขยี นคาตอบนนั้ ลงในชอ่ งวา่ ง
ต่อจากขอ้ ความท่ีได้เขียนคา้ งไว้ เพ่ือให้เป็นขอ้ ความทถี่ กู ตอ้ งสมบูรณ์

แบบทดสอบชนดิ ตอบแบบสน้ั (Short answer test)
เปน็ แบบทดสอบปรนยั ขนดิ หน่ึง ทมี่ ุง่ ให้ผูเ้ รยี นตอบขอ้ สอบซ่งึ อยู่ใน

รปู ประโยคคาถามหรือประโยคคาสัง่ โดยการเขียนคาตอบขึน้ มาเองสนั้ ๆ
กระชบั ตรงตามความเป็นจรงิ

ใบความรูท้ ่ี 8

แบบทดสอบปรนัยชนดิ เลอื กตอบ

1. ความหมายและลักษณะของแบบทดสอบปรนยั ชนดิ เลอื กตอบ
2. หลกั การหรือแนวทางการสร้างแบบทดสอบปรนยั

ชนิดเลือกตอบ

คาถามโดยตรง

ขอ้ ความไมส่ มบูรณ์

ส่วนของคาถาม

สว่ นของคาตอบ 2. แบบตัวเลือกคงท่ี
ตัวถูก ตวั ลวง
เป็นแบบทดสอบทม่ี ีการ 1. แบบคาถามเดีย่ ว 3. แบบสถานการณ์
กาหนดคาตอบไวห้ ลายตัวเลือก
ในข้อสอบแตล่ ะขอ้

ความหมายและลักษณะ ขอ้ สอบแบบเลอื กตอบ
ท่นี ิยมใชม้ ี 3 แบบ

แบบทดสอบ 16. วางแผนอยา่ งรอบคอบ
ปรนัยชนดิ เลอื กตอบ

1. เขยี นคาถามใหช้ ดั เจน กระชับ หลกั การ 15. หลกี เล่ียงการใช้คาขยายบางคา
2. ตัวเลือกอยู่ในชว่ ง 3 ถงึ 5 ตัวเลอื ก หรือแนวทางการสรา้ ง
3. ตวั เลอื กตอ้ งสั้น และกระชับ 14. หลกี เลี่ยงการใชค้ าทค่ี ลุมเครอื

4. หลีกเลี่ยงการลอกข้อความจากหนังสอื 13. หลีกเลี่ยงการสร้างขอ้ สอบท่มี ตี วั เลอื ก
เปน็ “ถูกทกุ ขอ้ ” หรือ “ผดิ ทุกขอ้ ”
12. ตาแหน่งตวั เลือกที่ถกู ไมค่ วรอยทู่ ่ีเดิม

5. มปี ระโยชน์สาหรับการวัดกระบวนการคิดข้นั สงู 11. ตวั ลวงควรมคี วามเปน็ ไปได้สูง
6. หลีกเลีย่ งการใช้คาถามเชงิ ลบ 10. ต้องม่นั ใจว่า ไมม่ ีข้อใดช้ีแนะคาตอบข้ออ่นื

7. คาตอบข้อนั้นตอ้ งถูกเพียงขอ้ เดยี ว 9. ตอ้ งถกู ตอ้ งตามหลักไวยากรณ์

8. หลกี เลีย่ งคาถามท่ชี ี้แนะคาตอบ

สรุปองคค์ วามรู้
แบบทดสอบปรนยั ชนิดเลอื กตอบ

แบบทดสอบปรนยั ชนิดเลอื กตอบ (Multiple choice test)
เปน็ แบบทดสอบท่ีมกี ารกาหนดคาตอบไวห้ ลายตัวเลือกในขอ้ สอบแตล่ ะข้อ

ซ่ึงข้อสอบแต่ละขอ้ จะประกอบดว้ ย 2 สว่ น ได้แก่ 1) สว่ นของคาถามนา และ
2) สว่ นของตวั เลือก
หลกั การหรอื แนวทางการสร้างแบบทดสอบปรนยั ชนดิ เลือกตอบ

1. ควรเขียนคาถามให้ชดั เจน กระชบั รัดกมุ มขี ้อมูลเพยี งพอสาหรับการตอบคาถามได้
2. ตวั เลอื กอยู่ในช่วง 3 ถงึ 5 ตัวเลือก
3. ตัวเลอื กต้องส้นั และกระชับ
4. หลีกเลยี่ งการลอกขอ้ ความจากหนังสือ
5. มปี ระโยชน์สาหรับการวัดกระบวนการคดิ ขนั้ สูง
7. คาตอบขอ้ น้นั ต้องถกู เพยี งขอ้ เดียว
8. หลกี เล่ยี งคาถามทช่ี ีแ้ นะคาตอบ
9. ตอ้ งถูกตอ้ งตามหลักไวยากรณ์
10. ต้องม่นั ใจวา่ ไม่มีขอ้ ใดชแ้ี นะคาตอบขอ้ อ่ืน
11. ตวั ลวงควรมีความเปน็ ไปได้สูง
12. ตาแหนง่ ตัวเลือกท่ีถูกไมค่ วรอยู่ทีเ่ ดมิ
13. หลกี เลยี่ งการสรา้ งข้อสอบท่มี ตี วั เลอื กเป็น “ถกู ทุกข้อ” หรือ “ผิดทุกขอ้ ”
14. หลกี เล่ยี งการใชค้ าที่คลุมเครอื
15. หลีกเล่ยี งการใชค้ าขยายบางคา
16. วางแผนอย่างรอบคอบ

ใบความรู้ท่ี 9

การตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบ
1. ความเที่ยงตรง
2. ความเป็นปรนยั 19 มกราคม 2564
3. ความยากรายข้อ
4. ความเช่ือมนั่
5. อานาจจาแนก

