The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kpp.nfe_Ebook, 2022-06-06 21:49:13

ผลงานทางวิชาการ นายกำจร หัดไทย ผอ.กศน.อำเภอพรานกระต่าย เรื่อง สภาพปัญหา และความต้องการ การใช้สื่อดิจิทัล

เอกสารเผยแพร่สรุปผลงานวิจัยสภาพ ปัญหา และ

Keywords: 2565

1

สภาพ ปัญหา และความตอ้ งการ “การใชส้ ือ่ ดจิ ิทลั และกระบวนการจัดการเรยี นรู้ กศน.”
ของสถานศึกษาในสภาวะความเสย่ี งจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019

(COVID -19) ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอพรานกระตา่ ย
Conditions, Problems And Needs For The Use Of Digital Media And Learning Management
Processes Of Educational Institutions In The Risk Of The Coronavirus Disease 2019 (COVID-
19) Epidemic Situation Of Nonformal And Informal Education Centre Phran Kratai District.

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพรานกระต่าย เป็นสถานศึกษา สังกัดสำนักงาน
กศน.สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ เป็นพื้นที่มีความเสี่ยงสูงและมีการแพร่ระบาดของเช้ือ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ของอำเภอพรานกระต่าย ซึ่งเป็น 1ใน 11 อำเภอของจังหวัดกำแพงเพชร ในทุก
ระลอก สาเหตุพื้นท่ีใกล้กับอำเภอเมืองกำแพงเพชร และจังหวัดสุโขทัย มีกิจกรรมเคลื่อนที่ไปกลับหลายพื้นที่ ส่งผลกับ
กลุ่มนักศึกษา ครู และบุคลากร เครือข่าย จึงมีความเสี่ยงต่อการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ปัญหาโรคระบาดไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) สร้างปรากฏการณ์ที่สร้างความเสียหายทั้งระบบอย่างไม่เคยเกิด
ขึ้นมาก่อนการเรียนการสอนก็เปลี่ยนแปลงสู่ระบบออนไลน์อย่างเต็มรูปแบบ แม้บางแห่งยังไม่มีความพร้อมตาม
สถานการณย์ งั ตึงเครยี ดและคงใช้ระยะเวลาอกี นานกว่าจะกลับมาเหมือนเดิม

จากความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาดังกล่าวข้างต้น ผู้วิจัยในฐานะที่เป็นผู้บริหาร สังกัด สำนักง าน
ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มีความสนใจที่จะศึกษาสภาพ ปัญหา และความต้องการ
“การใช้สื่อดิจิทัล และกระบวนการจัดการเรียนรู้ กศน.” ของสถานศึกษาในสภาวะความเสี่ยงจากสถานการณ์การแพร่
ระบาดของไวรสั โคโรนา 2019 (COVID -19) ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอพรานกระตา่ ย
เพื่อใช้เป็นแนวทางการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษาในสภาวะความเสี่ยงจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID -19) โดยจะส่งผลให้สถานศึกษามีการบริหารจัดการที่ดีขึ้น ส่งเสริมกระบวนการบริหาร
การจัดการเรยี นรู้ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรสั โคโรนา 2019 (COVID -19) ขององค์กรให้เกิดประสิทธิภาพ
ยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา สังกัด สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอธั ยาศยั ใหไ้ ด้มาตรฐาน บรรลวุ ตั ถุประสงคอ์ ยา่ งมีประสิทธิภาพและเกิดประสทิ ธผิ ลต่อไป

วัตถุประสงค์

เพื่อศึกษาสภาพ ปัญหา และความต้องการ “การใช้สื่อดิจิทัล และกระบวนการจัดการเรียนรู้ กศน.”
ของสถานศกึ ษาในสภาวะความเสย่ี งจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรสั โคโรนา 2019 (COVID -19) ศนู ย์การศึกษา
นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอพรานกระต่าย

ขอบเขตของการวจิ ัย

การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาสภาพปัญหา และความต้องการ “การใช้สื่อดิจิทัล และกระบวนการจัดการเรียนรู้
กศน.” ของสถานศึกษาในสภาวะความเสี่ยงจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 ( COVID -19)

2

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพรานกระต่าย โดยใช้แบบสอบถาม โดยได้กำหนดขอบเขต
อ้างอิงรูปแบบของการวจิ ัยตามขั้นตอนการวิจัย ดังน้ี

ขอบเขตด้านเน้ือหา
งานศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นศึกษาสภาพปัญหา และความต้องการ “การใช้สื่อดิจิทัล และกระบวน
การจัดการเรียนรู้ กศน.” ของสถานศึกษาในสภาวะความเสี่ยงจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019
(COVID -19) ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอพรานกระต่าย
ขอบเขตด้านแหลง่ ข้อมลู

1. ประชากร
ประชากรทีใ่ ชใ้ นการวิจัยคร้ังนี้ ได้แก่ ผบู้ รหิ าร จำนวน 1 คน ครูผู้สอนและบคุ ลากร จำนวน

17 คน คณะกรรมการสถานศกึ ษา จำนวน 8 คน และนักศึกษา จำนวน 670 คนรวมท้งั ส้ินจำนวน 696 คน
2. กลุ่มตวั อย่าง
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักศึกษาศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา

ตามอัธยาศัยอำเภอพรานกระต่าย จำนวน 242 คน โดยการเปิดตารางการสุ่มกลุ่มตัวอย่างของ เครซี่และมอร์แกน
(Krecie & Morgan, 1970 ; อ้างถึงใน ปกรณ์ ประจัญบาน, 2552, หน้า 117-118) โดยใช้การสุ่มอย่างง่าย (Simple
Random Sampling) โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้บริหาร ครูผู้สอนและบุคลากร คณะกรรมการสถานศึกษา
ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอพรานกระต่าย จะดำเนนิ การเก็บข้อมูลจากประชากรทั้งหมด
จำนวน 26 คน ส่วนนักศึกษาจะดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการเปิดตารางการสุ่มกลุ่มตัวอย่างของ เครซี่และ
มอรแ์ กน (Krecie & Morgan, 1970 ; อา้ งถงึ ใน ปกรณ์ ประจัญบาน, 2552, หน้า 117-118)

ขอบเขตดา้ นตัวแปร
สภาพปัญหา และความต้องการ “การใช้สื่อดิจิทัล และกระบวนการจัดการเรียนรู้ กศน.”
ของสถานศกึ ษาในสภาวะความเสี่ยงจากสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของไวรสั โคโรนา 2019 (COVID -19) ศนู ยก์ ารศึกษา
นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอพรานกระต่าย