วิธขี อง Lovett ความชัดแจง้ ของขอ้ คาถามที่
กรณใี หค้ ะแนนไมใ่ ช่ 0 กับ 1
กรณีใหค้ ะแนน 0 กบั 1 ไม่ว่าผู้สอบหรอื ผตู้ รวจคนใดอ่าน
กแ็ ปลความหมายไดต้ รงกัน ความเท่ียงตรง ความเที่ยงตรง
ตามสภาพ
ความสอดคลอ้ งในการ ความตรงกนั ในการ ตามพยากรณ์

ตรวจใหค้ ะแนน แปลความหมาย ความเทยี่ งตรง

ในขอ้ สอบแต่ละข้อ ของคะแนน เกณฑส์ ัมพนั ธ์

กรณแี บบทดสอบอิงเกณฑ์ บ่งบอกว่าแบบทดสอบชุดน้ัน ความเท่ยี งตรง ความเทยี่ งตรง
มีความชดั แจ้งในการเขยี นคาชี้แจง ตามเนอื้ หา ตามโครงสร้าง

กรณแี บบทดสอบองิ กลุม่ และข้อคาถามแต่ละขอ้ ความเป็นปรนยั
จะต้องประกอบดว้ ยคณุ สมบตั ิ 3 ประการ
หมายถงึ ระดบั คุณภาพของ

สามารถวดั คณุ ลักษณะท่ีต้องการวดั เครื่องมือวดั ผลทบ่ี ่งบอกว่า ขอ้ มลู

ได้คงเสน้ คงวา วัดกค่ี รัง้ ก็ไดผ้ ลเหมือนเดมิ ความเปน็ ปรนยั ทไี่ ดจ้ ากวดั ตัวแปรทีต่ อ้ งการวัด
หรอื ใกลเ้ คยี งกบั ของเดิม ด้วยแบบทดสอบนน้ั ๆ มีความ

ถูกต้องหรอื ไม่ เพยี งใด

ความเชื่อม่นั การตรวจสอบคุณภาพ ความเทยี่ งตรง
อ้านาจจา้ แนก ของแบบทดสอบ

ความยาก

การวิเคราะห์ “ดชั นีอานาจจาแนกรายขอ้ ” สญั ลกั ษณ์

ท่ีใช้คอื “r หรือ D” โดยท่ี “ดชั นอี านาจจาแนกรายขอ้ ” การวเิ คราะห์คณุ ภาพของแบบทดสอบ
ของแบบทดสอบ หมายถึง ระดบั คุณภาพของขอ้ สอบแตล่ ะข้อ เป็นรายขอ้ คาถามทมี่ คี วามสาคญั สมควร
ของแบบทดสอบฉบับหน่งึ ๆ ที่บง่ บอกว่าสามารถแยกคนเปน็ สองกลุ่ม นามาพจิ ารณากค็ อื การวิเคราะห์ดชั นี
คอื “ถ้าขอ้ สอบหน่งึ มอี านาจจาแนกสงู คนเกง่ กน็ ่าจะตอบถกู ความยากรายขอ้ “p” นยิ มใช้เฉพาะที่เป็น
หรอื ตอบได้คะแนนมาก ส่วนคนอ่อนก็นา่ จะตอบผดิ หรอื ตอบไดค้ ะแนนน้อย” แบบทดสอบองิ กลุม่

กรณแี บบทดสอบองิ กลุ่ม กรณีใหค้ ะแนน 0 กับ 1 กรณใี หค้ ะแนนไมใ่ ช่ 0 กับ 1
กรณีใหค้ ะแนนไมใ่ ช่

0 กบั 1

กรณแี บบทดสอบอิงเกณฑ์ กรณีให้คะแนนเปน็ 0 กับ 1 p แทน ดัชนีความยากของข้อสอบท่ตี ้องการหา
SH แทน ผลรวมของคะแนนกลมุ่ สูงในข้อสอบขอ้ นน้ั
นิยมใชข้ อง Brennan เมอ่ื p แทนดัชนีความยากของขอ้ สอบขอ้ หนง่ึ ๆ SL แทน ผลรวมของคะแนนกลมุ่ ตา่ ในข้อสอบขอ้ น้นั
ซงึ่ เรยี กว่า “B-index” Rแทนจานวนผูส้ อบทตี่ อบขอ้ สอบขอ้ นน้ั ถกู ต้อง xmax แทน คะแนนสูงสดุ ที่ท้งั สองกลุ่มทาได้
Nแทนจานวนผูส้ อบทงั้ หมด xmin แทน คะแนนตา่ สดุ ที่ทั้งสองกลมุ่ ทาได้
NT แทน จานวนผูส้ อบทั้งกลุ่มสงู และกลมุ่ ต่ารวมกัน

สรุปองคค์ วามรู้
การตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบ

ความเที่ยงตรง
หมายถึง ระดับคุณภาพของเครือ่ งมือวัดผลท่ีบง่ บอกวา่ ขอ้ มูลที่ไดจ้ ากวัดตัวแปร

ทีต่ อ้ งการวัด ด้วยแบบทดสอบนนั้ ๆ มีความถกู ต้องหรอื ไม่ เพียงใด สง่ิ ทผ่ี สู้ อนจาเปน็ ตอ้ งพจิ ารณา
มี 3 ประเภท ไดแ้ ก่

1. ความเท่ียงตรงตามเนื้อหา
2. ความเทีย่ งตรงตามโครงสรา้ ง
3. ความเทยี่ งตรงเกณฑส์ มั พนั ธ์ ได้แก่ ความเทยี่ งตรงตามสภาพ และความเทย่ี งตรงตามพยากรณ์
ความเปน็ ปรนยั
ประกอบดว้ ยคุณสมบัติดังน้ี
1. ความชัดแจง้ ของขอ้ คาถามทีไ่ มว่ า่ ผสู้ อบหรือผ้ตู รวจคนใดอ่านกแ็ ปลความหมายได้ตรงกนั
2. ความสอดคลอ้ งในการตรวจให้คะแนนในขอ้ สอบแตล่ ะข้อ
3. ความตรงกันในการแปลความหมายของคะแนน
ความยากรายข้อ
กรณเี ป็น 0 กับ 1
-ขอ้ สอบท่มี คี ่า p เขา้ ใกล้ 1 จะง่าย แตข่ อ้ สอบที่มีคา่ p เขา้ ใกล้ 0 จะยาก และขอ้ สอบทีม่ ีค่า p
เข้าใกล้ 0.5 จะดมี าก เกณฑ์ท่ยี อมรบั ได้วา่ เป็นขอ้ สอบท่ีมีความเหมาะสมใช้ได้ จะตอ้ งมีคา่ ดชั นีความยาก
ตั้งแต่ 0.20 ถึง 0.80
กรณไี มใ่ ช่ 0 กับ 1
-เกณฑ์การคดั เลือกข้อสอบจะเหมือนกบั ข้อสอบที่มีกรณใี ห้คะแนนเป็น 0 กับ 1
ความเชอ่ื มน่ั
กรณีแบบทดสอบอิงกล่มุ
-กรณีให้คะแนนเปน็ 0 กบั 1 ถ้าแบบทดสอบฉบับใดมีความเชอ่ื มัน่ เขา้ ใกล้ 1.00 แสดงถึงแบบทดสอบฉบบั นั้น
มีความเชื่อมั่นสงู มาก แตถ่ ้าเข้าใกล้ 0.00 แสดงว่าขาดความเช่อื ม่ัน ที่ยอมรบั ได้คอื ควรมีความเชื่อม่ันไม่ต่ากวา่ 0.70
-กรณีใหค้ ะแนนไมใ่ ช่ 0 กับ 1 เกณฑก์ ารคดั เลือกขอ้ สอบจะเหมอื นกับขอ้ สอบท่มี กี รณีใหค้ ะแนนเปน็ 0 กับ 1
กรณีแบบทดสอบองิ เกณฑ์
-ความเช่ือม่ันของแบบทดสอบประเภทอิงเกณฑม์ กี ารแปรความหมายระดับความเชอ่ื มน่ั ของแบบทดสอบ
เหมอื นกันทกุ ประการในแบบทดสอบประเภทอิงกลมุ่
อ้านาจจา้ แนก
กรณีแบบทดสอบองิ กลมุ่
-กรณใี ห้คะแนนเป็น 0 กบั 1 ขอ้ สอบที่มคี ่า r ยิง่ เขา้ ใกล้ 1.00 ยิ่งมอี านาจจาแนกดี คา่ r เป็นลบ
อานาจจาแนกใชไ้ มไ่ ดเ้ ลย ทีย่ อมรับได้จะต้องมคี า่ ดัชนอี านาจจาแนกรายข้อตัง้ แต่ 0.20 ถงึ 1.00
-กรณีให้คะแนนไมใ่ ช่ 0 กับ 1 เกณฑ์การคัดเลือกขอ้ สอบ จะเหมือนกันกับกรณีใหค้ ะแนนเป็น 0 กบั 1
กรณแี บบทดสอบอิงเกณฑ์
-ที่ยอมรับได้ว่ามีค่าอานาจจาแนกรายขอ้ ทเี่ หมาะสมมีคา่ 0.20 ข้นึ ไป

ใบความรทู้ ี่ 10
การวิเคราะหค์ ณุ ภาพของแบบทดสอบ

และแบบสอบถามโดยใช้ SPSS

ขัน้ ท่ี 1 สรา้ งไฟล์ขอ้ มลู ข้ันที่ 6 คียข์ ้อมลู ตัวแปร Group
ขนั้ ท่ี 2 รวมคะแนนของทั้งฉบับของแต่ละคน ขั้นที่ 7 ตดั ขอ้ มลู กลมุ่ กลางออก แลว้ บนั ทกึ ไฟล์
ขั้นท่ี 3 เรยี งคะแนนจากนอ้ ยไปหามาก ขน้ั ท่ี 8 หาจานวนคนตอบถกู ในกลมุ่ ตา่
ข้นั ที่ 4 คานวณหาจานวนคนในกลมุ่ สงู /ตา่ ขน้ั ท่ี 9 คัดเลือกข้อสอบท่ตี ้ังคา่ p และ r ผ่านเกณฑ์
ขัน้ ที่ 5 สร้างตัวใหมต่ ั้งชือ่ Group ขั้นท่ี 10 วิเคราะหค์ วามเชอ่ื มนั่ ของแบบทดสอบท้งั ฉบบั

กรณีขอ้ สอบให้คะแนน 0 กบั 1

การวเิ คราะหข์ ้อสอบ

การวเิ คราะห์ การวเิ คราะห์คุณภาพ
แบบสอบถาม ของแบบทดสอบและ
แบบสอบถามโดยใช้

SPSS

การวิเคราะห์ข้อมูล

กรณีเปน็ แบบมาตรประมาณคา่ การสรา้ งไฟล์ขอ้ มลู เปิดโปรแกรม
การวเิ คราะห์ สรา้ งตวั แปร
การหาอานาจจาแนกรายขอ้ โดยใช้ การอ่าน Printout
Item – Total Correlation คยี ข์ อ้ มูล
บันทกึ ไฟล์

สรุปองค์ความรู้
การวิเคราะหค์ ุณภาพของแบบทดสอบ

และแบบสอบถามโดยใช้ SPSS

โปรแกรม SPSS เป็นโปรแกรมทม่ี ปี ระสิทธิภาพสูงในการวเิ คราะห์ขอ้ มูลทางสถติ ิ
และการจดั การข้อมลู ตา่ ง ๆ สามารถวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถติ ปิ ระเภทตา่ ง ๆ
และแสดงผลการวิเคราะห์ออกมาในรูปของตาราง ในการใชง้ านโปรแกรมไม่ซับซอ้ น
เหมาะสาหรบั ผูท้ ่ตี อ้ งการประมวลผลอย่างถกู ตอ้ งแมน่ ยาและรวดเรว็