กรอบแนวคดิ ในการวิจัย

การดำเนินการวิจัยสภาพปัญหา และความต้องการ “การใช้สื่อดิจิทัล และกระบวนการจัดการเรียนรู้ กศน.”
ของสถานศกึ ษาในสภาวะความเสีย่ งจากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของไวรสั โคโรนา 2019 (COVID -19) ศูนยก์ ารศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพรานกระต่าย ได้ศึกษาแนวคิดเชิงนโยบาย และทิศทางการจัดการศึกษา
ในสถานการณโ์ ควดิ -19 ท้ังในประเทศและต่างประเทศ รวมทัง้ การศึกษาแนวทางการจดั การศึกษา ในสถานการณ์พิเศษ/
สถานการณ์วิกฤติ เพื่อให้ได้กรอบแนวคิดในการวิจัย ซึ่งประกอบด้วย ตัวแปร สภาพปัญหา และความต้องการ “การใช้
สื่อดิจิทัล และกระบวนการจัดการเรียนรู้ กศน.” ของสถานศึกษาในสภาวะความเสี่ยงจากสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19)

ปัญหาการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษาในสภาวะความเสี่ยงจากสถานก ารณ์การแพร่ระบาดของไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID -19) และความต้องการการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษาในสภาวะความเสี่ยงจากสถานการณ์

3

การแพรร่ ะบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) ของผูบ้ รหิ าร ครแู ละบคุ ลากร คณะกรรมการสถานศึกษา นกั ศึกษา
จากสารสนเทศ ผลการวิจัยดังกล่าว จะนำไปเป็นฐานข้อมูลและแนวคิดในการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษาในสภาวะ
ความเสยี่ งจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรสั โคโรนา 2019 (COVID -19) ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศยั อำเภอพรานกระตา่ ย สรปุ เปน็ กรอบแนวคิดในการวจิ ยั ไดด้ งั ภาพท่ี 1.1

นโยบายและแนวทางในการ สภาพการจัดการเรียนรขู้ อง สภาพปัญหา และความตอ้ งการ
จัดการเรียนรู้ในสถานการณ์ สถานศกึ ษาในสภาวะความเส่ียงจาก “การใช้สอ่ื ดิจทิ ัล และ
COVID-19 ของตา่ งประเทศ
สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของ กระบวนการจัดการเรียนรู้
นโยบายและแนวทางในการ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) กศน.” ของสถานศกึ ษาใน
จดั การเรียนรู้ในสถานการณ์
COVID-19 ของประเทศไทย ปญั หาการจัดการเรียนรขู้ อง สภาวะความเสี่ยงจาก
สถานศกึ ษาในสภาวะความเส่ียงจาก สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของ
แนวทางการจัดการเรยี นรู้ สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของไวรสั ไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19)
ในสถานการณว์ ิกฤต
โคโรนา 2019 (COVID -19)

ความต้องการการจดั การเรยี นรู้ของ
สถานศกึ ษาในสภาวะความเส่ยี งจาก
สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของไวรสั

โคโรนา 2019 (COVID -19)

สรปุ และอภิปรายผล

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเรื่อง สภาพปัญหา และความต้องการ “การใช้สื่อดิจิทัล และกระบวนการจัด
การเรยี นรู้ กศน.” ของสถานศกึ ษาในสภาวะความเสีย่ งจากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของไวรสั โคโรนา 2019 (COVID -
19) ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพรานกระต่าย ผู้วิจัยได้ดำเนินการวิจัยโดยมีการสรุปผล
อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ ดังนี้

วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจัย

เพื่อศึกษาสภาพปัญหา และความต้องการ “การใช้สื่อดิจิทัล และกระบวนการจัดการเรียนรู้ กศน.”
ของสถานศึกษาในสภาวะความเส่ียงจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรสั โคโรนา 2019 (COVID -19) ศนู ยก์ ารศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพรานกระตา่ ย

วิธีการดำเนนิ การวิจยั

ผู้วิจัยดำเนินการวิจัยเป็น 1 ขั้นตอน คือ เพื่อศึกษาสภาพปัญหา และความต้องการ “การใช้สื่อดิจิทัล และ
กระบวนการจัดการเรียนรู้ กศน.” ของสถานศึกษาในสภาวะความเสีย่ งจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา
2019 (COVID -19) ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอพรานกระตา่ ย

4

แหล่งข้อมูล ประกอบด้วย การเก็บข้อมูลจากประชากร ได้แก่ ผู้บริหาร จำนวน 1 คน ครูผู้สอนและบุคลากร
จำนวน 17 คน คณะกรรมการสถานศึกษา จำนวน 8 คน รวมทั้งสิ้น 26 คน และการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่
นักศึกษาศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพรานกระต่าย จำนวน 242 คน โดยการเปิดตาราง
การสุ่มกลุ่มตัวอย่างของ เครซี่และมอร์แกน (Krecie & Morgan, 1970 ; อ้างถึงใน ปกรณ์ ประจัญบาน, 2552, หน้า
117-118) โดยใช้การสุ่มอย่างงา่ ย (Simple Random Sampling)

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม แบ่งออกเป็น 4 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 สถานภาพของผู้ตอบ
แบบสอบถาม ตอนท่ี 2 สภาพการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษาในสภาวะความเสี่ยงจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพรานกระต่าย ตอนที่ 3
ปัญหาการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษาในสภาวะความเสี่ยงจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019
(COVID -19) ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอพรานกระตา่ ย และตอนที่ 4 ความตอ้ งการการ
จัดการเรียนรู้ของสถานศึกษาในสภาวะความเสี่ยงจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19)
ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพรานกระตา่ ย

สรุปผลการวจิ ยั

จากผลการศึกษาสามารถสรุปไดด้ ังน้ี
ตอนที่ 1 ผลการศึกษาสภาพการใช้สื่อดิจิทัล และกระบวนการจัดการเรียนรู้ กศน.”ของสถานศึกษาใน
สภาวะความเสี่ยงจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) ของผู้บริหาร ครู ผู้เรียน
และคณะกรรมการสถานศึกษา

ตอนที่ 1.1 ผลการวิเคราะห์สภาพการใช้สื่อดิจิทัล และกระบวนการจัดการเรียนรู้ กศน.”ของ
สถานศึกษาในสภาวะความเส่ียงจากสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) ของผู้บริหาร
ครู และบคุ ลากร