กรณีสอบให้คะแนน 0 กับ 1 การหาคา่ อานาจจาแนกรายขอ้ (r) และค่าความยาก (p)
โดยใช้เทคนิค 27% กลมุ่ สงู – กลุม่ ต่า

กรณเี ปน็ แบบมาตรประมาณคา่ การหาคา่ อานาจจาแนกรายข้อ (r)
โดยใช้ Item – Total Correlation

คดั ข้อคาถามที่ค่าอานาจจาแนกรายข้อ (r) ผา่ นเกณฑ์เท่ากบั จานวนข้อที่วางแผนไว้
เพอื่ นาไปหาคา่ ความเชอ่ื มน่ั ท้งั ฉบบั โดยใชว้ ธิ สี มั ประสทิ ธิ์แอลฟา

ใบความรทู้ ี่ 11 การออกแบบหน่วยการเรยี นรอู้ งิ มาตรฐาน
โดยใช้กระบวนการออกแบบย้อนกลับ

1. ความหมายของการออกแบบหน่วยการเรียนรอู้ งิ มาตรฐาน
2. การออกแบบหนว่ ยการเรียนรู้อิงมาตรฐานโดยใช้
กระบวนการออกแบบย้อนกลับ
3. ขั้นตอนการออกแบบหนว่ ยการเรียนรอู้ ิงมาตรฐาน
โดยใชก้ ระบวนการออกแบบยอ้ นกลับ

องค์ประกอบของหน่วยการเรียนร้อู ิงมาตรฐาน 1. ชื่อหนว่ ยการเรียนรู้
โดยใชก้ ระบวนการออกแบบยอ้ นกลับ 2. มาตรฐานและตัวช้วี ัด
3. สาระสาคัญ (ความคดิ รวบยอด)

การออกแบบหนว่ ยการเรียนรูอ้ งิ มาตรฐาน 4. สาระการเรียนรู้
โดยใชก้ ระบวนการออกแบบยอ้ นกลับ เปน็ การ 5. ชิน้ งาน/ภาระงาน
นาเอาความคิดและกระบวนการออกแบบยอ้ นกลบั 6. วิธกี ารวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้
มาดาเนนิ การออกแบบหนว่ ยการเรยี นรู้อิงมาตรฐาน

การออกแบบหน่วย 7. วธิ ีการจดั การเรยี นการสอน
การเรียนรู้อิงมาตรฐานโดยใช้
กระบวนการออกแบบย้อนกลบั 8. เวลาเรียน และน้าหนักคะแนน
ประจาหนว่ ยการเรยี นรู้

การออกแบบหนว่ ย
การเรยี นรู้องิ มาตรฐาน โดยใช้
กระบวนการออกแบบยอ้ นกลบั

ความหมายของการ ข้ันตอนการออกแบบ
ออกแบบหน่วยการเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นรู้องิ มาตรฐาน

อิงมาตรฐาน

เป็นการวางแผนและจัดทาหน่วยการเรยี นรู้ 1. ระบผุ ลลพั ธ์ที่ตอ้ งการ กาหนดเป้าหมาย
ซ่งึ เป็นสาระการเรียนรยู้ อ่ ยของรายวชิ า โดยมี การเรยี นรใู้ ห้ครอบคลุม 3 ด้านคอื
“มาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตัวชว้ี ดั ” เป็นเป้าหมาย
สาคัญของการเรยี นรู้ ซ่ึงในการออกแบบจะตอ้ ง 1.1 มคี วามเขา้ ใจที่คงทน (K)
มกี ารวเิ คราะหเ์ ช่อื มโยงมาตรฐานและตวั ชีว้ ัด 1.2 มีคณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงค์ (A)
สาระการเรยี นรู้ วิธีการจดั การเรียนการสอน 1.3 มีทกั ษะทั่วไป (P)
วกี ารวดั และประเมินผลการเรียนรู้ อย่างสัมพนั ธ์กัน
2. กาหนดหลักฐานการเรยี นร้ทู ี่ยอมรับได้
วางแผนวธิ กี ารวัดและประเมนิ ผล

3. วางแผนการเรียนการสอน

สรปุ องค์ความรู้
การออกแบบหน่วยการเรยี นรอู้ ิงมาตรฐาน

โดยใช้กระบวนการออกแบบยอ้ นกลับ

ความหมายของการออกแบบหน่วยการเรียนรอู้ ิงมาตรฐาน
เป็นการวางแผนและจัดทาหน่วยการเรียนรู้ ซ่งึ เปน็ การเรียนรยู้ ่อยของรายวชิ า

โดยมีมาตรฐานการเรียนร้แู ละตัวชว้ี ัด เปน็ เป้าหมายสาคัญของการเรยี นรู้ ซึ่งในการออกแบบ
จะตอ้ งมกี ารวเิ คราะห์ เชอ่ื มโยงมาตรฐานและตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรู้ วธิ ีการจดั การเรียนรู้
การวดั และประเมนิ ผลอย่างสัมพนั ธก์ ัน เพือ่ มุง่ พฒั นาผเู้ รยี น
การออกแบบหนว่ ยการเรยี นรอู้ งิ มาตรฐานโดยใช้กระบวนการออกแบบย้อนกลบั