ผลการศึกษาพบว่าสภาพการใช้สื่อดิจิทัล และกระบวนการจัดการเรียนรู้ กศน.”ของสถานศึกษาใน
สภาวะความเสี่ยงจากสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) ของผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา ครู และ
บุคลากร พบว่า โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับ เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสดุ คือ ด้านมีการ
วัดประเมนิ ผลการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ อย่ใู นระดับมากที่สดุ รองลงมา คอื ด้านมกี ารจัดลำดับความสำคัญของเนื้อหาให้
เหมาะสมกบั รูปแบบการจดั การเรยี นรู้ และดา้ นมกี ารนเิ ทศ กำกบั ตดิ ตามการจดั การเรยี นรู้ อยูใ่ นระดับมาก ส่วนดา้ นที่มี
ค่าเฉลี่ยต่ำสุดมี 2 ด้าน คือ ด้านมีการวิเคราะห์หลักสูตร/จัดทำโครงสร้างหลักสูตรให้เหมาะสม และ ด้านมีการปรับ
แผนการจัดการเรยี นรู้ให้สอดคลอ้ งกับเน้อื หาและรูปแบบการจัดการเรยี นรู้ อยู่ในระดับมาก ตามลำดบั

ตอนที่ 2.2 ผลการวิเคราะห์สภาพการใช้สื่อดิจิทัล และกระบวนการจัดการเรียนรู้ กศน.”ของ
สถานศกึ ษาในสภาวะความเส่ียงจากสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) ของผเู้ รยี น

ผลการศึกษาพบว่าสภาพการใช้สื่อดิจิทัล และกระบวนการจัดการเรียนรู้ กศน.”ของสถานศึกษาใน
สภาวะความเสีย่ งจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) ของผเู้ รียน พบวา่ โดยภาพรวมมี
ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าด้านท่ีมีคา่ เฉลยี่ สูงสุดมี 2 ดา้ น คือ ดา้ นสถานศึกษามีการเตรียม
ความพรอ้ มให้นักศึกษาในชว่ งก่อนการเรียน การสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19)
และด้านสถานศึกษามีการสนับสนุนอุปกรณ์ สื่อ เทคโนโลยีที่จำเป็นในระหว่างการจัดการเรียนรู้ อยู่ในระดับมาก

5

รองลงมามี 2 ด้าน คือ ด้านครูสร้างขวญั และกำลังใจให้กบั นกั ศึกษาในระหว่างการจดั การเรียนรู้ใน สถานการณ์การแพร่
ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) และด้านครูสร้างขวัญและกำลังใจให้กับนักศึกษาในระหว่างการจัดการ
เรยี นรู้ใน สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) ส่วนดา้ นที่มีค่าเฉล่ียต่ำสุด คือ ด้านนักศึกษา
ปฏบิ ตั ิตนตามหลกั เกณฑ์และวธิ ีการจัดการเรยี นรู้ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรสั โคโรนา 2019 (COVID -19) อยู่
ในระดบั มาก ตามลำดบั

ตอนที่ 2.3 ผลการวิเคราะห์สภาพการใช้สื่อดิจิทัล และกระบวนการจัดการเรียนรู้ กศน.”ของ
สถานศึกษาในสภาวะความเสี่ยงจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 ( COVID -19) ของ
คณะกรรมการสถานศึกษา

ผลการศึกษาพบว่าสภาพการใช้สื่อดิจิทัล และกระบวนการจัดการเรียนรู้ กศน.”ของสถานศึกษาใน
สภาวะความเสี่ยงจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) ของคณะกรรมการสถานศึกษา
พบว่า โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( = 4.50, S.D. = 0.14) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าด้านที่มีค่าเฉล่ีย
สูงสุดมี 4 ด้าน คือ ด้านคณะกรรมการสถานศึกษาได้รับรู้นโยบายและแผนการดำเนินงานการจัด การเรียนรู้ของ
สถานศกึ ษาในสถานการณโ์ ควิด-19 ดา้ นคณะกรรมการสถานศึกษามสี ่วนร่วมในการสร้างเครือขา่ ยความรว่ มมือ ระหว่าง
ชุมชน สถานศกึ ษา และหนว่ ยงานที่เก่ียวข้อง ดา้ นสถานศกึ ษาดำเนนิ การจัดการเรียนรโู้ ดยคำนึงถึงคุณภาพของนักศึกษา
ดา้ นหน่วยงานตน้ สงั กัดให้การสนับสนุนด้านวิชาการ (เชน่ วทิ ยากร การนิเทศ สื่อ อุปกรณ์ เครอื่ งมือในการจัดการเรียนรู้
เป็นต้น) อยู่ในระดับมากท่ีสุด รองลงมามี 2 ด้าน คือ ด้านด้านคณะกรรมการสถานศึกษาได้ร่วมพิจารณาอนุมัติแผนและ
งบประมาณ การดำเนินงานการจดั การเรียนรู้ในสถานการณ์โควิด-19 และด้านหน่วยงานภาครฐั และหน่วยงานอื่น ๆ ให้
ความร่วมมือและสนับสนุน สื่อ อุปกรณ์ เครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ อยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด
คอื ดา้ นคณะกรรมการสถานศึกษาให้การสนับสนนุ สื่อ อปุ กรณ์ เครอ่ื งมือเก่ียวกับ การเรียนรใู้ นสถานการณ์โควิด-19 อยู่
ในระดับมาก ตามลำดบั

ตอนที่ 2 ผลการศึกษาปัญหาการใช้สื่อดิจิทัล และกระบวนการจัดการเรียนรู้ กศน.”ของสถานศึกษาใน
สภาวะความเสี่ยงจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) ของผู้บริหาร ครู ผู้เรียน
และคณะกรรมการสถานศึกษา

ตอนที่ 2.1 ผลการวิเคราะห์ปัญหาการใช้สื่อดิจิทัล และกระบวนการจัดการเรียนรู้ กศน.”ของ
สถานศึกษาในสภาวะความเสีย่ งจากสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) ของผู้บริหาร
ครู และบคุ ลากร

ผลการศึกษาพบว่าปัญหาการใช้สื่อดิจิทัล และกระบวนการจัดการเรียนรู้ กศน.”ของสถานศึกษาใน
สภาวะความเสี่ยงจากสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของไวรสั โคโรนา 2019 (COVID -19) ของผู้บรหิ ารสถานศึกษา ครู และ
บุคลากร พบว่า โดยภาพรวมมคี ่าเฉล่ียอยู่ในระดับมาก เมือ่ พิจารณาเป็นรายด้านพบว่าด้านท่ีมีคา่ เฉล่ียสูงสุด คือ ด้านครู
มคี วามเสยี่ งในการปฏบิ ัตงิ าน อยู่ในระดบั มาก รองลงมามคี า่ เฉลยี่ เทา่ กนั 4 ดา้ น คอื ด้านครตู อ้ งพัฒนาตนเองให้มีความรู้
และทักษะการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบต่างๆ (On-Air, Online, On Site, On Hand, Blended learning) ด้านครูต้อง
ปรับวิธีการวัดผลประเมินผลให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณ์ ด้านครูและผู้ปกครองมีโอกาสและมีส่วนร่วมใน
การดูแลการเรียนรู้ของนักศึกษามากขึ้น ด้านครูมีความวิตกกังวลว่าผลการเรียนของนักศึกษาจะลดลง อยู่ในระดับมาก

6

ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านครูมีความกระตือรือร้นต่อการจัดการเรียนรู้และการดูแลเอาใจใส่นักศึกษาน้อยลง
อย่ใู นระดับมาก ตามลำดับ

ตอนที่ 2.2 ผลการวิเคราะห์ปัญหาการใช้สื่อดิจิทัล และกระบวนการจัดการเรียนรู้ กศน.”
ของสถานศึกษาในสภาวะความเสี่ยงจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) ของ
ผู้เรียน

ผลการศึกษาพบว่าของปัญหาการใช้สื่อดิจิทัล และกระบวนการจัดการเรียนรู้ กศน.”ของสถานศึกษา
ในสภาวะความเสี่ยงจากสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของไวรสั โคโรนา 2019 (COVID -19) ของผเู้ รียน พบว่า โดยภาพรวม
มคี า่ เฉลย่ี อยใู่ นระดับมาก เมอื่ พจิ ารณาเป็นรายด้านพบว่าด้านที่มคี ่าเฉลีย่ สงู สุดมี 2 ด้าน คือ ดา้ นนักศึกษาต้องปรับเวลา
สถานที่และวิธีการในการเรยี นใหม่ ดา้ นนักศึกษามีความวิตกกังวลเก่ยี วกบั ผลการเรียนมากขึน้ อย่ใู นระดับมาก รองลงมา
คือ ด้านนักศึกษาเสียโอกาสในการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ภายนอก ด้านนักศึกษามีความรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ใน
สถานการณ์โควิด-19 น้อยลง อยู่ในระดับมาก ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านนักศึกษาและผู้ปกครองต้องเสีย
ค่าใชจ้ ่ายในการเตรียมจดั หาวสั ดุ อุปกรณ์ ส่ือ เทคโนโลยี และอินเทอร์เนต็ เพอ่ื การเรียนรู้ อย่ใู นระดบั มาก ตามลำดับ

ตอนที่ 3 ผลการศกึ ษาความต้องการการใชส้ ่ือดิจิทลั และกระบวนการจัดการเรียนรู้ กศน.”ของสถานศึกษา
ในสภาวะความเสี่ยงจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) ของผู้บริหาร ครู ผู้เรียน
และคณะกรรมการสถานศึกษา

ตอนที่ 3.1 ผลการวิเคราะห์ความต้องการการใช้สื่อดิจิทัล และกระบวนการจัดการเรียนรู้ กศน.”
ของสถานศึกษาในสภาวะความเสี่ยงจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 ( COVID -19)
ของผู้บรหิ าร ครู และบคุ ลากร

ผลการศึกษาพบว่าความต้องการใช้สื่อดิจิทัล และกระบวนการจัดการเรียนรู้ กศน.”ของสถานศึกษา
ในสภาวะความเสย่ี งจากสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของไวรสั โคโรนา 2019 (COVID -19) ของผู้เรียน พบว่า โดยภาพรวม
มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านผู้บริหารสถานศึกษาต้องให้
การสนับสนุนปัจจยั ต่าง ๆ ที่จำเปน็ ต่อการจัดการเรียนรู้ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -
19) อยู่ในระดบั มาก รองลงมา คือ ด้านครูต้องเรยี นรู้เพิ่มเติมเกีย่ วกบั วิธกี ารจดั การเรียนรูใ้ นสถานการณ์การแพรร่ ะบาด
ของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) ด้านผู้ปกครอง/ชุมชนท้องถิ่นต้องให้ความร่วมมือและสนับสนุนการเรียนรู้ของครู
และสถานศึกษา อย่ใู นระดบั มาก สว่ นดา้ นทมี่ คี า่ เฉลี่ยต่ำสุดมี 4 ดา้ น คอื ดา้ นรัฐ/หนว่ ยงานต้นสังกดั ควรมีนโยบายและ
มาตรการรองรับการจัดการศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 ที่ชัดเจน ด้านหน่วยงานต้น
สังกัด/ผู้บริหารสถานศึกษาและผู้เกี่ยวข้องควรมีการนิเทศ แนะนำ และ ช่วยเหลือเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ของครู
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) ด้านสถานศึกษา ครู และผู้ปกครองต้องร่วมมือกัน
เสริมสร้างนิสัยใฝ่เรียนรู้ด้วยตนเองของนักศึกษา ด้านผู้บริหารสถานศึกษาควรมีแผน/แนวทางการจัดการเรียนรู้ของ
สถานศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) อย่างชัดเจน และด้านครูต้องการได้รับ
ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องและทันต่อเหตุการณ์เกี่ยวกับ การเรียนรู้ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019
ตามลำดับ

ตอนที่ 3.2 ผลการวิเคราะห์ความต้องการการใช้สื่อดิจิทัล และกระบวนการจัดการเรียนรู้ กศน.”
ของสถานศึกษาในสภาวะความเสี่ยงจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 ( COVID -19)
ของผูเ้ รียน

7

ผลการศึกษาพบว่าความต้องการใช้สื่อดิจิทัล และกระบวนการจัดการเรียนรู้ กศน.”ของสถานศึกษา
ในสภาวะความเสยี่ งจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรสั โคโรนา 2019 (COVID -19) ของผเู้ รยี น พบวา่ โดยภาพรวม
มคี ่าเฉล่ียอยู่ในระดับมาก เม่ือพิจารณาเปน็ รายด้านพบว่าด้านที่มคี ่าเฉล่ียสงู สดุ คือ ดา้ นสถานศึกษาควรกำหนดช่องทาง
ในการเรียนรู้ที่หลากหลายเหมาะสมกับกลุ่มนักศึกษา อยู่ในระดับมาก รองลงมา คือ ด้านครูควรกำหนดช่องทางและ
วิธีการติดต่อสื่อสารระหว่างครูกับนักศึกษาท่ีหลากหลาย และด้านครูควรติดตามให้นักศึกษาได้รับการเรียนรู้
อย่างเหมาะสมในช่วงสถานการณ์วิกฤติ อยู่ในระดับมาก ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านครูควรมีการจัดการเรียนรู้
ใหย้ ืดหยุ่นสอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของนกั ศึกษา อยู่ในระดบั มาก ตามลำดบั

ตอนที่ 3.3 ผลการวิเคราะห์ความต้องการการใช้สื่อดิจิทัล และกระบวนการจัดการเรียนรู้ กศน.”
ของสถานศึกษาในสภาวะความเสี่ยงจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 ( COVID -19)
ของคณะกรรมการสถานศกึ ษา