Grant Wiggins และ Jay McTighe เมื่อ ค.ศ. 1998 ไดเ้ ผยแพร่แนวคิดเก่ียวกบั
กระบวนการเรยี นรู้ ทเี่ รยี กวา่ การออกแบบหนว่ ยการเรียนรแู้ บบยอ้ นกลับ (Backward design)
คือ การออกแบบหลกั สตู รหรอื หน่วยการเรยี นรูจ้ ะต้องเรม่ิ จากการระบุผลลัพธ์ที่ต้องการ
ให้ชดั เจนว่า อะไรคอื ส่งิ ท่ผี เู้ รยี นควรรู้ เข้าใจ และทาได้ เพือ่ เปน็ เปา้ หมายของการเรียนรู้
จากนน้ั ก็กาหนดหลกั ฐานและวธิ ีการวัดและประเมนิ ผล เพ่อื ตรวจสอบวา่ ผู้เรียนบรรลผุ ล
ตามเป้าหมายหรือไม่
ขน้ั ตอนการออกแบบหนว่ ยการเรียนรู้องิ มาตรฐานโดยใชก้ ระบวนการออกแบบย้อนกลบั

1. ระบุผลลัพธ์ทีต่ อ้ งการ กาหนดเป้าหมายการเรียนร้ใู ห้ครอบคลุม K P A
2. กาหนดหลักฐานการเรียนรู้และวางแผนการวดั และประเมนิ ผล
3. วางแผนการเรยี นการสอน

ใบความรทู้ ี่ 12
การประเมนิ จากการสอ่ื สารระหวา่ งบุคคล

1. ความรเู้ บื้องตน้ เกีย่ วกบั การส่อื สารระหว่างบุคคล
2. ความหมายของการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้จากการส่อื สาร
ระหวา่ งบุคคล
3. วธิ กี ารวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรจู้ ากการสอื่ สารระหว่างบคุ คล

9 กุมภาพนั ธ์ 2564

2. สาร คอื เรอื่ งราวท่ีมคี วามหมาย

ความรู้ ความคิด 3. สอ่ื คือ ส่ิงท่เี ปน็ พาหนะของสาร

1. ผสู้ ่งสาร คือ บุคคลที่ นาสารจากผ้สู ่งไปยังผู้รับสาร

เป็นเหลง่ กาเนิดสาร 4. ผูร้ ับสาร คอื บคุ คล หมายถงึ กระบวนการเกบ็ รวบรวม
วเิ คราะห์ ตีความ บันทกึ ขอ้ มลู ทไี่ ดจ้ ากการ
การส่ือสารระหว่างบุคคล (Interpersonal ทรี่ บั สารจากผู้ส่งสาร ตดิ ตอ่ ส่ือสารในการจัดการเรียนการสอน
โดยใชเ้ คร่อื งมือที่หลากหลาย เหมาะสมกับวัย
Communication) เป็นกระบวนการของการ ของผู้เรียน นาผลท่ีได้มาทาการประเมินผล
ให้ข้อมูลย้อนกลับ ปรับปรุงการเรียนการสอน
ติดตอ่ ส่ือสาร หรือการแสดงปฏกิ ริ ยิ าโตต้ อบ

ระหว่างบคุ คลสองคนหรือมากกวา่ นน้ั ขน้ึ ไป

เชน่ การพูดคยุ การอภปิ ราย มีองคป์ ระกอบสาคัญ

อยู่ 4 องคป์ ระกอบ

ความรูเ้ บอ้ื งตน้ ความหมายของ
เก่ยี วกับการสือ่ สาร การวดั และประเมนิ ผล

ระหว่างบุคคล การเรยี นรจู้ ากการ
ส่ือสารระหวา่ งบคุ คล

การประเมนิ 1. วางแผนก่อนมอบหมายการบ้าน
จากการสอ่ื สาร
ระหว่างบุคคล

เทคนคิ การตง้ั คาถาม 2. มอบหมายการบา้ น

ถามตอบ ตรวจการบ้าน
ในชนั้ เรยี น

3. ตรวจและประเมินการบ้าน

1. กอ่ นพบปะพดู คุย พบปะพดู คุย วิธีการวัดและประเมนิ บันทกึ 1. การเตรยี มการก่อน
กบั ผเู้ รียน กบั ผู้เรียน ผลการเรยี นรู้จากการ เหตุการณ์ ให้ผู้เรยี นบันทึกเหตุการณ์
สือ่ สารระหว่างบคุ คล ของผ้เู รียน
2. ระหว่างการพบปะ พดู คุยกับ 2. การดาเนนิ การระหว่าง
พดู คยุ กบั ผ้เู รียน ผ้เู กย่ี วขอ้ ง อภิปราย สอบปากเปลา่ ใหบ้ ันทึกเหตุการณ์
กับผู้เรียน ในชน้ั เรยี น
3. หลงั การพบปะ 3. การดาเนนิ การหลงั
พดู คุยกบั ผู้เรียน การบันทึกเหตุการณ์
ของผ้เู รยี นให้เสร็จส้ิน
1. กอ่ นพบปะพดู คยุ
กับผทู้ เี่ ก่ียวข้องกบั ผเู้ รียน 1. เตรียมการ

2. ระหว่างการพบปะพดู คุย 1. เตรยี มการก่อนจัด 3. หลงั การสอบ
กับผูท้ ่เี ก่ยี วข้องกับผู้เรียน กจิ กรรมอภิปรายในช้ันเรยี น
2. ดาเนินการสอบ
3. หลงั การพบปะพูดคุย 2. ดาเนินการจดั กจิ กรรม
กบั ผทู้ ี่เก่ยี วข้องกับผเู้ รยี น อภิปรายในช้นั เรียน 3. หลังการดาเนินการจดั
กจิ กรรมอภิปรายในช้ันเรยี น

สรปุ องคค์ วามรู้
การประเมนิ จากการสอื่ สารระหวา่ งบุคคล

ความรู้เบอ้ื งตน้ เก่ียวกับการส่ือสารระหวา่ งบคุ คล
เปน็ กระบวนการของการตดิ ต่อส่อื สาร หรอื การแสดงปฏกิ ิริยาโตต้ อบ ระหว่างบคุ คลสองคน