ผลการศึกษาพบว่าความต้องการใช้สื่อดิจิทัล และกระบวนการจัดการเรียนรู้ กศน.”ของสถานศึกษา
ในสภาวะความเส่ียงจากสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) ของผู้เรียน พบว่า โดยภาพรวม
มีค่าเฉลีย่ อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าด้านท่ีมคี ่าเฉลี่ยสูงสดุ มี 4 ด้าน คือ ด้านสถานศึกษาต้องมีแผน
และมาตรการดำเนินงานจดั การเรียนรูใ้ นสถานการณ์โควิด-19 ที่ชัดเจน อยู่ในระดับมากที่สุด ด้านสถานศึกษาต้องสร้าง
เครือข่ายความร่วมมือในการให้การสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ในสถาน การณ์โควิด-19 อยู่ในระดับมากทีสุด
ด้านหน่วยงานต้นสังกัดในระดับพื้นที่ต้องสนับสนุนงบประมาณในการจัดการเรียนรู้ตามความต้องการจ ำเป็นของ
สถานศึกษา อยู่ในระดับมากที่สุด และด้านหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และประชาชนต้องให้ความร่วมมือและสนับสนุน
การจัดการเรียนรู้ในสถานการณ์วิกฤติ (เช่น ด้านสาธารณสุขตรวจสุขภาพปอ้ งกันรักษาโรค และให้ความรู้ในการปฏิบตั ิ
ตน เปน็ ตน้ ) อยใู่ นระดบั มากท่ีสุด รองลงมามี 5 ด้าน คอื ด้านสถานศกึ ษาต้องสอ่ื สารสรา้ งความเขา้ ใจนโยบายการจัดการ
เรียนรู้ต่อผู้เกี่ยวข้องที่ให้ทันต่อสถานการณ์ ด้านสถานศึกษาต้องรายงานความก้าวหน้า และปัญหา อุปสรรคเกี่ยวกับ
การจัดการเรียนรู้ต่อคณะกรรมการสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง ด้านหน่วยงานต้นสังกัดในระดับพื้นที่ต้องมีการนิเทศ
แนะนำ และชว่ ยเหลอื เก่ียวกบั การจดั การเรยี นรขู้ องครใู นสถานการณโ์ ควิด-19 ดา้ นหนว่ ยงานต้นสังกดั ควรมีศูนย์ส่ือสาร
ให้เป็นเอกภาพระหว่างหน่วยงาน นโยบายและหน่วยงานปฏิบัติ และด้านรัฐ/หน่วยงานต้นสังกัดควรกำหนดกรอบ
นโยบาย/แผน/มาตรการในการบริหารการศึกษาและการจัดการเรียนรู้ในสถานการณ์โควิด-19 ที่ชัดเจนไว้ล่วงหน้า
อยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านหน่วยงานต้นสังกัดควรมีนโยบายเสริมสร้างความเข้มแข็ง
ให้สถานศึกษา สามารถบรหิ ารจัดการศกึ ษาในสถานการณว์ ิกฤติได้ตามบริบทของตนเอง อยใู่ นระดบั มาก ตามลำดับ

อภิปรายผลการวิจยั

จากผลการศกึ ษาเรือ่ ง สภาพ ปัญหา และความต้องการ “การใชส้ ือ่ ดจิ ิทลั และกระบวนการจดั การเรียนรู้ กศน.”

ของสถานศึกษาในสภาวะความเสี่ยงจากสถานการณ์การแพร่ระบาด ของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19)
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพรานกระต่ายมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพ ปัญหา และ

ความต้องการ “การใช้สื่อดิจิทัล และกระบวนการจัดการเรียนรู้ กศน.” ของสถานศึกษาในสภาวะความเสี่ยงจาก
สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
อำเภอพรานกระต่าย

8

ผลการศึกษาพบว่า

1. สภาพการใช้สื่อดิจิทัล และกระบวนการจัดการเรียนรู้ กศน. ของสถานศึกษาในสภาวะความเสี่ยงจาก
สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
อำเภอพรานกระต่าย จากผลการศึกษา พบว่า โดยภาพรวม ผู้บริหาร ครู บุคลากร นักศึกษา และคณะกรรมการ
สถานศึกษา มีความเห็นว่ามีสภาพอยู่ในระดับมาก ทั้งน้ี อาจเป็นเพราะว่าศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัยอำเภอพรานกระต่าย มีการเตรียมความพร้อมในการจัดกระบวนการจัดการเรียนรู้ กศน. ของสถานศึกษา
ในสภาวะความเสี่ยงจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) ได้เป็นอย่างดี มีการจัด
กระบวนการเรียนรู้เป็นไปตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ด้วยวิธีการสอนใน 3 รูปแบบ ได้แก่ 1) การเรียนการ
สอนผ่านทีวี (ON-AIR) มีการเข้าใช้บริการการเรียนการสอนทางสถานีวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา หรือ อีทีวี (ETV)
2) การเรียนการสอนและการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนผ่านอินเทอร์เน็ต (ONLINE) ผ่านทางระบบออนไลน์ต่าง ๆ
เช่น Facebook, Line, Google Meet, ระบบพัฒนาผู้เรียนออนไลน์ เพื่อให้นักศึกษาสามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา
3) การเรียนการสอนแบบ ON-HAND โดยการจัดส่งใบงาน ใบความรู้ จัดส่งคู่มือการเรียนรู้ต่อเนื่อง (กรต.) ในโครงการ
กจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียนโครงการต่างๆ เชน่ โครงการอบรมให้ความรูเ้ ก่ยี วกบั การป้องกันและลดความเส่ียงการแพร่
ระบาดในในการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรน่า 2019 แบบออนไลน์ โครงการอบรมให้ความรู้เร่ืองประวัติศาสตร์
ชาติไทยคุณของพระมหากษัตริย์ไทยแบบออนไลน์ โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมแบบออนไลน์ โครงการส่งเสริม
สุขภาพดี ชีวีมีสุข ห่างไกลเอดส์ และยาเสพติดแบบออนไลน์ โครงการเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
“โคกหนองนาโมเดล” แบบออนไลน์ โครงการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทนสำหรับนักศึกษา กศน.
แบบออนไลน์ โครงการรู้รักสามัคคี พลเมืองดี ตามวิถีประชาธิปไตยแบบออนไลน์ โครงการกำจัด ป้องกันการเกิดและ
ควบคุมโรคไข้เลือดออกแบบออนไลน์ โครงการวัยเรียน วัยใส ขับขี่ปลอดภัย รู้วินัยจราจรแบบออนไลน์ และโครงการ
วิทยาศาสตร์เพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตแบบออนไลน์ ทั้งนี้เพื่อให้นักศึกษามีการพัฒนาตนเองตามศักยภาพอย่างรอบด้าน
มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะประสบการณ์จากการเรียนรู้ไปพัฒนาตนเองให้เกิดสมรรถนะสำคัญ 5 ประการได้แก่
ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหาความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี อันจะนำไปสคู่ วามพึงประสงค์ 8 ประการ และเพอื่ ใหส้ อดคลอ้ งกบั ชว่ งเวลานนั้ ซง่ึ
มีการแพร่ระบาดของโรคที่ค่อนข้างรุนแรง ทำให้สถานศึกษาทุกแห่งทั่วประเทศ ไม่สามารถเปิดการเรียนการสอนได้
ตามปกติ นอกจากนี้ยังมีการใช้ระบบช่วยเหลือผู้เรียน และครู กศน.ออนไลน์ Kppnfe 60.4 เพื่ออำนวยความสะดวกใน
การจัดการเรียนการสอนของครู และช่วยให้นกั ศึกษาเข้าถึงการจัดการศกึ ษาในรปู แบบออนไลน์ได้งา่ ยขึ้น นอกจากน้ียังมี
การประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายในการสนับสนนุ การจัดการเรยี นรู้ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโร
นา 2019 (COVID -19) และมีการดำเนินการจัดโครงการพัฒนาครูและบุคลากรด้านการจัดการเรียนการสอนรูปแบบ
ออนไลน์ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) ทั้งนี้เพื่อให้ครูมีสมรรถนะเหมาะสมพร้อม
รับการเปลี่ยนแปลงในยุคฐานวิถีชีวิตใหม่ (New Normal) สอดคล้องกับงานวิจัยของ มนธิชา ทองหัตถา (2564, หน้า
48) ไดศ้ กึ ษาเรอื่ ง สภาพการจดั การเรียนรู้แบบออนไลน์ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือ ไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) ของครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ โรงเรียนปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช พบว่า ครูผู้สอน
ถนัดในการใช้แอพลิเคชันที่เป็นสื่อสังคม ออนไลน์มากกว่าแพลตฟอร์มการเรียนการสอนอื่น ๆ อย่างเช่น ไลน์ (LINE)
เป็นต้น ส่วน Google Classroom นั้นใช้สำหรับการจัดการชั้นเรียนและมอบหมายภาระงานนอกจากนี้ครูยังมีความรู้
และเขา้ ถึงเทคโนโลยแี ละส่ือ แอพลิเคชันได้เพียงพอในการจัดการเรยี นรู้แบบออนไลน์ สอดคล้องกับงานวจิ ยั ของ Marek,

9

Chew, & Wu (2021, p.97) ทีไ่ ดศ้ ึกษาเร่ือง ประสบการณ์ของครใู นการจัดการเรยี นร้ทู างไกลในชว่ งสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) พบว่าครูและนักเรียนใช้แชทแอพลิเคชัน เช่นMessenger Line
และ Whatsapp เพราะชว่ ย ให้ครูและนกั เรียนมปี ฏิสัมพันธ์กันมากขึ้นและช่วยลดช่องว่างระหว่างครูกับนักเรียนอีกด้วย
สอดคล้องกับงานวิจัยของวิธิดา พรหมวงศ์ และคณะ (2564, หน้า 209) ได้ศึกษาเรื่อง สภาพปัจจุบัน ปัญหา และ

แนวทางแก้ปัญหาการจัดการเรียนรู้ ในช่วงการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ของโรงเรียน ในสังกัดสำนักงานเขต
พื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 1 พบว่า โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ทั้งนี้อาจเป็นเพราะสถานศึกษาได้มี
การเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียน ให้ความสำคัญ กับผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งนักเรียน ครู และสภาพแวดล้อมอื่น ๆ

ที่สามารถสง่ เสริมการเรยี นการสอนไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ

2. ปัญหาการใช้สื่อดิจิทัล และกระบวนการจัดการเรียนรู้ กศน. ของสถานศึกษาในสภาวะความเสี่ยงจาก
สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
อำเภอพรานกระต่าย จากผลการศึกษา พบว่า โดยภาพรวม ผู้บริหาร ครู บุคลากร และนักศึกษา มีความเห็นวา่ มีปญั หา
อยู่ในระดับมาก ทั้งนี้ อาจเป็นเพราะครูและนักศึกษาอาจมีปัญหาในเรื่องการจัดการเรียนรู้ทางไกล ซึ่งใช้สัญญาณ
อินเทอร์เน็ต อุปกรณ์ และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ไม่มีประสิทธิภาพ นักศึกษามีเวลาในการเรียนรู้ไม่เพียงพอ
มีความเครียดในการเรียนรู้ เนื่องจากวิถีของปฏิสัมพันธ์ในการเรียนที่เปลี่ยนไป และการขาดแรงจูงใจในการเรียน
ขาดแคลนอุปกรณ์ดิจิทัลเพือ่ การเรียนรู้ บรรยากาศการเรียนรู้ท่ีไม่เหมาะสม และการขาดทักษะด้านดิจิทัลของนักศึกษา

สอดคล้องกับงานวิจัยของ มนธิชา ทองหัตถา (2564, หน้า 48) ได้ศึกษาเรื่อง สภาพการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของครูกลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาต่างประเทศ โรงเรยี นปากพนงั จังหวัดนครศรีธรรมราช พบวา่ เนอ่ื งจากเปน็ การจัดการเรียนการสอนทเ่ี ร่งด่วนและ
เกิดขึน้ อย่าง รวดเรว็ ปัญหาและอุปสรรคท่ีครูพบในการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ของนักเรยี นโรงเรียนปากพนงั จังหวัด
นครศรีธรรมราช คือ ด้านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ สัญญาณอินเทอร์เน็ตและโปรแกรมที่ใช้สำหรับการเรียนแบบออนไลน์
มีมากที่สุด ปัญหาทางด้านการเงิน ปัญหาทางด้านพฤติกรรมผู้เรียน เช่น การบริหารจัดการเวลาของ นักเรียนและ

ความรับผิดชอบตอ่ ตนเองของนักเรียน นอกจากนั้นปัญหาครอบครวั ทำให้นักเรียนบางส่วนตอ้ งทำงานเพือ่ แบ่งเบาภาระ
ครอบครัวขณะอยู่ที่บ้าน สอดคล้องกับงานวิจัยของ Lassoued, Alhendawi, & Bashitialshaaer (2020, p.7) ที่ได้

สำรวจอุปสรรคที่มีต่อจัดการเรียนรู้ทางไกลให้บรรลุผลในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 (COVID-19) พบปัญหาที่คล้ายคลึงกัน เช่น ปัญหาด้านกระบวนการจัดการเรียนรู้ ปัญหาทางด้านเทคนิค ปัญหา
ดา้ นการเงนิ และปญั หาดา้ นการจัดการ อกี ทง้ั ปัญหาท่ีพบมากทส่ี ดุ ใน การจัดการเรยี นรทู้ างไกลคือ สัญญาณอินเทอร์เน็ต
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และแอพลิเคชันต่าง ๆ ไม่มี ประสิทธิภาพและไม่เพียงพอ สอดคล้องกับงานวิจัยของวิธิดา พรหม