หรือมากกว่านัน้ ข้ึนไป เชน่ การพูดคยุ การอภปิ ราย มีองค์ประกอบสาคัญอยู่ 4 องค์ประกอบ ได้แก่
1. ผสู้ ง่ สาร คอื บคุ คลที่เป็นเหล่งกาเนดิ สาร
2. สาร คอื เรื่องราวทม่ี ีความหมาย ความรู้ ความคดิ
3. ส่อื คอื สง่ิ ทีเ่ ปน็ พาหนะของสาร นาสารจากผสู้ ่งไปยงั ผู้รบั สาร
4. ผ้รู ับสาร คือ บุคคลทีร่ บั สารจากผูส้ ่งสาร

ความหมายของการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรจู้ ากการสอ่ื สารระหว่างบคุ คล
หมายถึง กระบวนการเกบ็ รวบรวม วิเคราะห์ ตีความ บันทึกข้อมูลทไ่ี ด้จากการตดิ ต่อส่อื สารในการจดั

การเรยี นการสอน โดยใช้เครอ่ื งมอื ทห่ี ลากหลาย เหมาะสมกบั วยั ของผู้เรียน นาผลทไี่ ด้มาทาการประเมินผลใหข้ ้อมลู
ย้อนกลับ ปรบั ปรุงการเรยี นการสอน

วธิ กี ารวดั และประเมินผลการเรยี นร้จู ากการสื่อสารระหวา่ งบุคคล
1. การถามตอบในชนั้ เรียน กอ่ นเร่ิมเรยี นต้องวิเคราะห์จุดประสงค์ ออกแบบคาถาม ระหว่างการจัดการเรยี น

การสอน ใชเ้ ทคนิคการตงั้ คาถาม เนน้ ให้ผู้เรยี นมสี ว่ นร่วมในการตอบ หลงั การเรียนการสอน ทาการบันทกึ คาตอบ
นาข้อมลู ท่ไี ดไ้ ปเป็นส่วนหนึ่งในการประเมิน

2. การพบปะพดู คุย บนั ทึกเสียงต้องขออนญุ าต รักษาความลบั
3. การพูดคุยเก่ยี วกับผู้เรยี น ทาการนดั หมายเก่ียวกบั ผทู้ ีเ่ กย่ี วขอ้ งลว่ งหน้า
4. การอภปิ รายผลในชนั้ เรียน กาหนดหวั ขอ้ ให้ผู้เรียนเตรยี มความพรอ้ มหาขอ้ มูล เมือ่ ไดข้ ้อมูลครบแล้ว ผูเ้ รยี น
ต้องดาเนนิ การอภปิ ราย สุดทา้ ยตอ้ งสรุปและยอมรบั ผลการอภปิ ราย เสริมขอ้ คดิ
5. การสอบปากเปล่า เตรียมชุดคาถามครอบคลมุ เนอ้ื หา สร้างความผอ่ นคลาย จากน้นั เรม่ิ ถามตามที่วางแผนไว้
นาข้อมลู มาวิเคราะหว์ ่าคาตอบของผู้เรียนมคี วามเหมาะสมเพียงใด
6. การบนั ทกึ เหตุการณ์ของผู้เรยี น กาหนดเหตกุ ารณท์ ต่ี ้องการใหผ้ ูเ้ รยี นบนั ทึก ตดิ ตาม ตรวจสอบ ใหข้ อ้ มูล
ยอ้ นกลบั ใหผ้ เู้ รยี นประเมินผลงาน จากนน้ั นาผลงานของนักเรียนมาประเมนิ สะทอ้ นความคดิ เห็น
7. การตรวจการบ้าน หรือแบบฝกึ หัดประจ้าวัน ถา้ มีคาตอบถูกผิดชดั เจน อาจให้ผู้เรยี นตรวจกนั เอง
หากพบข้อผดิ พลาด ใหก้ าลงั ใจ นาไปพิจารณาช่วยเหลือหรือพฒั นาการเรียนการสอน

ใบความรทู้ ี่ 13
การประเมนิ การปฏิบัติ

1. แนวคดิ และความหมายของการประเมินการปฏบิ ตั ิ
2. ลกั ษณะสาคัญของการประเมินการปฏิบตั ิ
3. ขั้นตอนการประเมินการปฏิบัติ
4. จุดแขง็ และจดุ ออ่ นของการประเมนิ การปฏิบตั ิ

16 กมุ ภาพนั ธ์ 2564

การประเมินปฏิบตั ิ (Performance assessment) 4. สอดคล้องกับจดุ มุ่งหมาย
หมายถงึ กระบวนการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลเกย่ี วกบั พฤติกรรม ตามหลกั สูตรแกนกลาง 2551
การเรยี นรขู้ องผ้เู รยี น ผ่านการลงมอื ปฏบิ ตั จิ รงิ ตามภาระงาน
ทผ่ี ้สู อนออกแบบไว้ 3. สามารถประเมนิ ไดท้ งั้ ชน้ิ งาน 5. มักมีความเป็นอตั นัย
หรือกระบวนการปฏบิ ตั ิ
แนวคิด 6. เนน้ ประเมนิ
และความหมาย 2. สามารถประเมินพฤตกิ รรม กระบวนการปฏบิ ตั ิงาน
การเรยี นรแู้ บบองคร์ วมได้

1. ต้องมภี าระงาน

ลักษณะสา้ คัญ

การประเมนิ
การปฏิบตั ิ

ขัน้ ตอนการประเมิน จุดแขง็ และจุดอ่อน

1. กาหนดจุดมงุ่ หมายของการปฏิบัติ จดุ ออ่ น
2. กาหนดรายการทักษะ ความสามารถ
ความรู้ และการประยุกต์ จดุ แข็ง 1. ความเชื่อม่ันนอ้ ย
3. ออกแบบงานหรือภาระงาน
1. สามารถวัดความสามารถทไ่ี มอ่ าจ 2. เลือกเน้อื หาทปี่ ระเมนิ ได้
4. พฒั นาเกณฑก์ ารประเมิน วัดดว้ ยวธิ ีอ่ืนได้ เช่น การวาดภาพ จากการปฏิบัติ