วงศ์ และคณะ (2564, หน้า 209) ได้ศึกษาเรื่อง สภาพปัจจุบัน ปัญหา และแนวทางแก้ปัญหาการจัดการเรียนรู้ ในช่วง
การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ของโรงเรียน ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 1
พบว่า ครูได้ประสบกับปัญหาด้านอุปกรณ์การสอน เช่น คอมพิวเตอร์ ระบบอินเตอร์เน็ต และคู่มือการสอนสำหรับ
การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สอดคล้องกับงานวิจัยของ Jirakit Thongprecha (2019) ที่ศึกษาเรื่องการบริหาร
จัดการการเรียน การสอนภายใต้สถานการณ์ COVID-19 ระดับมัธยมศึกษา พื้นที่โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต เขตพระโขนง

10

กรุงเทพมหานคร พบว่า นักเรียนมีความพร้อมในการเรียนออนไลน์ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 52 สอดคล้องกับงานวิจัย
ของ Ferlazzo (2020) ได้กล่าวถึงประเด็นที่ควรคำนึงในการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ ว่าการสอนแบบตัวต่อตัว
ยังเปน็ รปู แบบการสอนที่ดที ส่ี ดุ ในห้องเรยี นจริง

3. ความต้องการการใช้สื่อดิจิทัล และกระบวนการจัดการเรียนรู้ กศน. ของสถานศึกษาในสภาวะความเสีย่ ง
จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัยอำเภอพรานกระต่าย พบว่า โดยภาพรวม ผู้บริหาร ครู บุคลากร นักศึกษา และคณะกรรมการสถานศึกษา
มีความเห็นว่ามีความต้องการอยู่ในระดับมาก ทั้งนี้ อาจเป็นเพราะสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19
เป็นเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิด ส่งผลกระทบโดยตรงต่อสถานศึกษา ผู้บริหาร ครู บุคลากร และนักศึกษา ที่จะต้องมี
การปรบั เปลี่ยนวิธีการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบทแี่ ตกต่างไปจากเดิม เพ่อื เปน็ การป้องกันและเฝ้าระวังสถานการณ์การแพร่
ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) ซึ่งในช่วงแรกของการปรับตัวในสถานการที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่าง
กระทันหันนั้น ทำให้สถานศึกษาขาดการวางแผนที่เหมาะสม และการขาดการเตรียมความพร้อมของบุคลากรที่มีทักษะ

และความพร้อมที่จะจัดการปัญหาอย่างเพียงพอ เพื่อรองรับสถานการณ์ที่ไม่อาจคาดเดาดังกล่าวได้ จึงมีความต้องการ

การใช้สื่อดิจิทัล และกระบวนการจัดการเรียนรู้ กศน. ของสถานศึกษาในสภาวะความเสี่ยงจากสถานการณ์การแพร่
ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) อยู่ในระดบั มากดังกล่าว ซง่ึ แสดงให้เหน็ ถงึ ความสำคัญและความจำเป็นของ

การจัดเตรียม แผนและมาตรการรองรับการจดั การศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรสั โคโรนา 2019 (COVID -

19) ซ่ึงสอดคล้องกับแนวคิดของ Lichtenstein et al. (1994) ท่ีกล่าวว่า การเตรยี มการเพื่อการรองรับการจัดการศึกษา
ในสถานการณ์วิกฤตจิ ะต้องมีการ จดั ทำแผน ทบทวนแผน และมกี ารปรับปรุงแผนการจัดการวิกฤติทุกปี รวมท้ังมีการฝึก

ขั้นพื้นฐานในการรับมือกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) และการจัดระบบข้อมูล

เพื่อให้แน่ใจว่ามีการสำรองข้อมูลที่เพียงพอในการจัดการอย่างทันท่วงที นอกจากนี้ Paton (1992) ได้ให้ข้อเสนอว่า

แผนการจัดการในกรณีสถานการณ์ วิกฤติจะต้องได้รับการพัฒนาในลักษณะให้คำปรึกษาและร่วมมือเพื่อการนำไปสู่
การปฏิบัติจริง โดยบุคคลและหน่วยงานที่รับผิดชอบในการจัดการวิกฤติจะต้องมีส่วนร่วมในการพัฒนาแผนการจัด
การวิกฤตริ ่วมกัน และ Coombs and Holladay (1996) ไดใ้ หค้ วามสำคญั ของการพฒั นาแผนการจดั การวิกฤติ (Critical
management plan) โดยกล่าวว่า หน่วยงานระดับนโยบายและสถานศึกษาจะต้องมีแผนการจัดการกับสถานการณ์
วิกฤติ โดยคำนึงถึงข้อมูลพื้นฐานที่สำคัญ ความร่วมมือของบุคลากรที่เกี่ยวข้อง และทรัพยากรทางการบริหารที่เพียงพอ
ในการจัดการเรยี นการสอนของสถานศึกษา

ข้อเสนอแนะ

จากผลการวิจัย ผวู้ จิ ัยมีข้อเสนอแนะดังนี้
ขอ้ เสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้

1. ด้านการบรหิ ารจดั การเพือ่ สนบั สนนุ การจัดการเรยี นรู้
1.1 สถานศึกษาควรจัดอาคารสถานท่ี หอ้ งเรยี น วัสดุ อปุ กรณ์สุขอนามัยให้เหมาะสม เพยี งพอ
1.2 ควรส่อื สารสรา้ งความเข้าใจเกีย่ วกับนโยบายและแนวปฏิบัตใิ นการจัดการเรยี นรู้ในสถานการณ์

การแพรร่ ะบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) กบั ครูและบุคลากร
1.3 ควรเปดิ โอกาสให้คณะกรรมการสถานศึกษาเข้ามารว่ มมบี ทบาทในการจัดการและแก้ไขปัญหา

11

1.4 ควรสรา้ งเครือข่ายความร่วมมอื กบั ภาครัฐ หน่วยงานเอกชน ผูป้ กครอง ชุมชนเพอื่ การสนบั สนนุ
การจดั การเรียนรใู้ นสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของไวรสั โคโรนา 2019 (COVID -19)

1.5 ควรสนบั สนนุ ให้ครพู ัฒนาเทคนคิ การจดั การเรยี นรู้โดยใช้เทคโนโลยีใหม้ คี วามนา่ สนใจ เพอื่ สรา้ ง
แรงจงู ใจในการเรียนของนักศึกษา

2. ดา้ นการพฒั นาและสง่ เสริมศักยภาพครู
2.1 สถานศกึ ษาควรส่งเสริมใหค้ รพู ัฒนาตนเองให้มีสมรรถนะในการจัดการเรียนรใู้ นสถานการณ์การแพร่