5. เลอื กเครือ่ งมอื และวิธีทใี่ ช้เกบ็ รวบรวมข้อมลู 2. เรยี นรู้และลงมอื ทาได้ 3. ใช้เวลานาน

6. จัดทาใบงานช้แี จง 3. ประเมินไดท้ ้งั กระบวนการและชนิ้ งาน
7. วางแผนลดความคลาดเคลอื่ น
4. ขยายวิธกี ารวัดและประเมนิ ผล

สรุปองคค์ วามรู้
การประเมนิ ปฏิบตั ิ

แนวคดิ และความหมายของการประเมินการปฏบิ ตั ิ
หมายถึง กระบวนการเกบ็ รวบรวมข้อมูลเกย่ี วกับพฤตกิ รรมการเรยี นรู้ของผ้เู รยี น

ผ่านการลงมือปฏบิ ัติจรงิ ตามภาระงานทีผ่ สู้ อนออกแบบไว้
ลักษณะส้าคญั ของการประเมินการปฏิบตั ิ

ตอ้ งมีภาระงาน สามารถประเมนิ พฤติกรรมการเรยี นรู้แบบองคร์ วม
ประเมินช้ินงานได้ เน้นประเมินกระบวนการปฏิบัตงิ าน
ขนั้ ตอนการประเมินการปฏบิ ตั ิ

1. กาหนดจดุ มุ่งหมายของการปฏบิ ัติ
2. กาหนดรายการทกั ษะ ความสามารถ ความรู้ และการประยุกต์
3. ออกแบบงานหรือภาระงาน
4. พฒั นาเกณฑก์ ารประเมิน
5. เลือกเครื่องมอื และวธิ ที ่ใี ชเ้ กบ็ รวบรวมขอ้ มูล
6. จดั ทาใบงานชี้แจง
7. วางแผนลดความคลาดเคล่ือน
จดุ แขง็
1. สามารถวดั ความสามารถทีไ่ ม่อาจวดั ดว้ ยวธิ ีอืน่ ได้ เชน่ การวาดภาพ
2. เรียนรู้และลงมือทาได้
3. ประเมนิ ไดท้ ้งั กระบวนการและช้ินงาน
4. ขยายวธิ กี ารวัดและประเมินผล
จุดอ่อน
1. ความเชือ่ มัน่ น้อย
2. เลอื กเนอ้ื หาท่ปี ระเมินได้จากการปฏิบัติ
3. ใชเ้ วลานาน

ใบความร้ทู ่ี 14
การประเมินตามสภาพจรงิ ในชนั้ เรยี น

1. แนวคดิ และความหมายของการประเมินตามสภาพจริง
2. ลักษณะสาคญั ของการประเมินตามสภาพจรงิ
3. ขอ้ แตกต่างระหวา่ งการประเมนิ ปฏิบัติกบั การประเมนิ ตามสภาพจรงิ
4. แนวทางการประเมินตามสภาพจรงิ ในการจัดการเรยี นการสอน
5. ขัน้ ตอนการประเมินตามสภาพจรงิ ในการจดั การเรียนการสอน

23 กุมภาพันธ์ 2564

การประเมินตามสภาพจริงในช้นั เรยี น

แนวคิด ความหมาย

1. การประเมินความสามารถของผเู้ รยี นแบบองคร์ วม การประเมินตามสภาพจรงิ ในชนั้ เรียน
2. การท่ีผเู้ รยี นไดต้ อบสนอง หมายถึง กระบวนการวดั และประเมินศักยภาพ
3. ผลการประเมินมีความถกู ต้องแม่นยา ของผู้เรียนแบบองคร์ วม ผา่ นการลงมือปฏิบตั ิ
4. การสง่ เสรมิ สนับสนนุ เป็นการสอนที่เนน้ งานทสี่ อดคลอ้ งกับชวี ิตจริง
ผ้เู รียนเป็นสาคัญ
5. ใชว้ ธิ กี ารและเครื่องมอื ท่หี ลากหลาย ลกั ษณะสา้ คญั
เช่น การสงั เกต การสมั ภาษณ์ การตรวจงาน
1. มงุ่ ประเมินความสามารถของผู้เรยี นแบบองคร์ วม
ขอ้ แตกตา่ งระหว่างการประเมนิ ปฏบิ ตั ิ 2. ผเู้ รียนต้องได้ใช้ทกั ษะการคดิ ข้นั สูง
กับการประเมินตามสภาพจริง 3. เน้นการประเมนิ ที่ใหผ้ ู้เรยี นไดต้ อบสนอง
4. เป็นการวดั และประเมินผลการเรียนรู้
“การประเมนิ ปฏบิ ัต”ิ จะมุ่งตรวจสอบ ของผเู้ รยี นท่ีมีลักษณะเฉพาะเจาะจง
การตอบสนองของผเู้ รยี น ในขณะท่ี “การประเมิน 5. ใหผ้ ู้เรียนประเมินผลงานตนเอง
ตามสภาพจริง” ใหค้ วามสนใจส่งิ แวดล้อมทเ่ี กยี่ วขอ้ ง 6. ใช้เครื่องมือและวิธกี ารท่หี ลากหลาย
กับการตอบสนองนัน้ Meyer กล่าววา่ 7. ประเมินแบบอิงเกณฑ์
ไมใ่ ช่ทั้งหมดของการประเมนิ ปฏบิ ตั จิ ะเปน็
การประเมนิ ตามสภาพจรงิ ขนั้ ตอนการประเมนิ ตามสภาพจรงิ

แนวทางการประเมินตามสภาพจริง 1. กาหนดภาระงาน (สิ่งทม่ี ุ่งประเมนิ )
2. กาหนดขอบเขตของสิง่ ประเมนิ ใหช้ ัดเจน
ควรใชก้ ารประเมนิ ตามสภาพจริง 3. กาหนดวตั ถุประสงค์และเปา้ หมายของการประเมนิ
ดาเนนิ การไปพร้อมกนั และผสมผสานกนั ไป 4. กาหนดผปู้ ระเมนิ
กบั การจัดการเรยี นการสอนทีเ่ น้นผูเ้ รียนเป็นสาคญั 5. เลอื กวธิ ีการและเครอ่ื งมือท่ใี ชใ้ นการวัดและประเมินผล
อยา่ งตอ่ เนอื่ ง การปฏิบัตติ าม “ภาระงาน” 6. กาหนดเกณฑ์ในการประเมนิ การปฏิบตั งิ านและผลงาน/ช้นิ งาน
หรือสรา้ ง “ผลงาน” ทไี่ ด้กาหนดรว่ มกนั กบั ผูส้ อน 7. จดั ทาเอกสารใบงานอย่างชดั เจน
ทาใหเ้ หน็ สภาพทีแ่ ท้จริง 8. ดาเนินการตามภาระงานทีม่ อบหมาย
9. กากบั ตดิ ตาม ตรวจสอบ และใหค้ าแนะนา
10. ประเมนิ สรุปรวบยอด

สรปุ องคค์ วามรู้
การประเมินตามสภาพจรงิ ในชนั้ เรยี น

แนวคิดและความหมาย
การประเมินความสามารถของผูเ้ รยี นแบบองค์รวม ท่ีผ้เู รียนได้ตอบสนอง

สง่ เสรมิ สนับสนนุ เป็นการสอนทเ่ี น้นผู้เรียนเปน็ สาคัญ ใชว้ ธิ กี ารและเคร่ืองมือ
ทห่ี ลากหลาย เช่น การสังเกต การสัมภาษณ์ การตรวจงาน
ลักษณะสา้ คญั

ม่งุ ประเมินความสามารถของผเู้ รียนแบบองค์รวม ผ้เู รยี นตอ้ งได้ใช้ทักษะ
การคิดขน้ั สูง เนน้ การประเมนิ ทใ่ี ห้ผเู้ รยี นได้ตอบสนอง อีกทัง้ ยงั ใหผ้ ู้เรียน
ไดป้ ระเมินผลงานตนเอง
ข้อแตกตา่ งระหวา่ งการประเมนิ ปฏบิ ัติกับการประเมนิ ตามสภาพจริง

“การประเมนิ ปฏบิ ตั ิ” จะมงุ่ ตรวจสอบการตอบสนองของผู้เรียน
ในขณะที่ “การประเมนิ ตามสภาพจริง” ใหค้ วามสนใจส่ิงแวดล้อมท่เี ก่ยี วขอ้ ง
กบั การตอบสนองนั้น
แนวทางการประเมินตามสภาพจรงิ ในการจัดการเรียนการสอน

ควรใชก้ ารประเมินตามสภาพจริง ดาเนินการไปพรอ้ มกนั และผสมผสาน
กนั ไป กับการจดั การเรียนการสอนท่เี นน้ ผเู้ รียนเป็นสาคัญอย่างตอ่ เนอ่ื ง

ใบความรูท้ ่ี 15
การใช้รบู รกิ สใ์ นการวดั และประเมินผลการเรยี นรู้

1. ความหมายของรูบรกิ ส์
2. องคป์ ระกอบของรบู ริกส์
3. การแบ่งประเภทของรูบริกส์
4. แนวทางและข้นั ตอนการสร้างรบู รกิ ส์

2 มนี าคม 2564

Rubrics เป็นชดุ ของเกณฑ์ที่ออกแบบอย่างสอดคล้อง 3. การบรรยายคณุ ภาพ
กับเป้าหมายการเรยี นรู้ ใชเ้ ป็นแนวทางใหค้ ะแนน ของแตล่ ะระดบั
การปฏบิ ัติงาน โดยมกี ารแยกแยะและอธบิ ายคณุ ภาพ
ของเกณฑ์ ไว้อยา่ งชดั เจนในแตล่ ะระดับ จากระดับ 2. ระดับความสามารถ
ท่ีต้องประบปรุงจนถึงระดับดเี ยีย่ ม หรอื ระดับคุณภาพ เช่น ดมี าก
ไปถงึ ปรับปรงุ

1. เกณฑก์ ารประเมิน

ความหมายของรูบริกส์ องคป์ ระกอบของรบู ริกส์

การใชร้ ูบรกิ ส์ แนวทางและขน้ั ตอน
ในการวัดและ การสรา้ งรบู รกิ ส์
ประเมินผลการเรยี นรู้

การแบ่งประเภท
ของรบู รกิ ส์

ลกั ษณะแรก 1. กาหนดงานทต่ี ้องการประเมนิ
1. รูบริกสแ์ บบองคร์ วม (Holistic rubrics) 2. กาหนดประเภทของ Rubrics
2. รูบริกแบบแยกสว่ น (Analytic rubrics) ทใ่ี ช้ประเมนิ งาน
3. กาหนดเกณฑ์หรือประเดน็ ท่ีจะประเมิน
ลักษณะท่สี อง 4. กาหนดจานวนระดับคณุ ภาพ
1. รบู รกิ สแ์ บบทั่วไป (General rubrics)
2. รบู ริกสแ์ บบเฉพาะงาน 5. เขยี นบรรยายคุณภาพของแตล่ ะระดบั
(Task specific rubrics)
6. ทดลองและฝกึ ใช้ Rubrics

7. จัดทาเปน็ เครือ่ งมือการใหค้ ะแนนที่สมบูรณ์


Click to View FlipBook Version