ระบาดของไวรสั โคโรนา 2019 (COVID -19) และเสริมสรา้ งเจตคตติ ่อการเรียนรแู้ บบพ่งึ พาตนเอง
2.2 สถานศึกษาควรมีการเสรมิ สร้างขวญั กำลังใจ สนับสนุนเคร่ืองมอื หรือปัจจยั ใหก้ บั ครูและบุคลากร

ทางการศึกษาตามความเหมาะสม
2.3 สถานศกึ ษาควรมีการจดั สวัสดิการในการประกันความปลอดภัยทั้งจากการตดิ เช้ือโรคและอุบัติเหตุ

ใหก้ ับครูท่ีออกปฏิบัตงิ านนอกพน้ื ท่ี
3. ด้านการสนบั สนุนช่วยเหลอื นักศกึ ษาในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของไวรสั โคโรนา 2019 (COVID -

19)
3.1 สถานศกึ ษาควรชแ้ี จงทำความเขา้ ใจกบั นกั ศกึ ษาในการจดั การเรียนรู้ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาด

ของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) และจดั ทำคู่มือการเรยี นและการปฏบิ ตั ิตน เพอื่ เป็นแนวทางในการปฏบิ ตั ิใน
สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19)

3.2 สถานศกึ ษาควรสง่ เสรมิ ใหน้ กั ศึกษามีวนิ ยั ในการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง เสรมิ สร้างเจตคติตอ่ การเรียนรู้
แบบพึง่ พาตนเอง และนักศึกษามีอสิ ระทางความคิด สามารถออกแบบการจัดการเรียนรู้ได้ดว้ ยตนเอง

3.3 สถานศึกษาควรสง่ เสรมิ ใหน้ ักศึกษามีความฉลาดรู้ในการใช้สอ่ื เทคโนโลยี (Digital Literacy) เพ่ือ
การแสวงหาความรใู้ ห้เกิดประสิทธภิ าพ โดยการสอนให้มีความรู้ ความเข้าใจในการใช้และการเขา้ ถงึ สื่อเทคโนโลยี รวมทั้ง
สิทธิและความปลอดภยั ในการใช้สื่อเทคโนโลยี

ขอ้ เสนอแนะในการทำวจิ ัยครงั้ ตอ่ ไป
1. ควรศึกษาสภาพ ปัญหา และความต้องการ “การใช้สื่อดิจิทัล และกระบวนการจัดการเรียนรู้ กศน.”
ของสถานศึกษาในสภาวะความเสี่ยงจากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของไวรสั โคโรนา 2019 (COVID -19) ศูนย์การศึกษา
นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอ ทีแ่ ตกตา่ งออกไปตามลกั ษณะของสภาพบริบทแตล่ ะพื้นท่ี
2. ควรทำวิจัยเชิงคุณภาพเกี่ยวกับสภาพ ปัญหา และความต้องการ “การใช้สื่อดิจิทัล และกระบวนการจัด
การเรียนรู้ กศน.” ของสถานศึกษาในสภาวะความเสย่ี งจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรสั โคโรนา 2019 (COVID -
19) สำหรบั สถานศกึ ษาในสังกัดอื่น
3. ควรศึกษารูปแบบการใช้สื่อดิจิทัล และกระบวนการจัดการเรียนรู้ กศน.” ของสถานศึกษาในสภาวะ
ความเสี่ยงจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) ของศูนย์การศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ
4. ควรศึกษารูปแบบการส่งเสริมและพัฒนาครูสำหรับการจัดการเรียนรู้ในสภาวะความเสี่ยงจากสถานการณ์
การแพร่ระบาดของไวรสั โคโรนา 2019 (COVID -19)

12

5. สถานศึกษาหรือสถาบันการศึกษา ควรมีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับปัจจัยความสำเร็จและปัจจัยอุปสรรคหรือ
การวิจัยเพื่อค้นหาแบบปฏิบัติที่ดี (Best Practice) ในการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษาในสภาวะความเสี่ยง
จากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19)

ทั้งนี้ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพรานกระต่าย ได้ดำเนินการจัดการศึกษา
ในรูปแบบออนไลน์ โดยมีครูได้รว่ มกันจัดทำและพัฒนาเพื่อใช้จัดการเรียนการสอนต้ังแต่ปี 2560 เป็นต้นมา ภายใต้
ช่อื ระบบปฏบิ ัตกิ าร kppnfe 60.0 (ระบบชว่ ยเหลอื งผเู้ รียนและครู กศน.ออนไลน์) ซงึ่ ยงั ไมเ่ กิดสถานการณ์โรคไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID -19) และได้ทำวิจัยแบบง่ายเป็นประจำทุกปีเรื่อยมา ซึ่งผู้ทำวิจัยในครั้งนี้ เป็นการเก็บ
รวบรวมข้อมูลประมวลผล ในรูปแบบของการวิจัยทีใ่ ห้เห็นถึงสภาพ ปัญหา และความต้องการ เพื่อประกอบให้เหน็
ทิศทางการพัฒนาปรบั ปรุงรปู แบบการจดั การเรียนการสอนการให้กับผู้เรยี น และผู้รบั บรกิ าร ไดต้ รงกับความตอ้ งการ
และตามบริบทพื้นที่ อย่างแท้จริง โดยจะนำผลการวิจัยดังกล่าวไปพัฒนารูปแบบระบบและการให้บริการ โดย
เพิ่มเติมรายละเอียด ให้เกิดประโยชน์สูงสุด กับผู้เรียนและผู้รับบริการ ถึงแม้ในอนาคตสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID -19) ของประเทศไทย มีโอกาสและแนวโน้มทิศทางที่ดีขึ้น เนื่องจาก
มีการจัดการด้านสาธารณสุขท่ีดีขึ้นก็ตาม และสภาพการจัดการเรียนการสอนก็จะเข้าสู่ระบบท่ีใกล้เคียงกับปกติ
มากที่สุด แต่ผู้คนยังต้องใช้ชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) อีกต่อไป รวมทั้งระบบการจัดการศึกษาจำเป็นต้องมี
การปรับเปลี่ยนต่อไปอย่างไม่มีวันสิ้นสดุ เพื่อเผชิญเหตกุ ารณ์ที่อาจจะเกดิ ขึน้ ที่อาจคาดเดาได้ยาก เช่น โรคอุบัติใหม่
กระแสความเปลยี่ นแปลงในโลกดจิ ิทัล สภาพ ปัญหาเศรษฐกิจ สังคม ในลักษณะเดียวกนั น้ีอกี

นายกำจร หัดไทย
ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอพรานกระต่าย

10 มกราคม 2565


Click to View FlipBook Version